เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กฤษณ์ สีวะรา

ดัชนี กฤษณ์ สีวะรา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.

สารบัญ

  1. 49 ความสัมพันธ์: บุญชัย บำรุงพงศ์พ.ศ. 2457พ.ศ. 2474พ.ศ. 2479พ.ศ. 2506พ.ศ. 2509พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2522พ.ศ. 2546พลอากาศเอกพลเรือเอกพลเอกกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กอล์ฟรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยวชิราวุธวิทยาลัยวุฒิสภาไทยสงัด ชลออยู่อภัย จันทวิมลจังหวัดสกลนครถนอม กิตติขจรทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยาทวี จุลละทรัพย์ข้าวเหนียวมะม่วงณรงค์ กิตติขจรคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37ประภาส จารุเสถียรประมาณ อดิเรกสารโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าโรงเรียนเทพศิรินทร์โอสถ โกศินเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญราชการชายแดนเหตุการณ์ 14 ตุลา1 ธันวาคม1 ตุลาคม23 เมษายน29 มีนาคม3 ทรราช8 กุมภาพันธ์

  2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทย
  3. สมาชิกวุฒิสภาไทย

บุญชัย บำรุงพงศ์

ลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 12 กันยายน พ.ศ. 2538) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหารบก ลำดับที่ 20 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและบุญชัย บำรุงพงศ์

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2457

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2474

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2479

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2506

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2509

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2519

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2522

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพ.ศ. 2546

พลอากาศเอก

ลอากาศเอก (air chief marshal) คือ ยศของเจ้าพนักงานทหารอากาศระดับสี่ดาว ซึ่งใช้เป็นครั้งแรกในกองทัพอากาศอังกฤษ และปัจจุบันก็ยังใช้อยู่ในกองทัพดังกล่าว ยศนี้ยังได้รับการใช้ในกองทัพอากาศของหลาย ๆ ประเทศซึ่งได้รับอิทธิพลทางประวัติศาสตร์มาจากประเทศอังกฤษ เจ้าพนักงานซึ่งดำรงยศพลอากาศเอกนี้มักเป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้ใหญ่อย่างยิ่ง เช่น เป็นผู้บัญชาการกองทัพหรือกองทัพอากาศระดับชาต.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพลอากาศเอก

พลเรือเอก

พลเรือเอก (admiral) คือ ยศสูงสุดสำหรับทหาร/ตำรวจ ที่มีหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่การทำงานภาคพื้นทะเลเท่านั้น หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:พลเรือเอก.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพลเรือเอก

พลเอก

ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.

ดู กฤษณ์ สีวะราและพลเอก

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ดู กฤษณ์ สีวะราและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.

ดู กฤษณ์ สีวะราและกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กอล์ฟ

ลูกกอล์ฟและหลุมกอล์ฟ กอล์ฟ คือกีฬาหรือเกมประเภทบอลชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นใช้ไม้หลายชนิดตีลูกบอลให้ลงหลุม จากกฎของกอล์ฟ ระบุว่า "กีฬากอล์ฟประกอบด้วยการเล่นลูกใดลูกหนึ่งด้วยไม้กอล์ฟจากแท่นตั้งทีไปลงหลุมโดยการสโตรคหนึ่งครั้งหรือหลายครั้งต่อเนื่องกันตามกฎข้อบังคับ" กอล์ฟเป็นหนึ่งในกีฬาประเภทบอลเพียงไม่กี่ชนิดที่ไม่มีอาณาเขตการเล่นที่แน่นอน (สนามกอล์ฟแต่ละแห่งสามารถมีรูปร่างและขนาดต่างกัน) ต้นกำเนิดของกอล์ฟนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ระหว่างเนเธอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และจีน โดยมีการเล่นกอล์ฟมาแล้วอย่างน้อยห้าศตวรรษในหมู่เกาะบริเตน กอล์ฟในรูปแบบปัจจุบันได้มีการเล่นในสกอตแลนด์ตั้งแต่พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและกอล์ฟ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู กฤษณ์ สีวะราและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ดู กฤษณ์ สีวะราและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..

ดู กฤษณ์ สีวะราและรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ดู กฤษณ์ สีวะราและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

วชิราวุธวิทยาลัย

วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ดู กฤษณ์ สีวะราและวชิราวุธวิทยาลัย

วุฒิสภาไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและวุฒิสภาไทย

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและสงัด ชลออยู่

อภัย จันทวิมล

อภัย จันทวิมล เกิดวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 ที่อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนส่งเสริมคณะลูกเสือแห่งชาติ ในคณะกรรมการลูกเสือโลก ขององค์การลูกเสือโลก ตั้งแต..

ดู กฤษณ์ สีวะราและอภัย จันทวิมล

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

ดู กฤษณ์ สีวะราและจังหวัดสกลนคร

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและถนอม กิตติขจร

ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ลเอก ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา (12 มกราคม พ.ศ. 2456 - ???) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกว.

