สารบัญ
95 ความสัมพันธ์: ชาวแมนจูชาวโปรตุเกสชิลลาพ.ศ. 2539พ.ศ. 2542พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พระราชวังคย็องบกพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าแทโจการรุกรานญี่ปุ่นของมองโกลการข่มขืนกระทำชำเราการค้าประเวณีภูเขาฟูจิยุทธการที่เซะกิงะฮะระยุทธนาวีอ่าวอกโพยุคอาซูจิ–โมโมยามะยุคเซ็งโงกุยู ซองลยองระเบิดมือรัฐในอารักขาราชวงศ์ชิงราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์โชซ็อนราชวงศ์โครยอลัทธิขงจื๊อวัดพุลกุกซาสมุทรศาสตร์สุสานจมูกสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นสงครามสามสิบปีสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่งหมู่เกาะรีวกีวหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหอคอยอาชญากรรมอธิปไตยอี ซุน-ชินฮนดะ ทะดะกะสึจารกรรมทวีปเอเชียทาสข้าวสาลีดินปืนคริสต์ศตวรรษที่ 14คริสต์ศตวรรษที่ 15คะโต คิโยะมะซะคะโต โยะชิอะกิคาบสมุทรเกาหลี... ขยายดัชนี (45 มากกว่า) »
ชาวแมนจู
แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และชาวแมนจู
ชาวโปรตุเกส
วโปรตุเกส (os portugueses; Portuguese people) คือชนชาติและกลุ่มชาติพันธุ์จากประเทศโปรตุเกส ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตอนใต้-ตะวันตกของทวีปยุโรป ใช้ภาษาโปรตุเกส โดยมากนับถือโรมันคาทอลิก จากประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิโปรตุเกสและการล่าอาณานิคมในแอฟริกา เอเชีย และทวีปอเมริกา เช่นเดียวกับการอพยพตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทำให้มีสังคมชาวโปรตุเกสในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และชาวโปรตุเกส
ชิลลา
อาณาจักรชิลลา (신라; ฮันจา: 新羅, 57 ปีก่อนคริสต์ศักราช — ค.ศ. 935) เป็นหนึ่งในอาณาจักรยุคสามก๊กแห่งเกาหลีสถาปนาโดยพระเจ้าฮย็อกกอเซเมื่อ 57 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และชิลลา
พ.ศ. 2539
ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพ.ศ. 2539
พ.ศ. 2542
ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพ.ศ. 2542
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพ.ศ. 2550
พระราชวังคย็องบก
ระราชวังคย็องบก (경복궁) ตั้งอยู่ที่ตอนเหนือของโซล ประเทศเกาหลีใต้ เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยราชวงศ์โชซ็อน สร้างขึ้นในปี พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพระราชวังคย็องบก
พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน
ระเจ้าซ็อนโจ (선조 宣祖) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โชซ็อนองค์ที่ 14 (พ.ศ. 2110 ถึง พ.ศ. 2151) รัชสมัยของพระองค์เป็นเวลาที่วิกฤตที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีและมีเหตุการณ์สำคัญหลายอย่าง ทั้งการรุกรานของญี่ปุ่นและการแบ่งฝ่ายของกลุ่มซานิมออกเป็นฝ่ายตะวันออก และฝ่ายตะวันตก ที่จะส่งผลต่อการเมืองอาณาจักรโชซ็อนไปอีกหลายร้อยปี แม้ว่าในสมัยของพระเจ้าซ็อนโจจะมีผู้มีความสามารถมากมาย เช่น ลีซุนชิน ลีฮวาง ลีอี แต่ความแตกแยกก็ทำให้โชซ็อนต้องเผชิญกับศึกหนัก องค์ชายฮาซง เป็นพระโอรสขององค์ชายทอกกึง ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจงกับพระสนมอันชางบิน เป็นองค์ชายธรรมดาที่ห่างไกลจากราชบัลลังก์และไม่มีขุนนางใดสนับสนุนให้มีอำนาจ แต่ในพ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน
พระเจ้าแทโจ
ระเจ้าแทโจ (Taejo; 태조) มีความหมายว่า "มหาบรรพบุรุษ" เป็นพระนามของกษัตริย์และจักรพรรดิเกาหลีหลายพระองค์ ได้แก.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพระเจ้าแทโจ
การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล
การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพของจักรวรรดิมองโกล เข้ารุกรานญี่ปุ่นสองครั้ง ในปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และการรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล
การข่มขืนกระทำชำเรา
การข่มขืนกระทำชำเรา (rape) เป็นการทำร้ายร่างกายทางเพศซึ่งปกติเกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์หรือการใช้การล่วงล้ำทางเพศแบบอื่นต่อบุคคลโดยปราศจากความยินยอมของบุคคลเหล่านั้น การกระทำดังกล่าวอาจโดยใช้กำลังทางกาย การบีบบังคับ การละเมิดอำนาจหรือต่อบุคคลที่ไม่สามารถให้ความยินยอมสมบูรณ์ได้ เช่น ผู้ที่หมดสติ ไร้ความสามารถหรืออายุต่ำกว่าอายุที่ยอมให้มีการร่วมประเวณีได้ตามกฎหมาย คำว่า "ข่มขืนกระทำชำเรา" บางครั้งใช้แทนคำว่า "การทำร้ายร่างกายทางเพศ" ได้ อุบัติการณ์การข่มขืนกระทำชำเราที่ตำรวจบันทึกทั่วโลกในปี 2553 แปรผันระหว่าง 0.2 ต่อ 100,000 คนในประเทศอาเซอร์ไบจาน ถึง 92.9 ต่อ 100,000 คนในประเทศบอตสวานา โดยมีค่า 6.3 ต่อ 100,000 คนในประเทศลิทัวเนียเป็นมัธยฐาน United Nations.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และการข่มขืนกระทำชำเรา
