โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009

ดัชนี กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009

ซีเกมส์ 2009 มีการจัดการแข่งขันกีฬาทางน้ำทั้งสิ้น 3 ประเภท คือ โปโลน้ำ,ว่ายน้ำ และ กระโดดน้ำ โดยจัดขึ้นที่สระว่ายน้ำของสนามกีฬานานาชาติลาว.

21 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2552กรีฑาในซีเกมส์ 2009การว่ายน้ำกีฬากระโดดน้ำสระว่ายน้ำสหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศซีเกมส์ 2009ประเทศมาเลเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศอินโดนีเซียประเทศไทยประเทศไทยในซีเกมส์ 2009ประเทศเวียดนามโปโลน้ำ10 ธันวาคม11 ธันวาคม12 ธันวาคม13 ธันวาคม14 ธันวาคม5 ธันวาคม7 ธันวาคม

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาในซีเกมส์ 2009

ซีเกมส์ 2009 มีการแข่งขันกรีฑา ขึ้นที่สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 ในระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552-17 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งมีการชิงชัยในกรีฑาทั้งสิ้น 45 เหรียญทอง ซึ่งประเทศไทยคว้าเหรียญทองจากกรีฑาได้มากที่สุด ถึง 14 เหรียญทอง.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และกรีฑาในซีเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

การว่ายน้ำ

การว่ายน้ำท่ากบ การว่ายน้ำ (Swimming) เป็นกระบวนการในการเคลื่อนที่ในน้ำของมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตอื่น การว่ายน้ำของมนุษย์มีจุดประสงค์หลายอย่าง เช่น นันทนาการ การแข่งขัน การออกกำลังกาย การว่ายน้ำนั้นมีการแบ่งออกเป็นท่าต่าง ๆ โดยท่าที่ใช้สำหรับแข่งขันนั้นได้แก่ ท่าฟรีสไตล์ ท่ากบ ท่ากรรเชียง และท่าผีเสื้อ การแข่งขันอีกประเภทหนึ่งคือการแข่งขันแบบ "ฟรีสไตล์" ซึ่งผู้เข้าแข่งขันสามารถว่ายน้ำแบบใดก็ได้ นักว่ายน้ำส่วนใหญ่เลือกใช้ท่าฟรอนท์ครอล (front crawl) ทำให้มักเรียกการว่ายน้ำแบบนี้ว่าฟรีสไตล์ สหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศ (FINA) เป็นจัดการแข่งขันว่ายน้ำ (และกีฬาทางน้ำอื่น) ในระดับนานาชาติ การแข่งขันว่ายน้ำเป็นหนึ่งในการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และการว่ายน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากระโดดน้ำ

นักกีฬากระโดดน้ำจาก โอลิมปิก 1908 กีฬากระโดดน้ำ เป็นกีฬาที่มีวิธีการกระโดดลงไปในน้ำจากกระดานสปริง หรือที่นิยมเรียกตามภาษาอังกฤษว่า สปริงบอร์ด (springboard) จากชานหรือหอกระโดด ซึ่งเรียกกันว่า แพล็ตฟอร์ม (platform) ด้วยการเอาศีรษะหรือเท้าลงไปก่อนและมีท่าทางที่มีความยากง่ายแตกต่างกันมากม.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และกีฬากระโดดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สระว่ายน้ำ

