สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ โนะ อิชิฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะฟุจิวะระ โนะ คินชิ (จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ)ฟุจิวะระ โนะ นะรุโกะฟุจิวะระ โนะ เคนชิพ.ศ. 1668พ.ศ. 1735มินะโมะโตะ อะสึชิโกะมินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะราชวงศ์ญี่ปุ่นวัดโฮจูจิโดะโนะจักรพรรดิชิระกะวะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิทะกะกุระจักรพรรดิซุโตะกุจักรพรรดินิโจจักรพรรดิโกะ-ซังโจจักรพรรดิโฮะริกะวะจักรพรรดิโทะบะจักรพรรดิโคะโนะเอะโฮเง็งไทระ โนะ ชิเงะโกะไทระ โนะ คิโยะโมะริไดโจโฮโอเจ้าชายโมะชิฮิโตะเซ็สโซและคัมปะกุ18 ตุลาคม26 เมษายน
- จักรพรรดิญี่ปุ่นผู้ทรงสละราชสมบัติ
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1670
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1735
- บุคคลในยุคคามากูระ
- บุคคลในยุคเฮอัง
ฟุจิวะระ โนะ อิชิ
ฟุจิวะระ โนะ อิชิ (2 กุมภาพันธ์ 1543 – 28 กันยายน 1579) จักรพรรดินีในจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นโดยพระองค์เป็น ชูงู หรือจักรพรรดินีใน จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ พระองค์เป็นธิดาคนที่ 3 ใน ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ พระอัยกา (ตา) ขององค์จักรพรร.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและฟุจิวะระ โนะ อิชิ
ฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะ
ฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะ (Fujiwara no Tamako) จักรพรรดินีใน จักรพรรดิโทะบะ จักรพรรดิองค์ที่ 74 และเป็นพระราชมารดาของ จักรพรรดิซุโตะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 75 และ จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะ
ฟุจิวะระ โนะ คินชิ (จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ)
ฟุจิวะระ โนะ คินชิ (Fujiwara no Kinshi) เป็นจักรพรรดินีในจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77 ดำรงพระยศในช่วง พ.ศ. 1699–1702 แต่ไม่มีพระโอรสธิดาด้วยกัน.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและฟุจิวะระ โนะ คินชิ (จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ)
ฟุจิวะระ โนะ นะรุโกะ
ฟุจิวะระ โนะ นะรุโกะ (? – 5 เมษายน 1720) พระสนมใน จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77 และเป็นพระมารดาของ เจ้าชายโมะชิฮิโตะ พระราชโอรสองค์ที่ 3 ในจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะซึ่งมีส่วนสำคัญในการก่อให้เกิด สงครามเก็มเป ที่ทำให้ ตระกูลไทระ ตระกูลที่ทรงอำนาจและอิทธิพลในขณะนั้นต้องล่มสลาย หมวดหมู่:ราชสำนักญี่ปุ่น หมวดหมู่:ราชวงศ์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและฟุจิวะระ โนะ นะรุโกะ
ฟุจิวะระ โนะ เคนชิ
ฟุจิวะระ โนะ เคนชิ อาจหมายถึง.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและฟุจิวะระ โนะ เคนชิ
พ.ศ. 1668
ทธศักราช 1668 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและพ.ศ. 1668
พ.ศ. 1735
ทธศักราช 1735 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและพ.ศ. 1735
มินะโมะโตะ อะสึชิโกะ
มินะโมะโตะ อะสึชิโกะ (Minamoto Atsushiko, พ.ศ. 1659–1686) เป็นพระชายาในจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77 และเป็นพระราชมารดาของจักรพรรดินิโจ จักรพรรดิองค์ที่ 78 พระชายาอะสึชิโกะประสูติเมื่อ พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและมินะโมะโตะ อะสึชิโกะ
มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ
มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ (1123-11 กุมภาพันธ์ 1160) เป็นซะมุไรคนสำคัญในช่วงปลายยุค เฮอัง และเป็นบิดาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของญี่ปุ่น.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและมินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ
ราชวงศ์ญี่ปุ่น
ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและราชวงศ์ญี่ปุ่น
วัดโฮจูจิโดะโนะ
พระราชสุสานของจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ วัดโฮจูจิโดะโน (Hōjūjidono) วัดในพระพุทธศาสนาของ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่นครเคียวโตะ ซึ่ง จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77 ได้เสด็จมาประทับภายหลังจากสละราชบัลลังก์เมื่อ พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและวัดโฮจูจิโดะโนะ
จักรพรรดิชิระกะวะ
ักรพรรดิชิระกะวะ (Emperor Shirakawa) จักรพรรดิองค์ที่ 72 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิชิระกะวะ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิญี่ปุ่น
จักรพรรดิทะกะกุระ
ักรพรรดิทะกะกุระ (Takakura-Tenno,Emperor Takakura) จักรพรรดิองค์ที่ 80 แห่งญี่ปุ่นครองราชย์ระหว่างปี 1711-1724.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิทะกะกุระ
จักรพรรดิซุโตะกุ
นหลวงของจักรพรรดิซุโตะกุ จักรพรรดิซุโตะกุ (Emperor Sutoku,, 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1119 - 14 กันยายน ค.ศ. 1164) จักรพรรดิองค์ที่ 75 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่าง ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิซุโตะกุ
จักรพรรดินิโจ
ักรพรรดินิโจ (Emperor Nijō) (31 กรกฎาคม ค.ศ. 1143 - 5 กันยายน ค.ศ. 1165) จักรพรรดิองค์ที่ 78 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดินิโจ
จักรพรรดิโกะ-ซังโจ
ักรพรรดิโกะ-ซังโจ (Emperor Go-Sanjō, 3 กันยายน ค.ศ. 1034 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1073) จักรพรรดิองค์ที่ 71 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ซังโจทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิโกะ-ซังโจ
จักรพรรดิโฮะริกะวะ
ักรพรรดิโฮะริกะวะ (Emperor Horikawa) จักรพรรดิองค์ที่ 73 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิโฮะริกะวะ
จักรพรรดิโทะบะ
มเด็จพระจักรพรรดิโทะบะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 74Imperial Household Agency (Kunaichō): ครองราชย์ในช่วงปี..
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิโทะบะ
จักรพรรดิโคะโนะเอะ
ักรพรรดิโคโนะเอะ (Emperor Konoe,, 16 มิถุนายน 1682 - 22 สิงหาคม 1698, ครองราชย์ 1685 - 1698) จักรพรรดิลำดับที่ 76 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ที่ครองราชย์ตามระบบอินเซ จักรพรรดิโคะโนะเอะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและจักรพรรดิโคะโนะเอะ
โฮเง็ง
ง็ง (Hōgen) ปี รัชศก ของญี่ปุ่นหลังปี คิวจู และก่อนปี เฮจิ โดยรัชศกนี้ดำเนินอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1156 - ค.ศ. 1159 ระหว่างรัชสมัย จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ และ จักรพรรดิน.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและโฮเง็ง
ไทระ โนะ ชิเงะโกะ
ไทระ โนะ ชิเงะโกะ (Taira no Shigeko, พ.ศ. 1685 – 14 สิงหาคม พ.ศ. 1719) เป็นพระสนมในจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77 และพระราชมารดาของ จักรพรรดิทะกะกุระ จักรพรรดิองค์ที่ 80 พระสนมชิเงะโกะประสูติเมื่อ พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและไทระ โนะ ชิเงะโกะ