การค้าประเวณี
ผู้หญิงขายบริการ ในสถานบริการแห่งหนึ่งในเยอรมนี การค้าประเวณี (prostitution) คือธุรกิจหรือวิธีปฏิบัติโดยการทำกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกกับค่าตอบแทน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เงิน ของ บริการ หรือประโยชน์แบบอื่นตามแต่ตกลง หญิงค้าประเวณีนั้นเรียก นครโสเภณี (prostitute) แปลว่า "หญิงงามเมือง" (โสเภณี แปลว่า หญิงงาม) และมักตัดไปเรียกว่า "โสเภณี" เฉย ๆ ส่วนภาษาถิ่นอีสานเรียก "หญิงแม่จ้าง" และภาษาปากเรียก "กะหรี่", "หญิงหากิน" หรือ "อีตัว" เป็นต้น สำนักของเหล่านครโสเภณีเรียก โรงนครโสเภณี, โรงหญิงนครโสเภณี หรือ ซ่องโสเภณี (bawdy house, brothel, disorderly house, house of ill fame หรือ house of prostitution).
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และการค้าประเวณี
ภูเขาฟูจิ
ูเขาไฟฟูจิ (Fuji Mountain) เป็นภูเขาที่สูงที่สุดใน ประเทศญี่ปุ่น ราว 3,776 เมตร (12,388 ฟุต) ตั้งอยู่บริเวณ จังหวัดชิซุโอะกะ และ จังหวัดยะมะนะชิ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของ โตเกียว พื้นที่โดยรอบ ประกอบด้วย ทะเลสาบฟูจิทั้งห้า อุทยานแห่งชาติฟุจิ-ฮะโกะเนะ-อิซุ และ น้ำตกชิระอิโตะ โดยในวันที่อากาศแจ่มใสสามารถมองเห็นจาก โตเกียว ได้ ในปัจจุบันภูเขาได้ถูกจัดโดยนักวิทยาศาสตร์อยู่ในลักษณะของภูเขาไฟที่มีโอกาสปะทุต่ำ ระเบิดครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และภูเขาฟูจิ
ยุทธการที่เซะกิงะฮะระ
ทธการเซะกิงะฮะระ เป็นยุทธการแตกหักเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และยุทธการที่เซะกิงะฮะระ
ยุทธนาวีอ่าวอกโพ
ยุทธนาวีแห่งอกโพ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2135ซึ่งเป็นปีที่ 25 ในรัชกาลพระเจ้าซอนโจแห่งราชวงศ์โชซอน โดยศึกครั้งนี้ถือว่าเป็นสงครามทางน้ำครั้งแรกโดยแม่ทัพฝ่ายญี่ปุ่น นำโดยโทโด ทะคะโทระ ส่วนแม่ทัพฝ่ายเกาหลีนำโดยยอดขุนพลแม่ทัพ ลี ซุนชิน ปรากฏว่าฝ่ายเกาหลีที่กำลังพลน้อยกว่ากลับมีชัยเหนือกองทัพญี่ปุ่น หมวดหมู่:การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และยุทธนาวีอ่าวอกโพ
ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ
อาซูจิ–โมโมยามะ เป็นยุคที่เริ่มตั้งแต..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และยุคอาซูจิ–โมโมยามะ
ยุคเซ็งโงกุ
ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และยุคเซ็งโงกุ
ยู ซองลยอง
ยู ซองลยอง (ค.ศ. 1542-ค.ศ. 1607) เป็นขุนนางคนสำคัญของราชวงศ์โชซอน เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1542 ในปลายรัชสมัยพระเจ้าจุงจง ครอบครัวของยูเป็นยังบันหรือบัณฑิตทั้งบ้านทั้งปู่และพ่อต่อมาได้เข้ารับราชการในราชสำนัก ทำความดีความชอบจนในปี ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และยู ซองลยอง
ระเบิดมือ
ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดมือ เป็นวัตถุระเบิดที่มีขนาดพอเหมาะกับฝ่ามือ ใช้โดยการจุดชนวนและขว้างไปยังเป้าหมาย เพื่อให้เป้าหมายได้รับแรง, การติดเพลิง, หรือสะเก็ดจากการระเบิด เกิดเป็นความเสียหายของเป้าหมาย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระเบิดขว้าง ระเบิดมือบางรุ่นสามารถใช้ติดกับปากกระบอกปืนเล็กยาวเพื่อการยิงได้ หรือใช้กับเครื่องยิงระเบิดมือที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษก็ได้ ตัวอย่างเช่น ระเบิดก๊าซน้ำตา ที่ใช้ควบคุมจลาจล และเครื่องยิงระเบิดมือแบบ เอ็ม 203 (M203) ที่ติดไว้ใต้ปืนเล็กยาวรุ่นใหม.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และระเบิดมือ
รัฐในอารักขา
ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และรัฐในอารักขา
ราชวงศ์ชิง
ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และราชวงศ์ชิง
ราชวงศ์หมิง
ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และราชวงศ์หมิง
ราชวงศ์หยวน
ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และราชวงศ์หยวน
ราชวงศ์โชซ็อน
ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และราชวงศ์โชซ็อน
ราชวงศ์โครยอ
ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และราชวงศ์โครยอ
ลัทธิขงจื๊อ
หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และลัทธิขงจื๊อ
วัดพุลกุกซา
ระเจดีย์หิน วัดพุลกุกซา เป็นวัดในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ที่จังหวัดคย็องซังเหนือ ประเทศเกาหลีใต้ เป็น 1 ในมรดกโลก ของเกาหลีใต้ วัดนี้ถือว่าเป็นผลงานชิ้นสุดยอดในยุคทองของพระพุทธศาสนาในราชอาณาจักรชิลล.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และวัดพุลกุกซา
สมุทรศาสตร์
Thermohaline circulation สมุทรศาสตร์ หรือ สมุทรวิทยา (oceanography, oceanology, หรือ marine science) คือ ศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทร สมุทรศาสตร์เกี่ยวพันกับศาสตร์แขนงอื่น ๆ อีกหลายสาขา เช่น ธรณีวิทยา ภูมิศาสตร์ ธรณีฟิสิกส์ ฟิสิกส์ เคมี ธรณีเคมี คณิตศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา พฤกษศาสตร์และสัตวศาสตร์ เราอาจแบ่งสมุทรศาสตร์ออกได้เป็น 5 สาขา ดังนี้.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และสมุทรศาสตร์
สุสานจมูก
การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135-2141) สุสานจมูก (鼻の墓) คือสุสานบรรจุจมูกมนุษย์ชาวเกาหลีจำนวนมากที่ถูกสังหารและส่งกลับญี่ปุ่นในฐานะของแลกรางวัลในช่วง การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และสุสานจมูก
สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น
งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น
สงครามสามสิบปี
งครามสามสิบปี (Thirty Years' War) (ค.ศ. 1618 - ค.ศ. 1648) สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ก่อความเสียหายไว้มากที่สุดสงครามหนึ่งของประวัติศาสตร์ยุโรป สงครามส่วนใหญ่สู้รบกันในดินแดนเยอรมนีและมีผู้เข้าร่วมสงครามจากเกือบทุกประเทศในยุโรป อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ต้นเหตุของความขัดแย้งและจุดประสงค์ของผู้เข้าร่วมมีความซับซ้อนและมีเหตุผลในการทำสงครามของฝ่ายต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เมื่อเริ่มแรกการต่อสู้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ความขัดแย้งการทางอำนาจทางการเมืองภายในจักรวรรดิก็เป็นส่วนสำคัญด้วย ในที่สุดสงครามก็ขยายออกไปเป็นความขัดแย้งของอาณาบริเวณต่างๆ ทั่วยุโรป สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากสงครามความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กในการเป็นมหาอำนาจในยุโรปและในที่สุดก็บานปลายไปเป็นสงครามที่ไม่มีเหตุผลใดเกี่ยวข้องกับศาสนา การต่อสู้ส่วนใหญ่ในสงครามสามสิบปีเป็นการต่อสู้โดยกองทัพทหารรับจ้างที่ทำความเสียหายอย่างใหญ่หลวงมาสู่บริเวณที่มีการต่อสู้ และก่อให้เกิดความอดอยากและโรคระบาดจนส่งผลให้จำนวนประชากรของรัฐต่าง ๆ ในเยอรมนี กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และอิตาลีลดลงไปเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสูญเสียอำนาจในหลายบริเวณ ความขัดแย้งที่เป็นสาเหตุของการต่อสู้ก็ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนี้การที่สงครามมีค่าจ่ายทางการทหารเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้รัฐที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ต้องล้มละลายในช่วงท้ายของสงคราม สงครามสามสิบปียุติลงด้วยสนธิสัญญามึนสเตอร์ (Treaty of Münster) ที่เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลี.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และสงครามสามสิบปี
สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง
งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (First Sino-Japanese War) หรือ สงครามญี่ปุ่น-ชิง หรือ สงครามเจี่ยอู่ (甲午戰爭) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิชิงกับจักรวรรดิญี่ปุ่นเพื่อครอบครองคาบสมุทรเกาหลี สงครามนี้เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความอ่อนแอของราชวงศ์ชิง และการประสบผลสำเร็จของญี่ปุ่นที่พัฒนาชาติให้ทันสมัยตามแบบชาติตะวันตกซึ่งเริ่มมาตั้งแต่จักรพรรดิเมจิขึ้นครองราชย์ ส่งผลให้อิทธิพลของราชวงศ์ชิงเสื่อมถอยลงจนนำไปสู่การปฏิวัติในปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง
หมู่เกาะรีวกีว
หมู่เกาะรีวกีว (ルーチュー รูชู) หรือ หมู่เกาะนันเซ เป็นหมู่เกาะยาวรูปโซ่ในแปซิฟิกตะวันตก อยู่สุดขอบทางตะวันออกของทะเลจีนตะวันออก และอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะคีวชูในประเทศญี่ปุ่น จากประมาณปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และหมู่เกาะรีวกีว
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.
หอคอย
ตเกียวสกายทรี เป็นหอคอยที่สูงที่สุดของโลก หอคอย (Tower) เป็นอาคารสูงที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์สำหรับคอยระวังเหตุและสังเกตการณ์ หอคอยมักสร้างขึ้นในลักษณะทางสูงและสามารถยืนอยู่ด้วยโครงสร้างของตัวเอง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และหอคอย
อาชญากรรม
อาชญากรรม คือ การกระทำผิด โดยทำให้เกิดความเดือดร้อน เสียหาย ต่อ ทรัพย์สิน หรือ บุคคล เป็นการเรียกการกระทำทางคดีอาญาแบบทั่วไป ตัวอย่าง อาชญากรรม เช่น การฆ่าคนตาย ปล้นทรัพย์ ข่มขืน ซึ่งกฎหมายโดยทั่วไปของทุกสังคมมักกำหนดบทลงโทษของผู้ก่ออาชญากรรม (เรียกว่า อาชญากร).
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และอาชญากรรม
อธิปไตย
อธิปไตย ในทางพุทธศาสนาหมายถึงอำนาจที่มีผลต่อการตัดสิน มี 3 อำนาจ คือ อัตตาธิปไตย หมายถึงการตัดสินใจที่ถือความคิดของตนเองเป็นที่ตั้ง โลกาธิปไตย การถือตามความคิดของคนส่วนมากเป็นที่ตั้ง ธรรมาธิปไตย การถือตามความถูกต้องโดยถือหลักเหตุผลที่เหมาะสม ไม่ถือตามความเชื่ออย่างสุดโต่ง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และอธิปไตย
อี ซุน-ชิน
อี ซุน-ชิน (28 เมษายน พ.ศ. 2087 – 16 ธันวาคม พ.ศ. 2141) คือแม่ทัพเรือของเกาหลีในยุคราชวงศ์โชซ็อน ที่มีชื่อเสียงจากการนำกองทัพเรือเกาหลีเข้าต่อสู้กับกองทัพเรือญี่ปุ่น ในการรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และอี ซุน-ชิน
ฮนดะ ทะดะกะสึ
นดะ ทะดะกะสึ (17 มีนาคม 1548 – 3 ธันวาคม 1610) เป็นแม่ทัพญี่ปุ่น ในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งบุคคลสำคัญที่ทำให้โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ สามารถจัดตั้งรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะได้ และยังเป็นเจ้าแคว้นโอตะกิ และเจ้าแคว้นคุวะนะ คนแรก.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และฮนดะ ทะดะกะสึ
จารกรรม
รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และจารกรรม
ทวีปเอเชีย
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และทวีปเอเชีย
ทาส
''Le Marché aux esclaves'', ตลาดค้าทาส ฌอง-เลออง เจอโรม ราว ค.ศ. 1884) ทาส หมายถึง บุคคลซึ่งถูกนับสิทธิเสมือนสิ่งของของผู้อื่น ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิต และมีหน้าที่รับใช้ผู้อื่นโดยมิได้รับการตอบแทนจากเจ้าของ (นายทาส) เช่น การรับใช้ทางด้านแรงงาน และหากไม่เชื่อฟังคำสั่ง อาจถูกลงโทษได้ตามแต่นายทาสจะกำหนด ยกเว้นเป็นการกระทำอันทำให้ถึงแก่ความต.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และทาส
ข้าวสาลี
้าวสาลี (Triticum spp.) Belderok, Bob & Hans Mesdag & Dingena A. Donner.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และข้าวสาลี
ดินปืน
นปืนไร้ควัน ดินปืน เป็นสารเคมีที่ไวไฟยิ่งยวด และเมื่อเกิดการเผาไหม้แล้วจะเกิดแก๊ส ซึ่งนำคุณสมบัติด้านนี้ไปใช้ประโยชน์ในหลักการทำงานของปืน กล่าวคือ เมื่อดินปืนเกิดการเผาไหม้อย่างช้าๆ จนไม่สร้างความเสียหายแก่ลำกล้องปืนแล้ว จะเกิดแก๊สขึ้นมา แล้วแก๊สเหล่านี้จะไปขับดันกระสุนที่บรรจุในปืน ทำให้กระสุนปืนพุ่งออกมาจากตัวปืนด้วยความเร็วสูง ดินปืนถูกประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวจีนอย่างแน่นอน หลักฐานชิ้นแรกสุดคือ ดินปืนดำในศตวรรษที่ 13 ที่โรเจอร์ เบคอน อธิบายสูตรเอาไว้.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และดินปืน
คริสต์ศตวรรษที่ 14
ริสต์ศตวรรษที่ 14 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1301 ถึง ค.ศ. 1400.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และคริสต์ศตวรรษที่ 14
คริสต์ศตวรรษที่ 15
ริสต์ศตวรรษที่ 15 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1401 ถึง ค.ศ. 1500.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และคริสต์ศตวรรษที่ 15
คะโต คิโยะมะซะ
ต คิโยะมะซะ เป็นหนึ่งในแม่ทัพในการรุกรานอาณาจักรโชซอนของญี่ปุ่น ด้วยผลงานในสมรภูมิชิซูคะตะเกะของเขาเป็นที่ประจักษณ์ เขาจึงกลายเป็นที่รู้จักในนามของ 1 ใน 7 ทหารเอกแห่งชิซูคะตะเกะ และได้รับศักดินา 3,000 ปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และคะโต คิโยะมะซะ
คะโต โยะชิอะกิ
รูปวาดของคะโต โยะชิอะกิ คะโต โยะชิอะกิ (Katō Yoshiaki; 加藤嘉明, ค.ศ. 1563-ค.ศ. 1631) หนึ่งในแม่ทัพผู้เก่งกาจของโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิและเป็นหนึ่งในแม่ทัพคราวสงครามรีมจินหลังจากฮิเดโยชิถึงแก่อสัญกรรมท่านก็ไปรับใช้ โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ คะโต โยะชิอะกิถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และคะโต โยะชิอะกิ
คาบสมุทรเกาหลี
มุทรเกาหลี (Korean Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตร.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และคาบสมุทรเกาหลี
ตระกูลโทะโยะโตะมิ
ตราประจำตระกูลโทะโยะโตะมิ ตระกูลโทะโยะโตะมิ เป็นตระกูลสำคัญใน ยุคเซ็งโงะกุ เพราะ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ ซึ่งเป็นต้นตระกูลนั้นเป็นขุนศึกคนสำคัญของ โอะดะ โนะบุนะงะ ต่อมาเมื่อโนะบุนะงะสิ้นชีวิตฮิเดะโยะชิจึงขึ้นมามีอำนาจแทน และเมื่อขึ้นมามีอำนาจแล้วฮิเดะโยะชิก็ได้สืบทอดงานของโนะบุนะงะที่ทำค้างไว้ต่อจนสำเร็จคือการรวมญี่ปุ่นให้เป็นหนึ่งเดียว แต่ตระกูลของเขาก็หมดอำนาจและสิ้นสุดลงในสมัยของ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ บุตรชายของเขาที่ ยุทธการเทนโนะจิ ในปี 1615 หมวดหมู่:ตระกูลโทะโยะโตะมิ ทโโยะโทะ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และตระกูลโทะโยะโตะมิ
ซามูไร
ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และซามูไร
ปฏิบัติการทางทหาร
ปฏิบัติการทางทหาร (Military Operation) คือ การประยุกต์ใช้นโยบาย การวางแผน การจัดการและการอำนวยการในการนำกองกำลังและทรัพยากรเข้าสู่รูปแบบรายวัน และดำเนินกิจกรรมดังกล่าวไปจนกว่าจะบรรลุผลตามเป้าหมายที่วางเอาไว้ ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ทางทหาร ปฏิบัติการทางทหาร ข้องเกี่ยวกับการวางแผน การเคลื่อนพล กระบวนการข่าวสารซึ่งประกอบด้วยการรวบรวม วิเคราะห์และกระจายข่าวสาร และการวางตำแหน่งยุทธปัจจัยและเวลาที่ต้องการ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปฏิบัติการทางทหาร
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และประเทศญี่ปุ่น
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และประเทศอินเดีย
ประเทศโปรตุเกส
ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และประเทศโปรตุเกส
ประเทศไต้หวัน
ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และประเทศไต้หวัน
ประเทศเกาหลี
แผนที่ประเทศเกาหลีก่อนที่จะถูกแบ่งออกเป็นเกาหลีเหนือและ เกาหลีใต้ ธงรวมเกาหลี ธงสัญลักษณ์ร่วมสำหรับเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ในการแข่งขันกีฬานานาชาตินับตั้งแต่ ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และประเทศเกาหลี
ปราสาท
ปราสาทคาร์คาโซนในฝรั่งเศส ปราสาท คือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกซึ่งเป็นสัญลักษณ์หลักของสมัยกลาง ความหมายของคำว่าปราสาทยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการถึงความหมายที่แท้จริง แต่โดยทั่วไปแล้วปราสาทมีความหมายต่างจากคำว่า “ป้อม” (fort) และ “ป้อมปราการ” (fortress) ตรงที่ปราสาทเป็นที่ประทับหรือที่พำนักของพระมหากษัตริย์หรือขุนนางในบริเวณที่เป็นจุดที่ต้องมีการป้องกันจากข้าศึก สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่มาของปราสาทคือป้อมโรมัน (Roman fort) และ ป้อมเนิน (Hill fort) ที่สร้างกันทั่วยุโรปที่มาจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในสมัยจักรวรรดิคาโรลินเจียน แต่การวิวัฒนาการของปืนใหญ่และดินปืนในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นการเปลี่ยนลักษณะการสงครามในยุโรปและทำให้สมรรถภาพของปราสาทในการใช้เป็นสิ่งป้องกันการโจมตีจากข้าศึกลดลง และทำให้การสร้างป้อมเป็นที่นิยมกันมากขึ้น สิ่งก่อสร้างในรัสเซียที่เรียกว่า “เคร็มลิน” (Kremlin) หรือในญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ชิโร” (Shiro) ก็ถือว่าเป็นปราสาท.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปราสาท
ปราสาทนาโงยะ
ปราสาทนาโงยะ ปราสาทนาโงยะ (.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปราสาทนาโงยะ
ปราสาทโอซากะ
ปราสาทโอซากะ เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชูโอ นครโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะม.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปราสาทโอซากะ
ปักกิ่ง
ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปักกิ่ง
ปืนคาบศิลา
ปืนคาบศิลาและดาบปลายปืน ปืนคาบศิลา (musket) เป็นปืนที่ใช้ดินปืน(ดิน"แรงดันต่ำ")ตำกรอกทางปากกระบอกปืน จากนั้นรอง"หมอน"นุ่น หรือผ้า แล้วใส่หัวกระสุนทรงกลม ปิดด้วยหมอนอีกชั้น ปืนชนิดนี้เมื่อบรรจุกระสุนไว้ต้องถือตั้งตรงตลอด ไม่งั้นกระสุนอาจไหลออกจากปากลำกล้อง เวลาจะยิงต้องใช้ หิน"คาบศิลา"(หินไฟ-Flint) ตอกกระทบโลหะ หรือกระทบกันเอง (มักทำเป็น คอนกติดหินไฟ ผงกด้วยสปริง) เพื่อจุดดินขับในถ้วยที่โคนปืน ให้ไฟแล่บติดดินขับ วิ่งเข้าไปทางรูที่ท้ายลำกล้อง แล้วจึงเกิดการลุกไหม้ในดินปืน ระเบิดกระสุนออกไป ปืนชนิดนี้เป็นต้นแบบของปืนไรเฟิลในปัจจุบันด้วย ไม่มีผู้ทราบว่าใครประดิษฐ์ขึ้น แต่ว่าในเอกสารทางการทหารของจีนได้มีการกล่าวถึงอาวุธชนิดหนึ่งเรียกว่า "หั่วหลงจิง (火龙经)" ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในแรกเริ่มปืนคาบศิลาไค้มีการออกแบบให้ใช้กับทหารราบเท่านั้น และได้มีการปรับปรุงขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม เช่นมีเกลียวในลำกล้อง การมีกล้องเล็ง มีกระสุนปลายแหลมซี่งแต่เดิมนั้นเป็นลูกกลมๆ และในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ก็มีการประดิษฐ์ปืนชนิดที่บรรจุกระสุนทางท้ายรังเพลิงปืนซึ่งแต่เดิมนั้นบรรจุกระสุนทางปากลำกล้องเข้ามาแทนที.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปืนคาบศิลา
ปืนใหญ่
ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปืนใหญ่
ปืนไฟ
ปืนไฟแบบยาว ปืนไฟแบบสั้น ปืนไฟแบบสั้นอีกแบบ ปืนไฟ หรือ ปืนคาบชุด (Arquebus) เป็นปืนที่ใช้หลักการจุดชนวนด้วย "ชุด" (match) ซึ่งทำมาจากเส้นด้ายชุบเชื้อไฟเพื่อให้เส้นด้ายเกิดการลุกไหม้อย่างช้า ๆ คาบเส้นด้ายไว้ด้วยกระเดื่อง ที่มีลักษณะเหมือนหัวงูซึ่งมีลักษณะโค้งงอไปมาเป็นรูปตัว S เมื่อเหนี่ยวไกปืนเพื่อทำการยิง ปลายของชุดก็จะตีลงบนจานชนวนทำให้เกิดประกายไฟลุกไหม้ขึ้นที่เส้นด้ายและเข้าไปจุดระเบิดดินปืนที่อยู่ภายใน ทำให้เกิดแรงผลักลูกกระสุนออกไปได้.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปืนไฟ
ปูซาน
ปูซาน หรือ พูซัน เป็นเมืองท่าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 3.65 ล้านคน และปูซานยังคงเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ 2 ของประเทศรองจาก โซล บริเวณที่แออัดของปูซานตั้งอยู่บริเวณหุบเขาแคบระหว่างแม่น้ำ นักดง และ แม่น้ำซูหยอง ปูซานได้เคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2002 และงานเอเปค 2005 ที่ผ่านมา และยังคงเป็นเมืองหนึ่งที่ร่วมจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2002 นอกจากนี้ในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2548 ปูซานได้เข้าร่วมประมูลเพื่อจะเป็นเจ้าภาพจัดงานแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และปูซาน
นกปืน
ปืนคาบศิลาสมัยราชวงศ์หมิงที่ใช้นกสับ นก หรือ นกปืน หรือ นกสับ (hammer) เป็นกลไกในการจุดชนวนกระสุน สำหรับปืนไฟหรือปืนคาบศิลา ปืนที่ใช้นกเป็นกลไกจุดชนวน มีใช้งานมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 ในจีน ออตโตมัน และยุโรป ปัจจุบันยังมีใช้อยู่ในปืนลูกโม่ และปืนลูกซองบางชนิด หมวดหมู่:ส่วนประกอบของปืน.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และนกปืน
