โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิชิระกะวะ

ดัชนี จักรพรรดิชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะ (Emperor Shirakawa) จักรพรรดิองค์ที่ 72 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 1073 - ค.ศ. 1087.

33 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ ชิเงะโกะ (จักรพรรดิโกะ-ซังโจ)ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิพ.ศ. 1596พ.ศ. 1611พ.ศ. 1612พ.ศ. 1616พ.ศ. 1628พ.ศ. 1630พ.ศ. 1672พระราชวังหลวงเฮอังการว่าราชการในวัดราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศราชวงศ์ญี่ปุ่นรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่นวัดเบียวโดอุจิจักรพรรดิชิระกะวะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิอิชิโจจักรพรรดิซุโตะกุจักรพรรดินีโชชิจักรพรรดิโกะ-ซังโจจักรพรรดิโฮะริกะวะจักรพรรดิโทะบะโอโตะกุไดโจโฮโอไดโจเท็นโนเซ็สโซและคัมปะกุ18 มกราคม24 กรกฎาคม3 กุมภาพันธ์3 มกราคม7 กรกฎาคม

ฟุจิวะระ ชิเงะโกะ (จักรพรรดิโกะ-ซังโจ)

ฟุจิวะระ ชิเงะโกะ (? – 30 กรกฎาคม 1605) พระสนมและพระราชมารดาในจักรพรรดิญี่ปุ่นโดยเป็นพระสนมใน จักรพรรดิโกะ-ซังโจ จักรพรรดิองค์ที่ 71 และเป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดิชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 72 เมื่อเจ้าชายซะดะฮิโตะพระโอรสขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นจักรพรรดิชิระกะวะใน..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและฟุจิวะระ ชิเงะโกะ (จักรพรรดิโกะ-ซังโจ) · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ

ลาหงส์ในวัดเบียวโด ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ (1535 – 2 มีนาคม 1617) ขุนนางที่เรืองอำนาจใน ยุคเฮอัง เป็นบุตรชายของ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ที่เกิดแต่ มินะโมะโตะ โนะ ริงชิ ได้สืบทอดตำแหน่ง เซ็สโซ ต่อจากบิดาเมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1596

ทธศักราช 1596 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1053.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพ.ศ. 1596 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1611

ทธศักราช 1611 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพ.ศ. 1611 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1612

ทธศักราช 1612 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพ.ศ. 1612 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1616

ทธศักราช 1616 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพ.ศ. 1616 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1628

ทธศักราช 1628 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพ.ศ. 1628 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1630

ทธศักราช 1630 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพ.ศ. 1630 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1672

ทธศักราช 1672 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพ.ศ. 1672 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังหลวงเฮอัง

ระที่นั่งไดโงะกุที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว พระราชวังหลวงเฮอัง (Heian Palace) เคยเป็นที่ประทับของจักรพรรดิญี่ปุ่นช่วงปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและพระราชวังหลวงเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

การว่าราชการในวัด

การว่าราชการในวัด (院政 insei; cloistered rule) เป็นการปกครองแผ่นดินญี่ปุ่นรูปแบบหนึ่งในยุคเฮอัง ซึ่งจักรพรรดิญี่ปุ่นสละราชบัลลังก์แล้วแต่ยังคงพระราชอำนาจและอิทธิพลไว้อยู่ จักรพรรดิที่สละราชย์เหล่านี้มักเสด็จไปประทับในวัด แต่ยังคงควบคุมราชการต่อไปเพื่อคานอำนาจกับผู้สำเร็จราชการแทนจักรพรรดิพระองค์ใหม่และเหล่าแม่ทัพนายกอง ส่วนจักรพรรดิพระองค์ใหม่ก็ทำหน้าที่แต่ในทางประเพณีหรือทางการNussbaum, Louis-Frédéric.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและการว่าราชการในวัด · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศหรือ '''ทะกะมิกุระ''' ในท้องพระโรง '''ชิชินเด็น''' ที่พระราชวังหลวงเคียวโตะ ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ (Chrysanthemum Throne) ราชบัลลังก์ที่ใช้ประกอบ พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ท้องพระโรง ชิชินเด็น ในพระราชวังหลวงเคียวโตะ โดยจักรพรรดิพระองค์ล่าสุดที่ได้ประทับบนราชบัลลังก์นี้คือจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ในคราวพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ญี่ปุ่น

ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1203 ตามตำนาน) โดยเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศนานที่สุดในโลกถึง 1,348 ปี และเป็นราชวงศ์ที่มีการสืบสันติวงศ์มากที่สุดในโลก จนถึงปัจจุบันรวมได้ถึง 125 รัชกาลแล้ว แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนมากอ้างว่าจักรพรรดิ 14 พระองค์แรกเป็นจักรพรรดิในตำนาน อนึ่งเนื่องจากประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นนั้นเริ่มทีหลังจากการมีจักรพรรดิ 14 พระองค์แรก จึงเป็นเรื่องถกเถียงกันว่า หากยังไม่ได้มีการรวมชาติใด ๆ จะมีจักรพรรดิได้เช่นไร สัญลักษณ์ประจำราชวงศ์คือ คิกุ (เรียกเต็มว่า คิกกะมนโช แปลว่า ลัญจกรดอกเบญจมาศ ราชวงศ์ญี่ปุ่นเป็นราชวงศ์แห่งเดียวในโลกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่ถึงแม้จะพ่ายแพ้ในสงคราม แต่พระราชวงศ์ก็มิได้ถูกล้มล้าง แม้สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะจะเป็นผู้ให้การต่อต้านการทำสงครามแต่ก็เป็นผู้คุมอำนาจสำคัญของการทำศึกต่อต้านฝ่ายสัมพันธมิตร ที่ยินยอมให้สหรัฐอเมริกาเข้าควบคุมญี่ปุ่นแทนการถูกนำตัวไปขึ้นศาลโลกในฐานะอาชญากรสงครามและล้มล้างพระราชวงศ์ญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเรียก "จักรพรรดิ" ว่า เท็นโน หมายถึง เทพเจ้าที่มาจากสวรรค์ ซึ่งเป็นคำจำกัดความของ "กษัตริย์ญี่ปุ่น" ราชวงศ์ญี่ปุ่นเคยได้รับการเคารพในฐานะอวตารเทพ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1946 สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะมีพระโองการว่า ทรงเป็นคนธรรมดา และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบียวโด

ลาหงส์ วัดเบียวโด วัดเบียวโด ตั้งอยู่ในเมืองอุจิ จังหวัดเคียวโตะ สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและวัดเบียวโด · ดูเพิ่มเติม »

อุจิ

อุจิ เป็นเมืองในจังหวัดเคียวโตะ ในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางใต้ของนครเคียวโตะ เมืองอุจิถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและอุจิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะ (Emperor Shirakawa) จักรพรรดิองค์ที่ 72 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 1073 - ค.ศ. 1087.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดิชิระกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอิชิโจ

ักรพรรดิอิชิโจ (Emperor Ichijō) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 66 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ในรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอิชิโจหรือเจ้าชายคะเนะฮิโตะเป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิเอ็งยู จักรพรรดิองค์ที่ 64 ขึ้นเป็นรัชทายาทและผู้สืบราชบัลลังก์ในรัชสมัย จักรพรรดิคะซัง จักรพรรดิองค์ที่ 65 พระราชโอรสใน จักรพรรดิเรเซ จักรพรรดิองค์ที่ 63 ผู้เป็นพระภาดา (ลูกพี่ลูกน้อง) เมื่อ ค.ศ. 984 หลังจากนั้นอีก 2 ปีคือในวันที่ 23 เดือน 6 ปี คันนา ที่ 1 ตรงกับวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 986 จักรพรรดิคะซังได้สละราชบัลลังก์ให้กับเจ้าชายคะเนะฮิโตะพระชนมายุเพียง 6 พรรษาขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาเป็น จักรพรรดิอิชิโจ วันรุ่งขึ้นคือวันที่ 24 เดือน 6 ปี คันนา ที่ 1 ตรงกับวันที่ 1 สิงหาคม ได้มีการประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกจักรพรรดิอิชิโจที่ พระราชวังหลวงเฮอัง ในรัชสมัยของจักรพรรดิอิชิโจได้มีการแบ่งแยกตำแหน่งจักรพรรดินีออกเป็น 2 ตำแหน่งอย่างชัดเจนคือ โคโง (Kōgō) หรือจักรพรรดินีองค์ที่ 1 และ ชูงู (Chūgū) หรือจักรพรรดินีองค์ที่ 2 สืบเนื่องจากจักรพรรดิอิชิโจมีจักรพรรดินีอยู่ก่อนแล้วคือ ฟุจิวะระ โนะ เทะชิ บุตรสาวของ ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ แต่ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ผู้เป็นน้องชายของมิชิตะกะต้องการให้บุตรสาวของตนเองเป็นจักรพรรดินีเช่นกันจึงได้ถวายตัวบุตรสาวคนโตคือ ฟุจิวะระ โนะ โชชิ เข้ามาเป็นจักรพรรดินีและจักรพรรดินีโชชิได้มีพระประสูติกาลพระโอรสให้กับจักรพรรดิอิชิโจถึง 2 พระองค์คือ เจ้าชายอะสึฮิระ ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ จักรพรรดิองค์ที่ 68 ที่ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1008 และ เจ้าชายอะสึนะงะ ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 69 ที่ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1009 จักรพรรดิอิชิโจสละราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 13 เดือน 6 ปี คันโค ที่ 8 ตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1011 หรือ 1 วันหลังจากเฉลิมพระชนมายุครบ 31 พรรษาให้กับ เจ้าชายอิยะซะดะ ผู้เป็นพระภาดาและเป็นที่รัชทายาทขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาเป็น จักรพรรดิซังโจ หลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 24 ปีแต่หลังจากนั้นอีก 9 วันอดีตจักรพรรดิอิชิโจก็เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 เดือน 6 ปี คันโค ที่ 8 ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม ขณะพระชนมายุเพียง 31 พรรษ.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดิอิชิโจ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซุโตะกุ

นหลวงของจักรพรรดิซุโตะกุ จักรพรรดิซุโตะกุ (Emperor Sutoku,, 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1119 - 14 กันยายน ค.ศ. 1164) จักรพรรดิองค์ที่ 75 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่าง ค.ศ. 1123 - ค.ศ. 1142.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดิซุโตะกุ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโชชิ

จักรพรรดินีโชชิ (Empress Shōshi, 1431 - 1517) หรือท่าน โจโตมง-อิง จักรพรรดินีใน จักรพรรดิอิชิโจ และพระราชมารดาของจักรพรรดิถึง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ และ จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดินีโชชิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ซังโจ

ักรพรรดิโกะ-ซังโจ (Emperor Go-Sanjō, 3 กันยายน ค.ศ. 1034 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1073) จักรพรรดิองค์ที่ 71 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ซังโจทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 1068 - ค.ศ. 1073 โดยพระนามของพระองค์นำมาจากพระนามของ จักรพรรดิซังโจ จักรพรรดิในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 11 ผู้เป็นพระอัยกา (ตา) ของพระองค์เองโดยเมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปพระนามของพระองค์จึงมีความหมายว่า จักรพรรดิซังโจยุคหลัง หรือ จักรพรรดิซังโจที่ 2.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดิโกะ-ซังโจ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโฮะริกะวะ

ักรพรรดิโฮะริกะวะ (Emperor Horikawa) จักรพรรดิองค์ที่ 73 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 1087 - ค.ศ. 1107.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดิโฮะริกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโทะบะ

มเด็จพระจักรพรรดิโทะบะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 74Imperial Household Agency (Kunaichō): ครองราชย์ในช่วงปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและจักรพรรดิโทะบะ · ดูเพิ่มเติม »

โอโตะกุ

อโตะกุ (Ōtoku) ปี ศักราชของญี่ปุ่น ที่มาหลังจากศักราช เอะอิโฮ และมาก่อนศักราช คันจิ ซึ่งศักราชนี้บังคับใช้อยู่ในช่วง กุมภาพัน..

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและโอโตะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโจโฮโอ

อ หรือ ไดโจโฮ (太上法皇 Daijō Hōō, Daijō Hō แปลตรงตัวว่า มหาธรรมราชา; cloistered emperor) เป็นคำเรียกจักรพรรดิญี่ปุ่นที่สละราชบัลลังก์ออกผนวช บางครั้ง ไดโจโฮโอยังทำหน้าที่เป็นไดโจเท็นโน (มหาจักรพรรดิ) จึงอาจมีอำนาจอยู่แม้สละราชย์แล้ว สมัญญาไดโจโฮโอนี้มอบให้จักรพรรดิโชมุเป็นพระองค์แรก ภายหลังยังมอบให้แก่จักรพรรดิญี่ปุ่นอีกหลายพระองค์ที่ "โกนพระเศียร" เพื่อแสดงพระประสงค์จะเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและไดโจโฮโอ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโจเท็นโน

ักรพรรดิองค์ล่าสุดที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นไดโจเท็นโน ไดโจเท็นโน หรือ ดาโจเท็นโน (太上天皇 Daijō Tennō, Dajō Tennō แปลตรงตัวว่า มหาจักรพรรดิ) เป็นพระอิสริยยศของจักรพรรดิญี่ปุ่นที่สละราชสมบัติ (พระเจ้าหลวง) ตามประมวลกฎหมายไทโฮ ไดโจเท็นโนยังสามารถใช้พระราชอำนาจบางประการของกษัตริย์ได้ การใช้อำนาจเช่นนี้ปรากฏครั้งแรกในสมัยจักรพรรดินีจิโตเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 ไดโจเท็นโนที่ผนวชจะได้รับสมัญญาว่า ไดโจโฮโอ (มหาธรรมราชา) การออกผนวชดังกล่าวประพฤติกันมากในยุคเฮอัง พระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นที่เป็นไดโจเท็นโนแล้วยังใช้พระราชอำนาจกษัตริย์อยู่เป็นพระองค์ล่าสุด คือ จักรพรรดิโคกะก.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและไดโจเท็นโน · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและ3 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กรกฎาคม

วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิชิระกะวะและ7 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ชิระกะวะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »