เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กลุ่มภาษาบะห์นาริก

ดัชนี กลุ่มภาษาบะห์นาริก

กลุ่มภาษาบะห์นาริก (Bahnaric Languages) เป็นภาษาในกลุ่มมอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก แบ่งเป็น 5 กลุ่มย่อย คือ.

สารบัญ

  1. 8 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษามอญ-เขมรภาษาบะห์นัรภาษามนองภาษาละเว็นภาษาฮาลังภาษาฮเรภาษาโอยภาษาเซดัง

  2. ภาษาในประเทศกัมพูชา
  3. ภาษาในประเทศลาว

กลุ่มภาษามอญ-เขมร

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ..

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและกลุ่มภาษามอญ-เขมร

ภาษาบะห์นัร

ษาบะห์นัร (Bahnar ISO 639-3) หรือภาษาบานา มีผู้พูดในเวียดนาม 158,456 คน (พ.ศ. 2542) ในบริเวณที่สูงทางภาคกลาง จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก.

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและภาษาบะห์นัร

ภาษามนอง

ษามนอง เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมนองกลุ่มต่างๆ ในเวียดนามซึ่งแบ่งเป็น ภาษามนองกลาง ภาษามนองตะวันออก และภาษามนองใต้ ซึ่งแต่ละกลุ่มไม่สามารถเข้าใจสำเนียงของกลุ่มอื่นได้ ภาษาน้มีการศึกษาทางภาษาศาสตร์ครั้งแรกเมื่อราว..

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและภาษามนอง

ภาษาละเว็น

ษาละเว็น (Laven) หรือภาษาโลเว็น ภาษาโบโลเว็น ภาษาบอริเว็น ภาษายะรู มีผู้พูด 40,519 คน (พ.ศ. 2538) บริเวณที่ราบสูงบอละเวน แขวงจำปาศักดิ์และแขวงอัตตะปือ ลาวตะวันออกเฉียงใต้ จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก.

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและภาษาละเว็น

ภาษาฮาลัง

ภาษาฮาลังหรือภาษาซาลังเป็นภาษากลุ่มบะห์นาริก อยู่ในภาษากลุ่มมอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก มีผู้พูดในแขวงอัตตะปือ ประเทศลาว ราว 4,000 คน และจังหวัดกอน ตุม ประเทศเวียดนาม อีกราว 13,500 คน ใความหมายที่เฉพาะ ภาษาฮาลังหมายถึงภาษาที่พูดในเวียดนาม ส่วนภาษาซาลังเป็นภาษาที่พุดในลาว อย่างไรก็ตาม ในเวียดนามถือว่า ชนที่พูดภาษาฮาลังเป็นกลุ่มย่อยของชาวเซดัง ฮาลัง ฮาลัง.

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและภาษาฮาลัง

ภาษาฮเร

ษาฮเร (Hre) มีผู้พูดทั้งหมด 113,000 คน (พ.ศ. 2542) ในเวียดนามทางภาคใต้ จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรละติน ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต.

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและภาษาฮเร

ภาษาโอย

ษาโอย (Oy) มีผู้พูดทั้งหมด 14,947 คน (พ.ศ. 2538) ในแขวงอัตตะปือ ประเทศลาว บริเวณที่ราบโบโลเวนต์ ใกล้ปากเซ 80% พูดได้เพียงภาษาเดียว อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อย บะห์นาริก.

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและภาษาโอย

ภาษาเซดัง

ษาเซดัง เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก มีผู้พูดทั้งหมด 101,790 คน พบในเวียดนาม 101,000 คน (พ.ศ.

ดู กลุ่มภาษาบะห์นาริกและภาษาเซดัง

ดูเพิ่มเติม

ภาษาในประเทศกัมพูชา

ภาษาในประเทศลาว