สารบัญ
21 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิกบฏปีโฮเง็งยุคคะมะกุระยุคเฮอังสงครามเก็มเปฮกเกะ (ฟุจิวะระ)จักรพรรดิชิระกะวะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิอุดะจักรพรรดินีจิโตจักรพรรดิโชมุจักรพรรดิโกะ-ซังโจจักรพรรดิโฮะริกะวะจักรพรรดิโทะบะตระกูลฟูจิวาระตระกูลไทระประเทศญี่ปุ่นโชกุนไดโจโฮโอไดโจเท็นโนเซ็สโซและคัมปะกุ
- การสละราชสมบัติ
- จักรพรรดิญี่ปุ่นผู้ทรงสละราชสมบัติ
ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ
ลาหงส์ในวัดเบียวโด ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ (1535 – 2 มีนาคม 1617) ขุนนางที่เรืองอำนาจใน ยุคเฮอัง เป็นบุตรชายของ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ที่เกิดแต่ มินะโมะโตะ โนะ ริงชิ ได้สืบทอดตำแหน่ง เซ็สโซ ต่อจากบิดาเมื่อ..
ดู การว่าราชการในวัดและฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ
กบฏปีโฮเง็ง
กบฏปีโฮเง็ง (Hōgen Rebellion;; 28 กรกฎาคม – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1156) เป็นสงครามกลางเมือง ช่วงสั้น ๆ ที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งเรื่องสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะกับอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ หลังจากเสร็จสิ้นสงครามที่ยาวนานถึง 20 วันปรากฎว่าฝ่ายอดีตจักรพรรดิซุโตะกุเป็นฝ่ายพ่ายแพ้โยะรินะงะตายในที่รบส่วนทะเมะโยะชิและทะดะมะซะถูกประหารชีวิตทางด้านทะเมะโตะโมะบุตรชายของทะเมะโยะชิและน้องชายของโยะชิโตะโมะหนีรอดไปได้ส่วนอดีตจักรพรรดิและเชื้อพระวงศ์ถูกเนรเทศไปจังหวัดคะงะวะ และสวรรคตที่นั่น และจากสงครามครั้งนี้ทำให้โยะชิโตะโมะได้ก้าวขึ้นมาเป็นประมุขคนใหม่ของตระกูลมินะโมะโตะสายเซวะเก็นจิและทำให้ตระกูลไทระและมินะโมะโตะก้าวขึ้นมาเป็นตระกูลที่มีอำนาจในเฮอัง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.
ดู การว่าราชการในวัดและกบฏปีโฮเง็ง
ยุคคะมะกุระ
มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..
ดู การว่าราชการในวัดและยุคคะมะกุระ
ยุคเฮอัง
อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.
ดู การว่าราชการในวัดและยุคเฮอัง
สงครามเก็มเป
งครามเก็มเป เป็นสงครามอันเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่าง 2 ตระกูลใหญ่ปลายยุคเฮอัง ของญี่ปุ่น จากสงครามครั้งนี้ทำให้ตระกูลไทระพ่ายแพ้และต้องสูญสิ้นอำนาจ ในขณะที่ตระกูลมินะโมะโตะก็เข้าครองอำนาจ และสถาปนารัฐบาลโชกุนคะมะกุระ อาจกล่าวได้ว่า สงครามครั้งนี้เป็นเส้นแบ่งระหว่างยุคเฮอังและยุคคะมะกุร.
ดู การว่าราชการในวัดและสงครามเก็มเป
ฮกเกะ (ฟุจิวะระ)
กเกะ ตระกูลที่เป็นสาขาย่อยของ ตระกูลฟุจิวะระ ก่อตั้งโดย ฟุจิวะระ โนะ ฟุซะซะกิ โดยตระกูลฮกเกะเป็นตระกูลที่มีบทบาทมากที่สุดเพราะเป็นตระกูลของเหล่า เซ็สโซและคัมปะกุ หรือผู้สำเร็จราชการแทนองค์จักรพรรดิ ฟุซะซะกิเป็นบุตรชายของ ฟุจิวะระ โนะ ฟุฮิโตะ โดยมีพี่น้องอีก 3 คนคือ มุชิมะโระ มะโระ และ อุมะไก ซึ่งทั้ง 4 พี่น้องได้ร่วมกันก่อตั้ง 4 สาขาย่อยของตระกูลฟุจิวะระ ในบางครั้งตระกูลฮกเกะของฟุซะซะกิก็มักจะถูกเรียกว่า บ้านเหนือ (Northern House).
ดู การว่าราชการในวัดและฮกเกะ (ฟุจิวะระ)
จักรพรรดิชิระกะวะ
ักรพรรดิชิระกะวะ (Emperor Shirakawa) จักรพรรดิองค์ที่ 72 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิชิระกะวะ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิญี่ปุ่น
จักรพรรดิอุดะ
ักรพรรดิอุดะ (Emperor Uda) จักรพรรดิองค์ที่ 59 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอุดะครองราชบัลลังก์ระหว่าง ค.ศ.
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิอุดะ
จักรพรรดินีจิโต
ักรพรรดินีจิโต(持統天皇 จิโต-เทนโน, พ.ศ. 1188 - 13 มกราคม พ.ศ. 1246) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแห่งญี่ปุ่นพระองค์ที่ 41Imperial Household Agency (Kunaichō): อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณี จักรพรรดินีจิโตครองราชย์ตั้งแต่ปี..
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดินีจิโต
จักรพรรดิโชมุ
ักรพรรดิโชมุ (Emperor Shōmu) จักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นองค์ที่ 45 ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโชมุทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิโชมุ
จักรพรรดิโกะ-ซังโจ
ักรพรรดิโกะ-ซังโจ (Emperor Go-Sanjō, 3 กันยายน ค.ศ. 1034 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1073) จักรพรรดิองค์ที่ 71 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ซังโจทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิโกะ-ซังโจ
จักรพรรดิโฮะริกะวะ
ักรพรรดิโฮะริกะวะ (Emperor Horikawa) จักรพรรดิองค์ที่ 73 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิโฮะริกะวะ
จักรพรรดิโทะบะ
มเด็จพระจักรพรรดิโทะบะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 74Imperial Household Agency (Kunaichō): ครองราชย์ในช่วงปี..
ดู การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิโทะบะ
ตระกูลฟูจิวาระ
ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..
ดู การว่าราชการในวัดและตระกูลฟูจิวาระ
ตระกูลไทระ
ตราประจำตระกูลไทระ ตระกูลไทระ เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ยิ่งใหญ่ ทรงอำนาจอิทธิพลมากที่สุดตระกูลหนึ่งในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ตระกูลไทระสันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิพระองค์หนึ่ง พระนามว่า จักรพรรดิคันมู ในปี พ.ศ.
ดู การว่าราชการในวัดและตระกูลไทระ
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ดู การว่าราชการในวัดและประเทศญี่ปุ่น
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
ไดโจโฮโอ
อ หรือ ไดโจโฮ (太上法皇 Daijō Hōō, Daijō Hō แปลตรงตัวว่า มหาธรรมราชา; cloistered emperor) เป็นคำเรียกจักรพรรดิญี่ปุ่นที่สละราชบัลลังก์ออกผนวช บางครั้ง ไดโจโฮโอยังทำหน้าที่เป็นไดโจเท็นโน (มหาจักรพรรดิ) จึงอาจมีอำนาจอยู่แม้สละราชย์แล้ว สมัญญาไดโจโฮโอนี้มอบให้จักรพรรดิโชมุเป็นพระองค์แรก ภายหลังยังมอบให้แก่จักรพรรดิญี่ปุ่นอีกหลายพระองค์ที่ "โกนพระเศียร" เพื่อแสดงพระประสงค์จะเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร.
ดู การว่าราชการในวัดและไดโจโฮโอ
ไดโจเท็นโน
ักรพรรดิองค์ล่าสุดที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นไดโจเท็นโน ไดโจเท็นโน หรือ ดาโจเท็นโน (太上天皇 Daijō Tennō, Dajō Tennō แปลตรงตัวว่า มหาจักรพรรดิ) เป็นพระอิสริยยศของจักรพรรดิญี่ปุ่นที่สละราชสมบัติ (พระเจ้าหลวง) ตามประมวลกฎหมายไทโฮ ไดโจเท็นโนยังสามารถใช้พระราชอำนาจบางประการของกษัตริย์ได้ การใช้อำนาจเช่นนี้ปรากฏครั้งแรกในสมัยจักรพรรดินีจิโตเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 ไดโจเท็นโนที่ผนวชจะได้รับสมัญญาว่า ไดโจโฮโอ (มหาธรรมราชา) การออกผนวชดังกล่าวประพฤติกันมากในยุคเฮอัง พระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นที่เป็นไดโจเท็นโนแล้วยังใช้พระราชอำนาจกษัตริย์อยู่เป็นพระองค์ล่าสุด คือ จักรพรรดิโคกะก.
ดู การว่าราชการในวัดและไดโจเท็นโน
เซ็สโซและคัมปะกุ
งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.
ดู การว่าราชการในวัดและเซ็สโซและคัมปะกุ
ดูเพิ่มเติม
การสละราชสมบัติ
- การว่าราชการในวัด
- การสละตำแหน่งพระสันตะปาปา
- การเปลี่ยนรัชกาลในประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2562
- ไดโจเท็นโน
- ไดโจโฮโอ
จักรพรรดิญี่ปุ่นผู้ทรงสละราชสมบัติ
- การว่าราชการในวัด
- จักรพรรดิจุนนะ
- จักรพรรดินีจิโต
- จักรพรรดินีเก็นโช
- จักรพรรดินีเก็มเม
- จักรพรรดินีเมโช
- จักรพรรดินีโคเก็ง
- จักรพรรดินีโคเงียวกุ
- จักรพรรดิเซวะ
- จักรพรรดิเรเง็ง
- จักรพรรดิเรเซ
- จักรพรรดิโกะ-เอ็งยู
- จักรพรรดิโกะ-โคงง
- จักรพรรดิโคนิง
- จักรพรรดิโคเมียว
- จักรพรรดิโชมุ
- จักรพรรดิโชเก
- จักรพรรดิโยเซ
- จักรพรรดิไดโงะ
- สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
- ไดโจเท็นโน
- ไดโจโฮโอ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Cloistered ruleCloistered rulerInseiระบบพระประมุขผู้สันโดษว่าราชการในวัดอินเซ