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และนายกรัฐมนตรี
แมนจูเรีย
นแดนแมนจูเรีย แมนจูเรีย เป็นแคว้นหนึ่งทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ในบางบริบทอาจหมายถึงแคว้นหนึ่งของประเทศจีน (ปัจจุบันเรียกว่าจีนตะวันออกเฉียงเหนือ) หรือครอบคลุมถึงประเทศรัสเซีย ดินแดนนี้เป็นถิ่นอาศัยของชาวเซียนเปย์ ชาวชี่ตัน และชาวแมนจู (ชื่อแคว้นมาจากชื่อชนกลุ่มนี้) ซึ่งสถาปนารัฐของตนขึ้นหลายรัฐในดินแดนนี้.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และแมนจูเรีย
แม่น้ำแทดง
แม่น้ำแทดง เป็นแม่น้ำสายหลักของประเทศเกาหลีเหนือ ไหลจากภูเขารังนิมทางตอนเหนือทางประเทศ ลงสู่อ่าวเกาหลีที่ นัมโพSuh, Dae-Sook (1987) "North Korea in 1986: Strengthening the Soviet Connection" Asian Survey 27 (1): pp.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และแม่น้ำแทดง
แคซ็อง
แคซ็อง เดิมมีชื่อว่า ช็องโด เป็นเมืองหลวงเก่าของเกาหลีสมัยราชวงศ์โครยอ ตังแต่รัชกาลพระเจ้าแทโจ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าแทโจแห่งราชวงศ์โชซ็อน ทรงย้ายราชธานีจากแคซ็องไปอยู่ที่ฮันยังหรือฮันซ็อง (กรุงโซลในปัจจุบัน) พอถึงรัชกาลพระเจ้าแทจง โปรดให้ย้ายราชธานีกลับมาที่นี่ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชก็โปรดให้ย้ายราชธานีกลับไปที่ฮันยังจนถึงปัจจุบัน คแคซ็อง คแคซ็อง คแคซ็อง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และแคซ็อง
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโชกุน
โมริ เทะรุโมะโตะ
โมะริ เทะรุโมะโตะ ไดเมียวแห่งโจชูคนที่ 1 โมะริ เทะรุโมะโตะ (Mori Terumoto,4 กุมภาพันธ์ 1553 - 2 มิถุนายน 1625) เป็นไดเมียวหรือเจ้าแคว้นโจชูคนแรก หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโมริ เทะรุโมะโตะ
โอดะ โนบูนางะ
อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโอดะ โนบูนางะ
โจรกรรม
รกรรม (ศัพท์ทางศาสนาเรียกว่า ไถยกรรม) หมายถึงการกระทำที่นำเอาทรัพย์สินของผู้อื่นโดยเจตนา เพื่อยึดทรัพย์สินนั้นมาเป็นของตน ซึ่งเจ้าของทรัพย์สินไม่ได้อนุญาตหรือยินยอม คำนี้สามารถเรียกแทนอาชญากรรมบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินอาทิ การลักทรัพย์ (ขโมย) การลักทรัพย์ในเคหสถาน (ย่องเบา/ยกเค้า) การลักทรัพย์ในร้านค้า การยักยอก การชิงทรัพย์ (ปล้น) การฉกชิงทรัพย์ (ปล้นสะดม) และการฉ้อโกง ในบางเขตอำนาจศาล "โจรกรรม" (theft) มีความหมายเหมือนกับ "การลักทรัพย์" (larceny) โจร หมายถึงผู้ที่กระทำโจรกรรมดังกล่าว ภาษาพูดอาจเรียกว่า ผู้ร้าย โบราณเรียก ฎางการ ก็มี ราชบัณฑิตยสถาน.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโจรกรรม
โทกูงาวะ อิเอยาซุ
ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโทกูงาวะ อิเอยาซุ
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ
ริสิ้นชีวิตพร้อมกับนางโยะโดะเมื่อปี ค.ศ. 1615 ในเหตุการณ์ การล้อมโอซะกะ ขณะอายุได้เพียง 22 ปีส่วนบุตรชายถูกจับประหารชีวิตและบุตรสาวถูกส่งไปอยู่วัดชี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ
โซล
ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโซล
ไดเมียว
ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และไดเมียว
เชลยศึก
ลยศึก (prisoner of war) หมายถึง บุคคลที่อยู่ในการคุมขังของฝ่ายข้าศึกระหว่างหรือหลังการขัดกันด้วยอาวุธทันที ไม่ว่าบุคคลนั้นจะเป็นพลรบหรือผู้ที่มิใช่พลรบก็ตาม วลีดังกล่าวมีบันทึกว่าใช้ครั้งแรกประมาณ..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเชลยศึก
เกาหลี
กาหลี อาจหมายถึง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเกาหลี
เกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น
กาหลีภายใต้การปกครองของมหาจักรวรรดิญี่ปุ่น หรือ เกาหลีของญี่ปุ่น หมายถึงช่วงเวลาที่แผ่นดินเกาหลีที่มีสถานะเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี ในปี..
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น
เกาะลูซอน
ลูซอน (Luzon) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ (อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันและมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือ และเกาะต่าง ๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันดัวเนส เกาะมารินดูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดิซ้องน้อย" (Lesser Song Empire) หรือ Lusong Kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" (Luçonia) หรือ "ลูซอน" (Luçon) ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธิ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา (Nueva Castilla) หรือ นิวคาสตีล (New Castile) อีกด้วย ต่อมาในช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ อากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยู่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งเกาะลูซอนและเกาะอื่น ๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเกาะลูซอน
เกาะคีวชู
ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเกาะคีวชู
เรือธง
รือวิคตอรีเป็นหนึ่งในเรือธงของราชนาวีอังกฤษ เรือธง (Flagship) เป็นเรือที่มีผู้บัญชาการกองเรือ ใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะเป็นเรือที่ส่งอาณัติสัญญาณให้เข้าโจมตี กองทัพเรือไทยมีเรือธงได้แก่ เรือหลวงจักรีนฤเบศร เรือหลวงแม่กลอง แม่คำของ "เรือธง" คือ เรือ ในปัจจุบันคำว่า "เรือธง" ไม่เพียงแต่หมายถึงเรือเท่านั้น แต่ถูกยืมมาใช้กับอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น วงการค้าปลีก เพื่อสื่อความถึงผลิตภัณฑ์ที่แพงที่สุด หรือที่ดีที่สุดของบริษัทนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม การใช้คำดังกล่าวในภาษาไทยเป็นการแปลแบบตรงตัวมาจากคำ "Flagship" ในภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นสำนวนภาษาต่างประเทศที่ไม่มีในภาษาไทยมาตรฐาน การใช้คำในความหมายดังกล่าวจึงอาจทำให้เกิดความสับสนได้โดยง่ายและกลายเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเรือธง
เสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่
หลุมฝังศพทหารปืนกลอเมริกันระหว่างยุทธการแห่งนอร์มังดี สุสานหาดโอมาฮาในแคว้นนอร์มังดี ของฝรั่งเศส เสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่ (Killed in action หรือ KIA หรือ K.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เจ้าชายควังแฮ
้าชายควังแฮ (광해군 光海君; ค.ศ. 1574 — ค.ศ. 1641) พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 15 แห่งราชอาณาจักรโชซอนโดยครองราชย์ในช่วงปี ค.ศ. 1608 — ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเจ้าชายควังแฮ
เครื่องถ้วยเปลือกไข่
เครื่องเคลือบดินเผา (porcelain) มีความหมายคล้ายคลึงกับ เครื่องปั้นดินเผา แต่ในทางปฏิบัติแล้วเป็นงานหัตถกรรมชนิดเดียวกัน เครื่องเคลือบดินเผาอาจจะมีความหมายที่อธิบายได้มากกว่าในการที่มีการเคลือบบนผิวดินแล้วนำไปเผา เคลือบนั้นสามารถเป็นวัสดุอะไรก็ได้ที่มีความเหมาะสมในการยึดเกาะติดกับผิวงานดินเผา และสามารถหลอมตัวเมื่อได้รับความร้อน (หรือการได้รับพลังงานนั่นเอง)ที่พอเหมาะ เคลือบที่นิยมส่วนใหญ่จะเป็นเคลือบที่มีลักษณะมันวาว สามารถห่อหุ้มวัสดุดินเผาที่มีความพรุนได้ดี สามารถป้องกันสิ่งสกปรกซึ่งจะเป็นการง่ายสำหรับการทำความสะอาด ตัวอย่างของเคลือบที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันเช่นเคลือบเซเลดอน (Celadon) ซึ่งเป็นเคลือบสีเขียวอ่อนๆ ซึ่งได้จากการเผาสารประกอบเหล็กออกไซด์ (FeO)ในบรรยากาศ reduction (คือการเผาแบบไม่ใช้ออกซิเจน) หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเครื่องถ้วยเปลือกไข่
เคียวโตะ
ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเคียวโตะ
เปียงยาง
ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเปียงยาง
10 มิถุนายน
วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และ10 มิถุนายน
24 เมษายน
วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และ24 เมษายน
4 มิถุนายน
วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.
ดู การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และ4 มิถุนายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Japanese invasions of Korea (1592–98)การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่นการรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135-2141)การรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135–2141)สงครามรีมจิน