สระว่ายน้ำหลังบ้าน สระว่ายน้ำส่วนตัวบนดาดฟ้า สระว่ายน้ำ คือแหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้สำหรับการว่ายน้ำหรือกิจกรรมนันทนาการ สามารถสร้างให้ลึกลงไปในดินหรืออยู่เหนือพื้นดินก็ได้ และสร้างด้วยวัสดุหลายชนิดเช่นคอนกรีต (หรือเรียกว่า กูไนต์) โลหะ พลาสติก หรือไฟเบอร์กลาสส์ สระว่ายน้ำอาจตกแต่งให้เป็นรูปร่างหรือขนาดตามใจชอบ หรือใช้ขนาดมาตรฐานก็ได้ โดยขนาดใหญ่ที่สุดคือสระว่ายน้ำขนาดที่ใช้ในกีฬาโอลิมปิก ชมรมสุขภาพ เช่น วายเอ็มซีเอ ฟิตเนส และชมรมส่วนตัวจะมีสระว่ายน้ำไว้ออกกำลังกายเป็นส่วนใหญ่ โรงแรมหลายแห่งมีสระว่ายน้ำสำหรับแขก สถานที่เช่น โรงเรียน และมหาวิทยาลัย บางที่ก็มีสระว่ายน้ำสำหรับว่ายน้ำและชั้นเรียนวิชาพลศึกษา หรือสำหรับนักกีฬาแข่งขัน อ่างน้ำร้อนและสปามีสระว่ายน้ำที่มีน้ำร้อนไว้สำหรับการผ่อนคลายและการบำบัดรักษา และอาทั่วไปตามบ้าน โรงแรม ชมรม และโรงนวด สระว่ายน้ำยังใช้สำหรับดำน้ำ และกีฬาชนิดอื่น ๆ และยังใช้สำหรับนักประดาน้ำ และนักบินอวกาศเอาไว้ฝึกฝนด้วย หมวดหมู่:แหล่งน้ำ หมวดหมู่:น้ำ.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และสระว่ายน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศ

หพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศ (Fédération Internationale de Natation) หรือ ฟีน่า (FINA) เป็นองค์กรที่ควบคุมดูแลกีฬาทางน้ำระหว่างประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และสหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2009

กีฬาซีเกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 25 หรือ เวียงจันทน์เกมส์ จัดขึ้นที่เวียงจันทน์ ประเทศลาว ระหว่างวันที่ 9-18 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตัวนำโชคเป็นช้างเผือกงานิล 2 เชือก ตัวผู้ ชื่อ "จำปา" และ ตัวเมีย ชื่อ "จำปี" สัญลักษณ์การแข่งขันเป็นรูปพระธาตุหลวง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของชาติและแม่น้ำโขง ซึ่งสะท้อนถึงวิถีชีวิตของชาวลาว ส่วนสัญลักษณ์นำเอาอักษรลาวโบราณมาจัดทำ และการจัดการแข่งขันในครั้งนี้ยังนับเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสที่กีฬาซีเกมส์จัดการแข่งขันครบรอบ 50 ปีอีกด้ว.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และซีเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในซีเกมส์ 2009

ประเทศไทย ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2009 (ซีเกมส์ ครั้งที่ 25) ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และพิธีปิดในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 857 คน หลังจบสิ้นการแข่งขัน นักกีฬาไทยได้รับเหรียญทอง 86 เหรียญ เหรียญเงิน 83 เหรียญ และเหรียญทองแดง 97 เหรียญ รวม 266 เหรียญ และครองตำแหน่งเจ้าเหรียญทองในครั้งนี้.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และประเทศไทยในซีเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

โปโลน้ำ

กีฬาโปโลน้ำ โปโลน้ำ (Water polo) เป็นกีฬาทางน้ำประเภททีม ทีมหนึ่งประกอบด้วยผู้เล่น 6 คน และผู้รักษาประตูอีก 1 คน ผู้แข่งขันต้องพยายามทำคะแนนจากฝ่ายตรงข้ามให้มากที่สุด การเล่นจะมีองค์ประกอบทั้งการว่ายน้ำ ผู้เล่นจะโยนลูกบอลเข้าไปทำประตูในฝ่ายตรงกันข้าม กีฬาโปโลน้ำจะมีความคล้ายคลึงกับกีฬาแฮนด์บอลเป็นอย่างมาก โดยตำแหน่งของผู้เล่นทั้ง 6 คนเแบ่งดังนี้.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และโปโลน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และ12 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ธันวาคม

วันที่ 7 ธันวาคม เป็นวันที่ 341 ของปี (วันที่ 342 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 24 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กีฬาทางน้ำในซีเกมส์ 2009และ7 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Aquatic at the 2009 Southeast Asian Games

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »