สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: กรีซโบราณราชวงศ์ทอเลมีสมัยเฮลเลนิสต์ทอเลมีที่ 6คลีโอพัตราที่ 2ประเทศอียิปต์ไทรฟาเอนา
- บุคคลจากคัมภีร์อธิกธรรม
- เสียชีวิตจากยาพิษ
กรีซโบราณ
กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.
ดู คลีโอพัตรา ธีอาและกรีซโบราณ
ราชวงศ์ทอเลมี
ทอเลมีที่ 1ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ทอเลมี ราชวงศ์ทอเลมี (Πτολεμαῖοι หรือ Λαγίδαι, Ptolemaic dynasty หรือ Lagids) หรือบางครั้งก็เรียกว่า ราชวงศ์ลากิดส์ ซึ่งมาจาก ลากัส ชื่อของพระราชบิดาของทอเลมีที่ 1 ราชวงศ์ทอเลมีเป็นราชวงศ์กรีก ผู้ปกครองจักรวรรดิทอเลมีในอียิปต์ระหว่างสมัยกรีก ราชวงศ์ทอเลมีรุ่งเรืองอยู่เกือบ 300 ปี จากตั้งแต่ 305 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนถึง 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทอเลมี หนึ่งในองครักษ์เจ็ดคนผู้รับราชการเป็นนายพลและผู้ช่วยภายใต้อเล็กซานเดอร์มหาราช ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นข้าหลวงของอียิปต์ หลังจากที่อเล็กซานเดอร์เสด็จสวรรคตในปี 323 ก่อนคริสต์ศักราช ในปี 305 ก่อนคริสต์ศักราช ทอเลมีก็ประกาศตนเป็นพระเจ้าทอเลมี และต่อมาเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “โซเตอร์” ที่แปลว่าผู้มาช่วย ต่อมาชาวอียิปต์ก็ยอมรับราชวงศ์ทอเลมีว่าเป็นราชวงศ์ที่สืบการเป็นฟาโรห์ของอียิปต์ ราชวงศ์ทอเลมีปกครองอียิปต์จนมาถูกพิชิตโดยโรมัน ในปี 30 ก่อนคริสต์ศักราช ประมุขผู้เป็นชายทุกองค์ใช้ชื่อทอเลมี ที่เป็นสตรีบางคนก็เป็นพระขนิษฐาของพระราชสวามีมักจะใช้ชื่อ “คลีโอพัตรา” หรือ “อาร์ซิโนเอ” หรือ “เบเรนิเซ” สมาชิกคนสำคัญที่สุดของราชวงศ์คือ พระราชินีองค์สุดท้ายคลีโอพัตราที่ 7 ที่เป็นที่รู้จักกันจากการมีบทบาทในความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์ และ ปอมเปย์ และต่อมาระหว่าง อ็อคเตเวียน และ มาร์ก แอนโทนี การฆ่าตัวตายคลีโอพัตราเป็นการสิ้นสุดการครองอียิปต์ของราชวงศ์ทอเลมี.
ดู คลีโอพัตรา ธีอาและราชวงศ์ทอเลมี
สมัยเฮลเลนิสต์
มัยเฮลเลนิสต์ (Hellenistic period) เป็นสมัยที่เริ่มขึ้นหลังจากอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิดอนได้รับชัยชนะต่อจักรวรรดิเปอร์เชีย ในช่วงนี้อารยธรรมของกรีกก็ขึ้นถึงจุดสูงสุดทั้งในยุโรปและเอเชีย มักจะถือกันว่าเป็นสมัยคาบเกี่ยว (transition) หรือบางครั้งก็เกือบจะถือว่าเป็นสมัยของความเสื่อมโทรมหรือสมัยของการใช้ชีวิตอันเกินเลย (decadence) ระหว่างความรุ่งเรืองของสมัยกรีกคลาสสิก (Classical Greece) กับการเริ่มก่อตัวของจักรวรรดิโรมัน สมัยเฮลเลนิสต์ถือกันว่าเริ่มขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของอเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 323 ก่อนคริสต์ศตวรรษ จนมาสิ้นสุดลงราวปี 146 ก่อนคริสต์ศตวรรษซึ่งเป็นปีที่สาธารณรัฐโรมันได้รับชัยชนะต่อดินแดนสำคัญของกรีซ หรืออาจจะดำเนินต่อมาถึงปี 30 ก่อนคริสต์ศตวรรษเมื่อมาเสียราชอาณาจักรทอเลมีในอียิปต์แก่จักรวรรดิโรมันซึ่งเป็นดินแดนสุดท้ายที่ยังคงรักษาอารยธรรมเฮลเลนิสต์ สมัยเฮลเลนิสต์เป็นสมัยทีเป็นการก่อตั้งราชอาณาจักร และเมืองต่าง ๆ ของกรีกในเอเชียและแอฟริก.
