สารบัญ
37 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระยาพหลพลพยุหเสนาพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์)พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์)กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)รายนามนายกรัฐมนตรีไทยสำนักพระราชวังสงวน จูฑะเตมีย์หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์คณะรัฐมนตรีคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6ปรีดี พนมยงค์นายกรัฐมนตรีแปลก พิบูลสงครามเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)16 ธันวาคม22 กันยายน29 มีนาคม
พ.ศ. 2476
ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพ.ศ. 2476
พ.ศ. 2477
ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพ.ศ. 2477
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
พระยาพหลพลพยุหเสนา
ระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ทหาร อาจหมายถึง.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระยาพหลพลพยุหเสนา
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)
อำมาตย์เอก พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์) อดีตรัฐมนตรีที่ไม่ได้ประจำกระทรวง (รัฐมนตรีลอย) 3 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 1 สมัย ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของจังหวัดสตูล เมื่อปี..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)
พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
มหาอำมาตย์เอก พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) เป็นบุตรพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม) มารดาชื่อ ศิลา เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)
ระยาอภิบาลราชไมตรี มีนามเดิมว่า ต่อม บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 3 และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นบุตรพลโท เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับคุณใหญ่ (สกุลเดิม โอสถานนท์) เริ่มรับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)
พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)
ลตรี พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) (18 ธันวาคม พ.ศ. 2425 - พ.ศ. 2494) ทหารบกชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)
พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)
มหาอำมาตย์เอก พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) (16 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)
พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์)
ันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพลเอก พระยาพหลพลพยุหเสน.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์)
พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์)
ระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการในสมัยที่พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี เริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 29 มีนาคม..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์)
กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)
กระทรวงพาณิชย์ (Ministry of Commerce) เป็นกระทรวงหนึ่งของประเทศไทยที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการค้า ธุรกิจบริการ ทรัพย์สินทางปัญญา และราชการอื่นๆ ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ตั้งอยู่ที่ 44/100 ถนนสนามบินน้ำ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)
กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)
กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)
กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)
รายนามนายกรัฐมนตรีไทย
้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย
สำนักพระราชวัง
ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และสำนักพระราชวัง
สงวน จูฑะเตมีย์
thumb นายสงวน จูฑะเตมีย์ หรือ เสวกตรี หลวงนฤเบศร์มานิต เกิดปี..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และสงวน จูฑะเตมีย์
หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)
นาวาเอก หลวงศุภชลาศัย ร.น. (22 มกราคม พ.ศ. 2438 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2508) มีชื่อจริงว่า บุง ศุภชลาศัย รองผู้บัญชาการทหารเรือ อธิบดีกรมพลศึกษาคนแรก เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง กรีฑาสถานแห่งชาติ เมื่อ..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และหลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)
หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)
ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
คณะรัฐมนตรี
ณะรัฐมนตรี (council of ministers หรือ cabinet) มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อันประกอบด้วย หัวหน้าคณะ 1 คน ซึ่งมักเรียกว่า นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอื่น ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 (21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6
ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6
ปรีดี พนมยงค์
ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และปรีดี พนมยงค์
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และนายกรัฐมนตรี
แปลก พิบูลสงคราม
งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และแปลก พิบูลสงคราม
เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)
มหาเสวกเอก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา; 31 มีนาคม พ.ศ. 2405 - 26 มกราคม พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัง.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
16 ธันวาคม
วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และ16 ธันวาคม
22 กันยายน
วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และ22 กันยายน
29 มีนาคม
วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และ29 มีนาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 5คณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 ของไทย