ไทระ โนะ คิโยะโมะริ
ทระ โนะ คิโยะโมะริ (ญี่ปุ่น: たいら の きよもり Taira no Kiyomori หรือ 平清盛 Taira Kiyomori ค.ศ. 1118 - ค.ศ. 1181) หรือ คิโยะโมะริแห่งไทระ ซะมุไรซึ่งเรืองอำนาจขึ้นปกครองญี่ปุ่นในช่วงปลายยุคเฮอังในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถือเป็นชนชั้นซะมุไรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ขึ้นปกครองประเท.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและไทระ โนะ คิโยะโมะริ
ไดโจโฮโอ
อ หรือ ไดโจโฮ (太上法皇 Daijō Hōō, Daijō Hō แปลตรงตัวว่า มหาธรรมราชา; cloistered emperor) เป็นคำเรียกจักรพรรดิญี่ปุ่นที่สละราชบัลลังก์ออกผนวช บางครั้ง ไดโจโฮโอยังทำหน้าที่เป็นไดโจเท็นโน (มหาจักรพรรดิ) จึงอาจมีอำนาจอยู่แม้สละราชย์แล้ว สมัญญาไดโจโฮโอนี้มอบให้จักรพรรดิโชมุเป็นพระองค์แรก ภายหลังยังมอบให้แก่จักรพรรดิญี่ปุ่นอีกหลายพระองค์ที่ "โกนพระเศียร" เพื่อแสดงพระประสงค์จะเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและไดโจโฮโอ
เจ้าชายโมะชิฮิโตะ
เจ้าชายโมะชิฮิโตะ (Imperial Prince Mochihito) (สิ้นพระชนม์ มิถุนายน 1180) เป็นที่รู้จักกันในพระนามของ เจ้าชายทะกะกุระ และ มินะโมะโตะ โมะชิมิสึ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ของ จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ พระองค์ทรงเป็นบุคคลสำคัญที่ก่อให้เกิด สงครามเก็มเป ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อโค่นล้ม ตระกูลไทระ ตระกูลซะมุไรที่กุมอำนาจในราชสำนัก พระองค์สิ้นพระชนม์ด้วยการสำเร็จโทษโดย ตระกูลไทระ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและเจ้าชายโมะชิฮิโตะ
เซ็สโซและคัมปะกุ
งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและเซ็สโซและคัมปะกุ
18 ตุลาคม
วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและ18 ตุลาคม
26 เมษายน
วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะและ26 เมษายน
ดูเพิ่มเติม
จักรพรรดิญี่ปุ่นผู้ทรงสละราชสมบัติ
- การว่าราชการในวัด
- จักรพรรดิจุนนะ
- จักรพรรดินีจิโต
- จักรพรรดินีเก็นโช
- จักรพรรดินีเก็มเม
- จักรพรรดินีเมโช
- จักรพรรดินีโคเก็ง
- จักรพรรดินีโคเงียวกุ
- จักรพรรดิเซวะ
- จักรพรรดิเรเง็ง
- จักรพรรดิเรเซ
- จักรพรรดิโกะ-เอ็งยู
- จักรพรรดิโกะ-โคงง
- จักรพรรดิโคนิง
- จักรพรรดิโคเมียว
- จักรพรรดิโชมุ
- จักรพรรดิโชเก
- จักรพรรดิโยเซ
- จักรพรรดิไดโงะ
- สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
- ไดโจเท็นโน
- ไดโจโฮโอ
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1670
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1735
บุคคลในยุคคามากูระ
- จักรพรรดิจุนโตกุ
- จักรพรรดิชิโจ
- จักรพรรดิชูเกียว
- จักรพรรดิสึจิมิกาโดะ
- จักรพรรดิโกะ-นิโจ
- ชาวไอนุ
- เบ็งเก
- โฮโจ โทกิมาซะ
- โฮโจ โยชิโตกิ
บุคคลในยุคเฮอัง
- จักรพรรดิคัมมุ
- จักรพรรดิจุนนะ
- จักรพรรดินิโจ
- จักรพรรดินีโชชิ
- จักรพรรดิเซวะ
- จักรพรรดิเรเซ
- จักรพรรดิโกะ-เรเซ
- ทะกะชินะ โนะ ทะกะโกะ
- ท่านหญิงนิโจ
- ฟุจิวะระ โนะ มิชิโนะริ
- ฟุจิวะระ โนะ โยะชิมิ
- ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ
- ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ
- มินะโมะโตะ โนะ สึเนะโมะโตะ
- เจ้าชายโมะชิฮิโตะ
- เจ้าหญิงซะกะฮิโตะ
- เบ็งเก
- โฮโจ โทกิมาซะ
- โฮโจ โยชิโตกิ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ โกะ-ชิระกะวะ