ดู คลีโอพัตรา ธีอาและสมัยเฮลเลนิสต์
ทอเลมีที่ 6
ทอเลมีที่ 6 หรือ ทอเลมีที่ 6 ฟิโลเมเธอร์ (Ptolemy VI Philometor,กรีก: ΠτολεμαῖοςΦιλομήτωρ, Ptolemaios Philomḗtōr ปกครองเป็นเวลาระหว่าง 186-145 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์จากราชวงศ์ทอเลมี พระองค์ทรงครอบครอง 180-145 ปีก่อนคริสตกาล.
ดู คลีโอพัตรา ธีอาและทอเลมีที่ 6
คลีโอพัตราที่ 2
ลีโอพัตราที่ 2 แห่งอียิปต์ (Κλεοπάτρα) (Cleopatra II of Egypt) เป็นสมเด็จพระราชินี (และผู้ปกครองแต่เพียงพระองค์เดียว ในระยะเวลาสั้น ๆ) แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ จากราชวงศ์ทอเลมี.
ดู คลีโอพัตรา ธีอาและคลีโอพัตราที่ 2
ประเทศอียิปต์
รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.
ดู คลีโอพัตรา ธีอาและประเทศอียิปต์
ไทรฟาเอนา
ทรฟาเอนา (Τρύφαινα; ประสูติ 141 ปีก่อนคริสตกาล - 111 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ปโตเลมี พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับกษัตริย์แห่งอาณาจักรซีลิวซิดนามว่า แอนติโอคัสที่ 8 ไกรปัส และมีตำแหน่งเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งซีเรีย ก็มักจะสันนิษฐานว่าพระองค์เคยใช้พระนามคลีโอพัตรา แต่ไม่ได้รับการรับรอง พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์โตของฟาโรห์อียิปต์ ปโตเลมีที่ 8 ฟิสคอน กับพระนางคลีโอพัตราที่ 3 ผู้ซึ่งมีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาและพระมเหสี ดังนั้นพระองค์เป็นพระภคินีของปโตเลมีที่ 9, ปโตเลมีที่ 10, พระนางคลีโอพัตราที่ 4 และพระนางคลีโอพัตรา เซเลเนที่ 1.
ดู คลีโอพัตรา ธีอาและไทรฟาเอนา
ดูเพิ่มเติม
บุคคลจากคัมภีร์อธิกธรรม
เสียชีวิตจากยาพิษ
- คลีโอพัตรา ธีอา
- ควน ปอนเซ เด เลออน
- จักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส
- จักรพรรดิฮั่นผิง
- ชาห์ทาห์มาสพ์ที่ 1 แห่งเปอร์เซีย
- ซารีนามาร์ฟา โซบาคินาแห่งรัสเซีย
- ซารีนาอนาสตาเซีย โรมานอฟนา
- ญะอ์ฟัร อัศศอดิก
- พระเจ้านรสีหบดี
- ยามาดะ นางามาซะ
- ยูเทอร์ เพนแดรกอน
- รอย มาตา
- สมเด็จพระยอดฟ้า
- สุลต่านอับดุล จาลิล ชาห์ที่ 1
- อะลี อัรริฎอ
- อเล็กซานเดอร์ที่ 4 แห่งมาเกโดนีอา
- ฮะซัน อิบน์ อะลี
- ฮั่ว หยวนเจี่ย