ดู กฤษณ์ สีวะราและทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ทวี จุลละทรัพย์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ (8 สิงหาคม พ.ศ. 2457 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตเสนาธิการทหารอากาศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย เคยเป็นพระเอกภาพยนตร์ของ กองภาพยนตร์ทหารอากาศ เรื่อง "บ้านไร่นาเรา" เมื่อ..

ดู กฤษณ์ สีวะราและทวี จุลละทรัพย์

ข้าวเหนียวมะม่วง

้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวมะม่วง เป็นขนมหวานไทยยอดนิยม และจะได้รับความนิยมมากเป็นพิเศษในฤดูร้อน ทำจากข้าวเหนียว เช่น ข้าวเหนียวเขี้ยวงู มูนกับหัวกะทิ เกลือป่น และน้ำตาลทรายขาว แล้วกินกับเนื้อมะม่วงสุก ที่นิยมคือ มะม่วงอกร่อง และมะม่วงน้ำดอกไม้ อาจราดกะทิ และโรยถั่วบางชนิด แล้วแต่ชอบใจ ข้าวเหนียวมะม่วงมีแคลอรีสูง ถ้ากินขณะเป็นโรคกระเพาะอาหาร, ม้ามพร่อง หรือระบบย่อยอาหารบกพร่อง จะท้องอืด, จุกเสียดแน่น และอาหารย่อยยากมากขึ้นได้ นอกจากนี้ หากรับประทานเกินพอดี จะร้อนใน, เจ็บคอ, ท้องผูก, ปวดหัว เป็นต้น เอาได้ อย่างไรก็ดี ข้าวเหนียวในขนมหวานชนิดนี้มีสรรพคุณเป็นของร้อนรสหวาน จะช่วยบำรุงพลัง ตลอดจนบำบัดอาการเหงื่อออกมาก และท้องเสีย โดยเฉพาะมะม่วงที่มีรสหวานปนเปรี้ยวนั้น ช่วยบำรุงร่างกาย, แก้ไอ และขับลมได้.

ดู กฤษณ์ สีวะราและข้าวเหนียวมะม่วง

ณรงค์ กิตติขจร

ันเอก ณรงค์ กิตติขจร (21 ตุลาคม พ.ศ. 2476 —) เป็นบุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 จอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของ จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นหนึ่งใน 3 บุคคลของฝ่ายรัฐบาลที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด ในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 77 ราย ส่งผลให้.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพล ถนอม กิตติขจร และ จอมพลประภาส ต้องออกจากประเทศ ภายหลังเหตุการณ์สงบลง.อ.ณรงค์ กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับประเทศไทย และได้ลงเล่นการเมือง โดยก่อตั้งพรรคขึ้นมาใหม่ ชื่อว่า "พรรคเสรีนิยม".อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้รับเลือกเป็น..

ดู กฤษณ์ สีวะราและณรงค์ กิตติขจร

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30

ลเอกถนอม กิตติขจร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 10 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 30 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 30 ของไทย (9 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 37 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 37 ของไทย (20 เมษายน พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู กฤษณ์ สีวะราและประภาส จารุเสถียร

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ดู กฤษณ์ สีวะราและประมาณ อดิเรกสาร

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

รงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 1,200 เตียง ตามอัตราการจัดเฉพาะกิจที่ 3600 มีภารกิจดังต่อไปนี้ 1.

ดู กฤษณ์ สีวะราและโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

รงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (ชื่อย่อ: รร.จปร.) เป็นสถาบันการศึกษาทางทหาร ในระดับอุดมศึกษาในสังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก กองทัพบก ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เรียกว่า นักเรียนนายร้อย (นนร.) ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า คือ จำปีสิรินธร.

ดู กฤษณ์ สีวะราและโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและโรงเรียนเทพศิรินทร์

โอสถ โกศิน

นายโอสถ โกศิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ดู กฤษณ์ สีวะราและโอสถ โกศิน

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและเหรียญรัตนาภรณ์

เหรียญราชการชายแดน

หรียญราชการชายแดน ด้านหน้า เหรียญราชการชายแดน (The Border Service Medal) ใช้อักษรย่อว..

ดู กฤษณ์ สีวะราและเหรียญราชการชายแดน

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและเหตุการณ์ 14 ตุลา

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ดู กฤษณ์ สีวะราและ1 ธันวาคม

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ดู กฤษณ์ สีวะราและ1 ตุลาคม

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ดู กฤษณ์ สีวะราและ23 เมษายน

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

ดู กฤษณ์ สีวะราและ29 มีนาคม

3 ทรราช

3 ทรราช หมายถึง 3 ผู้มีอำนาจในประเทศไทยช่วงก่อนเหตุการณ์วันมหาวิปโยค 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้แก่ จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.

ดู กฤษณ์ สีวะราและ3 ทรราช

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู กฤษณ์ สีวะราและ8 กุมภาพันธ์

ดูเพิ่มเติม

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทย

สมาชิกวุฒิสภาไทย

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พลเอก กฤษณ์ สีวะราพลเอกกฤษณ์ สีวะรา