สารบัญ
4 ความสัมพันธ์: การค้นหาแบบจำกัดความลึกการค้นหาในแนวกว้างขั้นตอนวิธีปัญญาประดิษฐ์
- ขั้นตอนวิธีกราฟ
- ขั้นตอนวิธีการค้นหา
การค้นหาแบบจำกัดความลึก
การค้นแบบจำกัดความลึก หรือ การค้นหาแบบจำกัดความลึก (depth limited search) เป็นขั้นตอนวิธีทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการหาปมบนกราฟซึ่งได้ปรับปรุงจากการค้นหาเชิงลึก (depth first search) เพื่อใช้ในงานค้นหากราฟ ที่ต้องการประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยขั้นตอนวิธีนี้ เป็นพื้นฐานของ Iterative deepening depth-first search ซึ่งเป็นขั้นตอนวิธีสำหรับการค้นหาสถานะ (state space search) ที่อาศัยการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึกไปเรื่อยๆ เพื่อหาคำตอบที่ดีที.
ดู การค้นหาในแนวลึกแบบวนเพิ่มความลึกและการค้นหาแบบจำกัดความลึก
การค้นหาในแนวกว้าง
right ในทฤษฎีกราฟ การค้นหาตามแนวกว้าง (breadth-first search หรือย่อว่า BFS) คือขั้นตอนวิธีในการท่องกราฟอย่างหนึ่ง โดยในขณะที่กำลังท่องกราฟมายังจุดยอดหนึ่ง ๆ นั้น จะมีการกระทำสองอย่างคือ: (ก) เข้าเยี่ยมและตรวจสอบจุดยอดดังกล่าว (ข) เข้าถึงจุดยอดข้างเคียงของจุดยอดดังกลาว การท่องกราฟจะเริ่มต้นที่จุดยอดรากที่กำหนดและไปยังจุดยอดอื่น ๆ จนเกิดเป็นต้นไม้แบบทอดข้าม การท่องกราฟอีกรูปแบบที่คล้ายคลึงกันคือการค้นหาในแนวลึก การค้นในลักษณะนี้ถูกใช้เป็นแนวคิดพื้นฐานในการแก้ปัญหาทฤษฏีกราฟรวมถึงการค้นในปริภูมิสถานะ เนื่องจากมีลักษณะของการแวะผ่านปมไปทีละระดับ จึงเรียกอีกอย่างว่า การค้นทีละระดับ (Level-order search).
ดู การค้นหาในแนวลึกแบบวนเพิ่มความลึกและการค้นหาในแนวกว้าง
ขั้นตอนวิธี
ั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจากการแก้ปัญหาแบบสามัญสำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time), และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง หนึ่งในขั้นตอนวิธีอย่างง่าย คือ ขั้นตอนวิธีที่ใช้หาจำนวนที่มีค่ามากที่สุดในรายการ (ซึ่งไม่ได้เรียงลำดับไว้) ในการแก้ปัญหานี้ เราจะต้องดูจำนวนทุกจำนวนในรายการ ซึ่งมีขั้นตอนวิธีดังนี้.
ดู การค้นหาในแนวลึกแบบวนเพิ่มความลึกและขั้นตอนวิธี
ปัญญาประดิษฐ์
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ เอไอ (AI) หมายถึงความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต ปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาหนึ่งในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และวิศวกรรมเป็นหลัก แต่ยังรวมถึงศาสตร์ในด้านอื่น ๆ อย่างจิตวิทยา ปรัชญา หรือชีววิทยา ซึ่งสาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการคิด การกระทำ การให้เหตุผล การปรับตัว หรือการอนุมาน และการทำงานของสมอง แม้ว่าดังเดิมนั้นเป็นสาขาหลักในวิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่แนวคิดหลาย ๆ อย่างในศาสตร์นี้ได้มาจากการปรับปรุงเพิ่มเติมจากศาสตร์อื่นๆ เช่น.
ดู การค้นหาในแนวลึกแบบวนเพิ่มความลึกและปัญญาประดิษฐ์
ดูเพิ่มเติม
ขั้นตอนวิธีกราฟ
- การค้นหาแบบดีสตาร์
- การค้นหาแบบสองทิศทาง
- การค้นหาแบบเอสตาร์
- การค้นหาในแนวกว้าง
- การค้นหาในแนวกว้างตามการเรียงลำดับแบบพจนานุกรม
- การค้นหาในแนวลึกแบบวนเพิ่มความลึก
- การไม่ปิดกั้นของสวิตซ์แบบทอดข้ามต่ำสุด
- ขั้นตอนวิธีการผลักดัน - ติดป้ายใหม่
- ขั้นตอนวิธีการลบย้อนกลับ
- ขั้นตอนวิธีการหาปมบรรพบุรุษร่วมใกล้สุดของคู่ปมของทาร์จาน
- ขั้นตอนวิธีของคริสโตไฟด์
- ขั้นตอนวิธีของครูสกาล
- ขั้นตอนวิธีของคาร์เกอร์
- ขั้นตอนวิธีของจอห์นสัน
- ขั้นตอนวิธีของดีนิซ
- ขั้นตอนวิธีของทาร์จัน
- ขั้นตอนวิธีของพริม
- ขั้นตอนวิธีของฟลอยด์-วอร์แชล
- ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สัน
- ขั้นตอนวิธีของเบลแมน-ฟอร์ด
- ขั้นตอนวิธีของเอ็ดมอนด์-คาป
- ขั้นตอนวิธีของเอ็ดมอนส์
- ขั้นตอนวิธีของโกสรชุ
- ขั้นตอนวิธีของโบรุฟกา
- ขั้นตอนวิธีของไดก์สตรา
- ขั้นตอนวิธีมินิแมกซ์
- ขั้นตอนวิธีฮอปครอฟท์-คาร์พ
- ขั้นตอนวิธีโบรน-เคอร์โบสท์
- ปัญหาทางเดินม้าหมากรุก
- ปัญหาวิถียาวสุด
- เพจแรงก์
ขั้นตอนวิธีการค้นหา
- Exponential Search
- กลวิธีการค้นหาแบบฟีโบนัชชี
- การค้นหาตามค่าดีสุด
- การค้นหาเพื่อนบ้านใกล้สุด
- การค้นหาแบบกระโดด
- การค้นหาแบบกองซ้อนบีม
- การค้นหาแบบดีสตาร์
- การค้นหาแบบทริปเพิลเอสสตาร์
- การค้นหาแบบทวิภาค
- การค้นหาแบบทวิภาคอย่างมีเอกรูป
- การค้นหาแบบทาบู
- การค้นหาแบบบีม
- การค้นหาแบบสองทิศทาง
- การค้นหาแบบเบสท์บินเฟิร์สท์
- การค้นหาแบบเอสตาร์
- การค้นหาแบบไตรภาค
- การค้นหาโดยการประมาณช่วง
- การค้นหาในแนวกว้าง
- การค้นหาในแนวกว้างตามการเรียงลำดับแบบพจนานุกรม
- การค้นหาในแนวลึกแบบวนเพิ่มความลึก
- ขั้นตอนวิธีการค้นหา
- ขั้นตอนวิธีการค้นหาเพื่อนบ้านใกล้สุด k ตัว
- ขั้นตอนวิธีของจอห์นสัน
- ขั้นตอนวิธีของไดก์สตรา
- ขั้นตอนวิธีมินิแมกซ์
- ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม
- ต้นไม้ค้นหาไตรภาค
- ฟังก์ชันแฮช
- วิธีสยาม
- แฮชชิงคู่
- โครงสร้างข้อมูลเซตไม่มีส่วนร่วม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Iterative deepening depth-first searchการค้นเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก