เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล

ดัชนี คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล

รลีเนอ อมาเลีย เอลีซาเบ็ท แห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล (Caroline Amalie Elisabeth von Braunschweig-Wolfenbüttel) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันซึ่งอภิเษกเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ คาโรลีเนอประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ.

สารบัญ

  1. 29 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2311พ.ศ. 2337พ.ศ. 2338พ.ศ. 2363พ.ศ. 2364พระราชวังเซนต์เจมส์พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรกรีนิชการปฏิวัติฝรั่งเศสยุโรปภาคพื้นทวีปราชวงศ์แฮโนเวอร์ลอนดอนลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักรวิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จอร์จ แคนนิงจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ประเทศอังกฤษนโปเลียนโปรเตสแตนต์เบราน์ชไวค์เจน ออสเตนเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์17 พฤษภาคม28 มีนาคม29 มกราคม7 สิงหาคม

  2. ดัชเชสแห่งโรธเซย์
  3. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2311
  4. บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2364
  5. ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
  6. ราชินีแห่งฮันโนเฟอร์
  7. เจ้าหญิงเยอรมัน
  8. เจ้าหญิงแห่งเวลส์

พ.ศ. 2311

ทธศักราช 2311 ใกล้เคียงกั.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพ.ศ. 2311

พ.ศ. 2337

ทธศักราช 2337 ใกล้เคียงกั.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพ.ศ. 2337

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพ.ศ. 2338

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพ.ศ. 2363

พ.ศ. 2364

ทธศักราช 2364 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1821.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพ.ศ. 2364

พระราชวังเซนต์เจมส์

ระราชวังเซนต์เจมส์ (ภาษาอังกฤษ: St. James’s Palace) เป็นพระราชวังที่เก่าแก่ที่สุดพระราชวังหนึ่งในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8บนที่เดิมเป็นโรงพยาบาลคนโรคเรื้อนที่อุทิศให้แก่นักบุญเจมส์ ลูกของอัลเฟียส ซึ่งเป็นชื่อที่พระราชวังและอุทยานตั้งตาม โรงพยาบาลถูกยุบเลิกเมื่อปี..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพระราชวังเซนต์เจมส์

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร (George IV of the United Kingdom หรือ George Augustus Frederick) (12 สิงหาคม ค.ศ. 1762 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1830) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์ฮาโนเวอร์ของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และพระเจ้าแผ่นดินแห่งฮาโนเวอร์ แห่งราชอาณาจักรฮาโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 29 มกราคม..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

กรีนิช

หอดูดาวหลวงกรีนิช กรีนิช (Greenwich) เป็นเขตการปกครองของลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ เป็นที่ตั้งของหอดูดาวหลวงกรีนิชระหว่างปี..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและกรีนิช

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและการปฏิวัติฝรั่งเศส

ยุโรปภาคพื้นทวีป

รปภาคพื้นทวีป ยุโรปภาคพื้นทวีป (Continental Europe) หรือยุโรปแผ่นดินใหญ่ (Mainland Europe) หรือทวีป (the Continent) คือแผ่นดินทวีปยุโรปที่ยกเว้นเกาะต่างๆ และบางครั้งก็ยกเว้นคาบสมุทร ในการใช้ในอังกฤษคำนี้นี้หมายถึงทวีปยุโรปที่ยกเว้นสหราชอาณาจักร, เกาะแมน, ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์ ความหมายโดยทั่วไปของ “ยุโรปภาคพื้นทวีป” หมายถึง “ยุโรปแผ่นดินใหญ่ที่ไม่รวมสหราชอาณาจักร ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์” ประเทศเกาะอื่นที่ไม่รวมคือไซปรัสและมอลตา แต่ในบริเวณอื่นของยุโรปความหมายของคำนี้อาจจะแตกต่างออกไป เช่นในบางคำจำกัดความก็ขยายไปถึงประเทศภายในเทือกเขายูราลและเทือกเขาคอเคซัสWA.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและยุโรปภาคพื้นทวีป

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและราชวงศ์แฮโนเวอร์

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและลอนดอน

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์ แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อังกฤษ เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่งสหราชอาณาจักร การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร

วิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์

วิลเลียม วิลด์แฮม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์ (William Wyndham Grenville, Baron Grenville) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรควิก ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรระหว่าง..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและวิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์

อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

จอร์จ แคนนิง

อร์จ แคนนิง (George Canning) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรคทอรี นอกจากจะเป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีในหลายรัฐบาลตลอดจนเป็นผู้นำในสภาสามัญชนแล้ว เขายังได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีอีกด้วย เขาแตกต่างจากนายกรัฐมนตรีหลายๆคนก่อนหน้า คือไม่ได้เกิดมาในตระกูลขุนนางหรือการทหาร มารดาของเขาเป็นนักแสดง ส่วนบิดาเป็นนักธุรกิจและทนายความที่ประสบความล้มเหลว ทำให้แคนนิงต้องถูกอุปการะทางการเงินโดยลุงสแตรธฟอร์ด ซึ่งพาเขาเข้าไปศึกษาที่วิทยาลัยอีตันและโบสถ์คริสต์แห่งอ็อกซฟอร์ด แคนนิงเริ่มเดินเข้าสู่หนทางการเมืองในปี 1793 และก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เขาเป็นสมุหบัญชีกองทัพระหว่าง..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและจอร์จ แคนนิง

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและประเทศอังกฤษ

นโปเลียน

นโปเลียน อาจหมายถึง.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและนโปเลียน

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและโปรเตสแตนต์

เบราน์ชไวค์

ราน์ชไวค์ (Braunschweig; อังกฤษ, ฝรั่งเศส: Brunswick) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐนีเดอร์ซัคเซิน ประเทศเยอรมนี มีฐานะเป็นเมืองอิสระ (kreisfreie Stadt) ตามการบริหารเขตปกครองของเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐ ปัจจุบันมีประชากรราว 247,000 คน ถือเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของรัฐนีเดอร์ซัคเซินรองจากฮันโนเวอร์ เมื่อรวมเขตปริมณฑลของเมืองเข้าด้วยจะมีประชากรราว 1 ล้านคน เบราน์ชไวค์เป็นเมืองศูนย์กลางด้านการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของประเทศและสหภาพยุโรป, Ec.europa.eu, 2014.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและเบราน์ชไวค์

เจน ออสเตน

น ออสเตน (Jane Austen; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1775 – 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1817) เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอังกฤษที่เขียนเรื่องในแนวเหมือนจริง (realism) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีผู้อ่านผลงานมากที่สุดคนหนึ่งในบรรดาวรรณกรรมภาษาอังกฤษทั้งหมด ออสเตนเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางขนาดใหญ่ในแฮมเชอร์ และใช้ชีวิตอยู่ที่นี่เกือบทั้งชีวิต เธอได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากบิดาและพี่ชาย รวมถึงการศึกษาด้วยการอ่านด้วยตนเอง การสนับสนุนจากครอบครัวเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาไปสู่การเป็นนักเขียนอาชีพ เธอเป็นนักอ่านตัวยงและเริ่มเขียนงานตั้งแต่อายุไม่ถึงยี่สิบปี ในบรรดานวนิยายทั้งหกเรื่องที่เธอเขียนจบ เรื่องที่รู้จักกันมากที่สุดได้แก่ Sense and sensibility (ค.ศ.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและเจน ออสเตน

เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์

้าหญิงชาร์ลอตต์ ออกัสตา แห่งเวลส์ (Princess Charlotte Augusta of Wales; 7 มกราคม ค.ศ. 1796 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1817) ทรงเป็นพระราชธิดาและบุตรพระองค์เดียวในเจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ (ต่อมาคือ พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร) กับเจ้าหญิงคาโรลีนแห่งเบราน์ชไวก์ หากว่าเจ้าหญิงทรงมีพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร พระอัยกาและเจ้าชายจอร์จ พระราชบิดา พระนางอาจได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ แต่พระนางสิ้นพระชนม์เสียก่อนด้วยพระชนมายุ 21 พรรษา พระราชบิดาและพระราชมารดาของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ไม่ชอบพอกันตั้งแต่ก่อนการอภิเษกสมรสและแยกกันประทับในเวลาต่อมา เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงให้เจ้าหญิงชาร์ลอตต์อยู่ภายใต้การอภิบาลของพระอภิบาลและข้าบริพาร และทรงได้รับอนุญาตให้ติดต่อเจ้าหญิงแห่งเวลส์อย่างจำกัด ผู้เสด็จออกจากประเทศ เมื่อเจ้าหญิงทรงเจริญพระชันษา พระราชบิดาของเจ้าหญิงทรงกดดันให้พระนางเสกสมรสกับวิลเลิม เจ้าชายรัชทายาทแห่งออเรนจ์ (ต่อมาทรงเป็นพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์) ทีแรกเจ้าหญิงทรงตอบรับการสู่ขอจากเจ้าชาย แต่ต่อมา พระนางทรงยกเลิกการหมั้นนี้ ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างเจ้าหญิงกับพระราชบิดา และที่สุดเจ้าชายแห่งเวลส์ทรงอนุญาตให้เจ้าหญิงเสกสมรสกับเจ้าชายเลโอโปลด์แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (ต่อมาทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม) หลังทรงมีชีวิตสมรสที่มีความสุขเป็นเวลาหนึ่งปีครึ่ง เจ้าหญิงชาร์ลอตต์สิ้นพระชนม์หลังพระประสูติการพระโอรสตายคลอด การสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ทำให้เกิดความโศกเศร้าเสียใจในหมู่ชาวอังกฤษเป็นจำนวนมากซึ่งได้มีการไว้ทุกข์อย่างแพร่หลาย โดยชาวอังกฤษมองพระนางในฐานะสัญลักษณ์แห่งความหวังและต่อต้านพระราชบิดาซึ่งไม่เป็นที่นิยมและพระอัยกาผู้วิปลาส เนื่องจากเจ้าหญิงทรงเป็นพระราชนัดดาที่ถูกต้องตามกฎหมายเพียงพระองค์เดียวของพระเจ้าจอร์จที่ 3 การสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงสร้างแรงกดดันให้พระโอรสของพระมหากษัตริย์ที่ยังโสดต้องเร่งแสวงพระชายา เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น พระราชโอรสองค์ที่สี่ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 ทรงมีรัชทายาทในที่สุด คือ เจ้าหญิงอเล็กซานดรินา วิกตอเรีย ผู้ประสูติหลังเจ้าหญิงชาร์ลอตต์สิ้นพระชนม์ไปแล้ว 18 เดือน.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและ17 พฤษภาคม

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและ28 มีนาคม

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและ29 มกราคม

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ดู คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลและ7 สิงหาคม

ดูเพิ่มเติม

ดัชเชสแห่งโรธเซย์

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2311

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2364

ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์

ราชินีแห่งฮันโนเฟอร์

เจ้าหญิงเยอรมัน

เจ้าหญิงแห่งเวลส์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Caroline of Brunswickสมเด็จพระราชินีคาโรลีน แห่งบรุนสวิคคาโรลีนแห่งเบราน์ชไวก์-โวลเฟนบึทเทิลคาโรไลน์แห่งบรันสวิค สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรคาโรไลน์แห่งบรันสวิค พระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรแคโรไลน์แห่งเบราน์ชไวก์ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร