โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สปีชีส์

ดัชนี สปีชีส์

ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).

2032 ความสัมพันธ์: Acantopsis choirorhynchosAcerosAcinetobacterAlocasiaAnorrhinusAnthracocerosArthrospiraAspergillusบรรพบุรุษบริเวณบรอดมันน์บรู๊คเคเซียบลูทั้งค์ชะมดแผงชะมดแผงสันหางดำชะมดแผงหางปล้องชะมดแปลงชะมดแปลงลายจุดชะมดแปลงลายแถบชะนีชะนีมือขาวชะนีมือดำชะนีคิ้วขาวชะนีคิ้วขาวตะวันตกชะนีแก้มขาวชะนีแก้มขาว (สกุล)ชะนีแก้มเหลืองบัววิกตอเรียบัทเทอร์คัพบันยันชั้นพอลิพลาโคฟอราชั้นย่อยอีแลสโมแบรงไคชั้นสแคโฟโปดาชั้นแกสโทรโพดาชั้นไบวาลเวียบาร์บ้าปาป้าชาลส์ เทต รีกันบางปูชาเขียวชิปมังก์บีกูญา (สกุล)ชีริ เด็ดหัวใจยอดจารชนชีววิทยาทางทะเลบีเวอร์บีเอลซิบูโฟบทนำวิวัฒนาการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นชนิดย่อยชนิดต้นแบบชนิดใกล้สูญพันธุ์บ่าง...บ่างฟิลิปปินช้างช้างบอร์เนียวช้างป่าแอฟริกาช้างน้ำช้างแมมมอธช้างแอฟริกาช้างเอเชียช้างเอเชีย (สกุล)ฟลายอิงฟาแลนเจอร์ฟองน้ำฟาเบิลเจิสกรันต์ฟีโรโมนพญากระรอกพญากระรอกบินพญากระรอกบินสีดำ (สกุล)พญากระรอกบินหูแดงพญาแร้งพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์พลับพลึงธารพอร์พอยส์พอโลเนียพะยูนแมนนาทีพังพอนกินปูพังพอนแคระพังพอนแคระธรรมดาพังพอนเล็กพันธุ์ป่าพาราซอโรโลฟัสพาคิเซทัสพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกังพืชพืชดอกพูคยองโกซอรัสพีโกเซนตรัสกบชะง่อนผาภูหลวงกบมะเขือเทศกบมะเขือเทศมาดากัสการ์กบลำห้วยกบอเมริกันบูลฟร็อกกบทาสีกบนากบแอฟริกันบูลฟร็อกกบแคระแอฟริกันกรรมพันธุ์กระรอกบินกระรอกบินเล็กกระรอกสามสีกระรอกสีสวยกระรอกหลากสีกระรอกหน้ากระแตกระรอกอิรวดีกระรอกข้างลายท้องแดงกระจงกระจงควายกระจ้อนกระดองเต่ากระต่ายลายเสือกระต่ายแจ็กกระซู่กระแตหางขนนกกระแตเล็กกระแตเหนือกระเล็นกระเป๋าจิงโจ้กราวเขียวกรดยูริกกลอสซอพเทอริสกล้วยไม้ดินกวางชะมดไซบีเรียกวางรูซากวางผากวางผาจีนกอริลลากะพรุนน้ำจืดกั้งกั้งกระดานการรับรู้รสการรับรู้อากัปกิริยาการลอกคราบการสูญพันธุ์การสํารวจทางชีวภาพการหลอกลวงตัวเองการจับปลาของนกกาน้ำการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์การคัดเลือกโดยธรรมชาติการตั้งชื่อทวินามการปรับภาวะให้เกิดความกลัวการปรับตัว (ชีววิทยา)การปรับตัว (นิเวศวิทยา)การปรับตัวไม่ดีการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยงการแผ่ปรับตัวการแข็งตัวขององคชาตการเกิดสปีชีส์การเกิดเซลล์สืบพันธุ์การเปลี่ยนสัณฐานกาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์กาลาโกแคระแองโกลากาเซลล์กำยานกิตติพงษ์ จารุธาณินทร์กิ้งก่ากิ้งก่าบาซิลิสก์กิ้งก่าบินกิ้งก่าบินปีกจุดกิ้งก่ามอนิเตอร์กิ้งก่าหนามกิ้งก่าจระเข้กิ้งก่าแผงคอกุยกุหลาบพันปีกุหลาบญี่ปุ่นกุหลาบลอเรนเซียกุ้งการ์ตูนกุ้งก้ามกรามกุ้งมังกรกุ้งมดแดงกุ้งยับบี้น้ำจืดกุ้งดีดขันกุ้งเรดบีภาวะพหุสัณฐาน (ชีววิทยา)ภาวะกะเทยแท้มหาสมุทรมอริส ก็อตลามอสส์มะลิมะเดื่อมังกรทะเลมังกรทะเล (แก้ความกำกวม)มังกรทะเลใบหญ้ามังกรทะเลใบไม้มังกรน้ำมังกรโกโมโดมาพูซอรัสมาร์เทินมาโมเสทมาเมนชีซอรัสมินิตซาลาแมนเดอร์มินต์ (พืช)มณฑลยูนนานมนุษย์มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบันมนุษย์โบราณม้าลายม้าน้ำม้าน้ำหนามขอม้าน้ำดำม้าน้ำเหลืองยาแก้ซึมเศร้ายุคหินกลาง (แอฟริกา)ยุงลายยูทาห์แรปเตอร์ยูดิมอร์โฟดอนยูโอโพลเซอฟารัสยีราฟ (สกุล)ยีราฟมาไซยีราฟลายร่างแหยีราฟใต้ระบบการได้ยินระบบการเห็นระบบรางวัลระบบสืบพันธุ์รักเร่รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงรายชื่อสัตว์น้ำรายชื่อสัตว์เลื้อยคลานรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียงรายการสัตว์รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์รีดบักร็อดลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่างลายเจ็นนารีลำดับสงวนลำไส้เล็กอักเสบจากเชื้อโรตาไวรัสลิงลิงบาบูนลิงกังญี่ปุ่นลิงลมลิงลมเหนือลิงจมูกยาวลิงจมูกเชิดลิงแม็กแคกลิงแสมลิงโคโลบัสลิงไลออนทามารินลิงเลซูลาลิงเสนลินเส็งลิ่นจีนลิ่นซุนดาลูพินลู่ตูงลู่เฟิงโกซอรัสลีดส์อิชธีส์ลีเมอร์ลีเมอร์หนูลีเมอร์ซิฟากาล่อวอมแบตวัวทะเลชเตลเลอร์วาฬบาลีนวาฬมีฟันวาฬสเปิร์มแคระวาฬแกลบวาฬเพชฌฆาตวิลอซิแรปเตอร์วิลเดอบีสต์วิวัฒนาการวิวัฒนาการชาติพันธุ์วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมตวิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของมนุษย์/ตารางเปรียบเทียบสปีชีส์ต่าง ๆ ของมนุษย์สกุลโฮโมวิวัฒนาการของมนุษย์/แผนภูมิสปีชีส์ตามกาลเวลาวิวัฒนาการของคอเคลียวิวัฒนาการของตาวิตามินบี12วงศ์ชะมดและอีเห็นวงศ์พังพอนวงศ์กบมีหางวงศ์กบลิ้นส้อมวงศ์กบลื่นวงศ์กบลูกศรพิษวงศ์กบนาวงศ์กบเล็บวงศ์กระจงวงศ์กวางชะมดวงศ์กิล่ามอนสเตอร์วงศ์กิ้งก่าวงศ์กิ้งก่าบาซิลิสก์วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยนวงศ์ก่อวงศ์ม้าวงศ์ย่อยชะมดวงศ์ย่อยกิ้งก่าวงศ์ย่อยม้าน้ำวงศ์ย่อยลิงโลกเก่าวงศ์ย่อยหอยมือเสือวงศ์ย่อยหนูวงศ์ย่อยอึ่งอ่างวงศ์ย่อยจิ้งจกและตุ๊กแกวงศ์ย่อยงูแมวเซาวงศ์ย่อยงูโบอาวงศ์ย่อยงูเขียววงศ์ย่อยตะพาบวงศ์ย่อยตะพาบหับวงศ์ย่อยปลากะรังวงศ์ย่อยปลากะรังจิ๋ววงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกาวงศ์ย่อยปลาหมอจำปะวงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหินวงศ์ย่อยปลาค้อวงศ์ย่อยปลาซิววงศ์ย่อยปลาแรดวงศ์ย่อยปลาเลียหินวงศ์ย่อยปลาเขือวงศ์ย่อยนกคอพันวงศ์ย่อยนกเป็ดน้ำวงศ์ย่อยแกะและแพะวงศ์ย่อยเพียงพอนวงศ์ย่อยเสือใหญ่วงศ์ย่อยเหยี่ยววงศ์ย่อยเป็ดแดงวงศ์ลิงลมวงศ์ลิงใหญ่วงศ์วัวและควายวงศ์วาฬแกลบวงศ์สมอวงศ์ส้มวงศ์หอยขมวงศ์หนูวงศ์หนูทุ่งวงศ์อิกัวนาวงศ์อึ่งกรายวงศ์อ้นวงศ์ผกากรองวงศ์จิ้งจกและตุ๊กแกวงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาววงศ์ทัวทาราวงศ์คางคกวงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลงวงศ์งูพิษเขี้ยวหลังวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้าวงศ์งูก้นขบวงศ์งูดินวงศ์งูงวงช้างวงศ์งูน้ำวงศ์งูแมวเซาวงศ์งูแสงอาทิตย์วงศ์งูโบอาวงศ์งูเส้นด้ายวงศ์งูเหลือมวงศ์ตะพาบวงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์วงศ์ซาลาแมนเดอร์แท้วงศ์ปรงเม็กซิโกวงศ์ปลาบู่วงศ์ปลาบู่ทรายวงศ์ปลาช่อนวงศ์ปลาฟันสุนัขวงศ์ปลากระบอกวงศ์ปลากระทิงวงศ์ปลากระทุงเหววงศ์ปลากระโทงวงศ์ปลากระเบนธงวงศ์ปลากรายวงศ์ปลากะพงสลิดวงศ์ปลากะพงขาววงศ์ปลากะพงดำวงศ์ปลากะพงแดงวงศ์ปลากะรังวงศ์ปลากะแมะวงศ์ปลากัด ปลากระดี่วงศ์ปลากุเราวงศ์ปลากดวงศ์ปลากดอเมริกาใต้วงศ์ปลากดทะเลวงศ์ปลามังกรน้อยวงศ์ปลายอดม่วงวงศ์ปลาลิ้นหมาวงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกันวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวาวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้ายวงศ์ปลาลิ้นเสือวงศ์ปลาวัววงศ์ปลาวัวจมูกยาววงศ์ปลาวัวจมูกสั้นวงศ์ปลาวูล์ฟฟิชวงศ์ปลาสร้อยน้ำผึ้งวงศ์ปลาสลิดหินวงศ์ปลาสลิดทะเลวงศ์ปลาสวายวงศ์ปลาสากวงศ์ปลาสามรสวงศ์ปลาสินสมุทรวงศ์ปลาสตาร์เกเซอร์วงศ์ปลาหมอวงศ์ปลาหมอช้างเหยียบวงศ์ปลาหมอสีวงศ์ปลาหมอแคระวงศ์ปลาหวีเกศวงศ์ปลาหางแข็งวงศ์ปลาหูช้างวงศ์ปลาอมไข่วงศ์ปลาอินทรีวงศ์ปลาอินซีเน็ตวงศ์ปลาผีเสื้อวงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืนวงศ์ปลาจวดวงศ์ปลาจะละเม็ดวงศ์ปลาจานวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำวงศ์ปลาขี้ตังเบ็ดวงศ์ปลาข้างตะเภาวงศ์ปลาดาบวงศ์ปลาดาบลาววงศ์ปลาดุกวงศ์ปลาดุกทะเลวงศ์ปลาดุกไฟฟ้าวงศ์ปลาคาราซินวงศ์ปลางวงช้างวงศ์ปลาตะพัดวงศ์ปลาตะกรับวงศ์ปลาตะเพียนวงศ์ปลาตั๊กแตนหินวงศ์ปลาตาเหลือกวงศ์ปลาตาเหลือกยาววงศ์ปลาตาเดียววงศ์ปลาตูหนาวงศ์ปลาฉลามพยาบาลวงศ์ปลาฉลามครีบดำวงศ์ปลาฉลามปากเป็ดวงศ์ปลาซักเกอร์วงศ์ปลาปอดแอฟริกาวงศ์ปลาปักเป้ากล่องวงศ์ปลาปากแตรวงศ์ปลาปิรันยาวงศ์ปลานกกระจอกวงศ์ปลานกขุนทองวงศ์ปลานกแก้ววงศ์ปลาแบล็คโกสต์วงศ์ปลาแพะวงศ์ปลาแพะ (ปลาทะเล)วงศ์ปลาแมววงศ์ปลาแมงป่องวงศ์ปลาแสงอาทิตย์วงศ์ปลาแค้วงศ์ปลาแป้นวงศ์ปลาแป้นแก้ววงศ์ปลาใบมีดโกนวงศ์ปลาใบโพวงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้วงศ์ปลาไหลมอเรย์วงศ์ปลาไหลนาวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำวงศ์ปลาเสือตอวงศ์ปลาเหล็กในวงศ์ปลาเข็มวงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกันวงศ์ปลาเฉี่ยววงศ์ปูบกวงศ์ปูเสฉวนบกวงศ์นกบูบีวงศ์นกพรานผึ้งวงศ์นกกระสาวงศ์นกกระจอกวงศ์นกกระทุงวงศ์นกกระติ๊ดวงศ์นกกระเต็นน้อยวงศ์นกกินแมลงและนกกะรางวงศ์นกร่อนทะเลวงศ์นกอ้ายงั่ววงศ์นกจับแมลงและนกเขนวงศ์นกตะขาบวงศ์นกปักษาสวรรค์วงศ์นกนางนวลวงศ์นกแสกวงศ์นกแต้วแร้ววงศ์นกโพระดกวงศ์นกเค้าแมววงศ์นกเป็ดน้ำวงศ์แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสวงศ์แร็กคูนวงศ์แอกโซลอเติลวงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบวงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอนวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทาวงศ์เพียงพอนวงศ์เหี้ยวงศ์เอลิฟานติดีวงศ์เขียดงูวงศ์เต่าสแนปปิ้งวงศ์เต่าทะเลวงศ์เต่าคองูวงศ์เต่านาวงศ์เต่าแก้มแดงศูนย์รวมสายพันธุ์กล้วยสกุล (ชีววิทยา)สกุลชบาสกุลบัวผุดสกุลบาร์โบดีสสกุลบาร์โบนีมัสสกุลบานไม่รู้โรยสกุลชิมแปนซีสกุลชิงชี่สกุลพรุนสกุลพวงแก้วกุดั่นสกุลพุนชัสสกุลกระโถนฤๅษีสกุลกล้วยสกุลกะพ้อสกุลกะหนานปลิงสกุลมหาพรหมสกุลมะพลับสกุลมะม่วงหัวแมงวันสกุลมะขามป้อมสกุลมะขามเทศสกุลมะแฟนสกุลมะไฟสกุลมะเม่าสกุลมังคุดสกุลมีสทัสสกุลม้าสกุลยอสกุลยาสุฮิโกทาเกียสกุลรองเท้านารีสกุลรัสบอร่าสกุลราชพฤกษ์สกุลลัดวิเจียสกุลลาเบโอสกุลลิงซ์สกุลวานิลลาสกุลวูลเปสสกุลสหยัดเรียสกุลสิงโตพัดสกุลหญ้าจิ้มฟันควายสกุลหมูป่าหน้าหูดสกุลหวาย (กล้วยไม้)สกุลออรีเซียสสกุลทิลาเพียสกุลขี้เหล็กสกุลดีอานีม่าสกุลคองโกโครมิสสกุลตานขโมยสกุลซิสทูราสกุลซีสโทมัสสกุลปรงไข่สกุลปลาชาร์สกุลปลาวัวปิกัสโซสกุลปลาหัวโตสกุลปลาทองทะเลสกุลปลาปักเป้าตุ๊กแกสกุลปลาแพะสกุลปลาไบเคอร์สกุลนกกระตั้วดำสกุลนมตำเลียสกุลแบร็คอิรัสสกุลแมวสกุลแมวลายหินอ่อนสกุลแมวดาวสกุลแมงมุมแม่ม่ายสกุลแมงคีมหนวดสามปล้องสกุลแรดสกุลแร้งสกุลแอมบาสทาเอียสกุลแอสโตรไฟตัมสกุลแผ่นดินเย็นสกุลแซกโกสกุลโพสกุลโลโบคีลอสสกุลโดรีอิคธีสสกุลโปตาโมไทรกอนสกุลไมโครนีมาสกุลไคร้น้ำสกุลไซโนกลอสซัสสกุลไซเรนสกุลไซเลอร์อัสสกุลเพลวิคาโครมิสสกุลเพเธียสกุลเสือชีตาห์สกุลเสือพูม่าสกุลเสือลายเมฆสกุลเสือไฟสกุลเออรีธิสทีสสกุลเอื้องน้ำต้นสกุลเฮมอิบากรัสสกุลเจินจูฉ่ายสกุลเจตมูลเพลิงสกุลเถาคันสกุลเทียนดอกสกุลเดสโมพุนชัสสกุลเตตราโอดอนสกุลเต่าร้างสมองใหญ่สมัยไพลสโตซีนสมเสร็จสมเสร็จมลายูสยามโมอะเดปิส แม่เมาะเอนซิสสลอธสวนสัตว์สิงคโปร์สังข์รดน้ำสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกสัตว์ปีกสัตว์ป่าในประเทศมาซิโดเนียสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสัตว์เคี้ยวเอื้องสาวน้อยประแป้งสาหร่ายมะริโมะสาหร่ายไกสางห่า (สกุล)สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิตตัวแบบสิ่งมีชีวิตนอกโลกสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นสตรอว์เบอร์รีสติแรโคซอรัสสเตโกดอนสเตโกซอรัสหญ้าหมาหริ่งหมาจิ้งจอกหมาจิ้งจอกหูค้างคาวหมาจิ้งจอกเฟนเนกหมาป่าดิงโกหมาป่านิวกินีหมาป่าเคราขาวหมาในหมึก (สัตว์)หมึกกระดองหมึกกระดองลายเสือหมึกกล้วยหมึกมหึมาหมึกสายหมึกสายวงน้ำเงินหมึกฮัมโบลต์หมึกแคระหมูหริ่งหมีหมีกริซลีหมีสีน้ำตาลหมีขอหมีขาวหมีควายหมีน้ำหม้อข้าวหม้อแกงลิงหยาดหิมะหยาดน้ำค้าง (สกุล)หย่งชวนโนซอรัสหลอดกึ่งวงกลมหลักระวังไว้ก่อนหอยหอยกูอีดั๊กหอยมือเสือหอยลายหอยสังข์หอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลียหอยสังข์หนามเล็กหอยหมากหอยหลอดหอยหวานหอยงวงช้างหอยงวงช้างกระดาษหอยงวงช้างมุกหอยปีกนางฟ้าหอยเบี้ยจักจั่นหอยเต้าปูนหอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดียหอยเต้าปูนลายแผนที่หอยเต้าปูนหาดราไวย์หิ่งห้อยหูชั้นในหูชั้นในรูปหอยโข่งหูฉลามหงส์หงส์ขาวคอดำหงส์ดำหนอนกำมะหยี่หนอนนกหนูหนูบ้านหนูฟานหนูฟานเหลืองหนูพุกหนูหริ่งหนูหริ่งบ้านหนูหินหนูผีหนูผีช้างหน้าเทาหนูผีบ้านหนูผีจิ๋วหนูผีป่าหนูผีนากหนูท้องขาวหนูขนเสี้ยนหนูขนเสี้ยนเขาหินปูนหนูเหม็นหน่วยรับกลิ่นห่านหัวลายอมาร์กาซอรัสอลาโมซอรัสออริกซ์ออร์นิโทไมมัสอะกาเวอะมิกดะลาอะแพโทซอรัสอัลโลซอรัสอัลไพน์ซาลาแมนเดอร์อันดับบ่างอันดับช้างอันดับพะยูนอันดับกบอันดับกระแตอันดับกิ้งก่าและงูอันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่อันดับย่อยเต่าอันดับลิ่นอันดับวานรอันดับสัตว์กีบคู่อันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องอันดับหนูผีช้างอันดับห่านอันดับจระเข้อันดับทัวทาราอันดับด้วงอันดับปลาลิ้นกระดูกอันดับปลาสเตอร์เจียนอันดับปลาหลังเขียวอันดับปลาหัวตะกั่วอันดับปลาหนังอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำอันดับปลาคางคกอันดับปลาตะเพียนอันดับปลาตาเหลือกอันดับปลาฉลามกบอันดับปลาฉลามหลังหนามอันดับปลาฉลามหัววัวอันดับปลาฉลามขาวอันดับปลาฉลามครุยอันดับปลาซีกเดียวอันดับปลาปักเป้าอันดับปลานวลจันทร์ทะเลอันดับปลาโรนันอันดับปลาไหลอันดับนกกระสาอันดับนกกระทุงอันดับนกหัวขวานและนกโพระดกอันดับนกตะขาบอันดับนกแก้วอันดับไก่อันดับไฮแรกซ์อันดับเหยี่ยวปีกแหลมอันดับเฮดจ์ฮอกอันดับเทนเรคอันเดอร์วอเตอร์เวิลด์ (สิงคโปร์)อาย-อายอาริสโตเน็ตเทสอาหารอาเคเชียอิกัวนาอิกัวนาบกอิกัวนาฟีจีอิกัวนาสีชมพูอิกัวนาหมวกเหล็กอิกัวโนดอนอิกทิโอซอรัสอิริอาเตอร์อินทรีกินงูอินทรีหัวขาวอินทรีทะเลอินทรีทะเลหัวนวลอินทรีทุ่งหญ้าสเตปป์อินดรีอึ่งอ่างอึ่งอ่างบ้านอึ่งปากขวดอุรังอุตังอุรังอุตังบอร์เนียวอุรังอุตังสุมาตราอุทยานแห่งชาติแม่วงก์อูฐอูราโนซอรัสอีแลนด์อีเห็นอีเห็นข้างลายอนุกรมวิธานอ้น (สกุล)อ้นกลางอ้นเล็กฮาลิซอรัสฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธผีเสื้อหนอนใบกระท้อนผีเสื้อขอบปีกเลื่อยจุดแดงจระเข้จระเข้ตีนเป็ดจระเข้น้ำเค็มจระเข้แคระจอตาจักจั่นทะเลจังหวัดอัลไบจังหวัดโรมโบลนจันทน์เทศหอมจำปีจิกจิงโจ้จิงโจ้ต้นไม้จิงโจ้น้ำจิงโจ้แดงจิตพยาธิวิทยาสัตว์จิ้งหรีดจิ้งหรีดทองดำจิ้งหรีดทองแดงลายจิ้งจกบ้านจิ้งจกดินจิ้งจอกแร็กคูนจิ้งเหลนจิ้งเหลนจระเข้จิ้งเหลนจระเข้ตาแดงจงโคร่งธันเดอร์เบิร์ด (เทพปกรณัม)ธงชาติคิริบาสถั่วปากอ้าถุงมือจิ้งจอกทรูโอดอนทฤษฎีความผูกพันทศพร วงศ์รัตน์ทอมสันส์กาเซลล์ทอร์วอซอรัสทะเลสาบมาลาวีทะเลสาบสงขลาทะเลสาบคานาสทะเลสาบแทนกันยีกาทะเลสาบเวิร์ททัวทาราทากิฟูงุทากทะเลทาร์โบซอรัสทาร์เซียร์ทาแมนดัวทิวลิปทุเรียนทีนอนโตซอรัสที่อยู่อาศัยที่อยู่อาศัยใต้ทะเลข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดราวิโดซอรัสดอกไม้ป่าดัคดังเคิลออสเตียสดาวมงกุฎหนามดาวทรายหนามดาวทะเลดาวทะเลปุ่มแดงดิก-ดิกด้วงกว่างด้วงกว่างญี่ปุ่นด้วงกว่างแอตลัสด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสด้วงงวงมะพร้าวด้วงแรดมะพร้าวครั่งครีบหลังควอลความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศบราซิลความหลากหลายทางพันธุกรรมความผันแปรได้ทางพันธุกรรมความจำชัดแจ้งความจำอาศัยเหตุการณ์ความตายความน่ารักความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกความเหมาะสมความเอนเอียงของผู้ทดลองควายป่าแอฟริกาคอมมอนบรัชเทลพอสซัมคอมป์ซอกนาทัสคอลัมน์ในคอร์เทกซ์คาร์ชาโรดอนโทซอรัสคาร์โนทอรัสคางคกบ้านคางคกหมอตำแยคางคกห้วยคางคกซูรินามคางคกซูรินาม (สกุล)คางคกแคระคางคกโพรงเม็กซิกันคาเวียร์คูโบซัวค่างค่างกระหม่อมขาวค่างสะโพกขาวค่างหัวมงกุฎค่างหนุมานค่างจมูกเชิดตังเกี๋ยค่างดำมลายูค่างแว่นโฮสค่างเทาค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อค้างคาวผลไม้ค้างคาวขอบหูขาวเล็กค้างคาวแม่ไก่ภาคกลางค้างคาวแม่ไก่ป่าฝนค้างคาวแวมไพร์ค้างคาวแวมไพร์ธรรมดางูงูบินงูพิษงูกระด้างงูกรีนแมมบาตะวันตกงูกะปะงูลายสองูสมิงทะเลงูสมิงทะเลปากเหลืองงูสามเหลี่ยมงูสิงงูสิงธรรมดางูหลามบอลงูหลามต้นไม้สีเขียวงูหลามปากเป็ดงูหัวกะโหลกงูหัวจิ้งจกงูหางกระดิ่งงูหางกระดิ่งแคระงูอนาคอนดางูอนาคอนดายักษ์งูอนาคอนดาเขียวงูดินหางยาวงูงวงช้างงูตาแมวงูปล้องฉนวนงูแบล็กแมมบางูแมมบางูแมวเซางูแสมรังงูไทปันงูเส้นด้ายบาร์เบโดสงูเหลือม (สกุล)งูเหลือมอ้องูเห่างูเห่าพ่นพิษสีทองงูเห่าน้ำงูเขียวหัวจิ้งจกมลายูงูเขียวหางไหม้งูเขียวหางไหม้ลายเสืองูเขียวปากแหนบตะพาบม่านลายตะพาบม่านลายพม่าตะพาบม่านลายอินเดียตะพาบม่านลายไทยตะพาบสวนตะพาบหับตะพาบหับอินเดียตะพาบหัวกบลายตะพาบจีนตะพาบแก้มแดงตะพาบไบคอลโลไซต์ตะพาบไต้หวันตะกวดเหลืองตะขาบตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรูตะโขงตะโขงอินเดียตัวกินมดตัวสงกรานต์ตั๊กแตนตำข้าวตุ๊กกายตุ๊กแกตุ๊กแกบินตุ๊กแกบินหางแผ่นตุ๊กแกบ้านตุ๊กแกหางใบไม้ตุ๊กแกตาเขียวตุ่นตุ่นจมูกดาวตุ่นปากเป็ดตู้ปลาต้นฝิ่นซอโรโพไซดอนซอโรโลฟัสซอโรเพกาแนกซ์ซอโรเพลตาซัลตาซอรัสซากูระซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตซาลาแมนเดอร์ยักษ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่นซาวลาซิมโบสปอนไดลัสซิจิลมาซาซอรัสซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึมซิตตะโกซอรัสซิโนซอรอปเทอริกซ์ซูโคไมมัสซีกสมองซีโลไฟซิสประชากรประสาทสัมผัสประเทศตองงาปลาปลาชะโอน (สกุล)ปลาชะโอนหินปลาชะโอนถ้ำปลาชะโดอินเดียปลาบิทเทอร์ลิ่งปลาบึก (สกุล)ปลาบู่กลับหัวปลาบู่กล้วยปลาบู่กล้วย (สกุล)ปลาบู่มหิดลปลาบู่หมาจูปลาบู่หมาจูแม่น้ำโขงปลาบู่หินปลาบู่จากปลาบู่ทราย (สกุล)ปลาบู่เกาะสุรินทร์ปลาบู่เหลืองปลาช่อนปลาช่อนบาร์กาปลาช่อนออแรนติปลาช่อนจุดอินโดปลาช่อนทะเลปลาช่อนงูเห่าอินเดียปลาช่อนแอฟริกา (สกุล)ปลาช่อนเชลปลาช่อนเอเชียปลาช่อนเจ็ดสีปลาช่อนเข็ม (สกุล)ปลาบ้า (สกุล)ปลาฟันสุนัขปลาฟิงเกอร์ปลาพริสเทลล่าปลาพลวง (สกุล)ปลาพาราไดซ์ปลาพาราไดซ์ (สกุล)ปลาพีค็อกแบสปลากระสูบปลากระจังปลากระทิง (สกุล)ปลากระทุงเหวเมืองปลากระดูกอ่อนปลากระดี่ปลากระดี่ช็อกโกแลตปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)ปลากระดี่ยักษ์ปลากระดี่อินเดียปลากระดี่ปากหนาปลากระดี่แดงปลากระดี่แคระปลากระดี่โนเบิลปลากระโห้ปลากระโห้อินเดียปลากระโทงร่มปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิกปลากระเบนบอนเนตปลากระเบนชายธง (สกุล)ปลากระเบนลายแมลงวันปลากระเบนลายเสือปลากระเบนหางริบบิ้นปลากระเบนหางหนามปลากระเบนหางแส้ปลากระเบนจุดฟ้าปลากระเบนทองปลากระเบนค้างคาวปลากระเบนปากแหลมปลากระเบนปีศาจปลากระเบนแมลงวันปลากระเบนแมนตาปลากระเบนแมนตามหาสมุทรปลากระเบนแมนตาแนวปะการังปลากระเบนโปลกาด๊อทปลากระเบนไฟฟ้าปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิกปลากระเบนเฮนไลปลากรายคองโกปลากรายแอฟริกาปลากริมปลากริมอีสานปลากริมแรดปลากล่องปลากะพงลายปลากะพงหน้าลายปลากะพงผีปลากะพงขาวปลากะพงขาว (สกุล)ปลากะพงข้างปานปลากะพงดำปลากะพงแดงปลากะพงแดงสั้นหางปานปลากะพงแดงหน้าตั้งปลากะพงเหลืองห้าเส้นปลากะพงเขียวปลากะมงพร้าวปลากะรังลายจุดปลากะรังหน้างอนปลากะรังปากแม่น้ำปลากะทิปลากะตักปลากะตักใหญ่ปลากัด (สกุล)ปลากัดอัลบิปลากากาตาปลาการ์ตูนปลาการ์ตูนมะเขือเทศปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำปลาการ์ตูนลายปล้องปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลืองปลาการ์ตูนส้มขาวปลาการ์ตูนอานม้าปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพูปลาการ์ตูนแดงปลาการ์ตูนแดงดำปลากาแดงปลากินยุงปลากุดสลาดปลากุแลปลากดหมูปลากดหัวลิงปลากดหัวเสียมปลากดอเมริกันปลากดทะเลหัวแข็งปลากดขาวปลากดเกราะปลาฝักพร้าปลามอลลี่ปลามาคูลาตาไพค์ปลามาเบิลแคทฟิชปลามีดโกนปลามงปลาม่อนปลาม้าปลาม้ามังกรปลาม้าลายปลายอดม่วงลายปลายอดม่วงเกล็ดถี่ปลายอนหอยปลายาดปลายี่สกเทศปลาย่าดุกปลาย่าดุก (สกุล)ปลารากกล้วยปลาริชาร์ด ดอว์กินส์ปลารีดฟิชปลาลังปลาลีโปรินัสปลาวัวลายส้มปลาวัวสามเขาปลาวัวจมูกยาวปลาวัวดำปลาวัวปิกัสโซปลาวัวปิกัสโซเรดซีปลาวาฮูปลาวีคส์ไบเคอร์ปลาสร้อยปลาสร้อย (สกุล)ปลาสร้อยนกเขาปลาสร้อยนกเขาลายขวางปลาสร้อยนกเขาจุดทองปลาสร้อยนกเขาทะเลปลาสร้อยนกเขาน้ำจืดปลาสลาดปลาสลิดหินฟ้าหางส้มปลาสลิดหินฟ้าหางเหลืองปลาสลิดหินมะนาวปลาสลิดหินม้าลายปลาสลิดหินหางเหลืองนอกปลาสลิดหินจุดแดงปลาสลิดหินนีออนปลาสลิดหินแขกปลาสลิดทะเลเหลืองทองปลาสอดปลาสอดหางดาบปลาสอดหางดาบเขียวปลาสะกางปลาสะตือปลาสะนากยักษ์ปลาสังกะวาดปลาสากหางเหลืองปลาสากเหลืองปลาสายยูปลาสายยู (สกุล)ปลาสิงโตปลาสิงโตธรรมดาปลาสิงโตปีกเข็มปลาสินสมุทรบั้งเหลืองปลาสินสมุทรลายบั้งปลาสินสมุทรหางเส้นปลาสินสมุทรจักรพรรดิปลาสุดสาครจิ๋วปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้มปลาสีกุนทองปลาสีขนปลาสีนวลปลาสี่ตาปลาสีเสียดปลาสคอมบิรอยด์ปลาสแปรตแม่น้ำปลาส่อปลาสเตอร์เจียนปลาสเตอร์เจียนยุโรปปลาสเตอร์เจียนขาวปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิกปลาสเตอร์เจียนใหญ่ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรียปลาหมอ (สกุล)ปลาหมอบัตเตอร์ปลาหมอช้างเหยียบปลาหมอฟรอนโตซ่า (สกุล)ปลาหมอมาคูลิคัวด้าปลาหมอริวูเลตัสปลาหมอลายตารางหมากรุกปลาหมอลายเมฆปลาหมอสีไซไพรโครมิสปลาหมอหอยปลาหมอออสเซลาริสปลาหมอทะเลปลาหมอทะเล (สกุล)ปลาหมอคิวปิโดปลาหมอตาลปลาหมอซินสไปลุ่มปลาหมอแรมปลาหมอแรมแดงปลาหมอแจ็กเดมป์ซีย์ปลาหมอแคระปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมาปลาหมอแคระอะโดเกตาปลาหมอแคระฮองสโลอายปลาหมอแคระคาเคทอยเดสปลาหมอแคระนันนาคาราปลาหมอแคระแรมโบลิเวียปลาหมอแคระแรมเจ็ดสีปลาหมอแคระไตรฟาสเซียตาปลาหมอแตงไทยปลาหมอโครมายด์เขียวปลาหมอไฟร์เมาท์ปลาหมอไพค์ปลาหมอไตรมาคูปลาหมอเฮโรสปลาหมอเทศปลาหมอเท็กซัสปลาหมอเท็กซัส (สกุล)ปลาหมอเท็กซัสเขียวปลาหมอเซวารุ่มปลาหมูปลาหมูกระโดงสูงปลาหมูลายปลาหมูอารีย์ปลาหมูฮ่องเต้ปลาหมูโยโย่ปลาหลดปลาหลดหลังจุดปลาหลดหินปลาหวีเกศปลาหวีเกศพรุปลาหว่าชะอีปลาหว้าปลาหัวงอนปลาหัวตะกั่วปลาหางแข็งปลาหางแข็งบั้งปลาหางไหม้ปลาหินปลาหูช้างปลาหนวดพราหมณ์ปลาหนามหลังสาละวินปลาหนามหลังขาวปลาอกแลปลาอมไข่ครีบยาวปลาอมไข่ตาแดงปลาออร์ปลาออสการ์ปลาอะโรวานาออสเตรเลียจุดปลาอะโรวานาอเมริกาใต้ปลาอะโรวานาดำปลาอะโรวาน่าเอเชียปลาอามาทัสปลาอายุปลาอินทรีปลาอินซีเน็ตปลาอินซีเน็ตยักษ์ปลาอินซีเน็ตหางเหลืองปลาอินซีเน็ตขาวปลาอินซีเน็ตดำปลาอิแกลาเอ๊ะปลาอุกปลาอีกองปลาอีโต้มอญปลาอ้ายอ้าวปลาอเล็กซานดรี่ปลาฮูโชปลาฮูโซปลาผมนางปลาผีตุ่นปลาผีเสื้อ (น้ำจืด)ปลาผีเสื้อกลางคืนปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาวปลาผีเสื้อจมูกยาวปลาผีเสื้อติดหินน่านปลาผีเสื้อนกกระจิบปลาจะละเม็ดปลาจะละเม็ดขาวปลาจะละเม็ดดำปลาจาดปลาจิ้มฟันจระเข้ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่างปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้ปลาจิ้มฟันจระเข้แคระปลาจิ้มฟันจระเข้ใบสาหร่ายปลาจิ้มฟันจระเข้เขียวปลาจิ้งจกปลาจุมพรวดปลาจีดปลาจีดอินเดียปลาถ้ำปลาทรงเครื่อง (สกุล)ปลาทอง (สกุล)ปลาทองทะเลปลาทาทูเอียปลาทู (สกุล)ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือปลาทูน่าครีบเหลืองปลาทูน่าแท้ปลาทูน่าเขี้ยวหมาปลาทูแขกปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำแม่กลองปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาปลาขาไก่ปลาขิ้ง (สกุล)ปลาขี้ยอกปลาขี้ควายปลาขี้ตังปลาขี้ตังเบ็ดปลาขี้ตังเบ็ดฟ้าปลาข้าวเม่าปลาข้าวเม่า (ปลาซิว)ปลาข้างตะเภาปลาดักปลาดังปลาดาบเงินใหญ่ปลาดินสอ (สกุล)ปลาดุกปลาดุกบอนปลาดุกมูนปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะปลาดุกหนามไนเจอร์ปลาดุกอุยปลาดุกทะเลลายปลาดุกไฟฟ้าปลาคลุดปลาคาร์ปปลาคาร์ปเลตปลาคิลลี่ฟิชปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อายปลาคู้ปลาคู้ดำปลาคู้แดง (สกุล)ปลาค้อมาเนิร์ทปลาค้าวขาว (สกุล)ปลาค้างคาว (น้ำจืด)ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ปลาตองปลาตองลายปลาตองลายแอฟริกาปลาตองแอฟริกาปลาตะพัดพม่าปลาตะพากปลาตะพากส้มปลาตะกรับปลาตะลุมพุกปลาตะลุมพุก (สกุล)ปลาตะลุมพุกฮิลซาปลาตะโกกหน้าสั้นปลาตะเพียนลายปลาตะเพียนสาละวินปลาตะเพียนหยดน้ำปลาตะเพียนอินเดียปลาตะเพียนจุดปลาตะเพียนปากหนวดปลาตะเพียนแคระปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้มปลาตามิน (สกุล)ปลาตาดำปลาตาเหลือกยาวซอรัสปลาตูหนาปลาตูหนายุโรปปลาฉลามปลาฉลามพยาบาลปลาฉลามพยาบาลสีน้ำตาลปลาฉลามมาโกปลาฉลามวาฬปลาฉลามหลังหนามปลาฉลามหลังหนามหนามสั้นปลาฉลามหัวบาตรปลาฉลามหัวค้อนปลาฉลามหัวค้อนยาวปลาฉลามหางไหม้ (อินโดนีเซีย)ปลาฉลามหางไหม้ (ไทย)ปลาฉลามหนูใหญ่ปลาฉลามจ้าวมันปลาฉลามขาวปลาฉลามครุยปลาฉลามครีบขาวปลาฉลามครีบดำปลาฉลามปากเป็ดจีนปลาฉลามนางฟ้าปลาฉลามน้ำจืดปลาฉลามน้ำจืด (แก้ความกำกวม)ปลาฉลามแนวปะการังปลาฉลามเมกาเมาท์ปลาฉลามเสือปลาฉนากปลาซักเกอร์ปลาซักเกอร์ครีบสูงปลาซักเกอร์ไฮฟินปลาซันฟิชปลาซันฟิชหูยาวปลาซาบะปลาซาร์ดีนยุโรปปลาซิวปลาซิวกาแล็กซีปลาซิวสมพงษ์ปลาซิวหัวตะกั่วปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัยปลาซิวหัวตะกั่วอินเดียปลาซิวหางกรรไกรปลาซิวหางแดงปลาซิวหนวดยาว (สกุล)ปลาซิวทองปลาซิวข้าวสารแม่น้ำสงครามปลาซิวข้าวสารเดซี่ปลาซิวข้างขวานปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ปลาซิวข้างเหลืองปลาซิวคาโลโครม่าปลาซิวตาเขียวปลาซิวซอ-บวาปลาซิวแคระปลาซิวใบไผ่ปลาซิวใบไผ่มุกปลาซิวใบไผ่ยักษ์ปลาซิวใบไผ่แม่แตงปลาซิวใบไผ่ใหญ่ปลาซิวใบไผ่เขียวปลาซิวเจ้าฟ้าปลาซ่งปลาปล้องอ้อยปลาปล้องอ้อย (อเมริกาใต้)ปลาปล้องทองปรีดีปลาปอมปาดัวร์ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลปลาปอดปลาปอดออสเตรเลียปลาปอดอเมริกาใต้ปลาปักเป้าฟาฮากาปลาปักเป้าสมพงษ์ปลาปักเป้าหางวงเดือนปลาปักเป้าหนามทุเรียนปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาวปลาปักเป้าหนามทุเรียนด่างดำปลาปักเป้าหน้าหมาปลาปักเป้าอ้วนปลาปักเป้าจมูกแหลมปลาปักเป้าทอง (สกุล)ปลาปักเป้าทองแม่น้ำโขงปลาปักเป้าท้องตาข่ายปลาปักเป้าขนปลาปักเป้าดำปลาปักเป้าควายปลาปักเป้าคองโกปลาปักเป้าตาแดงปลาปักเป้าตุ๊กแกปลาปักเป้าแอมะซอนปลาปักเป้าแคระปลาปักเป้าเขียวปลาปากหนวดปลาปากขลุ่ยปลาปากแตรปลาปากแตรเรียบปลาปิรันยาปลานกขุนทองปากยื่นปลานกแก้วหัวตัดปลานกแก้วหัวโหนกปลานวลจันทร์ทะเลปลานวลจันทร์น้ำจืด (สกุล)ปลานวลจันทร์เทศปลานางอ้าวปลานิล (สกุล)ปลานีออนปลานีออน (สกุล)ปลาน้ำกร่อยปลาน้ำฝายปลาน้ำฝายหลังดำปลาน้ำหมึกยักษ์ปลาน้ำหมึกจีนปลาแบมบูซ่าปลาแบล็คบาร์เรดฮุกปลาแบสดำปลาแบสปากใหญ่ปลาแชดปลาแพะลายปลาแพะเหลืองปลาแพะเขียวปลาแกมบูเซียปลาแกงปลาแก้มช้ำปลาแมนดารินปลาแมนดารินจุดปลาแรดปลาแรดหกขีดปลาแรดแม่น้ำโขงปลาแรดแดงปลาแลมป์เพรย์ปลาแสงอาทิตย์ปลาแอฟริกันไทเกอร์ปลาแองหวู (สกุล)ปลาแอตแลนติกทาร์ปอนปลาแฮลิบัตปลาแฮลิบัต (สกุล)ปลาแขยงจุดปลาแขยงทองปลาแขยงดานปลาแค้ปลาแค้ยักษ์ปลาแค้ติดหินปลาแซลมอนชินูกปลาแซลมอนทองคำปลาแซลมอนแปซิฟิกปลาแปบยาวปลาแปบขาวปลาแปบควายปลาแปบใสปลาแป้นหัวโหนกปลาแป้นแก้วปลาแป้นแก้วรังกาปลาแป้นเขี้ยวปลาแนนดัสปลาใบขนุนปลาใบโพปลาใบโพจุดปลาใบไม้อเมริกาใต้ปลาโมลาปลาโรซี่บาร์บปลาโรนันยักษ์ปลาโรนันหัวใสปลาโลมาน้อยปลาโอรีโนโกพีค็อกแบสปลาโอดำปลาโอด์ไวฟ์ปลาโอแถบปลาโจกปลาโจกไหมปลาโนรีปลาโนรีหน้าหักปลาโนรีครีบยาวปลาโนรีครีบสั้นปลาโนรีเกล็ดปลาโนรีเทวรูปปลาไบเคอร์ปลาไบเคอร์ลายบั้งปลาไบเคอร์จุดปลาไบเคอร์เซเนกัลปลาไวท์คลาวด์ปลาไส้ตันสนธิรัตนปลาไหลช่อปลาไหลกัลเปอร์ปลาไหลมอเรย์ยักษ์ปลาไหลมอเรย์ลายเมฆปลาไหลมอเรย์หน้าปานปลาไหลมอเรย์ตาขาวปลาไหลริบบิ้นปลาไหลหลาดปลาไหลผีอะบาอะบาปลาไหลนาปลาไหลนา (สกุล)ปลาไหลแดงปลาไหลไฟฟ้าปลาไทเกอร์วิเตตัสปลาไทเกอร์โชวเวลโนสปลาไทเกอร์โกไลแอตปลาไทเมนปลาไข่อองปลาไข่อองใหญ่ปลาไข่อองเล็กปลาไซเชเดลิกาปลาเบี้ยวปลาเพียวปลาเกล็ดถี่ (สกุล)ปลาเก๋าแดงปลาเม็ดขนุนปลาเรดฮุกปลาเรดเทลแคทฟิชปลาเลียหินปลาเลียหินกัมพูชาปลาเล็บมือนางแม่โขงปลาเวียนทองปลาเสือพ่นน้ำปลาเสือพ่นน้ำพม่าปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ปลาเสือหกขีดปลาเสือตอปาปัวนิวกินีปลาเอินปลาเอ็กโซดอนปลาเทพาปลาเทวดาปลาเขียวพระอินทร์ปลาเข็มปลาเข็มหม้อปลาเข็มป่าปลาเฉาปลาเฉี่ยวหินปลาเป้าปลาเนื้ออ่อนปักษีวิทยาปากกาทะเลปาล์ม (พืช)ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้าปูปูก้ามดาบปูม้าปูม้า (สกุล)ปูลมปูจักรพรรดิปูจั๊กจั่นปูทหารปูทะเลปูนาปูแสมปูไก่ปูเสฉวนปูเสฉวนบกปูเสฉวนบกก้ามแถวฟันปูเสฉวนยักษ์จุดขาวปีเตอร์ เบลเกอร์นกชาปีไหนนกบูบีนกบูบีตีนฟ้านกช้อนหอยนกฟลามิงโกนกฟินฟุตนกพัฟฟินนกพาโรเทียนกพิราบหงอนวิคตอเรียนกกระสาปากห่างนกกระเรียนนกกระเรียนมงกุฎนกกระเรียนมงกุฎแดงนกกะรางหัวขวานนกกะปูดนกกานกกางเขนนกกาน้อยแถบปีกขาวนกกาน้ำนกกาน้ำเล็ก (สกุล)นกกาเหว่านกกินปลีนกกีวีนกกีวีสีน้ำตาลนกยูงนกล่าเหยื่อนกศิวะนกสาลิกาดงนกหกนกหว้านกหัวขวานดำนกหัวขวานเขียวตะโพกแดงนกออกนกอัลบาทรอสนกอีเสือสีน้ำตาลนกจาบนกจาบควายนกทึดทือนกขุนแผนนกดำน้ำน้อยดีนกดำน้ำไร้ปีกนกคุ่มนกคุ่มสีนกปรอดนกปรอดหัวโขนนกแสกนกแสก (สกุล)นกแสกแดงนกแสกแดง (สกุล)นกแคสโซแวรีนกแต้วแร้วนกแต้วแร้วท้องดำนกโมอานกโจรสลัดนกโคเอลนกโนรีนกไต่ไม้นกเกาะคอนนกเลิฟเบิร์ดนกเอี้ยงนกเอี้ยงคำนกเขียวก้านตองนกเค้าจุดนกเค้าใหญ่นกเค้าโมงนกเค้าเหยี่ยวนกเงือกนกเงือกดินนกเงือกปากเหลืองแอฟริกานกเงือกโหนกเล็กนกเปล้านกเป็ดผีนกเป็ดน้ำหางวงแหวนนากนากยักษ์นากหญ้านากแม่น้ำนากใหญ่นากเล็กนางพญาเสือโคร่งนิลกายนิวคลีโอโพลิฮีโดรไวรัสนิวต์หางใบพายนิวต์จระเข้นิวต์ท้องแดงนิวต์ท้องแดงจีนนิวต์แปซิฟิกน้อยโหน่งน้ำอสุจิแบบสิ่งเร้าแบล็กเบอร์รีแพรรีด็อกแพลทีโอซอรัสแพลงก์ตอนพืชแพคิเซอฟาโลซอรัสแพนด้ายักษ์แพนด้ายักษ์ (สกุล)แพนด้าแดงแมกโนเลียแมลงสาบแมลงสาบมาดากัสการ์แมลงทับแมลงทับราชาแมลงปอแมลงแกลบแมวอิริโอะโมะเตะแมวน้ำช้างแมวน้ำมีหูแมวน้ำเสือดาวแมสโสสปอนดิลัสแมงกะพรุนแมงกะพรุนสาหร่ายแมงกะพรุนหัวคว่ำแมงกะพรุนหนังแมงกะพรุนอิรุคันจิแมงกะพรุนถ้วยแมงกะพรุนไฟแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกสแมงมุมแมงมุมกระโดดแมงมุมลูกตุ้มแมงมุมหว่านแหแมงมุมทารันทูล่าแมงอีนูนแมงดาแมงดาญี่ปุ่นแมงดาจานแมงดาถ้วยแมงดาแอตแลนติกแมงคีมแมงคีมยีราฟแมงคีมละมั่งเหลืองแมงป่องแมงป่องช้างแมงป่องแส้แม่หอบแม่น้ำแยงซีแม่น้ำแอมะซอนแม็ปลอจิสติกแย้แย้กะเทยแรมโฟริงคัสแรดแรดอินเดียแร็กคูนแร้งแร้งสีน้ำตาลหิมาลัยแร้งดำหิมาลัยแร้งเทาหลังขาวแลมบีโอซอรัสแวนด้าแอมฟิอูมาแอมฟิอูมาสองนิ้วแอลลิเกเตอร์จีนแองคิโลซอรัสแอนทิโลปแอนทิโลปสี่เขาแอนทิโลปปศุสัตว์แอนดรอยด์แอโครแคนโทซอรัสแฮมสเตอร์แฮ็กฟิชแผนที่ภูมิลักษณ์แจ็กคัลแคมป์โทซอรัสแคริโอไทป์แซนแทนาแรปเทอร์โบตั๋น (พรรณไม้)โพโพลาแคนทัสโกลเมอรูลัส (ระบบรู้กลิ่น)โมโนทรีมโยวี่โรควิตกกังวลโรควิตกกังวลไปทั่วโรคติดเชื้อโรคซึมเศร้าโรคนิ่วไตโลก (ดาวเคราะห์)โลมาโลมามหาสมุทรโลมาหลังโหนกโลมาหัวบาตรหลังเรียบโลมาครีบทู่โลมาปากขวดโลมาปากขวดธรรมดาโลมาแม่น้ำโสมโอพอสซัมโอวิแรปเตอร์โอคาพีโอ๊กโฮโมโคริโทซอรัสโครงการจาการ์ตาโคล่าโคเมทโคเรียโนซอรัส (ออร์นิโธพอด)โคเอ็กซ์อควาเรี่ยมโปรโตเซอราทอปส์ไฟลัมไพกาไพลโอซอร์ไพโรโซมไก่จุกไก่งวงไก่ต๊อกไก่เถื่อนไมยราบไมโครแรปเตอร์ไรทะเลไรน้ำนางฟ้าไรแดงไลลักไลโอพลัวเรอดอนไวมานูไส้เดือนดินไฮยีน่าไฮดรา (สกุล)ไฮแรกซ์หินไฮแรกซ์ต้นไม้ไผ่ไจกาโนโทซอรัสไทรออปส์ไทรเซราทอปส์ไททันโนซอรัสไดพลอโดคัสไดโลโฟซอรัสไดโปรโตดอนไดโนนีคัสไดโนเสาร์ไครโอโลโฟซอรัสไซส์โมซอรัสไซคาเนียไซน์แรปเตอร์ไซโฟซัวไซโฟซูราไซเรน (สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก)ไซเรนแคระเบญจมาศเชลิเซอราตาเชื้อเพลิงเบียร์ดดราก้อนเบียร์ดดราก้อน (สกุล)เฟอร์ริตินเฟิร์นเพียงพอนเพียงพอนสีน้ำตาลเพียงพอนโคลัมเบียเพนกวินริดเกนเพนกวินลายเพนกวินหางแปรงเพนกวินฮัมโบลต์เพนกวินจักรพรรดิเกรินุกเก้งเก้งอินโดจีนเก้งเจื่องเซินเก๋ากี่เมก้าแร็ปเตอร์เมอโรสโทมาทาเมียร์แคตเม่นต้นไม้เม่นใหญ่เมเปิลเยื่อกั้นหูชั้นในเยติเยนส์ คือห์เนเรือดเลียงผาเล็บครุฑ (พรรณไม้)เสือเสือชีตาห์เสือโคร่งเสือโคร่งชวาเสือโคร่งบาหลีเสือโคร่งมลายูเสือโคร่งแคสเปียนเหยี่ยวเหยี่ยวดำเหยี่ยวปลาเหยี่ยวนกเขาเหยี่ยวนกเขาชิคราเหยี่ยวแมลงปอเหยี่ยวแคระเหย่เหรินเหี้ยเห็ดทะเลเอบิลิซอรัสเอปตาเซียเอ็ดมอนโตซอรัสเอ๋อเหมยซอรัสเอเลียน (สัตว์ประหลาดในแฟรนไชส์เอเลียน)เฮอร์รีราซอรัสเฮดจ์ฮอกเฮดจ์ฮอกยุโรปเฮดจ์ฮอกสี่นิ้วเจ้าฟ้าเจเรมี เวดเทอริสิโนซอรัสเทอโรซอร์เทอโรแดคทิลลัสเทือกเขาอันนัมเขียดจิกเขียดงูเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวนเขนงนายพรานเดลฟินเนียมเดสเพลโตซอรัสเครย์ฟิชเคลดเคนโทรซอรัสเคแมนเคแมนแคระเตตราโครมาซีเต่าเต่าบกเต่าบกอินโดจีนเต่าบกเอเชียเต่าบินเต่าบึงเต่าบึงดำเต่ากระเต่าญี่ปุ่นเต่ามะเฟืองเต่ามาตามาต้าเต่ารัศมีดาราเต่าราเดียตาเต่าริดลีย์เต่าสแนปปิ้งเต่าหกเต่าหญ้าเต่าหับเอเชียเต่าหัวค้อนเต่าอัลลิเกเตอร์เต่าทะเลเต่าดาวเต่าดำเต่าคอยาวเต่าคองูเต่าคองูเหนือเต่าตนุเต่าซูลคาต้าเต่าปากแม่น้ำเต่านาเต่านาหัวใหญ่เต่านาอีสานเต่าน้ำบอร์เนียวเต่าแพนเค้กเต่าแก้มแดงเต่าแม่น้ำมาลาวีเต่าเหลืองเซกโนซอรัสเซลล์รับแสงเซลล์ประสาทเซลล์ประสาทสองขั้วเซอราแซลมัสเซอราโตซอรัสเซเบิลเปลือกสมองเปลือกหอยเป็ดก่าเป็ดหางแหลมเป็ดหงส์เป็ดคับแคเป็ดแมลลาร์ดเป็ดแมนดารินBalistoidesBangana lippusBangana sinkleriBucerosCeratoscopelusCervusDiaphusElectronaGene flowGymnoscopelusHomo erectusHomo habilisHydrornisHyelaphusLampanyctusLateral geniculate nucleusLatimeriaMakararaja chindwinensisMalo kingiMyctophumNepenthes anamensisNepenthes × trichocarpaNepenthes rajahPalaemonidaeParviluxPhascolarctosPolycentrusProtomyctophumRetinal pigment epitheliumRhizopusRucervusSuperior colliculusSymbolophorusTachypleus ขยายดัชนี (1982 มากกว่า) »

Acantopsis choirorhynchos

Acantopsis choirorhynchos เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมูแท้ (Cobitidae) มีลำตัวเล็ก ขนาดยาวไม่เกิน 30 เซนติเมตร (แต่ที่พบโดยทั่วไปจะยาวเพียงแค่ 5-14 เซนติเมตร) หัวแหลม ตาเล็ก หางแหลม กลางลำตัวมีเส้นสีเทาจากหัวถึงหางระหว่างเส้นมีจุดสีดำเป็นแนวยาว ครีบหางเว้าตื้น มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในพื้นท้องน้ำที่มีกรวดทรายและมีกระแสน้ำไหลเชี่ยว สามารถมุดทรายได้อย่างรวดเร็วเมื่อตกใจหรือจะซ่อนตัวจากสัตว์นักล่า A. choirorhynchos เป็นปลาพื้นเมืองในรัฐอัสสัมของอินเดีย, พม่า, ไทย, เวียดนาม, มาเลเซีย (ทั้งตะวันตกและตะวันออก) และเกาะสุมาตราและเกาะชวาของอินโดนีเซีย ตัวอย่างที่นำมาจัดอนุกรมวิธานถูกจับมาจากบริเวณจุดบรรจบระหว่างแม่น้ำเลอมาตังกับแม่น้ำเอนิมในจังหวัดสุมาตราใต้ ส่วนในไทยพบที่แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำยม แม่น้ำวัง แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม แม่น้ำปัตตานี เป็นต้น เนื่องจากปลาชนิดนี้เป็นปลาขนาดเล็ก จึงนิยมบริโภคด้วยการรับประทานทั้งตัวและก้าง โดยนำมาทำเป็นอาหารได้หลายอย่างทั้งการปรุงสดและตากแห้ง โดยรายการที่ขึ้นชื่อที่สุด คือ ปลารากกล้วยทอดกระเทียม รับประทานกับข้าวต้ม สำหรับการปรุงสดสามารถทำอาหารได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ ต้มโคล้ง ฉู่ฉี่ นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ นิยมเลี้ยงเพราะเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารที่ปลาอื่นกินเหลือไว้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังช่วยพรวนทรายให้ร่วนอยู่ตลอดเวลาด้วย จากการที่มันสามารถมุดทรายได้เป็นอย่างดี อนึ่ง A. choirorhynchos มีชื่อสามัญในภาษาไทยว่า "ปลารากกล้วย" หรือ "ปลาซ่อนทราย" ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกร่วมกับปลาชนิดอื่น ๆ ในสกุล Acantopsis ของวงศ์ปลาหมูราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และAcantopsis choirorhynchos · ดูเพิ่มเติม »

Aceros

Aceros เป็นสกุลของนกเงือกขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ โดยในสกุลนี้บางชนิดอาจถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rhyticeros โดยถือว่าเป็นสกุลเดียว รวมถึงนกเงือกคอแดง ที่เหลืออาจจะจัดให้อยู่ในสกุล Rhyticeros นอกจากนี้แล้วนกเงือกหัวหงอกก็จัดอยู่ในสกุลนี้ด้วย แต่ส่วนใหญ่ขณะนี้ถูกจัดให้อยู่ในสกุล Berenicornis แทน โดยที่คำว่า Aceros (/อาแกร็อส/) มาจากคำว่า "cera" หรือ "keras" ซึ่งเป็นภาษากรีก (κερος) แปลว่า "เขาสัตว์" และ A ที่เป็นอุปสรรค หมายถึง "ไม่" โดยรวมหมายถึง "ไม่มีเขา" อันหมายถึง นกเงือกในสกุลนี้ไม่มีโหนกแข็งอยู่บนหัวเหมือนนกเงือกสกุลอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และAceros · ดูเพิ่มเติม »

Acinetobacter

ื้อในกลุ่ม Acinetobacter spp. เป็นเชื่อแบคทีเรียแกรมลบ (gram-negative bacteria) ทรงแท่ง ที่มีความสำคัญมากขึ้นในฐานะที่เป็นเชื้อก่อโรคในโรงพยาบาลที่พบได้บ่อยขึ้น และมักเป็นเชื้อที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายชนิด Acinetobacter spp.

ใหม่!!: สปีชีส์และAcinetobacter · ดูเพิ่มเติม »

Alocasia

Alocasia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Araceae เป็นพืชที่สร้างลำต้นใต้ดินแบบไรโซมหรือทูเบอร์ เป็นพืชหลายฤดู ประกอบด้วยสปีชีส์ต่างๆ 79 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลียตะวันออก มีการปลูกทั่วโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และAlocasia · ดูเพิ่มเติม »

Anorrhinus

Anorrhinus เป็นสกุลของนกจำพวกนกเงือก เป็นนกเงือกขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ในป่าทึบของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ (รวมถึงชายแดนอินเดียและจีน) เป็นนกที่มีพฤติกรรมทางสังคมปรากฏให้เห็นและช่วยเหลือกันในกลุ่ม.

ใหม่!!: สปีชีส์และAnorrhinus · ดูเพิ่มเติม »

Anthracoceros

Anthracoceros เป็นสกุลของนกจำพวกนกเงือก จัดเป็นนกเงือกขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และAnthracoceros · ดูเพิ่มเติม »

Arthrospira

Arthrospira เป็นจีนัสของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินกลุ่มเป็นเส้นด้ายลอยอิสระ มีลักษณะเป็นทรงกระบอก มีเซลล์ขนหลายเซลล์ในเกลียววนซ้ายมือเปิด สไปรูไลนาเกิดขึ้นตามธรรมชาติในทะเลสาบเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนที่มีค่า pH สูง และมีความเข้มข้นของคาร์บอเนตและไบคาร์บอเนตสูง Arthrospira platensis พบในแอฟริกา เอเชียและอเมริกาใต้ ขณะที่ Arthrospira maxima จำกัดอยู่แต่เฉพาะในอเมริกากลางVonshak, A. (ed.). Spirulina platensis (Arthrospira): Physiology, Cell-biology and Biotechnology. London: Taylor & Francis, 1997.

ใหม่!!: สปีชีส์และArthrospira · ดูเพิ่มเติม »

Aspergillus

Aspergillus เป็นสกุลของรามีสมาชิกประมาณ 200-300 ชนิดในธรรมชาติ Aspergillus พบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: สปีชีส์และAspergillus · ดูเพิ่มเติม »

บรรพบุรุษ

รรพบุรุษ คือ บิดาหรือมารดา หรือบิดาหรือมารดาของบรรพบุรุษ (คือ ปู่ย่าตายาย ทวด เทียด ขึ้นไป) บรรพบุรุษคือ "บุคคลใดซึ่งผู้หนึ่งสืบเชื้อสายมา ในทางกฎหมาย คือ บุคคลที่ยกมรดกให้" ปัจเจกบุคคลสองคนมีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมหากผู้หนึ่งเป็นบรรพบุรุษของอีกผู้หนึ่ง หรือแต่ก่อนมีบรรพบุรุษร่วมกัน ในทฤษฎีวิวัฒนาการ สปีชีส์ซึ่งมีบรรพบุรุษทางวิวัฒนาการร่วมเรียกว่า ผู้สืบเชื้อสายร่วม (common descent) ทว่า มโนทัศน์นี้ไม่ใช้กับแบคทีเรียหรือสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สามารถถ่ายทอดยีนในแนวราบ หากสมมติว่าบรรพบุรุษของทุกคนบนโลกไม่มีความเกี่ยวข้องกัน โดยปัจเจกบุคคลมีบรรพบุรุษ 2n คนในชั่วคนที่ n ก่อนหน้าเขา และมีบรรพบุรุษทั้งสิ้นประมาณ 2g+1 คนใน g ชั่วคนก่อนหน้าเขา ทว่า ในทางปฏิบัติชัดเจนว่าบรรพบุรุษมนุษย์ส่วนใหญ่ (และสปีชีส์อื่นทั้งหมด) มีความสัมพันธ์กันแบบทวีคูณ พิจารณา n.

ใหม่!!: สปีชีส์และบรรพบุรุษ · ดูเพิ่มเติม »

บริเวณบรอดมันน์

ตบร็อดแมนน์ 3-มิติ ผิวด้านข้างของสมอง เขตบร็อดแมนน์ต่าง ๆ มีตัวเลขกำกับ เขตบร็อดแมนน์ (Brodmann area) เป็นการกำหนดเขตต่าง ๆ ในเปลือกสมองของมนุษย์ มีการจำกัดขอบเขตโดยโครงสร้างและการจัดระเบียบของเซลล์ (cytoarchitectonics).

ใหม่!!: สปีชีส์และบริเวณบรอดมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

บรู๊คเคเซีย

รู๊คเคเซีย (Dwarf chameleon, Leaf chameleon) เป็นกิ้งก่าคาเมเลี่ยนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Brookesia เป็นกิ้งก่าคาเมเลี่ยนสกุลที่เล็กที่สุด มีความยาวเฉลี่ยเพียง 2.5–5.5 เซนติเมตร เท่านั้น และมีสีลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้ม เพื่อที่จะพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัย เป็นสีหม่นไม่สดใสเหมือนกิ้งก่าคาเมเลี่ยนสกุลอื่น ๆ และปลายหางสามารถที่จะม้วนงอได้เพียงแค่สำหรับป่ายปีนตามพุ่มไม้หรือตามพื้นดินเท่านั้น เนื่องจากเป็นกิ้งก่าคาเมเลี่ยนที่หากินบนพื้นดิน ไม่สามารถที่จะปีนต้นไม้ได้ โดยปกติจะหลบซ่อนอยู่อยู่ใต้กองใบไม้ที่หลบทับถมกันอยู่พื้นดิน ในบางชนิด คือ B. micra ได้รับการประกาศว่าเป็นกิ้งก่าและสัตว์เลื้อยคลานที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก โดยมีความยาวเพียง 2.4 เซนติเมตรเท่านั้น จนสามารถที่จะเกาะบนหัวไม้ขีดไฟได้ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่ากิ้งก่าคาเมเลี่ยนในสกุลนี้ เป็นสกุลที่เก่าแก่ที่สุดสกุลหนึ่งของกิ้งก่าคาเมเลี่ยน โดยวิวัฒนาการตัวเองขึ้นมาเฉพาะอาศัยอยู่บนเกาะมาดากัสการ์ แต่ด้วยความที่มีสีสันไม่สะดุดตา จึงทำให้เป็นที่รู้จักกันน้อย โดยบรู๊คเคเซียได้รับการบรรยายทางวิทยาศาสตร์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และบรู๊คเคเซีย · ดูเพิ่มเติม »

บลูทั้งค์

ำหรับบลูทั้งค์ที่เป็นโรคที่เกิดกับสัตว์กีบจำพวกสัตว์เคี้ยวเอื้อง ดูที่: โรคบลูทั้งค์ ลิ้นของบลูทั้งค์ที่เป็นสีน้ำเงิน บลูทั้งค์ หรือ จิ้งเหลนลิ้นสีน้ำเงิน (Blue-tongued skink, Blue-tongued lizard; ชื่อย่อ: ฺBTS) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่า จำพวกจิ้งเหลนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Tiliqua บลูทั้งค์ เป็นจิ้งเหลนที่มีส่วนหัวใหญ่ เกล็ดเรียบลื่นมีความมัน แต่ลำตัวกลับป้อมสั้นอ้วนกลม หางสั้นป้อมกลมมน ระยางค์ขาทั้ง 4 ข้างสั้น มีลักษณะเด่นคือ มีลิ้นสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ บลูทั้งค์ แพร่กระจายพันธุ์ในประเทศอินโดนีเซีย, นิวกินี, อิเรียนจายา, ออสเตรเลีย และเกาะทัสมาเนีย เป็นสัตว์ที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น แมลง, หอยทาก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เช่น หนู เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2 ปี เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้จะกัดที่บริเวณคอของตัวเมียทำให้เกิดเป็นแผลได้ ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกเป็นตัวครั้งละประมาณ 6-8 ตัว ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 45 เซนติเมตร บลูทั้งค์ เป็นสัตว์เลื้อยคลานอีกประเภทหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลายหรือสัตว์แปลก ๆ ซึ่งสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้วในปัจจุบัน การเลี้ยงบลูทั้งค์จะต้องการแสงยูวีน้อยกว่ากิ้งก่าจำพวกอื่น ๆ สามารถเลี้ยงได้โดยการให้อาหารสำเร็จรูปแบบกระป๋องของทั้งสุนัขและแมวผสมกัน และผสมแคลเซียมเข้าไป และมีน้ำให้อยู่เสมอ บลูทั้งค์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 8 ชนิด และยังสามารถแบ่งออกเป็นชนิดย่อย ๆ ต่าง ๆ ได้มากมาย ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และบลูทั้งค์ · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแผง

มดแผง เป็นสกุลของชะมดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Viverra มีลักษณะคล้ายกับชะมดหรืออีเห็นทั่วไป มีลักษณะเด่น คือ ที่อุ้งตีนมีนิ้วทั้งหมด 5 นิ้ว โดยที่หัวแม่เท้ามีขนาดเล็กมากจนดูเหมือนมี 4 นิ้ว เมื่อประทับลงบนพื้นดิน จะมีรอยเท้าเพียง 4 นิ้ว เนื่องจากหากินบนพื้นดินเป็นหลัก และมีขนาดใหญ่กว่าของอีเห็น อีกทั้งที่ขนบริเวณสันหลังจรดปลายหางมีลักษณะเป็นแผงขนสีดำ พาดยาวตั้งแต่สันคอไปตามแนวสันหลัง ซึ่งเวลาตกใจหรือต้องการข่มขู่ผู้รุกรานจะยกแผงขนหลังนี้ให้ตั้งชันได้ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญที่ใช้เรียกขาน ส่วนหางจะเป็นลายปล้อง ๆ เป็นชะมดขนาดใหญ่ หากินตามพื้นดินมากกว่าบนต้นไม้ และักินสัตว์เล็ก ๆ เช่น หนู, กระรอก หรือ กบ, เขียด มากกว่ากินผลไม้หรือลูกไม้ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชียอาคเนย์ทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และเกาะต่าง ๆ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก พบได้ในประเทศไทย 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะมดแผง · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแผงสันหางดำ

มดแผงสันหางดำ (Large-spotted civet) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง มีรูปร่างและลักษณะคล้ายคลึงกับชะมดแผงหางปล้อง (V. zibetha) แต่ต่างกันที่บริเวณหาง โดยหางของชะมดแผงสันหางดำจะมีลายขวางสีดำบริเวณด้านบนของหางลากยาวมาจากโคนหางถึงปลายหาง ทำให้ปล้องหางไม่แยกขาดจากกันเหมือนชะมดแผงหางปล้อง ปลายหางมีสีดำและมีลายจุดสีดำกระจายไปทั่วตัว มีความยาวลำตัวและส่วนหัว 72-85 เซนติเมตร ความยาวส่วนหาง 30-36.9 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 8-9 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถอาศัยอยู่ได้ในป่าหลากหลายประเภท ทั้งป่าสมบูรณ์ และตามสวนเกษตรกรรมต่าง ๆ เช่น สวนยางพารา หรือสวนปาล์มน้ำมัน แต่ส่วนมากมักพบเห็นตามพื้นที่ที่มีความสูงตั้งแต่ 80-200 เมตร จากระดับน้ำทะเล โดยปกติแล้วมักอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือเลี้ยงดูลูกอ่อน จะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะมดแผงสันหางดำ · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแผงหางปล้อง

มดแผงหางปล้อง (Large indian civet;; อีสาน: เหง็นแผงหางก่าน) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง มีลำตัวสีเทาค่อนข้างดำ มีลายสีดำข้างลำตัว ข้างลำคอมีเส้นสีดำสามแถบพาดผ่านในแนวขวาง มีจุดเด่น คือ ส่วนหางมีลายสีดำสลับกับขาวเป็นปล้อง ๆ 5-6 ปล้อง มีขนสีดำสนิทพาดตั้งแต่กึ่งกลางหลังจนถึงโคนหาง เท้ามีสีดำ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย จัดเป็นชะมดที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีความยาวลำตัวและหัว 75-85 เซนติเมตร ความยาวหาง 38-46 เซนติเมตร น้ำหนักตัว 8-10 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, อินโดจีน, ประเทศจีน, ฮ่องกง, มาเลเซีย และสิงคโปร์ สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ในป่าหลากหลายประเภท แม้กระทั่งใกล้ชุมชนของมนุษย์ หากินในเวลากลางคืน กินอาหารได้หลากหลาย โดยจับเหยื่อจะใช้ฟันกัดและสะบัดอย่างแรงจนเหยื่อตายมากกว่าจะใช้เล็บตะปบ ตอนกลางวันจะนอนหลับตามโพรงไม้หรือโพรงหินหรือในถ้ำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะมดแผงหางปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแปลง

มดแปลง (Asiatic linsang) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์ชะมดและอีเห็น (Viverridae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Prionodon (/ไพร-โอ-โน-ดอน/) ในวงศ์ย่อย Prionodontinae (หรือแยกออกมาเป็นวงศ์ต่างหาก คือ Prionodontidae) ชะมดแปลง เป็นชะมดจำพวกหนึ่งที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับชะมดส่วนใหญ่ทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียว มีหางยาว ความยาวลำตัวไม่เกิน 30 เซนติเมตร อาศัยและหากินส่วนใหญ่บนต้นไม้ ด้วยรูปร่างที่เพรียวยาวจึงทำให้ดูเผิน ๆ เหมือนงูไต่ตามต้นไม้มากกว่าจะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อุ้งตีนมีซองเก็บเล็บได้เหมือนสัตว์ตระกูลแมว มีสีขนตามลำตัวเป็นจุดหรือลายแถบคดเคี้ยวแตกต่างไปตามชนิด ส่วนหางเป็นปล้อง ๆ ไม่มีขนแผงคอหรือขนที่สันหลัง และมีลักษณะเด่นเฉพาะ คือ ไม่มีต่อมผลิตกลิ่น เหมือนชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ จึงได้ชื่อว่า ชะมดแปลงหน้า 82-84, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะมดแปลง · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแปลงลายจุด

มดแปลงลายจุด หรือ อีเห็นลายเสือ (Spotted linsang) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง เป็นชะมดที่ไม่มีต่อมกลิ่นเช่นเดียวกับชะมดแปลงลายแถบ (P. linsang) และมีรูปร่างลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ส่วนหัวมีขนสีน้ำตาลอ่อน ลักษณะเด่นคือ มีจุดสีน้ำตาลเข้มหรือดำขึ้นอยู่ประปรายตามลำตัว หางยาวและมีแถบสีขาวสลับดำ หรือน้ำตาลเข้มเป็นปล้องประมาณ 7 ปล้อง มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 35-37 เซนติเมตร ความยาวส่วนหาง 31-34 เซนติเมตร มีน้ำหนักประมาณ 700 กรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่เนปาล, แคว้นสิกขิมและแคว้นอัสสัมของอินเดีย, ภาคใต้ของจีน, ภาคเหนือของพม่า, ไทย, ลาว และเวียดนาม มักอาศัยอยู่ตามลำพังเพียงตัวเดียว ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนอาจอยู่เป็นคู่หรือหลายตัว มักพบในพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,500-2,700 เมตร ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น กระรอก, หนู, นก และแมลงต่าง ๆ เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนใหญ่จะหากินเป็นหลักบนต้นไม้ นานครั้งจึงจะลงมาบนพื้นดิน มีฤดูผสมพันธุ์ในเดือนกุมภาพันธ์-สิงหาคม ออกลูกครั้งละ 2 ตัว ใช้โพรงไม้ในการเลี้ยงดูลูกอ่อน จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะมดแปลงลายจุด · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแปลงลายแถบ

มดแปลงลายแถบ หรือ อีเห็นลายเมฆ เป็นชะมดแปลงชนิดหนึ่งที่มีการกระจายพันธุ์ในแถบมาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว และชวาตะวันตก รวมทั้งในประเทศไทยตั้งแต่บริเวณคอคอดกระลงไป ชะมดแปลงลายแถบ จัดเป็นชะมดที่ไม่มีต่อมกลิ่น มีลายเป็นแถบคดเคี้ยวขวางบริเวณหลังทั้งหมด 5 แถบ และตามด้านข้างของคอและลำตัว จุดจะติดกัน กลายเป็นแถบคดเคี้ยวมีอยู่ด้านละ 2 แถบ สีพื้นของตัวเป็นสีน้ำตาลแกมเหลืองซีด ๆ หางมีปล้องสีขาวสลับดำอยู่ 7 ปล้อง ไม่มีขนแผงคอหรือแผงหลัง มีขนาดตัวยาวจากหัวถึงหาง 74 เซนติเมตร อาศัยและหากินบนต้นไม้มากกว่าจะลงมาพื้นดิน กินอาหาร ได้แก่ กระรอก, หนู, นก และจิ้งจก มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-สิงหาคม สร้างรังออกด้วยเรียวไม้และใบไม้อยู่ในโพรงดินโคนต้นไม้ใหญ่ ออกลูกครั้งละ 2–3 ตัว มีอายุยืนเกือบ 10 ปี เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะมดแปลงลายแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ชะนี

นี (วงศ์: Hylobatidae; Gibbons; ภาษาเหนือ: อี่ฮุย, อี่วุย) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับวานร (Primates) เป็นลิงไม่มีหาง ซึ่งชะนีถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Hylobatidae และถูกจัดให้เป็น 1 ใน 4 ลิงที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด (ประกอบไปด้วย ชะนี, ชิมแปนซี, อุรังอุตัง, กอริลลา ซึ่งชะนีมีความใกล้เคียงมนุษย์น้อยที่สุดในบรรดาทั้ง 4 นี้ เนื่องจากมีแขนขาเรียวยาว มีฟันเขี้ยวที่แหลมคม และใช้ชีวิตหากินอยู่บนต้นไม้มากกว่าพื้นดิน) ซึ่งนับว่าชะนีมีแขนที่ยาวที่สุดในบรรดาสัตว์อันดับวานรทั้งหมด และมีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Myers, P. 2000.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนี · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีมือขาว

นีมือขาว หรือ ชะนีธรรมดา (Common gibbon, White-handed gibbon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอันดับวานร (Primates) ชนิดหนึ่ง จัดเป็นลิงไม่มีหางชนิดหนึ่ง จำพวกชะนี (Hylobatidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนีมือขาว · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีมือดำ

นีมือดำ (Agile gibbon, Black-handed gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates agilis จัดเป็นหนึ่งในสี่ชนิดของชะนีที่สามารถพบได้ในประเทศไทย ชะนีมือดำดั้งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของชะนีมือขาวหรือชะนีธรรมดา (H. lar) เช่นเดียวกับชะนีมงกุฎ (H. pileatus) แต่เมื่อมีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่ามีบางอย่างที่แตกต่างออกไป เช่น เสียงร้องที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะกว่าและการแพร่กระจายพันธุ์ จึงจัดให้เป็นชนิดใหม่ ชะนีมือดำมีลักษณะทั่วไปคล้ายกับชะนีมือขาว โดยสีของลำตัวจะมีทั้งสีเทา, ดำ และสีน้ำตาลแก่ ซึ่งความแตกต่างของสีนี้จะไม่เกี่ยวกับเพศหรือวัยเช่นเดียวกับในชะนีมือขาว โดยที่ตัวใดเกิดเป็นสีใดก็จะเป็นสีนั้นไปตลอด ชะนีมือดำจะแตกต่างจากชะนีมือขาวตรงที่ขนที่มือและเท้าเป็นสีดำ อันเป็นที่มาของชื่อ บริเวณกระหม่อมแบนกว่า และมีขนข้างส่วนหัวยาวกว่า ทำให้เวลาดูทางด้านหน้าส่วนหัวจะเป็นรูปสามเหลี่ยม ในขณะที่ส่วนหัวของชะนีมือขาวจะดูเป็นรูปกลม มีการแพร่กระจายพันธุ์ในประเทศไทย เฉพาะในป่าดิบภาคใต้ตอนล่างที่ติดกับมาเลเซียเท่านั้น จากนั้นจะพบได้ตลอดทั้งแหลมมลายู จนถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ขณะที่นิเวศวิทยาและพฤติกรรมก็คล้ายคลึงกับชะนีชนิดอื่น ๆ สถานะการอนุรักษ์ในอนุสัญญาไซเตสจัดให้อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) คือ ห้ามค้าขายหรือมีไว้ครอบครองเด็ดขาด เว้นแต่จะเป็นไปเพื่อการศึกษาหรือวิจัยขยายพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนีมือดำ · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีคิ้วขาว

นีคิ้วขาว หรือ ชะนีฮูล็อก (Hoolock gibbons, Hoolocks, White-browed gibbons) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรสกุลหนึ่ง ในวงศ์ชะนี (Hylobatidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hoolock ชะนีคิ้วขาว มีลักษณะและเสียงร้องทั่วไปเหมือนชะนีสกุลและชนิดอื่น ๆ ตัวผู้มีขนสีดำ ตัวเมียมีขนสีขาว จัดเป็นชะนีที่มีความใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของบรรดาชะนีทั้งหมด รองจากเซียมมัง ที่พบในภาคใต้ตอนล่างของไทยและมาเลเซีย ด้วยมีความสูงสูงสุดได้ถึง 90 เซนติเมตร น้ำหนักระหว่าง 6-9 กิโลกรัม ชะนีคิ้วขาว กระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและภาคใต้ตอนล่างของจีน โดยที่ไม่พบในประเทศไทย เดิมถูกจัดให้มีเพียงชนิดเดียว แต่ปัจจุบันได้มีการจำแนกออกเป็น 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนีคิ้วขาว · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีคิ้วขาวตะวันตก

นีคิ้วขาวตะวันตก หรือ ชะนีฮูล็อกตะวันตก (Hoolock gibbon, Hoolock, Western hoolock gibbon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) จัดเป็นชะนีชนิดหนึ่ง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกรองลงมาจากเซียมมัง หรือชะนีดำใหญ่ ที่พบในป่าดิบในแหลมมลายูและเกาะสุมาตรา เมื่อมีความสูงเมื่อยืนด้วยสองขาหลังได้ถึง 90 เซนติเมตร น้ำหนักเกือบ 10 กิโลกรัม แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวเมื่ออยู่บนต้นไม้ ชะนีคิ้วขาวตะวันตก เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชะนีฮูล็อกเพียงชนิดเดียว (โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates hoolock) แต่ต่อมาได้ถูกจัดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ในปี ค.ศ. 2005 โดยจำแนกจากถิ่นที่อยู่อาศัย ตัวผู้มีขนสีดำ ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าและมีขนสีขาว มีเสียงร้องและพฤติกรรมทั่วไปเหมือนชะนีชนิดอื่น ๆ สุดหล้าฟ้าเขียว, รายการสารคดี: เสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555 ทางช่อง 3 โดย ปองพล อดิเรกสาร ชะนีคิ้วขาวตะวันตกจะกระจายพันธุ์อยู่ในรัฐอัสสัมของอินเดีย อาทิ อุทยานแห่งชาติกาจิรังคา, ตอนใต้ของจีน, พม่า และซีกตะวันตกของแม่น้ำชินด์วิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนีคิ้วขาวตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีแก้มขาว

นีแก้มขาว (White-cheeked gibbon, Northern white-cheeked gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีลักษณะที่แตกต่างกันชัดเจนระหว่างตัวผู้และตัวเมีย กล่าวคือ ตัวผู้จะมีขนสีดำตลอดทั้งลำตัว ยกเว้นบริเวณแก้มซึ่งจะมีสีขาวเด่นชัด ส่วนตัวเมียนั้นจะมีขนสีเหลืองอ่อนหรือสีครีมตลอดทั้งลำตัว ยกเว้นบริเวณกระหม่อมหรือกลางศีรษะซึ่งมีสีดำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีความยาวลำตัวตั้งแต่ศีรษะ 45-63 เซนติเมตร น้ำหนักตัวผู้ประมาณ 5.6 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมีย 5.8 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นของทางตอนเหนือของลาวติดต่อกับพรมแดนเวียดนาม และจีน มีพฤติกรรมและนิเวศวิทยาอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดเล็ก ๆ บนต้นไม้สูง ซึ่งในฝูงจะเป็นครอบครัวกัน ประกอบไปด้วยตัวผู้จ่าฝูง 1 ตัว ตัวเมีย 1 ตัว และลูก ๆ อีก 2-3 ตัว จะมีอาณาเขตครอบครองเป็นของตัวเอง และมักจะส่งเสียงร้องที่สอดประสานกันระหว่างตัวผู้และตัวเมีย ขณะที่ห้อยโหนไปกับกิ่งไม้ โดยที่ตัวผู้จะมีเสียงร้องที่สลับซับซ้อนกว่า ประชากรชะนีแก้มขาวในจีน เดิมเคยเหลือเพียง 60 ตัวเท่านั้น ก่อนที่จะมีการอนุรักษ์ ซึ่งปัจจุบันได้มีจำนวนเพิ่มขึ้นแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนีแก้มขาว · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีแก้มขาว (สกุล)

นีแก้มขาว (White-cheeked gibbon) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Nomascus (/โน-มาส-คัส/) จัดเป็นลิงไม่มีหาง ในวงศ์ชะนี (Hylobatidae) เดิมสกุลนี้เคยถูกให้เป็นสกุลย่อยของสกุล Hylobates (ซึ่งบางข้อมูลจัดให้เป็นสกุลเดียวกัน) ต่อมามีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่าชะนีสกุลนี้มีจำนวนโครโมโซม 52 ส่วนมากชะนีกลุ่มนี้จะมีขนสีดำและมีกระจุกขนสีดำที่กลางกระหม่อม แต่บางส่วนก็มีสีที่อ่อนลงไป พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน (มณฑลยูนาน และเกาะไหหลำ) จนถึงภาคเหนือและกลางของเวียดนาม และภาคเหนือของลาว.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนีแก้มขาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีแก้มเหลือง

นีแก้มเหลือง (Yellow-cheeked gibbon, Golden-cheeked gibbon, Buff-cheeked gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีลักษณะ ขนาดและรูปร่างใกล้เคียงกับชะนีแก้มขาว (N. leucogenys) และชะนีดำ (N. concolor) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันมาก น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 5.75 กิโลกรัม มีความแตกต่างกันระหว่างตัวผู้และตัวเมีย โดยตัวผู้จะมีขนตามลำตัวสีดำ มีขนสีทองปนแดงบริเวณแก้มและมีขนสีขาวบริเวณคาง ส่วนตัวเมียจะมีจนสีครีมตลอดทั้งลำตัว ส่วนในตัวลูกวัยอ่อนจะมีขนสีขาวนวลทั้งตัวทั้งตัวผู้และตัวเมีย พบกระจายพันทางแถบเทือกเขาอันนัม อันเป็นพรมแดนระหว่างประเทศลาวกับเวียดนามทางตอนกลางและตอนใต้ และบางส่วนของกัมพูชา มีพฤติกรรมความเป็นอยู่คล้ายกับชะนีชนิดอื่น ๆ คือ อาศัยและหากินบนยอดไม้สูงในป่าดิบ โดยมีอาหารหลัก คือ ผลไม้ และใบไม้อ่อน มักออกหากินในเวลากลางวันโดยห้อยโหนไปตามกิ่งไม้ มีเสียงที่สอดประสานกันระหว่างเพศ โดยที่ตัวผู้มักจะส่งเสียงร้องหลังจากที่ตัวเมียร้องเสร็จแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และชะนีแก้มเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

บัววิกตอเรีย

ัววิกตอเรีย หรือ บัวกระด้ง (Victoria waterlily) เป็นบัวในสกุล Victoria จัดเป็นบัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีลำต้นใต้ดินเป็นหัวใหญ่ ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ประมาณ 6 ฟุต ลอยบนผิวน้ำ ใบอ่อนมีสีแดงคล้ำเมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเข้ม ขอบใบยกขึ้นตั้งตรง มีหนามแหลมตามก้านใบและผิวใบด้านล่าง ก้านดอกและกลีบเลี้ยงด้านนอกมีหนามแหลม ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ ดอกแรกบานจะมีสีขาว จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นสีขาวอมชมพู และเป็นสีแดงเรื่อในที่สุด บานเวลาใกล้ค่ำ หรือกลางคืน มีกลิ่นหอม และจะหุบในตอนสายของวันรุ่งขึ้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และบัววิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

บัทเทอร์คัพ

รานังคิวลัส หรือ บัทเทอร์คัพ (RanunculusSunset Western Garden Book, 1995:606–607 หรือ Buttercup) เป็นสกุลพืชที่มีด้วยกันราว 250 ถึงกว่า 400 สปีชีส์ของวงศ์พวงแก้วกุดั่น ที่รวมทั้ง “บัทเทอร์คัพ” “สเปียร์เวิร์ทส” “ตีนกาน้ำ” (water crowfoots) และ lesser celandine (แต่ไม่รวม greater celandine ของตระกูลฝิ่น รานังคิวลัสเป็นพืชยืนต้นที่มีดอกขนาดเล็กสีเหลืองสดหรือขาวที่มีสีเหลืองตรงกลาง แต่บางสายพันธุ์ก็เป็นพืชปีเดียวหรือพืชสองปี มีไม่กี่ชนิดที่มีดอกสีส้มและแดง และบางครั้งเช่นในชนิด Ranunculus auricomus ที่ไม่มีกลีบ แต่ถ้ามีกลีบก็จะเป็นกลีบที่เป็นมันเงาโดยเฉพาะสายพันธุ์ที่มีสีเหลือง ออกดอกระหว่างเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคมแต่ก็พบดอกทั่วไประหว่างฤดูร้อนมักถือว่าเป็นวัชพืช (opportunistic colonisers).

ใหม่!!: สปีชีส์และบัทเทอร์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

บันยัน

ันยัน (Banyan, Banyan tree, Banian) เป็นสกุลย่อยของไม้ในสกุล Ficus โดยจัดอยู่ในสกุลย่อย Urostigma ในวงศ์ Moraceae (โดยปกติแล้วจะหมายถึง ไกร (F. benghalensis)) ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติอินเดีย ลักษณะส่วนใหญ่ของไม้ในสกุลย่อยนี้ คือ ส่วนใหญ่เป็นแบบกึ่งอิงอาศัย มีรากอากาศ ไม่มีรากตามข้อ ดอกแยกเพศร่วมต้น แผ่นใบด้านล่างมีต่อมไขที่โคนเส้นกลางใบ 1 ต่อมฟิกส์เกลี้ยง ออกเป็นคู่หรือออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบหรือตามกิ่ง พบน้อยออกตามลำต้น ใบประดับที่โคน 2-3 ใบ ไม่มีใบประดับด้านข้าง ช่องเปิดมีใบประดับ 2-5 ใบ ปิดด้านบน ดอกเพศผู้เรียงกระจัดกระจายระหว่างดอกเพศเมีย หรืออยู่ใกล้ช่องเปิด กลีบรวม 3-5 กลีบ เกสรเพศผู้ 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียส่วนมากมี 1 อัน มีหลากหลายชนิด พบในประเทศไทยประมาณ 45 ชนิด นอกจากไกรแล้ว อาทิ ไทรย้อยใบแหลม (Ficus benjamin), โพ (F. religiosa), ไทรย้อยใบทู่ (F. microcarpa) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และบันยัน · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นพอลิพลาโคฟอรา

ระวังสับสนกับ: ลิ้นทะเล ชั้นพอลิพลาโคฟอรา (ชั้น: Polyplacophora) เป็นมอลลัสคาชั้นหนึ่ง มีชื่อเรียกในชื่อสามัญว่า ลิ่นทะเล หรือ หอยแปดเกล็ด (Chiton) อาศัยอยู่ในทะเล จัดเป็นมอลลัสคาจำพวกหนึ่งที่มีลักษณะแตกต่างไปจากมอลลัสคาชั้นอื่น ๆ กล่าวคือ แทนที่จะเปลือกหรือฝาเดียวหรือสองฝา แต่กลับมีมากถึง 7-8 ชิ้น ที่แยกออกจากกันแต่ก็ยึดเข้าไว้ด้วยกันทางด้านบนลำตัวเหมือนชุดเกราะ มีวิวัฒนาการที่ต้องแนบลำตัวดัดไปตามพื้นผิวแข็งขรุขระใต้ทะเลเพื่อแทะเล็มสาหร่ายทะเลและพืชทะเลที่เจริญเติบโตบนหิน ขณะที่ในบางชนิดก็ดักซุ่มรอกินเหยื่อตัวเล็ก ๆ ที่เคลื่อนผ่านไปมา ชั้นพอลิพลาโคฟอรานั้นวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษที่มีอายุยาวนานกว่า 500 ล้านปี โดยที่ในปัจจุบัน ก็มิได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปจากเดิมมากน้อยเท่าไหร่นัก โดยมีลำตัวเป็นวงรีคล้ายรูปไข่ มักพบอาศัยอยู่ตามโขดหินตามริมชายฝั่ง ปัจจุบันนี้พบแล้วทั้งหมด 900-1,000 ชนิด โดยศัพท์คำว่า "Polyplacophora" นั้น แปลได้ว่า "ผู้มีหลายเกล็ด".

ใหม่!!: สปีชีส์และชั้นพอลิพลาโคฟอรา · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นย่อยอีแลสโมแบรงไค

ั้นย่อยอีแลสโมแบรงไค (ชั้นย่อย: Elasmobranchii) เป็นชั้นย่อยของปลาในชั้นปลากระดูกอ่อน เป็นปลากระดูกอ่อนที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ปลาในชั้นนี้มีวิวัฒนาการมาจากยุคดีโวเนียนยุคต้น (เมื่อ 400 ล้านปีก่อน) จนถึงปัจจุบัน ลักษณะสำคัญของปลาในชั้นนี้คือ ไม่มีถุงลมช่วยในการว่ายน้ำ มีช่องเหงือกทั้งหมด 5-7 คู่เปิดออกสู่ภายนอกเพื่อใช้ในการหายใจ ครีบหลังแข็งมีเกล็ดแบบสาก มีฟันที่แข็งแรงหลายชุดในปาก ปากอยู่ต่ำลงมาทางด้านท้อง มีขากรรไกรที่ไม่เชื่อมติดกับกะโหลก และเมื่อเจริญเติบโตขึ้นกระดูกอ่อนจะแทนที่ด้วยกระดูกสันหลัง รูจมูกทั้ง 2 ข้างไม่ทะลุเข้าช่องปาก หัวใจมี 2 ห้อง เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวมีนิวเคลียส เส้นประสาทสมอง 10 คู่ มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศด้วยการปฏิสนธิภายใน โดยที่ออกลูกเป็นตัว ตัวอ่อนเจริญในท่อรังไข่ เพศผู้จะมีอวัยวะเพศเป็นแท่ง 1 คู่ซึ่งวิวัฒนาการมาจากครีบ อยู่บริเวณกระดูกเชิงกราน บริเวณครีบท้อง ใช้สำหรับผสมพันธุ์และปล่อยอสุจิ ขณะที่เพศเมียจะมีช่องคลอด เป็นปลากระดูกอ่อนที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น ปลาฉลาม, ปลากระเบน, ปลาฉนาก, ปลาโรนัน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และชั้นย่อยอีแลสโมแบรงไค · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นสแคโฟโปดา

ั้นสแคโฟโปดา (ชั้น: Scaphopoda) เป็นหนึ่งในชั้นของไฟลัมมอลลัสคาที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนปัจจุบัน ซึ่งสัตว์ในชั้นนี้พบมีอยู่มายาวนานกว่า 240 ล้านปีมาแล้ว โดยพบหลักฐานในซากดึกดำบรรพ์ ปัจจุบันพบแล้วประมาณ 1,000 ชนิด ซึ่งเรียกกันในชื่อสามัญว่า หอยงาช้าง หรือ หอยฟันช้าง(Tusk Shell) ทุกชนิดจะอาศัยอยู่ภายใต้พื้นทรายใต้ทะเล มีรูปร่างโดยรวม คือ เปลือกมีรูปร่างคล้ายฝักดาบซามูไรหรืองาของช้าง มีลักษณะเรียวยาว โค้งตรงกลางเล็กน้อย หน้าตัดเป็นทรงค่อนข้างกลม มีช่องเปิดที่ปลายสุดของทั้งสองด้านซึ่งด้านหนึ่งจะใหญ่กว่าอีกด้านเสมอ มีขนาดตั้งแต่ 5 มิลลิเมตรจนถึง 15 เซนติเมตร ศัพท์คำว่า Scaphopoda นั้น สามารถแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า "เท้าเป็นจอบ" (shovel-footed) มีลักษณะโครงสร้างคือ ไม่มีตา ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีแม้กระทั่งอวัยวะสำคัญอย่าง หัวใจ โดยเลือดจะถูกสูบโดยแรงดันน้ำภายในเนื้อเยื่อจากการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อเท้าที่มีรูปร่างคล้ายจอบ ที่ใช้ขุดเจาะเพื่อแทรกเปลืองลงวางตัวดิ่งในพื้นทราย มีอวัยวะพิเศษคล้ายหนวดเล็ก ๆ รอบ ๆ ปากด้านล่างเรียกว่า "captacula" ทำหน้าที่ดักจับอาหารเข้าสู่ปากเพื่อบดเคี้ยวและย่อยสลาย แล้วพ่นทิ้งออกอีกทางเป็นของเสีย เปลือกของหอยงาช้าง นั้น ผู้หญิงในอินเดียนแดงเผ่าลาโคตาใช้ทำเครื่องประดับสำหรับตกแต่งเสื้อผ้าหรือชุดที่สวมใส่เช่นเดียวกับขนของเม่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และชั้นสแคโฟโปดา · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นแกสโทรโพดา

ั้นแกสโทรโพดา (ชั้น: Gastropoda) หรือที่เรียกกันในชื่อสามัญว่า หอยฝาเดียว หรือ หอยฝาเดี่ยว หรือ หอยกาบเดี่ยว หรือ หอยกาบเดียว หรือ หอยเปลือกเดี่ยว หรือ หอยเปลือกเดียว เป็นหนึ่งในลำดับของไฟลัมมอลลัสคา ในสิ่งมีชีวิต สัตว์ในชั้นนี้มีการสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันมีอยู่ระหว่าง 60,000-80,000 ชนิด จัดเป็นมอลลัสคาที่มีวิวัฒนาการสูงสุดรองจากมอลลัสคาในชั้นเซฟาโลพอดหรือหมึกและหอยงวงช้าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และชั้นแกสโทรโพดา · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นไบวาลเวีย

ั้นไบวาลเวีย (ชั้น: Bivalvia) เป็นมอลลัสคาชั้นหนึ่ง ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยวิวัฒนาการให้อาศัยอยู่ได้ทั้งในทะเลและน้ำจืด มีชื่อเรียกในภาษาสามัญว่า หอยฝาคู่ หรือ หอยสองฝา หรือ หอยเปลือกคู่ หรือ หอบกาบคู.

ใหม่!!: สปีชีส์และชั้นไบวาลเวีย · ดูเพิ่มเติม »

บาร์บ้าปาป้า

250px บาร์บ้าปาป้า (Barbapapa) การ์ตูนฝรั่งเศส และเป็นชื่อของตัวละคร และสปีซีส์ ของตัวละครในหนังสือนิทานเด็ก ที่เขียนโดย แอนเนท ทีสอน (Annette Tison) และ ทาลัส เทย์เลอร์ (Talus Taylor) ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยเริ่มต้นทำในภาษาฝรั่งเศส ต่อมาได้มีการทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนขนาดความยาว 5 นาที และฉายตามโทรทัศน์ บาร์บาปาป้า มีสีชมพู เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้ และได้เข้ามาอาศัยอยู่ร่วมกับมนุษย์ และได้ผจญภัยในหลายตอน จนได้มาพบกับสิ่งมีชีวิตสปีซีส์เดียวกันที่ชื่อ บาร์บามาม่า โดยมีลักษณะเป็นเพศหญิง และมีสีดำ และได้มีลูกอีก 7 ตัว โดยมีสีต่างๆ ดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และบาร์บ้าปาป้า · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ เทต รีกัน

ลส์ เทต รีกัน (Charles Tate Regan) นักมีนวิทยาชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 ที่เมืองเชอร์บอร์น มณฑลดอร์เซต จบการศึกษาจากโรงเรียนดาร์บีและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี ค.ศ. 1901 รีกันได้เข้าทำงานในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ และเป็นนักสัตววิทยาประจำพิพิธภัณฑ์ระหว่างปี ค.ศ. 1927-ค.ศ. 1938 ต่อมาได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอนในปี ค.ศ. 1917 รีกัน เป็นนักมีนวิทยาที่มีชื่อเสียงอย่างยิ่งคนหนึ่ง โดยเป็นผู้ศึกษาและอนุกรมวิธานปลาชนิดต่าง ๆ มากมาย เช่น ปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae), การบรรยายลักษณะต่าง ๆ ของปลาในวงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Elopidae) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุกรมวิธานปลากัดไทย หรือ ปลากัดสยาม (Betta splendens) ที่มีชื่อเสียง รีกันได้ร่วมทำงานกับนักมีนวิทยาชาวอังกฤษอีกคนที่มีชื่อเสียง คือ อีเทลเวนน์ เทรวาวาส ในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ได้มีปลาจำนวนมากที่ถูกตั้งชื่อชนิดเพื่อเป็นเกียรติแก่รีกัน โดยจะใช้ชื่อว่า regani อาทิ Anadoras regani, Apistogramma regani, Julidochromis regani เป็นต้น ชาลส์ เทต รีกัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1943.

ใหม่!!: สปีชีส์และชาลส์ เทต รีกัน · ดูเพิ่มเติม »

บางปู

งปู บางปู หรือ สถานตากอากาศบางปู ในชื่ออย่างเป็นทางการ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวในแบบพักผ่อนตากอากาศทางชายทะเลด้านอ่าวไทยที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย บางปูได้ถูกสร้างขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2480 ตามดำริของ จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 639 ไร่ ต่อมาจึงได้สร้างสะพานขึ้นมา ชื่อ "สะพานสุขตา" สะพานสุขตาถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของสถานพักผ่อนตากอากาศแห่งนี้ ซึ่งในเวลาต่อมาสะพานสุขตา ได้มีการสร้างเป็นอาคารขึ้นมาในปลายสะพาน ในชื่อ "ศาลาสุขใจ" ปัจจุบันเป็นร้านอาหาร และเป็นที่นัดพบของผู้สูงอายุ สำหรับกิจกรรมเต้นลีลาศ ทุกวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 16.00 น.ตลาดสดสนามเป้า, รายการ.

ใหม่!!: สปีชีส์และบางปู · ดูเพิ่มเติม »

ชาเขียว

ร่ชาเขียว ชาเขียว, จีน: 绿茶 - พินอิน: lǜchá, เป็นชาที่เก็บเกี่ยวจากพืชในชนิด Camellia sinensis เช่นเดียวกับ ชาขาว ชาดำ และชาอู่หลง ชาที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีคุณสมบัติในการต้านทานโรคได้นานาชนิดจึงเป็นที่นิยมของคนส่วนใหญ่ น้ำชาจะเป็นสีเขียวหรือเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อนกว่าอู่หลง ชาเขียวหลงจิ่งที่ราคาสูงที่สุด คือ ฉือเฟิ่งหลงจิ่งที่ชงจากใบจะให้กลิ่นหอมอ่อนๆ บ้างว่าคล้ายถั่วเขียว รสฝาดน้อย เซนฉะที่ชงจากใบมีกลิ่นอ่อนๆจนเข้มได้ขึ้นกับการคั่ว บางครั้งมีรสอุมามิจนถึงรสหวานที่รับรู้ได้เฉพาะบางคนเท่านั้น ในประเทศไทยจะมีการแต่งกลิ่นเพื่อให้เกิดความน่ารับประทานมากขึ้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และชาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ชิปมังก์

ปมังก์ (chipmunk) เป็นกระรอกขนาดเล็กสกุลหนึ่ง อยู่ในสกุล Tamias จัดเป็นกระรอกดินจำพวกหนึ่ง กระจายพันธุ์เฉพาะในทวีปอเมริกาเหนือ และบางชนิดพบได้ในทวีปเอเชียตอนบนและตะวันออก ชิปมังก์มีลักษณะคล้ายกับกระเล็น (Tamiops spp.) ซึ่งเป็นกระรอกต้นไม้และพบได้ในเอเชียอาคเนย์ คือ เป็นกระรอกขนาดเล็ก และมีลายแถบเป็นริ้วสีขาวและดำคล้ำลากผ่านบริเวณใบหน้าทั้งสองด้าน, หลัง และหาง สีขนตามลำตัวจะแตกต่างกันออกไปตั้งแต่สีเทาจนถึงสีน้ำตาลออกแดงต่างกันตามแต่ชนิด ขนาดโดยเฉลี่ย ความยาวลำตัวประมาณ 8–11.5 นิ้ว มีหางที่มีขนเป็นพวงฟูต่างจากกระเล็น ความยาวประมาณ 3–4 นิ้ว นอกจากนี้แล้วชิปมังก์ยังมีกระพุ้งแก้มที่ใช้สำหรับเก็บอาหารได้อีกด้วย ชิปมังก์จะสร้างโพรงในระดับต่ำกว่าพื้นดิน ทางเข้าจะมีการปิดบังไว้ใต้ก้อนหินหรือพุ่มไม้ต่าง ๆ เป็นอย่างดี แม้จะอยู่ในโพรงแล้วก็ตาม ชิปมังก์ก็ยังเป็นสัตว์ที่ตื่นตัวตลอดเวลา มีการระแวดระวังภัยสูง เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลาย แต่ส่วนมากจะเป็น ลูกไม้ชนิดต่าง ๆ แม้กระทั่งลูกไม้ที่มีเปลือกแข็ง, ถั่ว, เมล็ดพืช, ข้าว, ไข่นก, แมลง แม้กระทั่งเห็ดรา มีฤดูผสมพันธุ์ ในช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิของทุกปี ตัวเมียจะออกลูกครอกละ 2–8 ตัว ลูกชิปมังก์จะอยู่กับพ่อแม่เป็นเวลา 2 เดือนและหลังจากนั้นจะจากไปหาอาหารด้วยตนเอง หลังจากผ่านไป 5 เดือน ชิปมังก์วัยอ่อนจะเจริญเติบโตจนมีขนาดตัวโตเต็มวัย ในช่วงฤดูหนาวที่อากาศหนาว อาหารหายาก จะเข้าสู่การจำศีลด้วยการนอนอยู่นิ่ง ๆ ในโพรงของตัวเอง จนกว่าจะถึงฤดูร้อน ชิปมังก์มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 2–3 ปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และชิปมังก์ · ดูเพิ่มเติม »

บีกูญา (สกุล)

ีกูญา เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์อูฐ (Camelidae) มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ ในอดีตเชื่อว่าอัลปากาสืบสายพันธุ์มาจากยามา จึงจัดสัตว์ชนิดนี้อยู่ในสกุลยามา (Lama) แต่ต่อมาได้รับการจัดกลุ่มใหม่ให้อยู่ในสกุลบีกูญา เนื่องจากมีรายงานการศึกษาดีเอ็นเอของอัลปากาในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และบีกูญา (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ชีริ เด็ดหัวใจยอดจารชน

ีริ เด็ดหัวใจยอดจารชน ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์แอ๊คชั่นสัญชาติเกาหลีใต้เรื่อง Shiri (ฮันกึล: 쉬리, ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000: Swiri, ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์: Swiri) นำแสดงโดย ฮัน ซุคยู, ชอย มินซิก, ยุนจิน คิม, ซอง คังโฮ บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย กัง เจกิว.

ใหม่!!: สปีชีส์และชีริ เด็ดหัวใจยอดจารชน · ดูเพิ่มเติม »

ชีววิทยาทางทะเล

accessdate.

ใหม่!!: สปีชีส์และชีววิทยาทางทะเล · ดูเพิ่มเติม »

บีเวอร์

รงกระดูกของบีเวอร์ บีเวอร์ (beaver) เป็นสัตว์กินพืชเลี้ยงลูกด้วยนมจัดเป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่งเช่นเดียวกับหนูยักษ์ พวกมันมีอยู่ด้วยกันสองสายพันธุ์คือ พันธุ์ยูเรเชียน (Eurasian beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor fiber) กับพันธุ์อเมริกาเหนือ (North American beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์ก็คือ Castor Canadensis) ถึงแม้จะมีขนาดและรูปร่างหน้าตาที่คล้ายคลึงกัน แต่ทั้งสองสายพันธุ์แยกขาดจากกันตั้งแต่เมื่อ 24,000 ปีที่แล้ว พวกมันจึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันเองได้อีก บีเวอร์มีขนาดตัวที่ใหญ่ตัวโตเต็มวัยจะมีขนาดใหญ่พอ ๆ กับเด็กอายุ 8 ขวบ ตัวผู้สามารถมีน้ำหนักได้มากกว่า 25 กิโลกรัมส่วนตัวเมียอาจมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ในช่วงอายุเท่ากัน นอกจากนี้บีเวอร์มีอายุยืนยาวได้ถึง 24 ปี พวกมันยังมีอีกสายพันธุ์หนึ่งในอดีตคือสายพันธุ์บีเวอร์ยักษ์ (Giant beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor ohioensis) ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 10,000 ปีก่อน พวกมันส่วนมากอาศัยอยู่ในบริเวณซีกโลกเหนือมีจำนวนประชากรในแถบอเมริกาเหนือมากกว่า 60 ล้านตัว แต่เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และบีเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บีเอลซิบูโฟ

ีเอลซิบูโฟ หรือ กบปีศาจ หรือ คางคกปีศาจ หรือ กบจากนรก (Beelzebufo) เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกขนาดใหญ่จำพวกกบที่สูญพันธุ์ไปแล้วในยุคก่อนประวัติศาสตร์เมื่อกว่า 65-70 ล้านปีก่อน ในยุคครีเตเชียสตอนปลาย โดยคำว่า Beelzebufo นั้น มาจากคำว่า "บีเอลซิบับ" ซึ่งเป็นปีศาจตนหนึ่งในความเชื่อทางคริสต์ศาสนา เป็นปีศาจแมลงวัน และ bufo เป็นภาษาละตินแปลว่า "คางคก" ส่วนชื่อชนิดนั้น ampinga หมายถึง "โล่" ในภาษามาลากาซี บีเอลซีบูโฟ ถูกค้นพบครั้งแรกเป็นฟอสซิลในมาดากัสการ์เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และบีเอลซิบูโฟ · ดูเพิ่มเติม »

บทนำวิวัฒนาการ

"ต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลัง" จากหนังสือ ''วิวัฒนาการมนุษย์'' ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 (ลอนดอน, 1910) ของเฮเกิล (Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ สามารถจัดเป็นรูปต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขามากมายงอกออกจากลำต้นเดียวกัน วิวัฒนาการ (evolution) เป็นการเปลี่ยนแปลงในสรรพชีวิตตลอดหลายรุ่น และศาสตร์ชีววิทยาวิวัฒนาการ (evolutionary biology) เป็นศึกษาว่าเกิดขึ้นอย่างไร ประชากรสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมซึ่งเข้ากับการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมรวมทั้งการกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดจากความเสียหายของดีเอ็นเอหรือข้อผิดพลาดในการถ่ายแบบดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต เมื่อความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนไปอย่างไม่เจาะจงแบบสุ่มเป็นเวลาหลายรุ่นเข้า การคัดเลือกโดยธรรมชาติจะเป็นเหตุให้พบลักษณะสืบสายพันธุ์มากขึ้นหรือน้อยลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขึ้นอยู่กับความสำเร็จทางการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเช่นนั้น โลกมีอายุประมาณ 4,540 ล้านปี และหลักฐานสิ่งมีชีวิตเก่าแก่ที่สุดโดยไม่มีผู้คัดค้านสืบอายุได้อย่างน้อย ระหว่างมหายุคอีโออาร์เคียนหลังเปลือกโลกเริ่มแข็งตัว หลังจากบรมยุคเฮเดียนก่อนหน้าที่โลกยังหลอมละลาย มีซากดึกดำบรรพ์แบบเสื่อจุลินทรีย์ (microbial mat) ในหินทรายอายุ ที่พบในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย หลักฐานรูปธรรมของชีวิตต้น ๆ อื่นรวมแกรไฟต์ซึ่งเป็นสสารชีวภาพในหินชั้นกึ่งหินแปร (metasedimentary rocks) อายุ ที่พบในกรีนแลนด์ตะวันตก และในปี 2558 มีการพบ "ซากชีวิตชีวนะ (biotic life)" ในหินอายุ ในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย Early edition, published online before print.

ใหม่!!: สปีชีส์และบทนำวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น

อกบัวตอง language.

ใหม่!!: สปีชีส์และชนิดพันธุ์ต่างถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ชนิดย่อย

นิดย่อย หรือ พันธุ์ย่อย หรือ สปีชีส์ย่อย (subspecies) หมายถึง สิ่งมีชีวิตในสกุล (genus) เดียวกัน และจัดอยู่ในชนิด (species) เดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยซึ่งไม่สามารถแยกแยะออกเป็นชนิดใหม่ได้ จึงจัดเป็นชนิดย่อย โดยใช้ชื่อไตรนาม เช่น เต่าปูลู (Platysternon megacephalum pequense) เต่าปูลูเหนือ (Platysternon megacephalum megacephalum) เต่าปูลูใต้ (Platysternon megacephalum vogeli) เป็นต้น ความแตกต่างของชนิดย่อยมักอยู่ที่ลวดลาย สีสัน หรือขนาดลำตัว อันเนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่อยู่ที่แตกต่างกัน ปกติชนิดย่อยของสัตว์นิยมเรียกว่า subspecies ส่วนพืชเรียกว่า variety.

ใหม่!!: สปีชีส์และชนิดย่อย · ดูเพิ่มเติม »

ชนิดต้นแบบ

นิดต้นแบบ ในทางอนุกรมวิธานคือชนิดแรกที่ถูกระบุบในสกุล หรือเป็นตัวอย่างที่เอกเทศ (สิ่งที่เป็นตัวตน, ซากดึกดำบรรพ์, หรือภาพประกอบ) ที่กำหนดชื่อของสกุล (หรือของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในชั้นต่ำกว่าสกุล) คำนิยามที่แตกต่างทั้งสองนี้ใช้สลับกันได้ในทางทั่วๆไปและทางพฤกษศาสตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และชนิดต้นแบบ · ดูเพิ่มเติม »

ชนิดใกล้สูญพันธุ์

ันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ คือสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์ วลีนี้ถูกใช้เรียกอย่างคลุมเครือถึงสปีชีส์ที่มีคำอธิบายเป็นดังข้างต้น แต่สำหรับนักชีววิทยาอนุรักษ์จะหมายถึงสปีชีส์ที่อยู่ในกลุ่มใกล้การสูญพันธุ์ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นสถานะการอนุรักษ์ที่มีความร้ายแรงเป็นลำดับที่สอง รองจากกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์ ปัจจุบันมีสัตว์และพืช 3079 และ 2655 ชนิดตามลำดับที่จัดอยู่ในกลุ่มใกล้สูญพันธุ์ เทียบกับในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และชนิดใกล้สูญพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

บ่าง

ง หรือ พุงจง หรือ พะจง ในภาษาใต้ หรือ ปักขพิฬาร เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่งในอันดับบ่าง (Dermoptera) มีรูปร่างคล้ายกระรอกบินขนาดใหญ่ พบได้แต่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galeopterus variegatus นับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Galeopterus.

ใหม่!!: สปีชีส์และบ่าง · ดูเพิ่มเติม »

บ่างฟิลิปปิน

งฟิลิปปิน (Philippine Flying Lemur) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง บ่างฟิลิปปินจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงหนึ่งในสองชนิดเท่านั้นที่อยู่ในอันดับบ่าง (Dermoptera) ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดหนึ่งนั้นคือ บ่าง (Galeopterus variegatus)) และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Cynocephalus บ่างฟิลิปปินมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับบ่างที่พบในภูมิภาคอินโดจีนและแหลมมลายู แต่มีขนาดที่เล็กกว่าและมีน้ำหนักตัวที่เบากว่า โดยมีความยาวประมาณ 14-17 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 1-1.7 กิโลกรัม มีหัวโต หูเล็ก ตาโต พังผืดมีขนาดใหญ่และมีกรงเล็บเท้าเป็นพังผืด สามารถปีนต้นไม้เพื่อร่อนได้อย่างรวดเร็ว และสามารถร่อนได้ไกลกว่า 100 เมตร บ่างฟิลิปปินมีฟันทั้งหมด 34 ซี่ ใช้สำหรับกินอาหารจำพวก ยอดไม้, ใบไม้อ่อน หรือดอกไม้ มีพฤติกรรมคล้ายกับบ่าง คือ ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวันตามโพรงไม้หรือพุ่มไม้หนา ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ลูกอ่อนจะยังเกาะที่หน้าท้องและดูดนมของแม่ บ่างฟิลิปปิน จะพบได้เฉพาะบนเกาะมินดาเนาและเกาะโบฮอล ในหมู่เกาะฟิลิปปินเท่านั้น ถูกล่าโดยมนุษย์เพื่อนำเนื้อไปทำอาหาร และกำจัดลงเพราะเป็นศัตรูของพืชสวน เช่น มะพร้าว หรือผลไม้ต่าง ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และบ่างฟิลิปปิน · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง

รงกระดูกช้างแอฟริกา ช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่วงศ์ Elephantidae โดยแบ่งเป็นสองสกุล ได้แก่ Elephas และ Loxodonta ช้างในปัจจุบันเหลือ 3 สปีชีส์ คือ ช้างแอฟริกา, ช้างป่าแอฟริกา และช้างเอเชีย (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช้างอินเดีย) ส่วนสปีชีส์และสกุลอื่นของวงศ์ Elephantidae ล้วนสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว บางสปีชีส์หรือสกุลสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุด ถึงแม้ว่าช้างแมมมอธในรูปแคระอาจสืบสายพันธุ์ต่อมาจนถึง 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ช้างและสัตว์ในวงศ์ Elephantidae อื่น ๆ เคยถูกจัดเป็นประเภทเดียวกับสัตว์หนังหนาอื่น ๆ ชื่อว่าอันดับ Pachydermata ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ช้างนับเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ใช้เวลาการตั้งครรภ์ถึง 22 เดือน ซึ่งนับว่านานที่สุดในบรรดาสัตว์บกทุกชนิด ช้างแรกเกิดมีน้ำหนักเฉลี่ย 120 กิโลกรัม มีอายุขัยอยู่ระหว่าง 50 ถึง 70 ปี แต่ช้างอายุมากที่สุดที่เคยบันทึกไว้มีอายุถึง 109 ปี ช้างขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้อาศัยอยู่ในแองโกลาในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ช้างบอร์เนียว

้างบอร์เนียว หรือ ช้างแคระบอร์เนียว (Borneo elephant) เป็นชนิดย่อยของช้างเอเชียชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Elephas maximus borneensis พบได้เฉพาะบนเกาะบอร์เนียวเท่านั้น ถูกเรียกว่าเป็น "ช้างแคระ" เพราะมีขนาดลำตัวที่เมื่อโตเต็มที่แล้วมีขนาดเล็กกว่าช้างเอเชียชนิดอื่น ๆ อย่างมาก โดยมีความสูงประมาณ 8 ฟุต เท่านั้นเอง ตัวผู้มีงาสั้น ๆ หรือไม่มีเลย ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีใบหูใหญ่ มีลำตัวอ้วนกลมกว่า และมีนิสัยไม่ดุร้าย มีลักษณะความแตกต่างทางพันธุกรรมจากช้างเอเชียชนิดอื่น ๆ พอสมควร สุลต่านแห่งซูลูได้นำเอาช้างที่ถูกจับเข้ามาบนเกาะบอร์เนียวในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก่อนจะถูกปล่อยเข้าป่าไปCranbrook, E., Payne, J., Leh, C.M.U. (2008).

ใหม่!!: สปีชีส์และช้างบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

ช้างป่าแอฟริกา

้างป่าแอฟริกา (African forest elephant) เป็นช้างชนิดหนึ่ง เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดเดียวกันกับช้างพุ่มไม้แอฟริกา (L. africana) โดยใช้ชื่อว่า L. africana cyclotis จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และช้างป่าแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ช้างน้ำ

้างน้ำ เป็นชื่อเรียกของสัตว์หลายชนิดในภาษาพูด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และช้างน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแมมมอธ

้างแมมมอธ หรือ แมมมอธ (Mammoth) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตระกูลช้างที่อาศัยอยู่ในยุคน้ำแข็งเมื่อกว่า 20,000 ปีก่อน จัดอยู่ในวงศ์ Elephantidae เช่นเดียวกับช้างที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยอยู่ในสกุล Mammuthus จำแนกออกได้ทั้งหมด 9 ชนิด (ดูในตาราง) โดยคำว่า "แมมมอธ" นั้นมาจากคำว่า "Mammal" หรือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แมมมอธ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก โดยเฉพาะทวีปยุโรปและเอเชียเหนือ เช่น ไซบีเรีย ยกเว้นออสเตรเลียและอเมริกาใต้ เป็นช้างที่มีลำตัวและงาใหญ่กว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก ปัจจุบันจะค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของแมมมอธได้ในยุคไพลสโตซีน แมมมอธ กำเนิดขึ้นมาเมื่อราว 2.6 ล้านปีก่อน ในยุคไพลโอซีนตอนต้น และสูญพันธุ์อย่างสิ้นเชิง เมื่อ 11,700 ปีที่ผ่านมา (แมมมอธตัวสุดท้ายที่สูญพันธุ์ คือ แมมมอธแคระ ที่อาศัยบนเกาะแรงเกล ในทะเลอาร์กติก เมื่อราว 3,700 ปีก่อน) แมมมอธมีขนาดโดยเฉลี่ย 4 เมตร (14 ฟุต) ตั้งแต่เท้าจนถึงหัวไหล่ มีสีขนที่หลากหลายตั้งแต่น้ำตาล หรือน้ำตาลออกเหลือง ความยาวตั้งแต่ 2.5 เซนติเมตร (1 นิ้ว) จนถึง 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) ภายใต้ผิวหนังหนาและมีชั้นไขมันเป็นฉนวนกันความหนาว 8 เซนติเมตร (3 นิ้ว) มีส่วนหัวที่กลม ใบหูเล็กกว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก มีโหนกไขมันอยู่บริเวณส่วนหลัง มีงายาวโค้งได้ถึง 13 ฟุต (4 เมตร) มีฟันกรามเป็นสัน ทั้งนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อเหมาะแก่การอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีแต่ความหนาวในยุคน้ำแข็ง เพื่อรักษาความอบอุ่นในร่างกาย แมมมอธ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ในยุคหินเก่า ด้วยการล่าเอาเนื้อเป็นอาหาร หนังและไขมันเป็นเครื่องสร้างความอบอุ่น จนมีภาพเขียนสีบนผนังถ้ำหลายแห่งที่ปรากฏภาพ การล่าแมมมอธด้วยอาวุธที่ทำจากหินในยุคนั้น ภาพเปรียบเทียบขนาดของมนุษย์กับแมมมอธแต่ละชนิด แมมมอธ จำแนกออกได้เป็นทั้งหมด 9 ชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ รูปร่าง แตกต่างกันออกไป โดยชนิดที่เป็นที่รู้จักดีที่สุด คือ แมมมอธขนดก (Mammuthus primigenius) ที่มีขนปกคลุมอยู่ทั้งตัว เชื่อว่า แมมมอธสูญพันธุ์ไปเพราะถูกล่าโดยมนุษย์จนหมด แต่จากการศึกษาด้านพันธุกรรมศาสตร์และดีเอ็นเอพบว่า แมมมอธนั้นมีสายสัมพันธ์ใกล้เคียงกับ Elephas หรือช้างเอเชียที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนปัจจุบัน จึงมีความพยายามจากนักวิทยาศาสตร์ที่จะโคลนนิงตัวอ่อนของแมมมอธให้เกิดขึ้นมาให้ได้ โดยให้แม่ช้างเอเชียเป็นฝ่ายอุ้มท้อง จากการสกลัดนิวเคลียสจากซากดึกดำบรรพ์ของลูกแมมมอธที่ค่อนข้างสมบูรณ์ เพราะถูกแช่แข็งในน้ำแข็ง จากไขกระดูกบริเวณต้นขา และจากหลักฐานใหม่ที่ได้ทำการศึกษาพบว่า แมมอธสูญพันธุ์ไปเพราะสาเหตุการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศมากกว่า โดยประชากรในยุโรปเกือบสูญพันธุ์ไปก่อนหน้านั้นเมื่อ 20,000-30,000 ปีก่อน จากนั้นเมื่อ 14,000 ปีก่อน โลกเริ่มมีอุณหภูมิที่อุ่นขึ้น จึงพากันสูญพันธุ์ เนื่องจากสภาพร่างกายที่ใหญ่และมีขนยาวปกคลุมลำตัว ในปลายเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และช้างแมมมอธ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแอฟริกา

้างแอฟริกา หรือ ช้างแอฟริกัน (African elephant) เป็นช้างสกุลหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา จากหลักฐานฟอสซิลที่ค้นพบทำให้ทราบว่า ช้างแอฟริกาอาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกามาตั้งแต่ยุคไพลสโตซีน ช้างแอฟริกา จัดอยู่ในสกุล Loxodonta (/โล-โซ-ดอน-ตา/; เป็นภาษากรีกแปลว่า "ฟันเอียงข้าง") ซึ่งปัจจุบันหลงเหลือเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และช้างแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอเชีย

้างเอเชีย (Asian elephant) จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริก.

ใหม่!!: สปีชีส์และช้างเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอเชีย (สกุล)

้างเอเชีย หรือ ช้างยูเรเชีย (Asian elephant, Eurasian elephant) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับ Proboscidea หรืออันดับช้าง ใช้ชื่อสกุลว่า Elephas (/อี-เล-ฟาส/) จัดอยู่ในวงศ์ Elephantidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และช้างเอเชีย (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ฟลายอิงฟาแลนเจอร์

ฟลายอิงฟาแลนเจอร์ (flying phalanger, wrist-winged glider) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกระเป๋าหน้าท้องจำพวกพอสซัมสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Petaurus ฟลายอิงฟาแลนเจอร์มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับกระรอกบิน ซึ่งเป็นกระรอกจำพวกหนึ่ง ซึ่งเป็นสัตว์ฟันแทะมาก คือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก อาศัยหากินและทำรังบนต้นไม้ มีหางเป็นขนพวงฟู และมีแผ่นหนังที่เป็นพังผืดขึงจากขาหน้าไปยังขาหลัง ใช้สำหรับร่อนถลาไปบนอากาศ ระหว่างกระโดดจากต้นไม้ต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งด้วยการร่อน การร่อนของฟลายอิงฟาแลนเจอร์มีลักษณะคล้ายกับกระรอกบินมาก คือ จะกางขาทั้ง 4 ข้างออกเมื่อร่อนถลา เมื่อถึงจุดที่จะร่อนลงก็จะยกหางขึ้นมาด้านอากาศเสมือนเบรก จากนั้นจึงควงหางครั้งหนึ่งให้ลงเกาะบนเป้าหมายทั้ง 4 ขา โดยเอาหัวตั้งขึ้น สามารถร่อนได้ไกลถึง 50 หลา ขณะที่ลอยอยู่ในอากาศ จะใช้ส่วนหางเสมือนหางเสือบังคับทิศทาง ฟลายอิงฟาแลนเจอร์เป็นสัตว์หากินตอนกลางคืน กินอาหารจำพวก ผลไม้และยางไม้จากต้นไม้ รวมถึงกินแมลงด้วย ด้วยความเป็นสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง เมื่อคลอดออกมา ลูกอ่อนจะคลานเข้าสู่กระเป๋าของแม่ และเกาะติดกับหัวนมจนแน่น ไม่หล่นมาแม้ขณะร่อน เมื่อโตขึ้นมาก็จะเปลี่ยนมาเกาะอยู่หลังของแม่แทน ขนาดโดยเฉลี่ยของฟลายอิงฟาแลนเจอร์ คือ มีความยาวประมาณ 15 นิ้ว โดยครึ่งหนึ่งเป็นความยาวของหาง ชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุดยาวเพียง 6 นิ้วเท่านั้น เป็นสัตว์ที่คล่องแคล่วเมื่ออยู่บนต้นไม้ แต่เมื่อตกลงมาพื้นดินจะเคลื่อนไหวได้ลำบาก และอาจตกเป็นอาหารของสัตว์ใหญ่กว่าได้กระรอกบิน หรือฟลายอิ้งฟาแลงเก้อ หน้า 25-26, "สัตว์สวยป่างาม" โดย ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (สิงหาคม, 2518).

ใหม่!!: สปีชีส์และฟลายอิงฟาแลนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟองน้ำ

ฟองน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกเดียวในไฟลัมพอริเฟอรา (Porifera มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน - porus หมายถึง รู และ ferre หมายถึง พยุงหรือค้ำเอาไว้) เป็นสัตว์หลายเซลล์ที่มีวิวัฒนาการต่ำสุด มีรูปร่างคล้ายแจกันที่มีรูพรุนเล็ก ๆ ทั่วตัวซึ่งเป็นช่องทางให้น้ำผ่านเข้าไปในลำตัว มีเซลล์เรียงกันเป็นสองชั้นแต่ยังไม่มีเส้นประสาทและกล้ามเนื้อที่แท้จริง ไม่มีอวัยวะและทางเดินอาหาร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล มีบางชนิดเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด ตัวอ่อนของฟองน้ำนั้นมีเซลล์ที่สามารถว่ายไดน้ำได้ เรียกระยะนี้ว่า แอมพิบลาสทูลา (Amphiblastula) โดยจะว่ายน้ำไปเกาะตามก้อนหิน เมื่อเจริญเติบโตแล้วจะกลายเป็นฟองน้ำที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ฟองน้ำในปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 7,000 สายพันธุ์ มักพบในเขตน้ำลึกกลางมหาสมุทร (ลึกประมาณ 8,500 เมตร) ต้นกำเนิดของฟองน้ำอาจย้อนไปถึงยุคพรีคัมเบรียน (Precambrian) หรือประมาณ 4,500 ล้านปีที่แล้ว พิสูจน์โดยซากฟอสซิลของฟองน้ำ นอกจากนี้แล้ว ฟองน้ำยังถือว่าเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนสูงสุดในบรรดาอาณาจักรสัตว์ทั้งหมดอีกด้วย โดยมีอายุยืนได้ถึงหมื่นปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และฟองน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาเบิลเจิสกรันต์

ตัวละครบางส่วนจากซีรีส์ เมอเนร์ เดอ เอยล์ กับหนังสือพิมพ์ "ฟาเบิลเจิสกรันต์'' ฟาเบิลเจิสกรันต์ (Fabeltjeskrant) หรือ เดอฟาเบิลเจิสกรันต์ (De Fabeltjeskrant แปลว่า "หนังสือพิมพ์นิทาน") เป็นซีรีส์โทรทัศน์สำหรับเด็กสัญชาติดัตช์ ซึ่งมีจุดเด่นด้านหุ่นกระบอกและสตอปโมชัน ซีรีส์นี้ได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นใน..

ใหม่!!: สปีชีส์และฟาเบิลเจิสกรันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีโรโมน

ฟีโรโมน (pheromone) เป็นสารเคมีที่หลั่งหรือขับออกมาแล้วกระตุ้นการตอบสนองทางสังคมในสปีชีส์เดียวกัน ฟีโรโมนเป็นสารเคมีซึ่งสามารถออกฤทธิ์นอกร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่หลั่งออกมาแล้วมีผลต่อพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตที่รับเข้าไป ฟีโรโมนมีหลายชนิด เช่น ฟีโรโมนเตือนภัย ฟีโรโมนรอยอาหาร ฟีโรโมนเพศ เป็นต้น สิ่งมีชีวิตตั้งแต่โปรแคริโอตเซลล์เดียวไปจนถึงยูแคริโอตหลายเซลล์ที่ซับซ้อนมีฟีโรโมน มีบันทึกการใช้ฟีโรโมนในแมลงมากเป็นพิเศษ อนึ่ง สัตว์มีกระดูกสันหลังและพืชบางชนิดสื่อสารกันโดยฟีโรโมน.

ใหม่!!: สปีชีส์และฟีโรโมน · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอก

ญากระรอก (Oriental giant squirrels) เป็นสัตว์ฟันแทะจำพวกกระรอกที่มีขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง โดยจัดอยู่ในวงศ์ย่อย Ratufinae และใช้ชื่อสกุลว่า Ratufa (/รา-ตู-ฟา/) พบทั้งหมด 4 ชนิด แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดียไปจนถึงตอนใต้ของจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพฤติกรรมอาศัยและหากินบนต้นไม้ใหญ่ในป่าดิบ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยของลำตัวไม่รวมหางประมาณ 1 ฟุต ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ เชื่อว่าพญากระรอกมีความหลากหลายทางชนิดมากกว่านี้ เพราะมีสัตว์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันอยู่ในยุคกลางไมโอซีน (ประมาณ 16-15.2 ล้านปีก่อน) พบในเยอรมนี.

ใหม่!!: สปีชีส์และพญากระรอก · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอกบิน

ญากระรอกบิน (Giant flying squirrel) เป็นสกุลของกระรอกบินขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Petaurista เป็นกระรอกบินที่พบได้ในป่าดิบของหลายประเทศในทวีปเอเชีย ออกหากินในเวลากลางคืน.

ใหม่!!: สปีชีส์และพญากระรอกบิน · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอกบินสีดำ (สกุล)

ญากระรอกบินสีดำ (Large black flying squirrel) เป็นสกุลของกระรอกบินขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Aeromys (/แอ-โร-มิส/) อาจเรียกได้เป็นพญากระรอกบินได้เนื่องจากมีขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทยลงไปตลอดแหลมมลายูและอินโดนีเซีย พบกระจายพันธุ์ 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และพญากระรอกบินสีดำ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอกบินหูแดง

ญากระรอกบินหูแดง (Red giant flying squirrel) เป็นกระรอกบินขนาดใหญ่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Petaurista petaurista มีรูปร่างและลักษณะคล้ายพญากระรอกบินหูดำ (P. elegans) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แตกต่างจากตรงที่มีปลายหางสีดำ ขนสีน้ำตาลแดงไม่มีลาย หัวและหางมีลายจาง ๆ มีขนสีน้ำตาลแดงจางและมีลายจุดสีขาวหนาแน่น โดยเฉพาะบริเวณหัว ขอบหูด้านหน้าเป็นสีขาวและมีรอยแต้มสีขาวบริเวณไหล่ หางสีน้ำตาลอ่อนหรือสีเทา ปลายหางสีดำ มีคอหอยสีขาว มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 52 เซนติเมตร ความยาวหาง 63 เซนติเมตร หากินในเวลากลางคืนเช่นเดียวกับกระรอกบินชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ ตั้งแต่อัฟกานิสถาน, ตอนเหนือของอินเดีย เช่น รัฐชัมมูและกัศมีร์ ไปตลอดจนแนวเทือกเขาหิมาลัยจนถึงเอเชียตะวันออก เช่น เกาะไต้หวัน ในประเทศไทยจะพบได้ในภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไปจนถึงแหลมมลายู, สิงคโปร์ จนถึงเกาะบอร์เนียวและชวา นอกจากนี้แล้วยังพบได้ที่ศรีลังกาอีกด้วย กินอาหารจำพวกพืชและผลไม้ตลอดจนแมลง พญากระรอกบินหูแดงสามารถร่อนได้ไกลถึง 75 เมตร (250 ฟุต).

ใหม่!!: สปีชีส์และพญากระรอกบินหูแดง · ดูเพิ่มเติม »

พญาแร้ง

ญาแร้ง (อังกฤษ: Red-headed vulture, Asian king vulture, Indian black vulture, Pondicherry vulture; ชื่อวิทยาศาสตร์: Sarcogyps calvus) นกจำพวกอีแร้งชนิดหนึ่ง จัดเป็นอีแร้งขนาดใหญ่ และเป็นนกเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Sarcogyps.

ใหม่!!: สปีชีส์และพญาแร้ง · ดูเพิ่มเติม »

พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์

แผนที่แสดงเขตพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์เป็นสีแดง เขต พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) ที่รู้จักกันโดยเป็นอู่อารยธรรม เป็นบริเวณรูปจันทร์เสี้ยวที่รวมแผ่นดินที่ชื้นและอุดมสมบูรณ์โดยเทียบกับบริเวณข้างเคียงในเอเชียตะวันตกที่เป็นเขตกึ่งแห้งแล้ง และรวมบริเวณรอบ ๆ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำและลุ่มแม่น้ำไนล์ เป็นบริเวณอยู่ติดกับเขตเอเชียน้อยหรือที่เรียกว่าอานาโตเลีย คำนี้เริ่มใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์โบราณ แล้วต่อมาจึงกลายมาเป็นคำที่นิยมใช้ในโลกตะวันตกแม้ในสาขาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขตเมโสโปเตเมีย คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีส และรวมเขตลิแวนต์ คือฝั่งทิศตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันที่มีดินแดนร่วมอยู่ในเขตนี้รวมทั้งประเทศอิรัก คูเวต ซีเรีย เลบานอน จอร์แดน อิสราเอล และปาเลสไตน์ โดยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศตุรกีและทางทิศตะวันตกของอิหร่าน เขตนี้บ่อยครั้งเรียกว่าอู่อารยธรรม (cradle of civilization) เพราะเป็นเขตที่เกิดพัฒนาการเป็นอารยธรรมมนุษย์แรก ๆ สุด ซึ่งเจริญรุ่งเรืองโดยอาศัยทรัพยากรน้ำและเกษตรกรรมที่มีอยู่ในเขต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในเขตนี้รวมทั้งการพัฒนาภาษาเขียน การทำแก้ว ล้อ และระบบชลประทาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลึงธาร

ลับพลึงธาร หรือ หอมน้ำ (อังกฤษ: Onion plant, Thai onion plant, Water onion) พืชน้ำชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crinum thaianum อยู่ในวงศ์พลับพลึง (Amaryllidaceae) จัดเป็นพืชอวบน้ำ ดอกมีสีขาว มี 6 กลีบ ในก้านชูดอกหนึ่งๆ จะมีหลายก้านดอก จะทะยอยบานติดต่อกันไป ดอกหนึ่งๆ จะมีก้านเกสร 6 อัน มีเกสรสีเหลืองที่ปลายก้านเกสร ตรงกลางดอกจะมีก้านเกสรตัวเมียโผล่มาจากแกนกลางของดอก หลังจากผสมเกสร กะเปาะเมล็ดจะเจริญเติบโตที่โคนก้านดอก กะเปาะหนึ่งจะมีจำนวนเมล้ดที่ไม่เท่ากัน มีลักษณะบูดเบี้ยวเป็นทรงที่ไม่แน่นอน พอเมล็ดแก่จะหลุดออกจากกะเปาะ พัฒนาสายรกออกด้านใดด้านหนึ่งของเมล็ด ตรงปลายสายรกจะพัฒนาเป็นต้นใหม่และมีรากยึดติดกับพื้นคลอง ในระหว่างที่รากยังไม่สามารถเกาะยึดพื้นคลองได้ เมล็ดจะเป็นแหล่งอาหารให้กับต้นอ่อนได้นาน 3-4 เดือน หัวมีลักษณะคล้ายหัวหอม จึงมีชื่อเรียกว่า "หอมน้ำ" หัวจะโผล่ขึ้นเหนือผิวดินประมาณ 1 ใน 3 เพื่อป้องกันการเน่า ใบจะเป็นสีเขียวเรียวยาวเหมือนริบบิ้น ความยาวขึ้นอยู่กับระดับน้ำ บางพื้นที่ที่น้ำลึกใบอาจจะยาวได้ถึง 4 เมตร พลับพลึงธาร ถือได้ว่าเป็นพืชน้ำที่สวยงามและหายากมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยพบได้เฉพาะที่จังหวัดระนองตอนล่างและพังงาตอนบน ในจังหวัดระนองพบที่คลองนาคา ตำลนาคา อำเภอสุขสำราญ และที่คลองบางปรุ ตำบลกะเปอร์ อำเภอกะเปอร์ ส่วนที่จังหวัดพังงา พบที่คลองตาผุด บ้านห้วยทรัพย์ คลองสวนลุงเลื่อน ตำบลคุระ อำเภอคุระบุรี คลองนายทุย คลองบ้านทับช้าง คลองบ้านโชคอำนวย ตำบลแม่นางขาว อำเภอคุระบุรี และตามคลองย่อยต่างๆ ในเขตรอยต่ออำเภอคุระบุรีและอำเภอตะกั่วป่า เป็นพืชเฉพาะถิ่น ไม่พบที่ใหนในโลก ปัจจุบันพบเหลือแค่ร้อยละ 1 เท่านั้น และพบขึ้นอยู่อย่างกระจัดกระจาย จึงได้ขึ้นเป็นบัญชีพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ของโลก (IUCN Redlist) เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และพลับพลึงธาร · ดูเพิ่มเติม »

พอร์พอยส์

อร์พอยส์ (Porpoise; การออกเสียง) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Phocoenidae พอร์พอยส์ จัดเป็นวาฬมีฟันขนาดเล็ก ลักษณะทั่วไปคล้ายกับโลมาทะเล (Delphinidae) แต่มีความแตกต่างไปจากโลมาทั่วไป คือ มีรูปร่างที่เล็กกว่า และมีรูปทรงที่อ้วนกลมกว่า อีกทั้งสรีระร่างกายของพอร์พอยส์ไม่อาจจะเก็บความอบอุ่นไว้ได้นาน ทำให้สูญเสียพลังงานในร่างกายได้รวดเร็วกว่า จึงต้องกินอาหารบ่อยครั้งและมากกว่าโลมาทะเลเพื่อสร้างพลังงานและความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย นอกจากนี้แล้ว ครีบหลังของพอร์พอยส์นั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายกับครีบของปลาฉลาม แต่มีความสั้นทู่ ซึ่งในบางครั้งจะมีปุ่มขนาดเล็กเรียกว่า ทูเบอร์เคิล อยู่ตรงขอบครีบ ลักษณะของจมูกของพอร์พอยส์นั้นสั้นทู่และกลมกว่าโลมาทั่วไป ลักษณะของฟันก็มีลักษณะเล็ก ๆ เป็นตุ่มไม่แหลมคม ส่วนกระดูกคอนั้นติดต่อกับกระดูกสันหลัง ทำให้ไม่อาจจะขยับส่วนคอไปมาได้อย่างอิสระเหมือนโลมา และพฤติกรรมก็แตกต่างไปจากโลมาด้วย ได้แก่ ฝูงของพอร์พอยส์มีขนาดเล็กกว่า คือ มีจำนวนสมาชิกในฝูงเพียง 2–4 ตัวเท่านั้น ไม่ได้มีกันหลายสิบหรือร้อยตัวเหมือนโลมาทะเล และมีพฤติกรรมขี้อาย เกรงกลัวมนุษย์ ผิดกับโลมาทะเล และเป็นโลมาที่มีอายุขัยสั้นเพียงแค่ 20 ปีเท่านั้น พอร์พอยส์ นับเป็นสัตว์ในอันดับนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ วิกีตา พบกระจายพันธุ์ทางตอนเหนือของอ่าวแคลิฟอร์เนีย มีขนาดโตเต็มที่ไม่ถึง 2 เมตรด้วยซ้ำ ขณะที่ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ก็มีความยาวเพียง 2.3 เมตรเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และพอร์พอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

พอโลเนีย

อโลเนีย (Paulownia) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-20 เมตร ผลัดใบ มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วมาก ต้นอ่อนมีเปลือกสีเขียว มีปุ่มหรือรอยแผลใบทั่วลำต้น ต้นแก่ (อายุมากกว่า 5 ปี) เปลือกเป็นสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่อง เปลือกบางฉีกขาดง่ายไม่ทนไฟ ทำให้ต้นไม้ตายได้ถ้าถูกไฟไหม้ มีรากแก้วตรงและยาวได้ถึง 40 ฟุต รากแขนงและรากฝอยจะอยู่ต่ำกว่าผิวดินประมาณ 4 ฟุต เป็นพืชใบเดี่ยว ใบมีลักษณะเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปหัวใจ มีขนนุ่ม สีเขียวอ่อนด้านหลังใบ ก้านท้องใบไม่มีขน มีเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบชัดเจน ใบมีขนาดโตเต็มที่กว้างได้ถึง 36 นิ้ว ก้านใบยาว ดอกออกเป็นช่อ ขนาดใหญ่ ที่ปลายกิ่งมีสีม่วง ดอกตูมเป็นกระเปาะสีน้ำตาล เป็นดอกสมบูรณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และพอโลเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พะยูนแมนนาที

ูนแมนนาที บางทีเรียก พะยูนหางกลม หรือ วัวทะเล (Manatee, Sea cow) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอาศัยในน้ำขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง สัตว์ในวงศ์ Trichechidae ต่างจากสัตว์ในวงศ์ Dugongidae หรือพะยูนตรงรูปร่างของกะโหลกศีรษะและรูปร่างของหาง โดยหางของพะยูนแมนนาทีจะมีรูปร่างแบนกลมคล้ายใบพาย ส่วนหางของพะยูนจะแยกออกเป็นส้อมคล้ายหางโลมา แมนนาทีเป็นสัตว์กินพืชซึ่งใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการหาอาหารกินในเขตน้ำตื้น รวมถึงอาจเข้าไปหากินในแหล่งน้ำจืดที่ไกลจากทะเล 300 กิโลเมตรได้ด้วย โดยคำว่า "แมนนาที" (manatí) มาจากภาษาตีโน ซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองในแถบแคริบเบียน หมายถึง "เต้านม" เขตอาศัยของพะยูนแมนนาทีได้แก่ พื้นที่หนองน้ำตื้นแถบชายฝั่งของอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง อเมริกาใต้ และทะเลแคริบเบียน พะยูนแมนนาทีชนิด Trichechus senegalensis (พะยูนแมนนาทีแอฟริกาตะวันตก หรือ พะยูนแมนนาทีเซเนกัล) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ส่วนชนิด T. inunguis (พะยูนแมนนาทีแอมะซอน) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ ส่วนอีกชนิดหนึ่งได้แก่ T. manatus (พะยูนแมนนาทีอินเดียตะวันตก หรือ พะยูนแมนนาทีแคริบเบียน) อยู่อาศัยแถบหมู่เกาะอินเดียตะวันตกในทะเลแคริบเบียน สำหรับแมนนาทีฟลอริดานั้น นักสัตวศาสตร์บางส่วนถือว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ระบบไอทีไอเอสจัดให้พะยูนแมนนาทีฟลอริดาเป็นชนิดย่อยของ T. manatus และปัจจุบันถือเป็นที่ยอมรับทั่วไปพะยูน แมนนาทีฟลอริดามีลำตัวยาว 4.5 เมตรหรือมากกว่านั้น และอยู่ได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ในอดีตพะยูนแมนนาทีฟลอริดาเคยถูกล่าเพื่อเอาน้ำมันและหนัง แต่ปัจจุบันสัตว์ชนิดนี้ได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายให้พ้นจากการถูกล่า พะยูนแมนนาที พะยูนแมนนาทีอินเดียตะวันตกเป็นหนึ่งในกลุ่มสัตว์ชนิดที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ แม้มันจะไม่มีผู้ล่าตามธรรมชาติ แต่การขยายดินแดนของมนุษย์ทำให้ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติแถบบึงน้ำตื้นชายฝั่งของมันลดลง พะยูนแมนนาทีจำนวนมากยังได้รับบาดเจ็บจากการถูกใบพัดเรือบาด อีกทั้งพะยูนแมนนาทียังมักกินอุปกรณ์ตกปลาที่มนุษย์ทิ้งไว้ เช่นเบ็ดหรือตุ้มถ่วงเข้าไปบ่อย ๆ วัตถุแปลกปลอมเหล่านี้โดยมากจะไม่ทำอันตรายแก่พะยูนแมนนาที ยกเว้นแต่สายเบ็ดหรือเอ็นตกปลา ซึ่งจะเข้าไปอุดตันระบบย่อยอาหารของพะยูนแมนนาที และทำให้มันค่อย ๆ ตายอย่างช้า ๆ พะยูนแมนนาทีมักมารวมกันอยู่ใกล้โรงไฟฟ้าซึ่งน้ำในแถบนั้นจะมีอุณหภูมิสูงกว่าที่อื่น จนกระทั่งกลายเป็นการพึงพิงแหล่งน้ำอุ่นที่มนุษย์สร้างขึ้นนี้ไปในที่สุด โดยไม่ยอมอพยพไปยังแหล่งที่น้ำอุ่นกว่าเนื่องจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะให้ความร้อนตลอดทั้งปี ไม่นานมานี้ โรงไฟฟ้าหลายแห่งได้ปิดตัวลง กรมคุ้มครองสัตว์น้ำและสัตว์ป่าของสหรัฐอเมริกาซึ่งทราบถึงการพึ่งพิงแหล่งน้ำอุ่นของพะยูนแมนนาที จึงได้พยายามหาหนทางที่จะเพิ่มอุณหภูมิของน้ำเพื่อช่วยพะยูนแมนนาที.

ใหม่!!: สปีชีส์และพะยูนแมนนาที · ดูเพิ่มเติม »

พังพอนกินปู

ังพอนกินปู หรือ พังพอนยักษ์ (Crab-eating mongoose) เป็นหนึ่งในสองชนิดของสัตว์จำพวกพังพอนที่พบในประเทศไทย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Herpestes urva เป็นพังพอนขนาดใหญ่ มีลักษณะเด่นคือ มีแถบสีขาวจากมุมปากลาดยาวไปตามข้างคอจนถึงหัวไหล่ หางยาวประมาณครึ่งหนึ่งของลำตัว ขนที่หางเป้นพวง สีขนบริเวณลำตัวเป็นสีน้ำตาลอมเทา คอมีสีดำ หน้าอกมีสีน้ำตาลแดง ท้องมีสีน้ำตาลอ่อน ขนมีสีน้ำตาลเข้มหรือดำ มีความยาวลำตัวและหาง 44-48 เซนติเมตร ความยาวหาง 26.5-31 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-4 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, เนปาล ภาคตะวันออกของพม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, ไต้หวัน, เวียดนามและมาเลเซีย ในประเทศไทยพบที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว มักอาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นช่วงฤดูผสมพันธุ์ มักอาศัยอยู่ตามป่าใกล้กับแหล่งน้ำ ป่าเต็งรัง, ป่าเบญจพรรณ หากินโดยจับสัตว์ที่มีขนาดเล็กกว่ากินเป็นอาหาร โดยเฉพาะสัตว์ที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ปู, ปลา, กุ้ง, หอย หรือแม้แต่แมลงน้ำหรือนกน้ำ และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดด้วย ออกหากินในเวลากลางคืน พังพอนกินปูสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และพังพอนกินปู · ดูเพิ่มเติม »

พังพอนแคระ

ังพอนแคระ (dwarf mongoose) เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์พังพอน (Herpestidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Helogale เป็นพังพอนขนาดเล็กที่สุด มีถิ่นกำเนิดเฉพาะถิ่นในทวีปแอฟริกา พบในเขตร้อนชื้นของทวีป แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด โดยถิ่นที่อยู่อาซัยและแพร่กระจายพันธุ์ของทั้ง 2 ชนิดทับซ้อนกัน โดยพังพอนแคระธรรมดาเป็นชนิดที่พบได้แพร่หลายมากกว่า พังพอนแคระทั้ง 2 ชนิดเป็นสัตว์สังคม มีพฤติกรรมอาศัยอยู่กันเป็นฝูงใหญ่ ในถิ่นที่อยู่อาศัยใกล้กับทางน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และพังพอนแคระ · ดูเพิ่มเติม »

พังพอนแคระธรรมดา

ังพอนแคระธรรมดา (Common dwarf mongoose, Dwarf mongoose) เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์พังพอน (Herpestidae) จัดเป็นพังพอนขนาดเล็กอีกชนิดหนึ่ง มีความยาวไม่ถึง 1 ฟุต ส่วนหัวขนาดใหญ่ หูเล็ก และหางยาว ขาสั้น แต่อุ้งเท้ายาว กระจายพันธุ์ในแถบแอฟริกากลาง เช่น เอธิโอเปีย ไปจนถึงแอฟริกาใต้ เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลาย โดยมากจะเป็นพวกสัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่น แมงมุม, แมงป่อง, จิ้งเหลน ตลอดไปจนถึงนกตัวเล็ก ๆ รวมถึงผลไม้ พังพอนแคระธรรมดาเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ตั้งแต่ 2-20 ตัว โดยตัวเมียจะมีจำนวนมากกว่าตัวผู้ โดยมีตัวเมียเป็นจ่าฝูง และเป็นสัตว์ที่มีการจับคู่แบบคู่เดียวกันตลอดทั้งชีวิต และมีการส่งเสียงร้องเพื่อสื่อสารกันโดยเฉ.

ใหม่!!: สปีชีส์และพังพอนแคระธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

พังพอนเล็ก

ังพอนเล็ก หรือ พังพอนธรรมดา (Small asian mongoose, Small indian mongoose) เป็นสัตว์กินเนื้อชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Herpestidae มีขนาดเล็ก ขนบนหัวมีสีน้ำตาลแดงจนถึงน้ำตาลเข้ม ขามีสีเดียวกับลำตัวหรือเข้มกว่าเล็กน้อย หางยาวประมาณ 2 ใน 3 ของลำตัว เมื่อตกใจจะพองขนทำให้ดูตัวใหญ่กว่าปกติ เพศเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 35-41 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 25-29 เซนติเมตร พังพอนเล็กมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมากตั้งแต่อิหร่าน, ปากีสถาน, อินเดีย, พม่า, เนปาล, รัฐสิกขิม, บังกลาเทศ, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซียและเกาะชวา จึงทำให้มีชนิดย่อยมากถึง 12 ชนิด (ดูในเนื้อหา) มีพฤติกรรมชอบอาศัยตามป่าโปร่งหรือทุ่งหญ้ามากกว่าป่าดิบทึบ ดังนั้นจึงมักเห็นพังพอนเล็กอาศัยอยู่แม้แต่ในเขตเมือง มักอาศัยอยู่ตามลำพังในโพรงดินที่ขุดไว้ หรือโพรงไม้ ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่อาจอยู่เป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ อาหารได้แก่ สัตว์ทั่วไปขนาดเล็ก หรือบางครั้งอาจล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าลำตัว เช่น ไก่ป่า กินได้ ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน พังพอนเล็กจัดเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก อีกทั้งมีนิสัยที่ไม่กลัวใคร จึงเป็นที่ทราบกันดีว่าชอบที่จะสู้กับงูพิษ โดยเฉพาะงูเห่าเมื่อเผลอจะโดดกัดคองูจนตาย มีฤดูผสมพันธุ์ที่ไม่แน่นอน มักจะผสมกันในโพงดิน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน 6 สัปดาห์ สมัยก่อนในบางบ้านจะเลี้ยงพังพอนไว้สำหรับจับหนูหรือสัตว์ที่ทำรังควานในบ้านชนิดอื่น ๆ แทนแมว ซึ่งได้ผลดีกว่าแมวเสียอีก พังพอนเล็กแม้เป็นสัตว์ดุ แต่หากเลี้ยงตั้งแต่เล็กก็จะเชื่องกับเจ้าของ ในสถานที่เลี้ยงพบว่ามีอายุยืนประมาณ 6 ปี ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และพังพอนเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์ป่า

ันธุ์ป่าหรือไวลด์ไทป์ (wild type) เป็นฟีโนไทป์หนึ่งของสิ่งมีชีวิตสปีชีส์หนึ่งๆ ที่เป็นรูปแบบพื้นฐานเกิดขึ้นเองและพบได้ในธรรมชาติ ตามความเข้าใจเดิมนั้นลักษณะที่เป็นพันธุ์ป่าหมายถึงลักษณะที่เกิดจากอัลลีล "ปกติ" ของโลคัสนั้นๆ ซึ่งไม่เหมือนกับอัลลีล "กลายพันธุ์" ซึ่งไม่ปกติ ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าโลคัสส่วนใหญ่ของยีนนั้นมีอัลลีลหลายรูปแบบซึ่งมีความถี่แตกต่างกันไปตามภูมิประเทศที่สิ่งมีชีวิตนั้นๆ อยู่อาศัย ดังนั้นรูปแบบพันธุ์ป่าที่เป็นพื้นฐานจริงๆ นั้น จึงไม่มีอยู่จริง อย่างไรก็ดีโดยทั่วไปนั้นถือว่าอัลลีลที่พบบ่อยที่สุด หรือมีความถี่มากที่สุด จะถือว่าเป็นอัลลีลที่เป็นพันธุ์ป่า หลักการว่าด้วยการมีอยู่ของไวลด์ไทป์มีประโยชน์ในการศึกษาสิ่งมีชีวิตต้นแบบเช่นแมลงวันผลไม้ Drosophila melanogaster ซึ่งลักษณะปรากฎ (ฟีโนไทป์) บางอย่างของแมลงวันนี้ เช่น สีตา หรือรูปร่างปีก สามารถถูกเปลี่ยนแปลงโดยการเกิดการกลายพันธุ์ในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น การมีตาสีขาว การมีร่องที่ปีก เป็นต้น อัลลีลที่เป็นไวลด์ไทป์จะถูกกำหนดด้วยสัญลักษณ์ "+" ที่ด้านบน.

ใหม่!!: สปีชีส์และพันธุ์ป่า · ดูเพิ่มเติม »

พาราซอโรโลฟัส

นเสาร์พาราซอโรโลฟัส (Parasaurolophus) เป็นไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่ ในยุคครีเตเชียสตอนปลายพบได้ในทวีปอเมริกาเหนือ เช่น ในอัลเบอร์ต้า คานาดา หรือรัฐยูทาห์ ในสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ลักษณะเด่นของพาราซอโรโลพัส คือ หงอนที่มีลักษณะเหมือนท่อกลวงยาว บางตัวอาจจะมีหงอนยาวถึง 1.5 เมตร มีไว้ส่งเสียงหาพวก สามารถเดินได้ทั้ง 2 เท้าและ 4 เท้า มีขนาดใหญ่โตพอสมควร เท่าที่ค้นพบไดโนเสาร์พันธุ์นี้จะมีความยาวประมาณ 10 เมตร กินพืชเป็นอาหาร หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และพาราซอโรโลฟัส · ดูเพิ่มเติม »

พาคิเซทัส

พาคิเซทัส (Pakicetus) เป็นวาฬชนิดแรกๆของโลก อาศัยอยู่เมื่อ 50 ล้านปีมาแล้วประมาณยุคเทอร์เชียรี ยาวประมาณ 2 เมตร ใช้ชีวิตอยู่บนบกและในน้ำ เป็นวาฬพวกแรกๆที่รู้จัก รูปร่างตอนอยู่บนบกจะมีรูปร่างคล้ายหมาป่า เขาเชื่อกันว่ามันคือ ปลาวาฬที่วิ่งเดินได้ ชื่อของมันมาจากสถานที่มันถูกค้นพบคือ ปากีสถาน thumbnail หมวดหมู่:วาฬ หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมยุคก่อนประวัติศาสตร์ในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และพาคิเซทัส · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกัง

ูกัง (海遊館) เป็นพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศญี่ปุ่นและทวีปเอเชีย ตั้งอยู่ที่เท็มโปซังฮาเบอวิลเลจ (Tempozan Harbor Village) ในเมืองโอซากา มีทั้งหมด 8 ชั้น เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 ด้านหน้าทางเข้าพิพิธภัณฑ์มีโครงเหล็กดัดรูปปลาฉลามวาฬตัวใหญ่ ที่รายล้อมด้วยโลมาหลายตัวเป็นจุดเด่น ซึ่งไฮไลต์ภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกัง · ดูเพิ่มเติม »

พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

ใหม่!!: สปีชีส์และพืช · ดูเพิ่มเติม »

พืชดอก

ืชดอก ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliophyta เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Angiospermae หรือ Angiosperms เป็นกลุ่มของพืชกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีดอกไม้ และเมล็ดเป็นส่วนประกอบ ซึ่งเมล็ดจะกลายเป็นผลไม้ พืชดอกแบ่งได้ออกเป็นกลุ่มใหญ่ 8 กลุ่มดังนี้ เรียงตามจำนวนสปีชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และพืชดอก · ดูเพิ่มเติม »

พูคยองโกซอรัส

ูคยองโกซอรัส (천년부경용; Pukyongosaurus) เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์ขนาดใหญ่ ซึ่งอาศัยอยู่ในเกาหลีในยุคครีเทเชียสตอนต้น มันมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับยูเฮโลปัส และเป็นที่รู้จักกันจากชุดกระดูกสันหลังในส่วนของลำคอและหลัง และเคยอาศัยอยู่ในสมัยหนึ่งร้อยสี่สิบล้านปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: สปีชีส์และพูคยองโกซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

พีโกเซนตรัส

ีโกเซนตรัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง จำพวกปลาปิรันยา ใช้ชื่อสกุลว่า Pygocentrus (/พี-โก-เซน-ตรัส/) ในวงศ์ปลาปิรันยา (Serrasalmidae) ปลาปิรันยาสกุลนี้มีชื่อเสียงและลือชื่อในเรื่องของการล่าเหยื่อเป็นฝูงด้วยความดุดันและโหดร้าย ทั้งหมดพบในแหล่งน้ำจืดของทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และพีโกเซนตรัส · ดูเพิ่มเติม »

กบชะง่อนผาภูหลวง

กบชะง่อนผาภูหลวง (Phu Luang cliff frog; ชื่อวิทยาศาสตร์: Huia aureola) เป็นกบเฉพาะถิ่นชนิดใหม่ที่ค้นพบใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย ค้นพบโดย นายธัญญา จั่นอาจ จากองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ขนาดตัวยาว 63-96.5 มิลลิเมตร หัวแคบเรียว มีขนาดด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง จุดกลางหน้าผาก เห็นได้ชัดเจนแผ่นหูเห็นได้ชัดเจน มีถุงใต้คางที่บริเวณมุมของคอ ปลายนิ้วขยายออกเป็นแผ่นขนาดใหญ่ ผิวหนังเรียบ ยกเว้นที่ผิวใต้ต้นขา มีตุ่มหยาบไม่มีต่อมที่โคนขาหน้า สันต่อมที่เหนือแผ่นหูเห็นไม่ชัด ไม่มีสันต่อมที่ขอบหลัง หัวและลำตัวด้านหลังสีเขียว ด้านข้างของหัวและสีข้างสีน้ำตาลเข้ม ผิวด้านท้ายของต้นขาหน้า ครึ่งด้านท้องของสีข้าง ผิวของต้นขา แข้ง และตีนดำพร้อมด้วยลวดลายสีเหลืองสด ขอบปากบนมีเส้นสีเหลือง ขอบปากล่างดำ ใต้คอมีแต้มสีน้ำตาล ถุงใต้คอดำ ท้องขาว แผ่นพังผืดที่ยึดระหว่างนิ้วตีนสีน้ำตาลอมม่วงพบอาศัยเฉพาะในบริเวณลำธารต้นน้ำในป่าดิบเขาของจังหวัดเลย ตัวเมียใหญ่กว่าตัวผู้ ประมาณ 10 มิลลิเมตร อาศัยบนต้นน้ำสูงเกิน 1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบตัวเมียน้อยกว่าตัวผู้.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบชะง่อนผาภูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กบมะเขือเทศ

กบมะเขือเทศ หรือ อึ่งมะเขือเทศ (Tomato frogs) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในสกุล Dyscophus ในวงศ์อึ่งอ่าง (Microhylidae) ในวงศ์ย่อย Dyscophinae ซึ่งมีเพียงสกุลเดียวเท่านั้น เป็นสัตว์ที่พบเฉพาะถิ่นที่มาดากัสการ์ที่เดียวเท่านั้น กะโหลกมีกระดูกเอธมอยด์หนึ่งคู่ และมีกระดูกพรีโวเมอร์ขนาดใหญ่หนึ่งชิ้น มีฟันที่กระดูกแมกซิลลา กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของไดพลาสิโอซีลัส กระดูกหัวไหล่มีกระดูกไหปลาร้าและกระดูกโพรโคราคอยด์ อายุโดยเฉลี่ย 6-8 ปี เมื่อโตเต็มที่มีสีตั้งแต่สีส้มเหลืองหรือสีแดงเข้ม กบมะเขือเทศจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 9-14 เดือน ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 4 นิ้ว ขณะที่ตัวผู้ประมาณ 2-3 นิ้ว ตัวเมียส่วนใหญ่มีสีแดงส้มหรือสีแดงเข้มสดใส ส่วนท้องมักจะมีสีเหลืองเข้มและบางครั้งก็มีจุดสีดำบนลำคอ แต่ตัวผู้มิได้สีสีสดใสเช่นนั้น แต่จะเป็นสีส้มทึบทึบหรือน้ำตาลส้ม เมื่อยังไม่โตเต็มที่จะมีสีทึบทึมและจะพัฒนาไปสู่สีสดใสเมื่อโตเต็มที่ เป็นสัตว์ที่อยู่ในรายชื่อสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ อาศัยอยู่ตามพื้นล่างของป่า ผสมพันธุ์ในช่วงฤดู​​ฝนในเวลากลางคืน วางไข่ในน้ำ ลูกอ๊อดอาศัยอยู่ในน้ำ กินแมลงและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กบมะเขือเทศมาดากัสการ์

กบมะเขือเทศมาดากัสการ์ หรือ อึ่งมะเขือเทศมาดากัสการ์ (Tomato frog, Madagascar tomato frog) สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ในอันดับกบชนิดหนึ่ง ในวงศ์อึ่งอ่าง (Microhylidae) มีผิวหนังเรียบลื่นเป็นมัน สีแดงเข้มเหมือนมะเขือเทศ จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีรอยย่นสีดำที่ตาและมีดวงตาสีเขียว ปากแคบ มีสันนูนเป็นรอยย่นขึ้นมาบนปาก ใต้ท้องสีเหลือง ช่องคอเป็นสีดำ ลำตัวอ้วนสั้น ขนาดเมื่อโตเต็มที่ตัวผู้จะมีสีส้มยาวประมาณ 2.5 นิ้ว หนัก 40 กรัม ขณะที่ตัวเมียจะมีสีแดง และมีขนาดใหญ่กว่า คือ ยาว 4 นิ้ว หนัก 227 กรัม เมื่อยังเป็นวัยอ่อนสีสันจะยังไม่ฉูดฉาดเหมือนตัวเต็มวัย กระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำจืดบนเกาะมาดากัสการ์ ทางแอฟริกาตะวันออก ว่ายน้ำได้ไม่เก่ง แต่กินอาหารไม่เลือก ได้แก่ แมลงขนาดใหญ่, ตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่นหนอน, จิ้งหรีด, หนอนผึ้ง ตลอดจนสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทั้งในน้ำและบนบก กบมะเขือเทศมาดากัสการ์มีพิษที่รุนแรงบนผิวหนัง เมื่อตกใจหรือเครียด จะปล่อยสารเคมีสีขาวขุ่นเหมือนกาวเพื่อใช้ในการป้องกันตัว ซึ่งสารนี้สามารถเกาะติดกับลำตัวของศัตรูที่มาคุกคามได้นานถึง 2 วัน แม้แต่ขนาดงูพิษยังไม่อาจจะกินได้ ขยายพันธุ์ในช่วงฤดูฝน ตัวผู้จะส่งเสียงเรียกตัวเมีย ภายหลังการผสมพันธุ์แล้ว ตัวเมียจะนำไข่ซึ่งมีทั้งสีขาวและสีดำ ประมาณ 1,000-1,500 ฟอง ปล่อยลงสู่ผิวน้ำ ไข่จะฟักเป็นลูกอ๊อดในเวลา 2 วัน ใช้เวลาพัฒนาเหมือนตัวเต็มวัย 1 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 10 ปี กบมะเขือเทศมาดากัสการ์ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และมีแสดงตามสวนสัตว์ต่าง ๆ อาทิ เขาดินวน.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบมะเขือเทศมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

กบลำห้วย

กบลำห้วย หรือ กบห้วย (fanged frog) เป็นสกุลของกบในสกุล Limnonectes ในวงศ์กบลิ้นส้อม (Dicroglossidae) มีรูปร่างลักษณะที่หลากหลาย โดยส่วนใหญ่มักมีส่วนหัวโต ปากกว้าง ในตัวผู้มีฟันอยู่ 1 คู่บริเวณด้านล่างขากรรไกร เรียกว่า "เขี้ยวเทียม" ใช้สำหรับต่อสู้กับตัวผู้ตัวอื่น หรือใช้งับเหยื่อได้เช่นกัน ซึ่งต่างจากกบจำพวกอื่นที่มีฟันขนาดเล็ก จึงทำให้ได้อีกชื่อหนึ่งว่า "กบเขี้ยว" กบในสกุลนี้บางชนิดมีพฤติกรรมการปกป้องตัวอ่อน โดยการเอาไข่หรือลูกอ๊อดแบกไว้บนหลัง (ไม่พบพฤติกรรมนี้ในกบสกุลนี้ในไทย) บางชนิดขุดโพรงเพื่อวางไข่ในดินที่ชื้น รอให้เจริญเป็นตัวอ่อนพัฒนาเป็นกบเล็ก โผล่พ้นจากดิน หลายชนิดมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก พบกระจายพันธุ์ในเอเชียแถบเอเชียตะวันออกถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลายชนิดมีพฤติกรรมอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ชนิดที่มีขนาดใหญ่มักอาศัยอยู่ในลำธารที่น้ำไหลเชี่ยว ขณะที่ชนิดที่มีขนาดเล็กอาศัยตามกองใบไม้หรือริมฝั่ง เฉพาะในสุลาเวสีของอินโดนีเซีย พบอย่างน้อย 15 ชนิด แต่ได้รับการบรรยายเพียงแค่ 4 ชนิด สำหรับในประเทศไทยมีรายงานพบประมาณ 11 ชนิด รวมถึงจากการศึกษาพบว่าในประเทศไทย กบสกุลนี้กินอาหารซึ่งได้แก่แมลงจำพวกมดมากที.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบลำห้วย · ดูเพิ่มเติม »

กบอเมริกันบูลฟร็อก

กบอเมริกันบูลฟร็อก (American bullfrog) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในอันดับกบ (Anura) ในวงศ์กบนา (Ranidae) เป็นกบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ โตเต็มที่มีน้ำหนักมากกว่า 1 กิโลกรัมขึ้นไป ตัวที่โตมีความยาวถึง 8 นิ้ว มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือทางด้านตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกา เรื่อยไปจนถึงตอนกลางของประเทศ ต่อมามีการนำไปเลี้ยงแพร่กระจายทางด้านตะวันตกของประเทศ กบอเมริกันบูลฟร็อกเมื่อโตเต็มที่ด้านหลังมีสีเขียว ปนสีน้ำตาลเข้ม มีจุดประสีน้ำตาลทั่วตัว ส่วนหัวด้านหน้ามีสีเขียว ที่ขามีลายพาดขวาง แยกเพศได้โดยสังเกตจากลักษณะภายนอกคือ ตัวเมียมีวงหูเล็กกว่าตา ลำตัวมีสีอ่อนใต้คางมีสีขาวครีม ส่วนท้องอูมและมีขนาดใหญ่ ตัวผู้มีวงหูใหญ่กว่าตา ในช่วงฤดูสืบพันธุ์ลำตัวมีสีเข้มขึ้นและที่ใต้คางมีสีเหลือง หรือเหลืองปนเขียว ไม่มีถุงเสียง แต่มีกล่องเสียงทำให้สามารถส่งเสียงร้องดังคล้ายวัวได้ยินเป็นระยะไกลอันเป็นที่มาของชื่อ กบอเมริกันบลูฟร็อกจัดเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีการเพาะขยายพันธุ์เพื่อใช้เนื้อในการบริโภคในหลายประเทศ ในประเทศไทยมีการนำเข้ามาและเพาะเลี้ยงขายพันธุ์นานแล้ว และมีบางส่วนที่เล็ดรอดไปสู่ธรรมชาติ ได้เกิดการผสมข้ามพันธุ์กับกบพื้นเมือง ทำให้เสียสายพันธุ์ดั้งเดิม.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบอเมริกันบูลฟร็อก · ดูเพิ่มเติม »

กบทาสี

กบทาสี (Painted frog) เป็นสกุลของกบในสกุล Discoglossus ในวงศ์คางคกหมอตำแย (Alytidae) เป็นกบขนาดเล็กมีความยาวลำตัวประมาณ 6–7 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าค่อนข้างเปิดโล่งและอยู่ใกล้แหล่งน้ำ โดยขุดโพรงที่มีอุโมงค์เป็นระบบเชื่อมต่อกัน การขุดโพรงใช้ขาหน้าและใช้ส่วนหัวดันวัสดุให้ออกจากโพรง ตัวผู้ส่งเสียงร้องหาตัวเมีย และกอดรัดตัวเมียในตำแหน่งเอวเมื่อผสมพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบทาสี · ดูเพิ่มเติม »

กบนา

กบนา (Chinese edible frog, East Asian bullfrog, Taiwanese frog; 田雞, 虎皮蛙) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์กบนา (Ranidae) ลักษณะผิวด้านหลังมีสีน้ำตาลจุดดำ ผิวหนังขรุขระมีรอยย่น ที่ริมฝีปากมีแถบดำ ใต้คางมีจุดดำ หรือแถบลายดำ เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนัก 200–400 กรัม กบนาตัวเมีย มีขนาดโตกว่าตัวผู้ ตัวเมียพร้อมที่จะผสมพันธุ์ท้องจะมีลักษณะอูมเคลื่อนไหวช้าและข้างลำตัวจะมีตุ่มเมื่อคลำดูมีลักษณะ สากมือ ตุ่มที่ด้านข้างลำตัวแสดงถึงความพร้อมของตัวเมีย กบนาตัวผู้ มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย มีน้ำหนักประมาณ 150– 50 กรัม เมื่อโตเต็มที่และพร้อมที่จะผสมพันธุ์จะมองเห็นถุงเสียง เป็นรอยย่นสีดำที่ใต้คาง ถุงเสียงเกิดจากการที่กบนาตัวผู้ส่งเสียงร้องเรียกตัวเมียในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้พร้อมที่จะผสมพันธุ์ในช่วงนี้ลำตัวจะมีสีเหลือง นิ้วเท้าด้านหน้าจะมีตุ่มที่ขยายใหญ่ขึ้น มองเห็นได้ชัดเจน ตุ่มนี้มีประโยชน์ในการใช้เกาะตัวเมียและตุ่มนี้จะหายไปในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ โดยมีช่วงฤดูผสมพันธุ์อยู่ที่ระหว่างเดือนมีนาคมไปจนถึงเดือนกันยายน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่อมีอายุได้ 1 ปี วางไข่ครั้งละ 1,500–3,000 ฟอง ต่อครั้ง ระยะการฟักไข่กลายเป็นลูกอ๊อดใช้เวลา 24–36 ชั่วโมง ลูกอ๊อดพัฒนาไปเป็นลูกกบใช้เวลา 28–45 วัน โดยลูกอ๊อดมีลำตัวสีเขียว พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ เช่น นาข้าวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียอาคเนย์ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทุกภาค โดยเป็นกบชนิดที่นิยมบริโภคกันเป็นอาหารมาอย่างช้านาน มีการเพาะขยายพันธุ์เป็นสัตว์เศรษฐกิจ ในตัวที่มีผิวสีเผือกขาวหรือสีทองอาจเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบนา · ดูเพิ่มเติม »

กบแอฟริกันบูลฟร็อก

กบแอฟริกันบูลฟร็อก (African bullfrog; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pyxicephalus adspersus) เป็นกบชนิดที่ใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ลำตัวมีสีน้ำตาลปนเขียว จุดสีน้ำตาล บริเวณส่วนหัวสีเขียวเคลือบน้ำตาล ขาทั้งสี่มีลายน้ำตาลดำ ขาหลังมีลายขวาง ลำตัวอ้วนข้างท้องมีลายน้ำตาลใต้ท้องเป็นสีขาว ผิวหนังส่วนใหญ่เรียบจะมีบ้างเป็นบางส่วนที่ขรุขระ มีถิ่นกำเนิดที่ทวีปแอฟริกาแถบแอฟริกากลางจนถึงแอฟริกาใต้ ความแตกต่างระหว่างตัวผู้กับตัวเมีย นอกจากอวัยวะเพศแล้วตัวผู้จะมีวงแก้วหูใหญ่กว่าตาและอยู่ทางด้านหลัง ลำตัวจะมีสีเข้มบริเวณใต้คางซึ่งมีสีจะเหลืองปนเขียวอย่างชัดเจนบริเวณใต้คางจะเป็นสีเหลือง แต่เพศเมียผิวหนังจะสดใสกว่าและมีวงแก้วหูเล็กกว่าตา กบแอฟริกันบูลฟร็อกเมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาดยาวประมาณ 8-10 นิ้ว พร้อมผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุ 12-18 เดือน ตัวผู้จะส่งเสียงร้องคล้ายวัวเพื่อหาคู่ จึงเป็นที่มาของชื่อ (บูลฟร็อก.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบแอฟริกันบูลฟร็อก · ดูเพิ่มเติม »

กบแคระแอฟริกัน

กบแคระแอฟริกัน (African dwarf frog) เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกกบสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Hymenochirus ในวงศ์กบเล็บ (Pipidae) เป็นกบที่มีขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในน้ำตลอดชีวิต มีลำตัวแบนราบมาก ขายื่นออกไปทางด้านข้างลำตัว ไม่มีเส้นข้างลำตัวเหมือนกบสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน ขาหลังใหญ่และมีแผ่นหนังเป็นพังผืดระหว่างนิ้วตีนใหญ่มาก ขาหน้ามีนิ้วตีนยาวและมีพังผืด ลูกอ๊อดกินสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร มีความยาวเฉลี่ยประมาณ 6.35 เซนติเมตร (2.5 นิ้ว) อายุสูงสุดที่พบคือ 20 ปี พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดต่าง ๆ ของทวีปแอฟริกา แถบลุ่มน้ำคองโก เป็นกบที่มีขนาดเล็ก จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์น้ำสวยงามเหมือนปลาสวยงามในตู้กระจก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตัวที่เป็นสีเผือก.

ใหม่!!: สปีชีส์และกบแคระแอฟริกัน · ดูเพิ่มเติม »

กรรมพันธุ์

กรรมพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และกรรมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกบิน

กระรอกบิน เป็นกระรอกจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในเผ่า Pteromyini หรือ Petauristini มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากกระรอกจำพวกอื่น คือ มีแผ่นหนังลักษณะคล้ายพังผืดที่บริเวณข้างลำตัวตั้งแต่ขาหน้าถึงขาหลัง สำหรับกางเพื่อร่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยมีหางและกระดูกอ่อนพิเศษที่ยื่นออกมาจากข้อเท้าหน้าเพื่อช่วยในการควบคุมทิศทาง กระรอกบินมีพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากกระรอกในกลุ่มอื่น คือ หากินในเวลากลางคืน มีดวงตากลมโตสีดำสะท้อนแสงไฟ กระรอกบินจะอาศัยอยู่เฉพาะในป่าดิบที่อุดมสมบูรณ์ อาหารหลัก คือ แมลง หากินหลักอยู่บนต้นไม้ แต่ก็สามารถลงมาหากินบนพื้นดินได้ในบางครั้ง แม้จะได้ชื่อว่า กระรอกบิน แต่แท้ที่จริงแล้วกระรอกบินก็ทำได้เพื่อแค่ร่อน หรือโต้อากาศโดยใช้พังผืดนี้อยู่กลางอากาศได้เพียงสั้น ๆ เท่านั้น โดยการกระโจนจากต้นไม้อีกต้นไปยังอีกต้นหนึ่งเท่านั้น กระรอกบินมีทั้งหมด 44 ชนิด ใน 15 สกุล พบได้ในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรปตอนเหนือและทวีปเอเชีย บางชนิดจัดเป็นกระรอกขนาดใหญ่เทียบเท่าพญากระรอก เช่น พญากระรอกบินสีดำ (Aeromys tephomelas) บางชนิดอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์แล้ว เช่น กระรอกบินเล็กแก้มขาว (Hylopetes phayrei) เป็นต้น ในประเทศไทยพบทั้งหมด 13 ชนิด จาก 6 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกบิน · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกบินเล็ก

กระรอกบินเล็ก หรือ กระรอกบินหางลูกศร (Arrow-tailed flying squirrel.) เป็นกระรอกบินขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Hylopetes (/ไฮ-โล-เพ-เตส/) พบในทวีปเอเชียในแถบภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกบินเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกสามสี

กระรอกสามสี (อังกฤษ: Prevost's squirrel, Asian tri-colored squirrel) กระรอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Callosciurus prevostii จัดเป็นกระรอกขนาดกลาง มีความยาวของลำตัวประมาณ 25 เซนติเมตร หาง 27 เซนติเมตร มีลักษณะเด่นที่สีของขนคลุมตัวโดยขนที่หูหลังและหัวมีสีดำ ขนหางครึ่งหนึ่งเป็นสีดำ ส่วนครึ่งปลายหางมีสีน้ำตาล ขนท้องและขามีสีแดงปนน้ำตาลแก่ ขนที่โคนขาหลังด้านบนมีสีขาวหว่างขนหลังสีดำกับขนท้องสีน้ำตาลปนแดง มีแถบสีขาวพาดจากโคนขาหลังไปยังขาหน้าส่วนบน ใบหน้าด้านข้าง และที่จมูกมีขนสีเทาดำ ทำให้ดูคล้าย กระรอกหลากสี (C. finlaysonii) ซึ่งเป็นกระรอกที่อยู่ในสกุลเดียวกัน เว้นแต่ตัวเมียของกระรอกสามสีจะมีเต้านม 3 คู่ กระรอกสามสี พบได้ในคาบสมุทรมลายู ตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทยลงไป พบได้แม้กระทั่งในป่าพรุ เช่น ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส โดยมีทั้งหมด 6 ชนิดย่อย กินอาหาร เช่น ผลไม้, แมลง, ไข่นก ปัจจุบัน กระรอกสามสีเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็มีการนิยมซื้อขายและเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเหมือนกระรอกชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกสามสี · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกสีสวย

กระรอกสีสวย (Beautiful squirrels) เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะ จำพวกกระรอก ในสกุล Callosciurus (/คาล-โล-ซิ-อู-รัส/) มีลักษณะโดยทั่วไป คือ หัวกลม ใบหูกลม ตาโต ขนหางฟูเป็นพวง มีความยาวโดยเฉลี่ยส่วนหัวและลำตัว 13-27 เซนติเมตร (5.1-11 นิ้ว) ความยาวหางประมาณ 13-27 เซนติเมตร (5.1-11 นิ้ว) เช่นกัน ส่วนใหญ่มีสีเขียวมะกอกหรือสีเทา มีลายขีดหรือลายแถบสีคล้ำบริเวณด้านข้างลำตัว ส่วนท้องเป็นสีขาวหรือสีเหลืองนวล แต่ส่วนใหญ่มักจะมีสีสันที่หลากหลายมาก เช่น อาจจะมีสีขาว, สีแดงสด หรือสีน้ำตาล บริเวณด้านข้างลำตัวได้ หรืออาจจะเป็นสีขาวล้วนทั้งตัวก็ได้ เป็นกระรอกที่แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ จนถึงตอนใต้ของจีน และเกาะไต้หวัน แพร่กระจายพันธุ์ไปในหลายภูมิประเทศตั้งแต่ป่าดิบทึบ จนถึงสวนสาธารณะในชุมชนเมือง ส่วนใหญ่จะหากินตามลำพังเพียงตัวเดียว หากินบนต้นไม้ในเวลากลางวันเป็นหลัก กินผลไม้, ลูกไม้, ยอดอ่อนของต้นไม้ หรือใบไม้ต่าง ๆ เป็นหลัก และอาจกินแมลง, หนอน, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก หรือขโมยไข่นกเป็นอาหารได้ด้วย สร้างรังบนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 1-5 ตัว ตัวเมียมีเต้านม 2-3 คู่ แบ่งออกได้เป็น 15 ชนิด และหลากหลายมากมายชนิดย่อยและสีสัน โดยมีกระรอกสามสี เป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุด และกระรอกหลากสี มีความหลากหลายทางสีสันจึงแบ่งเป็นชนิดย่อยมากที.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกสีสวย · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกหลากสี

กระรอกหลากสี (อังกฤษ: Finlayson's squirrel, Variable squirrel) สัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่ง เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ทั่วไปในภูมิภาคอินโดจีนจนถึงสิงคโปร์ สามารถพบได้ทั่วไปทั้งในตัวเมืองและในป่าเขาต่าง ๆ มีความหลากหลายทางสีสันเป็นอย่างยิ่ง โดยมากจะเป็นสีขาวครีมปนเหลืองอ่อน จนถึงสีแดงหรือสีดำทั้งตัว หรือบางตัวอาจมีหลายสีในตัวเดียวกัน จัดเป็นกระรอกขนาดกลาง มีขนาดความยาวตั้งแต่หัวจรดโคนหาง 21-22 เซนติเมตร ความยาวหาง 22.5-24 เซนติเมตร ออกหากินในเวลาเช้าตรู่และพลบค่ำ นอนหลับพักผ่อนตามพุ่มใบไม้ ทำรังคล้ายรังนกด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ รูปทรงยาวอยู่ตามปลายกิ่งไม้ ตัวเมียมีเต้านม 2 คู่ ออกลูกครั้งละ 2 ตัว ด้วยความหลากหลายทางสีสันและความกว้างขวางในพื้นที่กระจายพันธุ์ ทำให้มีชนิดย่อยถึง 16 ชนิด เช่น C. f. floweri ที่สามารถพบได้ในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามสวนหรือสวนสาธารณะ, C. f. bocourti ที่มีสีขาวตลอดทั้งตัว พบมากในป่าสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา และ C. f. boonsongi พบมากตามป่าแถบภาคอีสาน ซึ่งตั้งชื่อชนิดย่อยเพื่อเป็นเกียรติแด่ นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล สถานะการอนุรักษ์ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็มีการนิยมซื้อขายและเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกหลากสี · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกหน้ากระแต

กระรอกหน้ากระแต (อังกฤษ: Shrew-faced squirrel, Shrew-faced ground squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinosciurus laticaudatus จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinosciurus กระรอกหน้ากระแต เป็นกระรอกที่มีลักษณะเด่นชัดแตกต่างไปจากกระรอกชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด คือ ใบหน้าบริเวณจมูกจะแหลมยาวยื่นออกมาคล้ายสัตว์จำพวกกระแต ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์กินแมลง มากกว่าจะเหมือนกระรอกที่เป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ จัดเป็นกระรอกดินชนิดหนึ่ง มักอาศัยตามลำพังและหากินตามพื้นดิน โดยใช้ลิ้นที่ยาวตวัดกินอาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ, ไส้เดือนดิน และผลไม้บางชนิด มีหางที่สั้นและเป็นพวงเหมือนขนแปรงขัดขวด ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ใต้ท้องสีขาว มีสีเหลืองแซมบริเวณขอบด้านข้างโดยรอบ ความยาวลำตัว 23 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 17 เซนติเมตร อาศัยทำรังอยู่ตามโพรงไม้ ตกลูกปีละครั้งเดียว ครั้งละประมาณ 1-2 ตัว พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะป่าดิบชื้นในคาบสมุทรมลายูเท่านั้น โดยเฉพาะในบริเวณที่ต่ำโดยเฉพาะในหุบเขาที่มีลำธารน้ำไหล โดยพบตั้งแต่ภาคใต้ของไทยแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป, มาเลเซีย, สิงคโปร์, บรูไน จนถึงเกาะบอร์เนียว กระรอกหน้ากระแตเป็นกระรอกที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก ด้วยความที่เป็นกระรอกที่หาได้ยากมากที่สุดชนิดหนึ่ง ในประเทศไทย ถูกขึ้นชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ไม่พบการซื้อขายหรือเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเหมือนกระรอกชนิดอื่นแต่อย่างใ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกหน้ากระแต · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกอิรวดี

ระวังสับสนกับ: กระรอกสวน กระรอกอิรวดี หรือ กระรอกท้องแดง (อังกฤษ: Belly-banded squirrel, Irrawaddy squirrel; ชื่อวิทยาศาสตร์: Callosciurus pygerythrus) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง จัดเป็นกระรอกขนาดกลาง มีความยาวลำตัวประมาณ 21 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 18 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 280 กรัม มีสีลำตัวและหางสีน้ำตาล หลังมีแถบสีดำ ส่วนท้องเป็นสีแดง มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างขวาง คือ พบตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้, ตอนใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนามจนถึงคาบสมุทรมลายู มีชนิดย่อย 7 ชนิดด้วยกัน (ดูในเนื้อหา) เป็นกระรอกที่สามารถพบได้ทั่วไปตามพื้นที่สวนหรือสวนสาธารณะในเขตตัวเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์พบได้ทุกประเทศ ไม่ได้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่อย่างใด มีการนิยมซื้อขายและเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเหมือนกระรอกชนิดอื่น ๆ ทั่วไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกข้างลายท้องแดง

กระรอกข้างลายท้องแดง (Plantain squirrel) สัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่ง จำพวกกระรอก กระรอกข้างลายท้องแดงที่พบในสิงคโปร์ เป็นกระรอกขนาดกลาง มีความยาวประมาณ 17-30 เซนติเมตร (7.9-12 นิ้ว) ส่วนหางยาว 16-23 เซนติเมตร (6-8 นิ้ว) มีลำตัวสีเทาหรือน้ำตาล มีจุดเด่น คือ ด้านข้างลำตัวมีแถบสีคล้ำและสีขาวตัดกันเห็นชัดเจน ที่มีขนสีเหลืองส้มหรือสีน้ำตาลส้ม หางมีจุดด่างสีดำและเขียวไพร ปลายหางมีสีแดง ซึ่งเห็นได้ชัดเจนเมื่อมองจากด้านล่าง กระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่คาบสมุทรมลายูลงไป จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป พบในป่าดิบชื้น มักชอบอยู่ตามชายป่าหรือตามป่ารุ่น ไม่ค่อยพบในป่าที่สมบูรณ์ นอกจากนี้ยังพบได้ในป่าชายเลน, สวนป่า และสวนผลไม้ เป็นกระรอกอีกชนิดหนึ่งที่พบบ่อยได้บ่อย หากินในเวลากลางวัน มีกิจกรรมมากในช่วงเช้ามืดและช่วงบ่ายแก่ ๆ อาศัยอยู่บนต้นไม้ในเรือนยอดระดับต่ำ ไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ป่าสงวนในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระรอกข้างลายท้องแดง · ดูเพิ่มเติม »

กระจง

กระจง หรือ ไก้ (Mouse-deer, Chevrotain) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเคี้ยวเอื้องขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Tragulus (/ทรา-กู-ลัส/) ในวงศ์ Tragulidae โดยคำว่า Tragulus มาจากคำว่า Tragos หมายถึง "แพะ" ในภาษากรีก ขณะที่ ulus ในภาษาละตินหมายถึง "เล็ก" มีน้ำหนักตัวประมาณ 0.7–8.0 กิโลกรัม (1.5–17.6 ปอนด์) มีความยาวประมาณ 40–75 เซนติเมตร (16–30 นิ้ว) จัดเป็นสัตว์กีบคู่ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก แต่ชนิดที่เล็กที่สุดของกระจงก็ยังมีขนาดใหญ่กว่าแอนทีโลปในสกุล Neotragus ในทวีปแอฟริกาNowak, R. M. (eds) (1999).

ใหม่!!: สปีชีส์และกระจง · ดูเพิ่มเติม »

กระจงควาย

กระจงควาย หรือ กระจงใหญ่ (Greater mouse-deer, Napu) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tragulus napu อยู่ในวงศ์ Tragulidae มีขาเล็กเรียว ซึ่งมีนิ้วเท้าข้างละ 4 นิ้ว ทั้งตัวผู้และตัวเมียไม่มีเขา แต่ตัวผู้จะมีเขี้ยวบนยาวเลยริมฝีปากบนลงมา เมื่อโตเต็มวัยมีน้ำหนักตัวประมาณ 5 กิโลกรัม ขนบนตัวสีน้ำตาลออกเทา มีจุดสีเข้มกว่ากระจายอยู่ทั่วไป ที่ใต้คอและบนหน้าอกมีลายพาดตามยาวสีขาว 5 ลาย ด้านใต้ท้องสีขาว หางค่อนข้างสั้นสีน้ำตาลอ่อนด้านบนและสีขาวด้านล่าง ปกติชอบอยู่โดดเดี่ยว นอกจากในฤดูผสมพันธุ์จึงจะอยู่เป็นคู่ ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารได้แก่ หญ้าอ่อน ๆ, ผลไม้, ยอดไม้ และใบไม้อ่อน ในเวลากลางวันจะหลบพักนอนตามหลืบหินและโพรงไม้ ออกลูกครั้งละ 1 ตัว แต่บางครั้งก็พบออกลูกแฝด ระยะตั้งท้องนานประมาณ 5-6 เดือน พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศพม่า, เทือกเขาตะนาวศรี ไปจนถึงแหลมมลายู, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้แล้วยังพบได้ที่ภาคตะวันออกของไทยไปจนถึงตอนใต้ของกัมพูชาและเวียดนาม จัดเป็นกระจงอีกชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ในประเทศไทยนอกจาก กระจงเล็ก (T. kanchil) ที่มีขนาดตัวเล็กกว่า โดยมักอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ บางครั้งยังอาจพบได้ที่พื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ป่าพรุหรือป่าชายเลนได้อีกด้วย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระจงควาย · ดูเพิ่มเติม »

กระจ้อน

กระจ้อน หรือ กระรอกดินข้างลาย (Indochinese ground squirrel, Berdmore's ground squirrel; ชื่อวิทยาศาสตร์: Menetes berdmorei) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์ฟันแทะ เป็นกระรอกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง พบเห็นได้ทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย และทุกสภาพภูมิประเทศ แม้แต่ในสวนใจกลางเมือง ไม่ชอบอยู่อาศัยในป่าดิบทึบ ชอบหากินอยู่ตามพื้นดิน มีลำตัวสีน้ำตาลมีแถบสีดำสลับสีอ่อนอยู่ด้านข้างลำตัว จัดเป็นกระรอกดินชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Menetes พบได้ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความยาวเต็มที่รวมหาง ประมาณ 15-20 เซนติเมตร นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระจ้อน · ดูเพิ่มเติม »

กระดองเต่า

กระดองของเต่าในสกุล ''Cuora'' หรือเต่าหับ ที่ปิดสนิท เต่าราเดียตา (''Astrochelys radiata'') เต่าบกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง เนื่องจากมีกระดองหลังที่สวยงามมาก กระดองเต่า (Turtle shell) เป็นลักษณะสำคัญที่ทำให้เต่ามีความแตกต่างจากสัตว์เลื้อยคลานในอันดับอื่น ๆ กระดองเต่าเป็นแคลเซียมที่ประกอบด้วยกระดูกในชั้นหนังเชื่อมรวมกับกระดูกซี่โครง กระดูกสันหลัง บางส่วนของกระดูกหัวไหล่ และกระดูกหน้าอก เนื่องจากกระดูกสันหลังส่วนลำตัว (ยกเว้นกระดูกคอและกระดูกหาง) เชื่อมรวมกับกระดอง กระดูกสันหลังในส่วนลำตัวจึงเคลื่อนไหวไม่ได้ เมื่อกระดูกซี่โครงเชื่อมรวมกับกระดองทำให้กระดูกหัวไหล่และกระดูกเชิงกรานต้องเลื่อนตำแหน่งเข้าไปอยู่ทางด้านในของกระดูกซี่โครง ซึ่งเป็นลักษณะจำเพาะของเต่า ซึ่งแตกต่างไปจากสัตว์เลื้อยคลานอื่น ๆ และสัตว์มีกระดูกสันหลังในชั้นอื่น ๆ ทุกชั้น ลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้นระหว่างการเจริญและการแปรสภาพ 2 ประการ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระดองเต่า · ดูเพิ่มเติม »

กระต่ายลายเสือ

กระต่ายลายเสือ หรือ กระต่ายป่าลายเสือ (Striped rabbit) เป็นกระต่ายสกุล Nesolagus (/นี-โซ-ลา-กัส/) กระต่ายลายเสือ จัดเป็นกระต่ายที่มีขนาดเล็ก มีใบหูที่เล็กกว่ากระต่ายสกุลอื่น ๆ มีลักษณะเด่น คือ ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลแกมส้ม มีลายสีดำพาดขวางตามลำตัว เป็นลวดลายแลดูคล้ายลายของเสือโคร่ง อันเป็นที่มาของชื่อ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระต่ายลายเสือ · ดูเพิ่มเติม »

กระต่ายแจ็ก

ำหรับ Lepus ในความหมายอื่น ดูที่: กลุ่มดาวกระต่ายป่า กระต่ายแจ็ก หรือ กระต่ายป่า (Jackrabbit, Jacklope, Hare) เป็นสกุลของกระต่ายสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Lepus (/ลี-ปัส/) กระต่ายสกุลนี้ เป็นกระต่ายป่า กระจายพันธุ์ไปในทุกภูมิภาคทั่วโลก ยกเว้นทวีปออสเตรเลีย มีทั้งหมด 32 ชนิด โดยปกติจะมีขนสีน้ำตาลหรือเทา หูยาวมีขนาดใหญ่ และขาหลังที่ใหญ่และทรงพลัง มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก ใต้ฝ่าเท้ามีขนอ่อนนุ่มรองรับไว้เพื่อรองรับการกระโดด ในประเทศไทย พบเพียงชนิดเดียว คือ กระต่ายป่า (L. peguensis) กระต่ายแจ็ก หรือ กระต่ายป่านั้นเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก วิ่งและกระโดดได้เร็ว เมื่อคิดเป็นสถิติแล้วยังสามารถวิ่งได้เร็วกว่านักกรีฑาเหรียญทองโอลิมปิกถึง 2 เท.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระต่ายแจ็ก · ดูเพิ่มเติม »

กระซู่

กระซู่, แรดสุมาตรา หรือ แรดขน (Sumatran RhinocerosWilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005).; ชื่อวิทยาศาสตร์: Dicerorhinus sumatrensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่จำพวกแรด กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dicerorhinus มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือนแรดชวา นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระซู่ · ดูเพิ่มเติม »

กระแตหางขนนก

กระแตหางขนนก (pen-tailed treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) นับเป็นกระแตเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์ Ptilocercidae และสกุล Ptilocercus แบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) กระแตหางขนนก มีตัวยาวประมาณ 13-14 เซนติเมตร หางยาว 16-19 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 40-62 กรัม หางมีสีได้หลากหลาย ตั้งแต่สีเทาจนถึงน้ำตาลอ่อน ท้องสีขาวหรือสีครีม ปลายหางตั้งแต่ระยะ 3 ใน 5 ของหางจนถึงปลายหาง ขนมีลักษณะคล้ายขนนกหรือพู่กัน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของกระแตชนิดนี้ ทำให้แยกออกมาเป็นวงศ์และสกุลต่างหาก กระจายพันธุ์อยู่ในคาบสมุทรมลายู จนถึงเกาะสุมาตรา, ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว และเกาะข้างเคียง ในประเทศไทยพบทางป่าชายแดนภาคใต้ตอนล่าง พบในป่าดั้งเดิมและป่าชั้นสอง, สวนยาง หรือแม้แต่ในหมู่บ้านที่อยู่ชายป่า มักพบอยู่ในที่ที่มีต้นปาล์มชนิด จากเขา (Eugeissona tristis) ทำรังบนต้นไม้ รังอยู่สูงจากพื้น 12-20 เมตร ปูพื้นด้วยใบไม้แห้ง กิ่งไม้และเยื่อไม้ เส้นผ่านศูนย์กลางรังประมาณ 3 นิ้ว และยาวประมาณ 18 นิ้ว ออกหากินในเวลากลางคืน เวลากลางวันจะค่อนข้างเฉื่อยชา หากถูกรบกวนในเวลากลางวัน มักจะหันหลังให้ อ้าปากกว้างและส่งเสียงดังข่มขู่ บางครั้งก็ถ่ายมูลหรือปัสสาวะใส่ด้วย แต่หากถูกรบกวนตอนกลางคืน จะวิ่งหนีไปอย่างรวดเร็ว กินอาหารได้หากหลายทั้งพืชและสัตว์เช่นเดียวกับกระแตส่วนใหญ่ เช่น กล้วย, องุ่น, จิ้งหรีด, ตั๊กแตน, มด, แมลงสาบ, จักจั่น, แมลงปีกแข็ง และสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กจำพวกตุ๊กแก ทำรังอยู่ร่วมกันเป็นฝูงใหญ่ ฝูงหนึ่งมีรัง 2-7 รัง สามารถไต่กิ่งไม้ทางด้านใต้กิ่งได้ มีประสาทสัมผัสที่หางไวมาก เมื่อแสดงอาการก้าวร้าวจะแกว่งหางไปมาแบบลูกตุ้ม แต่ถ้าตื่นเต้นจะชูหางขึ้นชี้ด้านบน มีระยะเวลาตั้งท้องนานประมาณ 45-55 วัน คาดว่าออกลูกครั้งละ 1-4 ตัว ลูกแรกเกิดหนักประมาณ 10 กรัม ตัวเมียมีเต้านม 4 เต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระแตหางขนนก · ดูเพิ่มเติม »

กระแตเล็ก

กระแตเล็ก (pygmy treeshrew, lesser treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) มีลักษณะคล้ายกับกระแตใต้หรือกระแตธรรมดาทั่วไป (T. glis) แต่มีขนาดเล็กกว่ามาก โดยมีความยาวจากปลายจมูกถึงรูทวารเพียง 11-14 เซนติเมตรเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในคาบสมุทรมลายูจนถึงบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในประเทศไทยพบได้ในภาคใต้ตอนล่างเท่านั้น มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) มีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 45-55 วัน มีพฤติกรรมชอบกินผลไม้จำพวกมะเดื่อฝรั่งมากที.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระแตเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กระแตเหนือ

กระแตเหนือ (Northern treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในอันดับกระแต (Scandentia) ในวงศ์ Tupaiidae จัดเป็นกระแต 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย นอกเหนือจากกระแตใต้ หรือกระแตธรรมดา (T. glis) มีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่กระแตเหนือมีขนสีน้ำตาลเทา ในขณะที่กระแตใต้จะมีขนสีออกน้ำตาลแดง กระแตใต้ตัวเมียมีเต้านม 6 เต้า ขณะที่กระแตเหนือมีเต้านม 4 เต้า มีความยาวตั้งแต่ปลายจมูกจนถึงรูทวาร 13.5-20.5 เซนติเมตร มีอายุยืนเต็มที่ประมาณ 11 ปี พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศอินเดีย, พม่า, จีนตอนใต้ และกลุ่มประเทศอินโดจีน ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ยกเว้นภาคใต้จะพบได้เฉพาะบริเวณเหนือคอคอดกระขึ้นไปเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระแตเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กระเล็น

กระเล็น หรือ กระถิก หรือ กระถึก เป็นสกุลหนึ่งของสัตว์ฟันแทะ จำพวกกระรอก ใช้ชื่อสกุลว่า Tamiops กระเล็นจัดว่าเป็นกระรอกขนาดเล็กที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย ขนาดโดยเฉลี่ยรวมความยาวทั้งลำตัว, หัว และหางแล้วประมาณ 20 เซนติเมตร มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวสีน้ำตาล มีลายสีขาวดำพาดขนานตามยาวของลำตัวเห็นเด่นชัด ตั้งแต่จมูกถึงโคนหาง คล้ายกับลายของชิพมังค์ (Tamias spp.) ซึ่งเป็นกระรอกขนาดเล็กเช่นกัน แต่พบในทวีปอเมริกาเหนือ ส่วนหางของกระเล็นจะไม่เป็นพวงฟูเหมือนกระรอกทั่วไป ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 6 เต้า กระเล็นหากินในเวลากลางวัน หากินบนต้นไม้สูง ๆ เป็นหลัก กินอาหารได้หลากหลายเหมือนกระรอกทั่วไป พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้, ตอนใต้ของจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบทั้งหมด 4 ชนิด ในประเทศไทยพบได้ 2 ชนิด พบได้ทั่วไปทั้งในป่าทึบหรือในชุมชนเมือง โดยที่ไม่จัดว่าเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ป่าสงวนแต่ประการใ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระเล็น · ดูเพิ่มเติม »

กระเป๋าจิงโจ้

กระเป๋าจิงโจ้ (Cephalotus) เป็นสกุลของพืชที่บรรจุด้วยสปีชีส์เพียงสปีชีส์เดียว, Cephalotus follicularis, เป็นพืชกินสัตว์ขนาดเล็ก มีกับดักแบบหลุมพรางซึ่งเกิดจากการแปรสภาพของใบ Cephalotus follicularis มีชื่อสามัญอื่นๆอีกคือ Albany Pitcher Plant, Western Australian Pitcher Plant, fly-catcher plant หรือ mocassin plant.

ใหม่!!: สปีชีส์และกระเป๋าจิงโจ้ · ดูเพิ่มเติม »

กราวเขียว

กราวเขียว หรือ ตะพาบหัวกบ (Asian giant softshell turtles) เป็นสกุลของตะพาบจำพวกหนึ่ง พบกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pelochelys มีด้วยกันทั้งสิ้น 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และกราวเขียว · ดูเพิ่มเติม »

กรดยูริก

กรดยูริก (Uric acid) เป็นสารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (heterocyclic) ที่มีคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และไฮโดรเจน โดยมีสูตรเคมีเป็น C5H4N4O3 มันมีรูปแบบทั้งเป็นไอออนและเกลือที่เรียกว่าเกลือยูเรต (urate) และเกลือกรดยูเรต (acid urate) เช่น ammonium acid urate กรดยูริกเป็นผลของกระบวนการสลายทางเมแทบอลิซึมของนิวคลีโอไทด์คือพิวรีน (purine) และเป็นองค์ประกอบปกติของปัสสาวะ การมีกรดยูริกในเลือดสูงอาจทำให้เกิดโรคเกาต์ และสัมพันธ์กับโรคอื่น ๆ รวมทั้งโรคเบาหวาน และนิ่วในไตที่เกิดจาก ammonium acid urate.

ใหม่!!: สปีชีส์และกรดยูริก · ดูเพิ่มเติม »

กลอสซอพเทอริส

ฟอสซิลของจิมโนสเปอร์ม ''กลอสซอพเทอริส'' (สีเขียวเข้ม) พบในทวีปทางซีกโลกใต้ทั้งหมดซึ่งเป็นหลักฐานที่ชัดเจนว่าครั้งหนึ่งทวีปต่างๆเคยอยู่ติดกันเป็นมหาทวีปกอนด์วานา กลอสซอพเทอริส (กรีก glossa (γλώσσα) หมายถึง "ลิ้น" (เพราะว่าใบของมันมีรูปร่างคล้ายลิ้น) เป็นสกุลใหญ่และเป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นเฟิร์นเมล็ดอยู่ในอันดับกลอสซอพเทอริดาเลส (หรือในบางกรณีก็ถูกจัดให้อยู่ในอันดับอาร์เบอริเอเลส หรือดิคทายออพเทอริดิเอเลส).

ใหม่!!: สปีชีส์และกลอสซอพเทอริส · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้ดิน

กล้วยไม้ดิน (Ground orchid) เป็นสกุลหนึ่งของพืชในวงศ์กล้วยไม้ พืชในสุกลนี้เป็นญาติกับพืชสกุล Acanthephippium, Bletia, Calanthe, และ Phaius โดยทั่วไปมีถิ่นอาศัยในบอร์เนียว, ประเทศออสเตรเลีย และ หมู่เกาะโซโลมอน ไฟล์:kluaimaidin2.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin3.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin4.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin5.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin6.jpg|กล้วยไม้ดิน หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พืชแบ่งตามสกุล.

ใหม่!!: สปีชีส์และกล้วยไม้ดิน · ดูเพิ่มเติม »

กวางชะมดไซบีเรีย

กวางชะมดไซบีเรีย (Siberian musk deer, Кабарга, 原麝, 사향노루) เป็นกวางชะมด (Moschidae) ชนิดหนึ่ง มีตัวสั้นป้อม ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลแดง หูตั้ง หางสั้น มีแถบยาวสีขาว 2 แถบ ขนานกันตามความยาวของลำคอ ที่ตะโพกและหลังช่วงท้ายมีจุดสีขาว ไม่มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ตัวผู้มีเขี้ยวบนยาวประมาณ 7 เซนติเมตร โผล่ออกมาจากปากเห็นได้ชัดเจน มีต่อมผลิตกลิ่นอยู่ที่ใต้ท้องระหว่างสะดือกับอวัยวะเพศ พบกระจายพันธุ์ในเอเชียเหนือ ในป่าไทกาทางตอนใต้ของไซบีเรีย และพบในบางส่วนของมองโกเลีย, มองโกเลียใน, แมนจูเรีย และคาบสมุทรเกาหลี ออกหากินตามลำพังเวลาเช้ามืดหรือพลบค่ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกวางชะมดไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

กวางรูซา

กวางรูซา (Rusa) เป็นสกุลของกวางในสกุล Rusa พบกระจายพันธฺุ์ในทางตอนใต้ของทวีปเอเชีย มักจะได้รับการจัดให้อยู่ในสกุล Cervus แต่จากการศึกษาทางพันธุกรรมพบว่า สมควรจัดให้อยู่ในสกุลนี้ แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด โดย 3 ชนิดมีการกระจายค่อนข้างแคบในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย แต่จะมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นทางด้านอินเดียตะวันออกและทางตอนใต้ของจีนและทิศใต้ของหมู่เกาะซุนดา ทั้งหมดกำลังถูกคุกคามจากการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยและการล่าสัตว.

ใหม่!!: สปีชีส์และกวางรูซา · ดูเพิ่มเติม »

กวางผา

กวางผา (Gorals) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่จำพวกแอนทีโลปสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae ใช้ชื่อสกุลว่า Naemorhedus.

ใหม่!!: สปีชีส์และกวางผา · ดูเพิ่มเติม »

กวางผาจีน

กวางผาจีน หรือ กวางผาจีนถิ่นใต้ (Chinese goral, South China goral) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Naemorhaedus griseus อยู่ในวงศ์ Bovidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และกวางผาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กอริลลา

ัวน้อย กอริลลาเพศเมียที่มีชื่อเสียงแห่งสวนสัตว์พาต้า กอริลลา (Gorilla) เป็นเอปที่อยู่ในเผ่า Gorillini และสกุล Gorilla ในวงศ์ Hominidae นับเป็นไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน กอริลลา จัดเป็นเอปจำพวกหนึ่งในบรรดาเอปทั้งหมดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และจัดเป็นเอปและไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา ทั้งที่เป็นที่ราบต่ำ และเป็นภูเขาสูงแถบเทือกเขาวีรูงกาที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลถึง 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในคองโก และรวันดา กอริลลา นับได้ว่าเป็นเอปที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุดรองจากชิมแปนซีและโบโนโบ โดยมีดีเอ็นเอที่ใกล้เคียงกับมนุษย์ถึงร้อยละ 95–99.

ใหม่!!: สปีชีส์และกอริลลา · ดูเพิ่มเติม »

กะพรุนน้ำจืด

กะพรุนน้ำจืด หรือ แมงกะพรุนน้ำจืด (Freshwater jellyfish) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในพวกแมงกะพรุนที่อยู่ในชั้นไฮโดรซัว ต่างจากแมงกะพรุนที่พบในทะเลที่ส่วนมากจะอยู่ในชั้นไซโฟซัว ใช้ชื่อสกุลว่า Craspedacusta (/คราส-พี-ดา-คัส-ต้า/).

ใหม่!!: สปีชีส์และกะพรุนน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

กั้ง

กั้ง (Mantis shrimps, Stomatopods) คือสัตว์น้ำจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในทะเล ในไฟลัมครัสตาเซียน ในอันดับสโตมาโตโพดา (Stomatopoda) ซึ่งมีอยู่หลากหลายสกุลและหลากหลายชนิด กั้ง โดยทั่วไปมีรูปร่างคล้ายกุ้งผสมกับตั๊กแตนตำข้าว ลำตัวยาวคล้ายตะขาบ หายใจด้วยเหงือกเช่นเดียวกับกุ้ง ลำตัวมีรูปร่างแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 5 แต่ไม่ถึงปล้องที่ 8 กรีมีลักษณะแบนราบ มีขาทั้งหมด 3 คู่ เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกตั้งแต่ 400 ล้านปีก่อน มักอาศัยอยู่ในทะเลโคลน หรือ บริเวณปากแม่น้ำ หรือตามแนวปะการัง และพบได้ถึงระดับความลึกกว่า 1,500 เมตร กั้งเป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดในโลกนี้มาก่อนกุ้ง มีจุดเด่น คือ มีดวงตาขนาดใหญ่ สามารถใช้สแกนมองภาพได้ดี โดยสามารถมองเห็นภาพชัดลึกได้ดี ตาแต่ละข้างของกั้งสามารถมองเห็นได้ 3 ตา และตาแต่ละดวงมองเห็นภาพได้ 3 ภาพ และสามารถกะระยะได้ดีมากเพื่อใช้ในการล่าเหยื่อ กั้งมีแก้วตาหลายพันชิ้น และสามารถมองเห็นสีได้ในระดับที่ซับซ้อน โดยถือว่าเป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีระบบการมองเห็นภาพดีที่สุดในอาณาจักรสัตว์โลก ไม่มีก้ามหนีบ แต่มีระยางค์ส่วนอกคู่ที่ 2 มีลักษณะเป็นก้ามสับขนาดใหญ่พับได้คล้ายมีดโกน และมีซี่ฟันแหลมคมเรียงกันเป็นแถวคล้ายหวี ใช้สำหรับฆ่าเหยื่อหรือป้องกันตัว ซึ่งสามารถใช้สับน้ำให้เกิดเป็นแรงขนาดมากได้ จนอาจถึงทำร้ายสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น มนุษย์ให้ได้รับบาดเจ็บได้ กั้งถูกค้นพบแล้วกว่า 450 ชนิด ในประเทศไทยมีรายงานพบแล้วอย่างน้อย 61 ชนิด กั้งนิยมนำมารับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับกุ้ง โดยปกติแล้วจะมีราคาสูงกว่ากุ้งธรรมดาหรือปู ในบางชนิดนิยมนำมาแช่กับน้ำปลารับประทานกับข้าวต้ม.

ใหม่!!: สปีชีส์และกั้ง · ดูเพิ่มเติม »

กั้งกระดาน

กั้งกระดาน หรือ กุ้งกระดาน (Flathead lobster, Lobster Moreton Bay bug, Oriental flathead lobster) เป็นกุ้งชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะคล้ายกั้ง จึงนิยมเรียกกันว่ากั้ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thenus orientalis จัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Thenus และวงศ์ย่อย Theninae มีส่วนหัวและอกอยู่รวมกัน แต่ไม่มีกรีแหลมที่หัวลำตัวแบนและสั้นกว่ากุ้งทั่วไป ส่วนหัวแผ่ออกเป็นแผ่นใหญ่ ผิวขรุขระ เบ้าตาบุ๋มลงในขอบหน้าส่วนของหัว นัยน์ตามีขนาดเล็กอยู่บนก้านตา นัยน์ตาสามารถเคลื่อนไหวได้คล้ายกับตาของปู หนวดสั้น มีข้อต่อกันคล้ายใบสน แนวกลางหัวและลำตัวเป็นสันแข็ง มีขาเดิน 5 คู่ ปลายแหลมและมีขนสั้น ๆ อยู่บนขา ขาเดินคู่ที่ 5 ของตัวเมียเล็กกว่าตัวผู้มาก ลำตัวแบ่งออกเป็นปล้อง แต่ละปล้องมีขาว่ายน้ำอยู่หนึ่งคู่ หางมีลักษณะเป็นแผ่นแบนประกอบด้วยรยางค์ 5 อัน อันกลางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง ใช้ในการดีดตัวหลบหนีศัตรู หัว ลำตัว และหางเป็นสีน้ำตาล มีตุ่มเล็กเรียงเป็นแถวบนลำตัว นัยน์ตาสีดำ อาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน แถบที่เป็นพื้นโคลนปนทราย มีความยาวประมาณ 15-25 เซนติเมตร หากินสัตว์น้ำขนาดเล็กตามหน้าดินเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทะเลแดง, ทะเลอันดามัน, ตอนใต้ของญี่ปุ่น, จีน จนถึงอ่าวมอร์ตัน ในออสเตรเลีย นิยมรับประทานเป็นอาหาร มีรสชาติดีแต่เหนียวกว่ากุ้ง จึงนิยมแช่แข็งส่งออกขายต่างประเทศ เป็นที่นิยมกันมากที่สิงคโปร.

ใหม่!!: สปีชีส์และกั้งกระดาน · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้รส

ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.

ใหม่!!: สปีชีส์และการรับรู้รส · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้อากัปกิริยา

ซีรีบรัมเป็นส่วนในสมองที่มีหน้าที่ประสานงานเกี่ยวข้องกับการรับรู้อากัปกิริยา การรับรู้อากัปกิริยา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ proprioception ว่า "การรับรู้อากัปกิริยา" และของ proprioceptor ว่า "ปลายประสาทรับรู้อากัปกิริยา" หรือการรู้ตำแหน่งข้อและการเคลื่อนไหว (proprioception มาจากคำว่า "proprius" ซึ่งแปลว่า "ของตน" หรือ "แต่ละบุคคล" และคำว่า "perception" ซึ่งแปลว่า "การรับรู้") เป็นความรู้สึกเกี่ยวกับตำแหน่ง (limb position sense) และเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของอวัยวะในร่างกาย (kinesthesia หรือ motion sense) ที่ไม่สืบเนื่องกับการมองเห็นให้สังเกตให้ดีว่า คำว่า "proprioception" นั้น เป็นคำที่ชาลส์ สก็อตต์ เชอร์ริงตัน ได้บัญญัติขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และการรับรู้อากัปกิริยา · ดูเพิ่มเติม »

การลอกคราบ

ักจั่นลอกคราบ ลอกคราบ หรือ สลัดขน (spelling differences.) เป็นศัพท์ทางชีววิทยาที่เกิดขึ้นกับสัตว์บางสปีชีส์ - ecdysis ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อสัตว์ลอกส่วนของร่างกายที่มักจะเป็นเปลือกนอก (แต่ก็ไม่เสมอไป) ออกไป หรือเปลี่ยนส่วนที่ปกคลุมภายนอกเช่นขนใหม่ การลอกคราบหรือสลัดขนอาจจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของปี หรืออาจจะเกิดขึ้นในช่วงใดช่วงหนึ่งในชีวิตของสัตว์ก็ได้ การลอกคราบ หรือ การสลัดขนเป็นการเปลี่ยนหนังหนังกำพร้า (Epidermis), ขนสัตว์ (pelage) หรือเปลือกนอกของร่างกายที่มีลักษณะอื่น ในบางสปีชีส์บางส่วนของร่างกายอาจจะถูกสลัดตามไปด้วยเช่นปีกของแมลงบางสปีชีส์ ตัวอย่างของการลอกคราบ หรือ การสลัดขนก็ได้แก่การสลัดขนของนก หรือ การสลัดขนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยเฉพาะสุนัข หรือ หมาจิ้งจอก) หรือการลอกคราบของสัตว์เลื้อยคลาน หรือการเปลี่ยนทั่งร่างสัตว์ขาปล้อง.

ใหม่!!: สปีชีส์และการลอกคราบ · ดูเพิ่มเติม »

การสูญพันธุ์

ียน นกโดโด้ ตัวอย่างของการสูญพันธุ์ยุคใกล้ การสูญพันธุ์ (Extinction) ในทางชีววิทยาและนิเวศวิทยา คือการสิ้นสุดของการดำรงอยู่ของสปีชีส์หรือของสิ่งมีชีวิต ซึ่งทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง โดยทั่วไปแล้ว ถือว่าชั่วขณะของการสูญพันธุ์คือชั่วขณะความตายของสิ่งมีชีวิตตัวสุดท้ายในสปีชีส์นั้น แม้ว่าความสามารถในการผสมพันธุ์และฟื้นตัวอาจจะสูญเสียไปแล้วก่อนหน้านั้นก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และการสูญพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

การสํารวจทางชีวภาพ

การสํารวจทางชีวภาพ (Biosurvey) เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อประเมินสภาพของทรัพยากรทางนิเวศวิทยา เช่น แหล่งน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และการสํารวจทางชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

การหลอกลวงตัวเอง

การหลอกลวงตัวเอง (Self-deception) เป็นกระบวนการปฏิเสธหรือให้เหตุผลแก้ต่างว่า หลักฐานหรือเหตุผลที่คัดค้านความคิดความเชื่อของตน ไม่อยู่ในประเด็นหรือไม่สำคัญ เป็นการที่ทำให้ตัวเองเชื่อเรื่องความจริง (หรือความไม่จริง) อย่างหนึ่ง โดยวิธีที่ไม่ปรากฏกับตนว่ากำลังหลอกตัวเอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และการหลอกลวงตัวเอง · ดูเพิ่มเติม »

การจับปลาของนกกาน้ำ

ลิปวิดีโอการจับปลาของนกกาน้ำที่ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ เทศกาลอุไก การจับปลาของนกกาน้ำ (Cormorant fishing) เป็นการประมงแบบพื้นบ้านประเภทหนึ่ง นิยมทั้งในเอเชียตะวันออกและยุโรป ด้วยการใช้นกกาน้ำ ซึ่งเป็นนกที่เชียวชาญในการว่ายน้ำและดำน้ำจับปลาด้วยปาก ด้วยความที่มีจะงอยปากยาวแหลมและพังผืดที่เท้าเชื่อมติดกันเหมือนเป็ด โดยนกกาน้ำหลายชนิดสามารถเลี้ยงให้เชื่องได้ บางตัวอาจจะถือกำเนิดมาในคอกเลี้ยงของมนุษย์ การจับปลาด้วยวิธีการแบบนี้ เริ่มที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเป็นระยะเวลานานกว่า 1,500 ปี มาแล้ว ในจีนและญี่ปุ่น โดยชาวประมงจะพายเรือออกไปพร้อมด้วยฝูงนกกาน้ำ จากนั้นจะปล่อยให้นกลงไปในน้ำ และใช้ไม้พายตีน้ำเพื่อให้นกตื่นตัวและดำลงไป ทั้งนี้จะต้องใช้เชือกผูกคอนกด้วยเพื่อมิให้นกกลืนปลาลงไป แต่เมื่อนกตัวใดหาปลาได้ ชาวประมงจะแบ่งชิ้นปลาให้แก่นกเป็นรางวัล ปัจจุบัน วิธีการประมงแบบนี้ได้ลดน้อยลงไปตามกาลเวลา แต่ในญี่ปุ่นยังคงมีการอนุรักษ์ประเพณีนี้อยู่ ที่เมืองเซะกิ จังหวัดกิฟุ มีประเพณีการจับปลาอะยุ ที่แม่น้ำนะงะระ โดยเป็นประเพณีที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 1,300 ปีแล้ว เรียกว่า "เทศกาลอุไก" (鵜飼) โดยผู้ที่จับปลาจะเรียกว่า "อุโช" (鵜匠) จะมีในระหว่างวันที่ 11 พฤษภาคม-15 ตุลาคม ของทุกปี ซึ่งถือเป็นประเพณีใหญ่มีการเฉลิมฉลองด้วยพลุและดอกไม้ไฟ ที่จีน ที่ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ ในมณฑลยูนนาน ยังคงอนุรักษ์การจับปลาด้วยนกกาน้ำอยู่ โดยถือเป็นไฮไลต์การท่องเที่ยวที่สำคัญประการหนึ่งของทะสาบแห่งนี้ ในยุโรป ที่ประเทศอังกฤษ พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ โปรดการเลี้ยงนกกาน้ำให้จับปลามาก ถึงขนาดสร้างบ่อน้ำขนาดใหญ่เพื่อให้นกกาน้ำได้จับปลา ในบริเวณที่ปัจจจุบันเป็นที่สถานที่ตั้งรัฐสภาอังกฤษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และการจับปลาของนกกาน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ หรือ การจำแนกชั้นทางชีววิทยา (Systematics) หมายถึงการจัดกลุ่มและหมวดหมู่สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่สูญพันธุ์ไปแล้ว การจำแนกในยุคปัจจุบันอาศัยรากฐานจากระบบการจำแนกของ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ผู้จัดกลุ่มสปีชีส์ต่าง ๆ โดยดูจากลักษณะเฉพาะทางกายภาพ การจัดกลุ่มแบบนี้ได้มีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับหลักดาร์วิน ส่วนมากเป็นผลมาจากการศึกษาอนุกรมวิธานระดับโมเลกุลด้วยการวิเคราะห์จีโนม ในการแบ่งอย่างกว้างๆจะแบ่งได้ 2 ระดับ คือ ลำดับขั้นสูง และ ลำดับขั้นต่ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

Modern biology began in the nineteenth century with Charles Darwin's work on natural selection. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เป็นขบวนการแบบค่อยเป็นค่อยไปและไม่สุ่ม ซึ่งลักษณะทางชีววิทยาจะพบมากขึ้นหรือน้อยลงในประชากรเป็นหน้าที่ของการสืบพันธุ์แตกต่างกันของผู้ให้กำเนิด มันเป็นกลไกสำคัญของวิวัฒนาการ คำว่า "การคัดเลือกโดยธรรมชาติ" นั้น ถูกทำให้แพร่หลายโดย ชาลส์ ดาร์วิน ผู้ตั้งใจให้เทียบได้กับการคัดเลือกโดยมนุษย์ (artificial selection) หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า การคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) การแปรผันเกิดขึ้นในประชากรสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ซึ่งบางส่วนเกิดขึ้นเพราะการกลายพันธุ์สุ่มในจีโนมของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง และการกลายพันธุ์นั้นถูกส่งต่อไปยังลูกหลาน ตลอดชีวิตของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ จีโนมของสิ่งมีชีวิตนั้นจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมซึ่งทำให้ลักษณะมีการแปรผัน (varient) สิ่งแวดล้อมของจีโนม ได้แก่ ชีววิทยาโมเลกุลในเซลล์ เซลล์อื่น สิ่งมีชีวิตอื่น ประชากร สปีชีส์ เช่นเดียวกับสิ่งแวดล้อมอชีวนะ สิ่งมี่ชีวิตที่มีลักษณะแปรผันบางอย่างอาจมีชีวิตรอดและสืบพันธุ์ได้มากกว่าสิ่งมีชีวิตที่มีการแปรผันแบบอื่น ฉะนั้น ประชากรจึงเกิดวิวัฒนาการ ตัวอย่างเช่น ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการสืบพันธุ์เองก็สำคัญเช่นกัน และเป็นประเด็นที่ชาลส์ ดาร์วินบุกเบิกในความคิดการคัดเลือกทางเพศของเขา การคัดเลือกโดยธรรมชาติมีผลต่อฟีโนไทป์ หรือคุณลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สังเกตได้ แต่พื้นฐานทางพันธุกรรมซึ่งสืบทอดได้ของฟีโนไทป์ใด ๆ ที่ให้ข้อได้เปรียบในการสืบพันธุ์จะกลายมาปรากฏมากขึ้นในประชากร (ดูที่ ความถี่แอลลีล) เมื่อเวลาผ่านไป ขบวนการนี้สามารถส่งผลให้ประชากรมีความพิเศษในระบบนิเวศ และอาจลงเอยด้วยการถือกำเนิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติเป็นขบวนการที่สำคัญ แม้จะมิใช่ขบวนการเดียว ซึ่งทำให้วิวัฒนาการเกิดขึ้นในประชากรสิ่งมีชีวิต ในการคัดเลือกโดยธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเสมือนเป็นตะแกรงที่การแปรผันบางอย่างเท่านั้นที่ผ่านไปได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และการคัดเลือกโดยธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อทวินาม

ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม (Binomial nomenclature) เป็นระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ชื่อแต่ละชื่อในระบบนี้เรียกว่า ชื่อทวินาม (Binomial name) หรือ ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) คือชื่อที่ใช้เรียกแทนสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ ชื่อทวินามจะเป็นภาษาละติน ประกอบด้วยคำศัพท์ 2 คำ คือ สกุล และ สปีชีส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับสิ่งมีชีวิตที่ต้องการระบุ โดยรายละเอียดปลีกย่อยอาจแตกต่างกันออกไปบ้าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และการตั้งชื่อทวินาม · ดูเพิ่มเติม »

การปรับภาวะให้เกิดความกลัว

การปรับภาวะให้เกิดความกลัว"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ conditioning ว่า "การปรับภาวะ" (fear conditioning) เป็นรูปแบบทางพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตเรียนรู้เพื่อพยากรณ์เหตุการณ์ที่ไม่น่าพึงใจ เป็นรูปแบบแห่งการเรียนรู้โดยจับคู่สิ่งแวดล้อมที่ปกติเป็นกลาง ๆ (เช่นสถานที่) หรือตัวกระตุ้นที่เป็นกลาง ๆ (เช่นเสียง) กับตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดี (เช่นถูกไฟดูด เสียงดัง หรือกลิ่นเหม็น) ในที่สุด การจับคู่เช่นนั้นเป็นเหตุให้สิ่งมีชีวิตตอบสนองด้วยความกลัว ต่อตัวกระตุ้นหรือสิ่งแวดล้อมที่ในตอนแรกเป็นกลาง ๆ เพียงลำพังโดยปราศจากตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดี ถ้าใช้ศัพท์ที่เกี่ยวกับการปรับสภาวะแบบคลาสสิก (classical conditioning) ตัวกระตุ้นหรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นกลาง ๆ เรียกว่า สิ่งเร้ามีเงื่อนไข (conditional stimulus) ส่วนตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดีเรียกว่า สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (unconditional stimulus) และความกลัวที่เกิดขึ้นในที่สุดของการปรับสภาวะเรียกว่า การตอบสนองมีเงื่อนไข (conditional response) มีการศึกษาเรื่องการปรับภาวะให้เกิดความกลัวในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่หอยทากจนกระทั่งถึงมนุษย์ ในมนุษย์ ความกลัวมีเงื่อนไขวัดได้โดยการรายงานของผู้รับการทดสอบและการตอบสนองทางผิวหนังโดยการนำกระแสไฟ (galvanic skin response) ในสัตวอื่น ความกลัวมีเงื่อนไขวัดได้โดยการมีตัวแข็งของสัตว์ (คือช่วงเวลาที่สัตว์ทำการสังเกตการณ์โดยไม่มีการเคลื่อนไหว) หรือโดย fear potentiated startle ซึ่งเป็นการตอบสนองโดยรีเฟล็กซ์ต่อตัวกระตุ้นที่น่ากลัว ความเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ และการตอบสนองในกล้ามเนื้อวัดโดยการบันทึกคลื่นไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ (electromyography) ก็สามารถใช้ได้ในการวัดความกลัวมีเงื่อนไข การปรับภาวะให้เกิดความกลัวเชื่อกันว่า อาศัยเขตในสมองที่เรียกว่า อะมิกดะลา (amygdala) การตัดออกหรือการยับยั้งการทำงานของอะมิกดะลาสามารถยับยั้งทั้งการเรียนรู้และการแสดงออกของความกลัว การปรับภาวะให้เกิดความกลัวบางประเภท (แบบ contextual และ trace) ก็อาศัยเขตฮิปโปแคมปัสด้วย ซึ่งเป็นเขตสมองเชื่อกันว่ารับพลังประสาทนำเข้าจากอะมิกดะลาและประสานสัญญาณนั้นกับข้อมูลประสบการณ์ที่เคยมีมาก่อนที่ทำให้ตัวกระตุ้นนั้นมีความหมาย ทฤษฎีที่ใช้อธิบายประสบการณ์ที่ให้เกิดความบาดเจ็บหรือความเครียดทางจิตใจ บอกเป็นนัยว่า ความหวาดกลัวที่อาศัยอะมิกดะลาจะไม่อาศัยฮิปโปแคมปัสในช่วงเวลาที่กำลังประสบความเครียดอย่างรุนแรง และจะมีการบันทึกประสบการณ์นั้นไว้ทางกายภาพหรือโดยเป็นภาพ เป็นความรู้สึกที่สามารถจะกลับมาเกิดขึ้นอีกปรากฏเป็นอาการต่าง ๆ ทางกายภาพ หรือเป็นภาพย้อนหลัง (flashback) โดยที่ไม่มีความหมายเกี่ยวข้องเหตุการณ์ที่กำลังเกิดในปัจจุบัน นักทฤษฎีบางพวกเสนอว่า ความกลัวมีเงื่อนไขเป็นไปร่วมกับเหตุเกิดของโรควิตกกังวลประเภทต่าง ๆ ทั้งโดยกิจและโดยระบบประสาท งานวิจัยเกี่ยวกับการได้มา (acquisition) การทำให้มั่นคง (consolidation) และความสูญไป (extinction) ของความกลัวมีเงื่อนไข อาจจะนำไปสู่การบำบัดรักษาทางเวชกรรมหรือทางจิตบำบัดใหม่ ๆ เพื่อโรคต่าง ๆ เช่น โรคดิสโซสิเอทิฟ โรคกลัวประเภทต่าง ๆ และความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (post-traumatic stress disorder).

ใหม่!!: สปีชีส์และการปรับภาวะให้เกิดความกลัว · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัว (ชีววิทยา)

ในชีววิทยา คำว่า การปรับตัว (adaptation, adaptive trait) มีความหมาย 3 อย่างที่เกี่ยวข้องกัน คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และการปรับตัว (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัว (นิเวศวิทยา)

ในสาขานิเวศวิทยาเชิงพฤติกรรม (behavioral ecology) พฤติกรรมปรับตัว (adaptive behavior) หรือ การปรับตัว เป็นพฤติกรรมที่ส่งผลโดยตรงหรือโดยอ้อมกับการรอดชีวิตหรือความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของสัตว์ และดังนั้นจึงอยู่ใต้อิทธิพลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ยกตัวอย่างเช่น การมีความลำเอียงต่อญาติพี่น้องในพฤติกรรมเพื่อประโยน์ผู้อื่น (altruistic behavior), การเลือกสัตว์ตัวผู้ที่เหมาะ (fit) ที่สุดโดยสัตว์ตัวเมียซึ่งเป็นการคัดเลือกทางเพศ (sexual selection), การป้องกันอาณาเขต (territory), หรือการป้องกันกลุ่มสัตว์ตัวเมีย (harem) ของตน ในนัยตรงกันข้าม พฤติกรรมไม่ปรับตัว (non-adaptive behavior) เป็นพฤติกรรมหรือลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ที่มีผลร้ายต่อการอยู่รอดหรือความสำเร็จในการสืบพันธุ์ของสัตว์ ซึ่งอาจจะรวมทั้งพฤติกรรมเพื่อประโยน์ผู้อื่นที่ไม่มีความลำเอียงเพื่อญาติพี่น้อง การรับลูกของผู้ไม่ใช่ญาติมาเลี้ยง และความเป็นรองในสังคมที่มีการจัดความเป็นใหญ่ความเป็นรอง (dominance hierarchy) โดยสามัญ การปรับตัว (Adaptation) หมายถึงคำตอบหรือการแก้ปัญหาทางวิวัฒนาการ ต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการรอดชีวิตและการสืบพันธ์ ซึ่งเป็นปัญหาที่หมุนเวียนมาใหม่ไม่จบสิ้น ความแตกต่างในระหว่างบุคคลเกิดจากทั้งพฤติกรรมปรับตัวที่สืบทอดทางพันธุกรรมได้และสืบทอดไม่ได้ มีหลักฐานว่า พฤติกรรมทั้งสองมีอิทธิพลต่อวิวัฒนาการของพฤติกรรมปรับตัวของสปีชีส์ แม้ว่า จะมีประเด็นต่าง ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และการปรับตัว (นิเวศวิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัวไม่ดี

การปรับตัวไม่ดี (maladaptation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรม (trait) ที่/หรือว่าได้กลายเป็นมีโทษมากกว่ามีคุณ เทียบกับการปรับตัว (adaptation) ที่มีคุณมากกว่ามีโทษ สิ่งมีชีวิตทุกหน่วย ตั้งแต่แบคทีเรียจนถึงมนุษย์มีทั้งลักษณะที่ปรับตัวดีและไม่ดี โดยเหมือนกับการปรับตัวที่ดี การปรับตัวไม่ดีอาจเกิดขึ้นในระยะเวลาระดับธรณีกาล หรือแม้แต่ภายในช่วงอายุหนึ่งของสัตว์หรือกลุ่มสัตว์ มันอาจเป็นการปรับตัว ที่แม้จะสมเหตุสมผลในช่วงเวลานั้น ได้มีความเหมาะสมที่ลดลง ๆ และกลายมาเป็นปัญหาโดยตนเองเมื่อเวลาผ่านไปเรื่อย ๆ นี่เป็นเพราะว่าเป็นไปได้เมื่อเวลาผ่านไป ที่การปรับตัวที่ดีอย่างหนึ่ง จะกลายเป็นลักษณะที่ไม่เหมาะสมโดยการคัดเลือก หรือกลายมาเป็นการทำงานผิดปกติมากกว่าเป็นการปรับตัวที่ดี ให้สังเกตว่าแนวคิดในเรื่องนี้ ตามที่เริ่มกล่าวถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อาศัยมุมมองที่ผิดพลาดของทฤษฎีวิวัฒนาการ คือเชื่อกันว่า การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตมีแนวโน้มตามธรรมชาติที่จะเสื่อมลงแล้วกลายเป็นการปรับตัวที่ไม่ดี แล้วในที่สุดก็จะสร้างความพิการถ้าไม่คัดออกจากกรรมพันธุ์ แต่ความจริงแล้ว ประโยชน์ที่ได้จากการปรับตัวอย่างหนึ่งน้อยครั้งมากที่จะเป็นตัวตัดสินการอยู่รอดโดยตนเอง แต่ว่าเป็นสิ่งที่ดุลกับการปรับตัวที่เสริมกันและต่อต้านกันอื่น ๆ ซึ่งต่อ ๆ มาจะไม่สามารถเปลี่ยนโดยไม่มีผลต่อการปรับตัวอย่างอื่น ๆ ได้ หรือกล่าวอีกอย่างก็คือ ปกติแล้วจะไม่สามารถได้ประโยชน์จากการปรับตัวที่ดี โดยไม่มีราคาเป็นการปรับตัวที่ไม่ดี ลองพิจารณาตัวอย่างที่ดูง่าย ๆ คือ ปรากฏแล้วว่ามันยากมากที่สัตว์จะวิวัฒนาการการหายใจได้ทั้งในน้ำและบนบก และการปรับตัวให้หายใจได้ดีกว่าในที่หนึ่งก็จะทำให้แย่ลงในอีกที่หนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และการปรับตัวไม่ดี · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (หรือ การทำให้เชื่อง) หรือ การปรับตัวเป็นไม้เลี้ยง (domestication, domesticus) เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างพืชหรือสัตว์ กับมนุษย์ผู้มีอิทธิพลในการดูแลรักษาและการสืบพันธุ์ของพวกมัน เป็นกระบวนการที่ประชากรสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมผ่านรุ่นโดยการคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) เพื่อเน้นลักษณะสืบสายพันธุ์ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยมีผลพลอยได้เป็นความเคยชินของสิ่งมีชีวิตต่อการพึ่งมนุษย์ ทำให้พวกมันสูญเสียความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ ชาลส์ ดาร์วินเข้าใจถึงลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จำนวนไม่มากจำนวนหนึ่ง ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงต่างจากบรรพบุรุษพันธุ์ป่า เขายังเป็นบุคคลแรกที่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการคัดเลือกพันธุ์แบบตั้งใจ ที่มนุษย์เลือกลักษณะสืบสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยตรงเพื่อจะได้ลักษณะตามที่ต้องการ กับการคัดเลือกที่ไม่ได้ตั้งใจ ที่ลักษณะมีวิวัฒนาการไปตามการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือตามการคัดเลือกอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงจะต่างจากสิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าทางพันธุกรรม และในบรรดาสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ก็ยังมีความแตกต่างกันระหว่างลักษณะสืบสายพันธุ์ที่นักวิจัยเชื่อว่า จำเป็นในระยะต้น ๆ ของกระบวนการปรับนำมาเลี้ยง (domestication trait) และลักษณะที่พัฒนาขึ้นต่อ ๆ มาหลังจากที่สิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าและพันธุ์เลี้ยงได้แยกออกจากกันแล้ว (improvement trait) คือลักษณะที่จำเป็นโดยทั่วไปมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงทั้งหมด และเป็นลักษณะที่คัดเลือกในระยะต้น ๆ ของกระบวนการ ในขณะที่ลักษณะที่พัฒนาต่อ ๆ มาจะมีอยู่ในบางพวกของสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ถึงแม้ว่าอาจจะมีแน่นอนในพันธุ์ (breed) ใดพันธุ์หนึ่งโดยเฉพาะ หรือในกลุ่มประชากรในพื้นที่โดยเฉพาะ การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (domestication) ไม่ควรสับสนกับการทำสัตว์ให้เชื่อง (taming) เพราะว่า การทำให้เชื่องเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของสัตว์ป่า ให้กลัวมนุษย์น้อยลงและยอมรับการมีมนุษย์อยู่ใกล้ ๆ ได้ แต่ว่าการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง เป็นการเปลี่ยนพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ที่นำมาเลี้ยงอย่างถาวร เป็นการเปลี่ยนความรู้สึกของสัตว์ต่อมนุษย์โดยกรรมพันธุ์ สุนัขเป็นสิ่งมีชีวิตแรกที่ปรับนำมาเลี้ยง และแพร่หลายไปทั่วทวีปยูเรเชียก่อนการสิ้นสุดสมัยไพลสโตซีน ก่อนการเกิดขึ้นของเกษตรกรรม และก่อนการนำสัตว์อื่น ๆ ต่อ ๆ มามาเลี้ยง ข้อมูลทั้งทางโบราณคดีและทางพันธุกรรมแสดงนัยว่า การแลกเปลี่ยนยีน (gene flow) ที่เป็นไปทั้งสองทางระหว่างสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงกับพันธุ์ป่า เช่น ลา ม้า อูฐทั้งพันธุ์โลกเก่าและโลกใหม่ แพะ แกะ และหมู เป็นเรื่องสามัญ และเพราะความสำคัญของการนำสิ่งมีชีวิตมาเลี้ยงต่อมนุษย์ และคุณค่าของมันโดยเป็นแบบจำลองของกระบวนการวิวัฒนาการและของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีนี้ จึงดึงดูดความสนใจของนักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ รวมทั้งโบราณคดี บรรพชีวินวิทยา มานุษยวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสาขาต่าง ๆ สุนัขและแกะเป็นสิ่งมีชีวิตพันธุ์แรก ๆ ที่มนุษย์ปรับนำมาเลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

การแผ่ปรับตัว

ในชีววิทยาวิวัฒนาการ การแผ่ปรับตัว (adaptive radiation) เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตเกิดความหลากหลายอย่างรวดเร็วจากสปีชีส์บรรพบุรุษเดียว กลายเป็นรูปแบบต่าง ๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะเมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไปทำให้เกิดทรัพยากร เกิดอุปสรรค หรือเกิดวิถีการดำรงชีวิตที่เป็นไปได้ใหม่ ๆ กระบวนการจะเป็นเหตุการเกิดสปีชีส์และการปรับตัวทางฟีโนไทป์ของสปีชีส์หลากหลาย ที่กลายมีรูปร่างสัณฐานและสรีรภาพที่ต่างกัน โดยเริ่มจากบรรพบุรุษเดียวกันเร็ว ๆ นี้ ตัวอย่างหนึ่งก็คือนกสปีชีส์ต่าง ๆ ในวงศ์ย่อย Carduelinae (Hawaiian honeycreepers) ที่พบในหมู่เกาะฮาวาย คือผ่านกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ นกได้ปรับตัวอย่างรวดเร็วให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จนมีรูปร่างสัณฐานที่หลากหลาย มีงานวิจัยจำนวนมากเกี่ยวกับกระบวนการนี้เพราะมันมีผลที่น่าทึ่งใจต่อความหลากหลายของประชากรสิ่งมีชีวิต แต่ก็ยังต้องมีงานวิจัยต่อ ๆ ไปเพื่อให้เข้าใจอย่างสมบูรณ์ถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการ การศึกษาทั้งทางทฤษฎีและทางหลักฐานต่างก็มีประโยชน์ด้วยกันทั้งสอง แม้แต่ละอย่างก็มีข้อเสียเหมือนกัน และเพื่อให้ได้ความรู้มากที่สุด วิธีการศึกษาทั้งสองแบบต้องนำมารวมกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และการแผ่ปรับตัว · ดูเพิ่มเติม »

การแข็งตัวขององคชาต

การแข็งตัวขององคชาต (erection, ศัพย์การแพทย์: penile erection, penile tumescence) เป็นปรากฏการณ์ทางสรีรภาพของอวัยวะเพศชายในสัตว์หลายสปีชีส์ ที่องคชาตแข็งตัวขึ้น คั่งไปด้วยเลือด และขยายใหญ่ขึ้น เป็นผลของปฏิกิริยาอันสลับซับซ้อนของจิตใจ ระบบประสาท ระบบหลอดเลือด และระบบต่อมไร้ท่อ มักจะเกิดขึ้นพร้อมกับอารมณ์ทางเพศ แต่จริง ๆ อาจจะเกิดขึ้นเมื่อไรก็ได้ รูปร่าง มุมตั้ง และทิศทางขององคชาตที่แข็งตัวมีความแตกต่างกันอย่างมากแม้ในหมู่มนุษย์ โดยสรีรภาพแล้ว กระบวนการแข็งตัวขององคชาตเริ่มจากระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (ส่วนหนึ่งของระบบประสาทอัตโนมัติ) ที่เป็นเหตุให้ระดับก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ (เป็นสารขยายหลอดเลือด) สูงขึ้นในหลอดเลือด trabecular และในกล้ามเนื้อเรียบขององคชาต หลอดเลือดนั้นก็จะขยายใหญ่ขึ้นทำให้เนื้อเยื่อคล้ายฟองน้ำที่เรียกว่า corpora cavernosa (ดูรูป) (และ corpus spongiosum แม้ว่าจะน้อยกว่า) เต็มไปด้วยเลือด และในขณะเดียวกัน ก็จะทำให้กล้ามเนื้อ ischiocavernosus และ bulbospongiosus เข้าไปกดหลอดเลือดดำของเนื้อเยื่อ จำกัดการไหลออกของเลือด (จากเนื้อเยื่อ) และการไหลเวียนของโลหิตที่ไหลเข้าไป (ในเนื้อเยื่อ) การแข็งตัวจะลดลงเมื่อการทำงานในระบบประสาทพาราซิมพาเทติกลดระดับลงไปเป็นปกติ เพราะว่าเป็นการตอบสนองอัตโนมัติ การแข็งตัวอาจเกิดขึ้นจากสิ่งเร้าหลายอย่างรวมทั้งการเร้าอารมณ์เพศ (sexual stimulationการเร้าอารมณ์เพศ (sexual stimulation) เป็นตัวกระตุ้นอะไรก็ได้ รวมทั้งสัมผัสทางกาย ที่เพิ่มและรักษาอารมณ์เพศ ซึ่งอาจนำไปสู่การหลั่งน้ำอสุจิและ/หรือจุดสุดยอดทางเพศในที่สุด ถึงแม้ว่าอารมณ์เพศอาจเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องอาศัยการกระตุ้น แต่จะถึงจุดสุดยอดทางเพศได้ ปกติต้องมีการกระตุ้นทางเพศ) และอารมณ์ทางเพศ ดังนั้น จึงไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจโดยสิ้นเชิง การแข็งตัวในระหว่างการนอนหลับหรือเมื่อตื่นนอนมีศัพท์ทางแพทย์ภาษาอังกฤษว่า nocturnal penile tumescence และความปราศจากการแข็งตัวในระหว่างการนอนหลับสามารถใช้ในการแยกแยะเหตุที่เป็นไปทางกายภาพหรือทางจิตใจของภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศสาเหตุทางร่างกาย (ICD-10 N48.4) หรืออวัยวะเพศไม่ตอบสนอง (เหตุทางใจ ICD-10 F52.2) องคชาตที่ไม่แข็งตัวเต็มที่มีศัพท์การแพทย์ภาษาอังกฤษว่า partial tumescence.

ใหม่!!: สปีชีส์และการแข็งตัวขององคชาต · ดูเพิ่มเติม »

การเกิดสปีชีส์

การเกิดสปีชีส์ หรือ การเกิดชนิด (Speciation) เป็นกระบวนการทางวิวัฒนาการที่กลุ่มประชากรสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการเป็นสปีชีส์ต่าง ๆ กัน นักชีววิทยาชาวอเมริกันออเรเตอร์ เอฟ คุ๊ก (Orator F. Cook) ได้บัญญัติคำภาษาอังกฤษว่า speciation ในปี 1906 โดยหมายการแยกสายพันธุ์แบบ cladogenesis (วิวัฒนาการแบบแยกสาย) ไม่ใช่ anagenesis (วิวัฒนาการแบบสายตรง) หรือ phyletic evolution ซึ่งเป็นวิวัฒนาการแบบในสายพันธุ์ ชาลส์ ดาร์วินเป็นบุคคลแรกที่กล่าวถึงบทบาทของการคัดเลือกโดยธรรมชาติต่อการเกิดสปีชีส์ใหม่ในหนังสือปี 1859 ของเขา คือ กำเนิดสปีชีส์ (The Origin of Species) เขายังได้ระบุการคัดเลือกทางเพศ (sexual selection) ว่าเป็นกลไกหนึ่งที่เป็นไปได้ แต่ก็พบปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับมัน มีการเกิดสปีชีส์ตามภูมิภาค 4 ประเภทในธรรมชาติ ขึ้นอยู่กับระดับที่กลุ่มประชากรที่กำลังเกิดสปีชีส์อยู่แยกจากกัน คือ การเกิดสปีชีส์ต่างบริเวณ (allopatric speciation), การเกิดสปีชีส์รอบบริเวณ (peripatric speciation), การเกิดสปีชีส์ข้างบริเวณ (parapatric speciation), และการเกิดสปีชีส์ร่วมบริเวณ (sympatric speciation) การเกิดสปีชีส์สามารถทำขึ้นได้ผ่านการทดลองทางสัตวบาล ทางเกษตรกรรม และทางห้องปฏิบัติการ ยังไม่ชัดเจนว่า การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจงมีบทบาทสำคัญหรือไม่ในกระบวนการเกิดสปีชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และการเกิดสปีชีส์ · ดูเพิ่มเติม »

การเกิดเซลล์สืบพันธุ์

การเกิดเซลล์สืบพันธุ์ (gametogenesis) คือกระบวนการอย่างหนึ่งในสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นการแบ่งเซลล์และทำให้เกิดความแตกต่างกันของเซลล์แม่ (gametocyte) ที่มีโครโมโซมสองชุด (diploid) หรือชุดเดียว (haploid) ให้กลายเป็นเซลล์สืบพันธุ์ (gamete) ที่มีโครโมโซมเพียงชุดเดียว การเกิดเซลล์สืบพันธุ์เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) หรือไมโทซิส (mitosis) ขึ้นอยู่กับวงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และการเกิดเซลล์สืบพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

การเปลี่ยนสัณฐาน

แมลงปอ มีการลอกคราบครั้งสุดท้าย เพื่อเปลี่ยนสัณฐานจากตัวโม่ง ไปเป็นตัวเต็มวัย การเปลี่ยนสัณฐาน หรือ เมตามอร์โฟซิส (อ. Metamorphosis) เป็นกระบวนการในการเจริญเติบโตของสัตว์รูปแบบหนึ่ง ที่เกิดหลังจากการคลอดหรือฟักออกจากไข่ โดยเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือรูปแบบร่างกายที่ก้าวกระโดดและเด่นชัด ซึ่งเป็นผลจากการเจริญเติบโตของเซลล์และการเปลี่ยนแปลงจำเพาะของเซลล์ โดยส่วนใหญ่ ในหลายขั้นตอนของการเปลี่ยนสัณฐาน จะเกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนถิ่นที่อยู่และพฤติกรรมไปด้วย การเจริญเติบโตแบบเปลี่ยนสัณฐานเกิดขึ้นในสัตว์บางชนิดในกลุ่ม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์ขาปล้อง (เช่น แมลงบางชนิด และครัสตาเซีย) มอลลัสก์ ไนดาเรีย เอไคโนดอร์มาทา และ เพรียงหัวหอม เป็นคำศัพท์เฉพาะทางในสาขาวิทยาศาสตร์เท่านั้น ความหมายไม่ครอบคลุมถึง การเจริญเติบโตของเซลล์ที่เกิดขึ้นโดยทั่วไป หรือการเร่งการเจริญเติบโต และยังไม่สามารถนำไปอ้างกับการเจริญเติบโตในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมได้อย่างชัดเจนและเป็นเพียงหัวข้อถกเถียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และการเปลี่ยนสัณฐาน · ดูเพิ่มเติม »

กาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์

แสดงต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลังทำใน ปี ค.ศ. 1879 (ของ Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ ได้รับการพรรณนาว่าเป็นต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขาต่าง ๆ มากมายแยกออกจากลำต้นต้นเดียว แม้ว่าข้อมูลที่ใช้สร้างต้นไม้นี้จะล้าสมัยแล้ว แต่ก็ยังแสดงหลักการบางอย่างที่ต้นไม้ที่ทำขึ้นในปัจจุบันอาจจะทำให้เห็นได้ไม่ชัดเจน "พุ่มไม้" ด้านบนขวาสุดเป็นพวกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมรวมทั้งมนุษย์ กาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์ (timeline of human evolution) แสดงเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ในกระบวนการวิวัฒนาการของมนุษย์และของบรรพบุรุษมนุษย์ ซึ่งรวมคำอธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับสัตว์บางประเภท บางสปีชีส์ หรือบางสกุล ซึ่งอาจจะเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ บทความไม่มุ่งจะแสดงกำเนิดของชีวิตซึ่งกล่าวไว้ในบทความกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต แต่มุ่งจะแสดงสายพันธุ์ที่เป็นไปได้สายหนึ่งที่ดำเนินมาเป็นมนุษย์ ข้อมูลของบทความมาจากการศึกษาในบรรพชีวินวิทยา ชีววิทยาพัฒนาการ (developmental biology) สัณฐานวิทยา และจากข้อมูลทางกายวิภาคและพันธุศาสตร์ การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์เป็นส่วนสำคัญของมานุษยวิท.

ใหม่!!: สปีชีส์และกาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

กาลาโกแคระแองโกลา

กาลาโกแคระแองโกลา (Angolan dwarf galago) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับไพรเมต หรือวานรขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกกาลาโกแคระหรือบุชเบบี เป็นสัตว์ที่เพิ่งถูกค้นพบและประกาศให้เป็นชนิดใหม่เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และกาลาโกแคระแองโกลา · ดูเพิ่มเติม »

กาเซลล์

กาเซลล์ (Gazelle) เป็นสัตว์กีบคู่ขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Eudorcas อยู่ในวงศ์ Antilopinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ลักษณะโดยรวมของกาเซลล์ คือ มีความสูงที่ไหล่ราว 70-100 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 20-35 กิโลกรัม มีลักษณะปราดเปรียวว่องไว เวลาเดินหรืออยู่เฉย ๆ หางจะปัดตลอดเวลา ลำตัวสีน้ำตาลแดง มีแถบดำใหญ่พาดขวางลำตัว ท้องสีขาว อาศัยอยู่เป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปแอฟริกาและเอเชีย คำว่า "กาเซลล์" นั้นมาจากภาษาอาหรับคำว่า غزال‎ (ġazāl).

ใหม่!!: สปีชีส์และกาเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

กำยาน

กำยานจากเยเมน กิ่งและดอกของ ''Boswellia sacra'' ที่ผลิตกำยานส่วนใหญ่ กำยาน (Frankincense หรือ olibanum, لبٌان) คือยางหอมที่ได้มาจากไม้สกุล Boswellia โดยเฉพาะ Boswellia sacra ที่ใช้ในการทำเครื่องหอม (incense) และน้ำหอม กำยานได้มาจากต้น Boswellia โดยการขูดเปลือกต้นไม้และปล่อยให้ยางซึมออกมาและแข็งตัว ยางที่แข็งตัวนี้เรียกว่าน้ำตา ไม้พันธุ์นี้มีด้วยกันหลายสปีชีส์แต่ละสปีชีส์ก็ผลิตยางต่างชนิดกัน ขึ้นอยู่กับดินและอากาศคุณภาพของยางก็ต่างกันออกไปแม้แต่ในสปีชีส์เดียวกัน ต้นกำยานถือกันเป็นพันธุ์ไม้ที่แปลกเพราะสามารถเจริญเติบโตได้ในภาวะสิ่งแวดล้อมที่ไม่น่าจะขึ้นได้เช่นบางครั้งก็ดูเหมือนจะงอกออกมาจากหิน ต้นกำยานจะเริ่มออกยางเมื่ออายุราว 8 ถึง 10 ปี การเก็บยางทำกันสองสามครั้งต่อปี ครั้งหลังสุดจะเป็นยางที่มีคุณภาพดีที่สุดเพราะมีอัตราเทอร์พีน, เซสควีเทอร์พีนและไดเทอร์พีนที่สูงขึ้นที่ทำให้หอมแรงขึ้น โดยทั่วไปแล้วยางยิ่งมีสีขุ่นเท่าไหร่ก็จะมีคุณภาพดีขึ้นเท่านั้น กำยานที่มาจากโอมาน กล่าวกันว่าเป็นกำยานที่มีคุณภาพดีที่สุดในโลก แต่กำยานที่มีคุณภาพดีก็มีที่เยเมนและทางฝั่งทะเลตอนเหนือของโซมาเลีย จากการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้พบว่าต้นกำยานลดจำนวนลงเพราะการเก็บผลผลิตกันมากจนเกินควร การเก็บยางมากทำให้เมล็ดที่ออกมาเพาะขึ้นเพียง 16% เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้เก็บยางก็จะเพาะขึ้นกว่า 80%.

ใหม่!!: สปีชีส์และกำยาน · ดูเพิ่มเติม »

กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์

กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ เป็นนักสำรวจ นักกฎหมาย และนักเลี้ยงปลาสวยงามที่มีชื่อเสียงชาวไทย เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2501 จบการศึกษาจากโรงเรียนปานะพันธุ์วิทยา และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เริ่มเข้าสู่แวดวงปลาและสัตว์น้ำจากการเป็นผู้แนะนำให้บ่อตกปลาต่าง ๆ หาปลาชนิดใหม่ ๆ มาลงเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้แก่ผู้ตก อาทิ ปลาตะพัด (Scleropages formosus), ปลากระโห้ (Catlocarpio siamensis) เป็นต้น และเขียนบทความลงนิตยสารตกปลาและเดินป่าฉบับต่างๆ จากนั้นได้ลงพื้นที่สำรวจปลาน้ำจืดและสัตว์น้ำของไทยอย่างจริง ๆ จัง ๆ เมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยเริ่มจากใต้สะพานพระราม 6 นอกจากนี้แล้ว ยังลงพื้นที่สำรวจแหล่งน้ำต่าง ๆ ทั่วประเทศกับทางคณะ เป็นประจำ ราวปีละ 3-4 ครั้ง เช่น ลุ่มแม่น้ำสาละวิน และป่าพรุทางภาคใต้ เป็นต้น กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ ทำงานร่วมกับนักมีนวิทยาหลายคน และได้ค้นพบปลาชนิดใหม่ ๆ ของโลกหลายชนิดที่ได้ถูกตั้งชื่อชนิดเป็นนามสกุลของตัวเอง เช่น ปลากระเบนกิตติพงษ์ (Himantura kittipongi), ปลาค้อถ้ำจารุธาณินทร์ (Schistura jaruthanini) เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ที่ส่งตัวอย่างต้นแบบแรก (Holotype) ของปลากระเบนราหูเจ้าพระยา (H. chaophraya) ปลากระเบนน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกให้แก่ ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่า

กิ้งก่า (Lizard, Iguana, Gecko, Skink; ภาษาไทยถิ่นเหนือ: จั๊กก่า; ภาษาไทยถิ่นอีสาน: กะปอม) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในอันดับย่อย Lacertilia หรือ Sauria ในอันดับใหญ่ Squamata หรือ อันดับกิ้งก่าและงู โดยสัตว์ในอันดับนี้รวมถึงงูที่อยู่ในอันดับย่อย Serpentes ด้วย เหตุที่จัดอยู่ในอันดับเดียวกันเพราะมีลักษณะร่วมบางประการมากถึง 70 อย่าง คำว่า "Lacertilia" มาจากภาษาละตินคำว่า "lacerta" ในความหมายเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วกิ้งก่ามี 4 ขา มีเกล็ดปกคลุมลำตัว แต่บางสกุลหรือบางชนิดก็ไม่มีขาหรือมีแต่ก็เล็กมากจนสังเกตได้ยาก เช่น จิ้งเหลนด้วง ในวงศ์จิ้งเหลน (Scincidae) หรือในวงศ์ Amphisbaenidae กิ้งก่าโดยมากแล้วเป็นสัตว์กินเนื้อ โดยจะกินแมลงและสัตว์ขาปล้องเป็นหลัก แต่สำหรับในวงศ์ที่มีขนาดใหญ่ เช่น วงศ์เหี้ย (Varanidae) จะกินสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย แต่ขณะที่บางชนิด เช่น อีกัวน่าเขียว (Iguana iguana) ที่พบในอเมริกากลางและทวีปอเมริกาใต้ กินพืชและผักเป็นอาหารหลัก กิ้งก่าพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกมุมโลก ยกเว้นในบริเวณอาร์กติก แถบขั้วโลกเหนือและทวีปแอนตาร์กติกา แถบขั้วโลกใต้ มีขนาดแตกต่างกันมากตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตร จนถึงเกือบ 3 เมตร ในมังกรโคโมโด (Varanus komodoensis) ที่หนักได้ถึงเกือบ 100 กิโลกรัม ซึ่งนับเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในอันดับย่อยนี้ ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานไว้แล้วกว่า 19 วงศ์ ประมาณ 555 สกุล รวมทั้งหมดราว 4,184 ชนิด ซึ่งจำนวนนี้ไม่แน่นอน เพราะมีการสำรวจค้นพบชนิดใหม่ ๆ ขึ้นทุกปี โดยวงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุด คือ Scincidae ที่มีประมาณ 1,000 ชนิด รองลงไป คือ Gekkonidae หรือ ตุ๊กแกกับจิ้งจก มีประมาณ 900 ชนิด ส่วนในวงศ์ Agamidae ก็มีประมาณเกือบ 500 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่า · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบาซิลิสก์

ำหรับสัตว์ประหลาดในเทพปกรณัมกรีก ดูที่: บาซิลิสก์ สำหรับจักรพรรดิโรมัน ดูที่: บาซิลิสคัส กิ้งก่าบาซิลิสก์ หรือ กิ้งก่าพระเยซู (Basilisk lizard, Jesus lizard) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่าสกุลหนึ่ง อยู่ในสกุล Basiliscus อยู่ในวงศ์ Corytophanidae (บางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ย่อย Corytophaninae ในวงศ์ใหญ่ Iguanidaeวีรยุทธ์ เลาหะจินดา, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก. หน้า 375-376. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ธันวาคม พ.ศ. 2552 ISBN 978-616-556-016-0) กิ้งก่าบาซิลิสก์ โดยรวมจะมีเกล็ดสีเขียว, ขาว และดำ มีครีบบนหลังขนาดใหญ่เหมือนปลา สำหรับตัวผู้จะมีหงอนขนาดใหญ่แลดูเด่นด้วย มีความยาวเฉลี่ยประมาณ 70-75 มิลลิเมตร (2.8–3.0 นิ้ว) และมีน้ำหนักประมาณ 80 กรัม (3.2 ออนซ์) และยาวได้เต็มที่ถึง 80 เซนติเมตร กิ้งก่าบาซิลิสก์ จะอาศัยและหากินบนพื้นดินใกล้ริมน้ำ จะขึ้นต้นไม้เพื่อหลบเลี่ยงศัตรู และมีความสามารถพิเศษคือ มีความว่องไวมากจนสามารถวิ่งได้บนผิวน้ำ โดยใช้ขาคู่หลัง โดยจังหวะเปลี่ยนก้าวของกิ้งก่าบาซิลิสก์ใช้เวลาเพียงแค่ 0.052 วินาที ซึ่งการเคลื่อนที่อันรวดเร็วนี้ อุ้งเท้าของกิ้งก่าบาซิลิสก์จะสร้างฟองอากาศลงไปในน้ำด้วย จากการวิเคราะห์จากภาพถ่ายสรุปได้ว่ามีพลังงาน 3 อย่างที่ช่วยพยุงตัวไม่ให้กิ้งก่าบาซิลลิสก์จมน้ำ คือ แรงบาซิลิสก์ ซึ่งเกิดจากเท้ากระทุ้งผิวน้ำทำให้เกิดแรงพยุงตัว แรงต้านทานและแรงลอยตัวจากอากาศที่ช่วยพยุงตัวไว้ไม่ให้จม โดยจะจุ่มเท้าอีกข้างก่อนที่แรงจะหมด คิดคำนวณแล้ว พบว่ากิ้งก่าบาซิลิสก์สามารถเคลื่อนที่บนผิวน้ำได้ถึง 5 ก้าว ภายในเวลาเพียง 0.25 วินาที อันเป็นความเร็วที่แม้แต่กล้องความเร็วสูงก็ไม่อาจจับภาพได้ทัน หากเปรียบเป็นมนุษย์ ที่มีน้ำหนัก 80 กิโลกรัมต้องไปวิ่งบนผิวน้ำด้วยความเร็ว 106 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นอกจากนี้แล้ว กิ้งก่าบาซิลิสก์ยังสามารถดำน้ำและซ่อนตัวในน้ำได้ด้วยชั่วระยะเวลาหนึ่งเพื่อหลบหลีกศัตรู จากความสามารถพิเศษอันนี้ กอรปกับลักษณะของร่างกายที่ดูโดดเด่น ทำให้ได้ชื่อสามัญว่า "กิ้งก่าบาซิลิสก์" เหมือนกับ บาซิลิสก์ สัตว์ประหลาดคล้ายมังกรผสมไก่ตามเทพปกรณัมกรีก และ "กิ้งก่าพระเยซู" ที่เหมือนพระเยซูที่แสดงปาฏิหารย์เดินบนผิวน้ำได้ตามพระคัมภีร์ไบเบิล ในบทแมทธิวที่ 14:22-34 กิ้งก่าบาซิลิสก์ กระจายพันธุ์ตามป่าร้อนชื้นของภูมิภาคอเมริกากลาง เป็นกิ้งก่าที่ไม่ดูแลไข่และตัวอ่อน ซึ่งกิ้งก่าบาซิลิสก์วัยอ่อนก็สามารถวิ่งบนผิวน้ำได้แล้ว จำแนกออกได้เป็น 4 ชนิด (บางข้อมูลให้มี 2 ชนิด) ได้แก่ ภาพกิ้งก่าบาซิลิสก์วิ่งบนผิวน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่าบาซิลิสก์ · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบิน

ำหรับ Draco ที่หมายถึงกลุ่มดาว ดูที่: กลุ่มดาวมังกร กิ้งก่าบิน (Flying dragon, Flying lizard) หรือ กะปอมปีก ในภาษาอีสานและลาว เป็นสกุลของกิ้งก่าในวงศ์ Agaminae ในวงศ์ใหญ่ Agamidae ใช้ชื่อสกุลว่า Draco กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีประสิทธิภาพในการร่อนมากที่สุด ด้วยมีแผ่นหนังขนาดใหญ่อยู่ทางด้านข้างลำตัวและได้รับการค้ำจุนด้วยกระดูกซี่โครง 5-7 ซี่ โดยมีกล้ามเนื้ออิลิโอคอสทาลิสทำหน้าที่ดึงกระดูกซี่โครง 2 ซี่แรกไปทางด้านหน้า แต่กระดูกซี่โครงชิ้นอื่นได้เชื่อมต่อกับกระดูกซี่โครงสองซี่แรกด้วยเส้นเอ็น สามารถทำให้แผ่นหนังทั้งหมดกางออกได้ เมื่อเริ่มร่อน ตัวของกิ้งก่าในระยะแรกจะทำมุม 80° ช่วงนี้กิ้งก่าจะยกหางขึ้น ต่อมาจึงลดหางลงและแผ่กางแผ่นหนังด้านข้างลำตัวและทำมุมที่ลงสู่พื้นเหลือ 15° เมื่อลงสู่พื้นหรือเกาะบนต้นไม้ จะยกหางขึ้นอีกครั้งและหมุนตัว กิ้งก่าบินที่ทิ้งตัวจากต้นไม้สูง 10 เมตร สามารถร่อนได้เป็นระยะทางไกลกว่า 60 เมตร และลงเกาะบนต้นไม้หรือพื้นที่ที่อยู่ต่ำลงได้จากเดิมได้ 2 เมตร กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นกิ้งก่าขนาดเล็ก มีความยาวลำตัวส่วนมากไม่เกิน 20 เซนติเมตร แต่หางจะมีความยาวมากกว่าลำตัว พบกระจายพันธุ์ในป่าของเอเชียใต้ และเอเชียอาคเนย์ เช่น ภาคอีสานในประเทศไทย และพบได้ชุกชุมในป่าดิบของแหลมมลายู มีทั้งหมด 31 ชนิด พบได้ในประเทศไทยหลายชนิด อาทิ กิ้งก่าบินปีกส้ม (D. maculatus), กิ้งก่าบินคอแดง (D. blanfordii), กิ้งก่าบินสีฟ้า (D. volans) โดยคำว่า Draco นั้น มาจากคำว่า "มังกร" ในภาษาละติน ผู้ที่อนุกรมวิธาน คือ คาโรลัส ลินเนี.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่าบิน · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบินปีกจุด

กิ้งก่าบินปีกจุด หรือ กิ้งก่าบินปีกส้ม (Spotted flying dragon, Orange-winged flying lizard) เป็นกิ้งก่าบินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Draco maculatus อยู่ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เป็นกิ้งก่าบินขนาดเล็ก ใต้คางมีเหนียงคู่หนึ่งรูปร่างกลมมน ซึ่งกึ่งกลางเหนียงตรงนี้สามารถยกขึ้นลงได้ ในตัวผู้จะมีขนาดโตเห็นชัดเจน ข้างลำตัวระหว่างขาคู่หน้าและขู่หลัง มีแผ่นหนังขนาดใหญ่ที่ใช้ในการร่อน ลำตัวมีสีน้ำตาลแดง มีลายประสีเหมือนลายไม้ จึงสามารถพรางได้เป็นอย่างดีบนต้นไม้ แผ่นหนังด้านข้างนี้ออกสีส้ม มีลายพาดตามยาวสีจาง ใต้ท้องมีสีน้ำตาลอ่อนกว่า ใต้แผ่นหนังข้างลำตัวจะมีจุดสีดำ 2-3 จุด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวจากหัวจรดโคนหาง 60-65 มิลลิเมตร ส่วนหางมีความยาวกว่าคือ 93-110 มิลลิเมตร พบแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัมของอินเดีย จนถึงเกาะไหหลำในจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตอนเหนือของมาเลเซีย พบได้ในป่าหลากหลายประเภท รวมถึงบ้านเรือนของมนุษย์ที่ปลูกใกล้ชายป่าด้วย หากินในเวลากลางวันจนถึงพลบค่ำ โดยมากจะหากินและอยู่ตามลำพังตัวเดียว ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่โดยตัวเมียวางไข่ไว้ในหลุมดินที่ขุดไว้ ในที่ ๆ มีแสงแดดส่องถึง ครั้งละ 3-5 ฟอง วางไข่ในฤดูฝน จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่าบินปีกจุด · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่ามอนิเตอร์

กิ้งก่ามอนิเตอร์ (Monitor lizard) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับกิ้งก่าและงู (Squamata) สกุลหนึ่ง ในวงศ์เหี้ย (Varanidae) ในวงศ์ย่อย Varaninae โดยใช้ชื่อสกุลว่า Varanus (/วา-รา-นัส/) ซึ่งคำ ๆ นี้มีที่มาจากภาษาอาหรับคำว่า "วารัล" (ورل) ซึ่งแปลงเป็นภาษาอังกฤษได้หมายถึง "เหี้ย" หรือ "ตะกวด" จัดเป็นเพียงสกุลเดียวในวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสกุลอื่น ๆ ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยกำเนิดมาตั้งแต่ยุคครีเตเชียสมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสัตว์เลื้อยคลานยุคก่อนประวัติศาสตร์ขนาดใหญ่อย่างโมซาซอร์และงู มีลักษณะโดยรวมคือ กระดูกพอเทอรีกอยด์ไม่มีฟัน มีกระดูกอยู่ในถุงอัณฑะ และมีตาที่สาม มีขนาดความยาวแตกต่างหลากหลายกันไป ตั้งแต่มีความยาวเพียง 12 เซนติเมตร คือ ตะกวดหางสั้น (V. brevicauda) ที่พบในพื้นที่ทะเลทรายของประเทศออสเตรเลีย และใหญ่ที่สุด คือ มังกรโคโมโด (V. komodoensis) ที่พบได้เฉพาะหมู่เกาะโคโมโด ในประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น ที่มีความยาวได้ถึง 3.1 เมตร และจัดเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดของวงศ์นี้และอันดับกิ้งก่าและงู โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เมกะลาเนีย (V. priscus) ที่มีความยาวถึง 6 เมตร แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว ปัจจุบันพบได้เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่ออสเตรเลีย มีส่วนหัวเรียวยาว คอยาว ลำตัวยาวและหางเรียวยาว ส่วนใหญ่อาศัยบนพื้นดิน แต่มีบางชนิดมีพฤติกรรมที่อาศัยอยู่บนต้นไม้มากกว่า หลายชนิดดำรงชีวิตแบบสะเทินน้ำสะเทินบกและมีหางแบนข้างมากสำหรับใช้ในการว่ายน้ำ ส่วนมากเป็นสัตว์หากินในเวลากลางวัน เป็นสัตว์กินเนื้อที่ล่าเหยื่อด้วยฟันที่ยาวโค้งแหลมคมและมีขากรรไกรแข็งแรง กินอาหารได้หลากหลายทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและสัตว์มีกระดูกสันหลัง รวมถึงซากสัตว์ด้วย โดยในทางชีววิทยาจัดเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญเนื่องเป็นผู้สิ่งปฏิกูล กำจัดซากสิ่งแวดล้อม ทุกชนิดสืบพันธุ์ด้วยการวางไข่ พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ทั้งซับสะฮารา, จีน, เอเชีย และคาบสมุทรอินโดออสเตรเลียนไปจนถึงออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่ามอนิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าหนาม

ำหรับกิ้งก่าหนามชนิดที่พบในทะเลทรายของออสเตรเลีย ดูที่: กิ้งก่าปีศาจหนาม กิ้งก่าหนาม (Horned lizards) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่าจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Phrynosoma ในวงศ์กิ้งก่าหนามอเมริกาเหนือ (Phrynosomatidae) (บางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์อีกัวนา (Iguanidae) โดยถือเป็นวงศ์ย่อยออกมา) มีรูปร่างตัวอ้วนป้อม ลำตัวสั้น หางสั้น แลดูคล้ายกบหรือคางคก มีลักษณะเด่น คือ มีหนามสั้น ๆ อยู่รอบลำตัวและส่วนหัว ซึ่งพัฒนามาจากเกล็ด ในส่วนที่เป็นเขาจริง ๆ เป็นกระดูกแข็งมีอยู่ส่วนหัว กระจายพันธุ์อยู่ในพื้นที่แห้งแล้งที่เป็นทะเลทรายทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกาต่อกับภาคเหนือของเม็กซิโก เช่น เท็กซัส และนิวเม็กซิโก มีพฤติกรรมที่อยู่เฉย ๆ นิ่ง ๆ กับพื้น เมื่อเคลื่อนที่ก็ช้ากว่ากิ้งก่าทั่วไป หากินแมลงเล็ก ๆ เช่น มด ด้วยการนิ่งอยู่เฉย ๆ แล้วตวัดกินเอา กิ้งก่าหนามมีวิธีการป้องกันตัวที่นับได้ว่าหลากหลายและแปลกประหลาดมากอย่างหนึ่ง ในอาณาจักรสัตว์โลกทั้งหมด เมื่อถูกคุกคาม สามารถที่จะพองตัวขึ้นมาเพื่อให้หนามเล็ก ๆ บนตัวทิ่มแทงผู้รุกรานได้ รวมถึงการเปลี่ยนสีเพื่อพรางตัวกลมกลืนไปกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นพื้นกรวดทรายหรือพุ่มไม้เตี้ย ๆ ได้อย่างดีเยี่ยมและรวดเร็ว อีกทั้งยังมีเส้นขีดสีขาว 2 เส้น บนหลังที่ดูคล้ายกับกิ่งไม้หรือหญ้าแห้ง ๆ อีกด้วย และการป้องกันตัวที่พิเศษที่สุด คือ การสามารถพ่นเลือดออกจากตาเพื่อไล่ผู้รุกรานให้หนีไปได้ด้วย ในเลือดนั้นมีสารเคมีบางอย่างที่ยังไม่มีการศึกษาไปถึงว่าเป็นอะไร แต่เป็นสารเคมีที่มีกลิ่นฉุน มีรสชาติที่ไม่พิศมัย สร้างความรำคาญแก่สัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่ เช่น หมาจิ้งจอก, หมาโคโยตี้ ที่จับกินเป็นอาหาร ที่เมื่อโดนเลือดนี้พ่นเข้าใส่ จะปล่อยตัวกิ้งก่าทันที และเอาหัวถูไถไปกับวัสดุต่าง ๆ เพื่อลบกลิ่นและเลือดให้ออก กิ้งก่าหนามพ่นเลือดได้จากการบีบของกล้ามเนื้อในเปลือกตาให้พ่นออกมาเข้าปากของผู้ที่มารุกราน ซึ่งกิ้งก่าหนามจะใช้วิธีนี้ต่อเมื่อถูกคาบอยู่ในปากหรืออยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ปากแล้วเท่านั้น โดยเลือดที่ถูกบีบพุ่งออกมานั้น เกิดจากเส้นเลือดดำที่ปิดตัวเอง ทำให้เกิดความดันขึ้นในโพรงกะโหลก จนตาทั้ง 2 ข้างพองออก เลือดแดงจะรวมตัวกันเป็นจำนวนมากในเส้นเลือดฝอยจนมากพอในปริมาณที่จะปล่อยพุ่งออกมาได้ จากการศึกษาพบว่าสามารถพ่นได้มากถึง 54 ครั้ง ภายในเวลาไม่ถึง 2 นาที แม้จะดูว่าเสียเลือดไปเป็นจำนวนมาก แต่กิ้งก่าหนามจะไม่เป็นอะไรเลย และร่างกายสามารถผลิตเลือดใหม่ขึ้นทดแทนได้ในเวลาไม่นานBLOOD SQUIRTING LIZARD, "Nick Baker's Weird Creatures" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่าหนาม · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าจระเข้

ระวังสับสนกับ จิ้งเหลนจระเข้ กิ้งก่าจระเข้(Chinese crocodile lizard; 中国鳄蜥; พินอิน: zhōngguó è xī) สัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Shinisaurus crocodilurus จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Shinisauridae และสกุล Shinisaurus (บางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ Xenosauridae ที่พบในเม็กซิโกและกัวเตมาลา) เป็นกิ้งก่าที่มีรูปร่างลักษณะรวมถึงเกล็ดคล้ายคลึงกับจระเข้ มีเกล็ดเป็นตุ่มนูนไปจนถึงหาง ตัวผู้ตามบริเวณข้างลำตัวและใต้ท้องจะมีสีแดงปรากฏขึ้นมากกว่าตัวเมีย ในขณะที่ตัวเมียจะมีสีขึ้นประปราย มีความเต็มที่จรดปลายหาง 40-46 เซนติเมตร จะพบได้เฉพาะในป่าดิบที่มีอุณหภูมิต่ำ ตั้งแต่ -2 องศาเซลเซียส จนถึง 35 องศาเซลเซียส ในช่วงฤดูร้อน เฉพาะเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง, หูหนาน, กุ้ยโจว ในประเทศจีนเท่านั้น โดยอาศัยในแหล่งน้ำในป่า โดยปรกติจะอยู่นิ่ง ๆ ในน้ำ แต่ก็สามารถปีนขึ้นมาอาบแดดได้บนต้นไม้ที่มีความสูงประมาณ 1 เมตร กินอาหารจำพวก ปลา, ลูกอ๊อด, หนอน และตัวอ่อนของแมลงปอ รวมถึงสัตว์บก เช่น หนูขนาดเล็กได้ ออกหากินในเวลากลางวัน หน้า 395, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0 สามารถที่จะผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี แต่โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นช่วงฤดูหนาวจนถึงต้นฤดูฝนของอีกปี โดยตัวผู้หลายตัวจะต่อสู้กันเพื่อแย่งชิงตัวเมีย ตั้งท้องนานถึง 8-12 เดือน ออกลูกเป็นตัวครั้งละ 5-20 ตัว เป็นสัตว์ที่ถือเป็นสัตว์เฉพาะถิ่น และอยู่ในสถานะใกล้สูญพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่าจระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าแผงคอ

กิ้งก่าแผงคอ (Frill-necked lizard, Frilled lizard, Frilled dragon) สัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chlamydosaurus kingii เป็นกิ้งก่าเพียงชนิดเดียวในสกุล Chlamydosaurus.

ใหม่!!: สปีชีส์และกิ้งก่าแผงคอ · ดูเพิ่มเติม »

กุย

กุย หรือ ไซกา (Saiga antelope, Saiga; 高鼻羚羊; เกาปี่ หลิงหยาง) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Antilopinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae จัดเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับแอนทีโลป จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Saiga กุย มีความสูงประมาณ 0.6–0.8 เมตร โดยวัดจากไหล่ มีความยาวลำตัว 108–146 เซนติเมตร หางยาว 6–13 เซนติเมตร น้ำหนัก 36–63 กิโลกรัม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียและมีเขาซึ่งยาว 20–25 เซนติเมตร กุยมีลักษณะเด่นที่สังเกตได้ง่าย คือ จมูกที่มีขนาดใหญ่และยืดหยุ่นได้ มีรูปร่างแปลกเหมือนจมูกของสมเสร็จซึ่งมีหน้าที่ในการอุ่นอากาศหายใจในฤดูหนาวและกรองฝุ่นออกในฤดูร้อน ในฤดูร้อน ขนของกุยจะบางและมีสีเหลืองเหมือนสีอบเชย มีความยาว 18–30 มิลลิเมตร ส่วนในฤดูหนาวจะเปลี่ยนสีเป็นสีขาว ความยาว 40–70 มิลลิเมตร พบกระจายพันธุ์ในเอเชียกลาง ได้แก่ ไซบีเรียตอนใต้, มองโกเลียตะวันตก และจีนตะวันตกเฉียงเหนือ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) กุยเป็นสัตว์ที่ตื่นตัวตลอดเวลา กินพืชได้หลายชนิดรวมทั้งพืชที่มีพิษ ว่ายน้ำเก่ง และยังสามารถวิ่งได้ 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในวันหนึ่งสามารถเดินทางได้ไกล 80–100 กิโลเมตร จะอพยพทุก ๆ ปีในช่วงฤดูใบไม้ผลิขึ้นเหนือเพื่อไปพื้นที่เล็มหญ้าในช่วงฤดูร้อน ลักษณะจมูก มีอายุขัยประมาณ 6–10 ปี ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 8 เดือนและตัวผู้เมื่ออายุ 20 เดือน ฤดูผสมพันธุ์ของกุยนั้นเริ่มในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งพวกตัวผู้นั้นจะต่อสู้กันจนตาย เพื่อครอบครองเหล่าตัวเมียที่อยู่ในกลุ่มประมาณ 5–50 ตัว หลังจากหมดฤดูผสมพันธุ์ในปลายเดือนเมษายน กุยตัวผู้ที่เหลือรอดนั้นจะมาร่วมกลุ่มกัน 10–2,000 ตัวเพื่อการอพยพในช่วงฤดูใบไม้ผลิขึ้นเหนือ ส่วนตัวเมียนั้นจะอยู่ที่เดิมและพากันไปหาที่ให้กำเนิดลูก โดยมีระยะเวลาตั้งท้องนาน 140 วัน และในฤดูใบไม้ผลิประมาณปลายเดือนมีนาคม–ต้นเดือนเมษายน จะคลอดลูกครั้งละ 1–2 ตัว ลูกที่เกิดใหม่เริ่มกินใบไม้ได้เมื่ออายุ 4 วัน และจะหย่านมเมื่ออายุได้ 3–4 เดือน กุยในอดีตถูกล่าเอาเขา ซึ่งเชื่อว่าปรุงเป็นยาจีนได้ และมีราคาซื้อขายที่แพงมากเหมือนนอแรด ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และกุย · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบพันปี

กุหลาบพันปี (Azalea) เป็นชื่อสกุลของไม้ดอกในสกุล Rhododendron ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) มีมากกว่า 1,000 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุหลาบพันปี · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบญี่ปุ่น

กุหลาบญี่ปุ่น เป็นสปีชีส์หนึ่งของตระกูลกุหลาบ มีถิ่นกำเนิดบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปเอเชีย ในพื้นที่ของประเทศจีน, เกาหลี และ ญี่ปุ่น ถือเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดฮกไกโด โดยมักจะเติบโตอยู่ตามชายฝั่งหรือเนินทราย แต่ทั้งนี้ก็ไม่ควรจะสับสนกับ Rosa multiflora ซึ่งเป็นดอกกุหลาบที่มีอีกฉายาว่า "กุหลาบญี่ปุ่น".

ใหม่!!: สปีชีส์และกุหลาบญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบลอเรนเซีย

กุหลาบลอเรนเซีย หรือ ช้างลอเรนเซีย เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุลกุหลาบ เป็นกล้วยไม้ที่มีถิ่นกำเนิดที่ทิศตะวันออกของเกาะมินดาเนา ในหมู่เกาะฟิลิปปิน มีถิ่นที่อยู่เดียวกับแวนด้า แซนเดอเรียน่า (Euanthe sanderiana) โดยที่ โรเบลิน เป็นผู้สำรวจพบกล้วยไม้กุหลาบชนิดนี้ ได้ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ เลดี้ลอเรนซ์ ภรรยาของนายกสมาคมพืชกรรมแห่งประเทศอังกฤษ ลักษณะของกุหลาบลอเรนเซีย มีความคล้ายคลึงกันกับกุหลาบกระเป๋าปิด (A. odoratum) ซึ่งเป็นกล้วยไม้สกุลเดียวกันที่พบทางภาคใต้ของประเทศไทยมาก แต่มีความแตกต่าง คือ ต้นและใบใหญ่กว่าเล็กน้อย ดอกมีขนาดใหญ่กว่าอย่างสังเกตได้ชัดเจน เดือยดอกของกุหลาบลอเรนเซียค่อนข้างเหยียดลง ไม่โค้งงอมา ปลายแผ่นปากมีริมซึ่งมีลักษณะเป็นฟันเล็กละเอียดเห็นได้ชัด นอกจากนั้นยังมีกลีบยาวอีกด้วย ถุงที่โคนเดือยดอกของกุหลาบลอเรนเซียนั้นใหญ่ของกุหลาบกระเป๋าปิดเกือบเท่าตัว นอกจากนั้นกุหลาบกระเป๋าปิดยังมีกลิ่นแรงกว่าอย่างสังเกตได้ชัดเจน อีกทั้งการออกดอก กุหลาบลอเรนเซียก็ยังมีการออกดอกที่ล่าช้ากว่าถึง 3 เดือน โดยจะออกดอกในช่วงกลางปี ราวเดือนสิงหาคม-กันยายน สำหรับในประเทศไทยแล้ว กุหลาบลอเรนเซียมีการนำเข้ามาปลูกกันเป็นเวลานานกว่า 30 ปีมาแล้ว โดยผสมข้ามสกุลกับกล้วยไม้สกุลแวนด้า หรือสกุลช้าง จนเกิดเป็นความหลากหลายทางสายพันธุ์ต่าง ๆ อาทิ A. l. var.amesiana ซึ่งมีช่อดอกยาวและดอกมีสีเหลืองส้ม ปลายกลีบมีแต้มสีม่วง และ A. l. var.sanderana มีช่อดอกยาวถึง 50 เซนติเมตร ปากมีสีอมเหลือง ส่วนกลีบมีสีขาวครีม และมีแต้มสีม่วงแดงที่ปลายกลีบทุกกลีบ สำหรับสถานภาพในธรรมชาติของกุหลาบลอเรนเซียในปัจจุบันนั้น ใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากถิ่นที่อยู่ซึ่งเป็นป่าดิบชื้นนั้นถูกคุกคาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุหลาบลอเรนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งการ์ตูน

กุ้งการ์ตูน หรือ กุ้งตัวตลก (Harlequin shrimp, Painted shrimp, Clown shrimp, Dancing shrimp) เป็นกุ้งทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีลวดลายและสีสันสวยงาม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hymenocera picta จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Hymenocera (ในกรณีนี้ในหลายข้อมูลมีการแบ่งออกเป็น 2 ชนิด โดยอีกชนิดหนึ่งนั้นคือ H. elegans ซึ่งจำแนกจากสีสันและแหล่งที่อยู่อาศัย แต่ทว่าก็มีความเป็นไปได้ว่าเป็นชนิดเดียวกัน ซึ่งความแตกต่างของสีสันเกิดจากสีของกุ้งที่เปลี่ยนไป) มีลักษณะลำตัวมีเปลือกแข็งสีขาว แต้มด้วยลายจุดสีฟ้า สีน้ำตาลตัวผู้มีเปลือกสีขาวค่อนไปทางเหลือง แต่ไม่มีจุดสีน้ำเงิน ส่วนตัวเมียจะมีสีจุดน้ำเงินชัดเจน มีขนาดลำตัวยาวเต็มที่ประมาณ 10-15 เซนติเมตร กินอาหารจำพวก ดาวทะเล, ปลิงทะเล และเม่นทะเล ในบางครั้งจะช่วยกันยกดาวทะเลไปไว้ในที่อาศัยเพื่อที่จะเก็บไว้กินได้ในหลายวัน พบอาศัยอยู่ตามแนวปะการังหรือโพรงหินตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทะเลแดง, อินโด-แปซิฟิก, ตอนเหนือของออสเตรเลีย จนถึงหมู่เกาะกาลาปากอส ในน่านน้ำไทยจะพบมากบริเวณหมู่เกาะพีพี ในเขตทะเลอันดามัน กุ้งการ์ตูนวัยเจริญพันธุ์สามารถผสมพันธุ์และมีลูกกุ้งได้ คือวัย 7 เดือน ถึง 1 ปี ขึ้นไป โดยสามารถให้ลูกได้ตั้งแต่ 700-2,000 ตัว บางครั้งอาจให้ลูกถึง 3,000 ตัว ขึ้นอยู่กับช่วงวัย หากเป็นกุ้งที่มีอายุมาก จำนวนลูกก็จะยิ่งมาก ในลูกกุ้งวัยอ่อนจะกินแพลงก์ตอนทั้งแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ด้วยความที่มีขนาดเล็ก และสวยงาม จึงทำให้นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามในตู้กระจก ซึ่งในปัจจุบัน กุ้งการ์ตูนสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุ้งการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งก้ามกราม

กุ้งก้ามกราม หรือ กุ้งก้ามคราม กุ้งน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Palaemonidae มีเปลือกสีเขียวอมฟ้าหรือม่วง ก้ามยาวมีสีครามหรือม่วงเข้ม ตลอดทั้งก้ามมีปุ่มตะปุ่มตะป่ำ โดยธรรมชาติจะอยู่ในแม่น้ำลำคลอง แทบทุกจังหวัดในภาคกลางและภาคใต้ของประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ในทุกประเทศของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก จนถึงตอนเหนือของออสเตรเลียและฟิลิปปินส์ โดยพบทั้งในน้ำจืดและน้ำกร่อย วางไข่ในน้ำกร่อยที่เค็มจัด อาหารได้แก่ ไส้เดือน, ตัวอ่อนของลูกน้ำ, ลูกไร, ลูกปลาขนาดเล็ก, ซากของสัตว์ต่าง ๆ และในบางโอกาสก็กินพวกเดียวกันเอง พบชุกชุมทำให้จับง่าย โดยเฉพาะในฤดูหนาว ด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ทำให้ปริมาณในธรรมชาติลดน้อยลง ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายในจังหวัดต่าง ๆ แถบภาคกลางของไทย เช่น สุพรรณบุรี, นครปฐม, ฉะเชิงเทรา และต่างประเทศด้วย เช่น ที่สหรัฐอเมริกา เป็นต้น โดยที่กุ้งก้ามกรามชนิดที่พบในประเทศไทย ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า M. dacqueti ส่วนชนิดที่ใช้ชื่อว่า M. rosenbergii เป็นชนิดที่พบในภูมิภาคปาปัวนิวกินี แต่ปัจจุบันถือว่าเป็นชนิดเดียวกันหรือเป็นชื่อพ้อง กุ้งก้ามกรามมีความยาวประมาณ 13 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 ฟุต น้ำหนักราว 1 กิโลกรัม เป็นกุ้งที่ถูกใช้ปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ, เผา หรือทอด เป็นต้น เพราะเนื้อมีมาก เนื้อแน่น มัน อร่อย ทำให้มีราคาที่ขายสูง ปัจจุบันยังนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงามด้วย กุ้งก้ามกรามมีชื่อเรียกที่ต่างออกไปมากมาย เช่น "กุ้งแม่น้ำ", "กุ้งหลวง" ขณะที่กุ้งตัวเมียที่มีขนาดลำตัวเล็กกว่า เรียก "กุ้งนาง" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุ้งก้ามกราม · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งมังกร

วนหางของกุ้งมังกรแช่น้ำแข็ง พร้อมบริโภค ระวังสับสนกับ: ล็อบสเตอร์ สำหรับกุ้งมังกรที่พบในน้ำจืด ดูที่: เครย์ฟิช กุ้งมังกร หรือ กุ้งหัวโขน หรือ กุ้งหนามใหญ่ เป็นครัสเตเชียนทะเลจำพวกหนึ่ง เป็นกุ้งที่อยู่ในวงศ์ Palinuridae.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุ้งมังกร · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งมดแดง

กุ้งมดแดง (Dancing shrimp, Hinge-beak shrimp, Camel shrimp) เป็นกุ้งขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์กุ้งมดแดง (Rhynchocinetidae) เป็นกุ้งขนาดเล็กที่มีสีสันสวยงาม โดยมีสีแดงสลับสีขาวเป็นตารางทั้งลำตัว หลังมีสันนูนไม่โค้งมน ส่วนหัวและอกรวมมีปล้องหนึ่งคู่ สันกรีสูงและปลายคม ส่วนของกรีมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมมีสีแดงอยู่ด้านล่าง ด้านบนเป็นสีขาวมีหนวดสองคู่ หนวดคู่แรกมีขนาดเล็กอยู่บนสันกรี หนวดคู่ที่สองมีความยาวประมาณสองเท่าของลำตัว ส่วนระยางค์อก แม็กซิลลิเพด เปลี่ยนเป็นลักษณะแหลมยาวเรียว ขาเดินมีสีขาวสลับแดงห้าคู่ ขาเดินคู่แรกเปลี่ยนไปเป็นก้ามเพื่อใช้สำหรับหยิบจับอาหาร ลำตัวมีขาสำหับว่ายน้ำห้าคู่ มีทั้งหมดหกปล้อง หางมีหนึ่งปล้อง ปลายหางเรียว แพนหางมีสี่ใบ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1.4 นิ้ว เป็นกุ้งที่พบได้ง่ายในแนวปะการังของเขตร้อนทั่วโลก พฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง หลบซ่อนอยู่ตามโพรงหินหรือปะการัง หากินในเวลากลางคืน โดยกินแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ สัตว์น้ำขนาดเล็ก รวมถึงตัวอ่อนของปะการังบางชนิดเป็นอาหาร และซากพืชซากสัตว์ต่าง ๆ ด้วย กุ้งมดแดงหากตกใจ สีจะซีดลง ตัวผู้เมื่อโตเต็มวัยจะมีลักษณะลำตัวที่ผอมเพรียวกว่าตัวเมีย หัวเชิดขึ้นเล็กน้อย โคนหางและระยางค์ที่หางเล็กกว่า ขณะที่ตัวเมียจะมีลำตัวที่อวบกว่าเพื่อใช้ในการเก็บไข่บริเวณท้อง จัดเป็นกุ้งชนิดหนึ่งที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของคุณน้ำเป็นอย่างมาก เพื่อแหล่งน้ำที่อยู่อาศัยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลง กุ้งจะย้ายที่อยู่หรือปรับตัวให้เข้ากับสภาพที่เปลี่ยนไป ซึ่งหากปรับตัวไม่สำเร็จก็จะตาย กุ้งมดแดง ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วโดยหน่วยงานของกรมประมง และด้วยความที่เป็นกุ้งที่มีสีสันสวยงาม มีขนาดเล็ก เลี้ยงง่าย จึงเป็นที่นิยมเลี้ยงกันในตู้ปลา โดยเฉพาะตู้ที่มีการเลี้ยงปะการัง.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุ้งมดแดง · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งยับบี้น้ำจืด

กุ้งยับบี้น้ำจืด (Yabby, Maroon) เป็นสกุลของกุ้งน้ำจืดจำพวกเครย์ฟิชสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Cherax ในวงศ์เครย์ฟิชออสเตรเลีย (Parastacidae) กระจายพันธุ์ในประเทศออสเตรเลีย และบางส่วนในปาปัวนิวกินี มีรูปร่างโดยรวม คือ ตัวผู้มีก้ามขนาดใหญ่ แต่เรียวยาวไม่ใหญ่โตเหมือนเครย์ฟิชในวงศ์ Astacoidea และไม่มีหนามที่ก้าม ใต้ท้องตัวผู้จะมีอวัยวะเป็นรูปวงรีบริเวณโคนขาคู่ที่ 3 ซึ่งตัวเมียไม่มีและในวงศ์ Astacoidea ไม่มี ซึ่งอวัยวะส่วนนี้จะใช้สำหรับการผสมพันธุ์ และถ่ายสเปิร์มไปยังตัวเมีย โดยใช้เวลาผสมพันธุ์เพียงแค่ 1-2 นาทีเท่านั้น ตัวเมียวางไข่ได้ครั้งละ 300 ฟอง อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำต่าง ๆ ทั้ง คลอง, ลำธาร, แม่น้ำตลอดจนทะเลสาบ มีสีสันแตกต่างหลากหลายกันไป บางชนิดสามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ในช่วงฤดูแล้ง ด้วยการฝังตัวเองลงใต้โคลน เพื่อจนฝนตกลงมาอีกครั้งจึงค่อยโผล่ออกมา เป็นกุ้งที่ใช้ในการบริโภค มีการเพาะขยายพันธุ์ในฟาร์มของเอกชนอย่างกว้างขวาง และมีการเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามแบบปลาสวยงามด้วย ซึ่งในบางชนิดก็มีการหลุดรอดออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นCrayfish คืออะไร???? หน้า 82-90 โดย นณณ์ ผาณิตวงศ์ นิตยสาร AQUA ฉบับเดือนกันยายน..

ใหม่!!: สปีชีส์และกุ้งยับบี้น้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งดีดขัน

กุ้งดีดขัน หรือ กุ้งกระเตาะ (Snapping shrimps) เป็นครัสเตเชียนจำพวกหนึ่งในวงศ์ Alpheidae จัดเป็นกุ้งขนาดเล็ก ลำตัวใส ส่วนหัวมีขนาดใหญ่เรียวเล็กลงไปถึงหาง นัยน์ตาเล็กและมีหนวดยาว มีก้ามใหญ่โต โดยเฉพาะข้างหนึ่งจะใหญ่กว่าอีกข้างหนึ่ง มีความสามารถงับก้ามทำให้เกิดเสียงดัง "แป๋ง ๆ " โดยเฉพาะเมื่อกระทบขันน้ำโลหะเสียงจะดังยิ่งขึ้น จึงได้ชื่อว่า "กุ้งดีดขัน" ซึ่งการที่ทำแบบนี้ได้ก็เพื่อทำให้ศัตรูตกใจ จากนั้นจะใช้ก้ามอีกข้างหนึ่งที่เล็กกว่าบีบน้ำใส่หน้าของศัตรูแล้วหนีไป มีพฤติกรรมชอบหลบซ่อนอยู่ตามซอกวัสดุต่าง ๆ ริมฝั่งทั้งในน้ำเค็มและน้ำกร่อย และในน้ำจืดบางชนิด ซึ่งบางครั้งพบได้ในท้องร่องสวนบางที่ หรือตามลำห้วยที่ไหลมาจากน้ำตกได้อีกด้วย แรงดันของน้ำที่เกิดจากก้ามของกุ้งดีดขันมีมากได้ถึง 80 kPa ในรัศมี 4 เซนติเมตร ซึ่งมีความรุนแรงที่ทำให้ปลาตัวเล็ก ๆ ช็อกตายได้ และเสียงจากการกระทำดังนี้มีความดังถึง 218 dB/µPa/m (เดซิเบล/ไมโครปาสคาล/เมตร) เมื่อเทียบกับเสียงของน้ำตกไนแองการาซึ่งดังเพียง 90 dB เสียงในโรงงานอุตสาหกรรมดังเพียง 80 dB เสียงพูดคุยปกติธรรมดา 30 dB นับว่ากุ้งดีดขันสามารถทำเสียงได้ดังกว่า มีทั้งหมด 45 สกุล ชนิดที่พบเจอบ่อย ๆ ได้แก่ Alpheus microrhynchus ซึ่งพบในน้ำจืด และ A. digitalis เป็นต้น เฉพาะสกุล Alpheus นั้นพบในประเทศไทยทั้งหมด 35 ชนิด โดยพบในอ่าวไทย 8 ชนิด ทะเลอันดามัน 5 ชนิด และพบทั้งสองฟากทะเล 22 ชนิด กุ้งดีดขันมีความสำคัญในแง่ของการประมง ที่บังกลาเทศ, ญี่ปุ่น, ออสเตรเลียตอนเหนือ นิยมนำมารับประทาน และยังนิยมทำเป็นเหยื่อตกปลาอีกด้วย นอกจากนี้แล้วจากความสามารถที่ทำเสียงดังได้ ทำให้กุ้งดีดขันมักถูกจับมาขายเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ซึ่งชนิดที่มักถูกจับมาขายเป็นสัตว์เลี้ยง คือ A. cyanoteles ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ในน้ำจืดสนิทหน้า 88-91.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุ้งดีดขัน · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งเรดบี

กุ้งเรดบี (Redbee shrimp) เป็นครัสเตเชียนในกลุ่มกุ้ง จัดอยู่ในสกุล Caridina เป็นกุ้งแคระในตระกูลกุ้งบี เป็นสัตว์น้ำจืด (ไม่มีในแหล่งน้ำธรรมชาติถูกพัฒนาสายพันธุ์โดยมนุษย์) หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว เปลือกแบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงหางนั้นมี 8 ปล้อง กรีมีลักษณะแหลมชี้ไปข้างหน้า ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10 ขา สามารถแบ่งขากุ้งเรดบีออกเป็น 2 ส่วน คือ ขาที่ใช้ในการเดินจะมีทั้งหมด 5 คู่ แต่ขาคู่แรกนั้นเป็นก้ามที่ใช้ในการหยิบจับอาหารและ ส่วนของครีบว่ายน้ำ จะมีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ ซึ่งจะค่อยโบกเอาน้ำที่มีออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพื่อหายใจและเพื่อประโยชน์ในการพัดอ๊อกซิเจนไปใช้ในการฟักไข่ที่อยู่ใต้ท้อง รวมทั้งที่ใต้ครีบว่ายน้ำนั้นยังใช้เป็นที่อุ้มไข่ที่ถูกรับการปฏิสนธิแล้วเพื่อรอเวลาในการฟักเป็นลูกกุ้งตัวน้อยส่วนเหงือกของกุ้งเรดบีนั้นลักษณะคล้ายขนนกอยู่ใกล้บริเวณปากเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการระบบหายใจกล่าวคือเป็นทางผ่านของน้ำเพื่อให้น้ำไหลผ่านเข้าช่องเหงือก อุปนิสัยโดยปกติกุ้งเรดบีชอบหลบซ่อนตัวอยู่อย่างเงียบ ๆ ตามพื้นน้ำหรือซอกหลืบในมุมมืด ๆ มักจะออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนในธรรมชาตินั้น กุ้งเรดบี (กุ้งบี) กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น ซากพืช ซากสัตว์ ลูกปลาขนาดเล็กที่พึ่งเกิดอ่อนแอ ไส้เดือนน้ำและกุ้งด้วยกันเอง รวมไปถึงสัตว์หน้าดินขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ และซากสัตว์ที่เน่าเปื่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และกุ้งเรดบี · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะพหุสัณฐาน (ชีววิทยา)

ในทางชีววิทยา ภาวะพหุสันฐาน (polymorphism) คือภาวะที่ในประชากรเดียวกันของสปีชีส์หนึ่ง มีฟีโนทัยป์ที่แตกต่างกันตั้งแต่สองฟีโนทัยป์ขึ้นไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือมีรูปแบบตั้งแต่สองรูปแบบขึ้นไป ทั้งนี้การจะเรียกได้ว่าเป็นภาวะพหุสันฐาน ลักษณะที่แตกต่างนี้ต้องสามารถพบได้ในกลุ่มประชากรที่มีการจับคู่แบบสุ่มในพื้นที่และช่วงเวลาเดียวกัน หมวดหมู่:ภาวะพหุสันฐาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และภาวะพหุสัณฐาน (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะกะเทยแท้

วะกะเทยแท้"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ hermaphroditism ว่า "ภาวะกะเทย" (True hermaphroditism) หมายถึงภาวะที่บุคคลที่เป็นกะเทยมีเนื้อเยื่อทั้งของรังไข่ทั้งของอัณฑะ คืออาจจะมีรังไข่ข้างหนึ่งและอัณฑะอีกข้างหนึ่ง แต่โดยทั่วไปแล้วต่อมบ่งเพศข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างจะมีเนื้อเยื่อจากทั้งรังไข่ทั้งอัณฑะที่เรียกว่า ovotestis ไม่มีเค้สที่บันทึกไว้พร้อมกับหลักฐานเลยว่า เนื้อเยื่อทั้งสองของต่อมบ่งเพศนั้นสามารถทำงานได้พร้อมกัน karyotype ที่พบก็คือ 47XXY (กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์), 46XX/46XY, หรือ 46XX/47XXY โดยมีระดับ mosaicism ที่ต่าง ๆ กัน (โดยมีกรณีที่น่าสนใจหนึ่งที่มี XY ในระดับ 96% แต่สามารถตั้งครรภ์และให้กำเนิดได้) แม้ว่าภาวะนี้จะคล้ายกับภาวะ mixed gonadal dysgenesis แต่สามารถแยกออกจากกันได้โดยการตรวจสอบเนื้อเยื่อ (histology) แม้ว่าบุคคลผู้มีภาวะกะเทยแท้อาจจะมีลูกได้ (จนกระทั่งถึง ค.ศ. 2010 ได้มีสิ่งตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์ที่รายงานการมีลูกในมนุษย์ภาวะกะเทยแท้ถึง 11 เค้ส) แต่ยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงว่าเนื้อเยื่อทั้งของรังไข่ทั้งของอัณฑะสามารถทำงานได้พร้อม ๆ กัน ดังนั้น หลักฐานทางวิทยาศาสตร์จึงไม่สนับสนุนคำที่พูดกันว่า กะเทยแท้สามารถทำให้ตนเองตั้งครรภ์ได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และภาวะกะเทยแท้ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทร

การแบ่งมหาสมุทรตามแบบต่างๆ แผ่นที่กายภาพก้นทะเล มหาสมุทร (ocean) เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิวโลก มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก คำว่า sea หรือทะเล บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6 กม.2) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71% มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และนักสมุทรศาสตร์กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์) มีความลึกเฉลี่ยที่ เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของโลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึก ๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้น้ำมากกว่า 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้น จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต.

ใหม่!!: สปีชีส์และมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

มอริส ก็อตลา

มอริส ก็อตลา (Maurice Kottelat) เป็นนักมีนวิทยาชาวสวิส เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1957 ที่เมืองเดอเลมง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เคยเป็นประธานสมาคมมีนวิทยาแห่งทวีปยุโรป ก็อตลาจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเนอชาแตลในปี ค.ศ. 1987 ในปี ค.ศ. 1980 ได้เดินทางเข้าสู่ประเทศไทยเพื่อศึกษาภาคสนามปลาน้ำจืดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยศึกษาร่วมกับนักมีนวิทยาหลายชาติในภูมิภาคนี้ อาทิ ชวลิต วิทยานนท์ นักมีนวิทยาชาวไทย, ตาน ฮอก ฮุย นักชีววิทยาชาวสิงคโปร์ มีผลงานมากมาย เช่น การเปลี่ยนชื่อสกุลในวงศ์ปลาหมู (Cobitidae) จากสกุล Botia เป็น Chromobotia และ Yasuhikotakia; การอนุกรมวิธานปลาค้อถ้ำพระวังแดง (Schistura spiesi), ปลาพลวงถ้ำ (Neolissochilus subterraneus), ปลาเสือตอลายใหญ่ (Datnioides pulcher) เป็นต้น ที่เกาะสุมาตรา ก็อตลาได้ค้นพบปลาสกุล Paedocypris ซึ่งถือได้ว่าเป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกด้วย ปัจจุบันได้พำนักอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ โดยมีปลาที่ได้รับการบรรยายทางวิทยาศาสตร์ไปแล้วกว่า 440 ชนิด ในวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ก็อตลาได้รับปริญญากิตติมศักดิ์เนื่องในการฉลองของมหาวิทยาลัยเนอชาแตล.

ใหม่!!: สปีชีส์และมอริส ก็อตลา · ดูเพิ่มเติม »

มอสส์

มอสส์เป็นพืชขนาดเล็ก, พุ่มสูงประมาณ 1–10 เซนติเมตร (0.4-4 นิ้ว) แต่อาจมีบางชนิดที่มีขนาดใหญ่กว่ามาก ปกติจะเจริญเติบโตในหมู่ต้นไม้หรือบริเวณที่เปียกชื้นใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ ไม่มีดอกและเมล็ด โดยทั่วไปใบที่ปกคลุมลำต้นจะบางเล็กคล้ายลวด มอสส์แพร่พันธุ์ด้วยสปอร์ ซึ่งสร้างขึ้นที่จะงอยปลายก้านเล็กๆ คล้ายแคปซูล มอสส์มีประมาณ 12,000 สปีชีส์และถูกจัดอยู่ในส่วนไบรโอไฟตา ใน ไบรโอไฟตา นั้นปกติไม่ได้มีแค่มอสส์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงลิเวอร์เวิร์ตและฮอร์นเวิร์ตด้วย แล้วยังมีไบรโอไฟต์อีก 2 กลุ่มที่มักถูกจัดอยู่ในส่วนเดียวกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และมอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

มะลิ

มะลิ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถาในวงศ์มะลิ มีประมาณ 200 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแถบทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะดอกและกลิ่นมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดหรือพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และมะลิ · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อ

มะเดื่อ หรือ มะเดื่อฝรั่ง หรือ มะเดื่อญี่ปุ่น เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบตะวันออกกลาง เป็นพืชคนละชนิดกับมะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F. racemosa) ที่เป็นไม้พื้นเมืองในอินเดียและศรีลังกา มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเป็นปุ่มแตกกิ่งก้านออก ใบเดี่ยว ด้านหนึ่งหยาบ อีกด้านหนึ่งมีขนอ่อน ลำต้นมียางสีขาว ผลออกเป็นกระจุก กลมแป้นหรือรูปไข่ เปลือกบาง ผลอ่อนสีเขียว พอสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดงหรือชมพูแล้วแต่พันธุ์ เนื้อในสีแดงเข้ม สุกแล้วมีกลิ่นหอม การปลูกเป็นการค้าเริ่มที่เอเชียตะวันตก แล้วจึงแพร่หลายสู่ซีเรีย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: สปีชีส์และมะเดื่อ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรทะเล

มังกรทะเล (Sea dragon) ปลากระดูกแข็งในสกุล Phyllopteryx ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathidae) จัดเป็นปลาเฉพาะถิ่นที่พบได้ในท้องทะเลในประเทศออสเตรเลียเท่านั้น โดยจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับปลาจิ้มฟันจระเข้ (Syngnathinae) เดิมเคยเชื่อว่ามีเพียงชนิดเดียว แต่ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และมังกรทะเล · ดูเพิ่มเติม »

มังกรทะเล (แก้ความกำกวม)

มังกรทะเล (Sea Dragon) อาจหมายได้ถึง.

ใหม่!!: สปีชีส์และมังกรทะเล (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

มังกรทะเลใบหญ้า

มังกรทะเลใบหญ้า (Common seadragon, Weedy seadragon) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathidae) เดิมเคยจัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Phyllopteryx แต่ในปัจจุบันได้มีการจำแนกออกเป็นชนิดใหม่ มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับมังกรทะเลใบไม้ ซึ่งเป็นปลาชนิดที่ใกล้เคียงมากที่สุด เพียงแต่มังกรทะเลใบหญ้ามีระยางค์ต่าง ๆ น้อยกว่า มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 45 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไปประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์เฉพาะตอนใต้ของออสเตรเลียเท่านั้น และเกาะทัสมาเนีย เหมือนกับมังกรทะเลใบไม้ โดยอาศัยอยู่ตามกองหินและแนวปะการัง หรือกอสาหร่าย พบได้ในระดับความลึกถึง 50 เมตร เป็นปลาที่มีพฤติกรรมการขยายพันธุ์เช่นเดียวกับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน คือ ตัวผู้เป็นฝ่ายอุ้มท้อง ตัวเมียจะวางไข่ได้ครั้งละประมาณ 1,200 ฟอง ในหน้าท้องของตัวผู้ ไข่ใช้เวลาประมาณหนึ่งเดือนถึงจะฟักเป็นตัว ตัวอ่อนเมื่อฟักออกมาแล้วจะกินอาหารได้เลยทันทีและว่ายน้ำเป็นอิสระได้เอง ปัจจุบันมีการเลี้ยงแสดงไว้ตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลกประมาณ 50 แห่ง เช่น พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำจอร์เจีย ซึ่งมีความพยายามในการเพาะขยายพันธุ์อยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และมังกรทะเลใบหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

มังกรทะเลใบไม้

มังกรทะเลใบไม้ (Leafy seadragon) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Phycodurus eques อยู่ในวงศ์ Syngnathidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกันกับม้าน้ำ โดยถือเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Phycodurus พบทางตอนใต้และตะวันตกของทวีปออสเตรเลีย ถือเป็นปลาเฉพาะถิ่น มักอาศัยอยู่ในกระแสน้ำอุ่นในความลึกตั้งแต่ 3-50 เมตร มีจุดเด่นตรงที่มีครีบต่าง ๆ ลักษณะคล้ายใบไม้หรือสาหร่ายทะเล ทำให้ได้ชื่อว่าเป็นปลาที่มีความสวยงามที่สุดในโลก ซึ่งครีบเหล่านี้ไม่ได้มีไว้ว่ายน้ำแต่ใช้สำหรับอำพรางตัวจากศัตรูและยังใช้หาอาหารอีกด้วย มังกรทะเลใบไม้ใช้ครีบอกในการว่ายน้ำ ซึ่งครีบอกนั้นมีลักษณะใสโปร่งแสง และมองเห็นได้ยากมากเมื่อเวลาปลาเคลื่อนไหว ทำให้มังกรทะเลใบไม้ดูแลยากเมื่อแฝงตัวไปในหมู่สาหร่ายทะเล มีปากที่เหมือนท่อยื่นยาวออกมา ตอนปลายมีที่เปิด กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอน, กุ้งและครัสเทเชียนขนาดเล็ก ๆ มีความยาวเต็มที่ได้ประมาณ 35 เซนติเมตร การผสมพันธุ์และวางไข่ เนื่องจากมังกรทะเลใบไม้ไม่มีถุงหน้าท้องเหมือนม้าน้ำ แต่ตัวเมียมีไข่ติดอยู่กับใกล้ส่วนหางซึ่งเต็มไปด้วยเส้นเลือดที่มีอยู่มากมายซึ่งพัฒนาขึ้นมาเฉพาะตัวผู้ในช่วงผสมพันธุ์เท่านั้น เมื่อผสมพันธุ์กันตัวเมียจะวางไข่บริเวณหางของตัวผู้ซึ่งจะม้วนงอเข้า ปริมาณไข่ราว 100-200 ฟอง หรือเต็มที่ 250 ฟอง ซึ่งช่วงการผสมพันธุ์วางไข่นั้นจะอยู่ระหว่างเดือนสิงหาคม-มีนาคม ของปีถัดไป ไข่ที่ยึดติดกับส่วนหางของตัวผู้จะได้รับออกซิเจนจากเส้นเลือดของหาง โดยใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 4-6 สัปดาห์ เมื่อฟักออกเป็นตัวแล้วปลาตัวผู้จะไม่ดูแลไข่ โดยตัวอ่อนจะใช้เวลาประมาณหนึ่งปีที่จะโตเต็มจนถึงขนาด 20 เซนติเมตร และใช้เวลา 2 ปี ที่จะโตเต็มที่ เมื่อยังเป็นวัยอ่อนลำตัวจะใส ไม่มีสี มีอายุขัยประมาณ 6 ปี แต่ก็มีบางตัวที่นักวิทยาศาสตร์ศึกษาพบว่ามีอายุมากถึง 9 ปี นอกจากนี้แล้วผู้ที่ศึกษามังกรทะเลใบไม้พบว่าตำหนิหรือสีแต้มต่าง ๆ ของแต่ละตัวจะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และสิ่งเหล่านี้ส่งผ่านกันได้ตามพันธุกรรมWeird Creatures with Nick Baker: Leafy Seadragon, สารคดีทางแอนนิมอลแพลนเนต ทางทรูวิชันส์: วันเสาร์ที่ 12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และมังกรทะเลใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรน้ำ

มังกรน้ำ (Water dragons) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Physignathus (เป็นภาษากรีกมีความหมายว่า "ขากรรไกรที่ยกขึ้น") ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) พบทั้งสิ้น 2 ชนิด เป็นกิ้งก่าขนาดใหญ่ที่มีพฤติกรรมชอบอาศัยในที่ชื้นใกล้แหล่งน้ำ สามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้เก่ง พบกระจายพันธุ์เฉพาะในทวีปเอเชียและออสเตรเลีย นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และมังกรน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรโกโมโด

มังกรโกโมโด (Komodo dragon; ชื่อวิทยาศาสตร์: Varanus komodoensis) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในอันดับกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีถิ่นอาศัยอยู่บนเกาะโกโมโด, รินจา, ฟลอเรส และกีลีโมตังในประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกับเหี้ย (Varanidae) จัดเป็นตะกวดชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ ตัวโตเต็มวัยมีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 2-3 เมตร (6.6 ถึง 9.8 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 90 กิโลกรัม (150 ปอนด์) มังกรโกโมโดมีรูปร่างหน้าตาเหมือนตัวเงินตัวทองชนิดอื่นทั่วไป แต่ทว่ามีลำตัวใหญ่และยาวกว่ามาก มีลำตัวสีเทาออกดำกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และมังกรโกโมโด · ดูเพิ่มเติม »

มาพูซอรัส

มาพูซอรัส (Mapusaurus) เป็นไดโนเสาร์ในสกุลคาร์โนซอร์ (carnosaurian) ขนาดใหญ่ จากต้น ยุคครีเตเชียส อาศัยอยู่ที่ประเทศอาร์เจนตินา มันมีลักษณะคล้ายญาติของมันที่ชื่อ กิก้าโนโตซอรัส ตัวอย่างที่ใหญ่ที่สุดของ มาพูซอรัส ยาว 12.2 เมตร (40ฟุต) น้ำหนักเกิน 3 ตัน มีรูปร่างผอมเพรียวและว่องไว แต่แข็งแรง ชื่อ มาพูซอรัส (Mapusaurus) มาจาก มาพูเช (Mapuche) มาพู เป็นคำใน ภาษากรีก แปลว่า "ตุ๊กแก" ขนาดของมาพูซอรัสเมื่อเทียบกันไดโนเสาร์กินเนื้ออื่น (สีเขียว).

ใหม่!!: สปีชีส์และมาพูซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เทิน

มาร์เทิน หรือ หมาไม้ (marten) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) อันเป็นวงศ์เดียวกับนาก, เพียงพอน, หมาหริ่ง และวุลเวอรีน ใช้ชื่อสกุลว่า Martes มาร์เทิน มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาว ส่วนใบหน้าคลายกับสุนัข ใบหูมีขนาดกลมเล็ก หางยาวเป็นพวง มีอุ้งเท้าที่หนาและมีกรงเล็บที่แหลมคม ขนหนานุ่มมีสีขนที่หลากหลาย ตั้งแต่สีเหลืองจนถึงสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ แตกต่างไปกันตามชนิดและแต่ละภูมิภาคที่อาศัย มีขนาดลำตัวและน้ำหนักพอ ๆ กับแมว ปกติเป็นสัตว์ที่หากินและอาศัยเพียงลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์ มาร์เทิน เป็นสัตว์ที่คล่องแคล่วว่องไวปราดเปรียว ส่วนมากมักหากินในเวลากลางคืน สามารถกินได้ทั้งพืชและสัตว์ ปีนต้นไม้ได้อย่างคล่องแคล่ว สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, ยุโรป, เอเชียเหนือ, ไซบีเรีย, เอเชียตะวันออก, ตอนใต้ของอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถปรับตัวให้เข้ากับภูมิประเทศที่หลากหลายได้ทั้งป่าดิบ, ป่าละเมาะ จนถึงชุมชนของมนุษย์ใกล้กับชายป.

ใหม่!!: สปีชีส์และมาร์เทิน · ดูเพิ่มเติม »

มาโมเสท

มาโมเสท (Marmoset) เป็นลิงในกลุ่มลิงโลกใหม่ มีถิ่นอาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ มีหางยาว หากินกลางวัน กินผลไม้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นสัตว์ตระกูล Callithricidae และเป็นลิงขนาดเล็กที่สุดในโลก ลิงมาโมเส็จเป็นลิงที่น้ำหนักประมาณ5-7ขี.

ใหม่!!: สปีชีส์และมาโมเสท · ดูเพิ่มเติม »

มาเมนชีซอรัส

มาเมนชีซอรัส (Mamenchisaurus) เป็นไดโนเสาร์กินพืชที่คอยาวที่สุด ซึ่งเป็นความสูงครึ่งหนึ่งของความสูงทั้งหมด สปีชีส์ส่วนใหญ่อาศัยบนโลกในช่วง 145 - 150 ล้านปีมาแล้ว ในช่วง Tithonian ช่วงปลายของยุคจูแรสซิก.

ใหม่!!: สปีชีส์และมาเมนชีซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

มินิตซาลาแมนเดอร์

มินิตซาลาแมนเดอร์ หรือ ปิกมีซาลาแมนเดอร์ หรือ เม็กซิกันปิกมีซาลาแมนเดอร์ (Minute salamanders, Pigmy salamanders, Mexican pigmy salamanders) เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกจิ้งจกน้ำหรือซาลาแมนเดอร์ จัดอยู่ในสกุล Thorius (/ทอ-ริ-อุส/) จัดอยู่ในวงศ์ Plethodontidae หรือซาลาแมนเดอร์ไม่มีปอด เป็นซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก จัดได้ว่าเป็นซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็กที่สุดในโลก เนื่องจากเมื่อโตเต็มที่มีขนาดไม่เกินไม้ขีดไฟ และถือได้ว่าเป็นสัตว์สี่เท้ามีหางที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกด้วย ซึ่งถือว่าผิดปกติสำหรับสัตว์ประเภทนี้ ซาลาแมนเดอร์ในสกุลนี้มีถิ่นกำเนิดเฉพาะในเม็กซิโกที่เดียวในโลกเท่านั้น โดยพบในรัฐเบรากรุซ, รัฐปวยบลา, รัฐเกร์เรโร และรัฐวาฮากา ที่อยู่ตอนใต้ของประเทศ โดยถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 19 โดยถูกเข้าใจแต่ทีแรกว่าเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวนานถึง 75 ปี จนกระทั่งมีการแยกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก 9 ชนิด ระหว่างปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และมินิตซาลาแมนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มินต์ (พืช)

มินต์ (Mint, มาจากภาษากรีกคำว่า míntha, หรือในอักษรไลเนียร์บี mi-ta) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์กะเพรา (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวงศ์มินต์) สปีชีส์ของมินต์นั้นได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 13 ถึง 18 สปีชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และมินต์ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลยูนนาน

มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน มีชื่อย่อว่า หยุน(云)หรือ เตียน(滇)มีชื่อในภาษาไทยถิ่นเหนือว่า วิเทหราช ตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีเมืองหลวงชื่อ คุนหมิง มีเนื้อที่ 394,100 ก.ม. มีประชากร ประมาณ 45,966,000 คน (2010) จีดีพี 10309.47 พันล้านหยวน (2012) ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น นอกจากนั้นยังมีกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆอีก 25 กลุ่มชาติพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และมณฑลยูนนาน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: สปีชีส์และมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยา คำว่า มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน หรือ มนุษย์ปัจจุบัน (anatomically modern human, ตัวย่อ AMH) หรือ โฮโมเซเปียนส์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern Homo sapiens, ตัวย่อ AMHS) หมายถึงสมาชิกของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่มีรูปพรรณสัณฐานภายในพิสัยลักษณะปรากฏของมนุษย์ปัจจุบัน มนุษย์ปัจจุบันวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณ (archaic humans) ยุคหินกลาง (แอฟริกา) ประมาณ 300,000 ปีก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์โบราณ

กะโหลกดึกดำบรรพ์ของ ''Homo rhodesiensis'' ที่เรียกว่า "Broken Hill Cranium" มีอายุถ้าไม่ 130,000 ปีก่อน (โดยใช้วิธี amino acid racemization determination) ก็ 800,000-600,000 ปีก่อน (คือในช่วงอายุเดียวกับ ''Homo erectus'') สายพันธุ์มนุษย์สกุล Homo หลายชนิดสามารถจัดเข้าในหมวดกว้าง ๆ คือ มนุษย์โบราณ (archaic human) เริ่มตั้งแต่ 600,000 ปีก่อน ซึ่งปกติจะรวม Homo neanderthalensis (300,000-28,000 ปีก่อน) Homo rhodesiensis (400,000-125,000 ปีก่อน), Homo heidelbergensis (600,000-250,000 ปีก่อน), และอาจรวม Homo antecessor โดยมนุษย์กลุ่มไหนจะจัดเป็น "มนุษย์โบราณ" ขึ้นอยู่กับนิยามต่าง ๆ ของผู้เขียน เป็นหมวดหมู่ที่ใช้เปรียบเทียบกับ มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน/มนุษย์ปัจจุบัน (anatomically modern humans) มีสมมติฐานว่า มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการมาจากมนุษยโบราณ ซึ่งก็วิวัฒนาการมาจาก Homo erectus บางครั้ง มนุษย์โบราณจะรวมเข้าในสปีชีส์ "Homo sapiens" เพราะขนาดสมองใกล้เคียงกัน คือ มีขนาดสมองเฉลี่ยที่ระหว่าง 1,200-1,400 ซม3 ซึ่งคาบเกี่ยวกับพิสัยขนาดสมองของมนุษย์ปัจจุบัน แต่มนุษย์โบราณจะต่างจากมนุษย์ปัจจุบันโดยมีกะโหลกศีรษะหนา สันคิ้วเหนือตาที่เด่น และไม่มีคางเด่นเท่ามนุษย์ปัจจุบัน มนุษย์ปัจจุบันปรากฏขึ้นประมาณ 300,000 ปีก่อน และหลังจาก 70,000 ปีก่อน ก็เริ่มจะแทนที่มนุษย์โบราณในที่ต่าง ๆ แต่มนุษย์สกุล Homo ที่ "ไม่ปัจจุบัน" ก็คงอยู่รอดจนกระทั่ง 30,000 ปีก่อน และอาจจนถึง 10,000 ปีก่อน อย่างไรก็ดี ตามงานศึกษาทางพันธุกรรมปี 2555 มนุษย์ปัจจุบันอาจจะได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณ "อย่างน้อยสองกลุ่ม" คือ นีแอนเดอร์ทาลและมนุษย์กลุ่ม Denisovan ส่วนงานศึกษาอื่น ๆ ตั้งความสงสัยว่า การผสมพันธุ์อาจไม่ใช่เหตุที่มนุษย์ปัจจุบันมียีนร่วมกับมนุษย์โบราณ แล้วชี้ไปที่การมีบรรพบุรุษร่วมกันเมื่อ 500,000-800,000 ปีก่อน งานศึกษาปี 2555 ยังเสนอมนุษย์อีกกลุ่มที่อาจมีชีวิตอยู่จนกระทั่ง 11,500 ปีก่อน คือกลุ่มมนุษย์ Red Deer Cave people ในจีน ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และมนุษย์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ม้าลาย

thumb ม้าลาย เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคี่ จัดอยู่ในสกุลม้า (Eguus) และจัดอยู่ในสกุลย่อย Hippotigris (แปลว่า ม้าลายเสือ) และDolichohippus แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด (ดูในตาราง) thumb.

ใหม่!!: สปีชีส์และม้าลาย · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำ

ม้าน้ำ เป็นปลากระดูกแข็งที่อาศัยอยู่ในทะเลจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Hippocampinae (ซึ่งมีอยู่ 2 สกุล คือหนึ่งสกุลนั้นคือ ปลาจิ้มฟันจระเข้สัน ที่อยู่ในสกุล Histiogamphelus มีรูปร่างคล้ายปลาจิ้มฟันจระเข้ผสมกับม้าน้ำ) ในวงศ์ Syngnathidae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาจิ้มฟันจระเข้และมังกรทะเล ในอันดับ Syngnathiformes.

ใหม่!!: สปีชีส์และม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำหนามขอ

ม้าน้ำหนามขอ หรือ ม้าน้ำหนามยาว (Thorny seahorse, Spiny seahorse) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกม้าน้ำ มีปากที่ยาวกว่าม้าน้ำชนิดอื่น ๆ มีส่วนของหนามยาว ปลายแหลมและคมกว่าม้าน้ำชนิดอื่น ๆ ปลายหนามโค้งเล็กน้อยและมักจะมีสีเข้มหรือดำ มีสีผิวลำตัวแตกต่างกันไป เช่น สีเหลือง, สีเขียว, สีส้ม, สีชมพู มีความยาวเต็มที่ประมาณ 7.9-13.5 เซนติเมตร มีรายงานความยาวสูงสุด 17 เซนติเมตร พบในเขตร้อน แถบทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิคตอนกลางและตะวันตก สำหรับในน่านน้ำไทยพบทั้งในฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ในแนวปะการัง หรือซากเรือจม.

ใหม่!!: สปีชีส์และม้าน้ำหนามขอ · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำดำ

ม้าน้ำดำ หรือ ม้าน้ำคูด้า หรือ ม้าน้ำธรรมดา (Common seahorse, Spot seahorse) เป็นม้าน้ำชนิดหนึ่ง มีสีพื้นผิวลำตัวหลากหลายทั้ง ดำ, เหลือง, ม่วง หรือน้ำตาลแดง โดยสามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ตามสภาพแวดล้อม มีขนาดความยาว 25-30 เซนติเมตร พบได้ในทะเลทั่วไปแถบอินโด-แปซิฟิกจนถึงฮาวาย ในน่านน้ำไทยถือว่าเป็นม้าน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นม้าน้ำที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว แต่ทว่าอัตราการรอดมีน้อย จึงเพาะพันธุ์เป็นจำนวนมากไม่ได้ ต้องใช้ม้าน้ำจากธรรมชาติที่ท้องแล้ว แต่ในปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในหลายที่ และมีอัตราการรอดสูง โดยเลี้ยงให้ผสมพันธุ์กันเองในที่เลี้ยง ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: สปีชีส์และม้าน้ำดำ · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำเหลือง

ม้าน้ำเหลือง (Barbour's seahorse) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกม้าน้ำ ม้าน้ำเหลืองมีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่แล้วลำตัวจะมีหนามแต่สั้น และไม่แหลมเหมือนม้าน้ำหนาม (H. spinosissimus) ส่วนใหญ่แล้วมักจะมีลำตัวสีเหลือง ลักษณะเด่น คือ จะมีลายบริเวณรอบดวงตาจนถึงปลายปาก ไม่พบในน่านน้ำไทย แต่จะพบในทะเลแถบอินโดนีเซีย, ฟิลิปปิน และบางส่วนในประเทศมาเลเซีย เป็นม้าน้ำชนิดหนึ่งที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยลูกม้าน้ำวัยอ่อนเป็นชนิดที่อนุบาลได้ง่าย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และม้าน้ำเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ยาแก้ซึมเศร้า

แผงยาโปรแซ็ก (ฟลูอ๊อกซิติน) ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI) โครงสร้างทางเคมีของ venlafaxine ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม Serotonin-norepinephrine reuptake inhibitor (SNRI) ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant) เป็นยาเพื่อรักษาโรคซึมเศร้าและโรคอื่น ๆ รวมทั้ง dysthymia, โรควิตกกังวล, โรคย้ำคิดย้ำทำ, ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder), ความเจ็บปวดเรื้อรัง, ความเจ็บปวดเหตุประสาท (neuropathic pain), และในบางกรณี อาการปวดระดู การกรน โรคไมเกรน โรคสมาธิสั้น การติด การติดสารเสพติด และความผิดปกติในการนอน โดยสามารถใช้เดี่ยว ๆ หรือรวมกับยาชนิดอื่น ๆ ตามที่แพทย์สั่ง กลุ่มยาแก้ซึมเศร้าที่สำคัญที่สุดรวมทั้ง selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs), serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs), tricyclic antidepressants (TCAs), monoamine oxidase inhibitors (MAOIs), reversible monoamine oxidase A inhibitors (rMAO-A inhibitors), tetracyclic antidepressants (TeCAs), และ noradrenergic and specific serotonergic antidepressant (NaSSAs) โดยมียาสมุนไพรจากพืช Hypericum perforatum (St John's wort) ที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้าเหมือนกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และยาแก้ซึมเศร้า · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินกลาง (แอฟริกา)

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยาและชีววิทยาวิวัฒนาการเป็นต้น ยุคหินกลาง (Middle Stone Age ตัวย่อ MSA) เป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของแอฟริการะหว่างยุคหินต้น (Early Stone Age) และยุคหินหลัง ๆ (Later Stone Age) โดยทั่วไปพิจารณาว่าเริ่มประมาณ 280,000 ปีก่อนและยุติประมาณ 50,000-25,000 ปีก่อน จุดเริ่มต้นของเครื่องมือหินแบบ MSA อาจเริ่มตั้งแต่ 550,000-500,000 ปีก่อน และดังนั้น นักวิจัยบางคนพิจารณาว่านั่นเป็นจุดเริ่มต้นของ MSA MSA บ่อยครั้งเข้าใจผิดว่าเท่ากับยุคหินเก่ากลาง (Middle Paleolithic) ของยุโรป เพราะมีระยะเวลาเกือบเหมือนกัน แต่ยุคหินเก่ากลางของยุโรปสัมพันธ์กับสปีชีส์มนุษย์ที่ต่างกัน ซึ่งก็คือ ''Homo neanderthalensis'' เปรียบเทียบกับแอฟริกาที่ไม่มีมนุษย์สปีชีส์นี้ในช่วง MSA นอกจากนั้นแล้ว งานโบราณคดีในแอฟริกายังได้ให้หลักฐานเป็นจำนวนมากที่แสดงว่า พฤติกรรมและลักษณะทางประชานของมนุษย์ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาขึ้นในแอฟริกาช่วง MSA ก่อนกว่าที่พบในยุโรปช่วงยุคหินเก่ากลางอย่างมาก อนึ่ง ราชบัณฑิตยสถานแปลคำว่า Mesolithic period (12,000-7,000 ปีก่อนในยุโรป และ 22,000-11,500 ปีก่อนในลิแวนต์) ว่า "ยุคหินกลาง" ซึ่งอาจซ้ำกับคำแปลของ Middle Stone Age (280,000-25,000 ปีก่อนในแอฟริกา) ได้เหมือนกัน แต่ให้สังเกตว่าคำแต่ละคำหมายเอาสิ่งที่ต่างกันแทบสิ้นเชิง MSA สัมพันธ์กับทั้งมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern humans) สปีชีส์ Homo sapiens และกับมนุษย์โบราณ (archaic Homo sapiens) ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Homo helmei ด้วย หลักฐานที่เป็นรูปธรรมยุคต้น ๆ ของ MSA มาจากโบราณสถานต่าง ๆ ใน Gademotta Formation ในเอธิโอเปีย, หมวดหินแคปธิวริน (Kapthurin Formation) ในประเทศเคนยา และ Kathu Pan ในแอฟริกาใต้ เครื่องมือยุคหินกลางแอฟริกา (MSA) จากถ้ำบลอมโบส์ แอฟริกาใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และยุคหินกลาง (แอฟริกา) · ดูเพิ่มเติม »

ยุงลาย

Aedes หรือยุงลาย เป็นสกุลของยุงที่เดิมพบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน แต่ปัจจุบันพบได้ทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา กิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุทำให้ยุงลายบางสปีชีส์แพร่กระจาย Meigen อธิบายและตั้งชื่อเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และยุงลาย · ดูเพิ่มเติม »

ยูทาห์แรปเตอร์

ูทาห์แรปเตอร์ (Utahraptor) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดครอบครัว โดรมีโอซอร์ หรือ แรพเตอร์ ชนิดหนึ่ง เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์ครอบครัวโดรมีโอซอร์ที่มีชื่อเสียงที่สุด นอกจากนั้นมันยังมีขนาด 7 เมตร ซึ่งถือว่าใหญ่ที่สุดในครอบครัวนี้ ฟอสซิลของมันพบที่รัฐยูทาห์ ประเทศสหรัฐอเมริกา (เพิ่มเติม:ก่อนที่ยูทาห์แรปเตอร์ จะเป็นโดรมีโอซอร์ที่ใหญ่ที่สุด ในอดีตเมก้าแรพเตอร์ยาว 9 เมตร เคยใหญ่ที่สุดมาก่อน แต่ปัจจุบันมันจัดอยู่ในครอบครัว เมกะโลซอร์) ยูทาห์แรปเตอร์เคยได้เป็นตัวละครไดโนเสาร์ ตัวเอกในสารคดีของบีบีซี ชุด ไดโนเสาร์อาณาจักรอัศจรร.

ใหม่!!: สปีชีส์และยูทาห์แรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูดิมอร์โฟดอน

ูดิมอร์โฟดอน (Eudimorphodon) เป็นเทอโรซอร์ชนิดหนึ่ง ถูกค้นพบในปี 1973 โดย Mario Pandolfi ที่เมืองเบอร์กาตา ประเทศอิตาลี และอธิบายในปีเดียวกันโดย Rocco Zambelli โครงกระดูกที่สมบูรณ์ครั้งแรกของมัน ถูกดึงมาจากหินดินดานฝากในช่วงยุคไทรแอสสิค ทำให้ ยูดิมอร์โฟดอนกลายเป็นเทอโรซอร์ที่เก่าแก่ที.

ใหม่!!: สปีชีส์และยูดิมอร์โฟดอน · ดูเพิ่มเติม »

ยูโอโพลเซอฟารัส

ูโอโพลเซอฟารัส (Euoplocephalus) เป็นไดโนเสาร์แองคีลอซอร์หรือไดโนเสาร์ฟุ้มเกราะชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลาย ร่างกายของมันหุ้มเกราะ ขนาดของมันประมาณ 6 เมตร มีลูกตุ้มอยู่ที่หาง ลูกตุ้มนั้นหนักถึง 29 กิโลกรัม ดังนั้นยูโอโพลเซอฟาลัสจึงกลายเป็นรถถังแห่งยุคครีเทเชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และยูโอโพลเซอฟารัส · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟ (สกุล)

thumb ยีราฟ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Giraffa) เป็นสกุลหนึ่งของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Giraffidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีลักษณะเด่น คือ เป็นสัตว์ที่ตัวสูง ขายาว ลำคอยาว มีเขา 1 คู่ ตัวมีสีเหลืองและสีน้ำตาลเข้มเป็นลาย มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ตัวผู้มีความสูง 4.8 ถึง 5.5 เมตร (16-18 ฟุต) และมีน้ำหนักถึง 900 กิโลกรัม (2,000 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดและความสูงน้อยกว่าเล็กน้อย จัดเป็นสัตว์บกที่มีความสูงที่สุดในโลก ยีราฟ มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ไม่ผลัดเขา ที่เขามีขนปกคลุมอยู่ เขาของยีราฟเป็นสิ่งแสดงถึงความแตกต่างระหว่างเพศ เขาของยีราฟตัวผู้ด้านบนมีลักษณะตัดราบเรียบและมีความใหญ่อวบกว่า ขณะที่ของตัวเมียจะมีขนสีดำปกคลุมเห็นเป็นพุ่มชัดเจน มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงราว 15-20 ตัว หรือมากกว่านั้น ในทุ่งโล่งร่วมกับสัตว์กินพืชชนิดอื่น ๆ เช่น แอนทิโลป, ม้าลาย หรือนกกระจอกเทศ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3 ปีครึ่ง ตั้งท้องนาน 420-461 วัน ลูกยีราฟหย่านมเมื่ออายุได้ 10 เดือน เมื่อคลอดออกมาแล้วจะสามารถยืนและเดินได้ภายในเวลาไม่นานเหมือนสัตว์กีบคู่ทั่วไป และวิ่งได้ภายในเวลา 2-3 วัน ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 4 เต้า ยีราฟจะเป็นสัดทุก ๆ 14 วัน แต่ละครั้งเป็นอยู่ราว 24 ชั่วโมง มีอายุขัยเฉลี่ย 20-30 ปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และยีราฟ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟมาไซ

ีราฟมาไซ (Masai giraffe, Maasai giraffe) เป็นสปีซีส์ของยีราฟ (Giraffa) ชนิดหนึ่ง ยีราฟมาไซ พบกระจายพันธุ์มากที่สุดทางตอนใต้ของประเทศเคนยาและในประเทศแทนซาเนีย มีลักษณะเด่น คือ มีลายเป็นแผ่นเล็ก ขอบเป็นหยักขึ้นลงไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ซึ่งแตกต่างไปจากยีราฟชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด และตั้งแต่หัวเข่าลงไปจนถึงข้อเท้าจะเป็นสีขาว ไม่มีลาย ยีราฟมาไซ ในตัวผู้มีน้ำหนักตั้งแต่ 1,100–1,900 กิโลกรัม ตัวเมีย 700 กิโลกรัม ตัวผู้มีความสูงประมาณ 5.5 เมตรหรือสูงกว่า ในขณะที่ตัวเมียประมาณ 4.9 เมตร ความยาวลำตัวประมาณ 2.5–3.7 เมตร ความยางหาง 75–130 เซนติเมตร อายุโดยเฉลี่ย 20–28 ปี ลายของยีราฟมาไซ.

ใหม่!!: สปีชีส์และยีราฟมาไซ · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟลายร่างแห

ีราฟลายร่างแห หรือ ยีราฟโซมาลี (Reticulated giraffe, Somali giraffe) เป็นสปีชีส์ของยีราฟ (Giraffa) ชนิดหนึ่ง ยีราฟลายร่างแห มีลักษณะและพฤติกรรมเหมือนกับยีราฟชนิดอื่นทั่วไป มีความแตกต่างที่ลวดลายมีขนาดใหญ่ และมีเส้นสีขาวตัดเส้นอยู่รอบ ๆ เห็นชัดเจน บางลายจะปรากฏเป็นสีแดงเข้ม และลวดลายนี้พบได้จนถึงช่วงขา ยีราฟลายร่างแห เป็นหนึ่งในยีราฟที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุด และพบได้ตามสวนสัตว์ทั่วไปเหมือนกับยีราฟรอทส์ไชลด์ (G. c. rothschildi) พบกระจายพันธุ์ในโซมาลี, ตอนเหนือของเคนยา และตอนใต้ของเอธิโอเปีย ในเขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรู ในเคนยา ยีราฟลายร่างแห ถือเป็นไฮไลต์หรือจุดสนใจในบรรดาสัตว์ป่า 5 ชนิด ที่พบได้ในนั้น ซึ่งประกอบไปด้วย ยีราฟลายร่างแห, เจเรนุค, นกกระจอกเทศโซมาลี, ม้าลายเกรวี และไบซาออริคส์ ปัจจุบัน ยีราฟลายร่างแหเหลือเพียงประมาณ 500 ตัวเท่านั้นในโลก ในประเทศไทย ในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และยีราฟลายร่างแห · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟใต้

ีราฟใต้ หรือ ยีราฟแอฟริกาใต้ (Southern giraffe, South African giraffe) เป็นสปีซีส์ของยีราฟ (Giraffa) ชนิดหนึ่ง ยีราฟใต้ กระจายพันธุ์อยู่ทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา เช่น บอตสวานา, แอฟริกาใต้, นามิเบีย อันเป็นที่มาของชื่อ มีลักษณะและพฤติกรรมทั่วไปคล้ายกับยีราฟชนิดอื่น ต่างกันตรงที่ ยีราฟใต้มีลวดลายใหญ่เหมือนแผ่นกระเบื้องสีน้ำตาลส้มหรือสีส้มขนาดใหญ่กว่า และกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ จนถึงข้อเท้.

ใหม่!!: สปีชีส์และยีราฟใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการได้ยิน

ระบบการได้ยิน (auditory system) เป็นระบบรับความรู้สึก/ระบบประสาทสัมผัส ซึ่งรวมทั้งอวัยวะการฟังคือหู และระบบประสาทเกี่ยวกับการฟัง กายวิภาคของหู แม้ว่าช่องหูจะยาวเกินสัดส่วนในรูป.

ใหม่!!: สปีชีส์และระบบการได้ยิน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการเห็น

ังไม่มี เผื่ออนาคต mammalian visual systemsEye -refined.svg||thumb|200px|ระบบการเห็นประกอบด้วตา และ วิถีประสาทที่เชื่อมตากับpostscript.

ใหม่!!: สปีชีส์และระบบการเห็น · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรางวัล

ติดตั้งเป้าที่ศูนย์ความสุขในสมอง (รูปซ้าย) แสดงวิถีประสาทแบบโดพามีน คือระบบรางวัล วงจรประสาทเหล่านี้สำคัญในการตอบสนองต่อรางวัลตามธรรมชาติ เช่น การได้อาหารและเพศสัมพันธ์ (รูปกลางและขวา) แสดงการปล่อยสารสื่อประสาทโดพามีน รูปกลางแสดงการปล่อยเมื่อได้อาหาร รูปกลมสีส้มเป็นโดพามีน รูปขวาแสดงการปล่อยเมื่อได้โคเคนซึ่งปล่อยโดพามีนมากกว่าตามธรรมชาติเป็นการเปลี่ยนแปลงการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท วงกลมสีแดงคือโคเคน ระบบรางวัล หรือ ระบบการให้รางวัล (reward system) เป็นโครงสร้างทางประสาทที่จำเป็นเพื่ออำนวยผลของการเสริมแรง (reinforcement) พฤติกรรม คือเพิ่มความถี่ของพฤติกรรมนั้น ๆ ส่วนรางวัล (reward) เป็นสิ่งเร้าที่สร้างความหิวกระหายให้กับมนุษย์หรือสัตว์อื่น ๆ เพื่อให้เปลี่ยนพฤติกรรม โดยปกติทำงานเป็นตัวเสริมแรง (reinforcer) ซึ่งเป็นสิ่งที่เมื่อให้หลังจากมีพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง จะทำให้พฤติกรรมนั้นมีโอกาสการเกิดเพิ่มขึ้น ให้สังเกตว่า แม้ว่าสิ่งหนึ่ง ๆ อาจจะเรียกว่ารางวัล แต่ไม่จำเป็นที่มันจะเป็นตัวเสริมแรง เพราะว่ารางวัลจะเป็นตัวเสริมแรงได้ก็ต่อเมื่อถ้าให้แล้วเพิ่มความน่าจะเป็นของพฤติกรรมนั้น ๆ รางวัลหรือการเสริมแรง เป็นเครื่องวัดที่เป็นกลาง ๆ เพื่อวัดคุณค่าที่บุคคลให้กับวัตถุ กับพฤติกรรม หรือกับสรีรภาพภายในอะไรอย่างหนึ่ง รางวัลปฐมภูมิ (Primary reward) รวมสิ่งที่จำเป็นต่อการรอดพันธุ์ของสปีชีส์ เช่น การได้อาหารและเพศสัมพันธ์ ส่วนรางวัลทุติยภูมิจะมีค่าสืบจากรางวัลปฐมภูมิ เงินทองเป็นตัวอย่างที่ดีอย่างหนึ่ง รางวัลทุติยภูมิสามารถสร้างได้ในการทดลองโดยการจับคู่สิ่งเร้าที่เป็นกลาง (รางวัลทุติยภูมิ) กับรางวัลปฐมภูมิ บ่อยครั้ง สัมผัสที่เป็นสุขหรือว่าเสียงดนตรีที่ไพเราะจัดว่าเป็นรางวัลทุติยภูมิ แต่นี่อาจจะไม่เป็นอย่างนั้น เพราะว่า มีหลักฐานจำนวนหนึ่งที่แสดงว่า สัมผัสทางกาย เช่น การโอบกอดหรือการดูแลแต่งกายให้กันและกัน ไม่ใช่รางวัลที่ต้องเรียนรู้ คือเป็นรางวัลปฐมภูมิ รางวัลโดยทั่วไปมองว่าดีกว่าการทำโทษเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม.

ใหม่!!: สปีชีส์และระบบรางวัล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสืบพันธุ์

ระบบสืบพันธุ์ (reproductive system) เป็นระบบของอวัยวะในร่างกายสิ่งมีชีวิตซึ่งทำงานร่วมกันโดยมีจุดประสงค์เพื่อการสืบพันธุ์เพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตให้มากขึ้น ในระบบนี้จำเป็นต้องอาศัยสารต่างๆ อาทิ ของเหลว ฮอร์โมน และฟีโรโมนหลายชนิดเพื่อช่วยเหลือในการทำงาน ระบบสืบพันธุ์เป็นระบบซึ่งแตกต่างจากระบบอวัยวะอื่นๆ กล่าวคือระบบเพศของสัตว์ต่างชนิดกันก็มีความแตกต่างกัน ความหลากหลายนี้ก่อให้เกิดการผสมรวมกันของสารพันธุกรรมระหว่างสิ่งมีชีวิตสองตัว เพื่อเพิ่มความสามารถในการดำรงอยู่ในสิ่งแวดล้อมของลูกหลานต่อไป Body Guide powered by Adam.

ใหม่!!: สปีชีส์และระบบสืบพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รักเร่

รักเร่ เป็นพันธุ์ไม้ดอกในสกุล Dahlia ที่มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโก โคลัมเบีย และทั่วไปในทวีปอเมริกากลาง ดอกมีรูปทรงและสีสันสวยงามสะดุดตา ก้านดอกแข็งแรง นิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก เช่นเดียวกับกุหลาบ แต่ในประเทศไทยไม่นิยมปลูก เนื่องมาจากมีชื่อที่ไม่เป็นมงคล.

ใหม่!!: สปีชีส์และรักเร่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

''N. mirabilis'' × ''N. sumatrana'', ลูกผสมหายากที่พบในสุมาตรา รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นการรวบรวมรายชื่อลูกผสมทางธรรมชาติของพืชกินสัตว์ในสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง ลูกผสมชนิดใดไม่ใช่พืชถิ่นเดียวจะมีเครื่องหมายดอกจันข้างหลังชื่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และรายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสัตว์น้ำ

รายชื่อสัตว์น้ำ เป็นการรวบรวมรายชื่อของสัตว์น้ำทุกไฟลัม สปีชีส์ไว้เพื่อเป็นการสะดวกต่อค้นหา การศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสัตว์น้ำ สำหรับผู้ที่จะเพิ่มเติมรายชื่อสัตว์น้ำ ขอให้เรียงลำดับตามตัวอักษร เพื่อให้ง่ายต่อการเพิ่มเติมรายชื่อ ในส่วนของรายชื่อสัตว์น้ำที่มีคนเริ่มเขียนบทความแล้วดูได้ที่ หมวดหมู่ รายชื่อสัตว์น้ำ และ สัตว์ที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ! สัตว์น้ำ หมวดหมู่:อนุกรมวิธาน (ชีววิทยา).

ใหม่!!: สปีชีส์และรายชื่อสัตว์น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสัตว์เลื้อยคลาน

รายชื่อสัตว์เลื้อยคลาน เป็นการรวบรวมรายชื่อของสัตว์เลื้อยคลานทุกไฟลัม สปีชีส์ไว้เพื่อเป็นการสะดวกต่อค้นหา การศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสัตว์เลื้อยคลาน สำหรับผู้ที่จะเพิ่มเติมรายชื่อสัตว์คลาน ขอให้เรียงลำดับตามตัวอักษร เพื่อให้ง่ายต่อการเพิ่มเติมรายชื่อ ในส่วนของรายชื่อสัตว์เลื้อยคลานที่มีคนเริ่มเขียนบทความแล้วดูได้ที่ หมวดหมู่ รายชื่อสัตว์เลื้อยคลาน และ สัตว์ที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ สัตว์คลาน หมวดหมู่:อนุกรมวิธาน (ชีววิทยา).

ใหม่!!: สปีชีส์และรายชื่อสัตว์เลื้อยคลาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง

ในการตั้งชื่อทางชีววิทยา สิ่งมีชีวิตมักได้รับชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคล ชั้นอนุกรมวิธาน (taxon) (ตัวอย่างเช่น สปีชีส์ หรือ สกุล) ที่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่สิ่งอื่นอื่นเรียกว่า eponymous taxon ส่วนชื่อที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลใดบุคคลนึง หรือกลุ่มคน เรียกว่า patronymic ปกติแล้วชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการในวารสารที่มีการตรวจสอบโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ โดยมีคำบรรยายชื่อชั้นอนุกรมวิธานและวิธีบอกความแตกต่างกับชั้นอนุกรมวิธานอื่น ตามกฎของไวยากรณ์ภาษาละตินชื่อสปีชีส์หรือชนิดย่อยที่มาจากชื่อผู้ชายส่วนใหญ่ลงท้ายด้วย -i หรือ -ii หากตั้งชื่อตามคนบุคคลและ -orum หากตั้งชื่อตามกลุ่มผู้ชายหรือชายหญิง เช่น ครอบครัว ในทางคล้ายกัน ชื่อที่ตั้งตามผู้หญิงล้วนลงท้ายด้วย -ae หรือ -arum สำหรับผู้หญิงสองคนหรือมากกว่า รายชื่อนี้มีสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามบุคคลหรือคณะที่มีชื่อเสียง (รวมไปถึงวงดนตรี และคณะนักแสดง) แต่ไม่รวมบริษัท สถาบัน กลุ่มชาติพันธุ์หรือชาติ และสถานที่ซึ่งมีคนอยู่มาก ไม่รวมถึงสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามตัวละครในนวนิยาย นักชีววิทยา หรือนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ หรือคนในครอบครัวของนักวิจัยที่อาจไม่เป็นที่รู้จัก ชื่อวิทยาศาสตร์อยู่ในรูปแบบที่บรรยายไว้ดั้งเดิม.

ใหม่!!: สปีชีส์และรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง · ดูเพิ่มเติม »

รายการสัตว์

รายชื่อสัตว์ เป็นการรวบรวมรายชื่อของสัตว์ทุกไฟลัมและสปีชีส์ไว้ เพื่อเป็นการสะดวกต่อค้นหา การศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสัตว์ ได้แก่ สัตว์บก • สัตว์น้ำ • สัตว์ปีก • สัตว์เลื้อยคลาน • สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก เรียงตามลำดับตัวอักษร สำหรับผู้ที่จะเพิ่มเติมรายชื่อสัตว์ ขอให้เรียงลำดับตามตัวอักษร เพื่อให้ง่ายต่อการเพิ่มเติมรายชื่อ ในส่วนของรายชื่อสัตว์ที่มีคนเริ่มเขียนบทความแล้วดูได้ที่ หมวดหมู่ รายชื่อสัตว์ และ สัตว์ที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ หมวดหมู่:สัตว์.

ใหม่!!: สปีชีส์และรายการสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: สปีชีส์และรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์

ตารางต่อไปนี้จะแสดงข้อมูลส่วนหนึ่งในบรรดาซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ที่เป็นสายพันธุ์มนุษย์ (hominin) ซึ่งใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นตั้งแต่การตั้งขึ้นของวงศ์ย่อย "Hominini" ในสมัย Miocene ปลายคือประมาณ 6 ล้านปีก่อน (ดูการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ที่บทความการจำแนกชั้นของไพรเมต-วงศ์ลิงใหญ่) เนื่องจากว่า มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์เป็นพัน ๆ โดยมากไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งเป็นเพียงแค่กระดูกหรือฟันชิ้นเดียว และน้อยครั้งจะได้โครงกระดูกหรือแม้แต่กะโหลกศีรษะทุกชิ้น ตารางนี้ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะแสดงซากดึกดำบรรพ์ที่ได้ค้นพบทั้งหมด แต่เพื่อจะแสดงสิ่งค้นพบที่สำคัญที่สุด รายการจะเรียงลำดับตามอายุโดยประมาณ ตามการหาอายุโดยสารกัมมันภาพรังสี (เช่นจากคาร์บอนกัมมันตรังสี) หรือเทคนิคอื่น ๆ (เช่น incremental dating) ชื่อสปีชีส์เป็นชื่อตามมติในปัจจุบัน หรือว่า ถ้าไม่มี ก็จะแสดงชื่ออื่น ๆ ไว้ด้วย ส่วนชื่อสปีชีส์ที่เคยใช้แต่ตกไปแล้วอาจจะพบได้ในเว็บไซต์ของซากดึกดำบรรพ์เอง ให้สังเกตว่า ซากดึกดำบรรพ์ที่แสดงโดยมากไม่ได้รับการพิจารณาว่า เป็นสัตว์บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens) แต่เป็นญาติใกล้ชิดกับบรรพบุรุษมนุษย์ และดังนั้น จึงมีความสำคัญในการศึกษาเรื่องการสืบทอดสายพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รีดบัก

รีดบัก (Reedbuck) เป็นแอนทิโลปขนาดกลาง ในวงศ์ย่อย Reduncinae หรือแอนทิโลปบึง มีความสูงประมาณ 60 ถึง 90 เซนติเมตร สีขนน้ำตาลแดง พบในแอฟริกาตะวันออก เช่น โมซักบิก, บอตสวานา, โซมาเลีย และบางส่วนของแทนซาเนีย รีดบัก มีลักษณะเด่น คือ มีต่อมกลิ่นที่แผ่นหนังสีดำใต้ใบหูทั้งสองข้างเห็นได้ชัดเจน ตัวผู้มีเขาที่โง้งไปด้านหน้า ตัวเมีนไม่มีเขา อาศัยอยู่ตามบริเวณที่เป็นดงกก หรือดงอ้อ รวมถึงพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ เช่น หนอง, บึง และแม่น้ำที่อยู่ติดกับทุ่งหญ้า เป็นสัตว์ที่ดื่มน้ำโดยการสะสมความชื้นที่ได้จากพืชที่กินเข้าไปก็จะสามารถอดน้ำได้เป็นเวลานาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และรีดบัก · ดูเพิ่มเติม »

ร็อด

ผีเสื้อกลางคืนเล่นไฟ เมื่อถ่ายภาพออกมาทำให้เชื่อว่าเป็นร็อด ร็อด หรือ ร็อดส์ (rod, rods) สิ่งมีชีวิตลึกลับที่ยังไม่มีการยืนยันว่ามีจริงหรือไม่ คืออะไร แต่เชื่อว่ามักจะปรากฏตัวตามสถานที่ต่าง ๆ และสามารถจับภาพได้ด้วยกล้องที่มีความเร็วสูง และเชื่อว่าหลังที่มันปรากฏตัวแล้ว สถานที่นั้น ๆ จะพบกับเหตุวิบัติต่าง ๆ เสมือนหนึ่งว่า ร็อด ได้มาเตือนให้ทราบล่วงหน้าก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และร็อด · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง

ในสาขาจิตวิทยา ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง (Big Five personality traits) หรือ แบบจำลองมีปัจจัย 5 อย่าง (five factor model ตัวย่อ FFM) เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับมิติหรือปัจจัยใหญ่ ๆ 5 อย่างที่ใช้อธิบายบุคลิกภาพและสภาพทางจิตใจของมนุษย์ โดยมีนิยามของปัจจัย 5 อย่างว.

ใหม่!!: สปีชีส์และลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง · ดูเพิ่มเติม »

ลายเจ็นนารี

ในสมองมนุษย์ ลายเจ็นนารี ("stria of Gennari" หรือ "band of Gennari" หรือ "line of Gennari" หรือ "bands of Baillarger") เป็นแถบแอกซอนมีปลอกไมอีลินเข้าไปสู่ชั้น 4B ของคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิจากชั้น 4Cα โครงสร้างนี้มองเห็นด้วยตาเปล่าและอยู่ติดกับคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิ แม้ว่าสปีชีส์อื่นจะมีเขตในสมองที่เรียกว่าคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิ แต่ว่าบางพวกไม่มีลายเจ็นนารี.

ใหม่!!: สปีชีส์และลายเจ็นนารี · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับสงวน

accessdate.

ใหม่!!: สปีชีส์และลำดับสงวน · ดูเพิ่มเติม »

ลำไส้เล็กอักเสบจากเชื้อโรตาไวรัส

ลำไส้เล็กอักเสบจากเชื้อโรตาไวรัส (rotavirus enteritis) เป็นสาเหตุของภาวะท้องร่วงรุนแรงในทารกและเด็กเล็กที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากการติดเชื้อโรตาไวรัส ซึ่งเป็นจีนัสหนึ่งของไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอสายคู่ในแฟมิลีรีโอวิริดี เด็กแทบทุกคนบนโลกเมื่ออายุครบ 5 ปีจะเคยติดเชื้อโรตาไวรัสมาแล้วอย่างน้อยหนึ่งครั้ง แต่ละครั้งที่ติดเชื้อร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน ทำให้การติดเชื้อครั้งถัดๆ ไปมีความรุนแรงลดลง ทำให้โรคนี้พบได้น้อยในผู้ใหญ่ ไวรัสนี้มีสปีชีส์ย่อยอยู่ 5 สปีชีส์ ได้แก่ เอ บี ซี ดี และอี ที่พบบ่อยที่สุดคือโรตาไวรัส เอ ซึ่งเป็นสาเหตุของการติดเชื้อโรตาไวรัสในมนุษย์ถึง 90% เชื้อนี้ติดต่อผ่านทางการกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระ เซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็กที่ติดเชื้อจะถูกทำลายทำให้เกิดกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (บางประเทศนิยมเรียกอาการเช่นนี้ว่า ไข้หวัดใหญ่ลงกระเพาะ (stomach flu) แม้เชื้อนี้จะไม่เกี่ยวข้องกับเชื้อไข้หวัดใหญ่แต่อย่างใดก็ตาม) เชื้อไวรัสนี้ถูกค้นพบตั้งแต..

ใหม่!!: สปีชีส์และลำไส้เล็กอักเสบจากเชื้อโรตาไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ลิง

แสม (''Macaca fascicularis'') ลิงที่คุ้นเคยและพบได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย อาจพบได้ถึงในชุมชนเมืองhttp://1081009.tourismthailand.org/trip/dcp?id.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิง · ดูเพิ่มเติม »

ลิงบาบูน

ลิงบาบูน (Baboons; بابون) เป็นสกุลของลิง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Papio ลิงบาบูนเป็นลิงที่จัดได้ว่ามีขนาดใหญ่ แขนและขายาวเท่ากัน ทำให้สามารถเดินด้วยขาทั้ง 4 ข้างได้เป็นอย่างดี ขณะที่ส่วนหางที่สั้น และร่างกายที่กำยำแข็งแรง ทำให้วิ่งได้รวดเร็วพอ ๆ กับม้า ลิงบาบูนส่วนมากจะหากินและอาศัยบนพื้นดินมากกว่าขึ้นต้นไม้ ตามแถบที่โล่งกว้างมากกว่าที่รกชัฏ โดยจะขึ้นต้นไม้เฉพาะตอนนอนเท่านั้น หากินในเวลากลางวัน มีลักษณะเด่น คือ มีใบหน้ายาวเหมือนสุนัข และมีฟันเขี้ยวที่แข็งแรงและยาวโง้ง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง อาจถึง 200-300 ตัว มีตัวผู้ขนาดใหญ่เป็นจ่าฝูง หากินผลไม้ เมล็ดพืช ตลอดจนสัตว์ขนาดเล็กอย่างแมงป่องและแมงมุมโดยการพลิกก้อนหินหา หรือแม้กระทั่งล้มสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ไก่ฟ้า หมูป่า หรือแอนทิโลปที่เป็นตัวลูกหรือตัวขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ ลิงบาบูนขึ้นชื่อว่าเป็นลิงที่มีอุปนิสัยดุร้าย ก้าวร้าว เนื่องจากเป็นลิงที่กินเนื้อเป็นอาหารหลัก โดยอาจโจมตีทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย แต่กระนั้นก็ยังมีผู้นำมาฝึกให้เล่นละครลิงหรือละครสัตว์ได้ นอกจากนี้แล้ว ลิงบาบูนยังเป็นลิงที่สามารถออกเสียงได้เหมือนกับเสียงสระในภาษาอังกฤษได้อีกด้วย เนื่องจากมีกล้ามเนื้อลิ้นที่สร้างความแตกต่างในการออกเสียงแต่ละสระได้เหมือนกับมนุษย์ และถึงแม้ว่าจะมีกล่องเสียงสูง ซึ่งต่างจากมนุษย์ที่ออกเสียงด้วยการใช้กล่องเสียงต่ำ แต่ลิงบาบูนก็ไม่สามารถที่จะพูดได้จริง.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงบาบูน · ดูเพิ่มเติม »

ลิงกังญี่ปุ่น

ลิงกังญี่ปุ่น หรือ ลิงหิมะญี่ปุ่น (Japanese macaque, Snow japanese monkey; ニホンザル) เป็นลิงชนิดหนึ่ง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) เป็นลิงพื้นเมืองของหมู่เกาะญี่ปุ่น พบได้ตามภูมิภาคต่าง ๆ ของญี่ปุ่น ในที่มีอากาศหนาวเย็น มีหิมะและน้ำแข็ง มีขนสีน้ำตาลเทาหรือเหลืองอ่อน ตัวผู้มีน้ำหนักเต็มที่ประมาณ 11-13 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดตัวที่เล็กและน้ำหนักเบากว่า คือประมาณ 8 กิโลกรัม มีขนหนาตลอดทั้งลำตัว ยกเว้นใบหน้าที่มีสีแดง ส่วนหางสั้น มี 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ลิงตัวเมียที่มีอาวุโสสูงสุดจะเป็นจ่าฝูง หากินได้ทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ โดยลิงตัวเมียจะใช้เวลาในการหาอาหารมากกว่าตัวผู้ สามารถว่ายน้ำได้เป็นอย่างดี มีรายงานว่าสามารถว่ายน้ำได้ไกลกว่าครึ่งกิโลเมตร และยังสามารถอาศัยอยู่ในที่ ๆ มีอุณหภูมิต่ำถึง -20 องศาเซลเซียสได้อีกด้วย เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 6 ปี แต่ลิงตัวเมียจะเข้าสู่เร็วกว่า มีอายุยืนประมาณ 28 ปีในตัวผู้ ขณะที่ตัวเมีย 32 ปี ลิงตัวเมียจะเลี้ยงลูกนานเป็นเวลา 2 ปี เมื่ออายุได้ 4 ปี ลูกลิงตัวผู้ก็จะจากฝูงไปเพื่อเข้าร่วมกับฝูงใหม่ สร้างครอบครัวต่อไป ส่วนลิงตัวเมียจะอาศัยอยู่กับฝูงไปชั่วชีวิต ลิงกังญี่ปุ่นจะมีลูกในช่วงฤดูใบไม้ผลิ นอกจากนี้แล้วยังพบว่าลิงกังญี่ปุ่นตัวผู้บางตัวยังมีพฤติกรรมพยายามที่จะผสมพันธุ์กับกวางซีกา ซึ่งเป็นกวางพื้นเมืองของญี่ปุ่นด้วย โดยเป็นลิงตัวผู้ที่อาศัยอยู่บนเกาะยะกุ ทางตอนใต้ของญี่ปุ่น เชื่อว่าคงเป็นเพราะลิงตัวนี้เป็นลิงที่มีอายุน้อย หรือไม่ก็หาคู่ตัวเมียผสมพันธุ์ด้วยไม่ได้ ลิงกังญี่ปุ่น ถือว่าเป็นไพรเมตที่อาศัยอยู่ห่างไกลเส้นศูนย์สูตรมากที่สุดที่ไม่ใช่มนุษย์ หลักฐานทางดีเอ็นเอและซากฟอสซิลพบว่า บรรพบุรุษของลิงกังญี่ปุ่นเดินทางมาจากแผ่นดินใหญ่เอเชียเมื่อกว่า 500,000 ปีที่แล้ว และได้ปรับตัววิวัฒนาการให้เหมาะสมกับการใช้ชีวิตอยู่ที่เกาะญี่ปุ่น โดยบรรพบุรุษของลิงกังญี่ปุ่นมีความใกล้เคียงกับลิงวอกและลิงกังไต้หวัน ที่มีหาง เมื่อใช้ชีวิตอยู่ที่ญี่ปุ่นที่มีสภาพอากาศหนาวเย็นแล้ว ลิงกังญี่ปุ่นได้วิวัฒนาการให้ตัวเองมีรูปร่างที่ใหญ่กว่าลิงกังที่พบในแผ่นดินใหญ่ของเอเชีย มีขนหนา 2 ชั้นเพื่อรักษาความอบอุ่น หางหดสั้นลงเพื่อรักษาความอบอุ่นและป้องกันการโดนหิมะกัด ในฤดูหนาวที่อากาศหนาวเย็นและหิมะทับถมหนาได้ถึง 6 ฟุต โดยเฉพาะบนเกาะฮนชู ลิงกังญี่ปุ่นจะเริ่มกินอาหารจำนวนมากถึงร้อยละ 10 ของน้ำหนักตัวเพื่อที่จะสะสมพลังงานและไขมันในตัวก่อนหน้านั้น โดยเฉพาะตัวเมียเพื่อที่จะผลิตน้ำนมเลี้ยงลูก และยามเมื่อถึงฤดูหนาวแล้ว ยังสามารถที่จะกัดเปลือกไม้บางชนิด เพื่อกินเนื้อไม้ที่อ่อนนุ่ม และอุดมด้วยสารอาหารในนั้น รวมทั้งรู้จักที่จะล้วงเก็บลูกสนที่ถูกหิมะทับไว้อย่างหนาแน่นได้อีกด้วย แต่ในช่วงนี้จะมีลูกลิงบางส่วนที่ต้องตายไป เพราะไม่อาจทนทานต่อสภาพอากาศได้ ในอดีตจากการศึกษาทางดีเอ็นเอ พบว่า ในยุคน้ำแข็งยุคสุดท้าย ลิงกังญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือเมื่อถึงฤดูหนาวจะอพยพลงใต้ที่ ๆ จากฮนชู ไปคิวชู และกระจายไปที่อื่น ๆ อันเป็นที่สภาพอากาศอบอุ่นกว่า แต่ก็ยังคงมีประชากรบางส่วนที่ยังอาศัยอยู่ยังที่เดิม พบกระจายพันธุ์อยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วญี่ปุ่น เช่น ฮนชู, คิวชู และชิโกกุ ลิงกังญี่ปุ่นยังมีพฤติกรรมที่แตกไปจากลิงชนิดอื่น ๆ คือ ชอบที่จะแช่น้ำร้อนตามบ่อน้ำพุร้อนต่าง ๆ โดยเฉพาะที่อุทยานลิงจิโกะกุดะนิ ในจังหวัดนะงะโนะ ลิงที่นี่ชอบที่จะแช่น้ำร้อนมากกว่าลิงชนิดเดียวกันที่อื่น ๆ บางครั้งอาจเผลอหลับไปในขณะที่แช่ได้เลย จึงเป็นที่ชื่นชอบอย่างยิ่งของนักท่องเที่ยว และชอบที่จะปั้นหิมะเป็นลูกบอลเขวี้ยงเล่นเพื่อความสนุกสนาน อีกทั้งก่อนที่จะกินอาหารยังชอบที่นำไปล้างน้ำทะเลก่อนด้วย ส่วนในบ่อน้ำร้อน จะมีพฤติกรรมดำน้ำลงไปก้นบ่อเก็บกินข้าวสาลีที่มีผู้โยนมาให้เป็นอาหารกิน ลิงที่อาศัยแถบแม่น้ำซุซุกิ มีพฤติกรรมพลิกก้อนหินหาแมลงน้ำและตัวอ่อนแมลงน้ำที่หลบซ่อนตัวจากลำธารกินได้ และลิงที่อาศัยอยู่แถบชายทะเลยังรู้จักที่จะเก็บสาหร่ายทะเลกินเป็นอาหารได้อีกด้วย พฤติกรรมการหากินและการปรับตัวเหล่านี้ เชื่อว่า เป็นผลมาจากการเรียนรู้ของลิงตัวเมียที่สืบทอดกันมาจากรุ่นเป็นรุ่นเป็นเวลาราว 3 รุ่น และเป็นการเรียนรู้กันเฉพาะกลุ่มJapan, "Mutant Planet".

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงกังญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ลิงลม

ลิงลม หรือ นางอาย หรือ ลิงจุ่น (Slow lorises, Lorises; อินโดนีเซีย: Kukang) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Lorisidae ในอันดับไพรเมต (Primates) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nycticebus (/นิค-ติ-ซี-บัส/).

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงลม · ดูเพิ่มเติม »

ลิงลมเหนือ

ลิงลมเหนือ หรือ ลิงลมเบงกอล (Bengal slow loris, Northern slow loris) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) ในวงศ์ลิงลม (Lorisidae) จัดเป็นลิงลมชนิดหนึ่ง ที่เป็นลิงลมที่พบได้ในประเทศไทยทั่วทุกภาค นอกจากลิงลมใต้ (N. coucang) ซึ่งลิงลมเหนือนับเป็นลิงลมที่เพิ่งมีการจำแนกออกเป็นชนิดใหม่ เป็นลิงลมที่มีขนาดใหญ่ มีน้ำหนักตัว 900-1,400 กรัม ความยาวลำตัวจากหัวและลำตัว 325-360 มิลลิเมตร ใบหูมองเห็นได้ชัดเจน โดยจะจมหายไปกับขนบนหัว สีขนมีความแตกต่างหากหลายกันไปตามสภาพพื้นที่ ตั้งแต่ สีเทาอมครีม, สีครีม, สีน้ำตาลอ่อน, สีส้มหม่น มีเส้นพาดกลางหลังสีน้ำตาลจรดหาง บนใบหน้าไม่ปรากฏเส้นพาดสีดำไปยังหูทั้ง 2 ข้าง และไปยังดวงตา 2 ข้าง เป็นลักษณะรูปคล้ายช้อนส้อม หรือถ้าปรากฏก็จะจาง ๆ ขนรอบดวงตาเป็นสีเข้ม ผิวหนังที่ขาทั้ง 4 ข้าง เป็นสีซีด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้จนถึงภูมิภาคอินโดจีน แต่ตามกฎหมายในประเทศไทย ยังไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหม.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงลมเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ลิงจมูกยาว

ลิงจมูกยาว หรือ ลิงจมูกงวง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานรชนิดหนึ่ง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล NasalisWilson, D. E. & Reeder, D. M. (eds.) (2005).

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ลิงจมูกเชิด

ลิงจมูกเชิด หรือ ค่างจมูกเชิด (Snub-nosed monkey; 金丝猴) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinopithecus จัดเป็นค่าง (Colobinae) สกุลหนึ่ง กระจายพันธุ์ในป่าทึบบนภูเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเลหลายพันเมตร ในแถบตอนเหนือของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน จนถึงตอนล่างของจีนที่ติดต่อกับพรมแดนประเทศอื่น ๆ เช่น รัฐคะฉิ่นของพม่า และเวียดนาม ลิงจมูกเชิด มีลักษณะเด่นโดยทั่วไป คือ ไม่มีกระดูกดั้งจมูก และรูจมูกเชิดขึ้นด้านบน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก จัดเป็นลิงที่มีขนาดใหญ่พอสมควร เพราะโตเต็มที่ อาจมีขนาดใหญ่ได้ถึง 51-83 เซนติเมตร ความยาวหาง 55-97 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก แต่ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่ากันถึงครึ่งเท่าตัว มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินใบไม้และดอกไม้ต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยสามารถที่จะกินพืชชนิดต่าง ๆ ได้ถึง 60 ชนิด ลูกลิงขนาดเล็ก จะมีสีขนที่อ่อนไม่เหมือนตัวเต็มวัย โดยจะอาศัยอยู่กับแม่จนกว่าจะโต เมื่ออายุได้ราว 6-7 ปี มีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 200 วัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเท่านั้น ปัจจุบัน พบทั้งหมด 5 ชนิด โดยชนิดที่พบล่าสุด พบในประเทศพม่า ทุกชนิดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสภาพใกล้สูญพันธุ์และใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต โดยเฉพาะชนิดที่พบในประเทศจีน มีจำนวนประชากรในธรรมชาติไม่เกิน 2,000 ตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงจมูกเชิด · ดูเพิ่มเติม »

ลิงแม็กแคก

ลิงแม็กแคก (Macaques) เป็นสกุลของวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Macaca (/แม็ก-คา-คา/) ลิงในสกุลนี้ มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาตอนเหนือจนถึงเอเชีย เป็นลิงที่พบได้อย่างกว้างขวาง มีนิ้วมือที่วิวัฒนาการใช้หยิบจับสิ่งต่าง ๆ ได้ดี มีกระพุ้งแก้มที่สามารถใช้เก็บอาหารได้ กินอาหารได้หลากหลาย ทั้งเนื้อสัตว์และพืช บางชนิดมีหางยาว ขณะที่บางชนิดมีหางขนาดสั้น มีพฤติกรรมทางสังคมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง มีโครงสร้างทางสังคมที่สลับซับซ้อนและมีลำดับอาวุโส โดยปกติแล้ว ลิงตัวผู้ที่มีอาวุโสที่สุดหรือมีขนาดตัวใหญ่ที่สุดในฝูงจะเป็นจ่าฝูง ลิงตัวใดที่มีลำดับอาวุโสน้อยกว่าถ้าได้กินอาหารก่อนลิงที่มีอาวุโสมากกว่า ลิงที่อาวุโสมากกว่าอาจแย่งอาหารจากลิงที่อาวุโสน้อยกว่าขณะกำลังจะหยิบเข้าปากได้เลย ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานไว้ทั้งสิ้น 23 ชนิด (บางข้อมูลจำแนกไว้ 16) โดยมี 6 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย ซึ่งนับเป็นลิงทั้งหมดที่พบได้ในประเทศไทย คือ ลิงแสม (M. fascicularis), ลิงกังใต้ (M. nemestrina), ลิงกังเหนือ (M. leonina), ลิงวอก (M. mulatta), ลิงอ้ายเงียะ (M. assamensis) และลิงเสน (M. arctoides) และยังมีอีก 4 ชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้วอีก คือ M. anderssoni, M. liangchuanensis, M. libyca, M. majori.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงแม็กแคก · ดูเพิ่มเติม »

ลิงแสม

ลิงแสม (Long-tailed macaque, Crab-eating macaque) เป็นลิงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macaca fascicularis จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงแสม · ดูเพิ่มเติม »

ลิงโคโลบัส

ลิงโคโลบัส (pages, Colobi) เป็นไพรเมตจำพวกลิงโลกเก่าที่อยู่ในสกุล Colobus จัดเป็นลิงที่อยู่ในกลุ่มค่าง คำว่า "โคโลบัส" (Colobus) มาจากภาษากรีก คำว่า κολοβό (kolobos) ซึ่งแปลว่า "เชื่อมต่อ" เนื่องจากลิงสกุลนี้มีหัวแม่มือที่สั้นมากเหมือนนิ้วด้วนหรือไม่มีหัวแม่มือ มีความใกล้เคียงกับลิงโคโลบัสสีน้ำตาล ที่อยู่ในสกุล Piliocolobus ลิงโคโลบัส เป็นลิงที่กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา มีลักษณะเด่นคือ มีขนเพียง 2 สี คือ สีดำและขาวตลอดทั้งลำตัวและส่วนหาง บางชนิดมีขนและหางที่ยาวแลดูสวยงาม และเหมือนกับค่างสกุลอื่น ๆ คือ กินพืชเป็นอาหาร ซึ่งสามารถกินได้หลากหลายทั้ง ใบไม้, ดอกไม้, ผลไม้, กิ่งไม้, เมล็ดพืช ลิงโคโลบัสจะอาศัยอยู่กันเป็นฝูงประมาณ 9 ตัว ในป่าหลากหลายประเภททั้งป่าที่สมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรม รวมถึงป่าทุ่งหญ้าและป่าริมแม่น้ำ และจะพบได้มากขึ้นในที่ ๆ ราบสูง มีระบบย่อยอาหารที่สามารถย่อยชิ้นส่วนต่าง ๆ ของพืชได้เป็นอย่างดีที่ลิงสกุลอื่นไม่สามารถทำได้ ภายในฝูงจะประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความหลากหลายทั้งลิงตัวเมีย และลูกลิง ลิงโคโลบัสเมื่อแรกเกิดจะมีขนสีขาว นอกจากนี้แล้วยังมีพฤติกรรมที่จะเลี้ยงลูกลิงตัวอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ลูกของตัวหรือสมาชิกในฝูงอีกด้วย ลิงโคโลบัส มีพฤติกรรมการกินอาหารที่ตะกละมูมมาม มักกินอาหารอย่างกระจัดกระจาย เป็นลิงที่ถูกล่าจากมนุษย์เพื่อเอาเนื้อบริโภคเป็นอาหาร กอรปกับป่าไม้ซึ่งเป็นสถานที่อยู่อาศัยอยู่ทำลาย อีกทั้งในธรรมชาติยังตกเป็นอาหารของชิมแปนซี ซึ่งเป็นไพรเมตเช่นเดียวกันล่ากินเป็นอาหารเพื่อความต้องการสารอาหารประเภทโปรตีนอีกด้วย Mutant Planet: African Rift Valley Lakes, "Mutant Planet".

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงโคโลบัส · ดูเพิ่มเติม »

ลิงไลออนทามาริน

ลิงไลออนทามาริน (Lion tamarin) เป็นลิงโลกใหม่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Leontopithecus ในวงศ์ Callitrichidae เป็นลิงขนาดเล็ก มีน้ำหนักประมาณ 900 กรัม (2 กรัม) และความยาวลำตัวประมาณ 30 เซนติเมตร (12 นิ้ว) ยาวหางประมาณ 45 เซนติเมตร (17 นิ้ว) มีจุดเด่นคือ มีขนยาวฟูตลอดทั้งตัวและหาง โดยเฉพาะส่วนหัวทำให้แลดูคล้ายสิงโต ทั้งหมดเป็นลิงที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นครอบครัว โดยที่ลิงตัวผู้จะเป็นผู้ดูแลลูกลิงขนาดเล็ก ทั้งที่ไม่ใช่ลูกของตัวเอง ลิงตัวเมียจะคอยดูแลลูกลิงวัยอ่อนวันละประมาณ 2-3 ชั่วโมง จากนั้นลิงตัวผู้จะเป็นฝ่ายดูแลโดยให้เกาะไปมาบนหลัง ลิงที่อายุยังน้อยมีแนวโน้มสูงที่จะได้ลูกแฝด มีพฤติกรรมอาศัยในป่าดิบชื้น พบเฉพาะทางฝั่งตะวันออกของบราซิลติดมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นลิงที่หากินในเวลากลางวัน กลางคืนจะนอนหลับในโพรงไม้ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ มีการใช้นิ้วและเล็บแกะเปลือกไม้เพื่อหาแมลงกิน ในช่วงเวลากลางวันที่มีอุณหภูมิสูงจะหลบซ่อนในที่ร่มเพื่อหลบร้อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงไลออนทามาริน · ดูเพิ่มเติม »

ลิงเลซูลา

ลิงเลซูลา (Lesula) ลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งถูกอนุกรมวิธานในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงเลซูลา · ดูเพิ่มเติม »

ลิงเสน

ลิงเสน หรือ ลิงหมี (Stump-tailed macaque, Bear macaque) เป็นลิงชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ในประเทศไทย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macaca arctoides จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และลิงเสน · ดูเพิ่มเติม »

ลินเส็ง

ลินเส็ง (Linsang) เป็นภาษาชวาที่หมายถึง ชะมด หรืออีเห็น แต่จริง ๆ แล้วลินเส็งหมายถึง ชะมดแปลง ซึ่งเป็นชะมดที่ไม่มีต่อมกลิ่นเหมือนชะมดหรืออีเห็นทั่วไป ลินเส็ง แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และลินเส็ง · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่นจีน

ลิ่นจีน (อังกฤษ: Chinese pangolin; 中華穿山甲; ชื่อวิทยาศาสตร์: Manis pentadactyla) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำพวกลิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิ่นจีน · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่นซุนดา

ลิ่นซุนดา หรือ ลิ่นมลายู หรือ ลิ่นชวา (อังกฤษ: Sunda pangolin, Malayan pangolin, Javan pangolin) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกลิ่น มีรูปร่างเหมือนลิ่นจีน (M. pentadactyla) แต่ลิ่นซุนดามีหางที่ยาวกว่าและปกคลุมด้วยเกล็ดประมาณ 30 เกล็ด และสีลำตัวจะอ่อนกว่า โดยมีสีน้ำตาลเหลืองหรือน้ำตาลเข้มและมีขนบาง ๆ ขึ้นแทรกอยู่เล็กน้อย อีกทั้งมีขนาดลำตัวและน้ำหนักมากกว่า กล่าวคือ มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 42.5-55 เซนติเมตร มีความยาวหาง 34-47 เซนติเมตร และความสูงจากพื้นดินถึงหัวไหล่ประมาณ 7.5-9 เซนติเมตร น้ำนักตัวประมาณ 5-7 กิโลกรัม มีการแพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคอินโดจีนเรื่อยจนถึงแหลมมลายูจนถึงภูมิภาคซุนดา และยังพบในหมู่เกาะฟิลิปปินส์อีกด้วย สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้, พื้นดิน และใต้ดิน เนื่องจากมีเล็บและหางที่แข็งแรงสามารถใช้เกาะเกี่ยวต้นไม้ได้ดี โดยอาหารส่วนใหญ่คือ มดและปลวก ลูกลิ่นที่เกิดใหม่จะเกาะติดแม่ โดยการใช้เล็บเกาะเกี่ยวโคนหางของแม่ไว้ จะหย่านมเมื่ออายุได้ 3 เดือน โดยปกติจะอาศัยหลับนอนอยู่ตามโพรงในเวลากลางวัน โดยใช้ดินมาปิดไว้บริเวณปากโพรง เพื่อช่วยอำพรางโพรงที่มีความลึกประมาณ 3-4 เมตร เมื่อถูกรบกวนจากศัตรูหรือตกใจจะนอนขดตัวเป็นลูกกลม ๆ คล้ายลูกฟุตบอล โดยไม่มีการต่อสู้แต่อย่างใด สำหรับในประเทศไทยพบได้ทุกภูมิภาค และลิ่นซุนดาถือเป็นลิ่น 1 ใน 2 ชนิดเท่านั้นที่สามารถพบได้ (อีกชนิดหนึ่งนั่นคือ ลิ่นจีน) และเป็นสัตว์ที่นิยมค้าขายเป็นของผิดกฎหมาย โดยมักปรากฏเป็นข่าวอยู่เสมอ ๆ ว่า เจ้าหน้าที่สามารถจับผู้ลักลอบได้ทีละมาก ๆ ทั้งนี้ก็เพื่อนำขายต่อให้ภัตตาคารหรือผู้ที่นิยมรับประทานสัตว์ป่า ทั้งนี้ลิ่นซุนดามีสถานภาพเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 พร้อมกับลิ่นจีน.

ใหม่!!: สปีชีส์และลิ่นซุนดา · ดูเพิ่มเติม »

ลูพิน

''Lupinus polyphyllus '' ลูพิน (Lupin หรือ lupine) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลลูพินนัส (Lupinus) ในวงศ์ถั่วที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 200 ถึง 600 สปีชีส์ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูล มีศูนย์กลางอยู่ในอเมริกาใต้, ทางตะวันตกของอเมริกาเหนือ, บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน และ แอฟริกา ลูพินส่วนใหญ่เป็นพืชยืนต้นสูงราว 0.3 ถึง 1.5 เมตร แต่บางชนิตก็เป็นพืชปีเดียว และบางชนิดก็เป็นไม้พุ่มที่สูงถึง 3 เมตร (ลูพินพุ่ม) และมีอยู่สปีชีส์หนึ่งจากเม็กซิโกที่สูงถึง 8 เมตรและมีลำต้นที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร ใบมีลักษณะเด่นที่จำได้ง่ายสีเขียวออกไปทางเขียวอมเทาเล็กน้อย บางสปีชีส์ก็มีขนหนาสีเงินบนใบ ใบมีลักษณะเหมือนใบปาล์มที่แยกออกเป็น 5 ถึง 28 แฉก แต่บางสปีชีส์ก็ไม่มีแฉกเช่นที่พบทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ทรงดอกเหมือนข้าวโพดที่เป็นดอกเหมือนดอกถั่วกระจายออกไปรอบแกนกลางแต่ละดอกก็ยาวราว 1 ถึง 2 เซนติเมตร เมล็ดออกจากฝักแต่ละฝักก็มีหลายเมล็ด ลูพินก็เช่นเดียวกับพืชวงศ์ถั่วอื่นๆ ที่สามารถเปลี่ยนไนโตรเจนจากบรรยากาศให้เป็นไนโตรเจนให้เป็นแอมโมเนียได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มปุ๋ยให้แก่พืชอื่นสกุลลูพินนัสมีไรโซเบียมแบบที่เรียกว่า Bradyrhizobium ลูพินเป็นทั้งดอกไม้ป่าและไม้บ้าน โครงสร้างของพุ่มและดอกมีลักษณะเด่นเหมาะแก่การปลูกตกแต่งสวน สีก็มีแทบทุกสีที่รวมทั้งเหลือง ชมพู แดง ม่วงน้ำเงิน ม่วงแดง และขาว.

ใหม่!!: สปีชีส์และลูพิน · ดูเพิ่มเติม »

ลู่ตูง

ลู่ตูง (Lutung) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร (Primates) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Trachypithecus จัดอยู่ในจำพวกค่าง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) โดยชื่อสามัญคำว่า "Lutung" มาจากภาษามลายู เนื่องจากมีความแตกต่างจากค่างสกุลที่พบในอนุทวีปอินเดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และลู่ตูง · ดูเพิ่มเติม »

ลู่เฟิงโกซอรัส

ลู่เฟิงโกซอรัส (Lufengosaurus) ค้นพบเมื่อปี 1941 ในประเทศจีน ชื่อของมันมีความหมายว่ากิ้งก่าแห่งลู่เฟิง เพราะว่า ฟอสซิลขอลของมันค้นพบที่อำเภอลู่เฟิง เป็นไดโนเสาร์กินพืชคล้ายกับออร์นิโทไมมัส แต่มีขนาดใหญ่กว่า ยาวประมาณ 6 เมตร อาศัยอยู่ในยุคจูราสสิคตอนต้นเมื่อประมาณ 205 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และลู่เฟิงโกซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ลีดส์อิชธีส์

ลีดส์อิชธีส์ (Leedsichthys) เป็นชื่อปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว ลีดส์อิชธีส์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Leedsichthys problematicus อยู่ในวงศ์ Pachycormidae อาศัยอยู่ในทะเลในกลางยุคจูราสสิค (185-155 ล้านปีก่อน) พบฟอสซิลในชั้นหินในยุคนี้ โดยที่ชื่อ Leedsichthys ตั้งตามผู้ค้นพบคือ อัลเฟรด นิโคลสัน ลีดส์ นักสะสมซากดึกดำบรรพ์ชาวอังกฤษ มีความหมายว่า "ปลาของลีดส์" โดยพบในพื้นที่ใกล้เขตเมืองปีเตอร์โบโรห์เมื่อปี ค.ศ. 1886 ในสภาพเป็นเศษกระดูกจนยากจะคาดเดาว่าเป็นปลาชนิดใด หลังจากนั้นมีผู้ค้นพบในอีกหลายพื้นที่เช่น ในเมืองคอลโลเวียน ของอังกฤษ ทางภาคเหนือของเยอรมนีและฝรั่งเศส เมืองออกซ์ฟอร์เดียนของชิลีและเมืองคิมเอริดเกียน ของฝรั่งเศส โดยรวมแล้วพบประมาณ 70 ตัว แต่ไม่สามารถบอกขนาดตัวได้ จนอาร์เธอร์ สมิธ วูดวาร์ดพบตัวอย่างใน ค.ศ. 1889 ประเมินว่ามีขนาดตัวยาว 30 ฟุต หรือราว 9 เมตร โดยเปรียบเทียบหางของลีดส์อิชธีส์กับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันคือฮิพโซคอร์มัส ต่อมาการประเมินจากเอกสารการค้นพบในระยะหลัง รวมถึงตัวอย่างที่สมบูรณ์ในพื้นที่สตาร์ พิท ใกล้เขตวิทเทิลซีย์ เมืองปีเตอร์โบโร ได้ค่าใกล้เคียงกับของวูดวาร์ด ซึ่งอยู่ที่ 30-33 ฟุต และเป็นไปว่าตอนอายุ6-12ลำตัวยาวได้มากกว่า 54 ฟุต หรือ 16 เมตร แต่ถ้าโตเต็มวัยยาวได้ถึง 24.2-26 เมตรและอาจยาวได้สูงสุดคือ 28 เมตร จึงเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา นอกจากนี้ลีดส์อิชธีส์เป็นปลาใหญ่ที่สุดในประวัติศาตร์และครองตำแหน่งปลายักษ์มาแล้วมากกว่า 125 ปี ลีดส์อิชธีส์มีตาขนาดเล็กและด้วยขนาดตัวที่ใหญ่โตทำให้ว่ายน้ำช้า ใช้ชีวิตคล้ายคลึงกับปลาใหญ่ในยุคปัจจุบันอย่างปลาฉลามวาฬหรือปลาฉลามอาบแดด โดยใช้ฟันซี่เรียวกว่า 40,000 ซี่กรองกินสัตว์เล็กสัตว์น้อยและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร แม้ว่ามันจะมีลำตัขนาดใหญ่มาก แต่เชื่อว่าลีดส์อิชธีส์ก็ยังตกเป็นเหยื่อของปลากินเนื้อขนาดใหญ่รวมถึงสัตว์เลื้อยคลานทะเลยุคเดียวกันด้วย เช่น ไลโอพลัวเรอดอน เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และลีดส์อิชธีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลีเมอร์

ลีเมอร์ (Lemur) เป็นอันดับฐานของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับไพรเมตหรือลิง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lemuriformes ลักษณะโดยรวมของลีเมอร์ คือ มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับลิง แต่ทว่ามีส่วนหัวคล้ายหมาจิ้งจอก คือ มีจมูกและปากแหลมยาว มีดวงตากลมโต ขนหนาฟู มีหางยาวเป็นพวงเหมือนกระรอก โดยลีเมอร์เป็นไพรเมตที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่ม Prosimian ซึ่งรวมถึงลิงลม, กาเลโก และทาร์เซีย เพราะมีสายวิวัฒนาการที่ใกล้เคียงกัน จากการศึกษาทางดีเอ็นเอ ซึ่งคำว่า "Prosimian" นั้น มีความหมายว่า "ก่อนลิง" คำว่า "ลีเมอร์" แปลงมาจากคำว่า Lemures ในเทพปกรณัมโรมันหมายถึง "ดวงวิญญาณ, ผี หรือปีศาจ" ขนาดโดยทั่วไปโดยเฉลี่ยของลีเมอร์ขนาดเท่าแมว น้ำหนักตัวประมาณ 9 กิโลกรัม โดยที่ชนิดที่มีขนาดเล็กมีรูปร่างใกล้เคียงกับหนู มีการกระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะมาดากัสการ์ทางชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกที่เดียวเท่านั้น เหตุเพราะสันนิษฐานว่า ที่เกาะแห่งนี้ห่างไกลจากแผ่นดินใหญ่ ทำให้สัตว์หลายชนิดมีการวิวัฒนาการเป็นของตัวเองโดยเฉพาะ และไม่มีสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่คอยคุกคาม โดยอาศัยอยู่ในป่าดิบ บนต้นไม้ใหญ่ หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในเวลากลางคืน โดยที่สันนิษฐานอีกว่า บรรพบุรุษของลีเมอร์ เดินทางมายังเกาะมาดากัสการ์ด้วยกอพรรณพืชหรือต้นไม้เมื่อ 60 ล้านปีก่อน โดยลีเมอร์ได้วิวัฒนาการตัวเองแยกมาเป็นชนิดต่าง ๆ จากถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน เนื่องด้วยสภาพแวดล้อมที่แตกต่าง อันเป็นผลจากการที่น้ำท่วมเกาะ ก่อให้เกิดเป็นเกาะแก่งต่าง ๆ มากมาย และลีเมอร์ชนิดต่าง ๆ ต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยวและถูกจำกัดในเรื่องอาหาร จากพายุไซโคลนที่พัดถล่มในมหาสมุทรอินเดีย โดยเฉพาะชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก โดยเชื่อว่าบรรพบุรุษของลีเมอร์นั้นแรกเริ่มมีขนาดเล็ก และอาจเกาะกับต้นไม้ลอยน้ำมาในรูปแบบของการจำศีลMadagascar, "Mutant Planet" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และลีเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลีเมอร์หนู

ลีเมอร์หนู (Mouse lemur) เป็นไพรเมตขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในกลุ่มลีเมอร์ จัดอยู่ในสกุล Microcebus จัดเป็นลีเมอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุด และถือเป็นไพรเมตที่มีขนาดเล็กที่สุดจำพวกหนึ่ง ลีเมอร์หนู มีรูปร่างลักษณะแตกต่างไปจากลีเมอร์ทั่วไป โดยจะเหมือนลิงลมหรือกาเลโกมากกว่า จากการศึกษาทางพันธุกรรม โดยศึกษาจากดีเอ็นเอพบว่า ลีเมอร์หนูเป็นลีเมอร์ที่มีความเก่าแก่ที่สุด โดยเชื่อว่าเป็นลีเมอร์ชนิดแรกที่เดินทางผืนแผ่นดินใหญ่แอฟริกามายังเกาะมาดากัสการ์เมื่อแรกกำเนิดเกาะเมื่อกว่า 80-60 ล้านปีก่อน โดยอาศัยเกาะมากับวัสดุหรือท่อนไม้ลอยน้ำมา ในรูปแบบของการจำศีล เพราะระยะทางห่างไกล เชื่อว่ามีลีเมอร์มาถึงเกาะมาดากัสการ์ครั้งแรกเพียง 12 ตัว และมีปริมาณตัวเมียเพียง 2 ตัวเท่านั้น ก่อนที่จะวิวัฒนาการให้มีความหลากหลายในเวลาต่อมา ซึ่งลีเมอร์หนูแทบจะไม่ได้เปลี่ยนรูปร่างไปเลยจากเมื่อ 80 ล้านปีก่อน โดยมีขนาดลำตัวรวมทั้งส่วนหางยาวน้อยกว่า 27 เซนติเมตร (11 นิ้ว) ซึ่งสามารถเอามาวางไว้บนฝ่ามือมนุษย์ได้ มีใบหูและดวงตากลมโตขนาดใหญ่เหมือนกาเลโก เป็นลีเมอร์เพียงไม่กี่ชนิดที่หากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารขนาดเล็ก ๆ เช่น แมลง, แมง รวมถึงส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ดอกไม้, ผลไม้ และรวมถึงน้ำต้อย และยางไม้ของต้นไม้ใหญ่ด้วย นับได้ว่าลีเมอร์หนูเป็นสัตว์อีกจำพวกหนึ่งที่มีส่วนช่วยในการผสมเกสรของพืช นอกจากนี้แล้ว ลีเมอร์หนูยังถือได้ว่าเป็นไพรเมตเพียงจำพวกเดียวที่มีการจำศีล โดยจะจำศีลตรงกับช่วงฤดูร้อนของเกาะมาดากัสการ์ ซึ่งเป็นช่วงที่อากาศแห้งแล้ง ฝนไม่ตก ซึ่งตรงกับช่วงกลางปีของทุกปี ก่อนจะถึงฤดูการจำศีล คือ ตอนปลายของฤดูฝน ลีเมอร์หนูจะเร่งกินอาหารเพื่อสะสมพลังงานไว้ในร่างกาย ตามขาและหาง ก่อนที่จะจำศีลในโพรงไม้นานถึง 3-4 เดือน ด้วยการอยู่นิ่ง ๆ เคลื่อนไหวน้อยที่สุดเพื่อสงวนพลังงาน ระดับแมตาบอลิสซึมลดต่ำ อุณหภูมิในร่างกายลดต่ำ ซึ่งเรียกว่า ทอร์พอร์ ก่อนที่จะตื่นขึ้นมาอีกครั้งในช่วงปลายปี ซึ่งตรงกับปลายเดือนพฤศจิกายน และจะเร่งเพิ่มน้ำหนักเพื่อชดเชยพลังงานที่สูญเสีย ก่อนที่ในเดือนธันวาคม ลีเมอร์หนูจะผสมพันธุ์และออกลูก ด้วยการส่งเสียงร้องในรูปแบบคลื่นเสียงความถี่สูงที่หูมนุษย์ไม่ได้ยิน แบบเดียวกับค้างคาว ในการเรียกหาคู่ ซึ่งแต่ละชนิดก็จะมีเสียงที่แตกต่างกันออกไป ลีเมอร์หนูตัวเมียจะให้กำเนิดลูกในช่วงนี้ ลูกลีเมอร์หนูจะพึ่งพาแม่เป็นระยะเวลานาน 8 สัปดาห์ ก่อนที่จะเติบโตพอที่จะแยกตัวออกไป เดิมลีเมอร์ถูกจัดให้มีเพียงแค่ชนิดเดียวหรือ 2 ชนิด เพราะมีรูปลักษณ์แทบไม่ต่างกันในแต่ละชนิด เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน ที่ทัศนวิสัยไม่อาจมองอะไรได้ชัด จึงไม่มีความจำเป็นในเรื่องความแตกต่างของรูปร่างภายนอก แต่ปัจจุบันจากการศึกษาในระดับดีเอ็นเอพบว่ามีมากถึง 19 ชนิด หรืออาจมากกว่า Madagascar, "Mutant Planet" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และลีเมอร์หนู · ดูเพิ่มเติม »

ลีเมอร์ซิฟากา

ลีเมอร์ซิฟากา (Sifaka) เป็นไพรเมตจำพวกลีเมอร์ที่อยู่ในสกุล Propithecus ในวงศ์ Indriidae ลีเมอร์ซิฟากา นับเป็นลีเมอร์ขนาดใหญ่ มีขนตามลำตัวสีขาว และมีใบหน้ารวมถึงใบหูสีดำ เป็นลีเมอร์ที่ออกหากินในเวลากลางวัน มีเสียงร้องที่ดังมาก โดยกินใบไม้ชนิดต่าง ๆ รวมถึงผลไม้, ลูกไม้ และสามารถกินดอกไม้ของต้นไม้ที่มีหนามแหลมตลอดทั้งต้นได้ด้วย โดยใช้ฝ่าเท้าทั้ง 4 ข้างยึดจับหนามแหลมเหล่านั้นโดยไม่กลัวเจ็บ ในบางชนิดมีฟันหน้าที่มีลักษณะคล้ายหวี จึงสามารถดึงดอกไม้ออกมากินได้สะดวก ลีเมอร์ซิฟากา เป็นลีเมอร์ที่กระโดดได้ไกลมากจากต้นไม้ต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง โดยการใช้แรงส่งจากขาหลัง และเมื่อลงมาพื้นดิน และใช้ขาหลังเพียงข้างเดียวส่งตัวกระโดดไปกับพื้น โดยหันข้างเหมือนการสไลด์ แต่หากเจอศัตรูหรือภัยอันตรายก็สามารถกระโดดพร้อมกันด้วยขาหลังทั้งคู่และกระโดดไปข้างหน้าก็ได้ ลีเมอร์ซิฟากา เชื่อกันว่าในอดีตดั้งเดิมเคยเป็นลีเมอร์ที่หากินในพื้นที่ ๆ มีอุดมสมบูรณ์อย่าง ป่าฝนเมืองร้อนมาก่อน แต่ด้วยสาเหตุที่ยังไม่แน่ชัด อาจเป็นไปได้ว่าเพื่อหลีกเลี่ยงการแย่งชิงอาหารระหว่างลีเมอร์ด้วยกันเอง จึงอพยพย้ายถิ่นเข้ามาอาศัยในเขตป่าที่แห้งแล้งของเกาะมาดากัสการ์ ที่หาอาหารได้ยากกว่า นอกจากนี้แล้ว ในความเชื่อของชนพื้นเมืองชาวมาดากัสการ์ มีนิทานปรำปราเล่าว่า เดิมลีเมอร์ซิฟากาเคยเป็นเด็กผู้ชายมาก่อน วันหนึ่งได้พยายามขโมยอาหารกินด้วยความหิว จึงถูกแม่เลี้ยงทุบตีและป้ายเข้าที่หน้าด้วยช้อนตักขี้เถ้า จึงหนีเข้าป่าและกลายเป็นลีเมอร์ไป ลีเมอร์ซิฟากาจึงมีใบหน้ามีดำ และด้วยเหตุนี้ชนพื้นเมืองของมาดากัสการ์จึงไม่ล่าลีเมอร์ซิฟาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และลีเมอร์ซิฟากา · ดูเพิ่มเติม »

ล่อ

ล่อ (Mule) เดิมเรียกว่า ฬ่อ เป็นสัตว์พันธุ์ผสมระหว่าง ลาตัวผู้และม้าตัวเมีย ม้าและลาเป็นสัตว์คนละสปีชีส์ที่มีจำนวนโครโมโซมแตกต่างกัน โดยเมื่อมีการผสมออกมาแล้ว ล่อตัวผู้ทั้งหมดและล่อตัวเมียส่วนใหญ่จะเป็นหมัน สำหรับสัตว์ผสมระหว่างม้าตัวผู้และลาตัวเมีย จะถูกเรียกว่า ฮินนี ล่อถูกนิยมนำมาใช้ในการเป็นพาหนะสำหรับขนของ โดยขนาดและปริมาณของที่สามารถบรรทุกได้จะขึ้นอยู่กับสายพันธุ์และน้ำหนักตัวของล่อเอง คุณสมบัติเด่นของล่อจะมี ความอดทน เท้าที่มั่นคง และมีชีวิตยืนยาวกว่าม้า ขณะเดียวกันมีความฉลาด เชื่อง และเดินทางรวดเร็วกว่าลา ล่อตัวเมียสามารถตั้งครรภ์ได้เนื่องจากมีรังไข่แม้ว่าโอกาสจะต่ำก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และล่อ · ดูเพิ่มเติม »

วอมแบต

วอมแบต (wombat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ในวงศ์ Vombatidae มีทั้งหมด 3 ชนิด ใน 2 สกุล มีรูปร่างโดยรวม อ้วนป้อม มีขนนุ่มละเอียด มีสีน้ำตาลอ่อนหรือเทาหรือดำ หางสั้น มีส่วนขาที่สั้น ขาหน้าที่มีเล็บแหลมคมและข้อขาที่แข็งแรง ใช้สำหรับขุดโพรงเพื่ออยู่อาศัย ซึ่งโพรงมีทางยาวและมีหลายห้องหลายทาง เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน ในยามปกติตัวผู้และตัวเมียจะแยกกันอยู่ จะอยู่ด้วยกันเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ยยาวประมาณ 1 เมตร น้ำหนักเกือบ 40 กิโลกรัม กินพืชเป็นอาหาร โดยเฉพาะหญ้าที่เป็นอาหารหลัก มีฟันที่แหลมคม ที่เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ วอมแบตเป็นสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้องคว่ำ เพื่อป้องกันลูกตกลงมา ให้ลูกครั้งละ 1 ตัวเท่านั้น ใช้เวลาตั้งท้องนาน 22 วัน มีทั้งหมด 3 ชนิด 2 สกุล พบในประเทศออสเตรเลียทางตอนใต้และเกาะแทสเมเนียเท่านั้น ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวอมแบต · ดูเพิ่มเติม »

วัวทะเลชเตลเลอร์

วัวทะเลชเตลเลอร์ (Steller's sea cow, Great northern sea cow) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในอันดับพะยูน (Sirenia) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Hydrodamalis วัวทะเลชเตลเลอร์จัดเป็นพะยูนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่เคยปรากฏมา มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 8 เมตร น้ำหนักมากถึง 3 ตัน นับได้ว่ามีขนาดพอ ๆ กับวาฬเพชฌฆาต อาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ในเขตอาร์กติกและช่องแคบเบริง ซึ่งอยู่ระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต เมื่อกลางปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และวัวทะเลชเตลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วาฬบาลีน

ลีน การกินอาหารของวาฬหลังค่อม ซึ่งเห็นบาลีนสีเขียวอยู่ในปาก วาฬบาลีน หรือ วาฬกรองกิน หรือ วาฬไม่มีฟัน (Baleen whales, Toothless whales) เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในทะเล ในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) อันได้แก่ วาฬ และโลมา ซึ่งวาฬบาลีนถูกจัดอยู่ในอันดับย่อย Mysticeti (/มิส-ติ-เซ-เตส/) วาฬ ที่อยู่ในกลุ่มวาฬบาลีน มีลักษณะเด่น คือ เป็นวาฬที่มีขนาดใหญ่ ในปากจะไม่มีฟันเป็นซี่ ๆ เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับอื่น ๆ แต่จะมีมีฟันเหมือนขนแปรงสีฟันหรือซี่หวี่ขนาดใหญ่ ซึ่งห้อยลงมาจากขากรรไกรด้านบน ขนแปรงนี้จะเติบโตด้วยกันเป็นกลุ่มที่เรียกว่า "บาลีน" ใช้สำหรับกรองอาหารจากน้ำทะเล จึงกินได้แต่เฉพาะสัตว์ทะเลขนาดเล็ก ๆ เช่น แพลงก์ตอนชนิดต่าง ๆ, เคย และปลาขนาดเล็ก เช่น ปลาแฮร์ริ่ง, ปลากะตัก, ปลาซาร์ดีน เป็นต้น ดังนั้นการกินอาหารของวาฬบาลีน จะใช้วิธีกลืนน้ำทะเลเข้าไปในปากเป็นจำนวนมาก แล้วจะหุบปากแล้วยกลิ้นขึ้นเป็นการบังคับให้น้ำออกมาจากปาก โดยผ่านบาลีน ที่ทำหน้าที่เหมือนหวี่กรองปล่อยให้น้ำออกไป แต่อาหารยังติดอยู่ในปากของวาฬ แล้ววาฬจะกลืนอาหารลงไป โดยวัน ๆ หนึ่งจะกินอาหารได้เป็นจำนวนมาก คิดเป็นน้ำหนักเป็นตัน เช่น วาฬสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นวาฬบาลีนชนิดหนึ่ง และเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกด้วย จะกินแพลงก์ตอนมากถึง 4,000 กิโลกรัม (8,800 ปอนด์) ต่อวัน (คิดเป็นน้ำหนักเท่ากับพิซซาจำนวน 12,000 ชิ้น) วาฬบาลีน เป็นวาฬที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง เมื่อเวลาหากินจะช่วยกันหาอาหาร โดยรวมตัวกันด้วยการทำให้ผิวน้ำเป็นฟองเพื่อไล่ต้อนอาหาร ซึ่งเป็นฝูงปลาเล็ก ๆ ให้สับสน อีกทั้งยังเป็นนักเดินทางในท้องทะเลและมหาสมุทร ส่วนใหญ่อพยพเป็นระยะทางไกล ๆ ทุกปี จากทะเลที่มีอุณหภูมิอบอุ่นซึ่งเป็นที่ ๆ ผสมพันธุ์และคลอดลูกไปยังทะเลที่เย็นกว่า ซึ่งเป็นที่ ๆ จะหาอาหาร โดยวาฬสีเทานับเป็นวาฬที่อพยพเป็นระยะทางไกลที่สุด จากประเทศเม็กซิโกถึงอาร์กติกแถบขั้วโลกเหนือ รวมระยะทางไปกลับประมาณ 20,000 กิโลเมตร (12, 500 ไมล์) วาฬบาลีน ในปัจจุบันสามารถแบ่งออกได้เป็นทั้งหมด 4 วงศ์ 15 ชนิด แต่ก็มีหลายชนิดและหลายสกุลที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ (ที่สูญพันธุ์แล้วจะใส่เครื่องหมาย † ไว้ข้างหน้า) แต่จากการศึกษาจากซากดึกดำบรรพ์ พบว่าบรรพบุรุษของวาฬบาลีนเป็นวาฬมีฟันที่มีชื่อว่า Janjucetus มีอายุอยู่ในราว 25 ล้านปีก่อน และเชื่อว่าอาจจะเป็นสัตว์ดุร้ายและทรงพลังมากในการล่าเหยื่อและกินอาหารด้วย เนื่องจากลักษณะของฟันมีความแหลมคม ไม่เหมือนกับของแมวน้ำรวมถึงไม่เหมือนกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกอื่นในยุคสมัยเดียวกัน แต่มีลักษณะคล้ายกับฟันของสิงโตในยุคปัจจุบันมากกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวาฬบาลีน · ดูเพิ่มเติม »

วาฬมีฟัน

ฟันของวาฬสเปิร์ม ซึ่งเป็นวาฬมีฟันที่มีขนาดใหญ่ที่สุด วาฬมีฟัน (Toothed whales) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ในน้ำทั้งทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืดบ้างบางส่วน เป็นอันดับย่อยของอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ใช้ชื่ออันดับย่อยว่า Odonceti (/โอ-ดอน-โต-เซ-เตส/) วาฬมีฟันนั้นประกอบไปด้วยวาฬและโลมา เป็นสัตว์กินเนื้อ ด้วยการไล่ล่าสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร เช่น ปลา รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลบางจำพวก เช่น สิงโตทะเล หรือแมวน้ำ ได้ในบางชนิด ขณะที่บางชนิดกินสัตว์มีเปลือกแข็งอย่าง หอย หรือครัสเตเชียน ได้ด้วย มีขนาดลำตัวเล็กกว่าวาฬไม่มีฟันมาก วาฬมีฟัน บางชนิดมีฟันเพียง 2-3 ซี่ แต่ส่วนมากจะมีฟันแข็งแรงเรียงเป็นแถวทั้งขากรรไกรบนและล่าง โดยวาฬมีฟันที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ วาฬสเปิร์ม ที่มีความยาวได้ถึง 60 ฟุต มีรูปร่างคล้ายลูกอ๊อดขนาดใหญ่ มีหัวเป็นสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่มากที่ภายในมีไขมันและน้ำมันอยู่เป็นจำนวนมาก วาฬสเปิร์มสามารถดำน้ำได้ลึกและกินหมึกเป็นอาหาร โดยเฉพาะอย่างหมึกยักษ์ ขณะที่วาฬมีฟันที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ โลมาลาพลาตา อาศัยอยู่ตามแถบชายฝั่ง, ปากแม่น้ำ ของทวีปอเมริกาใต้ฝั่งแอตแลนติก ที่มีความยาวเต็มที่ไม่ถึง 2 เมตร นับเป็นสัตว์ในอันดับนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกด้วย วาฬเพชฌฆาต หรือวาฬออร์กา นับเป็นวาฬมีฟันที่มีลำตัวยาวประมาณ 30 ฟุต เป็นวาฬที่มีศักยภาพในการไล่ล่าสูง โดยจะทำการล่าเป็นฝูงและสามัคคีกัน ซึ่งวาฬเพชฌฆาตนอกจากจะล่าปลาขนาดเล็กกินเป็นอาหารด้วยแล้ว ยังอาจจะกินปลาขนาดใหญ่และเป็นอันตรายอย่าง ปลาฉลามขาว รวมถึงสัตว์เลือดอุ่นทะเล เช่น นกทะเล, นกเพนกวิน, แมวน้ำ, สิงโตทะเล หรือแม้แต่วาฬหรือโลมาด้วยกันเป็นอาหารได้ด้วยวาฬและโลมา หน้า 37-42, "สัตว์สวยป่างาม" (ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, สิงหาคม 2518) วาฬีมีฟันชนิดหนึ่ง คือ นาร์วาล เป็นวาฬที่อาศัยอยู่เป็นฝูงเฉพาะมหาสมุทรอาร์กติกในแถบขั้วโลกเหนือ มีลักษณะเฉพาะ คือ มีฟันที่แปลก วาฬนาร์วาลจะมีฟัน 2 ซี่เมื่อแรกเกิด แต่นาร์วาลตัวผู้เมื่อเจริญเติบโตขึ้นฟันข้างซ้ายจะยาวไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งกลายเป็นสิ่งที่แหลมยาวเหมือนงาช้างหรือเขาสัตว์ ลักษณะม้วนเป็นเกลียวที่ยาวได้ถึง 3 เมตร (10 ฟุต) เหมือนยูนิคอร์น ในเทพปกรณัมกรีก ซึ่งนาร์วาลจะใช้เขาแหลมนี้ในการเจาะเซาะน้ำแข็งในการว่ายน้ำ รวมถึงใช้ต่อสู้ป้องกันตัวและแย่งชิงตัวเมียด้วย ซึ่งตัวเมียจะมีเขานี้เพียงสั้น ๆ รวมถึงใช้ขุดหาอาหารตามพื้นน้ำเป็นอาหาร ส่วนใหญ่ได้แก่ ปลาลิ้นหมา และครัสเตเชียน และหอยต่าง ๆ มนุษย์จะใช้ประโยชน์จากวาฬมีฟันด้วยการใช้ฟันและเขี้ยวแกะสลักมาแต่โบราณ นับเป็นของหายาก ล้ำค่า ขณะที่เขาของนาร์วาล ในอดีตมีความเชื่อว่าเป็นเขาของยูนิคอร์นจริง ๆ ถือเป็นของล้ำค่าและเป็นเครื่องประดับที่มีร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวาฬมีฟัน · ดูเพิ่มเติม »

วาฬสเปิร์มแคระ

วาฬสเปิร์มแคระ หรือ วาฬหัวทุยแคระ (Dwarf sperm whale) เป็นวาฬขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดเป็น 1 ใน 2 ชนิดเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์วาฬสเปิร์มเล็ก (Kogiidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายวาฬสเปิร์มเล็ก (K. breviceps) ที่อยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกัน แต่มีจำนวนฟันน้อยกว่าและมีครีบหลังสูงกว่าเล็กน้อย (ประมาณร้อยละ 5 ของความยาวลำตัว) ลำตัวสีเทาดำท้องขาว ปากขนาดเล็กด้านอยู่ล่าง ลักษณะแคบ มีฟันเป็นเขี้ยวแหลมโค้งจำนวน 7-11 คู่บนขากรรไกรล่าง ขากรรไกรบนไม่เห็นฟันออกมา แต่ในบางตัวที่มีอายุมาก ๆ จะมีฟันซ่อนอยู่ใต้เหงือก ลูกแรกเกิดยาวประมาณ 1 เมตร ขนาดโตเต็มที่ยาวเพียง 2.7 เมตร น้ำหนักประมาณ 210 กิโลกรัม จัดเป็นวาฬขนาดเล็กชนิดหนึ่ง กินอาหารได้แก่ กุ้ง, หมึก และปลา พบกระจายพันธุ์ในทะเลและมหาสมุทรทั่วโลก ปกติจะอาศัยอยู่เป็นฝูงในทะเลเปิด จะเข้าใกล้ชายฝั่งเมื่อเวลาป่วยหรือใกล้ตายเท่านั้น ในน่านน้ำไทยพบรายงานเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น คือ ที่จังหวัดภูเก็ต ในปี พ.ศ. 2530, จังหวัดสตูล ในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งเกยตื้นเป็นคู่แม่ลูก, ในเดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2551 ที่หาดป่าตอง จังหวัดภูเก็ต เป็นซากตัวเมียเกยตื้น อายุราว 2 ปี หลังจากผ่าพิสูจน์การตายในช่องท้องแล้วพบว่า กินถุงพลาสติกและเศษขยะเข้าไปเป็นจำนวนมาก และในปลายปี พ.ศ. 2557 ที่อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นซากตัวเมียเกยตื้น มีความยาว 2.12 เมตร น้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม เมื่อผ่าพิสูจน์ซากแล้ว พบว่ามีทรายทะเลอุดอยู่ในหลอดอาหาร และที่ช่องกล้ามเนื้อด้านขวา และส่วนหัวมีตัวพยาธิอยู่จำนวนหนึ่ง โดยพยาธิแต่ละตัวมีลักษณะคล้ายหลอดน้ำแข็ง มีความยาวเฉลี่ยตัวละ 40-48 เซนติเมตร จึงสันนิษฐานว่า วาฬตัวดังกล่าวมีความอ่อนแอและป่วยอยู่แล้วจากพยาธิ เมื่อเข้ามาเกยตื้นจึงตาย เมื่อทรายที่ชายหาด ซัดเข้าไปในปากอุดหลอดอาหารจนตาย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และวาฬสเปิร์มแคระ · ดูเพิ่มเติม »

วาฬแกลบ

วาฬแกลบ เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในทะเลจำพวกวาฬสกุลหนึ่ง จัดเป็นวาฬบาลีนในสกุล Balaenoptera (มาจากภาษาละตินคำว่า balaena (วาฬ) และ pteron (ครีบ)) เป็นวาฬที่อยู่ในวงศ์ Balaenopteridae ซึ่งครั้งหนึ่ง วาฬหลังค่อม (Megaptera novaeangliae) ก็เคยจัดอยู่ในสกุลนี้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวาฬแกลบ · ดูเพิ่มเติม »

วาฬเพชฌฆาต

วาฬเพชฌฆาต หรือ วาฬออร์กา (Killer whale, Orca) เป็นสปีชี่ส์ที่ใหญ่ที่สุดในในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) สามารถพบเห็นได้ในมหาสมุทรทั่วโลก ตั้งแต่แถบอาร์กติกและแอนตาร์กติกา จนถึงทะเลในแถบเขตร้อน จนอาจเรียกได้ว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถพบเห็นได้ทั่วโลกมากที่สุดนอกเหนือจากมนุษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวาฬเพชฌฆาต · ดูเพิ่มเติม »

วิลอซิแรปเตอร์

วิลอซิแรปเตอร์ (velociraptor) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ฉลาดและว่องไว อยู่ในวงศ์โดรเมโอซอร์ (Dromaeosauridae) มีการออกล่าเหยื่อเป็นกลุ่มเหมือนหมาป่า อาวุธคือเล็บเท้าแหลมคมเหมือนใบมีดที่พับเก็บได้และฟันที่คมกริบ เป็นไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่บนโลกช่วงประมาณ 83-70 ล้านปีก่อนในยุคครีเทเชียสตอนปลาย มีหลักฐานพบเป็นฟอสซิลในบริเวณเอเชียกลาง (เคยมีการค้นพบฟอสซิลว่าต่อสู้กับโปรโตเซอราทอปส์ด้วย)มันยังถูกเข้าใจว่าคือ ไดโนนีคัส ของเอเชีย จึงแยกประเภทใหม่เพราะมันมีรูปร่างคล้ายกันและไดโนนีคัส ยังถูกเข้าใจผิดว่าคือ วิลอซิแรปเตอร์ ของอเมริกา วิลอซิแรปเตอร์มีไดโนเสาร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ยูทาห์แรปเตอร์, ไดโนนีคัส และโดรมีโอซอรัส ขนาดของวิลอซิแรปเตอร์เมื่อเปรียบเทียบกับมนุษย์ หุ่นจำลองวิลอซิแรปเตอร์ วิลอซิแรปเตอร์ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในภาพยนตร์ไซไฟฮอลลีวุดเรื่อง Jurassic Park ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และวิลอซิแรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเดอบีสต์

วิลเดอบีสต์ (wilderbeast, wildebeest) หรือ นู (gnu) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทหนึ่ง จำพวกแอนทีโลป ในวงศ์ Bovidae จัดอยู่ในสกุล Connochaetes.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิลเดอบีสต์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการ

ในด้านชีววิทยา วิวัฒนาการ (Evolution) คือการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง วิวัฒนาการเกิดจากกระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ ความแปรผัน การสืบพันธุ์ และการคัดเลือก โดยอาศัยยีนเป็นตัวกลางในการส่งผ่านลักษณะทางพันธุกรรม อันเป็นพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการ ลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในประชากรเพื่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมเมื่อสิ่งมีชีวิตให้กำเนิดลูกหลานย่อมเกิดลักษณะใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม โดยลักษณะใหม่ที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการหนึ่ง เกิดจากกระบวนการกลายพันธุ์ของยีน และอีกประการหนึ่ง เกิดจากการแลกเปลี่ยนยีนระหว่างประชากร และระหว่างสปีชีส์ ในสิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้นจะผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนยีน อันก่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมที่หลากหลายในสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อความแตกต่างทางพันธุกรรมเกิดขึ้น จนเกิดความแตกต่างมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นลักษณะที่แตกต่างกัน กลไกในการเกิดวิวัฒนาการแบ่งได้ 2 กลไก กลไกหนึ่งคือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) อันเป็นกระบวนการคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมที่จะอยู่รอด และสืบพันธุ์จนได้ลักษณะที่เหมาะสมที่สุด และลักษณะที่ไม่เหมาะสมจะเหลือน้อยลง กลไกนี้เกิดขึ้นเพื่อคัดเลือกลักษณะของประชากรที่เกิดประโยชน์ในการสืบพันธุ์สูงสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตหลายรุ่นได้ผ่านพ้นไป ก็จะเกิดกระบวนการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม กลไกที่สองในการขับเคลื่อนกระบวนการวิวัฒนาการคือการแปรผันทางพันธุกรรม (genetic drift) อันเป็นกระบวนการอิสระจากการคัดเลือกความถี่ของยีนประชากรแบบสุ่ม การแปรผันทางพันธุกรรมเป็นผลมาจากการอยู่รอด และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แม้ว่าการแปรผันทางพันธุกรรมในแต่ละรุ่นนั้นจะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่ลักษณะเหล่านี้จะสะสมจากรุ่นสู่รุ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละน้อยในสิ่งมีชีวิต จนกระทั่งเวลาผ่านไปเป็นระยะเวลานาน จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในลักษณะของสิ่งมีชีวิต กระบวนการดังกล่าวเมื่อถึงจุดสูงสุดจะทำให้กำเนิดสปีชีส์ชนิดใหม่ แม้กระนั้น ความคล้ายคลึงกันระหว่างสิ่งมีชีวิตมีข้อเสนอที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการสืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษ (หรือยีนพูลของบรรพบุรุษ) เมื่อผ่านกระบวนการนี้จะก่อให้เกิดความหลากหลายมากขึ้นทีละเล็กละน้อย เอกสารหลักฐานทางชีววิทยาวิวัฒนาการชี้ให้เห็นว่ากระบวนการวิวิฒนาการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ทฤษฎีอยู่ในช่วงของการทดลอง และพัฒนาในสาเหตดังกล่าว การศึกษาซากฟอสซิล และความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำให้นักวิทยาศาสตร์ช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 19 ส่วนใหญ่เชื่อว่าสปีชีส์มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดในระยะเวลาที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม กระบวนการที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปริศนาต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วไป จนกระทั่งปี พ.ศ. 2402 ชาร์ล ดาวิน ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดสปีชีส์ ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการโดยกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการชาติพันธุ์

ในชีววิทยา วิวัฒนาการชาติพันธุ์ (phylogenetics จากคำกรีก φυλή, φῦλον - phylon, phylon.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการชาติพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (evolution of mammalian auditory ossicles) เป็นเหตุการณ์ทางวิวัฒนาการที่มีหลักฐานยืนยันดีที่สุด และสำคัญที่สุด เหตุการณ์หนึ่ง โดยมีทั้งซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ (transitional fossil) จำนวนมากและตัวอย่างที่เยี่ยมของกระบวนการ exaptation คือการเปลี่ยนจุดประสงค์ของโครงสร้างที่มีอยู่แล้วในระหว่างวิวัฒนาการ ในสัตว์เลื้อยคลาน แก้วหูจะเชื่อมกับหูชั้นในผ่านกระดูกท่อนเดียว คือ columella ในขณะที่ขากรรไกรล่างและบนจะมีกระดูกหลายท่อนที่ไม่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คือ ในช่วงวิวัฒนาการของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม กระดูกชิ้นหนึ่งของขากรรไกรล่างและบน (articular และ quadrate) หมดประโยชน์โดยเป็นข้อต่อ และเกิดนำไปใช้ใหม่ในหูชั้นกลาง ไปเป็นตัวเชื่อมกับกระดูกโกลนที่มีอยู่แล้ว รวมกันกลายเป็นโซ่กระดูกสามท่อน (โดยเรียกรวมกันว่ากระดูกหู) ซึ่งถ่ายทอดเสียงได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่า และดังนั้นช่วยให้ได้ยินได้ดีกว่า ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม กระดูกหูสามท่อนนี้เรียกว่า กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ตามลำดับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์ปีกยังต่างจากสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ เพราะมีคอเคลียที่วิวัฒนาการเกิดขึ้น หลักฐานว่า กระดูกค้อนและกระดูกทั่งมีกำเนิดเดียวกัน (homologous) กับกระดูก articular และ quadrate ของสัตว์เลื้อยคลานเบื้องต้นมาจากคัพภวิทยา แล้วต่อมา การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพมากมายก็ได้ยืนยันข้อสรุปนี้ โดยให้ประวัติการเปลี่ยนสภาพอย่างละเอียด ส่วนวิวัฒนาการของกระดูกโกลนจาก hyomandibula เป็นเหตุการณ์ต่างหากที่เกิดขึ้นก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต

วิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต (evolution of color vision in primates) เป็นเหตุการณ์พิเศษในบรรดาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในเคลดยูเธอเรีย แม้บรรพบุรุษสัตว์มีกระดูกสันหลังของไพรเมตจะเห็นเป็นสีด้วยเซลล์รูปกรวยในจอตา 4 ประเภท (tetrachromacy) แต่บรรพบุรุษที่เป็นสัตว์เลือดอุ่นหากินกลางคืนต่อมา ก็ได้เสียเซลล์รูปกรวย 2 ประเภทไปในยุคไดโนเสาร์ ดังนั้น ปลาใน Infraclass "Teleostei" สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ปีกล้วนแต่เห็นภาพสีด้วยเซลล์รูปกรวย 4 ประเภท ในขณะที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ยกเว้นไพรเมตและสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องบางชนิด ล้วนแต่เห็นเป็นสีด้วยเซลล์รูปกรวยเพียง 2 ประเภท (dichromacy) ไพรเมตเห็นภาพสีด้วยเซลล์รูปกรวย 3 ประเภท (Trichromacy) ที่ตอบสนองสูงสุดต่อคลื่นแสงสีม่วง (คลื่นสั้น S) สีเขียว (คลื่นกลาง M) และสีเหลือง-เขียว (คลื่นยาว L) โดยมีโปรตีนอ็อปซิน (Opsin) เป็นสารรงควัตถุไวแสง (photopigment) หลักในตา และลำดับ/โครงสร้างของอ็อปซินจะเป็นตัวกำหนดความไวสี/สเปกตรัมต่าง ๆ ของเซลล์รูปกรวย แต่ก็ไม่ใช่ว่า ไพรเมตทั้งหมดจะสามารถเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท ลิงวงศ์ใหญ่ "catarrhinni" ซึ่งรวมลิงโลกเก่าและเอป ปกติจะเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท คือทั้งตัวผู้ตัวเมียมีอ็อปซิน 3 ประเภทที่ไวต่อความยาวคลื่นแสงแบบสั้น กลาง และยาว ส่วนในสปีชีส์เกือบทั้งหมดของลิงโลกใหม่ ตัวผู้ทั้งหมดและตัวเมียพันธุ์แท้ จะเห็นภาพสีด้วยเซลล์เพียง 2 ประเภท และตัวเมียพันธุ์ผสม จะเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท ซึ่งเป็นภาวะที่นักวิทยาศาสตร์เรียกว่า allelic/polymorphic trichromacy (การเห็นภาพสีด้วยเซลล์รูปกรวย 3 ประเภทเหตุอัลลีลหรือภาวะพหุสัณฐาน) ในบรรดาลิงโลกใหม่ ลิงสกุล Alouatta (Howler monkey) ปกติจะเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H. erectus/ergaster เป็นกลุ่มมนุษย์ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะคือมนุษย์โบราณ H. heidelbergensis/rhodesiensis หลังจากนั้น มนุษย์สปีชีส์ ''Homo sapiens'' ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern human) ก็เกิดขึ้นโดยมีวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณในยุคหินกลาง (แอฟริกา) คือประมาณ 300,000 ปีก่อน ตามทฤษฎี "กำเนิดมนุษย์ปัจจุบันเร็ว ๆ นี้จากแอฟริกา" มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการในทวีปแอฟริกาแล้วจึงอพยพออกจากทวีปประมาณ 50,000-100,000 ปีก่อน (ต่างหากจากมนุษย์ในยุคก่อน ๆ) ไปตั้งถิ่นฐานแทนที่กลุ่มมนุษย์สปีชีส์ H. erectus, H. denisova, H. floresiensis และ H. neanderthalensis ในที่ต่าง ๆ ที่เป็นเชื้อสายของมนุษย์ที่อพยพออกมาจากทวีปแอฟริกาในยุคก่อน ๆ โดยอาจได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณก่อน ๆ เหล่านั้น หลักฐานโดยดีเอ็นเอในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์/ตารางเปรียบเทียบสปีชีส์ต่าง ๆ ของมนุษย์สกุลโฮโม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการของมนุษย์/ตารางเปรียบเทียบสปีชีส์ต่าง ๆ ของมนุษย์สกุลโฮโม · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์/แผนภูมิสปีชีส์ตามกาลเวลา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการของมนุษย์/แผนภูมิสปีชีส์ตามกาลเวลา · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของคอเคลีย

ำว่า คอเคลีย มาจากคำภาษาละตินที่แปลว่า "หอยโข่ง/หอยทาก, เปลือก, หรือเกลียว" ซึ่งก็มาจากคำกรีก คือ kohlias ส่วนคำปัจจุบันที่หมายถึง หูชั้นในรูปหอยโข่ง พึ่งเริ่มใช้ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 คอเคลียของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะมีอวัยวะของคอร์ติ ซึ่งมีเซลล์ขนที่แปลแรงสั่นที่วิ่งไปในน้ำที่ล้อมรอบ ให้เป็นกระแสไฟฟ้าที่ส่งไปยังสมองเพื่อประมวลเสียง ส่วนอวัยวะที่มีรูปเป็นหอยโข่งประมาณว่าเกิดในต้นยุคครีเทเชียสราว ๆ 120 ล้านปีก่อน นอกจากนั้นแล้ว เส้นประสาทที่วิ่งไปยังคอเคลียก็เกิดในยุคครีเทเชียสเหมือนกัน วิวัฒนาการของคอเคลียในมนุษย์เป็นเรื่องสำคัญทางวิทยาศาสตร์เพราะว่าดำรงเป็นหลักฐานได้ดีในซากดึกดำบรรพ์ ในศตวรรษที่ผ่านมา ทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักชีววิทยาเชิงวิวัฒนาการ และนักบรรพชีวินวิทยา ได้พยายามพัฒนาเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อข้ามอุปสรรคในการทำงานกับวัตถุโบราณที่บอบบาง ในอดีต นักวิทยาศาสตร์จำกัดมากในการตรวจดูตัวอย่างโดยไม่ทำให้เสียหาย แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ระดับไมโคร (micro-CT scanning) ช่วยให้สามารถแยกแยะซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์จากซากตกตะกอนอื่น ๆ และเทคโนโลยีรังสีเอกซ์ ก็ช่วยให้ตรวจสมรรถภาพการได้ยินของสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วได้ และช่วยสร้างความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับทั้งบรรพบุรุษมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ ที่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการของคอเคลีย · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของตา

วิวัฒนาการของตา (evolution of the eye) เป็นประเด็นการศึกษาที่ดึงดูดความสนใจ เพราะเป็นตัวอย่างพิเศษที่แสดงวิวัฒนาการเบนเข้าของอวัยวะที่สัตว์กลุ่มต่าง ๆ มากมายมี คือตาที่ซับซ้อนและทำให้สามารถมองเห็นได้วิวัฒนาการเกิดขึ้นอย่างเป็นอิสระกว่า 50-100 ครั้ง ตาที่ซับซ้อนดูเหมือนจะวิวัฒนาการขึ้นภายในไม่กี่ล้านปีในช่วง Cambrian explosion (เหตุการณ์ระเบิดสิ่งมีชีวิตยุคแคมเบรียน) ที่สิ่งมีชีวิตได้เกิดวิวัฒนาการอย่างรวดเร็ว หลักฐานว่าตาได้วิวัฒนาการขึ้นก่อนยุคแคมเบรียนยังไม่มี แต่มีอย่างหลากหลายในชั้นหิน/สิ่งทับถม Burgess shale (ในเทือกเขาร็อกกีของประเทศแคนาดา) ในกลางยุคแคมเบรียน และในหมวดหิน Emu Bay Shale ในออสเตรเลียซึ่งเก่าแก่กว่าเล็กน้อย ตาได้ปรับตัวอย่างหลายหลากตามความจำเป็นของสัตว์ ความต่างกันรวมทั้งความชัด (visual acuity) พิสัยความยาวคลื่นแสงที่สามารถเห็น ความไวในแสงสลัว ๆ สมรรถภาพในการตรวจจับการเคลื่อนไหวหรือการแยกแยะวัตถุ และการเห็นเป็นสี.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิวัฒนาการของตา · ดูเพิ่มเติม »

วิตามินบี12

วงแหวง corrin ที่เป็นโครงสร้างประกอบของวิตามิน methylcobalamin (ดังที่แสดง) เป็นรูปแบบของวิตามินบี12 อย่างหนึ่ง แต่ก็ยังคล้ายกับรูปแบบอื่น ๆ ของวิตามิน ปรากฏเป็นผลึกสีแดงซึ่งละลายน้ำเป็นสีแดงเข้ม วิตามินบี12 (12, cobalamin) เป็นวิตามินละลายน้ำได้ที่เป็นกุญแจสำคัญในการทำงานเป็นปกติของสมองกับระบบประสาท และการสร้างเม็ดเลือดแดง เป็นรูปแบบหนึ่งของวิตามินบี 8 อย่าง ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมในเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายมนุษย์ โดยมีผลเฉพาะต่อการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ เมแทบอลิซึมของกรดไขมันและกรดอะมิโน ไม่มีเห็ดรา พืช หรือสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) ที่สามารถสร้างวิตามินบี12ได้ มีแต่สิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรียและอาร์เคียที่มีเอนไซม์เพื่อสังเคราะห์มันได้ แหล่งของวิตามินที่ได้พิสูจน์แล้วเป็นผลิตภัณฑ์สัตว์รวมทั้งเนื้อ ปลา ผลิตภัณฑ์นม และอาหารเสริม แต่ก็มีงานวิจัยที่แสดงว่า ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่มาจากสัตว์บางอย่างอาจเป็นแหล่งธรรมชาติของวิตามินได้ เพราะอยู่ร่วมกับแบคทีเรีย (bacterial symbiosis) วิตามินบี12 เป็นวิตามินที่ใหญ่ที่สุด มีโครงสร้างซับซ้อนที่สุด และสามารถสังเคราะห์โดยหมักแบคทีเรีย (bacterial fermentation-synthesis) แล้วใช้เสริมอาหารและเป็นวิตามินเสริม วิตามินบี12 เป็นกลุ่มสารประกอบที่มีโครงสร้างเคมีเกี่ยวข้องกัน (หรือที่เรียกว่า vitamer) ซึ่งมีฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีธาตุโคบอลต์ (Co) ที่ไม่สามัญทางเคมี-ชีวภาพ อยู่ตรงกลางวงแหวนเชิงระนาบแบบ tetra-pyrrole ที่เรียกว่าวงแหวน corrin (ดูรูป) ซึ่งสามารถผลิตได้โดยแบคทีเรีย hydroxocobalamin แต่ร่างกายสามารถแปรรูปแบบวิตามินไปในแบบต่าง ๆ ได้ วิตามินค้นพบโดยความสัมพันธ์ของมันกับโรคภาวะเลือดจางเหตุขาดวิตามินบี12 (pernicious anemia) ซึ่งเป็นโรคภูมิต้านตนเอง และมีผลทำลายเซลล์ผนัง (parietal cell) ที่มีหน้าที่หลั่งไกลโคโปรตีน คือ intrinsic factor ในกระเพาะอาหาร เซลล์เหล่านี้ยังมีหน้าที่หลั่งกรดย่อยอาหารในกระเพาะอีกด้วย เพราะว่า intrinsic factor จำเป็นต่อการดูดซึมวิตามินตามปกติ การขาดโปรตีนนี้เพราะโรค จึงทำให้ขาดวิตามินบี12 ยังมีรูปแบบการขาดวิตามินแบบเบากว่าอื่น ๆ ที่ผลติดตามทางชีวเคมีก็ปรากฏชัดแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวิตามินบี12 · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ชะมดและอีเห็น

มดและอีเห็น เป็นสัตว์จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ชะมดและอีเห็น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พังพอน

ระวังสับสนกับ: วงศ์เพียงพอน วงศ์พังพอน (mongoose; ไทยถิ่นเหนือ: จ่อน) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Herpestidae เดิมเคยถูกรวมเป็นวงศ์เดียวกับ วงศ์ Viverridae หรือ วงศ์ชะมดและอีเห็น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์พังพอน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กบมีหาง

กบมีหาง (Tailed frogs) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับกบ (Anura) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ascaphidae กบในวงศ์นี้ มีลักษณะสำคัญคือ ตัวผู้มีอวัยวะถ่ายอสุจิรูปร่างคล้ายหาง อยู่ทางด้านท้ายของห้องทวารร่วม อวัยวะส่วนนี้ได้รับการค้ำจุนด้วยแท่งกระดูกอ่อนที่เจริญมาจากกระดูกเชิงกราน ภายในมีเส้นเลือดฝอยจำนวนมาก ขณะที่ตัวผู้กอดรัดตัวเมียจะงอหางไปข้างหน้าและสอดเข้าไปในช่องทวารร่วมของตัวเมียเพื่อถ่ายอสุจิ การงอหางเกิดจากการหดตัวของอสุจิ นอกจากนี้แล้วยังมีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบจำนวน 9 ปล้อง ซึ่งนับว่ามีมากกว่ากบวงศ์อื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีกระดูกอิพิพิวบิสอยู่ด้านหน้ากระดูกพิวบิส ลูกอ๊อดมีช่องปากมีจะงอยปากและมีตุ่มฟัน กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของแอมฟิซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของอาร์กซิฟเอรัล กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแคลลาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะส่วนต้นและส่วนปลาย ไม่มีกระดูกแทรกระหว่างระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย ช่องเปิดของห้องเหงือกมีช่องเดียวอยู่ในแนวตรงกลางลำตัว จึงเป็นข้อสันนิษฐานว่า กบในวงศ์นี้เป็นบรรพบุรุษของกบวงศ์อื่น ๆ ทั้งหมด มีขนาดลำตัวขนาดเล็กประมาณ 3.5-5 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลาในลำธารที่มีกระแสน้ำแรงและเย็นจัด ตัวผู้ไม่มีแผ่นเยื่อแก้วหูและไม่ส่งเสียงร้องแต่ใช้ตารับภาพเพื่อเสาะหาตัวเมีย การผสมพันธุ์เกิดขึ้นในน้ำโดยตัวผู้กอดรัดตัวเมียในบริเวณเอว กบตัวเมียจะเก็บอสุจิไว้ในท่อนำไข่นาน 9 เดือน ต่อจากนั้นจึงวางไข่จำนวน 40-80 ฟองติดไว้ในก้อนหินใต้ลำธาร ไข่มีขนาดใหญ่และเอ็มบริโอเจริญอยู่ภายในไข่เป็นระยะเวลานาน ลูกอ๊อดมีอวัยวะใช้ยึดเกาะก้อนหินเจริญขึ้นมาบริเวณปาก และลดรูปครีบหางซึ่งปรับตัวเพื่ออาศัยในลำธารกระแสน้ำไหลแรง และลูกอ๊อดใช้ระยะเวลานานถึง 2-3 ปี จึงเจริญเป็นตัวเต็มวัย กบในวงศ์กบมีหางนี้ มีเพียงสกุลเดียว คือ Ascaphus มีเพียง 2 ชนิด แพร่กระจายพันทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา อาศัยอยู่บริเวณแนวฝั่งลำธารที่น้ำใสและเย็นจัดบนภูเขาที่มีความสูงกว่า 2,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กบมีหาง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กบลิ้นส้อม

วงศ์กบลิ้นส้อม (Fork-tongued frogs) เป็นวงศ์ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกกบ จัดอยู่ในวงศ์ Dicroglossidae กบในวงศ์นี้มีกระดูกนาซัลเป็นชิ้นกว้างและอยู่ชิดกับกระดูกฟรอนโทพาไรทัล กระดูกหน้าอกมีด้านท้ายแยกจากกันเป็นสองแฉก อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีความแตกต่างกันมาก ทั้งพื้นดิน, ใกล้แหล่งน้ำ และบนต้นไม้ วางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนเจริญเติบโตภายในไข่และลูกอ๊อดออกจากไข่มีรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัย จัดเป็นกบที่มีขนาดลำตัวเล็กหรือปานกลาง พบกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปแอฟริกา, เอเชีย และบางส่วนของยุโรป เดิมเคยจัดอยู่รวมเป็นวงศ์เดียวกับ วงศ์กบแท้ (Ranidae) โดยจัดเป็นวงศ์ย่อย ใช้ชื่อว่า Dicroglossinae.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กบลิ้นส้อม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กบลื่น

วงศ์กบลื่น (accessdate) เป็นวงศ์ของกบที่มีขนาดใหญ่ ใช้ชื่อวงศ์ว่า Conrauidae และมีเพียงสกุลเดียวคือ Conraua ซึ่งในบางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ Petropedetidae (ซึ่งบางข้อมูลวงศ์ Petropedetidae นี้ถูกเรียกว่า Petropedetinae จัดเป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ Ranidae หรือกบแท้อีกที) เป็นกบที่มีขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์เฉพาะในทวีปแอฟริกา ตั้งแต่แถบใต้สะฮารา โดยมีสมาชิกในวงศ์คือ กบโกไลแอท เป็นกบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีความยาวถึง 32 เซนติเมตร (13 นิ้ว) ตั้งแต่ปลายจมูกจรดก้นกบ และมีน้ำหนักมากถึง 3.3 กิโลกรัม (7.3 ปอนด์) พบทั้งหมด 6 ชนิด โดยที่มี 4 ชนิดกำลังถูกคุกคาม โดยที่ชื่อวงศ์และสกุลตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ กุสตาฟ คอนรู พ่อค้าและนายหน้าแรงงานชาวเยอรมัน เป็นผู้ที่สะสมต้นแบบแรกของกบในวงศ์นี้จนกระทั่งได้รับการอนุกรมวิธาน คือ Conraua robusta.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กบลื่น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กบลูกศรพิษ

กบลูกศรพิษ (Poison dart frogs, Dart-poison frogs, Poison frogs, Poison arrow frogs) เป็นวงศ์ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับกบ (Anura) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dendrobatidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กบลูกศรพิษ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กบนา

วงศ์กบนา หรือ วงศ์กบแท้ (True frogs) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับกบ (Anura) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ranidae (/รา-นิ-ดี/) กบในวงศ์นี้มีลักษณะโดยรวม คือ มีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบ 8 ปล้อง กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของโพรซีลัสหรือเป็นแบบอย่างของไดพลาสิโอซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของเฟอร์มิสเทอร์นัล กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแลคาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะส่วนต้นและส่วนปลาย ไม่มีกระดูกแทรกระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย กระดูกนิ้วชิ้นสุดท้ายมีส่วนปลายนิ้วเรียวยาวหรือเป็นรูปตัว T ลูกอ๊อดมีช่องจะงอยปากและมีฟัน ช่องเปิดของเหงือกมีช่องเดียวอยู่ทางด้านข้างของด้านซ้ายลำตัว มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันมาก โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้คือ กบโกไลแอท (Conraua goliath) ที่พบในทวีปแอฟริกาที่มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร ขณะที่บางชนิด บางสกุลมีลำตัวอ้วนป้อมและอาศัยอยู่ในโพรงดิน บางชนิดอาศัยอยู่ในลำธารที่กระแสน้ำไหลแรงและว่ายน้ำได้ดีมาก ก็มีด้วยกันหลายชนิด ในหลายสกุล.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กบนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กบเล็บ

วงศ์กบเล็บ หรือ วงศ์กบไม่มีลิ้น (Clawed frog, Tongueless frog, Aquatic frog) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำวงศ์หนึ่ง ในอันดับกบ (Anura) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papidae (/ปา-ปิ-ดี/) มีลักษณะพิเศษ คือ เมื่อเป็นตัวเต็มวัยแล้วไม่มีลิ้น กระดูกสันหลังปล้องที่ 2-4 ของตัวเต็มวัยมีกระดูกซี่โครงและเชื่อมรวมกัน บางสกุลและบางชนิดไม่มีฟันที่กระดูกพรีแมคซิลลาและที่กระดูกแมคซิลลา มีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบ 6-8 ปล้อง กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของโอพิสโธซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของอาร์กซิเฟอรัลหรือแบบอย่างดัดแปรของเฟอร์มิสเทอร์นัล กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแคลลาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะส่วนต้นและส่วนปลาย ไม่มีชิ้นกระดูกแทรกระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย ลูกอ๊อดมีช่องปากยาวและแคบ ไม่มีจะงอยปากและไม่มีตุ่มฟันบริเวณปาก ช่องเปิดห้องเหงือกมี 2 ช่องอยู่ทางด้านข้างของลำตัว กินอาหารด้วยการกรองเข้าปาก มีความยาวลำตัวประมาณ 4-17 เซนติเมตร มีลำตัวแบนราบมาก และมีขายื่นไปทางด้านข้างลำตัว อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำได้หลากหลายประเภท รวมทั้งแหล่งน้ำขังชั่วคราวบนท้องถนน เนื่องจากอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เส้นข้างลำตัวจึงเจริญ ยกเว้นบางสกุลที่ไม่มี ขาหลังใหญ่และมีแผ่นหนังระหว่างนิ้วตีนใหญ่มาก ขาหน้ามีนิ้วตีนยาวแต่ไม่มีแผ่นหนังระหว่างนิ้ว ยกเว้นบางสกุลเท่านั้นที่มี นิ้วตีนมีเล็บยาว แบ่งออกได้เป็น 5 สกุล 32 ชนิด แพร่กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้ บางชนิดนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง ขณะที่ในบางสกุลนิยมใช้เพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ เช่น ชีววิทยาการเจริญ, ชีววิทยาโมเลกุล, ชีววิทยาประสาท, พันธุกรรมศาสตร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กบเล็บ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระจง

วงศ์กระจง (Chevrotain, Mouse-deer, Napu; อีสาน: ไก้) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tragulidae กระจงถือเป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายกับกวาง (Cervidae) มีกระเพาะอาหารแบ่งออกเป็น 4 ส่วน มีการหมักอาหารที่กระเพาะอาหาร แต่กระเพาะห้องที่สามจะลดขนาดลง เหลือไว้เพียงร่องรอยเท่านั้น มีส่วนหัวค่อนข้างเล็ก ไม่มีเขา จะงอยหน้าแหลมและแคบ จมูกไม่มีขน ไม่มีทั้งต่อมที่ใบหน้าและต่อมกับ ขายาวเรียวและเล็ก ตัวผู้ที่โตเต็มวัยมีเขี้ยวงอกจากขากรรไกรบนยาวยื่นออกมาใช้สำหรับป้องกันตัว ส่วนตัวเมียมีเขี้ยวเหมือนกับตัวผู้ แต่มีขนาดเล็กมาก ไม่มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย มีระยะเวลาตั้งท้องนานราว 120–180 วัน ตัวเมียสามารถกลับมาเป็นสัดได้ ใน 7 วันหลังจากออกลูก ออกลูกโดยปกติครั้งละ 1 ตัว ถือได้ว่าเป็นสัตว์กีบที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก ด้วยว่ามีขนาดพอ ๆ กับกระต่ายตัวหนึ่งเท่านั้นเอง พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ในอนุทวีปอินเดีย และเอเชียอาคเนย์ แบ่งออกได้เป็น 3 สกุล 10 ชนิด และสูญพันธุ์ไปแล้วอีก 6 สกุล (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทย พบ 2 ชนิด คือ กระจงควาย หรือ กระจงใหญ่ (Tragulus napu) และกระจงเล็ก หรือ กระจงหนู (T. kanchil) ซึ่งถือได้เป็นสัตว์กีบที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กระจง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กวางชะมด

กวางชะมด (Musk deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์เคี้ยวเอื้องในวงศ์ Moschidae และสกุล Moschus.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กวางชะมด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กิล่ามอนสเตอร์

วงศ์กิล่ามอนสเตอร์ (Gila monster, Venomous lizard) เป็นสัตว์เลื้อยคลานวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Helodermatidae อยู่ในอันดับย่อยกิ้งก่า รูปร่างโดยรวมของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ มีลำตัวป้อม หางป้อมและส่วนปลายมนกลม ซึ่งเป็นอวัยวะเก็บสำรองไขมัน มีต่อมน้ำพิษอยู่ในเนื้อเยื่อตามความยาวของขากรรไกรล่าง ผิวหนังลำตัวหนา เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านข้างเป็นตุ่มกลมและไม่มีกระดูกในชั้นหนังรองรับ แต่เกล็ดด้านท้องเป็นรูปเหลี่ยมและมีขนาดใหญ่กว่าเกล็ดด้านหลังรวมทั้งมีกระดูกในชั้นหนังรองรับ กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์คลาวิเคิลเป็นรูปตัวอักษรที (T) ในภาษาอังกฤษ หรือเป็นรูปโค้งและกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม ปล่อยหางหลุดจากลำตัวไม่ได้ พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟัน มีลำตัวขนาดใหญ่ มีความยาวของลำตัวประมาณ 30-50 เซนติเมตร มีอยู่เพียงสกุลเดียว คือ Heloderma โดยมีความหมายว่า "ผิวที่เป็นปุ่ม" อันหมายถึงลักษณะผิวหนังของกิ่งก่าในวงศ์นี้ มีที่มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า "hêlos" (ἧλος) หมายถึง "หัว" หรือ "เล็บ" หรือ "ปุ่ม" และ "Derma" (δέρμα) หมายถึง "ผิว" เดิมถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ กิล่ามอนสเตอร์ (H. suspectum) และกิ้งก่าลูกปัด (H. horridum) แพร่กระจายพันธุ์ในทะเลทรายที่แห้งแล้งของสหรัฐอเมริกาจนถึงเม็กซิโกและกัวเตมาลา อาศัยอยู่บนพื้นดินโดยการขุดโพรง แต่สามารถปีนป่ายต้นไม้หรือโขดหินได้เป็นอย่างดี หากินในเวลากลางวันโดยอาศัยการฟังเสียงและรับภาพ มีอุปนิสัยหากินตามลำพัง โดยที่ กิล่ามอนสเตอร์จะกินสัตว์ขนาดใหญ่อย่าง กระต่ายหรือสัตว์ฟันแทะขนาดเล็กด้วย ส่วนกิ้งก่าลูกปัดจะหากินเพียงไข่นกและกิ้งก่าเท่านั้น ทั้ง 2 ชนิดขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ แต่ปัจจุบันได้แบ่งออกอีกเป็น 3 ชนิด รวมเป็น 5 ชนิด คือ กิ้งก่าลูกปัดเชียปัน (H. alvarezi), กิ้งก่าลูกปัดริโอเฟอเต (H. exasperatum) และกิ้งก่าลูกปัดกัวเตมาลัน (H. charlesbogerti).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กิล่ามอนสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กิ้งก่า

วงศ์กิ้งก่า (Dragon lizards, Old Wolrd lizards, ชื่อวิทยาศาสตร์: Agamidae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับย่อยกิ้งก่า วงศ์หนึ่ง ที่มีจำนวนสมาชิกมากและมีความหลากหลายมาก ประมาณเกือบ 500 ชนิด จนสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง) มีลักษณะโดยรวม คือ มีขา 4 ข้างเห็นชัดเจน มีเกล็ดปกคลุมด้านหลังและด้านท้องของลำตัว เกล็ดมีขนาดเล็กเรียงตัวซ้อนเหลื่อมกันหรือต่อเนื่องกัน ไม่มีกระดูกในชั้นหนัง กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์คลาวิเคิลเป็นรูปตัวอักษรที และกระดูกไหปลาร้ามีรูปร่างโค้ง มีหางยาว แต่โดยทั่วไปน้อยกว่า 1.4 เท่าของความยาวจากปลายจมูกถึงรูก้น ไม่สามารถสะบัดหางให้หลุดจากลำตัวได้ ยกเว้นในสกุล Uromystax พื้นผิวด้านบนของลิ้นมีตุ่ม ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับพื้นผิวกระดูกโดยตรง กระดูกพเทอรีกอยด์ไม่มีฟัน พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปเอเชีย, แอฟริกา, ออสเตรเลีย ส่วนใหญ่ออกลูกเป็นไข่ มีเพียงบางสกุลเท่านั้นที่ตกลูกเป็นตัว สำหรับในประเทศไทย มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด อาทิ ตะกอง (Physignathus cocincinus) ซึ่งเป็นกิ้งก่าขนาดใหญ่ พบได้ในป่าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำในป่า เช่น น้ำตก ในภูมิภาคอินโดจีน, กิ้งก่าบินคอแดง (Draco blanfordii), กิ้งก่าสวน (Calotes mystaceus), หรือ แย้เส้น (Leiolepis belliana) ที่พบได้ทั่วไปตามพื้นดินภาคอีสาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กิ้งก่า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กิ้งก่าบาซิลิสก์

วงศ์กิ้งก่าบาซิลิสก์ (Helmet lizard) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่าวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Corytophanidae (ในขณะที่บางข้อมูลใช้เป็นวงศ์ย่อย Corytophaninae อยู่ในวงศ์ใหญ่ Iguanidae) ลักษณะทั่วไปของกิ้งก่าในวงศ์นี้ คือ มีช่องเปิดบริเวณที่แอ่งเบ้าตาไม่ใหญ่ กระดูกจูกัลและสควาโมซัลเชื่อมต่อกันเป็นพื้นที่กว้าง ช่องเปิดพาไรทัลอยู่ที่กระดูกฟรอนทัล กระดูกพาลาทีนไม่มีฟันแต่กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟัน ตัวผู้ไม่มีต่อมทางด้านในของต้นขาหลัง มีรูปร่างเรียวยาวและมีระยางค์ขาทั้ง 4 ข้างยาว หางยาว ที่สำคัญมีสันบนหัวในตัวผู้ ใช้สำหรับจำแนกเพศและป้องกันตัว มีความยาวประมาณ 9-20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในป่าโปร่ง-ป่าดิบชื้น ในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ จนถึงอเมริกากลาง มีทั้งหากินบนพื้นดินและบนต้นไม้ เป็นกิ้งก่าที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ออกลูกเป็นตัว โดยสมาชิกที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ กิ้งก่าบาซิลิสก์ ที่สามารถวิ่งบนผิวน้ำได้ด้วยความรวดเร็ววีรยุทธ์ เลาหะจินดา, หน้า 376.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กิ้งก่าบาซิลิสก์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน

วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน (Chameleon) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ก่อ

วงศ์ก่อ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Fagaceae) เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้นและไม้พุ่มราว 900 สปีชีส์ มีใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกแยกเพศ ผลมีลักษณะคล้ายนัท มีเปลือกแข็ง ผลไม่มีเอนโดสเปิร์ม ตัวอย่างของพืชในวงศ์นี้ที่รู้จักกันดีคือ โอ๊ก ในสกุล Quercus ซึ่งผลมีเปลือกแข็งแบบนัทและมีเมล็ดเดียว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ก่อ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ม้า

วงศ์ม้า เป็นวงศ์ของม้าและสัตว์ที่เกี่ยวข้องในระบบอนุกรมวิธาน ใช้ชื่อวงศ์ว่า Equidae ในวงศ์นี้ประกอบไปด้วยม้า, ลา และม้าลาย ส่วนสปีชีส์ที่เหลือเป็นซากดึกดำบรรพ์ สปีชีส์ที่ยังมีอยู่ในปัจจุบันล้วนอยู่ในสกุล Equus วงศ์ม้าจัดอยู่ในอันดับ Perissodactyla ร่วมกับสมเสร็จและแร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ม้า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยชะมด

วงศ์ย่อยชะมด เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์ชะมดและอีเห็น (Viverridae) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Viverrinae นับเป็นวงศ์ย่อยที่มีสมาชิกที่หลากหลายและมากที่สุดในวงศ์นี้ แบ่งออกได้เป็น 22 ชนิด พบกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ขนาดความยาวสูงสุดได้ถึง 84 เซนติเมตร (33 นิ้ว) น้ำหนัก 18 กิโลกรัม (40 กรัม) พบในแอฟริกา เป็นสัตว์ที่มีฟันแหลม สามารถเขียนเป็นสูตรได้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยชะมด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยกิ้งก่า

วงศ์ย่อยกิ้งก่า (Agamid lizards, Old world arboreal lizards; ชื่อวิทยาศาสตร์: Agaminae) เป็นวงศ์ย่อยของกิ้งก่าในวงศ์ Agamidae เป็นวงศ์ย่อยที่มีจำนวนสมาชิกหลากหลายที่สุดของวงศ์นี้ มีประมาณ 52 สกุล 421 ชนิด มีลักษณะโดยรวม คือ มีช่องเปิดบริเวณแอ่งเบ้าตาใหญ่ และมีช่องเปิดบริเวณกล่องหูใหญ่ มีความยาวของลำตัวแตกต่างกันมากตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตรจนถึง 1.1 เมตร บางชนิดก็มีส่วนหางที่ยาวมาก รูปร่างมีแตกต่างกันตั้งแต่อ้วนป้อมและขาสั้นในสกุล Moloch และเรียวยาวและขายาวในสกุล Sitana เกล็ดปกคลุมลำตัวในหลายชนิดเปลี่ยนสภาพเป็นโครงสร้างอื่น เช่น กิ้งก่าแผงคอ (Chlamydosaurus kingii) ที่เป็นแผงคอที่สามารถกางแผ่ออกได้เมื่อตกใจหรือขู่ศัตรูให้กลัว หรือเป็นหนามในสกุล Moloch และ Acanthosaura โครงสร้างเหล่านี้เป็นลักษณะแตกต่างระหว่างเพศของหลายชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอยู่บนพื้นดินหรือบนต้นไม้หรือแม้แต่ใช้ชีวิตแบบครึ่งบกครึ่งน้ำ อย่าง ตะกอง (Physignathus cocincinus) ที่มีพฤติกรรมอาศัยในป่าดิบชื้นที่ใกล้แหล่งน้ำในป่า เช่น ลำธารหรือน้ำตก ว่ายน้ำเก่งมาก แต่ไม่มีชนิดใดที่อาศัยอยู่ในโพรงดิน ในสกุล Draco ที่พบในป่าดิบในแหลมมลายู ที่มีแผ่นหนังข้างลำตัวกางออกเพื่อร่อนได้ในอากาศ ส่วนใหญ่หากินในเวลากลางวัน และเปลี่ยนอุณหภูมิในร่างกายให้อบอุ่นขึ้นด้วยการนอนผึ่งแดด บางสกุล เช่น Agama มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นสังคม และมีการจัดลำดับในสังคมด้วย กินอาหารโดยเฉพาะสัตว์ขาปล้องเป็นอาหาร โดยรอให้เหยื่อเข้ามาหาเอง ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ในโพรงดินหรือทราย แต่ในสกุล Phrynocephalus ตกลูกเป็นตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยกิ้งก่า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยม้าน้ำ

วงศ์ย่อยม้าน้ำ เป็นวงศ์ย่อยของปลา่ทะเลกระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hippocampinae จัดเป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ Syngnathidae ซึ่งปลาในวงศ์นี้ได้แก่ ม้าน้ำ และปลาจิ้มฟันจระเข้แคระ หรือม้าน้ำอย่างเดียวN.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยลิงโลกเก่า

วงศ์ย่อยลิงโลกเก่า (Old world monkey) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cercopithecinae จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ Cercopithecidae หรือ ลิงโลกเก่า ลิงที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ั มีประมาณ 71 ชนิด 12 สกุล โดยจะปรับตัวให้อาศัยในแต่ละภูมิประเทศ ภูมิอากาศ บางชนิดมีหางยาวเหมาะกับการอาศัยบนต้นไม้ บางชนิดมีหางสั้นหรือกระทั่งไม่มีหางเลย แต่ทุกชนิดมีหัวแม่มือที่วิวัฒนาการมาเพื่อใช้สำหรับหยิบจับของต่าง ๆ และปีนป่าย รวมถึงบางชนิดสามารถเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้มหรือสวยขึ้นได้ด้วยในฤดูผสมพันธุ์ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง และมีลำดับชั้นในฝูงตามลำดับอาวุโส อาศัยอยู่ในหลายภูมิประเทศ หลายภูมิอากาศ ทั้งป่าดิบ, ป่าฝน, สะวันนา, ภูเขาสูง หรือกระทั่งพื้นที่เป็นหิมะหรือน้ำแข็งอันหนาวเย็นในประเทศญี่ปุ่น ส่วนใหญ่กินอาหารได้หลากหลายทั้ง ผลไม้, ใบไม้, เมล็ดพืช, เห็ด, แมลง ตลอดจนแมงมุมขนาดเล็กและสัตว์ขนาดเล็ก ทุกชนิดมีถุงที่ข้างแก้มใช้เก็บอาหาร ระยะเวลาตั้งท้องเป็นเวลาประมาณ 6-7 เดือน หย่านมเมื่ออายุได้ 3-12 เดือน และโตเต็มที่ภายใน 3-5 ปี อายุขัยโดยเฉลี่ยบางชนิดอาจสูงได้ถึง 50 ปี Groves, C. (2005).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยลิงโลกเก่า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยหอยมือเสือ

วงศ์ย่อยหอยมือเสือ (Giant clam; วงศ์ย่อย: Tridacninae) เป็นวงศ์ย่อยของหอยสองฝา ในวงศ์ใหญ่ Cardiidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tridacninae เป็นหอยสองฝาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล 9 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยหอยมือเสือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยหนู

วงศ์ย่อยหนู (Old World rats and mice, วงศ์ย่อย: Murinae) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์ฟันแทะในวงศ์หนู (Muridae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Murinae มีจำนวนสมาชิกในวงศ์นี้กว่า 519 ชนิด ถือว่าเป็นวงศ์ของสัตวฟันแทะที่มีความหลากหลายมากที่สุดวงศ์หนึ่ง และถือได้ว่ามีจำนวนสมาชิกพอ ๆ กับค้างคาวซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมด้วยกัน หากแต่ค้างคาวมิใช่สัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ พบกระจายพันธุ์ในซีกโลกที่ได้ชื่อว่าเป็นโลกเก่า คือ แอฟริกา, เอเชีย, ยุโรป ตลอดจนโอเชียเนียด้วย โดยมีสกุลกว่า 129 สกุล โดยที่บางสกุลก็ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว โดยที่สกุลที่เป็นที่รู้จักกันคือ Rattus ซึ่งเป็นสกุลที่มีขนาดใหญ่ และพบได้ทั่วไปตามบ้านเรือนของมนุษย์ ได้แก่ หนูบ้าน (R. norvegicus) และหนูท้องขาว (R. rattus) เป็นต้น ส่วนที่พบได้ในประเทศไทย พบทั้งสิ้น 34 ชนิด นอกจาก 2 ชนิดดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมี หนูหริ่งบ้าน (Mus musculus), หนูหริ่งใหญ่ (M. cookii), หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน (Niviventer hinpoon), หนูพุกใหญ่ (Bandicota indica), หนูหวาย (Leopoldamys sabanus) ซึ่งล้วนแต่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ทั้งสิ้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยหนู · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยอึ่งอ่าง

วงศ์ย่อยอึ่งอ่าง เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกกบในวงศ์ใหญ่ Microhylidae ใช้ชื่อวงศ์ว่า Microhylinae กะโหลกมีกระดูกเอธมอยด์หนึ่งคู่และมีกระดูกพรีโวเมอร์ขนาดเล็กหนึ่งชิ้น ไม่มีฟันที่กระดูกแมกซิลลา กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของโพรซีลัสและแบบไดพลาสิโอซีลัส กระดูกหัวไหล่มีกระดูกไหปลาร้าและกระดูกโพรโคราคอยด์ซึ่งมีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่เล็ก-ใหญ่ ส่วนใหญ่อาศัยบนพื้นดินตั้งแต่พื้นที่แห้งแล้งของป่าหญ้า-ป่าดิบชื้นแต่ปีนป่ายต้นไม้ได้ดี ลูกอ๊อดส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำ ยกเว้นสกุล Myersiella ที่เอมบริโอเจริญภายในไข่และลูกอ๊อดออกจากไข่เป็นรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัย และลูกอ๊อดของชนิด Synecope antenori ไม่กินอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยอึ่งอ่าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยจิ้งจกและตุ๊กแก

วงศ์ย่อยจิ้งจกและตุ๊กแก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gekkoninae; House gecko, Tokay) เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ Gekkonidae นับเป็นวงศ์ย่อยที่มีความหลากหลายและประสบความสำเร็จสูงสุดในการดำรงชีวิตมากที่สุดของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับย่อยกิ้งก่า (Lacertilia) มีลักษณะโดยทั่วไป คือ มีกระดูกพรีแมคซิลลาและกระดูกพาไรทัลเป็นชิ้นเดี่ยว มีแว่นตาคลุมตา ลำตัวสั้น ขาทั้ง 4 ข้างมีขนาดใหญ่ ลำตัวปกคลุมด้วยผิวหนังที่อ่อนนุ่มและมีเกล็ดปกคลุมลำตัวเรียงตัวต่อเนื่องกัน มีขนาดแตกต่างกันหลากหลายทั้งเพียงไม่กี่เซนติเมตร จนถึงขนาดหนึ่งฟุต ส่วนใหญ่หากินบนต้นไม้และใต้ฝ่าเท้ามีเซต้าหรือขนที่แตกแขนงและมีความเล็กละเอียดมากใช้สำหรับยึดเกาะผนังในแนวตั้งฉากได้เป็นอย่างดีที่สุดในบรรดาวงศ์ย่อยทั้งหมดของวงศ์ Gekkonidae ซึ่งการเรียงตัวและลักษณะของเส้นขนนี้ใช้เป็นตัวในการอนุกรมวิธานแยกประเภท ในหลายสกุลได้ลดรูปแผ่นหนังใต้นิ้วและใช้เป็นโครงสร้างอื่นทดแทนในการอาศัยอยู่บนต้นไม้ เช่น Cnemaspis และ Cyrtodactylus ที่อาศัยบนต้นไม้หรือผนังหินปูนในถ้ำ โดยใช้เล็บในการเกาะเกี่ยวแทน ในบางสกุล เช่น Dixonius และ Gehyra อาศัยอยู่พื้นดินแทน หากินในเวลากลางคืนเป็นส่วนใหญ่ ตามปกติแล้วจะวางไข่เพียงครั้งละ 2 ฟอง โดยเปลือกไข่มีลักษณะแข็งและไม่เปลี่ยนรูป แต่สำหรับบางสกุลที่มีขนาดเล็ก เช่น Coleodactylus วางไข่เพียงฟองเดียว โดยการวางไข่ขึ้นอยู่กับขนาดของลำตัว แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถเกิดได้โดยไม่ต้องผ่านการปฏิสนธิ ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานแล้วทั้งสิ้น 80 สกุล ประมาณ 800 ชนิด โดยมีสกุลที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี อาทิ Gekko, Hemidactylus และPtychozoon เป็นต้น พบกระจายพันธุ์ในเขตร้อนและเขตอบอุ่นของยูเรเชีย ในประเทศไทยพบประมาณ 46-50 ชนิด อาทิ ตุ๊กแกบ้าน (Gekko gecko), ตุ๊กแกตาเขียว (G. siamensis), ตุ๊กแกบินหางเฟิน (Ptychozoon lionotum) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยจิ้งจกและตุ๊กแก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยงูแมวเซา

วงศ์ย่อยงูแมวเซา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Viperinae; Pitless viper, True viper, Old World viper, True adder) เป็นวงศ์ย่อยของงูในวงศ์ Viperidae มีรูปร่างโดยรวม คือ ไม่มีแอ่งรับรู้ถึงคลื่นอินฟราเรดเหมือนงูในวงศ์ย่อย Crotalinae กระดูกพาลาทีนไม่มีก้านกระดูกโคเอนัล กระดูกพรีฟอนทัลไม่มีก้านกระดูกออร์ไบทัล มีขนาดลำตัวปานกลาง โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 30 เซนติเมตร โดยในชนิด Bitis gabonica เป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ยาวได้มากกว่า 2 เมตร พบอาศัยในพื้นที่มีสภาพนิเวศกว้างขวางมากตั้งแต่ในป่าดิบชื้นจนถึงทะเลทราย แพร่กระจายพันธุ์ในพื้นที่ที่เป็นเส้นศูนย์สูตรจนถึงขั้วโลก ออกหากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน โดยช่วงเวลาที่หากินสัมพันธ์กับสภาวะอากาศและระดับอุณหภูมิในแต่ละพื้นที่ เช่น สกุล Vipera ที่พบในทวีปยุโรปออกหากินในเวลากลางวัน แต่สกุล Cerastes ที่พบในทะเลทรายออกหากินในเวลากลางคืน โดยมีพฤติกรรมทั้งหากินในระดับพื้นดินและบนต้นไม้ในระดับต่ำ เช่น สกุล Atheris เป็นต้น กินอาหารซึ่งได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก ขยายพันธุ์ได้ทั้งแบบวางไข่และออกลูกเป็นตัว มีทั้งสิ้น 12 สกุล 65 ชนิด กระจายไปในทวีปยุโรป, แอฟริกา, เอเชีย สำหรับในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว คือ งูแมวเซา (Daboia russellii) ซึ่งเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงมากในการทำลายระบบโลหิต และจัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Daboia.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยงูแมวเซา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยงูโบอา

วงศ์ย่อยงูโบอา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Boinae; Boa, Anaconda) เป็นวงศ์ย่อยของงูไม่มีพิษในวงศ์ Boidae มีลักษณะโดยรวม คือ กระดูกพรีฟรอนทัลชิ้นซ้ายและขวามีขอบด้านในอยู่ชิดกันหรือแตะกัน มีแอ่งรับคลื่นความร้อนอินฟราเรดกระจายอยู่รอบขอบปากบนและล่าง เป็นงูที่มีขนาดใหญ่ ขนาดเล็กที่สุด คือ ชนิด Candoia aspera ที่มีขนาดความยาว 60-90 เซนติเมตร และใหญ่ที่สุด คือ Eunectes murinus หรืองูอนาคอนดาเขียว ที่ยาวได้ถึง 11.5 เมตร น้ำหนักกว่า 250 กิโลกรัม แต่ว่าในยุคก่อนประวัติศาสตร์มีงูในวงศ์ย่อยนี้อยู่ชนิดหนึ่ง คือ ไททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิส (Titanoboa cerrejonensis) ซึ่งได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว มีความยาวได้ถึง 13 หรือ 15 เมตร และอาจมีน้ำหนักได้มากถึง 2 ตัน ซึ่งนับว่าใหญ่และหนักกว่างูอนาคอนดาที่พบได้ในยุคปัจจุบันนี้มาก ค้นพบครั้งแรกเป็นซากดึกดำบรรพ์ในประเทศโคลอมเบีย เมื่อปี ค.ศ. 2007 มีทั้งหมด 28 ชนิด 5 สกุล โดยแพร่ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกเป็นตัวทั้งสิ้น จำนวนลูกที่คลอดแต่ละครั้งจะแตกต่างออกไปตามแต่ละสกุลและชนิด โดยสกุล Cadoia ซึ่งเป็นสกุลที่มีขนาดเล็กจะตกลูกครั้งละ 5-6 ตัว แต่ในขณะที่สกุล Eunectes หรือที่รู้จักดีในชื่อ งูอนาคอนดา ซึ่งมีขนาดใหญ่จะตกลูกได้ถึงครั้งละ 40 ตัวหรือมากกว่านั้น หรือสกุล Boa ที่ตกลูกได้ถึงครั้งละ 60-70 ตัว เป็นงูที่ล่าเหยื่อได้แก่ นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมด้วยการใช้การรับรู้จากอินฟราเรดจากตัวเหยื่อด้วยการเข้ารัดเหมือนงูในวงศ์ Pythonidae พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาใต้, เกาะมาดากัสการ์ และหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยงูโบอา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยงูเขียว

ำหรับงูเขียวจำพวกอื่น ดูที่: งูเขียวหางไหม้ วงศ์ย่อยงูเขียว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Colubrinae) เป็นวงศ์ย่อยของงูในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) ซึ่งนับเป็นวงศ์ใหญ่ที่มีจำนวนของงูในโลกนี้ประมาณร้อยละ 70 โดยในวงศ์ย่อยงูเขียวนี้ ก็ถือเป็นวงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลังอีกเช่นกัน มีความหลากหลายและความต้องการทางนิเวศวิทยาและพฤติกรรมหลากหลายที่สุด อีกทั้งไม่มีลักษณะจำเฉพาะที่จะใช้ระบุได้ โดยมีสกุลประมาณ 100 สกุล (ดูในตาราง) ประมาณ 650 ชนิด แพร่กระจายอยู่ทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกาและเกาะบางเกาะในมหาสมุทรเท่านั้นที่ไม่มีงูในวงศ์ย่อยนี้ โดยชนิดที่ตัวเล็กที่สุด คือ Tantilla reticta ที่มีความยาวลำตัวประมาณ 16-19 เซนติเมตร และใหญ่ที่สุดคือ Ptyas carinatus ที่มีความยาว 3.7 เมตร ส่วนมากขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ มีน้อยมากที่ออกลูกเป็นตัว มีหลายชนิดที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเนื่องจากมีสีสันที่สวยงามและอุปนิสัยไม่ดุร้าย รวมทั้งมีพิษอ่อนหรือไม่มีพิษเลย อาทิ งูคิงเสน็ก (Lampropeltis spp.) หรืองูคอนสเน็ก (Pantherophis guttatus) ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง เป็นต้น ส่วนในประเทศไทย งูในวงศ์ย่อยนี้ โดยมากจะถูกเรียกชื่อสามัญว่างูเขียว (ยกเว้น งูเขียวหางไหม้ ซึ่งอยู่ในวงศ์ Viperidae) มีอยู่ประมาณ 74 ชนิด อาทิ งูเขียวปากแหนบ (Ahaetulla nasuta), งูเขียวปากจิ้งจก (A. prasina), งูเขียวปากจิ้งจกมลายู (A. mycterizans), งูเขียวดอกหมาก (Chrysopelea ornata), งูแม่ตะงาว (Boiga multimaculata), งูปล้องทอง (B. dendrophila), งูพงอ้อท้องเหลือง (Calamaria pavimentata) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยงูเขียว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยตะพาบ

วงศ์ย่อยตะพาบ (Soft-shelled turtle) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับเต่า ในวงศ์ใหญ่ Trionychidae หรือ ตะพาบ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trionychinae ลักษณะโดยรวมของตะพาบในวงศ์ย่อยนี้ คือ กระดูกฮัยโปพลาสทรอนไม่เชื่อมรวมกับกระดองท้อง และกระดองท้องไม่มีแผ่นกระดูกบริเวณต้นขา มีขนาดตั้งแต่ความยาวกระดองประมาณ 20-25 เซนติเมตร ไปจนถึง 1.5 เมตร หรือเกือบ ๆ 2 เมตร น้ำหนักนับร้อยกิโลกรัม มีพฤติกรรมหากินและอาศัยอยู่ในบริเวณพื้นท้องน้ำ ว่ายน้ำเพื่อแสวงหาอาหาร เนื่องจากมีลำตัวแบนราบจึงว่ายน้ำได้ดี หรืออาจใช้วิธีการฝังตัวอยู่ใต้โคลนหรือทรายใต้พื้นน้ำเพื่อรอเหยื่อเข้ามาใกล้ บางครั้งอาจฝังตัวในแหล่งน้ำตื้นแล้วโผล่มาแค่ส่วนปลายหัวเพื่อหายใจรวมทั้งใช้ผิวหนังแลกเปลี่ยนแก๊สได้ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น แม่น้ำ, ทะเลสาบ, คลอง มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบอาศัยอยู่ในลำธารบนภูเขาด้วย แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, แอฟริกากลางไปจนถึงแอฟริกาตะวันตก, ทางใต้ของเอเชียไปจนถึงญี่ปุ่น และเกาะนิวกินี มีประมาณ 20 ชนิด ใน 10 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยตะพาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยตะพาบหับ

วงศ์ย่อยตะพาบหับ (Flap-shelled turtle) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับเต่า ในวงศ์ Trionychidae หรือตะพาบ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyclanorbinae ลักษณะโดยรวมของตะพาบในวงศ์ย่อยนี้คือ กระดูกฮัยโปพลาสทรอนเชื่อมรวมกับกระดองท้อง และกระดองท้องมีแผ่นกระดูกบริเวณต้นขา มีขนาดกระดองตั้งแต่ 30-60 เซนติเมตร จึงจัดเป็นตะพาบขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในน้ำจืดและหากินตามพื้นล่างของแหล่งน้ำ ว่ายน้ำเพื่อเสาะแสวงหาอาหารหรือฝังตัวอยู่ในโคลนเพื่อรอเหยื่อให้เข้ามาใกล้ กินได้ทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น กุ้ง, ปู หรือหอย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่แถบซาฮาราและแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ และอนุทวีปอินเดีย สำหรับในประเทศไทยมีตะพาบในวงศ์ย่อยนี้เพียงชนิดเดียว คือ ตะพาบหับพม่า แบ่งออกได้เป็น 6 ชนิด ใน 3 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยตะพาบหับ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลากะรัง

วงศ์ย่อยปลากะรัง หรือ วงศ์ย่อยปลาเก๋า (Groupers) เป็นวงศ์ย่อยของปลากระดูกแข็งทะเลในวงศ์ Serranidae หรือ ปลากะรัง หรือปลาเก๋า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Epinephelinae ลักษณะโดยทั่วไปมีลำตัวสั้นและแบนทางด้านข้าง เกล็ดขนาดเล็ก ปากกว้างและมักมีฟันเขี้ยวตรงปลายปาก ขนาดโดยทั่วไป 30-60 เซนติเมตร ยกเว้นบางชนิดที่มีขนาดใหญ่ได้ถึง 3 เมตร พื้นลำตัวอาจมีจุด บั้ง ลายเส้นตามยาวบ้าง ตามขวางบ้างแตกต่างกันไป สีส่วนใหญ่มีสีน้ำตาล และบางชนิดมีสีสันสะดุดตาเป็นสีแดง ครีบหลังเริ่มต้นด้วยครีบแข็ง ตามด้วยครีบอ่อนเป็นรูปมนมาจรดโคนหาง และรับกับครีบทวารด้านล่าง ส่วนครีบหางมักเป็นรูปพัดโค้งหรือรูปตัด การดำรงชีวิตส่วนใหญ่ของปลากะรัง อาศัยอยู่ใกล้พื้นทะเลที่อาจเป็นดินโคน ดินทราย และมักหลบซ่อนอยู่ตามกองวัสดุใต้น้ำและซอกปะการัง อย่างไรก็ตามในสภาพธรรมชาติสามารถเปลี่ยนสีของลำตัวให้เข้มหรือจางได้ เพื่อให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ นอกจากนี้ในแต่ละระยะของการเจริญเติบโต สีและลวดลายบนตัวปลาอาจเปลี่ยนแปลงไปตามวัย เช่น ในวัยระยะรุ่นอาจมีคาดตามขวางเด่นชัด แต่เมื่อโตเต็มวัยคาดตามขวางจะค่อย ๆ เลื่อนหายไป เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ โดยนิยมนำมาบริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจ ที่มาของชื่อ "ปลากะรัง" เชื่อว่า มาจากสภาพแวดล้อมที่อาศัยตามแนวปะการังหรือกะรัง นั่นเอง ส่วนคำว่า "grouper" มาจากภาษาโปรตุเกสคำว่า garoupa จากอเมริกาใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลากะรัง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลากะรังจิ๋ว

วงศ์ย่อยปลากะรังจิ๋วหรือ วงศ์ย่อยปลาทองทะเล (Basslet, Anthias) เป็นวงศ์ย่อยของปลากระดูกแข็งทะเลในวงศ์ Serranidae หรือ วงศ์ปลากะรัง หรือปลาเก๋า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anthiinae เป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในวงศ์ มีสีสันสดใส มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยไม่เกิน 15 เซนติเมตร อาศัยอยู่เป็นฝูงในแนวปะการัง โดยมีตัวผู้เป็นจ่าฝูง เป็นปลาที่ไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ แต่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลากะรังจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกา

วงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกา (African cichlid) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดและปลาน้ำกร่อยกระดูกแข็งในวงศ์ Cichlidae หรือปลาหมอสี ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudocrenilabrinae เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูมิภาคตะวันออกกลางจนถึงแอฟริกากลาง สามารถแบ่งออกได้เป็นเผ่าต่าง ๆ หลายเผ่า และหลายสกุล โดยแหล่งที่พบที่ใหญ่ที่สุด คือ ทะเลสาบมาลาวี และทะเลสาบแทนกันยีกา รวมถึงทะเลสาบวิกตอเรีย ซึ่งเป็นปลาที่ใช้รับประทานเป็นอาหารในท้องถิ่น และส่งออกไปจำหน่ายเป็นปลาเศรษฐกิจทั่วโลก รวมถึงการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ซึ่งปลาในวงศ์นี้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาไจแอนท์แทนกันยีกา (Boulengerochromis microlepis) ที่มีความยาวได้ถึง 90 เซนติเมตร ก็อยู่รวมในวงศ์ย่อยนี้ด้วย ปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้มีความหลากหลายมากมายทั้งสกุล และชนิด (คาดว่ามีประมาณ 1,900 ชนิด และ 400 ชนิด กินสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ และสาหร่ายหรือตะไคร่น้ำเป็นอาหาร) มีพฤติกรรมความเป็นอยู่แตกต่างกันออกไป หลายสกุล หลายชนิดวางไข่ไว้ในเปลือกหอยฝาเดียว บางชนิดก็แทะเล็มตะไคร่น้ำและสาหร่ายตามโขดหินเป็นอาหาร ด้วยฟันขนาดเล็ก ๆ แหลมคมหลายชุด ที่มีความแตกต่างกัน ซึ่งทำให้มีการกินอาหารแตกต่างกันไป เช่น กัด, ขูด, ดูด และกลืน บางชนิดก็ล่าปลาขนาดเล็กและปลาหมอสีด้วยกันเป็นอาหาร ด้วยการอยู่นิ่ง ๆ กับที่ หรือฝังตัวอยู่ใต้ทราย หรือแม้กระทั่งแกล้งทำเป็นตาย ด้วยการหยุดการทำงานของช่องเหงือกเพื่อหายใจ บางชนิดก็กินเกล็ดปลาอื่นเป็นอาหาร ขณะที่หลายชนิดมีพฤติกรรมฟักลูกปลาไว้ในปาก แต่ก็ต้องเลี้ยงลูกจำพวกอื่นไปด้วย เช่น ปลาหนังขนาดใหญ่บางชนิด โดยเฉพาะในวงศ์ปลากดคัดคู (Mochokidae) โดยที่ไม่รู้เลยว่านั่นไม่ใช่ลูกของตัว และลูกปลาหนังนั้นก็จะกินลูกปลาหมอสีขณะที่อยู่ในปากด้วยMutant Planet: African Rift Valley Lakes, "Mutant Planet".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาหมอจำปะ

วงศ์ย่อยปลาหมอจำปะ (Combtail gourami) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีชื่อวงศ์ว่า Belontiinae ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) ซึ่งมีอยู่เพียงสกุลเดียวเท่านั้น คือ Belontia (/เบ-ลอน-เทีย-อา/) โดยมาจากชื่อหมู่บ้านเบลออนท์จา (Belontja) ซึ่งเป็นหมู่บ้านในเมืองปาเลมบังในประเทศอินโดนีเซีย มีรูปร่างโดยรวมเหมือนปลากัดผสมกับปลาหมอ แต่มีลำตัวแบนข้างและกว้างมากกว่า ครีบหางมนกลม ครีบท้องเล็ก ครีบหลังใหญ่และแหลม ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยวยื่นออกมาเป็นเส้นยาว ปลายของครีบหลังและครีบก้นยื่นออกมาเป็นเส้นเดี่ยว ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 16-20 ก้าน และก้านครีบแขนง 9-13 แขนง ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 13-17 ก้าน และก้านครีบแขนง 10-13 ก้าน ลำตัวจะมีสีน้ำตาลเหลืองคล้ำหรือน้ำตาลแดง มีขนาดความยาวตั้งแต่ 5 นิ้ว จนถึง 20 เซนติเมตร ทำรังโดยตัวผู้ก่อหวอดเหมือนปลากัดหรือปลากระดี่ ตัวมีขนาดใหญ่และสีสดกว่าตัวเมีย พบเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาหมอจำปะ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหิน

วงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหิน หรือ วงศ์ย่อยปลาซัคเกอร์ผีเสื้อ (Flat loach) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Balitorinae (/บา-ลิ-ทอร์-นิ-นี่/) ในวงศ์ Balitoridae ซึ่งมีจำนวนสมาชิกอยู่ด้วยกันหลากหลายมากมาย หลายร้อยชนิด สำหรับปลาในวงศ์ย่อยนี้ จะพบกระจายพันธุ์ในดินแดนที่เป็นหมู่เกาะ เช่น บอร์เนียว เป็นต้น มีจำนวนสกุลในวงศ์นี้ ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาค้อ

วงศ์ย่อยปลาค้อ (Hillstream loach) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nemacheilinae (/นี-มา-ไคล-ลิ-นี่/) ในวงศ์ Balitoridae ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 วงศ์ย่อย และมีจำนวนสมาชิกมากมายหลายร้อยชนิด สำหรับปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ จะแตกต่างไปจากวงศ์ย่อย Balitorinae กล่าว คือ จะพบได้ในดินแดนส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ เช่น ประเทศไทย มากกว่า สำหรับสกุลในวงศ์นี้ ก็มีมากกว่า ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาค้อ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาซิว

วงศ์ย่อยปลาซิว (Danionin) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ซึ่งถือเป็นวงศ์ใหญ่ มีสมาชิกต่าง ๆ ในวงศ์นี้ทั่วโลกมากกว่า 2,000 ชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Danioninae ปลาในวงศ์ย่อยนี้ มักมีขนาดเล็ก โดยเรียกในชื่อสามัญว่า ปลาซิว หรือ ปลาแปบ มีลักษณะโดยทั่วไป คือ ส่วนใหญ่ลำตัวมีสีเงิน สันท้องกลมไม่เป็นสัน หรือบางชนิดสันท้องคม ส่วนหัวมักอยู่ในแนวเฉียงกับลำตัว ส่วนใหญ่มีปมที่ปลายของขากรรไกรล่าง หรือบางชนิดไม่มี ปากเฉียงขึ้นหรืออยู่ในตำแหน่งตรง มีฟันในหลอดคอ 1-3 แถว ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังไม่แข็ง ปกติมีจำนวนก้านครีบที่แตกปลาย 7 ก้าน มักอยู่ในตำแหน่งทางด้านท้ายของลำตัวหรือหลังจุดเริ่มต้นของครีบท้อง บางชนิดไม่มีหนวด บางชนิดมีหนวด มีซอกเกล็ดเฉพาะที่ฐานของครีบท้อง เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์โค้งลงทางด้านล่างและสิ้นสุดต่ำกว่ากึ่งกลางคอดหาง ตามข้อมูลของมหาวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดให้ปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้มีทั้งหมด 30 สกุล (ดูในตาราง) แต่ตามข้อมูลของผู้ช่วยศาสตราจารย์ อภินันท์ สุวรรณรักษ์ แห่งคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดให้มีสกุลเพิ่มเติมขึ้นมาอีก ซึ่งเป็นปลาที่สามารถพบได้ในประเทศไทย ได้แก่ Aaptosyax, Aspidoparia, Boraras, Brachydanio, Leptobarbus, Macrochirichthys, Opsariichthys, Oxygaster และThryssocypris ทั้งนี้เนื่องจากจำนวนวงศ์ย่อยของปลาในวงศ์ปลาตะเพียนนี้ ยังไม่มีข้อยุติแน่นอน โดยนักมีนวิทยาและนักอนุกรมวิธานในแต่ละท่าน ก็จะจัดแตกต่างกันออกไป เช่น วอลเตอร์ เรนโบธ ได้แบ่งวงศ์ย่อยออกเป็นทั้งสิ้น 4 วงศ์ย่อย เมื่อปี ค.ศ. 1996 ได้แก่ Alburninnae, Danioninae, Leuciscinae และCyprininae เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาซิว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาแรด

วงศ์ย่อยปลาแรด (Giant gouramis) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งมีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 1 สกุล 4 ชนิด (ดูในตาราง) มีลักษณะร่วมกันคือ ลำตัวป้อมและแบนข้าง เกล็ดสากมือเป็นรูปหยัก มีก้านครีบท้องคู่แรกเป็นเส้นเรียวยาวคล้ายหนวด ใช้สำหรับสัมผัส ปลายหางมนกลม ปากแหลม ริมฝีปากหนา ภายในปากมีฟันซี่เล็ก ๆ แหลมคมเรียงอยู่ภายใน ส่วนหัวเล็กและป้าน เมื่อโตขึ้นมาโดยเฉพาะในปลาตัวผู้จะมีโหนกนูนขึ้นมาเรื่อย ๆ จนดูคล้ายนอแรด อันเป็นที่มาของชื่อ โคนหางมีจุดสีดำคล้ำอยู่ทั้ง 2 ข้าง เมื่อโตขึ้นจุดดังกล่าวจะหายไป เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ แต่จะกินพืชเป็นอาหารหลัก นิสัยก้าวร้าวพอสมควร และเป็นปลาที่มีความสามารถพิเศษคือ สามารถฮุบอากาศจากผิวน้ำได้โดยตรง เนื่องจากมีอวัยวะพิเศษที่อยู่ในช่องเหงือกช่วยในการหายใจ อีกทั้งยังสามารถเก็บความชื้นไว้ได้เมื่อถูกจับพ้นน้ำ มีขนาดโตเต็มที่ราว 90 เซนติเมตร ในชนิด Osphronemus goramy ซึ่งนับว่าเป็นปลาในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) ที่ใหญ่ที่สุด พบกระจายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และที่เป็นหมู่เกาะ ชอบอาศัยในแหล่งน้ำนิ่งและน้ำไหลเอื่อย ๆ มีพืชน้ำขึ้นรก มีทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาแรด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาเลียหิน

วงศ์ย่อยปลาเลียหิน (Algae eater, Stone lapping) เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ Cyprinidae หรือวงศ์ปลาตะเพียน ซึ่งเป็นวงศ์ใหญ่ ในอันดับปลากินพืช (Cypriniformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Labeoninae (/ลา-เบ-โอ-นี-เน/) โดยรวมแล้ว ปลาในวงศ์ย่อยนี้ มีรูปร่างเรียวยาว ลำตัวทรงกระบอก ครีบหลังยกสูงและไม่มีก้านครีบแข็ง ลักษณะสำคัญ คือ ปากจะงุ้มลงด้านล่าง มีริมฝีปากบนหนาและแข็ง ในบางสกุลจะมีตุ่มเล็ก ๆ คล้ายสิวกระจายอยู่บนนั้น ในหลายชนิดมีหนวดอยู่ 1 คู่ โดยเป็นปลาที่ใช้ปากในการดูดกินตะไคร่น้ำ, สาหร่าย และแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็ก บริเวณพื้นน้ำหรือโขดหิน, ตอไม้ ใต้น้ำ เป็นอาหาร มักพบกระจายพันธุ์ทั้งในลำธารน้ำเชี่ยว และแหล่งน้ำขนาดใหญ่ มักอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง ขนาดแตกต่างกันออกไปตั้งแต่เพียงไม่เกิน 10 เซนติเมตร จนถึงเกือบ 1 เมตร กระจายพันธุ์ทั่วไปทั้งทวีปเอเชียและแอฟริก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาเลียหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาเขือ

วงศ์ย่อยปลาเขือ หรือ วงศ์ย่อยปลาบู่เขือ (Worm goby, Eel goby) เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Amblyopinae ปลาในวงศ์ย่อยนี้ มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหลมากกว่าปลาบู่ อาศัยอยู่ในโคลน ครีบหลังสองตอนเชื่อมต่อกันโดยโครสร้างเนื้อเยื่อ ตาลดรูปลงจนมีขนาดเล็ก เนื่องจากไม่ได้ใช้ประโยชน์ มีลำตัวสีชมพู, สีแดง หรือสีม่วง แบ่งออกได้เป็น 23 ชนิด ใน 12 สกุล.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยปลาเขือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยนกคอพัน

นกคอพัน (Wrynecks) เป็นวงศ์ย่อยของนกจำพวกหนึ่ง ในวงศ์นกหัวขวาน (Picidae) ใช้ชื่อวงศ์ย่อยว่า Jynginae มีอยู่เพียงสกุลเดียว คือ Jynx นกคอพัน เป็นนกหัวขวานที่ไม่สามารถที่จะเกาะต้นไม้ในแบบแนวตั้งได้เหมือนนกหัวขวานจำพวกอื่น เนื่องจากไม่มีขนหางที่แข็งใช้ในการทรงตัวได้เหมือนนกหัวขวานอื่น ๆ อีกทั้งยังมีจะงอยปากที่สั้นไม่สามารถที่จะใช้เจาะต้นไม้ได้ด้วย แต่ก็มีลิ้นที่ยาวและมีน้ำลายที่เหนียวใช้ตวัดกินแมลงต่าง ๆ ได้เหมือนนกหัวขวานทั่วไป แต่นกคอพันมีพฤติกรรมชอบหากินตามพื้นดินมากกว่า โดยแมลงชนิดที่ชอบกิน คือ มด ซึ่งเป็นแมลงที่อยู่ตามพื้นดิน จึงมักลงมาหากินตามพื้นดินด้วยการกระโดดไปเป็นจังหวะ ๆ และหยุดดูมดตามร่องของพื้นดิน เหตุที่ได้ชื่อสกุลว่า Jynx เนื่องจากสามารถที่จะบิดลำคอไปข้าง ๆ ได้เหมือนงู ได้เกือบ 180 องศา เหมือนกับมีเวทมนตร์หรือเป็นผู้วิเศษ นกคอพัน จัดเป็นนกขนาดเล็ก กระจายพันธุ์อยู่ในแถบยูเรเชีย, ทวีปยุโรป และเอเชียตะวันออก เป็นนกที่อพยพหนีหนาวมาบ้างในประเทศไทย ในช่วงฤดูหนาว แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ภาพเคลื่อนไหวการบิดคอของนกคอพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยนกคอพัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยนกเป็ดน้ำ

วงศ์ย่อยนกเป็ดน้ำ (Teal, Dabbling duck) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์ปีกจำพวกเป็ด หรือนกเป็ดน้ำวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ Anatidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anatinae หรือจัดอยู่ในเผ่า Anatini เป็ดที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้มีลักษณะไม่ต่างอะไรกับสมาชิกที่อยู่ในวงศ์ใหญ่ คือ มีจะงอยปากแบนและตรงปลายปากงุม ตีนมีพังผืด นิ้วเรียว นิ้วหลังคอนขางเล็กและเปนนิ้วตางระดับ บินไดเกง สวนใหญเปนนกอพยพยายถิ่น นอกจากนี้แล้วยังสามารถที่จะว่ายน้ำหรือดำน้ำได้อีกด้วยตีนที่เป็นพังผื.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยนกเป็ดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยแกะและแพะ

วงศ์ย่อยแกะและแพะ เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caprinae ลักษณะที่สำคัญของวงศ์นี้ คือจะมีเขาในทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่ตัวผู้จะมีเขาที่ใหญ่และตันกว่า ใช้สำหรับต่อสู้กันเพื่อแย่งตัวเมียในฤดูผสมพันธุ์ และป้องกันตัว ลักษณะของเขา เช่นความคมและความโค้งของเขา จะแตกต่างกันไปในแต่ละชนิด ตัวผู้มักมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียราวร้อยละ 20-30 ตัวเมียจะมีเต้านม 2 หรือ 4 เต้า และจะมีขนที่หนานุ่มตลอดทั้งลำตัว ลักษณะกีบเท้าจะมีการพัฒนาให้มีลักษณะพิเศษ คือ มีแผ่นกีบที่มีความหนา และมีความชื้นมาก เพื่อสะดวกในการป่ายปีนที่สูง เนื่องจากเป็นสัตว์ที่มีนิเวศวิทยาอยู่รวมกันเป็นฝูงและอาศัยอยู่บนภูเขา, หน้าผา หรือที่ราบสูง สามารถแบ่งออกได้เป็นสกุล 12 สกุล ดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยแกะและแพะ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยเพียงพอน

วงศ์ย่อยเพียงพอน หรือ วงศ์ย่อยวีเซล เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Mustelinae เป็นวงศ์ที่แยกออกมาจากวงศ์ Lutrinae หรือ นาก สมาชิกในวงศ์ย่อยนี้เหมือนกับวงศ์เพียงพอน ได้แก่ วีเซล, มาร์เทิน, วูล์ฟเวอรีน หรือมิงค์ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยเพียงพอน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยเสือใหญ่

วงศ์ย่อยเสือใหญ่ หรือ วงศ์ย่อยเสือ (Panther, Big cat) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pantherinae ลักษณะโดยรวมของสัตว์ในวงศ์ย่อยนี้ คือ เป็นเสือขนาดใหญ่ ที่อุ้งตีนมีซองหุ้มเล็บได้ทั้งหมด ในลำคอมีกระดูกกล่องเสียงชิ้นกลางดัดแปลง มีลักษณะเป็นแถบเส้นเอ็นสั่นไหวได้ดี จึงสามารถใช้ส่งเสียงร้องดัง ๆ ได้ ที่เรียกว่า คำราม จากการศึกษาพบว่า วงศ์ย่อยนี้แยกออกมาจากวงศ์ย่อย Felinae เมื่อ 60 ล้านปีก่อน และจากการวิเคราะห์ดีเอ็นเอพบว่า เสือดาวหิมะ เป็นรากฐานของเสือในวงศ์ย่อยนี้ทั้งหมด นอกจากนี้ยังพบหลักฐานที่บ่งชี้ว่ามีจีโนมที่แตกต่างกันของเสือและแมวในวงศ์นี้ โดยเสือที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ แบ่งออกได้เป็น 3 สกุล 7 ชนิด พบกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปเอเชียและแอฟริกา และพบเพียงชนิดเดียวในทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยเสือใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยเหยี่ยว

วงศ์ย่อยเหยี่ยว เป็นวงศ์ย่อยของนกล่าเหยื่อประเภทเหยี่ยว และอินทรี ใช้ชื่อวงศ์ว่า Accipitrinae อยู่ในวงศ์เหยี่ยวและอินทรี (Accipitridae) มีลักษณะทั่วไปไม่ต่างกับนกที่อยู่ที่วงศ์ใหญ่ ทั่วโลกพบทั้งสิ้น 4 สกุล 55 ชนิด (ในข้อมูลเก่าจำแนกออกเป็น 64 สกุล ในประเทศไทยพบ 21 สกุล).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยเหยี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยเป็ดแดง

วงศ์ย่อยเป็ดแดง (Whistling duck, Tree duck) เป็นวงศ์ย่อยของนกจำพวกนกเป็ดน้ำวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Dendrocygninae (หรือ Dendrocygnidae) จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ Anatidae ลักษณะของเป็ดในวงศนี้คือ ปากยาวกวาหัว ไมมีรอยขีดดานบนของปาก รูจมูกอยูเกือบโคนปาก ปลายปกมน ขนปลายปกเสนนอกสุดสั้นกวาเสนที่ 4 เมื่อนับจากดานนอก หางมน ขายาว เวลาบินขา เหยียดพนปลายหาง แขงเปนเกล็ดแบบเกล็ดรางแห นิ้วหลังไมมีพังผืดและมักยาวประมาณ 1 ใน 3 ของแขง มีลำคอยาวกว่าเป็ดในวงศ์อื่น ๆ และมักยืดคออยู่เสมอ ๆ จึงมีลักษณะโดยรวมเหมือนหงส์ แต่ย่อขนาดลงมา และเป็นเป็ดเพียงไม่กี่จำพวกที่ทำรังบนต้นไม้ โดยที่คำว่า Dendro หมายถึง "ต้นไม้" และ cygnus หมายถึง "หงส์".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ย่อยเป็ดแดง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ลิงลม

วงศ์ลิงลม (Lorisid; Kukang) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับไพรเมตวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Lorisidae (หรือ Loridae) สมาชิกในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันดี ประกอบไปด้วย ลิงลม หรือ นางอาย, ลิงลมเรียว, พอตโต, อังวานต.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ลิงลม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ลิงใหญ่

ลิงใหญ่ หรือ โฮมินิด (Hominid, Great ape) เป็นวงศ์หนึ่งในทางอนุกรมวิธานของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) จำพวกเอป หรือลิงไม่มีหาง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hominidae ซึ่งในปัจจุบันนี้มีดำรงเผ่าพันธุ์อยู่เพียง 4 สกุล คือ Pan, Gorilla, Homo และPongo ลักษณะสำคัญของวงศ์นี้ คือ มีฟันเขี้ยวขนาดเล็กและอยู่ในระดับเดียวกับฟันอื่น ๆ เดินด้วยขาหลัง 2 ขา เนื่องจากเปลี่ยนวิถีชีวิตจากบนต้นไม้มาสู่พื้นดิน เดิมเคยเชื่อว่าในวงศ์นี้ ประกอบไปด้วยสกุล 3 สกุล คือ Ramapithecus, Australopithecus และ Homo แต่จากการศึกษาเพิ่มเติมพบว่า Ramapithecus มีลักษณะคล้ายลิงอุรังอุตังมากกว่า Australopithecus และHomo จึงจัดให้อยู่ในวงศ์ย่อย Ponginae ของลิงอุรังอุตัง ในวงศ์นี้ ชนิดที่ทราบว่าสูญพันธุ์ไปแล้วจำนวนหนึ่งถูกจัดกลุ่มกับมนุษย์ในวงศ์ย่อย Homininae ส่วนชนิดอื่น ๆ ถูกจัดในวงศ์ย่อย Ponginae กับลิงอุรังอุตัง บรรพบุรุษร่วมกันหลังสุดของลิงใหญ่เคยมีชีวิตอยู่เมื่อประมาณ 14 ล้านปีก่อน เมื่อบรรพบุรุษของลิงอุรังอุตังวิวัฒนามาจากบรรพบุรุษของอีก 3 ชนิดที่เหลือDawkins R (2004) The Ancestor's Tale.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ลิงใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์วัวและควาย

วงศ์วัวและควาย เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bovidae จัดเป็นสัตว์กินพืช ลักษณะเด่นของสัตว์ในวงศ์นี้ จะมีเขาที่ไม่มีการแตกกิ่ง ไม่มีการหลุดหรือเปลี่ยนในตลอดช่วงอายุขัย มีกระเพาะอาหารแบ่งเป็น 4 ห้องหรือ 4 ส่วน และมีการหมักย่อย โดยการหมักของกระเพาะอาหารจะอาศัยแบคทีเรียในท่อทางเดินอาหาร โดยส่วนใหญ่ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ในกระเพาะอาหารจะอยู่ที่ 6.7+0.5 มีถุงน้ำดี นอกจากนั้นสัตว์ในตระกูลนี้สามารถสำรอก อาหารออกมาจากกระเพาะหมัก เพื่อทำการเคี้ยวใหม่ได้ ที่เรียกว่า "เคี้ยวเอื้อง" ลูกที่เกิดใหม่จะใช้เวลาไม่นานในการเดินและวิ่งได้ อันเนื่องจากการวิวัฒนาการเพื่อให้เอาตัวรอดจากสัตว์กินเนื้อที่เป็นผู้ล่าในห่วงโซ่อาหาร สัตว์ที่อยู่ในวงศ์นี้ เป็นสัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยและผูกพันอย่างดีในฐานะเป็นสัตว์เศรษฐกิจและปศุสัตว์ ได้แก่ วัว, ควาย, แพะ, แกะ เป็นต้น สำหรับสัตว์ป่า มีการกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปออสเตรเลีย ในแอฟริกาและบางส่วนของทวีปเอเชีย จะมีบางชนิดที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับกวาง (Cervidae) เช่น อิมพาลาหรือแอนทีโลป แต่ความเป็นจริงแล้วเป็นสัตว์ในวงศ์นี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์วัวและควาย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์วาฬแกลบ

วงศ์วาฬแกลบ หรือ วงศ์วาฬอกร่อง (Rorqual; การออกเสียง) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Balaenopteridae จัดเป็นวาฬบาลีน หรือวาฬไม่มีฟันวงศ์หนึ่ง ลักษณะเด่นของวาฬในวงศ์นี้คือ มีครีบหลังรูปสามเหลี่ยมอยู่ส่วนท้ายลำตัวและช่วงท้อง และลักษณะเด่นอีกประการ คือ จากใต้คางลงไปมีลักษณะเป็นร่อง ๆ ถี่ ๆ ยาวไปตามลำตัว 30-100 ร่อง เรียกว่า "Rorqual" เป็นวาฬที่มีขนาดใหญ่ น้ำหนักมีตั้งแต่ 150 ตัน จนถึงขนาดเล็กที่สุด 9 ตัน เป็นวาฬที่มีหวีกรองในปาก คือ บาลีน จึงกินอาหารได้แต่เพียงขนาดเล็ก เช่น แพลงก์ตอน, เคย และปลาขนาดเล็ก เช่น ปลากะตัก, ปลาแฮร์ริ่ง เป็นต้น พบได้ในทะเลเปิดและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ติดต่อสื่อสารกันด้วยคลื่นเสียงและโซนาร์ ตัวเมียมีระยะเวลาตั้งท้องนานประมาณ 11-12 เดือน เมื่อคลอดลูกอ่อนจะออกมาจากช่องคลอดของแม่ โดยส่วนหางออกมาก่อน เพื่อให้ส่วนของช่องหายใจเป็นส่วนสุดท้ายที่ออกมาสัมผัสน้ำทะเล และสามารถว่ายน้ำได้ทันที โดยโผล่ขึ้นมาสูดอากาศหายใจครั้งแรกในทันทีที่คลอด ลูกแรกเกิดมีขนาดใหญ่ประมาณร้อยละ 40 ของแม่ ซึ่งเป็นตัวเต็มวั.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์วาฬแกลบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สมอ

วงศ์สมอ (Combretaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกในอันดับ Myrtales มีสมาชิกประมาณ 600 สปีชีส์ รวมถึง Combretum imberbe พืชในวงศ์นี้ 3 สกุลคือ Conocarpus, Laguncularia และ Lumnitzera เจริญในป่าชายเลน พืชในวงศ์นี้แพร่กระจายในเขตร้อนและกึ่งร้อน บางชนิดเป็นไม้ก่อสร้างที่มีคุณภาพดี เช่น Terminalia ivorensis.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์สมอ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ส้ม

วงศ์ส้ม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rutaceae) เป็นวงศ์ของของพืชที่ปกติแล้วจะถูกจัดให้อยู่ในอันดับ Sapindales โดยทั่วไปแล้วพืชในวงศ์นี้จะมีดอกที่แบ่งออกเป็น 4 หรือ 5 ส่วน ปกติจะมีกลิ่นแรง ลักษณะของต้นมีตั้งแต่ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไปจนถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สกุลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากที่สุดคือ Citrus ซึ่งมีทั้งส้ม (C. sinensis) เลมอน (C. x limon) เกรปฟรุต (C. x paradisi) และมะนาว (มีหลายชนิด ส่วนใหญ่จะเป็น C. aurantifolia หรือ Key lime) Boronia เป็นสกุลใหญ่จากออสเตรเลีย สมาชิกบางชนิดของสกุลนี้มีดอกที่มีกลิ่นหอมมากและใช้ในการผลิตน้ำมันหอมระเหยเชิงพาณิชย์ ส่วนสกุลใหญ่สกุลอื่นๆคือ Zanthoxylum และ Agathosma.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ส้ม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หอยขม

หอยขม หรือภาษาในบางท้องถิ่นเรีอกว่า หอยจุ๊บ หรือหอยดูด เป็นที่รู้จักกันดีและมีขายในตลาดทั่วไป เป็นหอยฝาเดียวที่พบเฉพาะในแหล่งน้ำจืดเท่านั้น นิยมนำมาทำอาหาร เช่น แกงคั่วหอยขม แกงอ่อมหอยขม และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยส่วนมากจะพบจากแหล่งธรรมชาติ โดยชาวบ้านในท้องที่เก็บมาขาย หรือพบบริเวณบ่อเลี้ยงปลา ซึ่งเป็นผลพลอยได้สำหรับเจ้าของบ่อเลี้ยงปลา แต่ในปัจจุบันมีการทำฟาร์มเพื่อการเพาะเลี้ยงหอยขมในกระชังโดยเฉพาะ หอยขมเป็นสัตว์ที่มีความอดทนต่อสภาพแวดล้อม เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว และขยายพันธุ์เร็ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์หอยขม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หนู

วงศ์หนู (Rat, Mice, Mouse; วงศ์: Muridae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Muridae นับเป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี และนับเป็นวงศ์ของสัตว์ฟันแทะที่มีความหลากหลายและจำนวนสมาชิกมากที่สุดด้วย ด้วยมีจำนวนสมาชิกมากกว่า 700 ชนิด ตั้งแต่อาร์กติกเซอร์เคิลจนถึงปลายสุดของทวีปอเมริกาใต้ โดยยังแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์หนู · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หนูทุ่ง

วงศ์หนูทุ่ง เป็นวงศ์ของสัตว์ฟันแทะขนาดเล็กจำพวกหนูวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อว่า Cricetidae เป็นวงศ์ที่มีสมาชิกหลากหลายมากมาย อาทิ แฮมสเตอร์, แฮมสเตอร์แคระ, หนูเลมมิ่ง, หนูทุ่ง ซึ่งยังสามารถแยกออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก (ในบางข้อมูลจัดให้เป็นวงศ์เดียวกับ Muridae) หนูในวงศ์นี้มีประมาณ 600 ชนิด กระจายพันธุ์ไปในหลายพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะในซีกโลกใหม่ และยังพบได้ที่ ยุโรป และเอเชีย เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก โดยขนาดเล็กที่สุด คือ หนูแคระโลกใหม่ มีขนาดยาวประมาณ 5–8 เซนติเมตร (2.0–3.1 นิ้ว) และน้ำหนักประมาณ 7 กรัม (0.25 ออนซ์) จนถึงขนาดใหญ่ที่สุด คือ หนูมัสก์ ที่ยาว 41–62 เซนติเมตร (16–24 นิ้ว) และมีน้ำหนัก 1,100 กรัม (39 ออนซ์) หางมีความเรียวยาวไม่มีขนและมีเกล็ด มีขนาดที่แตกต่างกันออกไป ใช้สำหรับทรงตัวและเกาะเกี่ยวได้โดยเฉพาะหนูที่อาศัยอยู่ในท้องทุ่ง หรือพื้นที่เกษตรกรรม ขนส่วนใหญ่มีสีน้ำตาลและส่วนท้องสีขาว แต่ก็มีสีต่าง ๆ แตกต่างกันไปได้ เช่นเดียวกับหนูในวงศ์ Muridae คือ พบได้แทบทุกภูมิประเทศที่มีความแตกต่างหลากหลาย ตั้งแต่อาร์กติกเซอร์เคิล, ท้องทุ่ง, ทะเลทรายที่แห้งแล้ง, บ้านเรือนของมนุษย์ หรือพื้นที่ชุ่มน้ำ โดยปกติเป็นสัตว์ที่กินเมล็ดพืชเป็นอาหาร แต่ก็กินอาหารได้หลากหลายมาก เช่น เนื้อสัตว์, ซากสัตว์, อาหารที่กินเหลือ, แมลง เป็นต้น ฟันมีลักษณะเป็นฟันแทะที่งอกใหม่ได้ตลอดเวลา ในอัตราปีละ 5 นิ้ว เป็นฟันที่มีความแข็งแรง ซึ่งทำให้แทะได้แม้แต่สายไฟ หรือฝาผนังปูนซีเมนต์ สามารถเขียนเป็นสูตรฟันได้ว่า เป็นสัตว์ที่มีระบบเผาพลาญพลังงานหรือแมตาบอลิซึมเร็วมาก ในวันหนึ่งหัวใจเต้นได้เร็วมาก ถึงขนาดเมื่อเทียบกับหัวใจของช้างจะเท่ากับหัวใจของช้างเต้นถึง 70 ปี จึงเป็นสัตว์ที่มีความตื่นตัว ว่องไวตลอดเวลา โดยจะกินอาหารแทบทุกชั่วโมง โดยวันหนึ่ง สามารถกินอาหารได้มากถึงร้อยละ 40 ของน้ำหนักตัว เทียบเท่ากับมนุษย์กินซีเรียลมากถึงวันละ 80 กล่อง และเมื่อไปถึงที่ไหนมักจะถ่ายฉี่ไว้ ซึ่งเป็นการปล่อยฟีโรโมน รวมถึงการถ่ายมูลทิ้งไว้ด้วย Mouse: A Secret Life, "Animal Planet Showcase" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์หนูทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์อิกัวนา

วงศ์อิกัวนา (Iguana) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่าวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อว่า Iguanidae มีลักษณะเด่น คือ ทุกชนิดมีรยางค์ขา มีเกล็ดปกคลุมด้านหลังและด้านท้องของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดขนาดใหญ่และเรียงตัวซ้อนเหลื่อมกันและบางชนิดมีเกล็ดขนาดเล็กและเรียงตัวต่อเนื่องกัน ไม่มีกระดูกในชั้นหนัง กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์คลาวิเคิลเป็นรูปตัวที (T) และมีกระดูกไหปลาร้ารูปร่างโค้ง ส่วนใหญ่มีหางยาวและบางชนิดสามารถปล่อยให้หลุดจากลำตัวได้ แต่ตำแหน่งในการปล่อยหางไม่แน่นอน พื้นผิวด้านนอกของลิ้นมีตุ่ม ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูก กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟันหรือไม่มีฟัน วงศ์อิกัวนาแบ่งออกได้เป็น 8 วงศ์ย่อย แบ่งออกได้เป็น 44 สกุล และพบมากกว่า 672 ชนิด โดยชนิดที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ อิกัวนาเขียว (Iguana iguana) ที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และอิกัวนาทะเล (Amblyrhynchus cristatus) ที่อาศัยอยู่ตามเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะกาลาปากอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์อิกัวนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์อึ่งกราย

วงศ์อึ่งกราย (Asian toads) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ในอันดับกบ (Anura) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Megophryidae มีลักษณะเด่น คืิอ มีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบ 8 ปล้อง กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของแอมฟิซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของอาร์กซิฟเอรัล กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแคลคาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะส่วนต้นและส่วนปลาย ไม่มีชิ้นกระดูกแทรกระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย ผิวหนังลำตัวมีต่อมเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้แล้วหลายชนิดของทั้งตัวผู้และตัวเมียยังมีกลุ่มของต่อมบริเวณขาหนีบและซอกขาหน้า มีขนาดตัวตั้งแต่ 2-12 เซนติเมตร อาศัยอยู่บนพื้นล่างของป่าหรือบริเวณใกล้ลำห้วยหรือลำธาร ส่วนใหญ่มีสีลำตัวกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม วางไข่ในแหล่งน้ำ โดยขณะผสมพันธุ์ตัวผู้จะกอดรัดตัวเมียในตำแหน่งเอว ลูกอ๊อดมีรูปร่างและโครงสร้างของปากแตกต่างกัน บางสกุลมีปากเป็นรูปกรวยและไม่มีจะงอยปาก รวมทั้งไม่มีตุ่มฟัน อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำนิ่ง แต่ขณะที่บางสกุลมีคุณสมบัติแตกต่างจากเหล่านี้สิ้นเชิง และอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำเชี่ยว เป็นต้น แพร่กระจายพันธุ์อยู่เฉพาะทวีปเอเชีย เช่น จีน, ปากีสถาน, อินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, หมู่เกาะฟิลิปปิน และเกาะสุมาตรา ในประเทศไทยพบประมาณ 25 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์อึ่งกราย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์อ้น

วงศ์อ้น หรือ วงศ์หนูตุ่น (Mole rat, Bamboo rat) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์ฟันแทะวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Spalacidae (/สปา-ลา-ซิ-ดี/) จัดเป็นสัตว์ฟันแทะขนาดกลาง มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับหนูตะเภาหรือตุ่น ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ต่างอันดับกัน มีการดำรงชีวิตคล้ายกับตุ่น คือ ขุดโพรงอยู่ใต้ดิน ในโพรงมีทางเข้าออกหลายทาง ซึ่งในโพรงนั้นเป็นแบ่งเป็นห้อง ๆ ทั้งที่อยู่อาศัย, เลี้ยงดูลูกอ่อน และเก็บสะสมอาหาร และไม่รวมฝูงกับสัตว์ฟันแทะในวงศ์อื่น กินอาหารจำพวกรากพืชชนิดต่าง ๆ และพืชบางประเภท เช่น ไผ่ ในเวลากลางคืน มีลักษณะโดยรวม คือ มีขาสั้น มีหัวกะโหลกที่กลมสั้น มีกล้ามเนื้อคอที่แข็งแรง ฟันหน้าใหญ่ และดวงตาเรียวเล็ก กรงเล็บหน้าขยายใหญ่โตมากใช้สำหรับขุดดิน หูและหางมีขนาดเล็กมาก หรือบางชนิดไม่มีเลย สัตว์ในวงศ์นี้ มีอายุการตั้งท้องแตกต่างออกไปตามแต่ละชนิด แต่ลูกอ่อนเมื่อเกิดออกมาตาจะยังไม่ลืม และขนจะยังไม่ปกคลุมลำตัว จะยังดูดนมแม่เป็นเวลาหลายเดือน ก่อนจะแยกออกไป แต่ในบางชนิด ก็จะแยกตัวออกไปทันที พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ไซบีเรีย, เอเชียกลาง, เอเชียตะวันออก, เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในทวีปแอฟริกา แบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้ 3 วงศ์ 6 สกุล (ดูในตาราง) พบประมาณ 37 ชนิดCorbet, Gordon (1984).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์อ้น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผกากรอง

วงศ์ผกากรอง หรือ Verbenaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่มและไม้ล้มลุก มีดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก มีกลิ่น (2001-): -. Version 9, June 2008.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ผกากรอง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก

วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก (Gecko) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับย่อยกิ้งก่า (Lacertilia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gekkonidae เป็นวงศ์ที่คุ้นเคยเป็นอย่างดีในชื่อสามัญว่า "จิ้กจก" และ "ตุ๊กแก" มีลักษณะโดยรวม คือ ส่วนมากมีขาเห็นได้ชัดเจน ยกเว้นในวงศ์ย่อยบางวงศ์ในออสเตรเลียที่ไม่มีขา ผิวหนังของลำตัวมีเกล็ดขนาดเล็กปกคลุมและอาจมีตุ่มกระจายอยู่บ้าง ไม่มีกระดูกในชั้นหนังทางด้านหลังของลำตัว แต่บางชนิดอาจจะมีกระดูกในชั้นหนังทางด้านท้องของลำตัว กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์คลาวิเคิลเป็นรูปตัวที และกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม สามารถสะบัดหางให้หลุดจากลำตัวได้เพื่อหลอกศัตรูที่มาคุกคาม โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางหลุดนั้นอยู่ทางด้านท้ายของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหางทุกปล้อง พื้นผิวด้านบนมีลิ้นมีตุ่มกลม ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์ไม่มีฟัน เป็นวงศ์ที่มีขนาดใหญ่ โดยยังแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยอีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) มีจำนวนสมาชิกในวงศ์มากมายถึงเกือบ 1,000 ชนิด และ 109 สกุล ซึ่งจำนวนนี้ยังไม่แน่นอน เนื่องจากมีการสำรวจพบเจอชนิดใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นทุกปี ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ มีเพียงไม่สกุลเท่านั้น เช่น Hoplodacatylus ที่ตกลูกเป็นตัว ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของวงศ์นี้ที่เป็นที่รับรู้อย่างดีของมนุษย์ คือ เสียงร้อง อันเป็นที่มาของชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ที่ใช้เรียก สัตว์เลื้อยคลานในวงศ์นี้โดดเด่นมากในการส่งเสียงร้อง โดยมีแผ่นเยื่อกำเนิดเสียงและกล่องเสียงจึงทำให้เกิดเสียงได้ และด้วยความซับซ้อนมากกว่าเสียงที่เกิดจากการผลักดันอากาศออกทางจมูกหรือปาก ในตัวผู้ของหลายชนิดใช้เสียงในการประกาศอาณาเขตตลอดจนใช้ดึงดูดตัวเมีย โดยเป็นเสียงร้องที่สั้นและมักร้องซ้ำ ๆ และติดต่อกันหลายครั้ง แม้ว่าส่วนใหญ่เสียงร้องอาจจะคล้ายคลึงกันแต่ชนิดที่ต่างกันแม้อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันก็มีเสียงที่ต่างกัน โดยทั่วไปตัวผู้จะส่งเสียงร้องไปยังทิศทางที่มีตัวผู้ตัวอื่นหรือมีตัวเมียอยู่ตรงนั้น แต่บางครั้งก็อาจส่งเสียงร้องได้โดยไม่มีทิศทาง ในสกุล Ptenopus ที่พบในแอฟริกา เมื่ออกจากโพรงในช่วงใกล้ค่ำและส่งเสียงร้องประสานกันคล้ายกับเสียงร้องของกบ นอกจากนี้แล้วในบางชนิดจะมีเสียงร้องอย่างจำเพาะระหว่างแสดงพฤติกรรมปกป้องอาณาเขต และเป็นเสียงร้องช่วงยาวมากกว่าเสียงร้องที่ใช้ในเวลาทั่วไป ซึ่งเสียงร้องเตือนนี้นอกจากจะใช้ร้องเตือนสัตว์ประเภทเดียวกันที่มาเข้าใกล้ ยังร้องเตือนสัตว์ที่ใหญ่ รวมถึงมนุษย์ได้ด้วย โดยทั้งตัวผู้และตัวเมียจะส่งเสียงร้องได้เท่ากัน โดยเฉพาะเสียงร้องประกาศอาณาเขตนี้ โดยชนิดที่มีเสียงร้องที่ซับซ้อนและหลากหลายที่สุด คือ ตุ๊กแกบ้าน (Gekko gecko) เพราะมีเสียงที่ขึ้นต้นด้วยพยางค์เดียวที่ร้องถี่ ๆ ติดกันหลายครั้งแล้วตามด้วยเสียงร้องที่เป็น 2 พยางค์ นอกจากนี้แล้วลักษณะพิเศษเฉพาะที่สำคัญอีกประการของสัตว์เลื้อยคลานวงศ์นี้ คือ สามารถเกาะติดกับผนังได้เป็นอย่างดี โดยไม่หล่นลงมา ด้วยหลักของสุญญากาศที่บริเวณใต้ฝ่าเท้าทั้ง 4 ด้าน โดยเป็นแผ่นหนังที่เรียงตัวต่อกัน ซึ่งแผ่นหนังแต่ละแผ่นมีเส้นขนจำนวนมากและแต่ละเส้นนั้นยาวประมาณ 60-90 ไมครอน เรียกว่า "เซต้า" ซึ่งส่วนปลายของขนนั้นแตกแขนงและขยายออกเป็นกลุ่ม การเรียงตัวของแผ่นหนังและรายละเอียดของเส้นขนนี้ใช้ในการอนุกรมวิธานแยกประเภท แต่ในหลายสกุลก็ไม่อาจจะเกาะติดกับผนังได้ วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแกนี้กระจายไปอยู่ทุกมุมโลก ยกเว้นในเขตขั้วโลก มีทั้งหากินในเวลากลางวันและกลางคืน เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี เพราะสามารถพบเห็นได้ทั่วไปแม้กระทั่งในบ้านเรือน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว

วงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว หรือ วงศ์สางห่า (Wall lizard, True lizard, Old world runner, Lacertid lizard) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Squamata หรืองูและกิ้งก่า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lacertidae มีลักษณะโดยรวม คือ ทุกชนิดของวงศ์นี้มีขา เกล็ดปกคลุมลำตัวมีขนาดแตกต่างกัน เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและทางด้านข้างแปรผันตั้งแต่มีขนาดใหญ่และเรียบและเรียงซ้อนตัวเหลื่อมกันหรือมีขนาดเล็กเป็นตุ่มและมีสัน เกล็ดด้านท้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ และเรียงตัวต่อเนื่องกันหรือเรียงตัวซ้อนเหลื่อมกัน ไม่มีกระดูกในชั้นหนัง กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์ควาวิเคิลเป็นรูปโค้งและกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม หางยาว สามารถปล่อยหางหลุดจากลำตัวได้เพื่อหลบหนีศัตรู พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกเทอรีกอยด์มีฟันหรือไม่มีฟัน เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีขนาดเล็ก ตั้งแต่ 4 เซนติเมตรจนถึงมีขนาดใหญ่สุดไม่เกิน 12 เซนติเมตร ส่วนมากอาศัยและหากินบนพื้นดินในเวลากลางวัน หรือไม่ก็อาศัยในไม้พุ่มหรือต้นไม้ในระดับเตี้ย ๆ ส่วนมากกินแมลงเป็นอาหาร บางชนิดกินเมล็ดพืชเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่ ๆ ที่เป็นโลกเก่า คือ ทวีปยุโรป, แอฟริกา และเอเชีย จนถึงอินเดียตะวันออก มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับกิ้งก่าในวงศ์ Teiidae ที่พบในโลกใหม่ เนื่องจากมีนิเวศวิทยา, พฤติกรรม ตลอดจนแบบแผนการสืบพันธุ์คล้ายคลึงกัน พบประมาณ 220 ชนิด แบ่งออกได้เป็น 37 สกุล (ขณะที่บางข้อมูลระบุว่า 27 สกุล หรือแม้แต่ 5 สกุล).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ทัวทารา

วงศ์ทัวทารา (Tuatara) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับทัวทารา (Rhynchocephalia) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphenodontidae ลักษณะทั่วไปของสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์นี้ คือ มีลำตัวป้อม หัวและหางมีขนาดใหญ่ ฟันมีขนาดค่อนข้างใหญ่และมีรูปร่างแตกต่างกัน โดยมีฟันเขี้ยวอยู่ที่ส่วนนห้าสุดของกระดูกแมคซิลลาและกระดูกเดนทารี นอกจากนั้นยังมีฟันที่กระดูกพาลาทีนอีกด้วย ซึ่งลักษณะเช่นนี้จะไม่พบในกิ้งก่า ตัวฟันเกาะติดกับพื้นผิวกระดูกโดยตรง กะโหลกมีช่องเปิดบริเวณขมับ 2 ช่องแต่ยังคงมีกระดูกเทมเพอรัล ไม่มีกระดูกในชั้นหนัง ไม่มีแผ่นแก้วหู ทางด้านท้ายของช่องทวารร่วมมีถุงขนาดเล็กหนึ่งคู่ซึ่งเป็นโครงสร้างที่จะวิวัฒนาการไปเป็นถุงพีนิสคู่ในสัตว์เลื้อยคลานอันดับ Squamata สามารถปล่อยหางหลุดจากลำตัวได้ เป็นสัตว์ที่ประชากรส่วนใหญ่ในวงศ์สูญพันธุ์หมดไปแล้ว ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ปัจจุบันเหลือเพียง 2 ชนิด ใน 1 สกุลเท่านั้น ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ ซึ่งจะพบได้เฉพาะในนิวซีแลนด์เท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ทัวทารา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์คางคก

วงศ์คางคก (Toads, True toads; อีสาน: คันคาก) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับกบ (Anura) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bufonidae (/บู-โฟ-นิ-ดี/) ลักษณะทั่วไปของคางคก คือ ลูกอ๊อดทั้งตัวผู้และตัวเมียตัวเต็มวัยมีอวัยวะบิดเดอร์อยู่ด้านหน้าของอัณฑะ ซึ่งเป็นรังไข่ขนาดเล็กที่เจริญมาจากระยะเอมบริโอและยังคงรูปร่างอยู่ แฟทบอดีส์อยู่ในช่องท้องบริเวณขาหนีบ กระดูกของกะโหลกเชื่อมต่อกันแข็งแรง รวมทั้งเชื่อมกับกระดูกในชั้นหนังที่ปกคลุมหัว ไม่มีฟันทั้งในขากรรไกรบนและล่าง และถือเป็นเพียงวงศ์เดียวเท่านั้นในอันดับกบที่ไม่มีฟัน มีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบ 5-8 ปล้อง กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของไพรซีลัส คางคก เป็นสัตว์ที่รู้กันโดยทั่วไปว่า มีพิษ ที่ผิวหนังเป็นปุ่มตะปุ่มตะป่ำตลอดทั้งตัว โดยมีต่อมพิษอยู่ที่เหนือตา เรียกว่า ต่อมพาโรติค เป็นที่เก็บและขับพิษออกมา เรียกว่า ยางคางคก มีลักษณะเป็นเมือกสีขาวคล้ายน้ำนม โดยส่วนประกอบของสารพิษ คือ สารบูโฟท็อกซิน มีผลต่อการกระตุ้นการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจบีบตัว และในส่วนอื่น ๆ ของคางคกยังมีพิษอีกทั้งผิวหนัง, เลือด, เครื่องใน และไข่ หากนำไปกินแล้วกรรมวิธีการปรุงไม่ดี จะทำให้ ผู้กินได้รับพิษได้ ทั้งนี้ผู้รับประทานเนื้อคางคกที่มีพิษจะมีอาการแขนขาอ่อนแรง คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย หายใจหอบ เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ และหากยางคางคกถูกตาจะทำให้เยื่อบุตาและแก้วตาอักเสบได้ ตาพร่ามัว จนถึงขั้นตาบอดได้ ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ที่กินคางคกมักเชื่อว่ากินแล้วมีกำลังวังชาและรักษาโรคได้ แต่ความจริงแล้วคางคกไม่มีตัวยาแก้หรือรักษาโรคอะไรเลย เมื่อนำไปปรุงเป็นอาหารจะอันตรายเพราะสารพิษจะกระตุ้นการทำงานของหัวใจ โดยเพิ่มอัตราการเต้นและแรงบีบของหัวใจ คางคก แบ่งออกเป็น 37 สกุล พบประมาณ 500 ชนิด พบกระจายพันธุ์ไปทั่วโลก ยกเว้นทวีปออสเตรเลียและทวีปแอนตาร์กติกา ในประเทศไทยพบได้หลายชนิด เช่น จงโคร่ง (Phrynoidis aspera), คางคกบ้าน (Duttaphrynus melanostictus), คางคกห้วยไทย (Ansonia siamensis), คางคกไฟ (Ingerophrynus parvus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์คางคก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง

ำหรับค้างคาวแวมไพร์แปลงที่พบในภูมิภาคอเมริกากลาง ดูที่: ค้างคาวสเปกตรัม วงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง (False vampire bat) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกค้างคาววงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Megadermatidae ค้างคาวในวงศ์นี้ มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาตอนกลาง จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสเตรเลีย แรกเริ่มมีความเข้าใจว่า ค้างคาวในวงศ์นี้กินเลือดสัตว์อื่นเป็นอาหาร เหมือนค้างคาวแวมไพร์ที่พบในทวีปอเมริกาใต้และอเมริกากลาง แต่หาใช่ความจริงไม่ เมื่อมีการศึกษามากขึ้น พบกว่าค้างคาวในวงศ์นี้กินแมลง รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็นอาหาร และรวมถึงค้างคาวด้วยกันเองด้วย แต่พฤติกรรมนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าจริงหรือไม่ แบ่งออกได้เป็น 4 สกุล 5 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง

วงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubrid, Typical snake) เป็นวงศ์ของงูมีพิษวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Colubridae นับเป็นวงศ์ของงูที่มีปริมาณสมาชิกในวงศ์มากที่สุด ด้วยมีมากมายถึงเกือบ 300 สกุล และมีทั้งหมดในปัจจุบัน (ค.ศ. 2014) 1,938 ชนิด และจำแนกออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 12 วงศ์ (ดูในตาราง) โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Colubridae รูปร่างโดยรวมของงูในวงศ์นี้คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและมีฟันชนิดที่ต่างกันไป แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ aplyph, opisthoglyph, proteroglyph ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัล-กระดูกพาไรทัล-กระดูกพาราสฟีนอยด์ ขากรรไกรล่างไม่มีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารีมีฟัน ไม่มีกระดูกเชิงกราน ไม่มีปิดข้างซ้ายหรือมีแต่ก็น้อยมาก มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน โดยรวมแล้วพิษของงูในวงศ์นี้เมื่อเทียบกับงูพิษวงศ์อื่นแล้ว เช่น วงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) หรือวงศ์งูหางกระดิ่ง (Viperidae) นับว่ามีพิษร้ายแรงน้อยกว่ามาก หรือบางชนิดก็ไม่มีพิษเลย คำว่า "Colubridae" ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษาละตินว่า "coluber" แปลว่า "งู".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า

วงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Elapidae; Cobra, Sea snake, King cobra, Taipan, Mamba) เป็นวงศ์ของงูวงศ์หนึ่ง ที่มีพิษร้ายแรง สามารถทำให้มนุษย์หรือสัตว์ขนาดใหญ่ต่าง ๆ ตายได้เมื่อถูกพิษเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งคำว่า Elapidae ที่ใช้เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "éllops" หมายถึง งูทะเล มีลักษณะโดยทั่วไป คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและมีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจนอยู่ทางด้านหน้า ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัล-กระดูกพาไรทัล-กระดูกพาราสฟีนอยด์ ขากรรไกรล่างไม่มีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารีมีฟัน ไม่มีกระดูกเชิงกราน ไม่มีปอดข้างซ้ายหรือมีแต่ก็เล็กมาก มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน เป็นวงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกมาก กระจายไปอยู่ทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา จึงแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 3 วงศ์ และแบ่งเป็นสกุลทั้งหมด 61 สกุล และแบ่งเป็นชนิดประมาณ 325 ชนิด เป็นวงศ์ของงูที่มีพิษร้ายแรง สมาชิกในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ งูเห่า (Naja kaouthia), งูจงอาง (Ophiophagus hannah) ซึ่งเป็นงูที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ โดยความยาวเต็มที่อาจยาวได้ถึง 5.5 เมตร รวมถึงงูทะเลด้วย ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ย่อย Hydrophiinae ซึ่งเป็นหนึ่งในวงศ์ย่อยของวงศ์นี้เลยทีเดียว โดยลักษณะแต่ละอย่างของวงศ์ย่อยต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็นดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูก้นขบ

วงศ์งูก้นขบ (Pipe snakes) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cylindrophiidae ซึ่งในวงศ์นี้มีเพียงสกุลเดียว คือ Cylindrophis มีรูปร่างโดยรวม คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและมีฟัน ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารีมีฟันหรือไม่มีฟัน มีกระดูกของรยางค์ขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดและเป็นแท่งขนาดเล็กที่มองเห็นได้ทางช่องเปิดทวารร่วม มีกระดูกเชิงกรานขนาดเล็กที่ยังลดรูปไม่หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อลำตัว มีปอดข้างซ้ายแต่มีขนาดเล็ก มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างเจริญเท่ากัน มีรูปร่างกลมและลำตัวใหญ่ มีความยาวตั้งแต่ 30-90 เซนติเมตร หางสั้นและปรับปรุงให้ส่วนหางแลดูคล้ายส่วนหัว รวมทั้งมีพฤติกรรมใช้หางเพื่อป้องกันตัวจากผู้คุกคามตลอดจนมีพฤติกรรมแสร้งตาย เมื่อถูกคุกคาม เกล็ดบริเวณใต้หางขยายเป็นแผ่นแข็งใหญ่เหมือนกับเกล็ดใต้หางของูวงศ์ Uropeltidae แต่พื้นผิวของตัวเกล็ดเรียบ มีลักษณะเป็นมันเงาวาว เกล็ดด้านท้องใหญ่กว่าเกล็ดด้านหลังเล็กน้อย อาศัยอยู่ในโพรงดินในพื้นที่ทั่วไปทั้งในป่าและพื้นที่ทำการเกษตรที่มีดินร่วนซุยและชุ่มชื้น หากินในเวลากลางคืนบนพื้นผิวดิน กินทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ ไส้เดือน และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ ปลาไหล และงูด้วยกันชนิดอื่น ออกลูกเป็นตัว ในปัจจุบันจำแนกเป็น 10 ชนิด (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ศรีลังกาจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และหมู่เกาะอินดีสตะวันออกและหมู่เกาะฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยมีงูในวงศ์นี้เพียงชนิดเดียว คือ งูก้นขบ (C. ruffus).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูก้นขบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูดิน

วงศ์งูดิน (Typical blind snake) เป็นวงศ์ของงูจำพวกงูดินวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Typhlopidae ลักษณะของงูดินในวงศ์นี้ คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามขวางและไม่มีฟัน ช่องเปิดตาอยู่ที่กระดูกฟรอนทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารีไม่มีฟัน ไม่มีกระดูกของระยางค์ขาแต่มีกระดูกเชิงกรานขนาดเล็กที่ยังลดรูปไม่หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อลำตัว ปอดข้างซ้ายเล็กมากหรือลดรูปไม่หมด ไม่มีท่อนำไข่ข้างซ้าย มาีลำตัวเรียวยาว ชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ Ramphotyphlops braminus ที่มีความยาวประมาณ 14-18 เซนติเมตร และชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ Rhinotyphlops schlegelii ที่ยาว 90 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีความแตกต่างกันมากทั้งพื้นที่แห้งแล้งจนถึงป่าดิบชื้น ส่วนมากอาศัยอยู่ในโพรงและในจอมปลวกโดยใช้เส้นทางเดินของปลวกทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ กินมดและปลวก รวมถึงสัตว์ขาปล้องที่มีลำตัวนุ่มนิ่มเป็นอาหาร แพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนทั่วทั้งโลกทั้งที่เป็นพื้นแผ่นดินใหญ่และเกาะกลางมหาสมุทร แบ่งออกได้ทั้งหมด 6 สกุล พบประมาณ 210 ชนิด ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ทั้งหมด แต่ก็มีบางชนิดที่มีการขยายพันธุ์ได้โดยไม่มีการปฏิสนธิ สำหรับในประเทศไทยพบประมาณ 12 ชนิด ล้วนแต่เป็นงูดินในวงศ์นี้ทั้งหม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูดิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูงวงช้าง

วงศ์งูงวงช้าง (File snakes, Elephant trunk snakes, Dogface snakes) เป็นวงศ์ของงูที่ไม่มีพิษวงศ์หนึ่ง ที่มีรูปร่างขนาดใหญ่ ใช้ชื่อวงศ์ว่า Acrochordidae มีรูปร่างโดยรวม คือ มีหัวเล็กแต่มีลำตัวขนาดใหญ่ ผิวหนังไม่ยิดติดกับกล้ามเนื้อลำตัวและพับเป็นรอยย่นมาก เกล็ดตามลำตัวเป็นตุ่มนูนและเรียงตัวต่อเนื่องกัน โดยมีตุ่มหนามเจริญขึ้นมาจากผิวหนังลำตัวระหว่างเกล็ด เป็นงูที่อาศัยและหากินในน้ำเป็นหลัก จึงมีส่วนหางที่แบนเพื่อใช้ในการว่ายน้ำ ไม่มีแผ่นปิดช่องจมูกภายนอกแต่ในอุ้งปากมีแผ่นเนื้อเพื่อใช้ปิดโพรงจมูกด้านใน หากินปลาเป็นอาหารหลัก ด้วยการใช้ลำตัวส่วนท้ายที่เป็นตุ่มหนามยึดและรัดไว้ รอให้ปลาเข้ามาใกล้ เมื่อปลาสัมผัสกับผิวหนังลำตัวจะโบกรอยพับที่ย่นของลำตัวนั้นไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องเพื่อผลักตัวปลาไปข้างหน้าแล้วใช้ปากงับไว้อย่างรวดเร็ว เป็นงูที่มีขนาดใหญ่ ตั้งแต่ 80-100 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงหมู่เกาะฟิลิปปินและออสเตรเลีย มีทั้งหมดเพียง 3 ชนิด และสกุลเดียวเท่านั้นคือ Acrochordus ทุกชนิดออกลูกเป็นตัว โดยในประเทศไทยพบ 2 ชนิด คือ งูงวงช้าง (A. javanicus) และงูผ้าขี้ริ้ว (A. granulatus).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูงวงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูน้ำ

วงศ์งูน้ำ เป็นวงศ์ของงูพิษอ่อนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Homalopsidae เดิมทีเคยจัดเป็นวงศ์ย่อยของงูในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) ใช้ชื่อว่า Homalopsinae มีลักษณะโดยรวม คือ ช่องเปิดจมูกอยู่ทางด้านบนของหัวและมีแผ่นลิ้นปิด ตามีขนาดเล็กและอยู่ทางด้านบนของหัว ช่องเปิดของท่อลมยืดยาวไปในโพรงจมูกได้ ทำให้หายใจได้ตามปกติเมื่อโผล่เฉพาะช่องเปิดจมูกขึ้นเหนือน้ำ บนหัวมีแผ่นเกล็ดนาซัลใหญ่กว่าแผ่นเกล็ดอินเตอร์นาซัล ฟัน 2–3 ซี่อยู่ทางด้านท้ายของขากรรไกรบนขยายใหญ่เป็นฟันเขี้ยวที่มีร่องอยู่ทางด้านหน้า ต่อมน้ำพิษเจริญ งูในวงศ์นี้มีพฤติกรรมที่อาศัยและหากินในแหล่งน้ำเป็นหลัก ทั้งในแหล่งน้ำจืดสนิท, น้ำกร่อย และน้ำเค็ม หรือทะเล โดยทั่วไปจะหากินในน้ำตื้นเพื่อจับเหยื่อ โดยจะอาศัยและหากินในแหล่งน้ำจืดมากที่สุด กินปลาและกบเป็นอาหารหลัก หากินในเวลากลางคืน โดยจะกัดเหยื่อหลายครั้งเพื่อให้น้ำพิษเข้าสู่ตัวเหยื่อมากพอที่จะทำให้เหยื่อสลบได้ โดยมี งูกินปู (Fordonia leucobalia) ที่วิวัฒนาการตัวเองให้อาศัยในน้ำกร่อยและทะเลได้เป็นอย่างดี เพื่อกินปู โดยการใช้ลำตัวรัดปูไว้แล้วกัดปล่อยน้ำพิษ เป็นงูที่ออกลูกเป็นตัวทั้งหมด ครั้งละ 5–15 ตัว ในชนิดที่มีขนาดใหญ่จะให้ลูกได้ถึงครั้งละ 20–30 ตัว พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย จำแนกออกเป็นสกุลได้ 28 สกุล มากกว่า 50 ชนิด ในประเทศไทยพบราว 14 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูแมวเซา

วงศ์งูแมวเซา หรือ วงศ์งูหางกระดิ่ง หรือ วงศ์งูพิษเขี้ยวพับ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Viperidae, Viper, Rattlesnake) เป็นวงศ์ของงูวงศ์หนึ่ง ที่มีพิษร้ายแรงมากวงศ์หนึ่ง ที่ทำอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ ให้ตายได้ด้วยน้ำพิษ มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวป้อมและมีหัวค่อนข้างเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดใหญ่กว่าส่วนคอมาก เกล็ดบนหัวมีขนาดเล็กยกเว้นสกุล Causus ที่เป็นแผ่นใหญ่ มีแอ่งรับรู้สึกคลื่นความร้อนอินฟราเรดอยู่ระหว่างช่องเปิดจมูกกับตาหรืออยู่ทางด้านล่างของเกล็ดที่ปกคลุมหัว กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาหมุนได้ และมีเขี้ยวพิษขนาดใหญ่เพียงซี่เดียวที่เป็นท่อกลวง เขี้ยวเคลื่อนไหวได้จากการปรับปรุงให้รอยต่อระหว่างกระดูกแมคซิลลากับกระดูกพรีฟรอนทัลขยับได้ ฟันเขี้ยวจะยกตั้งขึ้นเมื่ออ้าปากและเอนราบไปกับพื้นล่างของปากเมื่อหุบปาก ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัลหรือกระดูกฟรอนทัล-กระดูกพาไรทัล-กระดูกพาราสฟีนอยด์ ขากรรไกรล่างไม่มีกระดูกโคโรนอยด์ ไม่มีกระดูกเชิงกราน ไม่มีปอดข้างซ้ายหรือมีแต่เล็กมาก มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน เป็นวงศ์ที่มีขนาดใหญ่ มีจำนวนสมาชิกประมาณ 221 ชนิด ประมาณ 32 สกุล และแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 4 วงศ์ แพร่กระจายไปทุกมุมโลก ยกเว้นบางพื้นที่ เช่น ทวีปอเมริกาใต้, ทวีปออสเตรเลีย, บางส่วนในทวีปเอเชีย และทวีปแอนตาร์กติกา โดยสมาชิกในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักดี คือ งูหางกระดิ่ง คือ งูที่อยู่ในวงศ์ย่อย Crotalinae ที่พบได้ในทะเลทรายในทวีปอเมริกาเหนือจนถึงอเมริกากลาง สำหรับในทวีปเอเชีย ชนิด Azemiops feae พบได้ในพม่า, จีนตอนกลาง และเวียดนาม จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ย่อย Azemiopinae สำหรับในประเทศไทยจัดว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรง ได้แก่ งูกะปะ หรือ งูปะบุก (Calloselasma rhodostoma) ที่จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Crotalinae และงูแมวเซา (Daboia russellii) ที่อยู่ในวงศ์ย่อย Viperinae เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูแมวเซา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูแสงอาทิตย์

วงศ์งูแสงอาทิตย์ (Sunbeam snakes) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenopeltidae มีทั้งหมดเพียง 2 ชนิด และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Xenopeltis คือ งูแสงอาทิตย์ (X. unicolor) ที่พบได้กว้างไกลในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียอาคเนย์ และ งูแสงอาทิตย์ไหหลำ (X. hainanensis) ที่พบได้บนเกาะไหหลำ และมณฑลที่ใกล้เคียงกันเท่านั้นของจีน ลักษณะโดยรวมของงูในวงศ์นี้ คือ กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามแนวยาวและมีฟัน ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารี มีฟันจำนวนมาก ไม่มีกระดูกเชิงกราน มีปอดข้างซ้ายขนาดใหญ่ มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน มีลำตัวกลมยาว มีขนาดยาวได้เต็มที่ถึง 1.3 เมตร แต่โดยเฉลี่ยคือ 80 เซนติเมตร หัวป้านและมีหางสั้น แผ่นเกล็ดบนหัวใหญ่ แต่เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านท้องเล็ก เกล็ดเรียบเป็นมันแวววาว พื้นผิวของเกล็ดเมื่อสะท้อนกับแสงแดดจะเกิดเป็นเหลือบสี อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีอุปนิสัยอาศัยอยู่ในโพรง แต่ส่วนมากจะใช้โพรงของสัตว์อื่น อาศัยได้ในพื้นที่ที่ความหลากหลายมาก ตั้งแต่ป่าสมบูรณ์จนถึงพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ หากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน มักอาศัยอยู่ในที่ ๆ มีน้ำ กินอาหารได้หลากหลายรวมถึงสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกกลุ่ม แต่ในวัยอ่อนจะมีฟันที่ดัดแปลงมาเพื่อกินจิ้งเหลนโดยเฉพาะ แพร่ขยายพันธุ์โดยการวางไข่ และวางไข่ได้มากถึง 17 ฟอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูโบอา

วงศ์งูโบอา หรือ วงศ์งูเหลือมโบอา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Boidae; Boa, Anaconda) เป็นวงศ์ของงูที่ไม่มีพิษขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง มีรูปร่างคล้ายกับงูในวงศ์งูเหลือม (Pythonidae) จึงมักสร้างความสับสนให้อยู่เสมอ ๆ มีลักษณะโดยรวม คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและมีฟัน ช่องเปิดตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล กระดูกซูปราออคซิพิทัลมีสันใหญ่ ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกระยางค์ขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดและเป็นแท่งขนาดเล็กที่มองเห็นได้ทางช่องเปิดทวารร่วม และมีกระดูกเชิงกรานขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อ ปอดข้างซ้ายค่อนข้างเจริญ มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างเจริญเท่ากัน งูในวงศ์นี้ มีทั้งหมด 8 สกุล แบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย มีทั้งสิ้น 43 ชนิด กระจายพันธุ์ไปในหลายพื้นที่รอบโลก ทั้ง ทวีปเอเชีย, ทวีปแอฟริกา, ทวีปอเมริกาใต้ ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะต่าง ๆ กลางทะเล เช่น ศรีลังกา, เกาะมาดากัสการ์, หมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เช่น ฟิจิ, หมู่เกาะโซโลมอน, เมลานีเซีย และตองกา เป็นต้น โดยตัวอย่างงูในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ งูอนาคอนดา คือ งูที่อยู่ในสกุล Eunectes ที่อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ซึ่งโตเต็มที่ยาวได้ถึง 11.5 เมตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนิด Eunectes murinus หรือ งูอนาคอนดาเขียว ที่เป็นงูที่มีน้ำหนักตัวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยอาจมีน้ำหนักได้ถึง 250 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในป่าดิบชื้นของลุ่มแม่น้ำอเมซอน ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูโบอา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูเส้นด้าย

วงศ์งูเส้นด้าย (Slender blind snake, Thread snake) เป็นวงศ์ของงูจำพวกงูดินวงศ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Leptotyphlopidae ลักษณะเด่นของงูดินวงศ์นี้ คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและไม่มีฟัน ช่องเปิดของตาอยู่ที่กระดูกฟรอนทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารีมีฟัน 4-5 ซี่ ไม่มีกระดูกของระยางค์ขาแต่มีกระดูกเชิงกรานขนาดเล็กที่ยังลดรูปไม่้หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อลำตัว ไม่มีปอดข้างซ้าย ไม่มีท่อนำไข่ข้างซ้าย มีลักษณะลำตัวเรียวยาวมาก มีความยาวของลำตัวตั้งแต่ 15-25 เซนติเมตร แต่บางชนิด เช่น Leptotyphlops macrolepis และ L. occidentalis มีความยาวกว่า 30 เซนติเมตร แต่ในชนิด ''L. carlae กลับมีความยาวเพียง 10 เซนติเมตร นับเป็นงูชนิดที่ีมีขนาดเล็กที่สุดในโลก อาศัยอยู่ในพื้นที่ ๆ มีความแตคกต่้างกันมากทั้งแห้งแล้งและชุ่มชื้น กินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยเฉพาะปลวกเป็นอาหารหลัก สามารถเสาะแสวงหารังปลวกได้จากสารเคมีในตัวปลวก เนื่องจากอาศัยอยู่ในจอมปลวกจึงพบบางชนิด เช่น L. dulcis บนต้นไม้สูงจากพื้นดินโดยเลื้อยไปในภายในรังของปลวกที่อยู่ตามต้นไม้ พบประมาณ 90 ชนิด ทุกชนิดแพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ทั้งหมด แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูเส้นด้าย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูเหลือม

วงศ์งูเหลือม (Python) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษขนาดใหญ่ นับเป็นงูที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pythonidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีกระดูกพรีแมคซิลลามีฟันยกเว้นในสกุล Aspidites ที่ไม่มี กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวกันตามยาว ช่องเปิดตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกของรยางค์ต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกของรยางค์ขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดและเป็นแท่งขนาดเล็กที่มองเห็นได้ทางช่องเปิดทวารร่วม มีกระดูกเชิงกรานขนาดเล็กที่ยังลดรูปไม่หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อของลำตัว มีปอดข้างซ้ายใหญ่ มีท่อนำไข่มั้งสองข้างเจริญเท่ากัน มีแอ่งรับคลื่นความร้อนกระจายอยู่บริเวณขอบปากบนและล่าง เป็นงูขนาดใหญ่และไม่มีพิษ จึงมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและเรี่ยวแรงพละกำลังมาก จึงใช้วิธีการรัดเหยื่อจนกระดูกหักและขาดใจตายจึงกลืนกินเข้าไปทั้งตัว ล่าเหยื่อด้วยการรอให้เข้ามาใกล้แล้วจึงเข้ารัด มีการกระจายพันธุ์ในหลายภูมิประเทศทั้งป่าดิบชื้น, ทะเลทราย ไปจนเกาะแก่งต่าง ๆ กลางทะเล หรือในชุมชนเมือง ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ พบตั้งแต่ทะเลทรายซาฮาราในทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้, เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลีย มีขนาดตั้งแต่ 30 เซนติเมตร จนถึงกว่า 10 เมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 1 เมตร หากินทั้งบนบก, ในน้ำ และบนต้นไม้ โดยกินสัตว์เลือดอุ่นจำพวกสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นหลัก ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ตัวเมียจะเป็นผู้ดูแลไข่ด้วยการกกจนกระทั่งฟักเป็นตัว ปริมาณไข่ขึ้นอยู่กับอายุและความแข็งแรงของตัวเมีย มีทั้งหมด 8 สกุล 26 ชนิด เป็นงูที่มนุษย์รู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี คือ งูหลาม (Python bivittatus) และงูเหลือม (P. reticulatus) ซึ่งเป็นงูที่มีขนาดใหญ่และยาวที่สุดในโลก ในประเทศไทยพบ 3 ชนิด คือ งูหลาม, งูเหลือม และงูหลามปากเป็ด (P. curtus) หลายชนิดนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และมีราคาแพงอย่างยิ่งในตัวที่มีสีสันหรือลวดลายแปลกไปจากธรรมชาติ ซึ่งสามารถเพาะขยายพันธุ์กันได้ในที่เลี้ยง เช่น งูหลามบอล (P. regius) หลายชนิดใช้เนื้อ, กระดูกและหนังเป็นประโยชน์ได้ เช่น ใช้ทำเครื่องดนตรีบางประเภท หรือทำเป็นอุปกรณ์ใช้งาน เช่น กระเป๋า, รองเท้า, เข็มขัด หรือทำเครื่องรางของขลัง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์งูเหลือม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ตะพาบ

วงศ์ตะพาบ (Soft-shelled turtle) เป็นวงศ์ของเต่าจำพวกหนึ่ง ที่ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trionychidae ตะพาบ เป็นเต่าที่มีลักษณะเด่นคือ ลำตัวแบน จมูกแหลม กระดองอ่อนนิ่ม มีกระดองหลังค่อนบ้างเรียบแบน กระดองมีลักษณะเป็นหนังที่ค่อนข้างแข็งเฉพาะในส่วนกลางกระดอง แต่บริเวณขอบจะมีลักษณะนิ่มแผ่นกระดองจะปราศจากแผ่นแข็งหรือรอยต่อ ซึ่งแตกต่างจากกระดองของเต่าอย่างสิ้นเชิง ซึ่งขอบที่อ่อนนิ่มนี้เรียกว่า "เชิง" กระดองส่วนท้องหุ้มด้วยผิวหนังเรียบ มีส่วนที่เป็นกระดูกน้อยมาก กระดองจะมีรูปร่างกลมเมื่อ ยังมีขนาดเล็ก และจะรีขึ้นเล็กน้อยเมื่อโตเต็มวัยตั้งแต่คอส่วนบนไปจรดขอบกระดองจะมีตุ่มแข็งเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ ส่วนหัวมีขนาดใหญ่ คอเรียวยาวและสามารถเอี้ยวกลับมาด้านข้าง ๆ ได้ มีจมูกค่อนข้างยาวแต่มีขนาดเล็กและส่วนปลายจมูกอ่อน ตามีขนาดเล็กโปนออกมาจากส่วนหัวอย่างเห็นได้ชัด มีฟัน ขากรรไกรแข็งแรงและคม มีหนังหุ้มกระดูกคล้ายริมฝีปาก ขาทั้งสี่แผ่กว้างที่นิ้วจะมีพังพืดเชือมติดต่อกันแบบใบพายอย่างสมบูรณ์ มีเล็บเพียง 3 นิ้ว และมีหางสั้น มักอาศัยอยู่ในน้ำมากกว่าบนบก โดยตะพาบสามารถกบดานอยู่ใต้น้ำได้นานกว่าเต่า แม้จะหายใจด้วยปอด แต่เมื่ออยู่ในน้ำ ตะพาบจะใช้อวัยวะพิเศษช่วยหายใจเหมือนปลา เรียกว่า "Rasculavpharyngcal capacity" ตะพาบจัดเป็นเต่าน้ำที่จะพบได้ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำจืดและน้ำกร่อยในเขตร้อนทุกทวีปทั่วโลก ทั้ง อเมริกาเหนือ, แอฟริกา และเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย เมื่อจะวางไข่ ตะพาบจะคลานขึ้นมาวางไข่ในพื้นทรายริมตลิ่งริมน้ำที่อาศัย โดยขุดหลุมแบบเดียวกับเต่าทะเลและเต่าจำพวกอื่นทั่วไป ตะพาบเป็นสัตว์ที่กินสัตว์มากกว่าจะกินพืช โดยหลายชนิดมีอุปนิสัยที่ดุร้ายกว่าเต่า ตะพาบเป็นเต่าที่มนุษย์นิยมนำมาทำเป็นอาหาร โดยเฉพาะซุปในอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่น หรืออาหารเกาหลี โดยเชื่อว่าทั้งเนื้อและกระดองเป็นเครื่องบำรุงกำลังและเสริมสมรรถนะทางเพศ โดยตะพาบชนิดที่นิยมใช้เพื่อการบริโภคนี้คือ ตะพาบไต้หวัน (Pelodiscus sinensis) ซึ่งในหลายประเทศได้มีการเพาะเลี้ยงตะพาบไต้หวันเป็นสัตว์เศรษฐกิจรวมทั้งประเทศไทยด้วย สำหรับตะพาบชนิดที่หายากที่สุดในโลก หลายข้อมูลระบุว่าคือ ตะพาบยักษ์แยงซีเกียง (Rafetus swinhoei) ซึ่งเป็นตะพาบขนาดใหญ่ เป็นสัตว์พื้นเมืองที่พบได้เฉพาะในประเทศจีนและเวียดนามเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันพบเพียง 5 ตัวใน 2 ที่เท่านั้น คือที่สวนสัตว์ในประเทศจีน 4 ตัว และที่ทะเลสาบคืนดาบที่เมืองฮานอย 1 ตัว แต่ในทัศนะของ กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ นักสำรวจธรรมชาติและผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์น้ำและปลาน้ำจืดชาวไทย ที่มีผลงานค้นพบปลาน้ำจืดชนิดใหม่ของโลกหลายชนิด เห็นว่า ตะพาบชนิดที่หายากที่สุดในโลกน่าจะเป็น "กริวดาว" หรือ "ตะพาบหัวกบลายจุด" ซึ่งเป็นตะพาบที่เคยจัดให้เป็นชนิดเดียวกับตะพาบหัวกบ (Pelochelys cantorii) ซึ่งเป็นตะพาบขนาดใหญ่อีกชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย แต่ทว่า กริวดาว นั้น มีความแตกต่างจากตะพาบหัวกบ คือ มีจุดสีเหลืองอ่อนเป็นวงกระจายอยู่บริเวณขอบกระดอง โดยที่ไม่แปรเปลี่ยนไปตามวัย เหมือนตะพาบหัวกบ ซึ่งถึงแม้จะเป็นตะพาบขนาดใหญ่แล้ว แต่ลายจุดนี้ยังคงเห็นได้ชัดเจน ซึ่งกิตติพงษ์ได้ระบุไว้ว่า ตะพาบแบบนี้ไม่ได้พบเห็นมานานตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 หรือ..

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ตะพาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์

วงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ (Giant salamander;; オオサンショウウオ) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ในวงศ์ Cryptobranchidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ซาลาแมนเดอร์แท้

วงศ์ซาลาแมนเดอร์แท้ หรืออาจเรียกได้ว่า นิวต์ (Newts, True salamanders) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับซาลาแมนเดอร์ (Caudata) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Salamandridae จัดเป็นซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก มีขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 20 เซนติเมตร มีลักษณะโดยรวม คือ ตัวเต็มวัยไม่มีเหงือก และไม่มีช่องเปิดเหงือก ไม่มีร่องในโพรงจมูก มีปอด รูปร่างมีแตกต่างกันตั้แงต่เรียวยาวจนถึงป้อม ขาสั้น ผิวหลังลำตัวมีความแตกต่างกันตั้งแต่ราบเรียบจนถึงหยักย่น สำหรับตัวที่หยักย่นนั้นเนื่องจากมีต่อมน้ำพิษเป็นจำนวนมาก ซึ่งนับได้ว่าเป็นซาลาแมนเดอร์วงศ์ที่มีพิษร้ายแรงที่สุด นอกจากนี้แล้วยังมีสีสันลำตัวที่สดใสจัดจ้าน โดยเฉพาะด้านข้างลำตัวและหลัง ซึ่งจะใช้พิษและสีเหล่านี้เพื่อใช้ในการเตือนภัยสัตว์ล่าเหยื่อ มีวงจรชีวิตแตกต่างหลากหลายกันออกไปตามแต่สกุล บางสกุลอาศัยอยู่บนบก แต่หลายสกุลอาศัยอยู่ในน้ำและมีส่วนหางเป็นแผ่นแบนคล้ายใบพาย บางชนิดวางไข่บนดิน แต่ส่วนใหญ่จะวางไข่ในน้ำ บางชนิดเปลี่ยนรูปร่างแค่บางส่วนในวัยอ่อนแล้วขึ้นไปอาศัยบนบกตั้งแค่ระยะเวลานาน 1–14 ปี ต่อจากนั้นจึงย้ายกลับไปใช้ชีวิตในน้ำแล้วจึงเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัยและอาศัยอยู่ในน้ำตลอดไปก็มี มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้างขวางตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, ยุโรป, แอฟริกาตะวันตก, เอเชียตะวันตก และเอเชียตะวันออก สำหรับในประเทศไทย กะท่าง (Tylottriton verrucosus) ซึ่งเป็นซาลาแมนเดอร์เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบได้ในประเทศไทย พบในดอยสูงทางภาคเหนือที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลมาก ก็จัดอยู่ในวงศ์นี้เช่นกัน และก็มีพิษด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ซาลาแมนเดอร์แท้ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปรงเม็กซิโก

วงศ์ปรงเม็กซิโก (Zamiaceae) เป็นวงศ์ของปรงวงศ์หนึ่งซึ่งแบ่งเป็นวงศ์ย่อย 2 วงศ์ย่อย 8 สกุล และมีสมาชิกราว 150 สปีชีส์ พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแอฟริกา ออสเตรเลีย อเมริกาใต้ และอเมริกาเหนือ เป็นพืชอายุหลายปี ไม่ผลัดใบ และแยกเพศ มักจะไม่แตกกิ่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงเป็นเกลียว มีใบที่เรียกคะตะฟิลล์ (cataphyll) ไม่มีเส้นกลางใบ ปากใบพบทั้งสองด้าน หรือด้านล่างเท่านั้น ต้นสปอโรไฟต์ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะสร้างโคน โคนตัวเมียมีลักษณะเรียบง่าย โอวุลไม่มีก้านชู เมล็ดมักมีใบเลี้ยง 2 ใบ วงศ์ย่อย Encephalartoideae จะมีฐานใบติดทน พบในออสเตรเลีย มี 2 สกุล และ 40 สปีชีส์ พืชทั้งหมดในวงศ์นี้มีพิษ สร้างสารพิษที่เป็นไกลโคไซด์ เรียกว่าไซคาซิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปรงเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาบู่

วงศ์ปลาบู่ (Goby) เป็นวงศ์ปลาที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดในโลก พบอาศัยอยู่ทั้งในทะเลลึกกว่า 60 เมตร จนถึงลำธารบนภูเขาสูงกว่า 1,000 เมตร พบทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่นมากกว่า 1,950 ชนิด และพบในประเทศไทยมากกว่า 30 ชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gobiidae (/โก-บิ-ดี้/) มีลักษณะแตกต่างจากปลาอื่น คือ มีลำตัวยาวทรงกระบอก มีส่วนหัวและจะงอยปากมน มีเส้นข้างลำตัวและแถวของเส้นประสาทอยู่บนหัวหลายแถว ครีบหลังแยกเป็น 2 ตอนชัดเจน ครีบหางกลมมน ครีบก้นยาว ครีบอกใหญ่ ครีบท้องส่วนมากจะแยกออกจากกัน แต่ก็มีในบางชนิดที่เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกล็ดมีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ เป็นปลากินเนื้อ กินแมลง, สัตว์น้ำขนาดเล็ก และปลาอื่นเป็นอาหาร วางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแล ไข่มีรูปร่างคล้ายผลองุ่นติดกับวัสุดเป็นแพ เมื่อฟักเป็นตัวจะปล่อยให้หากินเอง ส่วนมากมีขนาดเล็กยาวไม่เกิน 20 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่ในทะเลและน้ำกร่อย พบในน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ นิยมบริโภคด้วยการปรุงสด โดยเฉพาะเมนูอาหารจีน เป็นปลาที่มีรสชาติอร่อย ราคาแพง รวมทั้งมีสรรพคุณในการปรุงยา ในปลาชนิดที่มีขนาดเล็กและสีสันสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาบู่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาบู่ทราย

วงศ์ปลาบู่ทราย (Sleeper, Gudgeon) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่งในอันดับปลากะพง (Perciformes) ที่พบได้ในทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล ใช้ชื่อวงศ์ว่า Eleotridae (/เอ็ล-อี-โอ-ทริ-ดี้/) ปลาในวงศ์นี้มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) คือ มีลำตัวยาวทรงกระบอก ส่วนหัวและจะงอยปากมน มีเส้นข้างลำตัวและแถวของเส้นประสาทอยู่บนหัวหลายแถว ครีบหลังแยกออกเป็น 2 ตอนชัดเจน ครีบหางมนกลม ครีบก้นยาว ครีบอกใหญ่ ซึ่งที่แตกต่างจากปลาในวงศ์ปลาบู่ก็คือ ครีบท้องใหญ่จะแยกจากกัน ซึ่งในวงศ์ปลาบู่จะเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย แยกออกได้ทั้งหมด 35 สกุล 150 ชนิด พบกระจายอยู่ในเขตอบอุ่นทั่วโลก โดยพบทั้งตอนใต้ของสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโกจนถึงอเมริกาใต้ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงนิวซีแลนด์ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาบู่ทราย (Oxyeleotris marmorata) ซึ่งสามารถยาวได้ถึง 60-70 เซนติเมตร และเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่งของไทย และ ปลาบู่สียักษ์ (O. selheimi) พบในออสเตรเลียทางตอนเหนือ ที่ยาวถึง 50.5 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาบู่ทราย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาช่อน

วงศ์ปลาช่อน (Snakehead fish) ปลาในวงศ์นี้มีรูปร่างเรียวทรงกระบอก ส่วนหัวโตจะงอยปากยื่น ปากกว้าง ตาโต มีฟันเป็นเขี้ยวบนขากรรไกร หัวด้านบนราบ ถ้าดูจากตอนบนจะโค้งมนคล้ายงู ลำตัวค่อนข้างกลม ครีบหลังและครีบก้นยาว ครีบหางปลายมน ครีบอกใหญ่ ครีบท้องเล็ก เกล็ดมีขนาดใหญ่มีขอบเรียบ ปลาช่อนมีอวัยวะช่วยหายใจเป็นหลืบเนื้อสีแดงอยู่ในคอหอย เรียกว่า Suprabranchia จึงสามารถอยู่ในแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนต่ำได้ ใช้ชื่อวงศ์ว่า Channidae (/ชาน-นิ-ดี้/) แพร่พันธุ์โดยการวางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันปรับพื้นที่น้ำตื้น ๆ ให้เป็นแปลงกลม แล้ววางไข่ลอยเป็นแพ ตัวผู้เป็นผู้ดูแลไข่จนไข่ฟักเป็นตัวแล้วเลี้ยงลูกปลาจนโต เรียกว่า "ลูกครอก" ซึ่งมีสีแดงหรือส้ม รูปร่างคล้ายพ่อแม่ จากนั้นจึงปล่อยให้หากินเอง พบในเขตร้อนของทวีปแอฟริกาและเอเชีย ปัจจุบันพบทั้งสิ้น 31 ชนิด (และยังมีอีกหลายชนิดที่ยังไม่ได้อนุกรมวิธาน) แบ่งเป็น 2 สกุล คือ Channa 28 ชนิด พบในทวีปเอเชีย และ Parachanna ซึ่งพบในทวีปแอฟริกา 3 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบประมาณ 10 ชนิด ปลาขนาดเล็กสุดคือ ปลาก้าง (C. limbata) ซึ่งมีขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 1 ฟุต และใหญ่ที่สุดคือ ปลาชะโด (C. micropeltes) ที่ใหญ่ได้ถึง 1-1.5 เมตร จัดเป็นวงศ์ปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นปลาน้ำจืดที่คนไทยนิยมบริโภคมากเป็นอันดับหนึ่งก็ว่าได้ โดยปลาช่อนชนิดที่นิยมนำมาบริโภคคือ ปลาช่อน (C. straita) ซึ่งพบได้ทุกแหล่งน้ำและทุกภูม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาช่อน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาฟันสุนัข

วงศ์ปลาฟันสุนัข (อังกฤษ: Dogteeth characin, Saber tooth fish, Vampire characin) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cynodontidae (/ไซ-โน-ดอน-ทิ-ดี้/) มีรูปร่างทั่วไป คล้ายกับปลาแปบ ซึ่งอยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ แต่มีรูปร่างใหญ่กว่ามาก มีส่วนหัวใหญ่และเชิดขึ้นบริเวณปาก ตาโต ลำตัวแบนข้างมาก ส่วนท้องเป็นสันคม เรียวยาว ครีบท้องเรียวยาว ครีบหางแผ่เป็นแผ่นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ปากกว้างและเฉียงลง มีปากมีฟันแหลมคมเป็นซี่ ๆ เห็นชัดเจน โดยเฉพาะฟันคู่ล่างที่เรียวยาวมาก เห็นได้ชัดเจน ทั้งนี้จะสั้นหรือยาวเพียงใดขึ้นอยู่กับสกุล และชนิด ซึ่งฟันคู่นี้เมื่อหักไปแล้วสามารถงอกขึ้นใหม่ได้ กรามปากทั้งบนและล่างสามารถเก็บฟันที่ยื่นยาวนี้ได้สนิท มีรูปร่างแบนข้างและเพรียวมาก ทำให้สามารถกลับตัวได้อย่างรวดเร็วเมื่ออยู่ในน้ำ เกล็ดเล็กละเอียดมาก พื้นลำตัวส่วนมากเป็นสีเงินแวววาว พบตามแม่น้ำสายใหญ่ในประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ ชอบอยู่รวมเป็นฝูง ล่าเหยื่อด้วยการโฉบกินปลาขนาดเล็กกว่าตามผิวน้ำ ว่องไวมากเมื่อล่าเหยื่อ มีทั้งหมด 5 สกุล พบในขณะนี้ราว 14 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ Hydrolycus armatus ที่เมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 60 เซนติเมตร นิยมตกเป็นเกมกีฬา มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "พาราย่า" (Paraya) และนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามด้วย ซึ่งมักมีนิสัยขี้ตกใจเมื่อเลี้ยงในตู้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาฟันสุนัข · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระบอก

วงศ์ปลากระบอก (วงศ์: Mugilidae (/มู-จิ-ลิ-ดี/)) เป็นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ที่อยู่ในอันดับ Mugiliformes นับเป็นวงศ์เดียวที่อยู่ในอันดับนี้ ปลากระบอกมีรูปร่างโดยรวมเรียวยาวค่อนข้างกลมเป็นทรงกระบอก ปากเล็ก มีครีบหลัง 2 ตอน เป็นปลาที่พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล มีตาทรงกลมโต พบทั่วไปในทั้งในทวีปยุโรป, อเมริกาเหนือ และทวีปเอเชีย เช่น อินโด-แปซิฟิก, ฟิลิปปิน และออสเตรเลีย มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูง มีความปราดเปรียวว่องไว เกล็ดโดยมากเป็นสีเงินเหลือบเขียวหรือเทาขนาดใหญ่ ปลากระบอก สามารถแบ่งออกได้เป็นสกุล 17 สกุล ประมาณ 80 ชนิด โดยมีชนิดที่สำคัญ ๆ เป็นที่รู้จักกันดี อาทิ ปลากระบอกท่อนใต้ (Liza vaigiensis), ปลากระบอกดำ (L. parsia), ปลากระบอกขาว (L. seheli) เป็นต้น เป็นปลาที่เป็นที่นิยมในการตกปลา และเป็นปลาเศรษฐกิจ มีการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ในในเชิงการประมง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากระบอก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระทิง

วงศ์ปลากระทิง เป็นวงศ์ปลาในอันดับ Synbranchiformes พบในน้ำจืดและน้ำกร่อย มีรูปร่างคล้ายปลาไหล แต่ส่วนหัวและจะงอยปากยื่นแหลม ปากเล็ก จะงอยปากและปลายจมูกเป็นงวงแหลมสั้นปลายแฉก ตาเล็ก ครีบอก ครีบหลัง ครีบก้นและครีบหางเล็ก ด้านหลังมีก้านครีบแข็งสั้นแหลมคมอยู่ตลอดตอนหน้า มีเกล็ดเล็ก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Mastacembelidae (/มาส-ทา-เซม-เบล-อิ-ดี้/) อาศัยอยู่ใกล้พื้นท้องน้ำหรืออยู่ในโพรงไม้และรากไม้ หรือฝังตัวอยู่ใต้กรวดหรือพื้นทราย พบทั้งหมดประมาณ 27 ชนิด ใน 3 สกุล (ดูในตาราง) กินอาหารจำพวก กุ้งฝอยและปลาขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และที่เกาะบอร์เนียว พบในประเทศไทยประมาณ 12 ชนิด โดยมีชนิดที่รู้จักกันดี คือ ปลาหลด (Macrognathus siamenis) และ ปลากระทิง (Mastacembelus armatus) นิยมใช้เป็นปลาเพื่อการบริโภค เนื้อมีรสอร่อย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและตกเป็นเกมกีฬาด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากระทิง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระทุงเหว

วงศ์ปลากระทุงเหว หรือ วงศ์ปลาเข็มแม่น้ำ (Needlefish) เป็นวงศ์ปลาในชั้นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Belonidae (/เบ-ลอน-นิ-ดี/) มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์ปลาเข็ม (Hemiramphidae) แต่มีขนาดลำตัวใหญ่กว่ามาก ปากแหลมยาวทั้งบนและล่าง และภายในปากมีฟันซี่เล็ก ๆ แหลมคม เกล็ดมีขนาดเล็ก เกล็ดตามแนวเส้นข้างลำตัวมีประมาณ 130-350 แถว ครีบหลังมีก้านครีบแขนงประมาณ 14-23 ก้าน ครีบอกใหญ่แข็งแรง ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร โดยไล่ล่าปลาขนาดเล็กกว่ารวมทั้งแมลงและสัตว์น้ำต่าง ๆ กิน นิยมอยู่รวมเป็นฝูง หากินตามผิวน้ำ พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ส่วนมากจะพบตามบริเวณชายฝั่งทะเลที่ติดกับปากแม่น้ำ จึงจัดเป็นปลาน้ำกร่อยอีกจำพวกหนึ่ง แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ติดกับวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ ไข่มักจะมีเส้นใยพันอยู่รอบ ๆ และใช้เวลาประมาณ 6-9 วันถึงจะฟักเป็นตัว นับว่านานกว่าปลาในวงศ์อื่นมาก ลูกปลาในวัยอ่อนส่วนปากจะยังไม่แหลมคมเหมือนปลาวัยโต เป็นปลาที่สามารถกระโดดจากผิวน้ำได้สูงมาก ขนาดใหญ่ที่สุดพบยาวถึง 120 เซนติเมตร นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา โดยมีชื่อเรียกเฉพาะในวงการตกปลาว่า "ปลาเต็กเล้ง" บางชนิดมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่น ปลากระทุงเหวเมือง (Xenentodon canciloides).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากระทุงเหว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระโทง

ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก วงศ์ปลากระโทง, วงศ์ปลากระโทงแทง หรือ วงศ์ปลาปากนก ปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่จำพวกหนึ่งอาศัยอยู่ในทะเล อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Istiophoridae โดยคำว่า Istiophoridae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Ιστίων" (Istion) หมายถึง "ใบเรือ" รวมกับคำว่า "φέρειν" (pherein) หมายถึง "แบกไว้" ปลากระโทง เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ที่มีความปราดเปรียวและว่องไวมาก จัดเป็นปลาที่สามารถว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลกด้วยมีกล้ามเนื้อที่ทรงพลัง และกระดูกหลังที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถพุ่งจากน้ำได้เร็ว 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง และในฤดูอพยพอาจทำความเร็วได้ 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง มีลำตัวค่อนข้างกลม ปากกว้าง มีฟันแบบวิลลิฟอร์ม ครีบหลังและครีบก้นมีอย่างละ 2 ครีบ ไม่มีครีบฝอย ครีบท้องมีก้านครีบ 1-3 ก้าน มีสันที่คอดหาง ครีบหางเว้าลึก มีจุดเด่นคือปลายปากด้านบนมีกระดูกยื่นยาวแหลมออกมา ใช้ในการนำทาง ล่าเหยื่อ และป้องกันตัว ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นสิ่งที่เหลืออยู่จากยุคก่อนประวัติศาสตร์ เพื่อป้องกันตัวจากบรรดาปลานักล่าต่าง ๆ ที่มีอยู่ดาษดื่นSuper Fish: fastest predator in the sea, สารคดีทางแอนิมอลพลาเน็ต.ทางทรูวิชั่นส์: เสาร์ที่ 15 มิถุนายน 2556 มีครีบกระโดงหลังมีสูงแหลม ในบางชนิด จะมีกระโดงสูงมากและครอบคลุมเกือบเต็มบริเวณหลัง ดูแลคล้ายใบเรือ มีสีและลวดลายข้างลำตัวแตกต่างออกไปตามแต่ชนิด ซึ่งจะเปลี่ยนไปตามสภาพอารมณ์ หากตกใจหรือเครียด สีจะซีด และใช้เป็นสิ่งที่แยกของปลาแต่ละตัว โดยมากแล้วมักจะอาศัยหากินอยู่บริเวณผิวน้ำ พบได้ในทะเลเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก ออกล่าเหยื่อเป็นปลาขนาดเล็กกว่า บางครั้งอาจอยู่รวมเป็นฝูงนับร้อยตัว มักล่าเหยื่อในเวลากลางวัน เนื่องจากเป็นปลาที่ล่าด้วยประสาทสัมผัสทางตาเป็นหลัก สามารถโดดพ้นน้ำได้สูงและมีความสง่างามมาก จึงนิยมตกเป็นเกมกีฬา ได้รับฉายาจากนักตกปลาว่าเป็น "ราชินีแห่งท้องทะล" โดยมักจะออกตกด้วยการล่องเรือไปกลางทะเลและตกด้วยอุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้ด้วยกันเวลาหลายชั่วโมง ด้วยการให้ปลายื้อเบ็ดจนหมดแรงเอง โดยปลากระโทงชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลากระโทงสีน้ำเงิน (Makaira nigricans) เป็นชนิดที่พบที่มหาสมุทรแอตแลนติก ที่สามารถโตเต็มที่ได้ถึง 5 เมตร หนักกว่า 636 กิโลกรัม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากระโทง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระเบนธง

วงศ์ปลากระเบนธง (Whipray) เป็นวงศ์ของปลากระเบนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dasyatidae (/แด-ซี-แอท-อิ-ดี้/) พบได้ทั้งน้ำจืดสนิท, น้ำกร่อย และทะเล มีรูปร่างแบนราบ ไม่มีครีบหลัง ส่วนครีบอกแผ่กว้างรอบตัว ปากอยู่ด้านล่าง ตาอยู่ด้านบน มีช่องน้ำเข้า 1 คู่อยู่ด้านหลัง มีขากรรไกรและฟันที่แข็งแรงจำนวนมากเรียงติดต่อกันเป็นแถว ใช้ขบกัดสัตว์เปลือกแข็งซึ่งเป็นอาหารหลักได้ดี ผิวหนังเรียบนิ่มไม่มีเกล็ด ยกเว้นบริเวณกลางหลัง มีส่วนหางที่ยาวเหมือนแส้ ซึ่งคนโบราณนิยมตัดหางมาทำเป็นแส้ เรียกว่า "แส้หางกระเบน" ที่โคนหางมีเงี่ยงแหลมอยู่ 1-2 ชิ้น (พบมากสุดถึง 4 ชิ้น) ที่อาจยาวได้ถึง 31 เซนติเมตร เป็นอาวุธใช้สำหรับป้องกันตัว มีพิษแรง มีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ประมาณ 6 และเมื่อหักไปแล้วงอกใหม่ได้ มักมีผู้ถูกแทงบ่อย ๆ เพราะไปแตะถูกเข้าโดยไม่ระวัง เช่น เท้าไปถูกเข้าระหว่างที่ปลาฝังตัวอยู่ใต้ทราย ขณะที่เดินบริเวณหาด เพราะมีพฤติกรรมมักฝังตัวอยู่ใต้พื้นทราย โดยโผล่มาแค่ส่วนตาและเงี่ยงหางเท่านั้น จากการที่มีตาอยู่ด้านบนแต่ปากอยู่ด้านล่างทำให้ไม่สามารถมองเห็นอาหารได้เวลาจะกิน จึงมีอวัยวะรับกลิ่นและอวัยวะรับคลื่นไฟฟ้าในการบอกตำแหน่งของอาหาร แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกเป็นตัว โดยมีการสืบพันธุ์ในฤดูหนาว ตัวผู้จะว่ายน้ำตามประกบตัวเมียอย่างใกล้ชิดและมักกัดบริเวณขอบลำตัวของตัวเมีย เมื่อจะผสมพันธุ์ตัวผู้จะว่ายไปอยู่ด้านบนแล้วปล่อยน้ำเชื้อเข้าสู่ตัวเมีย โดยส่วนมากจะออกลูกคราวละ 5-10 ตัว ในเลือดของปลาวงศ์นี้มีสารประกอบของยูเรีย จึงมีกลิ่นคล้ายปัสสาว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากระเบนธง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากราย

วงศ์ปลากราย (Featherback fish, Knife fish) เป็นปลากระดูกแข็งน้ำจืดที่อยู่ในอันดับ Osteoglossiformes คือ ปลาที่มีกระดูกแข็งบริเวณส่วนหัวและลิ้น อันเป็นอันดับเดียวกับปลาในวงศ์ปลาตะพัดและปลาไหลผีอะบาอะบา ใช้ชื่อวงศ์ว่า Notopteridae (/โน-ท็อป-เทอ-ริ-เด-อา/; มาจากภาษากรีกคำว่า noton หมายถึง "หลัง" และ pteron หมายถึง "ครีบ") เป็นปลาน้ำจืด มีรูปร่างแบนด้านข้างมาก และเรียวไปทางด้านท้าย ครีบหลังเล็ก ครีบก้นและครีบหางยาวติดกัน จึงใช้ครีบก้นที่ยาวติดกันนี้โบกพริ้วในเวลาว่ายน้ำ ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก ปากกว้าง เกล็ดเป็นแบบขอบบางเรียบ และมีขนาดเล็กละเอียด บางครั้งอาจจะขึ้นมาผิวน้ำเพื่อฮุบอากาศโดยไม่ต้องผ่านซี่กรองเหงือกเหมือนเช่นปลาทั่วไปอื่น ๆ เนื่องจากเป็นปลาที่มีอวัยวะพิเศษพัฒนามาจากถุงลมใช้ในการหายใจได้โดยตรง เป็นปลากินเนื้อที่ออกหากินในเวลากลางคืน มีจุดเด่นคือ ครีบก้นที่ต่อกับครีบหาง มีก้านครีบทั้งหมด 85-141 ก้าน เป็นครีบที่ปลาในวงศ์นี้ใช้ในการว่ายน้ำมากที่สุด ไม่ว่าจะเคลื่อนที่ไปทิศทางใด ส่วนที่อยู่เหนือครีบก้นขึ้นไปจะเป็นกล้ามเนื้อหนาทำหน้าที่เช่นเดียวกับครีบก้น ซึ่งส่วนของกล้ามเนื้อตรงนี้ มีชื่อเรียกกันในภาษาพูดว่า "เชิงปลากราย" จัดเป็นส่วนที่มีรสชาติอร่อยมาก พฤติกรรมเมื่อวางไข่ตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแลไข่ ไข่เป็นก้อนสีขาวทึบ ติดเป็นกลุ่มกับวัสดุใต้น้ำเช่นตอไม้หรือเสาสะพาน เลี้ยงดูลูกจนโต พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทั้งสิ้น 4 สกุล 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากราย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงสลิด

ระวังสับสนกับ ปลาสลิดทะเล วงศ์ปลากะพงสลิด หรือ วงศ์ปลาหางเสือ (Drummer, Sea chub, Rudderfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Kyphosidae ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า κυφος (kyphos) หมายถึง "โหนก" มีลักษณะโดยรวม คือ เป็นปลาขนาดกลาง ลำตัวป้อม แบนข้าง ครีบหางเว้าตื้น ส่วนหัวมน ปากมีขนาดเล็กคล้ายปลาสลิดทะเล ครีบหลังเชื่อมต่อเป็นครีบเดียว เป็นปลาทะเลทั้งหมด มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง มักหากินอยู่กลางน้ำ ถึงใกล้ผิวน้ำในแนวปะการัง, กองหินใต้น้ำ และวัสดุลอยน้ำต่าง ๆ หลายชนิดพบตามแนวปะทะคลื่น หรือ อ่าวที่มีคลื่นลมรุนแรง กินแพลงก์ตอนสัตว์และเศษอาหารบนผิวน้ำเป็นอาหาร ในแหล่งดำน้ำหลายแห่งมักพบปลาในวงศ์นี้กินขนมปังจากนักท่องเที่ยวเป็นอาหาร สามารถแบ่งออกได้เป็น 42 ชนิด จากทั้งหมด 15 สกุล ซึ่งยังสามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยอีก 5 วงศ์ด้วยกัน คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากะพงสลิด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงขาว

วงศ์ปลากะพงขาว (Perch) วงศ์ปลาวงศ์หนึ่ง เป็นปลากินเนื้อในอันดับ Perciformes พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล พบกระจายในภูมิภาคเขตร้อนตั้งแต่ทวีปแอฟริกาจนถึงทวีปเอเชีย ทั้งในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Latidae (/เลท-ที-เด-อา/) มีทั้งหมด 11 ชนิด ใน 3 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากะพงขาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงดำ

วงศ์ปลากะพงดำ (Tripletail) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง ใช้ชื่อว่า Lobotidae ซึ่งคำว่า Lobotidae มาจากภาษากรีกคำว่า "Lobo" หมายถึง ก้านครีบ ลักษณะของปลาในวงศ์นี้ ลักษณะลำตัวแบนค่อนข้างลึก ความยาวหัวจะสั้นกว่าความลึกลำตัว ปากกว้างเฉียงขึ้น มุมปากจะอยู่แนวเดียวกับปุ่มกลางนัยน์ตา ครีบหลังจะเป็นก้านครีบเดี่ยวเป็นซี่ปลายแหลมประมาณ 11-13 ก้าน และก้านครีบแขนง 13-16 ก้าน ส่วนครีบหลัง ครีบก้น ครีบหางขนาดใกล้เคียงกันดูเหมือนจะมีครีบหาง 3 ครีบ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ มีลักษณะเด่นอีกประการ คือ มีสีลำตัวที่ดูเลอะเปรอะเปื้อนเพื่อใช้ในการอำพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม โดยปลาในวงศ์นี้มักจะอยู่ลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ โดยใช้ส่วนหัวทิ่มลงกับพื้น และมักแอบอยู่ตามวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ เช่น ซากเรือจม, กองหิน หรือ ขอนไม้ และขณะเป็นลูกปลาวัยอ่อนมักจะลอยตัวนิ่ง ๆ ดูเหมือนใบไม้อีกด้วย โดยมักพบตามปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด และมีเพียงสกุลเดียวเท่านั้น ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากะพงดำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงแดง

วงศ์ปลากะพงแดง หรือ วงศ์ปลากะพงข้างปาน (วงศ์: Lutjanidae, Snapper) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะคือ มีครีบหลังยาวต่อเนื่องไปจนถึงโคนหาง แบ่งเป็นครีบแข็ง 10-12 ซี่ ครีบอ่อน 10-17 ซี่ ครีบก้นที่เป็นครีบอ่อน 7-11 ซี่ ส่วนหัวใหญ่ ปากมีลักษณะกว้างยาว ยืดหดได้ ฟันมีลักษณะเล็กแหลมคมและมีหลายแถวในขากรรไกร ซึ่งบางชนิดอาจมีฟันเขี้ยวได้เมื่อโตเต็มที่ ริมฝีปากหนา พบทั้งหมด 17 สกุล มีมากกว่า 160 ชนิด โดยมีสกุลใหญ่คือ Lutjanus โดยพบในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถปรับตัวให้อาศัยและหากินในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ เช่น ปลากะพงแดง (Lutjanus argentimaculatus) หรือ ปลากะพงข้างปาน (L. russellii) เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เนื่องด้วยเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญจำพวกหนึ่ง และนิยมตกกันเป็นเกมกีฬาด้วย ในน่านน้ำไทยพบประมาณ 25 ชนิด สำหรับชื่อสามัญในภาษาแต้จิ๋วจะเรียกว่า "อังเกย" (紅鱷龜).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากะพงแดง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะรัง

วงศ์ปลากะรัง หรือ วงศ์ปลาเก๋า (Groupers, Sea basses) วงศ์ปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง จัดเป็นวงศ์ใหญ่ สามารถแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีกหลายวงศ์ (ดูในเนื้อหา) พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Serranidae เป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวยาวป้อม แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดเล็ก สีตามตัว และครีบเป็นดอกดวง แต้ม หรือบั้ง ฉูดฉาดหรือคล้ำทึบแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดและขนาด ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นก้านครีบแข็ง ตอนหลังเป็นครีบอ่อนมีลักษณะโปร่งใส มีเกล็ดขนาดเล็กเป็นแบบเรียบและแบบสาก ปากกว้าง มีฟันเล็กบนขากรรไกร เพดานปาก มีฟันเขี้ยวด้านหน้า ครีบท้องมีตำแหน่งอยู่ใต้หรืออยู่หน้าหรืออยู่หลังครีบอก มีขนาดแตกต่างกันมากตั้งแต่มีความยาวเพียงไม่กี่เซนติเมตร จนถึง 2.5 หรือ 3 เมตร หนักถึง 400 กิโลกรัม คือ ปลาหมอทะเล (Epinephelus lanceolatus) ซึ่งเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบในวงศ์นี้ ในบางชนิดสามารถปรับเปลี่ยนเพศได้ตามวัย เช่น ปลากะรังจุดน้ำตาล (E. malabaricus) ในวัยเล็กจะเป็นเพศเมีย แต่เมื่อโตขึ้นน้ำหนักราว 7 กิโลกรัม จะกลายเป็นเพศผู้ สำหรับปลาที่พบในทะเล มักมีพฤติกรรมชอบตามลำพังหรือเป็นคู่เพียงไม่กี่ตัวตามโขดหิน แนวปะการังหรือกองหิน กองซากปรักหักพังใต้น้ำ ออกหากินในเวลากลางคืน สามารถพบได้จนถึงบริเวณปากแม่น้ำ หรือป่าชายเลน มีความสำคัญทางเศรษฐกิจอย่างมาก โดยหลายชนิดนิยมบริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจ เช่น ปลากะรังปากแม่น้ำ (E. tauvina) หรือ ปลาเก๋าเสือ (E. fuscoguttatus) เป็นต้น จึงมีการเพาะเลี้ยงเป็นปลาอาชีพ โดยนิยมเลี้ยงในกระชัง มีชื่อสามัญในภาษาไทยอื่น ๆ เช่น "ปลาเก๋า" หรือ "ปลาตุ๊กแก".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากะรัง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะแมะ

วงศ์ปลากะแมะ (Chaca, Squarehead catfish, Frogmouth catfish, Angler catfish) เป็นวงศ์ปลาในอันดับปลาหนัง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Chacidae (/ชา-คิ-ดี้/) มีรูปร่างแปลกอย่างเห็นได้ชัด มีส่วนหัวที่แบนราบ ปากกว้าง ตาเล็ก ครีบหลังสั้นมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้าน และก้านครีบแขนง 3-4 ก้าน ครีบท้องใหญ่แล ครีบหางแผ่กว้างปลายหางยกขึ้น เห็นสะดุดตา ครีบก้นสั้นประมาณ 8-10 ครีบ ไม่มีก้านครีบแข็ง ผิวหนังย่นและมีตุ่มขนาดต่างๆ เป็นติ่งหนังอยู่โดยรอบ โดยเฉพาะบริเวณปาก เพื่อหลอกล่อเหยื่อ ตัวมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลคล้ำ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณไม่เกิน 20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในน้ำที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ประมาณ 6.5-8.0 ในป่าพรุ พบตั้งแต่อินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มักกบดานอยู่นิ่ง ๆ กับพื้น เพื่อดักรออาหารได้แก่ ลูกปลาและลูกกุ้งขนาดเล็ก มีทั้งหมด 1 สกุล คือ Chaca (/ชา-คา/) แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากะแมะ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากัด ปลากระดี่

วงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Labyrinth fishes, Gouramis, Gouramies) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดวงศ์ใหญ่ ใช้ชื่อวงศ์ว่า Osphronemidae (/ออฟ-โฟร-นิ-มิ-ดี้/) พบกระจายอย่างกว้างขวางตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้, อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเกาหลี โดยมากปลาที่อยู่ในวงศ์นี้จะมีลักษณะเป็นปลาขนาดเล็ก ลำตัวป้อมแบน เกล็ดสากเป็นแบบทีนอยด์ มีสีสันสวยงาม ตัวผู้มีขนาดใหญ่และสีสดสวยกว่าตัวเมีย ครีบอกคู่แรกเป็นเส้นยาวใช้สำหรับสัมผัส มีความสามารถพิเศษคือ มีอวัยวะช่วยในการหายใจอยู่ในเหงือก เรียกว่า "อวัยวะเขาวงกต" (Labyrinth organ) จึงทำให้สามารถฮุบอากาศจากบนผิวน้ำได้โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านเหงือกเหมือนปลาทั่วไป จึงสามารถอยู่ในน้ำที่มีออกซิเจนต่ำได้ มักอยู่ในแหล่งน้ำนิ่งขนาดเล็ก เช่น ห้วย, หนอง, บึง, นาข้าว หรือ ร่องสวนมากกว่าแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น คลอง หรือ แม่น้ำ ในบางสกุล ตัวผู้จะใช้น้ำลายผสมกับอากาศเรียกว่า "หวอด" ก่อติดกันเป็นกลุ่มก้อนเพื่อวางไข่ และตัวผู้จะเป็นผู้ดูแลรักษาไข่และตัวอ่อน เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าว ในบางชนิดตัวผู้เมื่อพบกันจะกัดกันจนตายกันไปข้าง ปลาในวงศ์นี้ส่วนใหญ่มีขนาดไม่เกิน 10 เซนติเมตร และมีสีสันสวยงาม จึงนิยมนำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมากกว่าบริโภค เป็นที่รู้จักกันดีเช่น ปลากัด (Betta spendens), ปลากระดี่นางฟ้า (Trichogaster trichopterus) ปลาพาราไดซ์ (Macropodus opercularis) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ปลาบางชนิดเป็นปลาเศรษฐกิจที่นำมาบริโภคได้ เช่น ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) และปลาแรด (Osphronemus goramy) สำหรับปลาแรดซึ่งมีขนาดใหญ่ได้ถึง 90 เซนติเมตร และพบได้ทุกภาคในประเทศไทย ตลอดไปจนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากุเรา

วงศ์ปลากุเรา (Threadfins) เป็นวงศ์ปลาในอันดับ Perciformes ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Polynemidae (/โพ-ลี-นี-มิ-ดี/) มีรูปร่างทั่วไปเป็นทรงกระบอก ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวและจะงอยปากทู่ ปากกว้างอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก ตาเล็กอยู่ตอนปลายของหัวและมีเยื่อไขมันบาง ๆ คลุม ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอนอยู่ห่างกัน ตอนแรกเป็นก้านแข็งสั้น ตอนท้ายเป็นก้านอ่อน ครีบหางเว้าลึก ครีบอกแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนบนเป็นครีบยาวแหลม ส่วนล่างเป็นเส้นยาวแยกออกเป็นเส้นตั้งแต่ 4 - 14 เส้น มีความยาวแล้วแต่ชนิด เกล็ดเป็นแบบสากมีขนาดเล็กละเอียด เป็นปลากินเนื้อ โดยกินกุ้ง, ปลา หาเหยื่อและสัมผัสได้ด้วยครีบอกที่เป็นเส้น มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พบในเขตอบอุ่นทั่วโลก โดยมากเป็นปลาทะเล พบในน้ำกร่อยและน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด มีทั้งหมด 8 สกุล 38 ชนิด มีขนาดใหญ่สุดได้ถึง 2 เมตร คือ ปลากุเราแอฟริกา (Polydactylus quadrifilis) พบในประเทศไทยประมาณ 10 ชนิด เช่น ปลากุเรา 4 หนวด (Eleutheronema tetradactylum) เป็นต้น แต่มีเพียง 3 ชนิดเท่านั้นที่พบในน้ำจืด คือ ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 7 เส้น (Polynemus paradiseus), ปลาหนวดพราหมณ์ทอง (P. melanochir) และ ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 14 เส้น (P. multifilis) นอกจากนี้แล้วยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย สำหรับปลาที่พบในน้ำจื.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากุเรา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากด

วงศ์ปลากด (Naked catfishes, Bagrid catfishes) เป็นปลาหนังไม่มีเกล็ด ในวงศ์ Bagridae (/บา-กริ-ดี้/) มีส่วนหัวค่อนข้างแบนราบ แต่ลำตัวแบนข้างไปทางด้านท้าย ปากกว้างอยู่ที่ปลายสุดของจะงอยปาก มีฟันซี่เล็กแหลมขึ้นเป็นแถวบนขากรรไกรและเพดาน มีหนวด 4 คู่ โดยคู่ที่อยู่ตรงริมฝีปากยาวที่สุด ครีบหลังและครีบอกเป็นก้านแข็ง หรือเรียกว่า เงี่ยง ครีบไขมันค่อนข้างยาว ครีบหางเว้าลึก ในตัวผู้มักมีติ่งเล็กๆ ที่ช่องก้น มีการกระจายพันธุ์ตามแหล่งน้ำจืดไปจนถึงน้ำกร่อยตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ ไปจนถึงหมู่เกาะซุนดา พบประมาณ 200 ชนิด สำหรับในประเทศไทย จัดเป็นปลาหนังวงศ์ที่พบมากชนิดที่สุดของไทย โดยพบมากกว่า 25 ชนิด เป็นปลากินเนื้อ มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าว มีพฤติกรรมมักกบดานอยู่กับพื้นนิ่ง ๆ ถ้าไม่พบอาหารหรือล่าเหยื่อจะไม่เคลื่อนไหว กินอาหารได้หลากหลาย ตั้งแต่แมลง, ปลา, กุ้ง, ซากพืชซากสัตว์เน่าเปื่อย เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ นิยมนำมาบริโภคบ่อย ปลาในวงศ์นี้ มีชื่อสามัญในภาษาไทยมักเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลากด" ในปลาขนาดใหญ่ และ "ปลาแขยง" (ปลาลูกแหยง ในภาษาใต้) หรือ "ปลามังกง" ในปลาขนาดเล็ก โดยมีสกุลที่ใหญ่ที่สุดคือสกุล Rita ที่พบได้ในประเทศอินเดียและแม่น้ำสาละวินที่เมื่อโตเต็มที่อาจใหญ่ได้ถึง 2 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากดอเมริกาใต้

วงศ์ปลากดอเมริกาใต้ หรือ วงศ์ปลากดหนวดยาว (Long-whiskered catfish) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pimelodidae (/พาย-มิ-โล-ดิ-ดี้/) ปลาในวงศ์นี้จะลักษณะเด่นตรงที่มีหนวด 3 คู่ มีครีบไขมัน ขณะที่ก้านครีบแข็งที่ครีบอกอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ ปากกว้าง ภายในปากไม่มีฟันแหลมคม แต่จะเป็นตุ่มสาก ๆ สีแดงเหมือนฟองน้ำ หลายชนิดมีพฤติกรรมการกินอาหาร โดยการเขมือบฮุบกินไปทั้งชิ้นหรือทั้งตัว โดยที่ไม่มีการกัดหรือเคี้ยว พบกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ ขนาดลำตัวมีตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตร แต่ส่วนมากเป็นปลาขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาพิไรบ้า (Brachyplatystoma filamentosum) ที่มีความยาวกว่า 3 เมตร จัดเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ และถือเป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันเป็นปกติในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยแบ่งออกได้เป็น 32 สกุล ประมาณ 90 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากดทะเล

วงศ์ปลากดทะเล หรือ วงศ์ปลาอุก (Sea catfishes, Crucifix catfishes, Fork-tailed catfishes) จัดอยู่ในกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับปลาหนัง ซึ่งเป็นปลาที่หากินตามพื้นน้ำ โดยมากจะไม่มีเกล็ด มีครีบแข็งที่ก้านครีบอก มีหนวด โดยมากเป็นปลากินซาก ทั้งซากพืช ซากสัตว์ พบทั้งน้ำจืด, น้ำเค็ม และน้ำกร่อย ทั่วเขตอบอุ่นของโลก ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ariidae (/อา-รี-อาย-ดี้/) สำหรับปลาในวงศ์นี้ เป็นปลาที่อาศัยในบริเวณน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำ และในทะเล ส่วนมากมีรูปร่างคล้ายปลาสวายแต่มีส่วนหัวที่โตกว่าและแบนราบเล็กน้อย ครีบหลังยกสูงมีก้านแข็งคมเช่นเดียวกับครีบอก ครีบไขมันใหญ่ ครีบก้นสั้น ครีบหางเว้าลึก มีหนวด 1-3 คู่รอบปาก บนเพดานมีฟันเป็นแถบแข็งรูปกลมรี โดยการแพร่พันธุ์ ตัวผู้จะอมไข่ไว้ในปาก รอจนกว่าไข่จะฟักเป็นตัว โดยหลังจากการผสมพันธุ์ภายนอกแล้วตัวเมียจะใช้ครีบก้นที่มีขนาดใหญ่และหนากว่าตัวผู้อุ้มไข่ไว้แล้วให้ตัวผู้มารับไป ไข่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 0.5-1 เซนติเมตร แล้วแต่ชนิด กระจายพันธุ์ทั่วเขตร้อนของโลก พบในประเทศไทยประมาณ 20 ชนิด เช่น ปลาริวกิว หรือปลาลู่ทู (Arius thalassinus) และพบในน้ำจืดราว 10 ชนิด เช่น ปลากดหัวโต (Ketengus typus), ปลาอุก (Cephalocassis borneensis), ปลาอุกจุดดำ (Arius maculatus), ปลาอุกหัวกบ (Batrachocephalus mino) และ ปลากดหัวผาน (Hemiarius verrucosus) เป็นต้น จินตภาพของกะโหลกปลากดทะเล (ขวา) ที่มองเห็นเป็นรูปพระเยซูตรึงกางเขน (ซ้าย) โดยมากปลาในวงศ์นี้ จะถูกเรียกรวมกันว่า "อุก" เนื่องจากเมื่อถูกจับพ้นน้ำได้แล้วจะส่งเสียงร้องได้ โดยส่งเสียงว่า "อุก อุก" นอกจากนี้แล้ว ในมุมมองของชาวตะวันตก เมื่อมองกะโหลกของปลาในวงศ์นี้ซึ่งเป็นกระดูกแข็ง ก่อให้เกิดเป็นจินตภาพเห็นภาพมีคนหรือพระเยซูตรึงกางเขนอยู่ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษที่ว่า "Crucifix catfish".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลากดทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลามังกรน้อย

วงศ์ปลามังกรน้อย (Dragonet, Scotter blenny, ชื่อวิทยาศาสตร์: Callionymidae) เป็นวงศ์ปลาทะเลขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ซึ่งอยู่ในอันดับเดียวกัน แต่วงศ์ปลามังกรน้อยไม่จัดอยู่ในวงศ์ปลาบู่ แต่กลับมีความใกล้เคียงกับปลาในวงศ์ปลามังกรน้อยลาด (Draconettidae) มากกว่า โดยคำว่า "Callionymidae" ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "Kallis" ซึ่งแปลว่า "สวย" และ "onyma" แปลว่า "ชื่อ" เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ราว 10 เซนติเมตร โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด 17 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นของอินโด-แปซิฟิก หากินโดยใช้ปากที่มีขนาดเล็กคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหากินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยจะหากินในเวลากลางคืนเริ่มตั้งแต่พลบค่ำ ตามแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ มีรูปร่างโดยรวม คือ มีส่วนหัวขนาดโต ดวงตากลมมีขนาดใหญ่ มีครีบต่าง ๆ ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะครีบหางและครีบท้อง ซึ่งแข็งแรงมาก มีพฤติกรรมใช้ครีบท้องนี้คืบคลานหาอาหารตามพื้นทรายมากกว่าจะว่ายน้ำ โดยมีครีบหางเป็นเครื่องบังคับทิศทาง มีเงี่ยงครีบหลัง 4 ก้าน มีก้านครีบอ่อน 6-11 ก้าน ก้านครีบก้น 4-10 ก้าน มีเส้นข้างลำตัว มีกระดูกเรเดียส 3 ชิ้น ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือ ตัวผู้มีกระโดงครีบหลังชี้ยาวออกมาเห็นเป็นจุดเด่น ขณะที่ตัวเมียไม่มี โดยมากแล้วมีสีสันและลวดลายสดใสสวยงามมาก มีพฤติกรรมการวางไข่ โดยตัวผู้จะว่ายน้ำไปรอบ ๆ ตัวเมีย พร้อมเบ่งสีและครีบต่าง ๆ เพื่อเกี้ยวพา เมื่อตัวเมียปล่อยไข่ออกมาแล้ว ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสมทันที ไข่จะลอยไปตามกระแสน้ำ ตัวอ่อนใช้ชีวิตเบื้องต้นเป็นเหมือนแพลงก์ตอน ในบางชนิดมีรายงานว่ามีพิษด้วย ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานแล้ว 18 สกุล (ดูในตาราง) ราว 130 ชนิด และเนื่องจากเป็นปลาสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามในตู้ปะการัง ซึ่งบางชนิดสามารถเพาะเลี้ยงในที่เลี้ยงได้แล้ว อาทิ ปลาแมนดาริน (Synchiropus splendidus), ปลาแมนดารินจุด (S. picturatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลามังกรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลายอดม่วง

วงศ์ปลายอดม่วง (Tonguefishes) ปลาในวงศ์นี้เป็นปลาที่อยู่ในอันดับ Pleuronectiformes ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cynoglossidae (/ไซ-โน-กลอส-ซิ-ดี้/) มีรูปร่างแปลกอย่างเห็นได้เด่นชัดจากปลาในอันดับเดียวกัน เพราะมีลำตัวที่แบนราบ เรียวยาวส่วนท้ายแหลมดูคล้ายใบของมะม่วง ตามีขนาดเล็กอยู่ชิดกันที่ด้านเดียวกัน เมื่อยังเล็กตาจะอยู่ด้านละข้าง แต่เมื่อโตขึ้นกะโหลกจะบิด จึงทำให้รูปร่างศีรษะบิดตาม ตาจึงเปลี่ยนมาอยู่ข้างเดียวกัน จะงอยปากงุ้มและเบี้ยว ปลายริมฝีปากบนเป็นติ่งแหลมโค้ง ปากค่อนข้างกว้าง ส่วนหัวหันไปทางซ้ายได้โดยที่ซีกขวาอยู่ด้านบน ซึ่งจะแตกต่างไปจากวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) อาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำ ว่ายน้ำโดยขนานกับพื้นดินและพริ้วตัวตามแนวขึ้นลง สามารถมุดลงใต้ทรายได้เร็วเวลาตกใจ อาหารได้แก่สัตว์หน้าดินขนาดเล็ก เช่น ลูกกุ้ง, ลูกปลาและอินทรียสารต่าง ๆ มีทั้งสิ้น 3 สกุล ประมาณ 110 ชนิด มีขนาดแตกต่างกันไปตามชนิด เล็กสุดเพียง 5 เซนติเมตร ใหญ่สุดถึง 60 เซนติเมตร ส่วนมากเป็นปลาทะเล ที่พบในทะเลเช่น ปลายอดม่วงหงอนยาว (Cynoglossus lingua), ปลายอดม่วงเกล็ดใหญ่ (C. macrolepidotus) พบในน้ำจืดไม่กี่ชนิด พบในประเทศไทยมากกว่า 20 ชนิด พบในน้ำจืดเพียง 2 ชนิด ได้แก่ ปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C. microlepis) และปลายอดม่วงลาย (C. fledmanni) เป็นปลาที่ใช้บริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจเช่นเดียวกับปลาในวงศ์ปลาลิ้นหมา และมักจะถูกเรียกซ้ำซ้อนกับปลาในวงศ์ปลาลิ้นหมาด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลายอดม่วง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมา

วงศ์ปลาลิ้นหมา (True sole) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็ง ในอันดับ Pleuronectiformes เป็นปลาลิ้นหมาที่มีลำตัวแบนราบ ใช้ชื่อวงศ์ว่า Soleidae (/โซล-อิ-ดี้/) มีตาเล็กอยู่ชิดกันที่ด้านเดียวกัน โดยส่วนหัวจะหันไปทางขวา โดยมีครีบหลังอยู่ด้านบน รูปร่างเป็นรูปไข่หรือวงรี เรียวที่ด้านท้าย ปากเล็กเป็นรูปโค้งอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก ครีบอกและครีบก้นเล็ก ครีบหลังยาวตลอดลำตัว มีก้านครีบอ่อนสั้น ๆ เชื่อมต่อกับครีบหางและครีบก้น เกล็ดเล็กเป็นแบบสาก ลำตัวด้านบนมีสีคล้ำ มีลวดลายต่าง ๆ และเส้นข้างลำตัวหลายเส้น ลำตัวด้านล่างสีขาว เมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีตาอยู่คนละซีกเหมือนปลาทั่ว ๆ ไป แต่จะย้ายมาอยู่ข้างเดียวกันเมื่อโตขึ้น และลำตัวด้านซ้ายจะกลายเป็นด้านที่ไม่มีตาและอยู่ด้านล่างแทน มีรูก้นและช่องท้องอยู่ชิดกับส่วนล่างของหัวด้านท้าย อาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำ ว่ายน้ำโดยขนานกับพื้นและพริ้วตัวตามแนวขึ้นลง สามารถมุดใต้พื้นทรายหรือโคลนได้เวลาตกใจ กินสัตว์หน้าดินขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น ไส้เดือนน้ำ, ลูกกุ้ง, ลูกปลาขนาดเล็ก พบในทะเลเขตร้อนและอบอุ่นทั่วโลก พบทั้งหมด 22 สกุล 89 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาลิ้นหมา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกัน

วงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกัน (วงศ์: Achiridae, American Sole) เป็นปลาลิ้นหมาวงศ์หนึ่ง โดยมีความคล้ายคลึงกับปลาลิ้นหมาในวงศ์ Soleidae มีรูปร่างที่แตกต่างไปจากปลาในอันดับเดียวกันนี้วงศ์อื่น ๆ คือ ดวงตาทั้งสองข้างจะอยู่บนลำตัวซีกขวาและอยู่ชิดกันมาก ตาข้างหนึ่งอยู่ต่ำกว่าปากอย่างเห็นได้ชัด ปากเชิดขึ้น มีฟันเพียงเล็กน้อยหรืออาจไม่มีเลย เกือบทั้งหมดจะมีลำตัวกลมหรือกลมรี บริเวณข้างลำตัวมีขนาดกว้าง มีเส้นข้างลำตัวเหนือบริเวณข้างลำตัวด้านบน ครีบหลังและครีบทวารจะแยกออกจากครีบหาง ครีบอกมีขนาดเล็กหรืออาจจะไม่มีเลย อาศัยอยู่ในเขตอากาศอบอุ่น เขตน้ำตื้นที่มีพื้นทรายหรือโคลนเลน กินพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยแพร่กระจายพันธุ์ทั้งในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำเค็ม ของชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือไปจนถึงทวีปอเมริกาใต้ มีทั้งหมด 9 สกุล 28 ชนิด บางชนิดมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่น Catathyridium jenynsii.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา หรือ วงศ์ปลาแฮลิบัต (Righteye flounder, Halibut, Dab) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pleuronectidae ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทะเล มีบางชนิดเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในน้ำกร่อย และชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดจะหาได้ยากมาก แพร่กระจายในมหาสมุทรอาร์กติก, แอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก ตาทั้งสองข้างโดยปกติอยู่ด้านขวา ครีบไม่มีก้านครีบ ครีบหลังและครีบทวารยาวและต่อเนื่องกัน โดยที่ครีบหลังจะยาวเลยส่วนหัวไป ถุงลมที่ช่วยในการว่ายน้ำจะหายไปเมื่อปลาโตขึ้น เม็ดสีด้านที่หงายขึ้นจะสามารถปรับเปลี่ยนผิวหนังให้เข้ากับสภาพพื้นใต้น้ำได้ดี ปลาในวงศ์นี้จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอันดับนี้ เป็นปลาที่มักพบอาศัยในน้ำลึก อาจจะพบได้ลึกถึง 2,000 เมตร (6,600 ฟุต) พบทั้งหมดประมาณ 101 ชนิด ใน 41 สกุล 8 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง-ขณะที่บางข้อมูลจะแบ่งเพียงแค่ 5) โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาแอตแลนติกแฮลิบัต (Hippoglossus hippoglossus) ที่ใหญ่ได้กว่าถึง 2-4.7 เมตร โดยคำว่า Pleuronectidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีก คำว่า πλευρά (pleura) หมายถึง "ด้านข้าง" และ νηκτόν (nekton) หมายถึง "ว่ายน้ำ".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย (Lefteye flounder, Turbot) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Bothidae (/โบ-ทิ-ดี/) ปลาลิ้นหมาในวงศ์นี้ มีรูปร่างคล้ายปลาลิ้นหมาในวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) และวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา (Pleuronectidae) แต่ว่าปลาในวงศ์นี้ เมื่อโตขึ้นมา ตาทั้งคู่จะอยู่ทางซีกซ้ายของหัว เหมือนปลาในวงศ์ปลาลิ้นเสือ (Paralichthyidae) และวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีแกนครีบ ครีบหลังเริ่มที่เหนือบริเวณตา ครีบหลังและครีบทวาร แยกจากครีบหาง ขณะที่พื้นลำตัวส่วนมากเป็นสีน้ำตาลและส่วนมากมีจุดประสีเข้ม เป็นวงกลมคล้ายวงแหวนดูเด่น ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานแบ่งไว้ทั้งหมด 20 สกุล (ดูในตาราง) พบประมาณ 158 ชนิด และพบได้เฉพาะในทะเลและมหาสมุทรเท่านั้น พบได้ทั้งในเขตร้อน, เขตอบอุ่น และเขตหนาว จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นเสือ

วงศ์ปลาลิ้นเสือ หรือ วงศ์ปลาลิ้นหมาฟันใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralichthyidae) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในทะเล ชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหาได้ยากมาก ลำตัวด้านขวาจะราบไปกับพื้นน้ำ ตาทั้งสองข้างอยู่ด้านซ้ายของลำตัวบริเวณส่วนหัวเหมือนกับวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย (Bothidae) ลักษณะเด่น คือ ไม่มีก้านครีบบริเวณครีบอกและครีบเชิงกราน ฐานครีบเชิงกรานจะสั้นและเกือบจะสมมาตร โดยมากจะพบได้ในเขตอบอุ่นหรือเขตร้อน มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและตกปลาในเชิงการกีฬา อาทิ ปลาแฮลิบัตญี่ปุ่น (Paralichthys olivaceus) ขณะที่ในน่านน้ำไทย มีหลายชนิด ชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ปลาลิ้นเสือ (Pseudorhombus arsius) ปัจจุบัน มีการจำแนกไว้ทั้งหมด 14 สกุล (ดูในตาราง) 115 ชนิด โดยที่คำว่า Paralichthyidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีก paralia หมายถึง "ด้านข้างทะเล", coast บวกกับภาษากรีกคำว่า ichthys หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาลิ้นเสือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัว

วงศ์ปลาวัว หรือ วงศ์ปลางัว หรือ วงศ์ปลากวาง (วงศ์: Balistidae, Triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวกว้างแบนเป็นทรงกลมรีคล้ายรูปไข่ ข้างตำแหน่งตาอยู่สูงบริเวณด้านบนของหัว ที่ครีบหลังอันแรกจะมีหนามแข็ง 3 อัน สามารถพับเก็บได้ และจะตั้งขึ้นได้เพื่อใช้ในการข่มขู่ศัตรู มีก้านครีบหางจำนวน 12 ก้าน และ 18 ก้านครีบที่ครีบหลัง มีเกล็ดที่ใหญ่แข็งและหนังหนา ส่วนของใบหน้ายาวและยื่นแหลมออกมา ปากมีขนาดเล็ก ภายในมีฟัน 4 ซี่ที่ด้านนอก และด้านในอีก 3 ซี่ ที่แหลมคมมาก ใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ กินเป็นอาหาร รวมถึงฟองน้ำ, ปะการัง, สาหร่าย หรือเม่นทะเลด้วย เช่นเดียวกับปลาปักเป้า อันเป็นปลาในอันดับเดียวกัน แต่อยู่ต่างวงศ์กัน พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น เช่น อินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะฮาวาย, ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลฟิลิปปิน และมหาสมุทรแอตแลนติก ตาของปลาวัวสามารถกลอกกลิ้งไปมาได้ อันเป็นลักษณะเฉพาะ โดยปกติแล้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้าวก้าวร้าวมาก มักไล่กัดปลาอื่นหรือแม้แต่พวกเดียวกันเองที่รุกล้ำเข้ามาในถิ่นที่อยู่อาศัย เป็นปลาที่จะหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการัง มีพฤติกรรมหากินโดยซอกซอนหากินเอาในแนวปะการังในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้รวดเร็วมากโดยใช้ครีบหลัก ๆ ทั้ง 2 ครีบในด้านบนและด้านล่างของลำตัว ขณะที่ครีบหางใช้เป็นตัวควบคุมทิศทาง เป็นปลาที่มีพฤติกรรมผสมพันธุ์วางไข่ โดยวางไข่ตามพื้นในรังซึ่งตัวผู้จะทำหน้าที่เฝ้าระวัง ซึ่งบางชนิดจะมีนิสัยดุร้ายมากในช่วงนี้ โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามสดใสมาก จึงเป็นที่นิยมมากของนักดำน้ำและนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่ว่าเป็นปลาที่ดุร้ายมาก สามารถพุ่งเข้ากัดจนเป็นแผลเหวอะหรือไล่มนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์ที่ใหญ่กว่ามากได้อย่างไม่เกรงกลัว มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 25-50 เซนติเมตร โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาวัวไททัน (Balistoides viridescens) ที่ใหญ่ได้ถึง 75 เซนติเมตร หรือราว 1 เมตร และนับเป็นชนิดที่อันตรายมาก เพราะมีรายงานการกัดและไล่นักดำน้ำมาแล้วในหลายที.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาวัว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัวจมูกยาว

วงศ์ปลาวัวจมูกยาว หรือ วงศ์ปลาตะไบ (วงศ์: Monacanthidae, เกาหลี: 쥐치) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) วงศ์หนึ่ง มีรูปร่างโดยรวม คือ มีผิวหนังที่หยาบ มีเกล็ดเล็กละเอียดปกคลุมทั้งตัว ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน มีก้านครีบหลังก้านแรกเป็นแท่งกระดูกใหญ่ ซึ่งแหลมและแข็งแรงคล้ายเขาสัตว์ ซึ่งสามารถใช้ยกขึ้นเพื่อป้องกันตัวเองได้ ครีบหลังตอนที่ 2 เป็นครีบที่อ่อนนุ่ม ครีบท้องลดรูปไปโดยที่ก้านครีบก้านแรกเป็นเงี่ยงแข็ง ครีบก้นยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีฟันในขากรรไกรด้านนอก 3 ชุด และด้านใน 2 ชุด มีจุดเด่น คือ ในบางสกุลมีจะงอยปากยื่นนยาวออกมาคล้ายท่อหรือหลอด ใช้สำหรับซอกซอนหาอาหารในแนวปะการัง และมีรูปร่างที่เรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีขนาดเล็ก มีความยาวโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดยาวได้ถึง 110 เซนติเมตร พบทั้งหมด 26 สกุล ราว 107 ชนิด กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย เป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามแนวปะการังหรือตามกอสาหร่ายที่มีกระแสน้ำไหลอ่อน ๆ ในระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร โดยหากินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังเหมือนกับปลาในวงศ์อื่นในอันดับเดียวกัน โดยจะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นอาหารหลัก หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในแนวปะการังในเวลากลางคืน มีการแพร่พันธุ์โดยการวางไข่ในแหล่งน้ำกร่อย มีตัวผู้เป็นผู้ดูแล เป็นปลาที่เป็นที่นิยมชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งไม่มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวเหมือนปลาในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ด้วย อีกทั้งในอาหารเกาหลี ยังสามารถทำเป็นอาหารรับประทานเล่นได้ด้วย โดยแปรรูปเป็นขนมอบแห้งเรียกว่า "จุยโป" (쥐포) และในอดีตมีการใช้หนังของปลาในวงศ์ปลาวัวจมูกยาวนี้ทำเรือไม้ด้วย โดยคำว่า Monacanthidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Monos" หมายถึง เดี่ยว หรือ อันเดียว ผสมกับคำว่า "Akantha" หมายถึง หนาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัวจมูกสั้น

วงศ์ปลาวัวจมูกสั้น (วงศ์: Triacanthidae, Tripodfish, Hornfish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างและลักษณะโดยรวมคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) หรือวงศ์ปลาวัวจมูกยาว (Monacanthidae) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ต่างวงศ์กัน แต่อยู่ในอันดับเดียวกัน คือ มีผิวที่หยาบเหนียว หรือเป็นแผ่นกระดูกหนาเรียงติดต่อกัน มีฟันแหลมคมต่อกันเป็นแผ่น ใช้สำหรับแทะเล็มหาอาหารจำพวกครัสตาเชียนหรือหอยหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ ตามแนวปะการังและพื้นทะเล มีก้านครีบหลังก้านแรกเป็นแท่งกระดูกใหญ่ ซึ่งแหลมและแข็งแรงคล้ายเขาสัตว์ ซึ่งสำหรับปลาในวงศ์ปลาวัวจมูกสั้นแล้ว จะมีเงี่ยง 2 เงี่ยงที่แหลมคมและแข็งแรงบริเวณส่วนหน้าอกยื่นออกมาแหลมยาวอย่างเห็นได้ชัดเจน ซึ่งสามารถใช้จับตั้งวางกับพื้นได้ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ ครีบหลังมีก้านครีบ 20-26 ก้าน ขณะที่ครีบก้นมีก้านครีบ 13-22 ก้าน มีส่วนหน้าและจะงอยปากที่สั้นทู่กว่าเมื่อเทียบกับปลาใน 2 วงศ์ข้างต้นอย่างเห็นได้ชัด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15-30 เซนติเมตร เป็นปลาที่มักพบในแนวปะการังและบริเวณใกล้ชายฝั่งหรือตามปากแม่น้ำ ในเขตร้อนหรือเขตอบอุ่นของอินโดแปซิฟิก ซึ่งในบางชนิดอาจปรับตัวให้เข้ากับน้ำกร่อยได้ด้วย ซึ่งคำว่า Triacanthidae ซึ่งใช้เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์มาจากภาษากรีก คำว่า "Tri" หมายถึง "สาม" ผสมกับคำว่า "Akantha" ซึ่งหมายถึง "หนาม".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาวัวจมูกสั้น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวูล์ฟฟิช

วงศ์ปลาวูล์ฟฟิช (Wolffishes; Anjumara, Trahira) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Erythrinidae ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ปลาวูล์ฟฟิช เป็นปลาคาราซินกินเนื้อ ที่มีรูปร่างทรงกระบอก หัวใหญ่ ปากกว้าง ในปากมีฟันแหลมคมขนาดใหญ่ซึ่งมีเดือยเชื่อมต่อ มีช่องว่างระหว่างซี่ฟันห่างพอสมควร มีแรงกัดอย่างรุนแรง เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วยังถือว่าอันตรายกว่าปลาปิรันยาเสียด้วยซ้ำรายการ River Monsters ตอน Jungle Killer ทางดิสคัฟเวอรี่ แชนแนล ทางทรูวิชั่นส์: วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาวูล์ฟฟิช · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสร้อยน้ำผึ้ง

วงศ์ปลาสร้อยน้ำผึ้ง เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อว่า Gyrinocheilidae เป็นวงศ์ปลาที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นปลาที่มีรูปร่างเรียวทรงกระบอก แบนข้างเล็กน้อย ส่วนหัวค่อนข้างใหญ่ ตาเล็ก ปากอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก ไม่มีฟันในลำคอ ไม่มีหนวด ครีบอกและครีบท้องอยู่ในแนวเดียวกับสันท้อง และมีลักษณะสำคัญ คือมีช่องเล็ก ๆ อยู่ด้านบนสุดของช่องเหงือก ริมฝีปาก มีลักษณะเป็นแผ่นดูดรูปกลมใช้ดูดกินตะไคร่น้ำตามพื้นหิน และ ทราย แล้วหายใจโดยใช้น้ำผ่านเข้าช่องเปิดด้านบนฝาปิดเหงือก แล้วออกมาทางด้านข้าง แทนที่จะใช้ปากสูบน้ำเข้าอย่างปลาทั่ว ๆ ไป และมีถุงลมขนาดเล็ก เดิมที นักมีนวิทยาได้เคยจัดปลาในวงศ์นี้ให้อยู่วงศ์เดียวกันกับวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มาก่อน ปลาที่พบในวงศ์นี้มีด้วยกันทั้งหมด 3 ชนิด และมีเพียงสกุลเดียว สำหรับในประเทศไทยพบ 2 ชนิด คือ ปลาสร้อยน้ำผึ้ง (Gyrinocheilus aymonieri) และ ปลามูด (G. pennocki) พบได้ทั่วไปตามที่ราบลุ่มแม่น้ำ หรือแม้แต่ตามลำธารน้ำตก มีความสำคัญคือ เป็นปลาสวยงามที่นิยมเลี้ยงเพื่อทำความสะอาดตู้ เพราะความที่มีปากเป็นลักษณะดูดใช้สำหรับกินตะไคร่น้ำหรือเศษอาหารที่ปลาอื่นกินเหลือได้ ในอดีต แถบจังหวัดลุ่มแม่น้ำแม่กลองเช่น จังหวัดกาญจนบุรี, จังหวัดราชบุรี และจังหวัดเพชรบุรี ปลาในวงศ์นี้สามารถนำมาหมักทำน้ำปลาที่มีรสชาติดีได้ ในชื่อ "น้ำปลาสร้อยน้ำผึ้ง" ชื่อสามัญทั่วไปในภาษาไทยเรียกปลาวงศ์นี้โดยรวมกันว่า "สร้อยน้ำผึ้ง", "น้ำผึ้ง" หรือ "มูด" หรือ "ยาลู่" หรือ "ปากใต้" ส่วนชื่อในภาษาอังกฤษเรียกว่า "Chinese algae eater".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสร้อยน้ำผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสลิดหิน

ระวังสับสนกับ ปลาสลิดทะเล วงศ์ปลาสลิดหิน (Damsel, Demoiselle) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลากะพง (Perciformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacentridae เป็นปลาทะเลหรือน้ำกร่อยขนาดเล็ก โดยรวมแล้วมีขนาดประมาณ 4-8 เซนติเมตร มีความโดดเด่นตรงที่มีสีสันและลวดลายสดใสสวยงาม จึงเป็นที่นิยมของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการัง นับเป็นปลาที่พบได้บ่อยและชุกชุมที่สุดในแนวปะการัง พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก เป็นปลาที่อาศัยอยู่เป็นฝูง มีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร มักกัดทะเลาะวิวาทกันเองภายในฝูง กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอน, สาหร่าย และสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ จัดเป็นปลาที่วงศ์ใหญ่ มีจำนวนสมาชิกในวงศ์ประมาณ 360 ชนิด ใน 29 สกุลหรือวงศ์ย่อย ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นปลาที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ ปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 28 ชนิด โดยที่คำว่า Pomacentridae ที่เป็นภาษาละตินที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น แปลงมาจากภาษากรีกคำว่า "poma" แปลว่า "ปก" หมายถึง "แผ่นปิดเหงือก" และ "kentron" แปลว่า "หนาม" ซึ่งหมายถึง "หนามที่บริเวณแผ่นปิดเหงือกอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของปลาในวงศ์นี้" ลักษณะทางชีววิทยา คือ ลำตัวสั้นปอมรูปไขรีแบนขาง เกล็ดเป็นแบบสาก เสนขางตัวขาดตอน ครีบหลังติดกันเปนครีบเดียว มี รูจมูกเพียงคูเดียว ครีบทองอยูในตำแหนงอก ไมมีฟนที่พาลาทีน ปลาในวงศ์ปลาสลิดหิน โดยมากแล้ว เป็นปลาที่ดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว โดยทั้งปลาตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแล แต่ก็มีบางจำพวกอย่าง ปลาการ์ตูน ที่สามารถเปลี่ยนเพศได้ตามสถานการณ์ โดยปกติแล้วเป็นปลาทะเลและปลาน้ำกร่อย แต่ก็มีบางชนิดเท่านั้นที่พบอาศัยอยู่ในน้ำจืดด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสลิดหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสลิดทะเล

ระวังสับสนกับ ปลาสลิดหิน ปลาวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลากะพงสลิด วงศ์ปลาสลิดทะเล หรือ วงศ์ปลาสลิดหิน (Rabbitfish, Spinefish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Siganidae (/ซิ-กะ-นิ-ดี้/) มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวแบบรูปไข่และแบนด้านข้าง หัวมีขนาดเล็ก เกล็ดมีขนาดเล็ก ครีบหางมีทั้งแบบตัดตรงและเว้าลึก ครีบหลังมีหนามแหลมคมและจะกางออก ซึ่งจะมีต่อมพิษที่เงี่ยงของครีบหลัง ครีบก้น และครีบท้อง เพื่อใช้ในการป้องกันตัว เป็นปลาที่กินพืชเป็นอาหารหลัก โดยมีพฤติกรรมการกินแบบแทะเล็มคล้ายกระต่าย อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ มักพบในเขตชายฝั่งตามพื้นท้องทะเล, กองหินหรือแนวปะการัง และในดงหญ้าทะเล เป็นปลาที่สามารถรับประทานได้ แต่จะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เมื่อมือเปล่าจับ หนามเหล่านี้จะทิ่มตำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสลิดทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสวาย

วงศ์ปลาสวาย (Shark catfish) เป็นปลาหนัง มีรูปร่างเพรียว ส่วนท้องใหญ่ ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวโต ตาโต มีหนวด 2 คู่ รูจมูกช่องหน้าและหลังมีขนาดเท่ากัน ครีบไขมันและครีบท้องเล็ก ฐานครีบก้นยาว กระเพาะขนาดใหญ่รียาว มี 1-4 ตอน ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pangasiidae (/แพน-กา-ซิ-อาย-ดี้/) พบขนาดตั้งแต่ไม่เกิน 40 เซนติเมตร เช่น ปลาสังกะวาดท้องคม หรือ ปลายอนปีก (Pangasius pleurotaenia) จนถึง 3 เมตรใน ปลาบึก (Pangasianodon gigas) ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดที่ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก การกระจายพันธุ์จากอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเกาะบอร์เนียวในอินโดนีเชีย เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร กินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น กุ้ง หรือ หอยฝาเดียว นอกจากนี้ยังเป็นปลาที่มีพฤติกรรมกินซากอีกด้วย ทั้งซากพืชและซากสัตว์ เช่น ปลาเทพา (Pangasius sanitwongsei) มีทั้งหมด 30 ชนิด และพบในประเทศไทยประมาณ 12 ชนิด ซึ่งปลาที่มีขนาดเล็กจะเรียกชื่อซ้ำซ้อนในแต่ละชนิดว่า "สังกะวาด" หรือ "สังกะวัง" จัดเป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่คนไทยนิยมบริโภคและรู้จักกันดี และจากการศึกษาล่าสุด พบว่าเนื้อปลาในวงศ์ปลาสวายนี้มีโอเมกา 3 มากกว่าปลาทะเลเสียอีก โดยเฉพาะอย่าง ปลาสวาย (P. hypophthalmus) มีโอเมกา 3 สูงถึง 2,570 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนัก 100 กรัม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสวาย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสาก

วงศ์ปลาสาก หรือ วงศ์ปลาน้ำดอกไม้ (Barracuda, Seapike) วงศ์ปลากระดูกแข็งน้ำเค็มวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphyraenidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวค่อนข้างกลมยาว หัวแหลม ปากกว้าง กรามล่างยื่นยาวกว่ากรามบน มีฟันแหลมคมแข็งแรง ตาโต เกล็ดเล็กบางขอบเรียบ มีครีบหลัง 2 ตอน พื้นลำตัวมีสีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด ทั้งสีน้ำตาลอมเหลือง หรือลายบั้งขวางลำตัวเป็นท่อน ๆ หรือแต้มจุด แต่โดยมากมักเป็นสีฟ้าเทา ครีบหางเป็นแฉกรูปตัววี (V) มีขนาดความยาวตั้งแต่ 30-180 เซนติเมตร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่บางครั้งอาจถึง 1,000 ตัว เป็นปลาที่มีความว่องไวปราดเปรียว ไล่ล่าฝูงปลาชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหาร นับเป็นผู้ล่าอันดับต้น ๆ ของห่วงโซ่ชีวิตในทะเลจำพวกหนึ่ง เมื่อยังเป็นปลาขนาดเล็ก จะอาศัยอยู่รวมกับฝูงปลาอย่างอื่น อาทิ ปลากะตัก ตามกองหินหรือแนวปะการังใต้น้ำ หรือตามปากแม่น้่ำ ที่เป็นแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืด ปลาสาก สามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้ เช่นเดียวกับปลาฉลาม ด้วยการกัดจากกรามและฟันที่แข็งแรง สามารถงับปลาอื่นที่เป็นอาหารให้ขาดสองท่อนได้จากการงับเพียงครั้งเดียว ที่สหรัฐอเมริกามีกรณีที่ปลากระโดดขึ้นมาจากน้ำงับแขนของเด็กผู้หญิงวัย 14 ปีที่นั่งอยู่บนเรือ เป็นแผลฉกรรจ์ต้องเย็บไปทั้งสิ้น 51 เข็ม แต่ไม่เคยมีรายงานว่าทำอันตรายได้ถึงแก่ชีวิต ปลาสาก เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ด้วยนิยมบริโภคและซื้อขายกันในตลาดสด และนิยมตกเป็นเกมกีฬา สามารถแบ่งออกเป็นชนิดได้ทั้งหมด 26 ชนิด ในสกุลเดียว กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของมหาสมุทรอินเดีย และแปซิฟิก ในทวีปอเมริกาพบได้ตั้งแต่บราซิลไปจนถึงฟลอร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสาก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสามรส

ำหรับปลาวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลาปากแตร วงศ์ปลาสามรส หรือ วงศ์ปลาปากแตร หรือ วงศ์ปลาปากขลุ่ย (Cornetfish) วงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Fistulariidae มีลักษณะเด่น คือ หัวและลำตัวแบนลงแต่แคบและยาวมาก ตาโต ปากเป็นท่อยาว มีช่องปากขนาดเล็กอยู่ปลายสุดเชิดขึ้นดูคล้ายแตร ลำตัวไม่มีเกล็ด ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบหางเป็นแฉกมีเส้นยาวคล้ายแส้ยื่นออกจากกึ่งกลางครีบ ลำตัวทั่วไปรวมทั้งหัว และครีบสีน้ำตาลแดง ขนาดยาวได้ถึง 1 เมตร มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาปากแตร (Aulostomidae) แต่มีลำตัวเรียวยาวและผอมกว่า และไม่มีก้านครีบแข็งหน้าครีบหลัง พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการัง หากินในเวลากลางคืน โดยกินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาปากแตร ไม่ถือว่าเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่มีการบริโภคกันในท้องถิ่น พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย มีทั้งหมด 1 สกุล แบ่งออกเป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสามรส · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสินสมุทร

วงศ์ปลาสินสมุทร (Angelfish, Marine angelfish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthidae (/โป-มา-แคน-ทิ-ดี้/) ปลาสินสมุทรนั้นมีรูปร่างและสีสันโดยรวมคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) บางสกุล เช่น Chaetodon กล่าวคือ มีรูปร่างแบนข้างเป็นทรงรีหรือรูปไข่ในแนวนอน ปากมีขนาดเล็กมีริมฝีปากหนา เกล็ดเล็กละเอียดกลม ไม่มีหนามที่ขอบตาด้านหน้า ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของปลาในวงศ์นี้ เส้นข้างลำตัวโค้งและสมบูรณ์ ครีบท้องและครีบทวารมนกลม ก้านครีบแข็งค่อนข้างจะยาวกว่าก้านครีบอ่อน โดยก้านครีบอันแรกของครีบเอวจะยาวมาก ครีบหางมีลักษณะเป็นหางตัดหรือมนกลม ปลาสินสมุทรจัดเป็นปลาที่พบได้ในแนวปะการังวงศ์หนึ่งที่มีขนาดใหญ่ คือ มีขนาดตั้งแต่ 10-40 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ตามช่วงวัย มีอาณาบริเวณหากินค่อนข้างชัดเจน อีกทั้งเป็นปลาที่ไม่เกรงกลัวมนุษย์ ซ้ำยังมักว่ายน้ำเข้าหามาเมื่อมีผู้ดำน้ำลงไปในแนวปะการัง พบแพร่กระจายพันธุ์ในทะเลเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก ทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย โดยอาศัยและหากินในแนวปะการังเป็นหลัก แต่ก็มีบางชนิดที่หากินลึกลงไปกว่านั้นเป็นร้อยเมตร ไม่จัดว่าเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนหรือปลาผีเสื้อ อันเนื่องจากสีสันที่สวยงาม พบทั้งหมด 9 สกุล (ดูในตาราง) มีประมาณ 74 ชนิด ในน่านน้ำไทย พบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน พบไม่ต่ำกว่า 40 ชนิด อาทิ ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ (Pomacanthus imperator), ปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) และปลาสินสมุทรลายบั้ง (P. sexstriatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสินสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสตาร์เกเซอร์

ปลาสตาร์เกเซอร์ (Stargazer) เป็นปลาทะเลน้ำลึกในวงศ์ Uranoscopidae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) แบ่งออกเป็นประมาณ 50 ชนิด 8 สกุล พบอยู่ตามร่องน้ำลึกทั่วโลก มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวยาว กลมหรือแบนลงเล็กน้อย ส่วนหัวแบนลง มองคล้ายเป็นสี่เหลี่ยม ส่วนหางแบนข้าง ตามีขนาดเล็กอยู่ทางด้านบนของส่วนหัว ปากเชิดอยู่ในแนวดิ่ง ฟันมีขนาดเล็กปลายแหลม บนขากรรไกร เกล็ดเป็นแบบขอบบางเรียบ ขนาดเล็กฝังอยู่ใต้ผิวหนัง ครีบหลังมีก้านครีบแข็งสั้น แต่แข็งแรง ส่วนฐานของก้านครีบอ่อนของครีบหลัง และครีบก้นยาว ครีบอกกว้างฐานครีบท้องอยู่ชิดกัน และอยู่หน้าครีบอกตำแหน่งจูกูลาร์ ส่วนหัวไม่มีเกล็ดแต่มี โบนี่ แพลท ปกคลุม ครีบหางตัดตรงหรือมนเล็กน้อย ปลาสตาร์เกเซอร์มีลักษณะพิเศษคือ มีดวงตาอยู่บนส่วนยอดของหัว ปากขนาดใหญ่ มีครีบที่มีพิษใช้ป้องกันตัว และอาจป้องกันตัวเองด้วยกระแสไฟฟ้า มักฝังตัวอยู่ใต้พื้นทรายเพื่อคอยดักจับเหยื่อ ในบางชนิดจะมีระยางค์รูปร่างคล้ายหนอนยื่นออกมาจากปากเพื่อล่อเหยื่อ มีขนาดลำตัวยาวตั้งแต่ 18 เซนติเมตร ถึง 90 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาสตาร์เกเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมอ

วงศ์ปลาหมอ (Climbing gourami, Climbing perch) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดกลุ่มหนึ่ง ที่มีการกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ใช้ชื่อวงศ์ว่า Anabantidae (/อะ-นา-เบน-ทิ-ดี/) เดิมวงศ์นี้เคยถูกรวมเข้าเป็นวงศ์เดียวกับวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) และวงศ์ปลาจูบ หรือ ปลาหมอตาล (Helostomatidae) ซึ่งปลาในวงศ์เหล่านี้ถูกเรียกรวม ๆ กันในชื่อสามัญภาษาอังกฤษว่า "Labyrinth fish" (ปลาที่มีอวัยวะพิเศษในการหายใจ) ซึ่งปลาในวงศ์ทั้ง 3 นี้ มีอวัยวะพิเศษที่ช่วยในการหายใจเหมือน ๆ กัน แต่เมื่อศึกษาแล้ว พบว่ามีโครงสร้างหลัก ๆ ของกระดูกแตกต่างกันมาก ซึ่งลักษณะทางอนุกรมวิธานที่สำคัญของวงศ์ปลาหมอ คือ มีอวัยวะช่วยหายใจที่พัฒนามาจากเหงือกชุดสุดท้าย ลักษณะเป็นแผ่นกระดูกบางจำนวนมาก และทับซ้อนกันและมีร่องวกวนเหมือนเขาวงกต ระหว่างร่องเหล่านี้มีเส้นเลือดฝอยอยู่จำนวนมาก ซึ่งทำหน้าที่ดูดซับออกซิเจนจากอากาศจากผิวน้ำ นักมีนวิทยาสันนิษฐานว่า ปลาในวงศ์ปลาหมอนี้อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีทั้งปริมาณออกซิเจนสูงและต่ำ ทำให้ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการหายใจและเผาผลาญอาหารไม่เพียงพอ จึงทำให้ต้องขึ้นมาหายใจรับออกซิเจนบนผิวน้ำเพื่อกิจกรรมเหล่านี้ แต่ในระยะที่ยังเป็นลูกปลาอยู่ ในระยะที่มีอายุไม่เกิน 15 วัน อวัยวะที่ช่วยในการหายใจยังไม่พัฒนาเต็มที่ ลูกปลาจึงไม่สามารถขึ้นมาหายใจที่ผิวน้ำได้ นอกจากนี้แล้ว ปลาในวงศ์นี้ ยังมีลักษณะทางอนุกรมวิธานทางกายภาพอีก คือ จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่ล้ำหน้าครีบอกเล็กน้อย ขอบของกระดูกแก้มชิ้นหน้าและชิ้นกลางมีขอบเป็นหนามแข็ง ภายในปากมีฟันแหลมคมเป็นแบบเขี้ยวที่กระดูกขากรรไกรทั้งสองข้างและกระดูกเพดานปาก ปลาเกือบทุกสกุลมีเกล็ดแบบสาก ยกเว้นสกุล Sandelia ที่มีเกล็ดแบบบางเรียบ เส้นข้างลำตัวแยกออกเป็นสองเส้น สมาชิกของปลาในวงศ์นี้มีทั้งหมด 4 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาหมอ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ

วงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ (Asian leaffish, Banded leaffish) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pristolepididae มีลักษณะสำคัญ คือ มีรูปร่างแบนข้างมากเป็นรูปไข่หรือวงรี เกล็ดสาก เส้นข้างลำตัวขาดตอนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน มีปากเล็ก มุมปากยาวถึงนัยน์ตา ดวงตากลมโต หนังขอบกระดูกแก้มติดต่อกันถึงส่วนใต้ปาก ริมกระดูกแก้มชิ้นกลางเป็นหนามแหลม 2 ชิ้น มีเพียงสกุลเดียว คือ Pristolepis จำแนกออกได้ทั้งหมด 6 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมอสี

วงศ์ปลาหมอสี (Cichlids) เป็นวงศ์ปลาที่มีจำนวนชนิดมากกว่า 1,000 ชนิด นับเป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดที่มีจำนวนชนิดมากเป็นอันดับสาม รองมาจากวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cichlidae (/ซิค-ลิด-เด/) ชื่อสามัญในภาษาไทยนิยมเรียกว่า "ปลาหมอสี" ปลาในวงศ์นี้ส่วนใหญ่จึงมักมีชื่อขึ้นต้นว่า "ปลาหมอ" ปลาในวงศ์ปลาหมอสีมีลักษณะหลายหลากแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของถิ่นกำเนิด ปลาหมอสีส่วนใหญ่เป็นปลาน้ำจืด แต่มีบางชนิดพบในน้ำกร่อย ปลาในวงศ์นี้พบมากที่สุดในทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งมีประมาณ 900 และ 290 ชนิดตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีบางชนิดพบได้ในตอนล่างของทวีปอเมริกาเหนือ อีกสี่ชนิดพบในตะวันออกกลาง และอีกสามชนิดพบในอินเดีย ปลาในวงศ์ปลาหมอสีมีความสำคัญต่อมนุษย์ในหลายลักษณะ ปลาบางชนิด เช่น ปลานิล จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว ในขณะที่ปลาอีกหลายชนิดเป็นปลาตู้สวยงาม เช่น ปลาเทวดา, ปลาปอมปาดัวร์ และ ปลาออสการ์ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาหมอสี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมอแคระ

ำหรับปลาหมอแคระที่เป็นปลาในวงศ์ปลาหมอสี ดูที่: ปลาหมอแคระ วงศ์ปลาหมอแคระ (Chameleonfish) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Badidae เดิมวงศ์นี้เคยถูกรวมเป็นวงศ์เดียวกับวงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ (Nandidae) แต่ปัจจุบันได้ถูกแยกออกมาต่างหาก เป็นปลาขนาดเล็กกระจายพันธุ์อยู่ทวีปเอเชียได้แก่ เอเชียใต้, เอเชียตะวันออก และเอเชียอาคเนย์ มีความหลากหลายสูงสุดที่เอเชียใต้และประเทศพม่า โดยมีเขตการกระจายพันธุ์ทางตะวันออกไกลสุด คือ ประเทศจีนทางตอนใต้และประเทศไทย เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำสำคัญ ๆ ในภูมิภาคเหล่านี้ เช่น แม่น้ำคงคา, แม่น้ำพรหมบุตร, แม่น้ำสาละวิน, แม่น้ำโขง และแม่น้ำแม่กลอง แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล คือ Badis และ Dario 13 ชนิด ในสกุล Badis มีลักษณะพิเศษ คือ เป็นปลาที่หากินแบบซุ่มรอเหยื่อด้วยการลอยตัวนิ่ง ๆ แล้วจึงฮุบ สามารถเปลี่ยนสีลำตัวไปตามอารมณ์และสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย และยังสามารถกลอกลูกตาไปมาได้ด้วยคล้ายกับกิ้งก่าคาเมเลี่ยน อันเป็นที่มาในชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ มีความยาวโดยเฉลี่ยเพียง 3-4 เซนติเมตรเท่านั้น เป็นปลที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ในประเทศไทยพบ 3 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาหมอแคระ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหวีเกศ

วงศ์ปลาหวีเกศ (วงศ์: Schilbeidae (/ชิล-ไบ-ดี/); Schilbid catfish, Glass catfish) เป็นปลาน้ำจืดกระดูกแข็ง อยู่ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ซึ่งเป็นปลาไม่มีเกล็ด มีหนวด มีก้านครีบแข็งที่ครีบอกและครีบหลังและมีครีบไขมัน สำหรับปลาในวงศ์นี้มีลักษณะสำคัญคือ มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาสวาย (Pangasidae) ซึ่งเดิมเคยรวมเป็นวงศ์เดียวกันมาก่อน แต่มีลำตัวขนาดเล็กกว่ามาก มีหนวด 3-4 คู่ ที่มีร่องเก็บหนวดแต่ละเส้นที่จะงอยปากข้างแก้มและใต้คาง รูจมูกช่องหลังมักใหญ่กว่าช่องหน้าและอยู่ชิดกัน ครีบอกและครีบหลังมีก้านครีบแข็ง ครีบไขมันมีขนาดเล็ก ครีบก้นยาว ลำตัวมักแบนข้าง มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, อินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเขตซุนดา มีทั้งสิ้น 14 สกุล 61 ชนิด เฉพาะที่พบในประเทศไทยมี 4 สกุล ใน 5 ชนิด เช่น ปลาสังกะวาดขาว (Laides hexanema), ปลาหวีเกศ (Platytropius siamensis), ปลาอิแกลาเอ๊ะ (Pseudeutropius moolenburghae) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาหวีเกศ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหางแข็ง

วงศ์ปลาหางแข็ง (Jacks, Pompanos, Horse mackerels, Scads, Trevallies, Crevallies, Tunas) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Carangidae มีรูปร่างลำตัวสั้นหรือค่อนข้างสั้น คอดหางเรียว มีเกล็ดขนาดเล็กแบบราบเรียบ เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ มีเกล็ดแปรรูปขนาดใหญ่ที่บริเวณเส้นข้างลำตัว โดยเฉพาะบริเวณข้อหางเสมือนเกราะ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ส่วนหน้าโค้งงอ ส่วนท้ายอาจมีหรือไม่มีสันกระดูกแข็ง ส่วนใหญ่มีซี่กรองเหงือกยาวเรียวครีบหลังมีสองตอนแยกจากกัน ครีบแรกมีเงี่ยงไม่แข็ง บริเวณหน้าครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 2 อัน แยกออกมาจากครีบก้น ซึ่งสามารถพับได้ ครีบอกยาวเรียวโค้งแบบรูปเคียว ครีบหางเว้าลึกแบบส้อม พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก, แอตแลนติก และมหาสมุทรอินเดีย ปลาขนาดเล็กจะอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่ง หรือตามแหล่งน้ำจืดหรือน้ำกร่อยใกล้ทะเล เช่น ปากแม่น้ำ, ชะวากทะเล เป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร มีพฤติกรรมอยู่เป็นฝูงขนาดใหญ่ มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 25-100 เซนติเมตร ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ 2 เมตร แบ่งออกเป็น 30 สกุล ประมาณ 151 ชนิด จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างมากวงศ์หนึ่ง โดยมีการนำไปบริโภคทั้งสด และแปรรูปเป็น ปลากระป๋อง (โดยเฉพาะใช้แทนปลาในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae), ปลาเค็ม เป็นต้น ในน่านน้ำไทย มีหลายชนิด โดยชนิดที่สำคัญ ๆ และเป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ปลาสำลี (Seriolina nigrofasciata), ปลาหางแข็ง (Megalaspis cordyla), ปลาหางแข็งบั้ง (Atule mate), ปลาข้างเหลือง (Selaroides leptolepis), ปลากะมง (Caranx sp.), ปลาโฉมงาม (Alectis sp.) และปลาจะละเม็ดดำ (Parastromateus niger) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาหางแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหูช้าง

วงศ์ปลาหูช้าง หรือ วงศ์ปลาค้างคาว หรือ วงศ์ปลาคลุด (Batfish, Spadefish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ephippidae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะทั่วไป ลำตัวแบนทรงกลมหรือเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ด้านข้างลำตัวแบนข้างมาก เกล็ดมีขนาดเล็กหรือปานกลางเป็นแบบสาก หัวมีขนาดเล็ก ปากมีขนาดเล็ก ยืดหดไม่ได้ อาจมีครีบสันหลังหรือไม่มีก็ได้ ครีบหูสั้นและกลม กระดูกซับออคิวลาร์ เชลฟ์ กว้างหรือแคบ ครีบหางมีทั้งแบบกลมและแยกเป็นแฉก เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและอบอุ่น พบทั้งในมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 70 เซนติเมตร โดยจะอาศัยอยู่ตามแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นฝูงหรือเป็นคู่ ลูกปลาวัยอ่อนจะเลี้ยงตัวในบริเวณที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำจืด เช่น ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน โดยมีสีสันแตกต่างจากปลาวัยโต และมีครีบต่าง ๆ ยาวกว่าด้วย เพื่อตบตาสัตว์นักล่าขนาดใหญ่กว่า นิยมตกกันเป็นเกมกีฬาในแถบแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบ 2 ชนิด คือ ปลาหูช้างยาว (Platax teira) และปลาหูช้างกลม (P. orbicularis) โดยปกติแล้วจะไม่ถือเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่ก็ใช้รับประทานกันได้ และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในบางชนิด ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานไว้ทั้งหมด 8 สกุล (ดูในตาราง) ราว 18 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาหูช้าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาอมไข่

ปลาอมไข่ หรือ ปลาคาร์ดินัล (Cardinalfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Apogonidae อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) เป็นปลาที่มีลำตัวค่อนข้างยาว แบนข้าง เกล็ดมีขนาดใหญ่ หลุดง่าย มีทั้งแบบขอบบางเรียบและเกล็ดสาก ปากค่อนข้างกว้าง เฉียงลง ส่วนมากมีฟันแบบวิลลีฟอร์มบนขากรรไกร มีบางชนิดที่มีฟันเขี้ยวคู่หนึ่งที่รอยต่อของขากรรไกร ครีบหลังทั้งสองครีบแยกจากกันอย่างเห็นได้ชัด ครีบท้องอยู่ในตำแหน่งอก ไม่มีเกล็ดอซิลลารี ครีบหางเว้า ตัดตรง หรือกลม เป็นปลาขนาดเล็กมีขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 10 เซนติเมตร อาศัยอยู่เป็นฝูงในชายทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในบางครั้งอาจพบได้ตามปากแม่น้ำ, ชะวากทะเล ที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ เป็นปลาขนาดเล็กที่มีความสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม บางชนิดสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว ที่ได้ชื่อว่าปลาอมไข่ เนื่องจากเป็นปลาที่เมื่อผสมพันธุ์วางไข่แล้ว ปลาตัวผู้จะอมไข่ไว้ในปาก จนกระทั่งลูกปลาฟักออกมาเป็นตัว และอาจจะเลี้ยงลูกปลาและอมไว้ต่อไปจนกว่าลูกปลาจะโตแข็งแรงพอที่จะดูแลตัวเองได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาอมไข่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาอินทรี

วงศ์ปลาอินทรี (Mackerels, Tunas, King mackerels) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Scombridae มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาวเป็นทรงกระสวย นัยน์ตากลมโต มีครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน โดยตอนหลังมีลักษณะแข็งและมีขนาดเล็ก มีครีบท้องและครีบก้น กล้ามเนื้อก่อนถึงโคนหางมีเนื้อเยื่อขวางอยู่เรียกว่า "คีล" (Keel) โคนครีบหางกิ่วเล็กแต่แข็งแรง มีครีบแบ่งเป็นแฉก 2 แฉกเว้าลึก ครีบท้องขนานยาวไปกับความยาวลำตัว มีขนาดความยาวแตกต่างกันตั้งแต่ 20 เซนติเมตร ไปจนถึงเกือบ 3 เมตร บางสกุลอาจมีลวดลายตามความยาวหรือแนวลำตัว ในปากมีฟันและกรามที่แข็งแรง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ในทะเลเปิดในเขตอบอุ่นทั่วโลก เป็นปลาที่มีการอพยพย้ายถิ่น ในปลาขนาดเล็กกินแพลงก์ตอนและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า และในปลาขนาดใหญ่จะไล่กินปลาขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ว่ายน้ำได้อย่างรวดเร็ว เพราะใช้ครีบและหางแนบกับลำตัวเมื่อว่ายน้ำ โดยมีสถิติสูงสุดที่บันทึกได้คือ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยปลาในวงศ์นี้ เป็นที่รู้จักกันในชื่อสามัญภาษาไทยโดยรวมกัน คือ ปลาทู, ปลาโอ, ปลาทูน่า และปลาอินทรี เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นปลาที่มนุษย์ใช้ในการบริโภค ทั้งปรุงสุดหรืออาหารกระป๋อง รวมทั้งทำอาหารสัตว์ และตกกันเป็นเกมกีฬาด้วย ปัจจุบันแบ่งออกได้เป็น 55 ชนิด 15 สกุล และแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ (Thunnus thynnus) ที่มีรายงานยาวเต็มที่ที่เคยพบคือ 458 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 684 กิโลกรัม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาอินซีเน็ต

วงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodus, Flannel-mouth characin) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Prochilodontidae (/โพร-ชิ-โล-ดอน-ทิ-ดี/) ปลาในวงศ์นี้มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) กล่าวคือ มีรูปร่างแบนข้าง ผอมเพรียว เกล็ดมีสีเงินแวววาว มีลายแถบสีคล้ำ ดวงตากลมโต ปากมีขนาดเล็ก ริมฝีปากหนา โดยเฉพาะปากบน และสามารถขยับไปมาได้ตลอด ฟันมี 2 แถวและมีขนาดเล็ก ครีบหางและครีบหลังในบางสกุลมีลายแถบสีดำ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแม่น้ำและแหล่งน้ำจืดของทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำอเมซอนและสาขา เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยใช้ปากที่ขยับไปมาได้ตลอดเวลานั้นตอดหาอาหารกินตามพื้นท้องน้ำ และวัสดุใต้น้ำต่าง ๆ ผสมพันธุ์และวางไข่ได้ครั้งละ 100,000 ฟอง มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 30 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดถึง 80 เซนติเมตร นับเป็นปลาเศรษฐกิจที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่น อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย โดยเฉพาะในสกุล Semaprochilodus หรือที่รู้จักกันดีในแวดวงปลาสวยงามว่า "อินซีเน็ต" โดยนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาที่ใช้ทำความสะอาดตู้เลี้ยง เพราะเป็นปลาที่ใช้ปากตอดเศษอาหารและตะไคร่น้ำได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีความสวยงามอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีความเชื่อว่า ปลาชนิดนี้ควรเลี้ยงคู่กับปลาอะโรวาน่าหรือปลามังกร เพราะมีชื่อเรียกในภาษาจีนว่า "เฟยหง" (จีนตัวเต็ม: 飛鳳) เมื่อเลี้ยงคู่กันแล้วจะเปรียบเสมือนหงส์คู่มังกร มีทั้งหมด 21 ชนิด 3 สกุล.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาอินซีเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาผีเสื้อ

วงศ์ปลาผีเสื้อ (วงศ์: Chaetodontidae, Butterflyfish, Bannerfish, Coralfish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลจำพวกหนึ่ง ในชั้นปลากระดูกแข็ง อันดับปลากะพง (Perciformes) ประกอบไปด้วยสมาชิกแบ่งออกเป็นสกุลต่าง ๆ ได้ 10 สกุล พบประมาณ 114 ชนิด มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวสั้น แบนด้านข้าง ปากมีขนาดเล็กอาจยืดหดได้ ภายในปากมีฟันละเอียด ครีบหลังมีอันเดียว ประกอบด้วยก้านครีบแข็งอยู่ส่วนหน้าและก้านครีบอ่อนอยู่ถัดไป ครีบทวารมีก้านครีบแข็ง 3 อัน และแผ่นยื่นรับกับครีบหลัง มีนิสัยเฉื่อยชา ว่ายน้ำหรือเคลื่อนไหวไปอย่างช้า ๆ ไม่ว่องไว มีสีสันและลวดลายที่สดใสสวยงาม มีพฤติกรรมอาศัยเป็นฝูงหรือเป็นคู่ในแนวปะการัง พบแพร่กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค เป็นปลาที่ออกหากินในเวลากลางวัน โดยอาศัยการแทะกินสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ตามแนวปะการัง ส่วนในเวลากลางคืนจะอาศัยหลับนอนตามโพรงหินหรือปะการัง และจะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้มขึ้นเพื่ออำพรางตัวจากศัตรู ซึ่งในหลายชนิดและบางสกุล จะมีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่คล้ายดวงตาอยู่บริเวณท้ายลำตัวเพื่อล่อหลอกให้ศัตรูสับสนได้อีกด้วยคล้ายกับผีเสื้อที่เป็นแมลง มีการสืบพันธุ์วางไข่โดยการปล่อยไข่ให้ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ก่อนจะรอวันให้ลูกปลาฟักออกมาเป็นตัวและกลับไปอาศัยในแนวปะการังต่อไป ลูกปลาผีเสื้อแทบทุกชนิดมีรูปร่างหน้าตาแทบจะเหมือนกับตัวเต็มวัย โดยมักจะมีจุดบริเวณครีบหลัง และเมื่อลูกปลาโตขึ้นจุดที่ว่านี้ก็จะหายไปเช่นเดียวกับปลาในแนวปะการังอื่น ๆ อีกหลายชนิด ด้วยความสวยงามและรูปร่างที่น่ารัก จึงทำให้นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในบางชนิดสามารถฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ หลายชนิดเลี้ยงได้ไม่ยากนัก ขณะที่บางชนิดที่เลี้ยงได้ยาก สำหรับในน่านน้ำไทยพบปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนี้ไม่ต่ำกว่า 40 ชนิด อาทิ ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Chelmon rostratus), ปลาผีเสื้อทอง (Chaetodon semilarvatus), ปลาผีเสื้อจมูกยาวขอบตาขาว (Forcipiger flavissimus), ปลาโนรีเกล็ด (Heniochus diphreutes) เป็นต้น โดยจะพบในด้านทะเลอันดามันมากกว่าอ่าวไทย ซึ่งปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนั้น ในอดีตเมื่อเริ่มมีการอนุกรมวิธาน ด้วยลักษณะปากที่ยื่นยาวทำให้มีความเข้าใจผิดว่า สามารถพ่นน้ำจับแมลงได้เหมือนเช่น ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) ซึ่งเป็นปลาน้ำจืด โดยความผิดพลาดเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1764 เมื่อมีการส่งตัวอย่างปลาในยังกรุงลอนดอนเพื่อลงรูปตีพิมพ์ลงในหนังสือ ปรากฏเป็นภาพของปลาผีเสื้อนกกระจิบ และถูกบรรยายว่าสามารถพ่นน้ำจับแมลงกินเป็นอาหารได้ จึงถูกกล่าวอ้างต่อมาอย่างผิด ๆ อีกนาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาผีเสื้อ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืน

วงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืน (Seamoth, Dragonfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาเหล็กใน (Gasterosteiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pegasidae (/เพ-กา-ซิ-ดี/) เป็นปลาขนาดเล็กมีความยาวเพียงไม่กี่เซนติเมตร มีลักษณะ คือ มีลำตัวเป็นเกราะแข็ง ครีบหางมีเกราะรูปวงแหวนต่อกัน เป็นข้อ ๆ ปากยื่นยาวออกไป ลำตัวแบนลง ครีบหูมีขนาดใหญ่แผ่ออกด้านข้างคล้ายปีกของผีเสื้อ ครีบท้องมีก้านแข็งหนึ่งคู่ ที่เหลือเป็นก้านครีบอ่อนที่พัฒนาไปคล้ายขาเดิน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก เป็นปลาที่หากินบนพื้นน้ำเป็นหลัก อาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ตามพื้นทะเล ที่เป็นทรายหรือกรวดปนทราย ตามแนวหญ้าทะเล และบริเวณที่มีสาหร่ายขึ้นอยู่มาก โดยมักพรางตัวให้เข้ากับพื้นทรายและออกหากินในเวลากลางคืน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาจวด

วงศ์ปลาจวด (Croakers, Drums) เป็นวงศ์ในชั้นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sciaenidae (/เซีย-เอ็น-อิ-ดี้/) โดยมากเป็นปลาทะเล มีรูปร่างที่คล้ายกันคือ มีส่วนหัวโต จะงอยปากยื่นยาวแต่ปลายมน ตาโตอยู่ค่อนข้างไปทางด้านบนของหัว ปากมักอยู่ไปทางด้านล่าง ริมฝีปากบาง มีฟันเป็นเขี้ยวซี่เล็ก ๆ มักมีรูเล็ก ๆ อยู่ใต้คาง ครีบหลังยาวและเว้าเป็น 2 ตอน โคนครีบหางคอดกิ่ว ปลายหางอาจจะมีปลายแหลมหรือตัดตรง เกล็ดมีขนาดเล็ก มีเกล็ดบนเส้นข้างลำตัวจนถึงปลายครีบหาง ครีบท้องอยู่ใต้ครีบอก มีกระเพาะลมขนาดใหญ่และมีกล้ามเนื้อรอบ ซึ่งสามารถทำเสียงได้เวลาตกใจหรือในฤดูผสมพันธุ์ พบในเขตอบอุ่นรอบโลกมากกว่า 270 ชนิด พบในน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด เช่น สกุล Aplodinotus ส่วนมากพบในน้ำกร่อย สำหรับในประเทศไทยพบราว 40 ชนิด พบในน้ำจืดเพียงชนิดเดียว คือ ปลาม้า (Boesemania microlepis) สำหรับปลาในวงศ์นี้ ภาษาไทยมักเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาจวด" หรือ "ปลาหางกิ่ว" เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ เนื้อมีรสชาติอร่อย มีอยู่ชนิดหนึ่งที่เป็นปลาที่หายากมาก พบในเขตทะเลประเทศจีน คือ Bahaba taipingensis มีราคาซื้อขายที่สูงมาก ในเกาหลี ปลาในวงศ์นี้ถูกเรียกว่า "มิน-ออ" (민어; Min-eo) เป็นอาหารที่ชาวเกาหลีมักรับประทานกันในฤดูร้อน ด้วยเชื่อว่าดับร้อนได้ มีการปรุงทั้งแบบสดและแห้ง จัดเป็นปลาที่มีราคาซื้อขายแพง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาจวด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาจะละเม็ด

วงศ์ปลาจะละเม็ด (Butterfish, Harvestfish, Pomfret, Rudderfish, วงศ์: Stromateidae) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) รูปร่างโดยรวมของปลาในวงศ์นี้ มีลำตัวรูปไข่แบนข้างมาก เกล็ดเป็นแบบขอบเรียบขนาดเล็ก ไม่มีครีบท้อง ส่วนหัวเล็กมน ปากเล็ก บริเวณคอดหางไม่มีสันคม ครีบหางเป็นแฉกยาวเว้าลึก มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงในทะเล พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ชายฝั่งของอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้, แอฟริกา และเอเชีย ในแถบอินโด-แปซิฟิก วงศ์ปลาจะละเม็ดแบ่งได้เป็น 3 สกุล (ดูในตาราง) 17 ชนิด จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญมากจำพวกหนึ่ง เช่น ปลาจะละเม็ดขาว (Pampus argenteus), ปลาจะละเม็ดเทา (P. chinensis) อนึ่ง ปลาจะละเม็ดดำ (Parastromateus niger) แม้จะได้ชื่อสามัญว่าเป็นปลาจะละเม็ดเหมือนกัน แต่ไม่จัดอยู่ในวงศ์นี้ แต่ถูกจัดอยู่ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาจะละเม็ด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาจาน

วงศ์ปลาจาน หรือ วงศ์ปลาอีคุด (Sea bream, Porgie) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Sparidae มีลักษณะโดยทั่วไป คือ ลำตัวค่อนข้างยาวแบนข้าง มีเกล็ดซิเลียเตดขนาดปานกลาง เกล็ดบนหัวเริ่มมีตั้งแต่บริเวณระหว่างตาหรือบริเวณหลังตา ส่วนหน้าของขากรรไกรมีฟันเขี้ยวหรือฟันตัด บริเวณของมุมปากมีฟันรูปกรวยหรือแบบฟันกราม ซึ่งจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ไปทางส่วนท้าย ไม่มีฟันบนกระดูกพาลาทีน ครีบหลังมีตอนเดียวมีก้านครีบแข็ง 11-12 ก้าน ก้านครีบอ่อนที่แตกปลาย 10-15 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแข็งที่ใหญ่และแข็งแรง ก้านครีบแข็งก้านที่สองยาวที่สุด เป็นปลาทะเล พบกระจายพันธุ์ในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและอบอุ่นทั่วโลก เป็นปลาเศรษฐกิจ ใช้เนื้อในการบริโภค และตกเป็นเกมกีฬา บางชนิดอาจพบได้ในเขตน้ำกร่อยหรือน้ำจืด ในประเทศไทย ปลาที่อยู่ในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันดี เช่น ปลาอีคุด (Acanthopagrus berda) และปลาจานแดง หรือปลาอีคุดครีบยาว (Argyrops spiniferหน้า 110-129, Amphidromous Story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ, "Wild Ambition" โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์, กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ. Aquarium Biz ปีที่ 3 ฉบับที่ 35: พฤษภาคม 2013) นอกจากนี้แล้ว ปลาในวงศ์นี้ยังมีการสืบพันธุ์เป็นกะเทยแบบเป็นลำดับ คือ การเป็นกะเทยแบบกลายเพศหรือเปลี่ยนเพศ คือเปลี่ยนจากเพศผู้ในระยะแรกและเป็นเพศเมียเมื่อปลาโตขึ้นได้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาจาน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ หรือ วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปลอม (False pipefish, Ghost pipefish, Tubemouth fish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solenostomidae (มาจากภาษากรีกคำว่า solen หมายถึง ท่อ, หลอด หรือช่องทาง กับ στομα (stoma) หมายถึง ปาก) มีรูปร่างโดยรวม คือ เหมือนกับปลาจิ้มฟันจระเข้ขนาดเล็ก คือมีลำตัวยาวเหมือนกิ่งไม้ ปากยาวเป็นท่อ แต่มีความแตกต่างกัน คือ มีครีบที่พัฒนาให้มีขนาดกว้างใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดของลำตัว เป็นครีบที่โดดเด่นทั้งครีบข้างลำตัว, ครีบหลัง, ครีบหาง และยังมีครีบพิเศษ คือ ครีบใต้ท้องที่ม้าน้ำและปลาจิ้มฟันจระเข้ทั่วไปไม่มี ซึ่งครีบขนาดใหญ่นี้สามารถจะหุบเก็บแนบกับลำตัว หรือคลี่กางให้กว้างใหญ่ได้คล้ายกับพัด ที่เมื่อคลี่กางครีบสุดตัวแล้วจะแลดูสวยงาม นอกจากนี้แล้วยังมีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น คือ ตลอดทั่วทั้งตัวมีติ่งเนื้อหรือสีสันที่กลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม สำหรับการพรางตัวได้เป็นอย่างดี Orr, J.W. & Pietsch, T.W. (1998).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Seahorse, Pipefish) เป็นวงศ์ปลาวงศ์หนึ่ง ในอันดับ Syngnathiformes ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Syngnathidae (/ซีน-แนท-อิ-ดี/) เป็นปลากระดูกแข็ง มีรูปร่างประหลาดไปจากปลาในวงศ์อื่น ๆ ทั่วไป กล่าวคือ มีรูปร่างเรียวราวคล้ายกิ่งไม้ มีเกล็ดลำตัวแข็งดูคล้ายเกราะ ลำตัวแบ่งเป็นปล้อง ๆ หางยาว จำนวนปล้องนี้จะเท่ากับข้อกระดูกสันหลัง ตัวผู้จะเป็นผู้ที่ดูแลไข่โดยจะฟักไข่ไว้ในถุงหน้าท้องหลังจากไข่จากตัวเมียได้รับการปฏิสนธิแล้ว จนกว่าไข่จะฟักเป็นลูกปลาขนาดเล็ก ดวงตามีขนาดเล็ก ไม่มีฟันและขากรรไกร ครีบทุกครีบมีขนาดเล็ก ไม่มีครีบท้องและครีบก้น ครีบหลังมีเฉพาะก้านครีบแขนง ไม่มีก้านครีบแข็ง ด้วยลักษณะทางสรีระเช่นนี้จึงทำให้ว่ายน้ำได้ช้า ๆ ปากยาวเป็นท่อ หากินโดยการดูดอาหาร จำพวก แพลงก์ตอนสัตว์และสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล โดยมากจะพบในทะเลมากกว่า มีพบในน้ำจืดและน้ำกร่อย ไม่กี่ชนิด แบ่งออกเป็น 2 วงศ์ย่อย คือ วงศ์ Hippocampinae มี 2 สกุล หรือ ม้าน้ำ กับ Syngnathinae หรือ ปลาจิ้มฟันจระเข้ มี 52 สกุล โดยพบทั้งหมดประมาณ 215 ชนิด ใน 2 วงศ์ย่อยนี้ พบได้ทั่วโลก จัดเป็นปลาขนาดเล็ก ที่มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร ประกอบกับรูปร่างที่แปลก จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ในตู้ปลาส่วนตัว หรือในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ อีกทั้งยังมีการนำไปปรุงเป็นยาสมุนไพรตามตำรับยาจีนอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาขี้ตังเบ็ด

วงศ์ปลาขี้ตังเบ็ด (Surgeonfish, Tang, Lancetfish, Unicornfish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Acanthuridae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวสั้นหรือค่อนข้างยาวรูปไข่ ด้านข้างแบน ส่วนหลังและส่วนท้องโค้งเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กมากเป็นแบบบางเรียบ มีก้านครีบที่โคนหางสามารถขยับได้ ปากมีขนาดเล็ก มีฟันแบบฟันตัดเพียงแถวเดียว ไม่มีฟันที่เพดานปาก จะงอยปากไม่มีลักษณะเป็นท่อสั้น ครีบหลังมีก้านครีบแข็ง 4-9 ก้าน ไม่แยกจากครีบอ่อน ครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 2-3 ก้าน เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ ครีบหางตัดตรงหรือเว้าแบบพระจันทร์เสี้ยว เกล็ดบนลำตัวบางครั้งพบว่าค่อนข้างหยาบ ในขณะที่อายุยังน้อยไม่มีเกล็ด ลักษณะเด่นของปลาในวงศ์นี้ คือ มีเกล็ดที่พัฒนาบริเวณส่วนโคนหางและครีบหางที่มีขนาดเล็กแต่แหลมคมมาก ใช้สำหรับป้องกันตัวและเป็นที่มาของชื่อเรียก และเป็นส่วนสำคัญในการอนุกรมวิธาน กินสาหร่าย และหญ้าทะเลที่ขึ้นอยู่บนหิน และปะการังเป็นอาหาร หรือบางชนิดกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร ส่วนใหญ่มีสีสันที่สวยสดงดงาม มีทั้งหมด 6 สกุล (ดูในตาราง) ประมาณ 83 ชนิด มีขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไป 15-40 เซนติเมตร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม กระจายพันธุ์อยู่ในแนวปะการังเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาขี้ตังเบ็ด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาข้างตะเภา

ำหรับปลาข้างตะเภาอีกวงศ์หนึ่ง ดูที่: วงศ์ปลาครืดคราด วงศ์ปลาข้างตะเภา หรือ วงศ์ปลาข้างลาย (Tigerperch, Croaker, Grunter) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Terapontidae อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลำตัวค่อนข้างสั้นแบบรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแบนข้าง เกล็ดมีขนาดเล็ก หรือขนาดปานกลาง แบบเกล็ดสาก ปากมีขนาดเล็กเฉียงเล็กน้อย ขอบของกระดูกพรีโอเพอร์คูลัมเป็นหยัก และกระดูกโอเพอร์คูลัมมีก้านครีบแข็ง 2 อัน ครีบหลังทั้งสองติดกันแต่มีรอยเว้าให้เห็นว่าแบ่งออกจากกันได้ ครีบหลังมีก้านครีบแข็งจำนวน 11-14 อัน ครีบหางกลม ตัดตรง หรือเว้าเล็กน้อย ครีบท้องอยู่หลังฐานของครีบอกมีก้านครีบแข็งที่แข็งแรง 1 อัน และก้านครีบอ่อนที่แตกปลาย 5 ก้าน จัดเป็นปลาขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์อยู่แถบชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ในบางชนิดจะพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดด้วย มีทั้งหมด 15 สกุล (ดูในตาราง) 50 ชนิด อาทิ ปลาข้างตะเภาลายโค้ง (Terapon jarbua), ปลาข้างตะเภาเกล็ดใหญ่ (T. theraps), ปลาข้างตะเภาเกล็ดเล็ก (T. puta), ปลาข้างลายสี่แถบ (Pelates quadrilineatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาข้างตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดาบ

วามหมายอื่น: ปลาที่มีลักษณะคล้ายปลากระโทง ดูที่ ปลากระโทงดาบ วงศ์ปลาดาบ หรือ วงศ์ปลาดาบเงิน (Cutlassfish, Hairtail, Scabbardfish, Walla Walla; วงศ์: Trichiuridae) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Trichiuridae อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลำตัวเพรียวยาวเหมือนปลาไหล ด้านข้างแบนมาก ส่วนหัวแหลมลาดต่ำไปข้างหน้า ปากล่างยื่น มีฟันคมแข็งแรงเห็นได้ชัดเจน ลำตัวเรียวแหลมเป็นเส้นไปทางหาง แต่ไม่มีครีบหาง ครีบหลังยาวเกือบตลอดแนวสันหลังยกเว้นใกล้หัว ครีบก้นเป็นเพียงแถวของหนามแข็งขนาดเล็กโผล่จากสันท้องไม่มี ครีบท้อง หรือมีแต่เล็กมาก ไม่มีเกล็ด ผิวหนังมีสีเงินหรือสีเทา พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบชายฝั่ง และพบอาจได้บริเวณปากแม่น้ำ มีทั้งหมด 10 สกุล ประมาณ 40 ชนิด แบ่งออกได้เป็น 3 วงศ์ย่อย โดยชนิดที่พบได้บ่อย เช่น ปลาดาบเงินใหญ่ (Trichiurus lepturus) เป็นปลาเศรษฐกิจจำพวกหนึ่ง สามารถนำมาใช้บริโภคได้ทั้งบริโภคสดและแปรรูปเช่น ทำเป็นลูกชิ้นปลา, ปลาเค็ม, ปลาแห้ง เป็นต้น โดยคำว่า Trichiuridae นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า thrix หมายถึง "เส้นผม" บวกกับคำว่า oura หมายถึง "หาง".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาดาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดาบลาว

วามหมายอื่น: สำหรับปลาชนิดอื่นที่เป็นปลาน้ำจืด ดูได้ที่ ปลาฝักพร้า วงศ์ปลาดาบลาว (Wolf herring) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหลังเขียว (Clupeiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Chirocentridae มีรูปร่างโดยรวม คือ ปากเชิดขึ้น มีฟันแหลมคมมาก ลำตัวเพรียวยาว แบนข้าง ท้องเป็นสันแหลม แนวสันหลังและสันท้องตรงเกือบขนานกัน ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก เกล็ดมีขนาดเล็กและบาง ด้านหลังลำตัวสีน้ำเงิน ด้านข้างและท้องสีขาวเงิน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1 เมตร กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก การจำแนก มีอยู่เพียงสกุลเดียวเท่านั้น คือ Chirocentrus มีอยู่ 2 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาดาบลาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดุก

วงศ์ปลาดุก (Walking catfish, Airbreathing catfish) เป็นวงศ์ปลาจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Clariidae (/คลา-ริ-อาย-ดี้/) มีลักษณะเด่นชัดคือ ส่วนหัวกลมแบราบ ตาเล็กอยู่ด้านข้างของหัว ปากเล็กอยู่ตอนปลายสุดของจะงอยปาก มีหนวดรอบปาก 4 คู่ ยาวเท่า ๆ กัน ครีบอกมีก้านแข็งแหลมคม มีพิษแรงปานกลาง ครีบหลังไม่มีก้านครีบแข็งและยาวเกือบเท่าความยาวลำตัวเช่นเดียวกับครีบก้น ครีบหลังและครีบท้องเล็กปลายมน ปลาดุกมีอวัยวะพิเศษรูปร่างคล้ายก้อนฟองน้ำสีแดงสดอยู่ในช่องเหงือกตอนบนสำหรับช่วยหายใจโดยใช้อากาศเหนือน้ำได้ จึงทำให้ปลาในวงศ์นี้สามารถอยู่เหนือน้ำได้นานกว่าปลาชนิดอื่น ๆ และยังสามารถแถก คืบคลานบนบกได้เมื่อฝนตกน้ำไหลหลาก และเป็นที่ของชื่อภาษาอังกฤษว่า "Walking catfish" มีการวางไข่โดยขุดโพรงหรือทำรัง บางชนิด ตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแลไข่จนฟักเป็นตัว ไข่เป็นแบบไข่ติด ปลาในวงศ์นี้มีการกระจายพันธุ์กว้างไกลตั้งแต่ทวีปแอฟริกาจนถึงเอเชีย พบในประเทศไทยราว 10 ชนิด เป็นปลาน้ำจืดที่ใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ที่คนไทยรู้จักดี ได้แก่ ปลาดุกด้าน (Clarias batrachus) และปลาดุกอุย (C. macrocephalus).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาดุก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดุกทะเล

วงศ์ปลาดุกทะเล (Eeltail catfishes, Coral catfishes, Eel catfishes, Stinging catfishes) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Plotosidae (/โพล-โต-ซิ-ดี/) มีลักษณะสำคัญคือ มีหนวด 4 คู่ คือ หนวดที่บริเวณมุมปากทั้งปากบนและปากล่าง และที่คาง ครีบหลังมีเงี่ยงเป็นฟันเลื่อย ไม่มีครีบไขมัน ครีบหลัง ครีบหางและครีบก้นยาวติดต่อกัน โดยที่ส่วนคอดหางเป็นต้นไปเรียวเล็กลงทำให้แลดูคล้ายปลาไหล อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ เป็นปลาทะเล ที่มักอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่ง ตามแนวปะการังหรือกอสาหร่าย โดยมีพบเข้าไปอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดด้วย เช่น ปากแม่น้ำ หรือป่าชายเลน ในวัยเล็กมักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินในเวลากลางคืน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลแถบมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ตั้งแต่ทะเลญี่ปุ่น จนถึงฟิจิ, ปาปัวนิวกินีและโอเชียเนีย มีทั้งหมด 35 ชนิด ใน 10 สกุล (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทยพบเป็นชนิดที่สำคัญ 2 ชนิด คือ ปลาดุกทะเลลาย (Plotosus lineatus) และปลาดุกทะเลยักษ์ (P. canius) ซึ่งนิยมตกเป็นเกมกีฬา, เลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และบริโภคกันเป็นอาหาร ซึ่งในปลาดุกทะเลยักษ์นั้น ถือเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ โดยยาวได้ถึง 1.5 เมตร มีน้ำหนักหนักได้ถึงเกือบ 10 กิโลกรัม และในชนิดปลาดุกทะเลลายมีรายงานว่าที่เงี่ยงแข็งนั้นมีพิษร้ายแรงถึงขนาดแทงมนุษย์เสียชีวิตได้ ปลาในวงศ์นี้ นอกจากใช้ชื่อว่า "ปลาดุกทะเล" หรือ "ปลาปิ่นแก้ว" แล้วยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "สามแก้ว" หรือ "เป็ดแก้ว" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาดุกทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดุกไฟฟ้า

วงศ์ปลาดุกไฟฟ้า (Electric catfish) วงศ์ปลาหนังน้ำจืดจำพวกหนึ่ง พบเฉพาะในทวีปแอฟริกาตอนเหนือและตะวันออกบริเวณแม่น้ำไนล์ มีทั้งหมด 2 สกุล พบทั้งหมด 25 ชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Malapteruridae ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า "Mala" หมายถึง "นุ่มนิ่ม", "pteron" หมายถึง "ครีบ" และ "oura" หมายถึง "หาง" มีลำตัวมีรูปร่างกลมป้อม หัวหนา ตามีขนาดเล็ก มีครีบ 7 ครีบ แต่ไม่มีครีบหลัง มีเพียงครีบไขมัน ขนาดใหญ่ อยู่ด้านหลังใกล้โคนหาง ครีบอก 1 คู่ ไม่มีเงี่ยง ครีบท้อง 1 คู่มีขนาดเล็ก ครีบก้นอยู่ตรงข้ามกับครีบไขมัน หางมีขนาดใหญ่เป็นรูปพัด มีหนวด 3 คู่ รอบริมฝีปากมีหนังหนา มีอวัยวะสร้างไฟฟ้า 1 คู่โดยฝังอยู่ใต้ ผิวหนังที่หนาบริเวณลำตัวข้างละอันการปล่อยกระแสไฟฟ้าอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาท โดยปกติจะปล่อยกระแสไฟฟ้าเวลาหาอาหารหรือป้องกันตัวเท่านั้น ปลาที่มีขนาดใหญ่สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าขนาด 1 แอมแปร์ และแรงคลื่นกว่า 100 โวลท์ได้ ซึ่งกระแสไฟฟ้าขนาดนี้ในน้ำสามารถ ทำอันตรายต่อศัตรู หรือแม้กระทั่งมนุษย์ได้ แต่แม้กระนั้นกระแสไฟฟ้าของปลาดุกไฟฟ้าเมื่อเทียบกับ ปลาไหลไฟฟ้า (Electrophorus electricus) ก็ยังจัดว่ามีกำลังอ่อนกว่ามาก เพราะปลาไหลไฟฟ้าขนาดใหญ่บางตัวสามารถสร้างไฟฟ้าที่มีแรงคลื่นสูงถึง 600 โวลท์ ซึ่ง เป็นอันตรายร้ายแรงต่อสัตว์ทุกชนิด สีตัวของปลาดุกไฟฟฟ้า ด้านหลังเป็นสีน้ำตาลลอมเทา ส่วนด้านท้องมีสีจางกว่า ตามตัว มีปละสีดำกระจายทั่วตัวจะมากหรือน้อยไม่แน่นอน ตามครีบมีสีอ่อน โคนครีบหางมีสีดำจางพาดลงมา โดยเฉพาะในตัวที่มีขนาดเล็ก ปลาดุกไฟฟ้าเป็นปลาที่รู้จักของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณไม่ต่ำกว่า 6,000 ปี ทั้งนี้โดยมีหลักฐานจากภาพแกะสลักบนแผ่นดินที่พบในปิรามิดของอียิปต์ นิยมใช้เนื้อบริโภคในท้องถิ่น เป็นปลากินเนื้อ มักซุกซ่อนตัวอยู่นิ่ง ๆ ตามวัสดุใต้น้ำ เช่น โพรงไม้, สาหร่าย หาเหยื่อในเวลากลางคืนด้วยการสร้างกระแสไฟฟ้าเพื่อสลบเหยื่อ การขยายพันธุ์เชื่อกันว่าเป็นปลาที่ฟักไข่ในปาก ปลาดุกไฟฟ้า ชนิดที่ใหญ่ที่สุดโตเต็มได้ราว 1.22 เมตร คือ ชนิด ''Malapterurus microstoma'' ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งต้องเลี้ยงเดี่ยว ๆ เพียงตัวเดียวเนื่องจากเป็นปลาที่ก้าวร้าว ซ้ำยังสามารถปล่อยไฟฟ้าใส่ปลาชนิดอื่นได้อีก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาดุกไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาคาราซิน

วงศ์ปลาคาราซิน (Characins, Tetras) หรือ วงศ์ปลาตะเพียนกินเนื้อ เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดวงศ์หนึ่งที่เดิมอยู่จัดอยู่ในวงศ์เดียวกับวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) แต่ว่าปลาในวงศ์นี้เป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร หลายสกุล หลายชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Characidae โดยถือเป็นวงศ์หลักของปลาในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) สามารถแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีกหลายวงศ์ มีหลายร้อยชนิด นิยมอยู่รวมเป็นฝูง โดยปลาที่มีขนาดเล็ก เช่น ปลานีออน (Paracheirodon innesi) มักจะมีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ เรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาเตตร้า" เป็นต้น พบกระจายอยู่ทั่วไปทั้งทวีปอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และทวีปอเมริกาใต้ เป็นวงศ์ปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจคือ ใช้บริโภค ซึ่งปลาที่รู้จักกันในแง่นี้ก็คือ ปลาคู้แดง (Piaractus brachypomus) เป็นต้น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาคาราซิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลางวงช้าง

วงศ์ปลางวงช้าง (Elephantfish, Freshwater elephantfish, Mormyrid) วงศ์ปลาในชั้นปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง อยู่ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ซึ่งเป็นอันดับร่วมกับปลาตะพัดหรือปลาอะโรวาน่า และปลาอะราไพม่าหรือปลาช่อนอเมซอน รวมทั้งปลากรายด้วย ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mormyridae พบเฉพาะในทวีปแอฟริกา มีทั้งหมด 18 สกุล และหลายชนิด จนถึงปัจจุบันพบกว่า 200 ชนิด มีลักษณะสำคัญคือ เป็นปลาที่มีรูปร่างแบนข้างและเพรียวยาว ข้อหางคอดเล็ก ครีบหางเล็กและสั้น ครีบหลังยาวและต่อติดกันเป็นแผง ส่วนหัวกลมมนอย่างเห็นได้ชัด ส่วนมากเล็กและงุ้มลง ในบางสกุลและบางสายพันธุ์ ปากมีลักษณะยื่นยาวออกมาคล้ายงวงช้าง จึงทำให้เป็นที่มาชื่อสามัญ ตามีขนาดเล็ก สีลำตัวมักมีสีดำหรือสีน้ำตาลเทาหรือสีเทา มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินตามพื้นท้องน้ำ อาหารได้แก่ ลูกปลาและลูกกุ้งขนาดเล็ก รวมทั้งสิ่งมีชีวิตหน้าดินเล็ก ๆ ขนาดเล็กสุดเพียง 5 เซนติเมตร ใหญ่สุด คือ Mormyrops anguilloides ที่มีขนาด 1.5 เมตร เป็นปลาที่มีความสามารถพิเศษคือ สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อน ๆ ได้ เพื่อช่วยในการนำทาง, หาอาหาร และติดต่อสื่อสารกันเองด้วยนอกจากประสาทสัมผัสที่บริเวณปากที่ยื่นยาวออกมา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาแล้วพบว่า ปลาในวงศ์นี้มีน้ำหนักของสมองเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัวแล้วเทียบเท่ากับน้ำหนักสมองของมนุษย์เลยทีเดียว นับได้ว่าเป็นปลาที่มีความเฉลียวฉลาดมากทีเดียว มีความสำคัญ คือ นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามในหลายชนิด และใช้บริโภคเป็นอาหารพื้นเมืองในปลาที่มีขนาดใหญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลางวงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตะพัด

วงศ์ปลาตะพัด (Bonytongues fish, Arowana) วงศ์ปลาวงศ์หนึ่งในอันดับ Osteoglossiformes มีลักษณะสำคัญที่วิวัฒนาการจากปลาในยุคโบราณคือ มีส่วนกระดูกที่หัวแข็ง หรือลิ้นแข็งเป็นกระดูก คำว่า Osteoglossidae (/ออส-ที-โอ-กลอส-ซิ-ดี้/) เป็นภาษากรีกหมายถึง "ลิ้นกระดูก" อธิบายลักษณะของปลาในกลุ่มนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตะพัด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตะกรับ

วงศ์ปลาตะกรับ (Scat, Butterfish, Spadefish) เป็นวงศ์ปลาน้ำเค็มในอันดับ Perciformes ใช้ชื่อวงศ์ว่า Scatophagidae (/สแคท-โต-ฟา-กิ-ดี้/) มีรูปร่างทั่วไปแบนข้างมาก เกล็ดละเอียดเป็นแบบสากมือ และติดแน่นกับลำตัว ครีบหลังตอนแรกเป็นครีบแข็ง ครีบหลังตอนหลังจะอ่อนนุ่ม ก้านครีบหลังก้านแรกเป็นครีบแข็งและชี้ไปด้านหน้า ครีบหางตัดตรงและมีก้านครีบจำนวนมาก ตามลำตัวจะมีจุดสีดำหรือลวดลายกระจายไปทั่วต่างกันไปตามสกุลและสายพันธุ์ มีฟันที่เพดานปากและขากรรไกร ไม่มีหนามบนกระดูกโอเปอร์คัลและกระดูกพรีโอเปอร์คัล มีเส้นข้างลำตัวโค้งและสมบูรณ์ เป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามแนวชายฝั่งทะเลเขตอบอุ่น พบตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, ทะเลแดง, เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ซูลาเวซี, อินโดนีเซีย ตลอดจนถึงโซนโอเชียเนีย พบในประเทศไทยเพียงชนิดเดียว คือ ปลาตะกรับ (Scatophagus argus) โดยปกติแล้วปลาในวงศ์นี้จะสามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดสนิทได้ แต่จะวางไข่ในที่น้ำเค็มแบบน้ำทะเล มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 30-40 เซนติเมตร มีทั้งหมด 4 ชนิด ใน 2 สกุล ซึ่งทั้งหมดนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม หรือตกเป็นเกมกีฬาและรับประทานเป็นอาหารในบางประเทศ โดยแบ่งออกเป็น สกุล Scatophagus.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตะกรับ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตะเพียน

วงศ์ปลาตะเพียน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cyprinidae, barb, carp, minnow, goldfish) โดยคำว่า Cyprinidae มาจากคำว่า kyprînos ในภาษากรีกโบราณ (κυπρῖνος แปลว่า "ปลาทอง") ประกอบด้วยปลาจำพวกปลาไน, ปลาตะเพียน, ปลาทอง และปลาซิว ถือเป็นวงศ์ที่ใหญ่ที่สุดในปลาน้ำจืด ประกอบไปด้วยชนิด มากกว่า 2,000 ชนิดใน 200 สกุล แบ่งออกได้เป็นหลายวงศ์ย่อย โดยจัดอยู่ในอันดับ Cypriniformes เป็นวงศ์ที่มีชนิดและจำนวนปลามากที่สุดในปลาน้ำจืดของไทย และมีความหลากหลายเป็นอันดับสามของโลก ปัจจุบันพบแล้วอย่างน้อย 204 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตะเพียน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตั๊กแตนหิน

วงศ์ปลาตั๊กแตนหิน หรือ วงศ์ปลาตุ๊ดตู่ (Combtooth blennies, Scaleless blennies) เป็นวงศ์ของปลาทะเลขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Blenniidae (/เบลน-นิ-อิ-ดี้/) จัดเป็นปลาจำพวกปลาเบลนนี่ หรือปลาตั๊กแตนหิน มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลหรือปลาบู่ขนาดเล็ก มีหัวทู่ขนาดใหญ่ ดวงตากลมโตอยู่ด้านหน้าของส่วนหัว เป็นปลาที่ไม่มีเกล็ด มีก้านครีบแข็งจะฝังอยู่ที่ครีบท้อง มีก้านครีบอ่อน 2-4 อัน ครีบท้องเป็นเส้นขนาดเล็ก 2 เส้นแตกต่างจากปลาบู่ อยู่ด้านหน้าครีบอกหรือครีบหู มีก้านครีบแข็งขนาดเล็กที่ครีบหลัง 3-17 อัน มีก้านครีบอ่อน 9-119 อัน มีก้านครีบแข็งที่ครีบก้น 2 อัน ครีบหางเป็นวงกลม ปากอยู่ด้านล่างของส่วนหัว จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ชนิดที่ใหญ่ที่สุดยาวถึง 52 เซนติเมตร มีลักษณะเด่นอีกประการ คือ มีฟันแหลมคมคล้ายหวีติดแน่น หรือขยับกรามที่ขากรรไกรได้ บางชนิดเป็นฟันเขี้ยว สามารถที่จะกัดสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่ามากได้ เช่น ปลาอื่น หรือแม้แต่นักดำน้ำ ขณะที่บางสกุลจะมีต่อมพิษที่ฟันเขี้ยวนี้ ส่วนมากมีสีสันที่สวยงาม โดยเฉพาะในตัวผู้ เป็นปลาทะเลส่วนมาก กระจายพันธุ์ทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก, แอตแลนติก และอินเดีย จะอาศัยอยู่ตามพื้นทะเลในระดับความลึกตั้งแต่ 2-21 เมตร โดยหลบซ่อนอยู่ในซอกรูหินใต้น้ำ เป็นปลาที่มักไม่ค่อยอยู่นิ่ง จะว่ายเข้าว่ายออกรูที่อาศัยอยู่บ่อย ๆ หรือบางครั้งโผล่มาแต่หัวเพื่อสังเกตการณ์ มีพฤติกรรมวางไข่โดยตัวเมียวางไข่ในเปลือกหอยที่ว่างเปล่า ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันดูแลไข่ มีเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้นที่พบได้ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืด หากินโดยกินตะไคร่น้ำเป็นหลัก แต่หลายชนิดก็สามารถที่จะกินเนื้อหรือสัตว์น้ำตัวเล็ก ๆ หรือแม้แต่เศษอาหารที่ปลาใหญ่กินเหลือได้ โดยหากินใกล้ ๆ รูที่อาศัยอยู่ ถือเป็นวงศ์ที่ใหญ่ ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 300 ชนิด ใน 57 สกุล นับว่ามากที่สุดในบรรดาปลาเบลนนี่ทั้งหมด ปลาในวงศ์นี้ มีความสำคัญในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมักที่จะนำมาเลี้ยงเพื่อทำความสะอาดตู้เลี้ยงเพื่อให้กำจัดตะไคร่น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตั๊กแตนหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตาเหลือก

วงศ์ปลาตาเหลือก (Tarpon, Oxeye) วงศ์ปลากระดูกแข็งในอันดับ Elopiformes ในชื่อวงศ์ว่า Megalopidae เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ มีรูปร่างโดยรวมป้อม ปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกกรามล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น และมีก้านครีบหลังอันสุดท้ายยื่นยาวเป็นเส้น เกล็ดเป็นสีเงินแวววาวตลอดทั้งลำตัว ตามีขนาดโต และมีเยื่อไขมันคลุมตาในปลาตาเหลือก (Megalops cyprinoides) เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร แต่ไม่มีฟัน เมื่อจับเหยื่อจะใช้เพียงกรามนั้นงับ ปลาในวงศ์นี้มีอยู่เพียงแค่สองชนิดเท่านั้น จัดอยู่แค่ในสกุลเดียว คือ Megalops ได้แก่ ปลาตาเหลือก (M. cyprinoides) หรือ ปลาแปซิฟิกทาร์ปอน กระจายพันธุ์อยู่แถบมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ 1.5 เมตร และ ปลาแอตแลนติกทาร์ปอน (M. atlanticus) กระจายพันธุ์อยู่ที่มหาสมุทรแอตแลนติกตั้งแต่แอฟริกาตะวันตก, อเมริกาเหนือจนถึงอเมริกาใต้ ซึ่งทั้งหมดนิยมตกเป็นเกมกีฬา และมีการเลี้ยงเป็นปลาตู้เนื่องจากความใหญ่ในรูปร่างและความสวยงามด้านสีเงินที่แวววาวของเกล็ด อีกทั้งยังมีพฤติกรรมการกินอาหารที่ว่องไว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตาเหลือก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตาเหลือกยาว

วงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Ladyfish, Tenpounder, Bigeyed herring, Tarpon, วงศ์: Elopidae) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลาตาเหลือก (Elopiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Elopidae เป็นปลาที่มีลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาตาเหลือก (Megalopidae) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในอันดับเดียวกัน กล่าวคือ มีรูปร่างเพรียวยาว ปลายหางแฉกเป็นสองแฉกเว้าลึก แบนข้าง เกล็ดมีสีเงินแวววาว ตามีความกลมโต ปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกขากรรไกรล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น เหมือนกัน แต่มีลำยาวยาวกว่า และที่ก้านครีบหลังก้านสุดท้ายไม่มีเส้นครีบยื่นยาวออกมา เป็นปลาขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1 เมตร น้ำหนักเต็มที่ประมาณ 10 กิโลกรัม มีความปราดเปรียวว่องไว หากินโดยกินปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบเขตร้อนและเขตอบอุ่น และสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ มีทั้งหมด 1 สกุล 7 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตาเหลือกยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตาเดียว

วงศ์ปลาตาเดียว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Psettodidae) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาตาเดียว (Pleuronectiformes) มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวค่อนข้างสั้น แบนข้างมาก จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่หลังตา ตาอาจอยู่ทางซีกซ้ายหรือขวาก็ได้ ครีบท้องมีก้านครีบแข็ง 1 อัน ปากกว้างมีฟันเขี้ยว มีฟันบนเพดานปาก กรามล่างยื่นยาวกว่ากรามบน ครีบหางเว้าเล็กน้อยเป็น 2 หยัก พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตามพื้นน้ำของมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแอตแลนติก มีทั้งหมดเพียง 3 ชนิด และ 1 สกุล คือ Psettodes โดยมีชนิดหนึ่งนั้นเป็นปลาเศรษฐกิจที่พบได้บ่อยและเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตาเดียว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตูหนา

วงศ์ปลาตูหนา (True eel, Freshwater eel) เป็นวงศ์ของปลาในชั้นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Anguillidae (/แอน-กิล-ลิ-ดี้/) โดยมาจากภาษาลาตินว่า "Ae" หมายถึง ปลาไหล ซึ่งปลาวงศ์นี้มักจะถูกเรียกรวมกันว่า ปลาตูหนา มีทั้งหมด 1 สกุล คือ Anguilla และมีทั้งหมด 15 ชนิด กระจายทั่วชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิกจนถึงออสเตรเลีย พบในประเทศไทยประมาณ 3–4 ชนิด ปลาวงศ์นี้มีฟันคม ปากกว้าง เขี้ยวเล็กละเอียดบนขากรรไกรเป็นร้อย ๆ ซี่ จมูกมีรูเล็ก ๆ เหมือนหลอด 2 ข้าง ใช้สำหรับดมกลิ่นเพื่อนำทางและหาอาหาร ซึ่งปลาตูหนามีประสิทธิภาพในการดมกลิ่นได้ดีกว่าปลาฉลามเสียอีก ครีบอกเป็นรูปกลมรี ครีบหลังยาวติดต่อกับครีบหางที่มนและครีบก้นที่ยาว ลำตัวดูภายนอกเหมือนไม่มีเกล็ด มีเมือกลื่นปกคลุมทั้งตัว แต่แท้จริงมีเกล็ดขนาดเล็กมากเรียงซ้อนฝังอยู่ใต้ผิวหนัง โดยไม่มีเส้นข้างลำตัว เลือดและน้ำเหลืองของปลาตูหนามีพิษ ซึ่งอาจฆ่าสุนัขให้ตายได้ เป็นปลานักล่า สามารถจับกุ้ง, ปู หรือสัตว์เปลือกแข็ง รวมทั้งปลาต่าง ๆ กิน มักอาศัยในแหล่งน้ำใส มีตอไม้, โพรงไม้ หรือซอกหินอยู่มาก อาจขุดรูอยู่ก็ได้ นอกจากบริเวณปากแม่น้ำแล้ว ยังเคยพบไกลถึงลำธารน้ำตกบนภูเขาอีกด้วย เป็นปลาที่มีวงจรชีวิตแบบ ปลาสองน้ำ คือออกไปวางไข่ในทะเลลึก ปลาวัยอ่อนจึงอพยพกลับมาเลี้ยงตัวที่ชายฝั่งหรือป่าชายเลนก่อนเข้ามาเติบโตในน้ำจืดที่ไกลจากทะเลนับร้อย ๆ กิโลเมตร ลูกปลามีตัวใส เรียวยาวดูคล้ายวุ้นเส้น โดยปกติแล้วเป็นปลาที่มีนิสัยรักสงบ แต่จะดุร้ายมากเมื่อถูกจับได้ มีรายงานว่าปลาบางตัวมีอายุมากได้ถึง 105 ปี และอาจยาวได้ถึง 8 ฟุต ในทะเลสาบน้ำจืดที่นิวซีแลนด์พบบางตัวมีน้ำหนักมากกว่า 100 ปอนด์Flesh Ripper, "River Monsters".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาตูหนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาฉลามพยาบาล

วงศ์ปลาฉลามพยาบาล (Nurse shark, Sleepy shark) เป็นวงศ์ของปลากระดูกอ่อนในอันดับปลาฉลามวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Ginglymostomatidae จัดอยู่ในอันดับปลาฉลามกบ (Orectolobiformes) มีรูปร่างโดยรวม คือ ช่องสไปราเคิลมีขนาดเล็กอยู่ด้านหลังของตา หนวดมีขนาดเล็กแต่ยาว ไม่มีร่องด้านขอบนอกของจมูก มีฟันแบบแบนข้างอยู่ทางด้านข้างของขากรรไกร มีครีบหลัง ครีบอก และครีบก้นมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบอกเรียวยาวคล้ายรูปเคียว มีร่องเชื่อมระหว่างจมูกกับปาก ปากอยู่ทางด้านหน้าของตา ตาอยู่ทางด้านหน้าของส่วนหัว ระยะจากครีบหลังครีบที่สองถึงครีบหางค่อนข้างสั้นกว่าความยาวหัว ไม่มีหนามแข็งบริเวณหน้าครีบหลัง ครีบหลังครีบแรกมีจุดเริ่มต้นตรงกับจุดเริ่มต้นของครีบท้อง ครีบหางค่อนข้างยาวมากกว่าหนึ่งในสี่ของความยาวทั้งหมดของตัวปลา จัดเป็นปลาฉลามขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในบริเวณหน้าดินหรือพื้นท้องน้ำ ขนาดใหญ่ที่สุด คือ 4 เมตร มีสีลำตัวสีเขียวหรือสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว ปกติจะอาศัยและหากินอยู่ในบริเวณหน้าดินหรือพื้นท้องน้ำ หากไม่หากินแล้วจะอยู่นิ่ง ๆ บางครั้งอาจรวมตัวกันหลายสิบตัว มักหลบอยู่ในโพรงหินใต้น้ำในเวลากลางวัน ออกหากินในเวลากลางคืน ลูกเป็นตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาฉลามพยาบาล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาฉลามครีบดำ

วงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Requim shark, Whaler shark) เป็นวงศ์ของปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาฉลามวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Carcharhinidae อยู่ในอันดับปลาฉลามครีบดำ (Carcharhiniformes) มีรูปร่างโดยรวม คือ เพรียวยาวเป็นทรงกระสวย ครีบหลังมีสองตอน โดยเฉพาะครีบหลังตอนแรกมีลักษณะแหลมสูง ดูเด่น ไม่มีหนามแข็งหน้าครีบหลัง มีช่องเปิดเหงือกห้าช่องอยู่ทางด้านข้างของส่วนหัว ส่วนใหญ่มีช่องรับน้ำขนาดเล็กอยู่หลังตา ตามีทรงกลม ปากเป็นรูปสามเหลี่ยมโค้ง ภายในมีฟันแหลมคมอยู่จำนวนมาก เป็นปลาที่มีความว่องไวปราดเปรียวมาก เป็นปลาที่ล่าเหยื่อและหากินบริเวณกลางน้ำและผิวน้ำในบางครั้ง โดยปกติแล้ว จะกินปลาชนิดอื่นเป็นอาหาร โดยอาศัยโครงสร้างฟันที่แหลมคม ประกอบกับการว่ายน้ำที่คล่องแคล่วและรวดเร็วขณะโจม แต่บางชนิดอาจมีพฤติกรรมโจมตีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล เช่น แมวน้ำ หรือสิงโตทะเล เป็นอาหารได้ด้วย จมูกมีความไวมากสำหรับการได้กลิ่น โดยเฉพาะกลิ่นคาวเลือดและได้ยินเสียงได้ไกลถึง 2 กิโลเมตร ในบางสกุลจะมีพฤติกรรมอย่รวมกันเป็นฝูง ออกลูกเป็นตัว จะอาศัยหากินในทะเลเปิดทั่วโลกในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ในบางครั้งอาจเข้าหากินได้ใกล้ชายฝั่งหรือบริเวณที่เป็นน้ำจืดหรือน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน เช่น ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinus melanopterus), ปลาฉลามหัวบาตร (C. leucas) และปลาฉลามแม่น้ำ (Glyphis spp.) ซึ่งเป็นปลาฉลามเพียงจำพวกเดียวแท้ ๆ ในกลุ่มปลาฉลามที่อาศัยและเติบโตในน้ำจืดสนิท มีทั้งหมด 12 สกุล ประมาณ 57 ชนิด โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาฉลามเสือ (Galeocerdo cuvier) ที่ยาวได้ถึง 7 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาฉลามครีบดำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาฉลามปากเป็ด

วงศ์ปลาฉลามปากเป็ด (Paddle fish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำจืดขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง ในชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Polyodontidae (มาจากภาษากรีกคำว่า "poly" หมายถึง "มาก" และ "odous" หมายถึง "ฟัน") ในอันดับปลาสเตอร์เจียน (Acipenseriformes) เป็นปลาขนาดใหญ่ ที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคครีเตเชียสตอนปลายจนถึงปัจจุบัน มีลักษณะเด่น คือ จะงอยปากแบนยาวคล้ายปากของเป็ด หรือใบพายเรือ เป็นที่มาของชื่อสามัญ ปัจจุบัน เหลือเพียง 2 ชนิด ใน 2 สกุลเท่านั้น พบในสหรัฐอเมริกา และแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีน ซึ่งเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์มากแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาฉลามปากเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาซักเกอร์

วงศ์ปลาซักเกอร์ (Sucker, Armored catfish) เป็นปลาที่มีวงศ์ใหญ่มากชนิดหนึ่งในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ มีรูปร่างโดยรวมคือ หัวโต ตาเล็ก มีจุดเด่นคือ ปากขนาดใหญ่ที่อยู่ด้านล่างที่สามารถเกาะหรือดูดกับวัสดุต่าง ๆ ในน้ำได้ มีลำตัวแข็งและหยาบกร้านดูเหมือนมีเกล็ด แต่ความเป็นจริงแล้ว นั่นคือ ผิวหนังที่พัฒนาจนแข็ง ครีบหลังและครีบหางมีขนาดใหญ่ มีหนวดสั้น บางชนิดไม่มีครีบไขมัน ที่มีครีบไขมันจะมีเงี่ยงแข็งหนึ่งอันอยู่หน้าครีบ มีลำไส้ยาว มีกระดูกสันหลัง 23-38 ข้อ หากินตามพื้นน้ำ โดยกินซากพืชซากสัตว์และสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร ใช้ชื่อวงศ์ว่า Loricariidae (/ลอ-ริ-คา-ริ-ดี/) ตัวผู้จะมีเงี่ยงแหลมยื่นออกมาเห็นได้ชัดบริเวณข้างส่วนหัวและครีบอก เรียกว่า odontodes ในขณะที่ตัวเมียท้องจะอูมกว่า เป็นปลาที่รู้จักกันดีในฐานะที่เป็นปลาสวยงาม เช่น ปลาซักเกอร์ธรรมดา (Hypostomus plecostomus) ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารที่ปลาอื่นกินเหลือ จนได้อีกชื่อนึงว่า "ปลาเทศบาล" และหลายชนิดก็มีสีสันและรูปร่างที่แปลกตา เช่น ปลาซักเกอร์พานากิ้วลาย (Panaque nigrolineatus), ปลาซักเกอร์บลูพานากิ้ว (Baryancistrus beggini), ปลาซักเกอร์ม้าลาย (Hypancistrus zebra) เป็นต้น ซึ่งผู้ที่นิยมเลี้ยงจะเลี้ยงเพื่อเป็นความสวยงาม ในแวดวงการค้าปลาสวยงามแล้ว ปลาในวงศ์นี้ถูกตั้งชื่อเป็นรหัสต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเรียกขาน ทั้งนี้เนื่องจากได้มีการค้นพบปลาในวงศ์นี้กว่า 700 ชนิด แต่หลายชนิดยังมิได้ทำการอนุกรมวิธาน จึงมีการตั้งรหัสเรียกแทน โดยใช้ตัวอักษร L (ย่อมาจากชื่อวงศ์) นำหน้าหมายเลข เช่น L-46 เป็นต้น โดยเริ่มจากนิตยสารปลาสวยงามฉบับหนึ่งของเยอรมนีในปี ค.ศ. 1988 สำหรับปลาซักเกอร์ธรรมดาแล้ว เป็นปลาที่มีความอดทนมากในการที่อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ จึงสามารถทนกับสภาพแวดล้อมทางน้ำของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันกรมประมงได้ประกาศให้เป็นปลาที่ต้องห้าม ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาที่มันแพร่พันธุ์ในแหล่งน้ำธรรมชาติมากจนเกินไปจนกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่คุกคามสัตว์น้ำพื้นเมือง สำหรับชื่อสามัญในภาษาอังกฤษแล้ว ยังเรียกปลาในวงศ์นี้อีกว่า "เพลโก" (Pleco) หรือ "เอลเก อีตเตอร์" (Algae eater) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาซักเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปอดแอฟริกา

วงศ์ปลาปอดแอฟริกา (วงศ์: Protopteridae; African lungfish) เป็นวงศ์ของปลาในชั้นปลาที่มีครีบเป็นพู่ (Sarcopterygii) ในชั้นย่อยปลาปอด (Dipnoi) ในอันดับ Lepidosireniformes หรือปลาปอดยุคใหม่ (ร่วมอันดับเดียวกับปลาปอดอเมริกาใต้).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาปอดแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปักเป้ากล่อง

วงศ์ปลาปักเป้ากล่อง หรือ วงศ์ปลาปักเป้าเหลี่ยม (วงศ์: Ostraciidae; Boxfish, Cofferfish, Trunkfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ostraciidae ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ลักษณะของปลาในวงศ์นี้ จะมีรูปทรงป้อมเป็นรูปสี่เหลี่ยม รูปทรงและการเคลื่อนไหวจะมีความคล่องแคล่วกว่าปลาปักเป้าในวงศ์อื่น และมักจะมีขนาดเล็ก มีสีสันลวดลายสวยงาม เกล็ดเป็นรูปทรงหกเหลี่ยมเรียงตัวต่อกัน อีกทั้งปลาในวงศ์นี้มีพิษที่ต่างออกไปจากปลาปักเป้าในวงศ์อื่น กล่าวคือ มีสารพิษชนิดออสทราซิท็อกซิน (Ostracitoxin) ที่ผลิตขึ้นมาจากต่อมที่ผิวหนัง และสามารถขับออกมาพร้อมกับเมือกที่หุ้มตัวอยู่ ซึ่งสามารถละลายในน้ำได้ ซึ่งพิษชนิดนี้จะเป็นพิษกับปลาด้วยกัน ทำให้ปลาอื่นที่อยู่บริเวณเดียวกันเมื่อได้รับสารพิษตายได้ ซึ่งจะขับออกมาเมื่อได้รับความเครียดหรือตื่นตกใจ อันเป็นกลไกลหนึ่งในการป้องกันตัว ปลาปักเป้ากล่อง มีการกระจายพันธุ์เฉพาะในทะเลเท่านั้น ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก พบทั้งหมด 33 ชนิด ใน 9 สกุล (ดูในตาราง) บางชนิดอาจมีระยางค์แหลม ๆ ยื่นออกมาเหนือบริเวณส่วนแลดูคล้ายเขาด้วย ในน่านน้ำไทยพบด้วยกัน 3 ชนิด อาทิ ปลาปักเป้ากล่องเหลืองลายจุดดำ (Ostracion cubicus) โดยคำว่า Ostraciidae นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "ostracum" หมายถึง "เปลือกหอย".

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาปักเป้ากล่อง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปากแตร

ำหรับปลาในวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลาสามรส วงศ์ปลาปากแตร (Cornetfish, Trumpetfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำเค็มวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aulostomidae (มาจากภาษากรีกคำว่า "Aulos" หมายถึง "แตร" และ "stoma" หมายถึง "ปาก") ลักษณะสำคัญของปลาในวงศ์นี้ คือ ปากที่ยาวยื่นออกและโป่งออกบริเวณปลายปากเล็กน้อย คล้ายลักษณะของแตรหรือท่อ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ปลายขากรรไกรล่างมีติ่งเนื้อคล้ายหนวด ครีบหลังมี 2 ตอนตอนหน้าเป็นก้านครีบแข็ง 8-12 ชิ้น เก็บอยู่ใช้สำหรับป้องกันตัวเอง ครีบหลังอันที่ 2 และครีบก้นอยู่ค่อนไปเกือบติดครีบหาง ครีบท้องอยู่กึ่งกลางลำตัว เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้า จึงมักแฝงตัวอยู่กับปลาอื่น ๆ เช่น ปลานกขุนทอง, ปลานกแก้วหรือปลาแพะ เพื่อหาโอกาสเข้าใกล้อาหาร ได้แก่ กุ้งและลูกปลา ปลาวัยอ่อนที่ป้องกันตัวเองไม่ได้ จะพรางตัวอยู่ตามแส้ทะเลหรือกัลปังหา มักพบพฤติกรรมนี้ในยามค่ำคืน วงศ์ปลาปากแตร มีเพียงสกุลเดียว คือ Aulostomus พบเพียง 3 ชนิดเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาปากแตร · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปิรันยา

วงศ์ปลาปิรันยา เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำจืดวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Serrasalmidae (มีความหมายว่า "วงศ์ปลาแซลมอนที่มีฟันเลื่อย") ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) พบทั้งหมดในปัจจุบัน 16 สกุล (ดูในตาราง) 92 ชนิด ปลาในวงศ์นี้มีชื่อเรียกโดยรวม ๆ กัน เช่น ปลาปิรันยา, ปลาเปคู หรือปลาคู้ และปลาซิลเวอร์ดอลลาร์ เดิมทีเคยเป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) ใช้ชื่อว่า Serrasalminae (ในปัจจุบันบางข้อมูลหรือข้อมูลเก่ายังใช้ชื่อเดิมอยู่).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาปิรันยา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลานกกระจอก

ปลานกกระจอก หรือ ปลาบิน (Flying fish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Exocoetidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาวมาก ค่อนข้างกลม จะงอยปากสั้นทู่สั้นกว่าตา ปากเล็ก ไม่มีฟัน ไม่มีก้านครีบแข็งที่ทุกครีบ ครีบหูขยายใหญ่ยาวถึงครีบหลัง ครีบท้องขยายอยู่ในตำแหน่งท้อง ครีบหางมีแพนล่างยาวกว่าแพนบน ครีบหางเว้าลึกแบบส้อม เส้นข้างลำตัวอยู่ค่อนลงทางด้านล่างของลำตัว เกล็ดเป็นแบบขอบบางไม่มีขอบหยักหรือสาก หลุดร่วงง่าย จัดเป็นปลาทะเลขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก โดยพบในทะเลที่ห่างจากชายฝั่งพอสมควร ส่วนใหญ่มีลำตัวสีเขียว หรือสีน้ำเงินหม่น ข้างท้องสีขาวเงิน เป็นปลาที่มีลักษณะเด่น คือ นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูงและหากินบริเวณผิวน้ำ มีความคล่องแคล่วว่องไว มีจุดเด่น คือ เมื่อตกใจหรือหนีภัยจะกระโดดได้ไกลเหมือนกับร่อนหรือเหินไปในอากาศเหมือนนกบิน ซึ่งอาจไกลได้ถึง 30 เมตร ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของตัวปลาและจังหวะ อันเป็นที่มาของชื่อ โดยใช้ครีบอกหรือครีบหูที่มีขนาดใหญ่มากเป็นตัวพยุงช่วย ในขณะที่บางชนิดมีครีบก้นที่มีขนาดใหญ่ร่วมด้วย ปลานกกระจอกเมื่อกระโดดอาจกระโดดได้สูงถึง 7-10 เมตร ด้วยความเร็วประมาณ 65 กิโลเมตร/ชั่วโมง และสามารถอยู่บนกลางอากาศได้นานอย่างน้อย 10 วินาที วางไข่ไว้ใต้กอวัชพืชหรือขยะที่ลอยตามกระแสน้ำ เพื่อให้เป็นที่พำนักของลูกปลาเมื่อฟักแล้ว เนื่องจากไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ พบมากกว่า 50 ชนิดทั่วโลก แบ่งออกเป็น 8 สกุล (ดูในตาราง) เป็นปลาที่ขี้ตื่นตกใจ และตายง่ายมากเมื่อพ้นน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลานกกระจอก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลานกขุนทอง

วงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) เป็นวงศ์ของปลาทะเลปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Labridae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวค่อนข้างยาว แบนข้าง ริมฝีปากหนา สามารถยืดหดได้ กระดูกพรีแม็คซิลลารี เพดิเคิลส์เจริญดี โดยปกติมีฟันแบบฟันเขี้ยวแหลม หรือฟันตัดเพียงแถวเดียว ฟันที่หลอดคอมีขนาดใหญ่พัฒนาดี ไม่มีฟันบนกระดูกโวเมอร์และกระดูกพาลาติน เกล็ดที่ปกคลุมลำตัวมีขนาดใหญ่เป็นแบบขอบเรียบ เส้นข้างลำตัวอาจขาดตอนหรือสมบูรณ์ เป็นปลาที่มีสีสันสดใสสวยงาม รูปร่างลำตัวมีหลายรูปแบบ อาศัยอยู่ในแนวปะการัง หรือกองหินใต้น้ำ มีขนาดรูปร่างแตกต่างหลากหลายกันมาก ตั้งแต่มีความยาวเพียง 20 เซนติเมตร ไปจนถึงเกือบ 3 เมตร ในปลานกขุนทองหัวโหนก (Cheilinus undulatus) ซึ่งเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ และจัดเป็นปลากระดูกแข็งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งที่พบได้ในแนวปะการัง มี 82 สกุล พบมากกว่า 600 ชนิด นอกจากปลานกขุนทองหัวโหนกแล้ว ยังมีชนิดอื่น ๆ ที่รู้จักกันดี อาทิ ปลานกขุนทอง (Halichoeres kallochroma) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลานกขุนทอง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลานกแก้ว

ปลานกแก้ว (parrotfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งในวงศ์ Scaridae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่มีประมาณ 30-70 เซนติเมตร มีลักษณะทั่วไปคล้ายคลึงกับปลาในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) อาศัยอยู่ตามแนวปะการังเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในน่านน้ำไทยพบได้ในฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน พบมากกว่า 20 ชนิด เป็นปลาที่มีฟันแหลมคมคล้าย ๆ จะงอยของนกแก้วอันเป็นที่มาของชื่อเรียก จะงอยปากยืดหดได้ เกล็ดมีขนาดใหญ่ เส้นข้างลำตัวขาดตอน ครีบหางกลมมนหรือตัดตรง เป็นปลาที่กินฟองน้ำ, ปะการังหรือสาหร่ายเป็นอาหาร บ่อยครั้งจะพบรวมฝูงขณะหาอาหาร เวลาว่ายนำจะดูสง่างามเหมือนนกกำลังบินในอากาศ ปลานกแก้วเป็นปลาที่มีสีสันสวยงาม โดยปลาตัวผู้จะมีสีสันสวยงามปลาตัวเมีย ลำตัวรียาว ส่วนใหญ่มีครีบหางแบบเว้าโดยขอบบนและขอบล่างของครีบหางมักยื่นยาวออก มีฟันคล้าย ๆ จะงอยปากนกแก้วเพื่อนำมาใช้ขูดกินปะการัง และมีฟันอีกชุดในคอหอยด้วย ซึ่งเมื่อกัดแทะนั้นจะเกิดเป็นเสียง เวลาถ่ายจะถ่ายออกมาเป็นผงตะกอนซึ่งมีประโยชน์ต่อแนวปะการัง สามารถเปลี่ยนเพศได้ ออกหากินในเวลากลางวัน นอนหลับในเวลากลางคืน เมื่อนอนปลานกแก้วจะนอนตามซอกหินแล้วปล่อยเมือกออกมาห่อหุ้มร่างกายเพื่อป้องกันอันตรายจากพวกสัตว์ทะเลต่าง ๆ เช่น พวกหนอนพยาธิหรือปรสิตที่จะมาทำร้ายหรือมารบกวน เป็นปลาที่สวยงาม จึงนิยมนำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และรับประทานเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลานกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแบล็คโกสต์

วงศ์ปลาแบล็คโกสต์ (Ghost knifefish, Apteronotid eel) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำจืดวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาไหลไฟฟ้า (Gymnotiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Apteronotidae เป็นวงศ์ปลาที่มีรูปร่างเพรียวยาวและแบนข้างมากเหมือนใบมีดหรือขนนก มีครีบหาง, ครีบท้อง และครีบหลังมีลักษณะเป็นเส้นยาว อยู่แนวกลางหลัง ตาของปลาในวงศ์นี้จะมีขนาดเล็ก และมีความสามารถพิเศษในการสร้างกระแสไฟฟ้าอ่อน ๆ ได้ และอาจได้ถึง 750 Hz เมื่อโตเต็มที่ ซึ่งกระแสไฟฟ้านี้มีไว้สำหรับหาอาหารและใช้นำทาง ไม่ได้ใช้ในการป้องกันตัวหรือล่าเหยื่อแต่อย่างใด เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน กระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้แถบประเทศปานามา นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยชนิดที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุด คือ ปลาแบล็คโกสต์ (Apteronotus albifrons).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแบล็คโกสต์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแพะ

วงศ์ปลาแพะ (Armored catfish, Cory catfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Callichthyidae เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ขนาดโดยทั่วไปแล้วมีขนาดประมาณ 3-5 นิ้ว โดยพัฒนาผิวหนังลำตัวให้แข็งเหมือนเกราะเพื่อป้องกันตัวจากศัตรู มีลักษณะโดยรวม คือ ลำตัวป้อมกลม ส่วนหัวค่อนข้างโตกว่าส่วนอื่น ๆ มีหนวดยื่นออกมาริมปากซึ่งงุ้มลงด้านล่างเพื่อเป็นประสาทสัมผัสในการหาอาหาร ซึ่งหนวดที่ว่านี้มีลักษณะคล้ายกับหนวดเคราของแพะ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก เป็นปลาที่หากินตามพื้นท้องน้ำ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยกินอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็ก และเศษซากพืช ซากสัตว์ พบกระจายพันธุ์ในหลายแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ จัดเป็นวงศ์ปลาที่มีสมาชิกจำนวนมาก สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย 9 สกุล (ดูในตาราง) ประมาณ 177 ชนิด โดยมีความสำคัญในแง่ของการเป็นปลาเศรษฐกิจในทวีปอเมริกาใต้ ในบางชนิด และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกัน ด้วยว่าเป็นปลาที่มีนิสัยเรียบร้อย ไม่ดุร้ายก้าวร้าว จึงทำให้เป็นที่นิยมมาก โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลากดเกราะ (Hoplosternum littorale) ที่มีขนาดยาวเต็มที่ 24 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแพะ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแพะ (ปลาทะเล)

วงศ์ปลาแพะ หรือ วงศ์ปลาหนวดฤๅษี (Mullidae) เป็นวงศ์ของปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยกระดูกแข็ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mullidae มีรูปร่างโดยรวม คือ มีเกล็ดขนาดใหญ่มีลักษณะเป็นแบบสากเล็กน้อย ส่วนหัวมีเกล็ด ครีบหลังมีสองตอน ตอนแรกมีก้านครีบแข็ง 6-8 ก้าน ครีบ มีครีบหางแบบเว้าลึก ใต้คางมีหนวด 1 คู่ ที่ไวต่อความรู้สึก ใช้สำหรับคุ้ยเขี่ยหาอาหารตามหน้าดิน เช่น พื้นทราย ซึ่งดูแล้วเหมือนหนวดเคราของแพะ อันเป็นที่มาของชื่อ พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งและแนวปะการังเขตร้อนและเขตอบอุ่น ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก, แอตแลนติก, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมหาสมุทรอินเดีย โดยอยู่รวมกันเป็นฝูง แบ่งออกได้เป็น 6 สกุล (ดูในตาราง) ประมาณ 55 ชนิด ในน่านน้ำไทยพบได้หลายชนิด อาทิ ปลาแพะเหลืองทอง (Parupeneus heptacanthus), ปลาแพะลาย (Upeneus tragula), ปลาแพะเหลือง (U. sulphureus), ปลาแพะขนุน (Mulloidichthys flavolineatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแพะ (ปลาทะเล) · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแมว

วงศ์ปลาแมว หรือ วงศ์ปลากะตัก หรือ วงศ์ปลาหางไก่ (Anchovy) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็ง ในอันดับ Clupeiformes อันเป็นอันดับเดียวกับวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Engraulidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแมว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแมงป่อง

วงศ์ปลาแมงป่อง หรือ วงศ์ปลาสิงโต (Firefish, Goblinfish, Rockfish, Scorpionfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเล หาได้ยากในน้ำจืด ในอันดับปลาแมงป่อง (Scorpaeniformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Scorpaenidae เป็นปลาที่เป็นที่รู้จักกันดีในอันดับนี้ มีครีบต่าง ๆ ใหญ่ โดยเฉพาะครีบอก ลำตัวหนาและแบนข้าง หลายชนิดมีสีสันสวยงาม บางชนิดมีลักษณะที่กลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม ส่วนหัวมีหนามหรือมีเงี่ยง ก้านครีบแข็งต่าง ๆ มีพิษ ซึ่งพิษเหล่านี้ร้ายแรงมาก เป็นสารประกอบโปรตีน ผู้ที่โดนทิ่มจะรู้สึกเจ็บปวดแสบร้อนมาก ซึ่งพิษนี้มีไว้สำหรับการป้องกันตัว มิได้มีไว้เพื่อล่าเหยื่อแต่ประการใด ส่วนมากมักจะอาศัยและหากินบริเวณพื้นน้ำ โดยอาจพบได้ลึกถึง 2,200 เมตร (7,200 ฟุต) โดยกินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำมีเปลือกเป็นอาหาร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามหรือแสดงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ เป็นปลาที่ไม่ใช้เนื้อเป็นอาหารหรือเพื่อการบริโภค ยกเว้นแต่ในประเทศญี่ปุ่น, จีน และฮ่องกง ที่นิยมรับประทาน เพราะเนื้อแน่น มีรสชาติดี สำหรับในน่านน้ำไทยพบปลาในวงศ์นี้ไม่น้อยกว่า 25 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแมงป่อง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแสงอาทิตย์

ปลาแสงอาทิตย์วัยอ่อน ขนาด 1 มิลลิเมตร วงศ์ปลาแสงอาทิตย์ หรือ วงศ์ปลาโมลา (Mola, Sunfish, Headfish, Trunkfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Molidae (/โม-ลิ-ดี้/) มีลำตัวกลมรูปไข่ แบนข้างมาก ตามีขนาดเล็ก ช่องเปิดเหงือกที่ขนาดเล็ก ปากอยู่ในตำแหน่งตรงมีขนาดเล็กฟันทั้งสองข้างเชื่อมต่อกันมีลักษณะคล้ายปากนก ครีบหลังและครีบก้นอยู่ตรงข้ามกัน ครีบอกมีเล็ก ไม่มีครีบท้อง ในน่านน้ำไทยส่วนใหญ่พบทางฝั่งทะเลอันดามัน ส่วนหางของลำตัวตัดตรง ไม่มีครีบหาง ปกติเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทรเข้ามาในเขตน้ำตื้นโดยบังเอิญหรือติดมากับอวนของชาวประมงที่ออกไปทำการประมงในมหาสมุทร เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้า เนื่องจากรูปร่าง กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอนสัตว์, แมงกะพรุน และสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ขณะที่ว่ายน้ำจะใช้ครีบก้นและครีบหาง ขณะที่ครีบอกจะใช้ควบคุมทิศทาง มีถุงลมขนาดใหญ่ ปากรวมทั้งเหงือกจะพ่นน้ำออกมาเพื่อเป่าทรายเหมือนเครื่องยนต์เจ็ตเพื่อค้นหาอาหารที่ใต้ทรายอีกด้วย แบ่งออกเป็น 3 สกุล 4 ชนิด โดยชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดและพบได้บ่อย คือ ปลาแสงอาทิตย์ (Mola mola) ซึ่งเป็นชนิดที่มีความใหญ่ที่สุดด้วย โดยสามารถโตเต็มที่ได้ถึง 3 เมตร น้ำหนักกว่า 2 ตัน ซึ่งนับเป็นปลากระดูกแข็งที่มีน้ำหนักมากที่สุดในโลก และถือเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในอันดับนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแค้

วงศ์ปลาแค้ (Goonch.) เป็นปลาหนังหรือปลาไม่มีเกล็ดวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาหนัง ที่แตกต่างจากวงศ์อื่นคือ ส่วนหัวโต ปากกว้างมากและอยู่ด้านล่าง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Sisoridae (/ไซ-ซอ-ริ-ดี/).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแค้ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแป้น

ระวังสับสนกับปลาวงศ์อื่น ดูที่: วงศ์ปลาแป้นแก้ว ระวังสับสนกับปลาวงศ์อื่น ดูที่: วงศ์ปลาดอกหมาก ปลาแป้น (Ponyfish, Slipmouth, Slimy; วงศ์: Leiognathidae) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Leiognathidae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) เป็นปลาขนาดเล็ก ลำตัวค่อนข้างสั้น มีเกล็ดแบบสาก ปากเล็กยืดหดได้มากจนดูคล้ายเป็นท่อ ครีบหลังมีอันเดียวมีก้านครีบแข็ง 8-11 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 3-5 ครีบหางเว้า มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงในชายฝั่งใกล้แหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืด พบทั้งหมด 3 สกุล 24 ชนิด เป็นปลาเศรษฐก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแป้น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแป้นแก้ว

ระวังสับสนกับปลาวงศ์อื่น ดูที่: วงศ์ปลาแป้น วงศ์ปลาแป้นแก้ว (วงศ์: Ambassidae อดีตเคยใช้ Chandidae; Asiatic glassfish) วงศ์ปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง พบทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย และทะเล มีลักษณะโดยรวมมีรูปร่างเป็นรูปไข่ ส่วนหัวและท้องกว้าง ลำตัวแบนข้าง หัวโต ตาโต ปากกว้าง ครีบหลังแบ่งออกได้เป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นก้ามแข็งแรงและแหลมคม ตอนหลังเป็นครีบอ่อน ครีบหางเว้าลึก ครีบก้นมีก้านแข็ง 3 ชิ้น ครีบท้องมีก้านแข็ง 1 ชิ้น ครีบอกเล็ก ลำตัวโดยมากเป็นสีใสหรือขุ่นจนสามารถมองเห็นกระดูกภายในลำตัวได้ ด้านท้องมีสีเงิน เป็นปลากินเนื้อ มักอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ เป็นปลาขนาดเล็กมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 10 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในเขตอบอุ่นของชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียจนถึงฟิลิปปินส์และออสเตรเลีย มีทั้งหมด 8 สกุล 49 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบในน้ำจืด 5 ชนิด โดยชนิดที่พบมากที่สุดคือ ปลาแป้นแก้ว (Parambassis siamensis) และชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลาแป้นแก้วยักษ์ (P. wolffii) มีชื่อสามัญเรียกโดยรวมว่า "แป้นแก้ว" หรือ "แป้นกระจก" หรือ "กระจก" หรือ "ข้าวเม่า" ในภาษาถิ่นเหนือเรียกว่า "แว่น" ในภาษาอีสานเรียกว่า "คับของ" หรือ "ปลาขี้ร่วง" มีความสำคัญคือเป็นปลาเศรษฐกิจใช้บริโภคในพื้นถิ่น เช่น บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำภาคกลาง โดยทำปลาแห้งและบริโภคสด อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามด้วย โดยมักฉีดสีเข้าในลำตัวปลา เป็นสีสันต่าง ๆ เช่น สีเหลือง, สีส้ม, สีน้ำเงิน และเรียกกันในแวดวงปลาสวยงามว่า "ปลาเรนโบว์" หรือ "ปลาสายรุ้ง" ซึ่งเมื่อเลี้ยงนานเข้า สีเหล่านี้จะหลุดหายไปเอง โดยที่ปลาไม่ได้รับอันตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาแป้นแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาใบมีดโกน

วงศ์ปลาใบมีดโกน หรือ วงศ์ปลาข้างใส (Razorfish, Shrimpfish, Snipefish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Centriscidae มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับปลาวงศ์อื่นทั่วไปในอันดับนี้ คือ มีปากยาวเหมือนท่อ ไม่มีฟัน ไม่มีกราม กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอนสัตว์ ลำตัวปกคลุมด้วยแผ่นกระดูกใส ครีบหลังมี 2 อันและอยู่ในแนวราบ ครีบหางกลมมน บางชนิดลำตัวใส บางชนิดมีแถบคาดตามยาวสีดำ มีพฤติกรรมที่มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างไปจาก ปลาวงศ์อื่นในอันดับเดียวกัน คือ จะตั้งตัวทรงเป็นมุมฉากกับพื้นทะเลเหนือ แม้จะว่ายน้ำก็จะว่ายไปในลักษณะเช่นนี้ จะอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง อาศัยอยู่ร่วมกับสัตว์น้ำอย่างอื่น ได้แก่ ปะการัง, ปะการังอ่อน และเม่นทะเล บางครั้งจะเข้าไปอาศัยหลบภัยในหนามของเม่นทะเล อีกทั้งมีพฤติกรรมการขยายพันธุ์ ด้วยการปล่อยไข่ให้ล่องลอยไปในกลางทะเล โดยไม่มีพฤติกรรมการตั้งท้องเหมือนปลาจิ้มฟันจระเข้หรือม้าน้ำ ตัวอ่อนจะอาศัยอยู่กลางทะเลลึก ก่อนที่โตขึ้นและกลับมาอาศัยอยู่ในแนวปะการังและชายฝั่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาใบมีดโกน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาใบโพ

วงศ์ปลาใบโพ (Sicklefish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Drepaneidae มีลักษณะลำตัวป้อมสั้นเกือบกลม ด้านข้างแบนข้างมาก หัวใหญ่ จะงอยปากสั้น ครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นส่วนเงี่ยงแข็งมีทั้งหมด 13-14 ก้าน ตอนหลังเป็นครีบอ่อนมีทั้งหมด 19-22 ก้าน ครีบก้นมีทั้งหมด 3 ก้านครีบแข็ง และก้านครีบอ่อน 17-19 ก้าน ครีบอกยาวกว่าความโค้งของส่วนหัว พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบอินโด-แปซิฟิกและแอฟริกาตะวันออก มีทั้งหมด 3 ชนิด เพียงสกุลเดียว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาใบโพ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้

วงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้ (Leaffish) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็งในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Polycentridae.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาไหลมอเรย์

ปลาไหลมอเรย์ หรือ ปลาหลดหิน (Moray eel, Moray) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Muraenidae อยู่ในอันดับปลาไหล (Anguilliformes) มีรูปร่างเรียวยาวเหมือนปลาไหลทั่วไป ไม่มีครีบอก ครีบหลังเชื่อมต่อกับครีบก้นและครีบหาง โดยมีจุดเด่นร่วมกันคือ มีส่วนปากที่แหลม ไม่มีเกล็ดแต่มีหนังขนาดหนาและเมือกลื่นแทน เหงือกของปลาไหลมอเรย์ยังลดรูป เป็นเพียงรูเล็ก ๆ อยู่ข้างครีบอกที่ลดรูปเหมือนกัน เลยต้องอ้าปากช่วยหายใจเกือบตลอดเวลา คล้ายกับการที่อ้าปากขู่ นอกจากนี้แล้วภายในกรามยังมีกรามขนาดเล็กซ้อนกันอยู่ข้างใน ซึ่งปกติจะอยู่ในช่วงคอหอย แต่จะออกมาซ้อนกับกรามใหญ่เมื่อเวลาอ้าปาก ใช้สำหรับจับและขบกัดกินอาหารไม่ให้หลุด ปลาไหลมอเรย์เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน โดยการล่าเหยื่อด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางกลิ่น ที่เป็นแท่งเล็ก ๆ ยื่นอยู่ตรงปลายปาก 2 แท่ง คล้ายจมูก ซึ่งอวัยวะส่วนนี้มีความไวต่อกลิ่นมาก โดยเฉพาะกลิ่นคาวแบบต่าง ๆ เช่น กลิ่นเลือดหรือกลิ่นของสัตว์ที่บาดเจ็บมีบาดแผล อาหารได้แก่ ปลาทั่วไป รวมถึงสัตว์ที่มีกระดองแข็งเช่น กุ้ง, กั้ง, ปู รวมถึงหมึกด้วย โดยปกติแล้วปลาไหลมอเรย์จะอาศัยอยู่ตามโพรงหินหรือซอกปะการังในแนวปะการัง โดยยื่นแต่เฉพาะส่วนหัวโผล่ออกมาราว 1/4 ของความยาวลำตัว พร้อมกับอ้าปากส่ายหัว เพื่อป้องกันถิ่นที่อยู่อาศัยและหาเหยื่อ ที่จะออกมาว่ายน้ำนั้นจะเป็นช่วงเวลากลางคืนที่หาอาหาร ปลาไหลมอเรย์มีกรามที่แข็งแรงและฟันที่แหลมคม แม้จะมีหน้าตาน่ากลัว แต่ไม่ใช่เป็นปลาที่ดุร้าย กลับกันกลับเป็นปลาที่รักสงบ แต่จะจู่โจมใส่ผู้ที่บุกรุก โดยหลายครั้งที่นักประดาน้ำไปเผลอรบกวนโดยไม่ได้ตั้งใจ ก็อาจถูกกัดเป็นแผลเหวอะหวะถึงขั้นนิ้วขาดได้ เพราะฟันที่แหลมคมและการกัดที่ไม่ปล่อย และอีกช่วงที่ปลาไหลมอเรย์จะดุร้าย คือ ในฤดูผสมพันธุ์ ปลาไหลมอเรย์ มีทั้งหมดราว 70 ชนิด พบในทะเลเขตร้อนและอบอุ่นทั่วโลก ส่วนใหญ่มีสีสันและลวดลายสวยงามแตกต่างกันออกไปตามแตค่ละชนิดหรือสกุล แบ่งออกเป็น 2 วงศ์ย่อย ในบางชนิดที่มีขนาดเล็ก จะไม่ความยาวไม่เกิน 2 ฟุตและอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ขณะที่ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาไหลมอเรย์ยักษ์ (Gymnothorax javanicus) ยาวได้ถึง 3 เมตร น้ำหนัก 36 กิโลกรัม.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาไหลมอเรย์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาไหลนา

วงศ์ปลาไหลนา (Swamp eel, Amphibious fish; কুঁচেমাছ) เป็นวงศ์ปลากินเนื้อ พบในน้ำจืดและน้ำกร่อยของทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา โดยกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในเขตอบอุ่น พบตั้งแต่พื้นที่ชุ่มน้ำและถ้ำในทวีปแอฟริกา, ตะวันออกกลาง, เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงโซนโอเชียเนีย ใช้ชื่อวงศ์ว่า Synbranchidae (/ซิน-แบรน-ชิ-ดี้/) โดยพบอยู่ทั้งหมด 18 ชนิด มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงู ตามีขนาดเล็ก มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นเส้นเลือดฝอยในคอหอย ไม่มีครีบหรืออวัยวะใด ๆ ที่ช่วยในการว่ายน้ำ เว้นแต่บริเวณปลายหางจะแผนแบนคล้ายใบพาย ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด มีลำตัวลื่นมาก เพราะมีเมือกเยอะ เกล็ดมีขนาดเล็กฝังในลำตัว เมื่อยังเล็กจะมีครีบอก เมื่อโตขึ้นจะหายไป เป็นปลาที่สามารถ เปลี่ยนเพศได้ (Hermphrodite) โดยช่วงแรกจะเป็นเพศเมีย และจะกลายเป็นเพศผู้เมื่อโตขึ้น ด้านน้ำหนักเพศเมียจะมีน้ำหนักตั้งแต่ 100-300 กรัม เพศผู้มีน้ำหนักมากกว่า 400 กรัม ออกหากินในเวลากลางคืน กินเนื้อเป็นอาหาร โดยสามารถกินอาหารได้หลากหลาย แม้กระทั่งซากสัตว์หรือซากพืชที่เน่าเปื่อย มีพฤติกรรมขุดรูอยู่ในพื้นโคลนตม หรือตามตลิ่งน้ำ ชอบรวมตัวกันอาหาร เป็นปลาที่สามารถปรับสภาพให้อาศัยอยู่ได้ในทุกสิ่งแวดล้อม ในฤดูร้อน สามารถขุดรูลึกลงไป 1-1.2 เมตร เพื่อจำศีลได้ สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาไหลนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Archer fishes) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับ Perciformes ใช้ชื่อวงศ์ว่า Toxotidae (/ท็อก-ออท-อิ-ดี้/; มาจากคำว่า "Toxots" เป็นภาษากรีกหมายถึง "นักยิงธนู").

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเสือตอ

วงศ์ปลาเสือตอ (Siamese tiger fishes) เป็นปลากระดูกแข็งจัดอยู่ในกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Datnioididae (/แดท-นี-โอ-นอย-เด-อา/) และมีเพียงสกุลเดียว คือ Datnioides (/แดท-นี-โอ-นอย-เดส/).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาเสือตอ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเหล็กใน

วงศ์ปลาเหล็กใน หรือ วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้แคระ (วงศ์: Indostomidae; Armoured stickleback, Paradox fish) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ที่อยู่ในอันดับ Gasterosteiformes มีความคล้ายคลึงกับม้าน้ำและปลาจิ้มฟันจระเข้มาก มีเพียงสกุลเดียวเท่านั้นคือ Indostomus โดยปลาชนิดแรกของวงศ์นี้ถูกค้นพบเมื่อปี ค.ศ. 1920 ที่ทะเลสาบอินดอว์จี ในรัฐคะฉิ่น ของประเทศพม่า ลักษณะโดยรวมของปลาในวงศ์นี้คือ มีส่วนหัวและปากสั้น ตาโต มีวงเกล็ดของลำตัวน้อย ส่วนหางเรียงเล็ก มีครีบหลังเป็นก้านแข็งสั้นๆ ที่ตอนหน้าของลำตัว และเป็นครีบอ่อนที่ตอนกลาง มีทั้งครีบอก ครีบท้องอันเล็ก ครีบก้นและครีบหางเป็นรูปพัด ตัวมีสีน้ำตาลอ่อนถึงคล้ำ และมีลายสีคล้ำประ ครีบใส มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 3 เซนติเมตร ทำให้แลดูคล้ายเหล็กในของแมลงหรือแมงบางจำพวก มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีไม้น้ำขึ้นอย่างหนาแน่นรวมถึงในพื้นที่พรุด้วย โดยดูดกินแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร มีการขยายพันธุ์คล้ายม้าน้ำ คือ ตัวเมียวางไข่บนใบพืชน้ำ และตัวผู้เป็นผู้ดูแลไข่ แพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ พม่า, ไทย, ลุ่มแม่น้ำโขง, มาเลเซีย จนถึงปัจจุบันนี้ ค้นพบแล้ว 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาเหล็กใน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเข็ม

วงศ์ปลาเข็ม (Wrestling halfbeak, Halfbeak) เป็นวงศ์ของปลาจำพวกหนึ่ง ที่พบได้ทั้งในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Hemiramphidae เดิมเคยถูกจัดให้เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ปลานกกระจอก (Exocoetidae) ซึ่งเป็นปลาทะเล มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ ลำตัวเรียวยาว ท่อนหัวค่อนข้างกลม ท่อนหางแบนข้าง ปากล่างยื่นยาวเป็นจะงอยแหลมคล้ายปากนก ปากบนสั้นเป็นรูปสามเหลี่ยม มีฟันรูปสามเหลี่ยมอยู่ที่ปากบนและมีฟันที่ปากล่างมีเฉพาะบริเวณที่อยู่ใต้ปากบน แต่ในบางชนิดมีฟันที่ปากล่างเรียงเป็นแถวตลอดทั้งปาก ส่วนโคนของปากล่างเชื่อมติดต่อกันกับกะโหลกหัวจึงเคลื่อนไหวไม่ได้ ปากบนเท่านั้น มีเกล็ดแบบสาก ครีบทั้งหมดบางใส ครีบหลังและครีบก้นอยู่ใกล้ครีบหาง ตำแหน่งของครีบหางและขนาดของครีบก้นเป็นลักษณะสำคัญในการจำแนกสกุล ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก ครีบอกค่อนข้างใหญ่อยู่ใกล้แนวสันหลัง ครีบหางของสกุลที่อาศัยอยู่ในทะเลมักมีลักษณะเว้าลึก ปลายแยกออกจากกันเป็นแฉก แฉกบนเล็กกว่าแฉกล่าง ส่วนสกุลที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดมักมีครีบหางที่มนกลม เป็นปลาที่มีทั้งออกลูกเป็นไข่และออกลูกเป็นตัว โดยพวกที่ออกลูกเป็นตัว มักจะเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด และที่ออกลูกเป็นไข่มักเป็นปลาทีอาศัยอยู่ในทะเล เป็นปลากินเนื้อ มักว่ายหากินเป็นฝูงบริเวณผิวน้ำ กินอาหารจำพวก แมลงและลูกปลาหรือสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำของเขตร้อนทั่วโลก สำหรับในประเทศไทย เป็นปลาที่สามารถพบเห็นได้ง่ายในแหล่งน้ำทั่วทุกภาคและแทบทุกประเภทของแหล่งน้ำ มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันออกไป เช่น "ตับเต่า", "ปลาเข็ม" หรือ "สบโทง" มีความสำคัญในแง่ของการใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และในบางชนิดก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและใช้ต่อสู้เป็นการพนันเช่นเดียวกับปลากัดด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาเข็ม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน

วงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน (African tetra) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำจืดในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Alestidae เป็นปลากินเนื้อ มีขนาดแตกต่างหลากหลายกันออกไปตั้งแต่ไม่กี่เซนติเมตร จนถึง 6 ฟุต เป็นปลาในอันดับปลาคาราซินที่พบแพร่กระจายพันธุ์เฉพาะทวีปแอฟริกาเท่านั้น มีทั้งหมด 19 สกุล (ดูในตาราง) ประมาณ 110 ชนิด เป็นปลาที่นิยมตกเป็นเกมกีฬาและเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชนิดที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ ปลาคองโกเตเตร้า (Phenacogrammus interruptus) นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และในสกุล Hydrocynus ที่นิยมตกเป็นเกมกีฬา ซึ่งในชนิด H. goliath เป็นปลาในอันดับปลาคาราซินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเฉี่ยว

วงศ์ปลาเฉี่ยว (วงศ์: Monodactylidae) เป็นวงศ์ปลาจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) เป็นปลาที่มีรูปร่างโดยรวมคือ แบนข้างมากเป็นรูปสี่เหลี่ยม หัวเล็ก ปากมีขนาดเล็ก ครีบหลังและครีบท้องคม ครีบอกและครีบหางสั้น มีลายพาดสีดำบริเวณหางและช่องปิดเหงือก ตากลมโต เกล็ดเล็กละเอียดมาก ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยเป็นปลาขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ที่สุดไม่เกินฝ่ามือของมนุษย์ อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลหรือปากแม่น้ำ สามารถปรับตัวให้อาศัยได้ทั้งน้ำเค็ม-น้ำกร่อย-น้ำจืด ได้เป็นอย่างดี แพร่พันธุ์โดยการวางไข่ในบริเวณที่เป็นน้ำจืดหรือมีปริมาณความเค็มน้อย โดยปลาตัวเมียจะวางไข่ก่อนที่ปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อผสม ก่อนที่ลูกปลาจะค่อย ๆ เติบโตและอพยพไปอยู่ในบริเวณที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำเค็มมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง พบในทะเลแถบเขตร้อนอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงออสเตรเลีย มีทั้งหมด 2 สกุล 6 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปลาเฉี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปูบก

ปูบก (Land crab) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกปูวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gecarcinidae ปูในวงศ์ปูบก มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายกับปูทั่วไป เพียงแต่จะไม่มีหนามรอบกระดอง และรอบดวงตา มีขาเดินที่แข็งแรง และมีกรงเล็บขนาดใหญ่ เนื่องจากดำรงชีวิตอยู่บนบก จึงมีอวัยวะช่วยหายใจแตกต่างไปจากปูวงศ์อื่น โดยจะหายใจจากอากาศโดยตรง จึงมีเหงือกเป็นขุย มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงจำนวนมากคล้ายกับถุงลมในสัตว์บก และมีระบบขับถ่ายที่แตกต่างไปจากปูวงศ์อื่น คือ มีกระบวนการเปลี่ยนของเสียจากแอมโมเนีย ให้กลายเป็นกรดยูริก เก็บไว้ในเนื้อเยื่อ แตกต่างไปจากปูทั่วไปที่จะถ่ายลงน้ำ แต่การขยายพันธุ์ ปูตัวเมียก็จะไปวางไข่ทิ้งไว้ในน้ำ และลูกปูจะเลี้ยงตัวเองและพัฒนาตัวในน้ำในระยะต้น ก่อนที่จะขึ้นมาใช้ชีวิตอยู่บนบก ปูบก ดำรงชีวิตอยู่ในป่า หรือป่าชายหาดใกล้ชายหาด กินเศษซากอินทรีย์วัตถุต่าง ๆ รวมถึง ใบไม้และสัตว์ขนาดเล็กเป็นอาหารได้ด้วย ปูบก สามารถแบ่งได้เป็นสกุลต่าง ๆ ได้ 6 สกุล ดังนี้ (บางข้อมูลแบ่งเพียง 3).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปูบก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปูเสฉวนบก

วงศ์ปูเสฉวนบก (Land hermit crab; วงศ์: Coenobitidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกอาร์โธพอด ในไฟลัมย่อยครัสตาเชียน วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coenobitidae จัดเป็นปูเสฉวนจำพวกที่อาศัยอยู่แต่เฉพาะบนบกที่ใกล้กับชายฝั่งหรือชายทะเลเท่านั้น ไม่อาจจะอาศัยอยู่ในน้ำได้ มิฉะนั้นจะจมน้ำตายได้ เนื่องจากได้วิวัฒนาการตัวเองให้อาศัยและหายใจได้เฉพาะบนบกเท่านั้น แต่กระนั้นปูเสฉวนบกก็ยังต้องการแคลเซียมและเกลือแร่จากน้ำทะเลอยู่ดี มีทั้งหมด 17 ชนิด แบ่งออกเป็น 2 สกุล คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ปูเสฉวนบก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกบูบี

วงศ์นกบูบี เป็นวงศ์ของนกทะเลขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อว่า Sulidae จัดอยู่ในอันดับนกบูบี (Suliformes; ในข้อมูลเก่าจะจัดอยู่ในอันดับ Pelecaniformes หรือ อันดับนกกระทุง) นกในวงศ์นี้จัดเป็นนกขนาดกลางและขนาดใหญ่ ประกอบไปด้วยนกบูบี และนกแกนเน็ต มีขนาดลำตัวประมาณ 70–100 เซนติเมตร ปากยาวกว่าหัว ปากเป็นกรวยปลายปากแหลมโค้งลงเล็กน้อยและไม่เป็นขอ ขอบปากหยักคล้ายฟันเลื่อย โคนจะงอยปากบนเป็นรอยบากเล็กน้อย จมูกเป็นรางยาว รูจมูกไม่เปิดออกสู่ภายนอก ปีกยาว ปลายปีกแหลม ขนปลายปีกเส้นนอกสุดยาวที่สุด หางเป็นแบบหางพลั่ว มีขนหาง 12–18 เส้น ขาใหญ่ นิ้วที่ 4 ยาวเท่ากับนิ้วที่ 3 ตีนมีพังผืดขนาดใหญ่ กินปลาเป็นอาหารโดยบินลงจับเหยื่อในน้ำ ทำรังเป็นกลุ่มบนหินหรือพื้นทราย ไม่ค่อยพบทำรังบนต้นไม้ วางไข่ครอกละ 1–2 ฟอง เปลือกไข่สีขาว ลูกนกแรกเกิดมีขนอุยปกคลุมลำตัว แต่ยังช่วยเหลือตัวไม่ได้ เป็นนกที่หากินอยู่ใกล้ทะเลแถบร้อนและอบอุ่นทั่วโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกบูบี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกพรานผึ้ง

วงศ์นกพรานผึ้ง (Honeyguide, Indicator bird, Honey bird) เป็นวงศ์ของนกวงศ์หนึ่ง ในอันดับนกหัวขวานและนกโพระดก (Piciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Indicatoridae เป็นนกขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายกับนกปรอด จะงอยปากสั้นและแบนข้างเล็กน้อยและค่อนข้างหนา ปีกยาวแหลม นิ้วตีนยื่นไปข้างหน้า 2 นิ้ว และข้างหลัง 2 นิ้ว เหมือนนกหัวขวาน เหตุที่ได้ชื่อว่า "พรานผึ้ง" เพราะเป็นนกที่ชอบกินผึ้งและขี้ผึ้งถึงขนาดบุกเข้าไปกินถึงในรวงผึ้ง และยังมีอีกชนิดหนึ่งที่พบในแอฟริกาที่มีพฤติกรรมนำพาสัตว์อื่นไปพบรวงผึ้ง พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชียและแอฟริกา 17 ชนิด ใน 4 สกุล สำหรับในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียวเท่านั้นทางภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกพรานผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกกระสา

นกกระสา เป็นนกลุยน้ำขนาดใหญ่ ขายาว คอยาว และปากยาวแข็ง อยู่ในอันดับนกกระสา (Ciconiiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Ciconiidae พบทั้งหมดทั่วโลก 19 ชนิด ใน 6 สกุล.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกกระสา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกกระจอก

นกกระจอก (Sparrow) เป็นวงศ์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก (Aves) จัดเป็นนกจับคอนขนาดเล็ก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Passeridae เป็นนกที่มนุษย์รู้จักคุ้นเคยเป็นอย่างดี เพราะอาศัยกระจายอยู่ทั่วไปตามชุมชนเมืองใหญ่ ๆ ทั่วโลก นกในวงศ์นี้มีขนาดเล็กมากจนถึงขนาดเล็ก ลักษณะภายนอกค่อนข้างแตกต่างกัน ทั้งจะงอยปากยาวปานกลาง, ปลายปากแหลม หรือ ปากสั้นเป็นปากกรวย, หางยาวปานกลางหรือปลายหางแหลม, มน, ตัด หรือ เว้าตื้น อาศัยและหากินตามทุ่งโล่ง, หมู่บ้าน หรือชายแหล่งน้ำ มีทั้งที่หากินตามกิ่งไม้ และบนพื้นดิน กินแมลง, ธัญพืช และเมล็ดของไม้ต้น ลักษณะของรังมีรูปร่างแตกต่างกัน ตั้งแต่แบบง่าย ๆ จนถึงแบบรังแขวน มีการสานวัสดุอย่างละเอียดละออ นกในวงศ์นี้ กำเนิดมาตั้งแต่สมัยไมโอซีน ในยุคเทอร์เชียรี่ หรือประมาณ 25-13 ล้านปีมาแล้ว กระจายพันธุ์ทั่วโลก มีทั้งหมด 5 สกุล (ดูในตาราง-บางข้อมูลแบ่งให้มี 8) ประมาณ 41 ชนิด ในประเทศไทยพบได้ 4 ชนิด ล้วนแต่อยู่ในสกุล Passer คือ นกกระจอกใหญ่ (P. domesticus), นกกระจอกป่าท้องเหลือง (P. rutilans), นกกระจอกตาล (P. flaveolus) และนกกระจอกบ้าน (P. montanus)Clement, Peter; Harris, Alan; Davis, John (1999).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกกระจอก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกกระทุง

นกกระทุง หรือ นกเพลิแกน (Pelican) เป็นวงศ์ของนกน้ำขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง ในอันดับนกกระทุง (Pelecaniformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pelecanidae เป็นนกที่มีลำตัวขนาดใหญ่ (125-165 เซนติเมตร) มีลักษณะเด่น คือ จะงอยปากใหญ่ ปากบนแบน ปลายจะงอยปากงอเป็นขอ ปากล่างมีถุงใต้คางแผ่จนถึงคอโดยไม่มีขนปกคลุม รูจมูกเล็กอยู่บริเวณร่องปากซึ่งยาวตลอดทางด้านข้างของจะงอยปากบน ปีกใหญ่และกว้าง ขนปลายปีกเส้นที่ 2 นับจากด้านนอกยาวที่สุด หางสั้น ปลายหางตัด ขณะบินคอจะหดสั้น ขาอ้วนและสั้น แข้งด้านข้างแบน ทางด้านหน้าปกคลุมด้วยเกล็ดแบบร่างแห มีฟังผืดนิ้วแบบตีนพัดเต็ม เป็นนกหาปลาที่กินปลา โดยการใช้ถุงใต้คางช้อนปลาในน้ำ หรือบินลงในน้ำแล้วพุ่งจับ ทำรังเป็นกลุ่มด้วยวัสดุจากกิ่งไม้ ปกติทำรังบนพื้นดิน แต่บางครั้งก็ทำรังบนต้นไม้ วางไข่ครั้งละ 1-4 ฟอง สีเปลือกไข่เหมือนสีผงชอร์คปกคลุม ลูกนกแรกเกิดเป็นลูกอ่อนเดินไม่ได้ ไม่มีขนปกคลุม ขนมีสีชมพูโดยปกติ เป็นนกที่หากินและอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำและชายทะเล นอกจากจะกินปลาแล้ว นกกระทุงในบางครั้งยังมีพฤติกรรมกินไข่นกหรือลูกนกตัวอื่นเป็นอาหาร ตลอดจนนกในวัยโตเต็มที่เช่น นกพิราบ เป็นอาหารได้ด้วย พบกระจายพันธุ์เกือบทั่วโลก ยกเว้นทางซีกโลกทางเหนือ, นิวซีแลนด์ และโพลีนีเซีย แบ่งออกได้แค่สกุลเดียว (บางข้อมูลแบ่งเป็น 2 สกุล) 8 ชนิด ในประเทศไทยเพียงชนิดเดียว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกกระทุง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกกระติ๊ด

วงศ์นกกระติ๊ด (Estrildid finch, Waxbill) นกขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Estrildidae อยู่ในอันดับนกเกาะคอน (Passeriformes) เป็นนกขนาดเล็ก มีลักษณะทั่วไป คือ จะงอยปากหนา สั้นและแหลม ลำตัวอ้วนป้อม หากินเมล็ดพืชและดอกหญ้าเป็นอาหาร ชอบตระเวนย้ายถิ่นหากินไปตามแหล่งที่มีอาหารสมบูรณ์ มักพบบินตามกันไปเป็นฝูง มีการผสมพันธุ์ตลอดทั้งปี ทำรังโดยนำหญ้ามาสานกันเป็นก้อนอยู่ตามกิ่งไม้และต้นไม้ โดยปากรังอยู่ด้านล่าง กระจายพันธุ์อยู่ในเขตร้อนของซีกโลกเก่า และประเทศออสเตรเลีย พบทั้งหมด 141 ชนิด ใน 29 สกุล (ดูในตาราง) พบในประเทศไทย 8 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกกระติ๊ด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกกระเต็นน้อย

วงศ์นกกระเต็นน้อย (River kingfishers) เป็นวงศ์ของนกกระเต็นวงศ์หนึ่ง มีชื่อว่า Alcedinidae (เดิมเคยเป็นวงศ์ย่อย Alcedininae) นกกระเต็นในวงศ์นี้เป็นนกกระเต็นที่มีขนาดเล็ก (16 – 25 เซนติเมตร) ลักษณะทั่วไป คือ มีปากใหญ่ยาวแหลมและแบนข้าง หัวโต คอสั้น หางและขาสั้น มักมีสีสวยงาม เมื่อเกาะกับคอนหรือกิ่งไม้ลำตัวตั้งตรง บินตรงและเร็ว บางครั้งสามารถบินอยู่กับที่กลางอากาศได้ ปกติอาศัยและหากินอยู่ใกล้แหล่งน้ำ บางชนิดอาศัยอยู่ในป่า กินปลา ปู กบ เขียด สัตว์เลื้อยคลาน และแมลงตามพื้นดินเป็นอาหาร เป็นนกที่ส่งเสียงร้องเกือบตลอดเวลา ทำรังโดยการขุดโพรงดินตามชายฝั่งแม่น้ำ เนินดิน หรือตามจอมปลวก บางชนิดทำรังตามตอไม้หรือโพรงไม้ วงศ์นกกระเต็นน้อยแบ่งออกเป็น 3 สกุล คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกกระเต็นน้อย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกกินแมลงและนกกะราง

วงศ์นกกินแมลงและนกกะราง หรือ วงศ์นกกินแมลงโลกเก่า (Old world babbler) เป็นวงศ์ของนกขนาดเล็ก ในอันดับนกเกาะคอน (Passeriformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Timaliidae เป็นนกขนาดเล็กที่ชอบหากินตามต้นไม้ในระดับต่ำมีปากแหลมตรง บางชนิดปากยาวโค้ง จึงบินไม่เก่งมักบินระยะทางสั้น ๆ มีขนอ่อนนุ่ม ชอบอยู่เป็นฝูงและส่งเสียงดังอยู่เสมอส่วนใหญ่มีเสียงแหลมน่าฟัง รังทำด้วยหญ้าและใบไม้สานเป็นรูปถ้วยอยู่บนต้นไม้ กินแมลงเป็นอาหารหลัก พบกระจายพันธุ์ในซีกโลกเก่า เช่น แอฟริกา, อนุทวีปอินเดียและเอเชียอาคเนย์ เป็นวงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกมาก มีทั้งหมด 270 ชนิด (บางข้อมูลว่า 259) พบ 76 ชนิดในประเทศไทย อาทิ นกกินแมลงเด็กแนน (Stachyridopsis rufifrons), นกศิวะหางสีตาล (Minla strigula), นกกะรางหัวหงอก (Garrulax leucolophus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกกินแมลงและนกกะราง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกร่อนทะเล

นกร่อนทะเล (Tropicbird) เป็นวงศ์ของนกทะเลที่หากินบนผิวน้ำในมหาสมุทรเขตร้อน ปัจจุบันจัดอยู่ในอันดับกระทุง (Pelecaniformes) (บ้างก็จัดให้อยู่ในอันดับของตัวเองต่างหาก คือ Phaethontiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Phaethontidae ความสัมพันธุ์กับนกชนิดอื่นยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่พบว่ามันไม่มีญาติใกล้ชิดอื่นอีก มี 3 ชนิด สกุลเดียวเท่านั้น คือ Phaethonชุดขนส่วนมากเป็นสีขาว มีขนหางยาว ขาและเท้าเล็ก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกร่อนทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกอ้ายงั่ว

นกอ้ายงั่ว หรือ นกงั่ว หรือ นกคองู หรือ นกงูHarrison, Peter; Peterson, Roger Tory (1991).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกอ้ายงั่ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกจับแมลงและนกเขน

วงศ์นกจับแมลงและนกเขน หรือ วงศ์นกจับแมลง (Old world flycatcher) เป็นวงศ์ของนกเกาะคอนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Muscicapidae จัดเป็นวงศ์ของนกที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดวงศ์หนึ่ง เป็นนกที่พบกระจายพันธุ์อยู่ในซีกโลกเก่า (เอเชีย, ยุโรป, แอฟริกา) เป็นที่มีขนาดเล็กมากถึงขนาดเล็ก (12-30 เซนติเมตร) รูปรางภายนอก แตกตางกันมาก ตัวผู้และตัวเมียมีสีสันและลักษณะแตกต่างกันชัดเจน สวนใหญจะกินแมลงเปนอาหาร แต่ก็มีหลายชนิดกินผลไม้และน้ำหวานดอกไมดวย Del Hoyo, J.; Elliot, A. & Christie D. (editors).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกจับแมลงและนกเขน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกตะขาบ

นกตะขาบ หรือ นกขาบ (Roller) เป็นนกในวงศ์หนึ่ง ที่อยู่ในอันดับนกตะขาบ (Coraciiformes) ซึ่งร่วมด้วยนกกะรางหัวขวาน (Upupidae), นกกระเต็น (Alcedinidae), นกจาบคา (Meropidae), นกเงือก (Bucerotidae) สำหรับนกตะขาบจัดอยู่ในวงศ์ Coraciidae นกตะขาบเป็นที่บินได้เก่งมาก ลำตัวอวบอ้วน หัวโต ปากหนาใหญ่ ลำตัวขนาดพอ ๆ กับอีกา ส่วนใหญ่ลำตัวมีสีม่วงหรือน้ำเงินคล้ำ ชอบเกาะนิ่งตามที่โล่ง ๆ เช่น ทุ่งหญ้า, ทุ่งนา เพื่อมองหาเหยื่อซึ่งได้แก่ แมลงขนาดใหญ่, กิ้งก่า และสัตว์เล็ก ๆ เมื่อพบจะบินออกไปจับอย่างรวดเร็ว ทั้งพุ่งลงไปที่พื้นดินและบินไล่จับกลางอากาศ ชอบบินร่อนฉวัดเฉวียนเสมอ ทำรังในโพรงไม้หรือชอกหิน วางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัว 17-20 วัน ลูกนกใช้เวลาประมาณ 30 วันอาศัยอยู่ในรัง โดยในบางชนิด เมื่อโตแล้วแยกออกไปสร้างรังต่างหาก ยังมีพฤติกรรมกลับมาช่วยพ่อแม่ที่ให้กำเนิด เลี้ยงดูลูกนกที่เกิดใหม่ด้วย ดังนั้น ในรังบางครอกจะมีลูกนกที่เป็นเครือญาติกันเกิดพร้อม ๆ กัน แพร่กระจายพันธุ์ในซีกโลกเก่า ได้แก่ ทวีปเอเชีย, แอฟริกา และยุโรป พบทั้งหมด 12 ชนิด ใน 2 สกุล สำหรับในประเทศไทยพบ 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกตะขาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกปักษาสวรรค์

นกปักษาสวรรค์ หรือ นกการเวก หรือ นกวายุภักษ์ (Bird-of-paradise) เป็นวงศ์ของนกเกาะคอนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Paradisaeidae เป็นนกที่มีสีสันสวยงามมาก โดยเฉพาะในตัวผู้จะมีขนตามตัวสีสันฉูดฉาดสวยงาม ขนหางเหยียดยาวเป็นเส้นโค้งอ่อนช้อย หรือม้วนเป็นรูปร่างแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิด จุดมุ่งหมายเพื่อดึงดูดตัวเมียที่มีความงามด้อยกว่า หรือบางกรณีก็เกิดพึงพอใจในตัวเมียต่างชนิดให้เข้ามาผสมพันธุ์ด้วย ขณะที่ตัวผู้บางชนิดจะเต้นไปบนพื้นดินเพื่อเกี้ยวพาราสีตัวเมีย นกปักษาสวรรค์กินลูกไม้ หรือแมลงบริเวณแหล่งอาศัยเป็นอาหาร นกปักษาสวรรค์ไม่ได้เป็นนกที่อยู่รวมกันเป็นฝูง หากแต่มักจะอยู่ตามลำพังตัวเดียว แต่ตัวผู้ทุกชนิดจะสนใจแต่เรื่องหาคู่ โดยจะเกี้ยวพาราสีตัวเมียเสมอ ๆ ตัวผู้จะมีพฤติกรรมผสมพันธุ์กับตัวเมียตัวเดิมตลอดช่วงของการเกี้ยวพาราสี หรือจะผสมพันธุ์ฺกับตัวเมียหลายตัว หรืออาจจะเป็นตัวเมียตัวเดิมซ้ำแล้วซ้ำอีกในช่วงเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์ ขณะที่ตัวเมียจะไม่มีปัญหา เนื่องจากตัวเมียจะเป็นฝ่ายที่เลือกตัวผู้จากลีลาการเต้นเกี้ยวพาราสี โดยจะใช้เวลาหลายชั่วโมงในแต่ละวันเพื่อมองเฟ้นหาตัวผู้ที่เหมาะสม ซึ่งถือเป็นการคัดเลือกทางเพศที่มีมาตั้งแต่อดีต อีกทั้งยังมีการผสมข้ามสายพันธุ์จนได้เป็นนกพันทางอีกด้วย นกปักษาสวรรค์ กระจายพันธุ์อยู่ในป่าดิบชื้นของนิวกินี, หมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย และบางส่วนของออสเตรเลีย แบ่งออกได้เป็น 14 สกุล ประมาณ 40 ชนิด โดยกว่าครึ่งอยู่ในนิวกินี (บางข้อมูลจัดให้มี 15 สกุล) การศึกษาของนักวิทยาศาสตร์พบว่านกปักษาสวรรค์มีวิวัฒนาการเป็นของตัวเองมานานกว่า 24 ล้านปี จนมีความหลากหลายและความงามอย่างในปัจจุบัน วิวัฒนาการดังกล่าวเป็นการเดินทางทางชีววิทยาอันยาวนานกว่าจะแยกออกจากนกในวงศ์ใกล้เคียงกันที่สุด คือ อีกา (Corvidae) ซึ่งเป็นนกที่รู้จักเป็นอย่างดีว่าไม่สวย ในอดีต ขนของนกปักษาสวรรค์ถือเป็นเครื่องบรรณาการหรือสินค้ามีค่ามานานกว่า 2,000 ปี ขนนกใช้แทนเงินได้ การล่าจึงเกิดขึ้นอาจนับตั้งแต่การเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในถิ่นที่อยู่ของนกในวงศ์นี้ และได้กลายมาเป็นที่ต้องการของนักสะสมชาวยุโรป ภายหลังนกปักษาสวรรค์ตัวแรกเดินทางจากดินแดนหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกไปพร้อมกับกองเรือของเฟอร์ดินันท์ แมกเจลเลน และเทียบท่าสเปนเมื่อปี ค.ศ. 1522 มีซากนกปักษาสวรรค์ที่ได้รับมอบเป็นบรรณาการกลับไปด้วย เมื่อชาวพื้นเมืองจับนกได้มักตัดขาทิ้ง ขณะนั้นชาวยุโรปยังไม่มีใครเคยเห็นนกปักษาสวรรค์ที่มีชีวิต จึงเล่าลือกันว่านกชนิดนี้ไม่มีขา คงต้องบินลงมาจากสวรรค์ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกสามัญ ในยุคที่ตลาดค้านกปักษาสวรรค์เฟื่องฟู เพราะความต้องการขนของนกปักษาสวรรค์มาประดับตกแต่งหมวกสตรีชาวยุโรป ตั้งแต่ช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ที่นิวกินีมียอดส่งออกนกชนิดนี้ถึงปีละ 80,000 ตัวต่อปี จนท้ายที่สุดมีกระแสอนุรักษ์ก็เกิดขึ้น มีการออกมาต่อต้านของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ รวมทั้งอีกหลายประเทศในยุโรปห้ามซื้อขาย ต่อมามีการออกกฎหมายห้ามล่า เมื่อจักรวรรดิอังกฤษเป็นเจ้าอาณานิคมของนิวกินีในปี ค.ศ. 1908 ปัจจุบันรัฐบาลนิวกินีเองก็ได้ออกกฎหมายห้ามล่า ห้ามนำนกออกจากเกาะยกเว้นเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ หรือเพื่อการเฉลิมฉลองในพิธีกรรมของชาวพื้นเมืองเท่านั้นและนกปักษาสวรรค์ยังได้ปรากฏบนมุมธงชาตินิวกินีและตราแผ่นดินของนิวกินีด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกปักษาสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกนางนวล

นกนางนวล เป็นนกทะเลวงศ์หนึ่ง ในอันดับนกชายเลนและนกนางนวล (Charadriiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Laridae เป็นนกที่มีขนาดปานกลางจนถึงขนาดใหญ่ มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนสีเทาหรือขาว บางชนิดมีสีดำแต้มที่หัวหรือปีก มีปากหนายาว และเท้าเป็นผังพืด เป็นนกที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ หากินตามชายฝั่งทะเล และบางชนิดเข้ามาหากินในแหล่งน้ำจืดบ้าง เป็นนกที่ชาวทะเลหรือนักเดินเรือให้ความนับถือ โดยถือว่า หากได้พบนกนางนวลแล้วก็แสดงว่าอยู่ใกล้แผ่นดินมากเท่านั้น พบทั่วโลก 55 ชนิด ใน 11 สกุล (ดูในตาราง) พบในประเทศไทยทั้งหมด 9 ชนิด โดยทุกชนิดถือเป็นนกอพยพหนีความหนาวจากซีกโลกทางเหนือ จะพบได้บ่อยในช่วงเปลี่ยนถ่ายฤดูกาลระหว่างฤดูฝนกับฤดูหนาว โดยสามารถบินได้เร็วในระยะทาง 170-190 กิโลเมตร/ชั่วโมง และบินตามมากันเป็นฝูง ใช้เวลากกไข่นานราว 24 วัน ลูกนกใช้เวลา 3 เดือน จึงจะบินได้เหมือนพ่อแม่ สถานที่ ๆ ขึ้นชื่อว่าเป็นแหล่งอพยพของนกนางนวลในประเทศไทย คือ บางปู ในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นแหล่งที่ชมนกนางนวลอพยพได้ในทุกปี โดยแต่ละครั้งจะมีจำนวนนกไม่ต่ำกว่า 5,000 ตัว อนึ่ง นกในวงศ์นกนางนวล เดิมเคยถูกจัดเป็นวงศ์ใหญ่ เคยมีนกในวงศ์อื่นถูกจัดให้อยู่ร่วมวงศ์เดียวกัน ได้แก่ Rynchopidae (นกกรีดน้ำ) และSternidae (นกนางนวลแกลบ) แต่ปัจจุบันได้ถูกแยกออกมาเป็นวงศ์ต่างหาก Harrison, Peter; Peterson, Roger Tory (1991).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกนางนวล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกแสก

วงศ์นกแสก (Barn-owl, วงศ์: Tytonidae) เป็นวงศ์ของนกล่าเหยื่อในอันดับนกเค้าแมว (Strigiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Tytonidae นับเป็นวงศ์ของนกเค้าแมววงศ์หนึ่ง นอกเหนือจากวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนาดใหญ่กว่านกในวงศ์นกเค้าแมว ใบหน้ากลมแบน มีขนสีขาวเต็มหน้า ทำให้คล้ายรูปหัวใจ ตามีสีดำ อยู่ด้านหน้า และมีขนาดเล็กกว่าวงศ์นกเค้าแมว ปากเป็นจะงอยงุ้ม สีเหลืองเทา ชมพู หลังและปีกสีน้ำตาลอ่อน มีสีน้ำตาลเทาเป็นส่วน ๆ คอ อก ท้อง สีขาว ขาวนวล มีจุดสีน้ำตาลเข้มทั่วไป ปีกยาว หางสั้น ขนปีกและหางมีลายขวางสีเหลืองสลับน้ำตาลอ่อน ขาใหญ่ มีขนคลุมขา ตีนสีชมพู นิ้วมีเล็บยาว รูปร่างลักษณะตัวผู้และตัวเมียจะคล้ายกัน โดยตัวเมียจะโตกว่าเล็กน้อย ลำตัวตั้งตรง มีพฤติกรรมการหากินและเป็นอยู่คล้ายกับนกในวงศ์นกเค้าแมว โดยแบ่งออกได้เป็น 2 สกุล 16 ชนิด และยังมีอีก 4 สกุล ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ในหลายภูมิประเทศ ทั้งในป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล จนถึงชุมชนเมืองของมนุษย์ สำหรับในประเทศไทย พบได้ 3 ชนิด คือ นกแสก (Tyto alba) นกแสกทุ่งหญ้า (Tyto capensis) และนกแสกแดง (Phodilus badius) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า และพบได้เฉพาะในป่าเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกแสก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกแต้วแร้ว

วงศ์นกแต้วแร้ว หรือ วงศ์นกแต้วแล้ว (Pittas) เป็นวงศ์ของนกที่มีขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในอันดับ Passeriformes เช่นเดียวกับนกกระจอก (Passeridae) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pittidae โดยทั่วไปแล้ว นกแต้วแร้วจะมีลำตัวอ้วนสั้น มีสีสันฉูดฉาดสะดุดตาหลายสี เช่น น้ำเงิน, เขียว, แดง, น้ำตาล หรือเหลือง รวมอยู่ในตัวเดียวกัน คอและหางสั้น ขายาว มักกระโดดหรือวิ่งบนพื้นดิน เป็นนกที่ขี้อาย ขี้ตื่นตกใจ มีพฤติกรรมชอบอยู่ลำพังตัวเดียวหรือเป็นคู่ หากจะบินก็จะบินเป็นระยะสั้น ๆ หรือเตี้ย ๆ ในบริเวณที่เป็นที่อยู่อาศัย โดยมักจะอาศัยอยู่ในพุ่มไม้ นกแต้วแร้วมักอาศัยอยู่ในป่าที่มีความชุ่มชื้นหรือใกล้แหล่งน้ำ ด้วยหากินที่อยู่ในบริเวณนั้น เช่น หอยทาก, ไส้เดือนดิน หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำและสัตว์เลื้อยคลาน เป็นอาหาร โดยทั่วไปแล้วจะมีขนาดลำตัวประมาณ 15–25 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 42–218 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียตะวันออก และโอเชียเนีย วางไข่ครั้งละ 6 ฟองบนต้นไม้หรือพุ่มไม้ หรือบางครั้งก็บนพื้นดิน พ่อแม่นกจะช่วยกันดูแลลูกอ่อน โดยรังจะสานจากกิ่งไม้หรือใบไม้ หรือฟางที่หาได้ มีหลายชนิดที่มีการอพยพย้ายถิ่นฐาน ลูกนกเมื่ออยู่รัง พ่อแม่นกจะช่วยกันดูแลและคาบอาหารมาให้ ส่วนมากเป็นแมลง บางครั้งอาจจะเป็นแมง เช่น ตะขาบ หรือสัตว์อย่างอื่น เช่น ไส้เดือนดิน แล้วแต่จะหาได้ ลูกนกเมื่อจะถ่าย จะหันก้นออกนอกรังแล้วขับถ่ายมูลออกมา ซึ่งถูกห่อหุ้มอยู่ในถุงขนาดใหญ่ พ่อแม่นกต้องคาบไปทิ้งให้ไกลจากรัง เพราะกลิ่นจากมูลลูกนกจะเป็นสิ่งที่บอกที่อยู่ให้แก่สัตว์นักล่าได้ เดิมได้รับการอนุกรมวิธานออกเพียงสกุลเดียว คือ Pitta แต่ปัจจุบันได้แยกออกเป็น 3 สกุล (ดูในตาราง) ทั้งหมดราว 31 ชนิด สำหรับนกแต้วแร้วในประเทศไทยนั้น พบทั้งหมด 12 ชนิด เช่น นกแต้วแร้วธรรมดา หรือนกแต้วแร้วสีฟ้า (Pitta moluccensis), นกแต้วแร้วป่าโกงกาง หรือนกแต้วแร้วป่าชายเลน (P. megarhyncha), นกแต้วแร้วหูยาว (Hydrornis phayrei) โดยมีชนิดที่ได้รับยการยอมรับว่าหายากและใกล้สูญพันธุ์ที่สุด คือ นกแต้วแร้วท้องดำ (H. gurneyi) ที่พบได้เฉพาะในป่าชายแดนไทยติดกับพม่าแถบอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกแต้วแร้ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกโพระดก

นกโพระดก เป็นนกขนาดกลาง อยู่ในวงศ์ Megalaimidae (บางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ Ramphastidae หรือนกทูแคน ที่พบในอเมริกาใต้ โดยจัดให้เป็นวงศ์ย่อย Megalaiminae) จัดอยู่ในอันดับนกหัวขวานและนกโพระดก (Piciformes) มีลักษณะจะงอยปากหนาใหญ่ และมีขนที่โคนปาก ร้องเสียงดัง ได้ยินไปไกล ลำตัวอ้วนป้อม ส่วนหัวมีขนาดใหญ่ มีสีสันสวยงาม มีทั้งหมด 26 ชนิด พบทั่วไปในทวีปเอเชียตั้งแต่ทิเบต จนถึงอินโดนีเซีย พบมากในคาบสมุทรมลายู และเกาะสุมาตรา ทำรังในโพรงไม้ ด้วยการเจาะไม้ให้เป็นรูเหมือนกับนกหัวขวาน ซึ่งเป็นนกในอันดับเดียวกัน แต่โพรงของนกโพระดกจะมีขนาดพอดีตัวทำให้การเข้าออกรังบางทีทำได้ไม่คล่องเท่านกหัวขวาน วางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 13-15 วัน เป็นนกที่กินผลไม้เช่น ลูกโพ, ลูกมะเดื่อฝรั่ง และแมลง เป็นอาหาร สำหรับนกในวงศ์นี้ที่พบในประเทศไทยมีทั้งหมด 15 ชนิด ได้แก่Short, L. L. Horne J. F. M. (2002) "วงศ์ Capitonidae (barbets)" in del Hoyo J., Elliott A. & Christie D.A. (2004) Handbook of the Birds of the World.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกโพระดก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกเค้าแมว

วงศ์นกเค้าแมว หรือ วงศ์นกเค้าแมวแท้ (True owl, Typical owl, วงศ์: Strigidae) เป็นวงศ์ของนกล่าเหยื่อในอันดับ Strigiformes หรือนกเค้าแมว ใช้ชื่อวงศ์ว่า Strigidae ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ (อีกวงศ์หนึ่ง นั่นคือ Tytonidae ซึ่งเป็นวงศ์ของนกแสก) มีลักษณะทั่วไปที่เป็นลักษณะเด่นชัด คือ มีตากลมโตสีเหลือง และมีตาอยู่ด้านหน้า ในบางสกุลหรือบางชนิด จะมีขนหูตั้งขึ้นต่อจากคิ้ว ตาสองข้างอยู่ด้านหน้า เหนือปาก เป็นเหมือนรูปจมูก มีเส้นสีที่แสดงเขตใบหน้าอย่างชัดเจน จะงอยปากงุ้มแหลมคม ปากงุ้มแหลม ปากและขาสีเนื้อ มีเล็บนิ้วยาวสำหรับฉีกเหยื่อที่จับได้ สีขนส่วนใหญ่ของหลัง-ปีก-อก และท้อง จะเป็นสีน้ำตาล-น้ำตาลเข้ม และมีลายน้ำตาลเข้ม-ดำ อก และท้องจะมีสีอ่อน กว่าหลังและปีก หางจะไม่ยาว แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ลวดลายของอกและท้องรวมทั้งสีขนจะแตกต่างกันในแต่ละชนิด นอกจากนี้แล้ว นกในวงศ์นี้ ยังสามารถหมุนคอได้เกือบรอบตัวได้ถึง 270 องศา เนื่องจากมีกระดูกสันหลังตรงคอ 14 ชิ้น ซึ่งมากกว่าสัตว์ชนิดใด ๆ ในโลก โดยมากแล้วเป็นนกที่หากินในเวลากลางคืน โดยอาหารหลักได้แก่ หนู และสัตว์ชนิดอื่น เช่น สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นต้น มีพฤติกรรมการกินอาหารที่มักกลืนเหยื่อเข้าไปทั้งตัว และจะสำรอกส่วนที่ย่อยไม่ได้เช่น กระดูกหรือก้อนขน ออกมาเป็นก้อนทีหลัง อาจมีบางชนิดที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ นกเค้าเอลฟ์ (Micrathene whitneyi) ที่มีน้ำหนักเพียง 40 กรัม ความยาวลำตัวเพียง 14 เซนติเมตร ความยาวปีก 20 เซนติเมตร จนถึง นกเค้าอินทรียูเรเชีย (Bubo bubo) ที่มีความยาวปีกยาวกว่า 75 เซนติเมตร น้ำหนัก 4.20 กิโลกรัม นับเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์และอันดับนี้ ปัจจุบัน พบทั้งหมดราว 200 ชนิด แบ่งได้เป็น 25 สกุล ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว 4 (ดูในตาราง) พบได้ทุกทวีปทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่บริเวณขั้วโลกเหนือ พบได้ในหลากหลายภูมิประเทศ ตั้งแต่ในป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 200 เมตร จนถึงชุมชนมนุษย์ในเมืองใหญ่ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั้งหมด 17 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกเค้าแมว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกเป็ดน้ำ

วงศ์นกเป็ดน้ำ (Duck, Goose, Swan, Teal) เป็นวงศ์ของสัตว์ปีก ในอันดับ Anseriformes ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anatidae ลักษณะทั่วไปของนกในวงศ์นี้ คือ เป็นนกน้ำลำตัวป้อม มีลักษณะเด่นคึอ ปากแบนใหญ่ หางสั้น มีแผ่นพังผืดยึดนิ้วเท้า จึงช่วยให้ว่ายน้ำได้ดี มีลำคอเรียวยาว เมื่อเวลาว่ายน้ำจะโค้งเป็นรูปตัวเอส ขนเคลือบด้วยไขมันกันน้ำได้เป็นอย่างดี โดยน้ำไม่สามารถเข้าไปในชั้นขนได้ ตัวเมียมีลายสีน้ำตาลไม่ค่อยสวยงาม ต่างจากตัวผู้ที่มีสีสดใสกว่าชอบลอยตัวรวมกันเป็นฝูงในแหล่งน้ำ ทั้งในแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำกร่อย หาอาหารโดยใช้ปากไชจิกพืชน้ำ จับกินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ตามผิวน้ำ หรืออาจจะดำลงไปจับใต้น้ำ ส่วนใหญ่ทำรังตามริมน้ำด้วยพืชน้ำ บางชนิดทำรังในโพรงไม้หรือซอกกำแพง และมีพฤติกรรมจับคู่อยู่เพียงตัวเดียวไปตลอด จะเปลี่ยนคู่ก็ต่อเมื่อคู่นั้นได้ตายลง มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง สามารถบินได้ และบินได้ในระยะไกล ๆ หลายชนิดเป็นนกอพยพที่จะอพยพกันเป็นฝูงตามฤดูกาล โดยมากจะเป็นไปในฤดูหนาวที่อุณหภูมิลดต่ำลง มักจะบินอพยพจากซีกโลกทางเหนือลงสู่ซีกโลกทางใต้ ซึ่งอุณหภูมิอุ่นกว่า จากนั้นเมื่อถึงฤดูร้อนก็จะอพยพกลับไป และแพร่พันธุ์วางไข่ โดยนกที่อยู่ในวงศ์นี้ เป็นนกที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เป็ด, หงส์ และห่าน ชนิดต่าง ๆ ด้วยว่าเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินและบริโภคเนื้อและไข่เป็นอาหาร สามารถแบ่งออกได้เป็นราว 146 ชนิด ใน 40 สกุล จึงสามารถแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง) โดยที่พบในประเทศไทยราว 25 ชนิด เช่น เป็ดก่า (Asarcornis scutulata), เป็ดแดง (Dendrocygna javanica), เป็ดคับแค (Nettapus coromandelianus) และเป็ดหงส์ (Sarkidiornis melanotos) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์นกเป็ดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส

วงศ์แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส หรือ วงศ์แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส เป็นวงศ์ของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง ในชั้นไฮโดรซัว ในวงศ์ Physaliidae และสกุล Physalia มีสันฐานคล้ายกับหมวกทหารเรือหรือเรือรบของโปรตุเกสในยุคล่าอาณานิคมที่เรียกว่า "Man-of-war" มีสีฟ้าหรือสีม่วง มีหนวดยาว โดยจะลอยอยู่บนผิวหน้าของน้ำทะเล ส่วนที่ลอยโผล่พ้นน้ำของจะไม่กลมเหมือนแมงกะพรุนจำพวกอื่น ๆ แต่จะมีลักษณะเรียวรีและยาว ที่ขอบด้านบนสุดมีลักษณะเป็นสันย่น โดยส่วนหนวดที่เป็นเข็มพิษยาวที่สุดยาวได้ถึง 30 เมตร พบรายงานแล้วทั่วโลก 4 ชนิด แต่ทว่าบางข้อมูลได้จัดให้เป็นชื่อพ้องของกันและกัน แต่ทว่าในปัจจุบันได้จำแนกออกเป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์แร็กคูน

วงศ์แร็กคูน (Procyonid) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyonidae (/โพร-ไซ-โอ-นิ-เด/) ลักษณะโดยร่วมของสัตว์ในวงศ์นี้คือ มีลำตัวสั้น มีหางยาว มีลวดลายตามลำตัวหรือใบหน้าหรือไม่มีในบางชนิด หากินได้ทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ มักออกหากินในเวลากลางคืน กินเนื้อสัตว์เป็นอาหารหลัก แต่ก็มีบางชนิดที่กินพืชหรือละอองเกสรดอกไม้หรือน้ำผึ้งเป็นอาหารหลัก มีฟันที่สามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า ทั้งหมดเป็นสัตว์ที่พบได้ในโลกใหม่ คือ ทวีปอเมริกา ทั้งอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ โดยสัตว์ในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ แร็กคูน, คิงคาจู, โคอาที, โอลิงโก เป็นต้น เดิมสัตว์ในวงศ์นี้เคยครอบคลุมถึงแพนด้ายักษ์และแพนด้าแดงที่พบในทวีปเอเชียด้วย ด้วยความที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายคลึงกันและมีพฤติกรรมการหากินใกล้เคียงกัน แต่ทว่าเมื่อมีการศึกษาลงไปถึงระดับโมเลกุลของสารพันธุกรรม ได้แก่ การหาลำดับเบสของดีเอ็นเอ และการทดสอบเปรียบเทียบตำแหน่งของเบสในสิ่งมีชีวิตเพื่อจำแนกเป็นสายวิวัฒนาการ ทำให้ทราบว่าแพนด้าแดงมีสารพันธุกรรมที่มีความแตกต่างจากแร็กคูน และมีสายวิวัฒนาการแยกออกมาจากสายวิวัฒนาการของแร็กคูนมาเป็นเวลานานกว่า 30-40 ล้านปีแล้ว จึงได้จำแนกแพนด้าแดงออกมาจากวงศ์ Procyonidae และจัดอยู่ในวงศ์เฉพาะของตนเองคือ วงศ์ Ailuridae และในส่วนของแพนด้ายักษ์ก็ถือว่าก้ำกึ่งอยู่ระหว่างแร็กคูน, หมี และแพนด้าแดง แต่เมื่อศึกษาถึงคาริโอไทป์พบว่าแพนด้ายักษ์มีลักษณะคล้ายคลึงกับหมีมากกว่า จึงจัดให้แพนด้านั้นเป็นหมี หรืออยู่ในวงศ์ต่างหาก คือ Ailuropodidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์แร็กคูน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์แอกโซลอเติล

วงศ์แอกโซลอเติล (Mole salamander; วงศ์: Ambystomatidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับซาลาแมนเดอร์ (Caudata) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ambystomatidae เป็นซาลาแมนเดอร์ที่มีรูปร่างป้อมและใหญ่ ไม่มีเหงือกและไม่มีช่องเปิดเหงือก ไม่มีร่องในโพรงจมูก มีปอด ประสาทไขสันหลังมีลักษณะโครงสร้างคล้ายคลึงกับซาลาแมนเดอร์ในวงศ์ Plethodonidae แต่โครงสร้างหลายประการยังคงรูปแบบแบบโบราณอยู่ การคงรูปโครงสร้างของระยะวัยอ่อนของซาลาแมนเดอร์ในวงศ์นี้อาจเกิดขึ้นเป็นบางโอกาสหรือเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต โดยบางชนิดได้ถูกนำมาศึกษาทางวิชาการ เช่น แอกโซลอเติล (Ambystoma mexicanum) โดยถูกนำมาศึกษาการเจริญเติบโตในระยะวัยอ่อนมาก และถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงด้วย โดยรวมแล้ว ซาลาแมนเดอร์วงศ์นี้มีความยาวลำตัวจรดหางประมาณ 10-30 เซนติเมตร ส่วนมากอาศัยอยู่บนพื้นดิน การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในตัว การผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เกิดในกลางฤดูหนาวหรือต้นฤดูใบไม้ผลิ การเกี้ยวพาราสีเกิดขึ้นในน้ำ โดยตัวผู้ไปถึงแหล่งน้ำก่อนและรอตัวเมีย ตัวผู้จะแสดงพฤติกรรมต่อหน้าตัวเมียหลายตัวและสัมผัสกับตัวเมียบางตัว ต่อจากนั้นจึงถ่ายสเปอร์มาโทฟอร์ให้ตัวเมียใช้ทวารร่วมหนีบไป ตัวเมียจะวางไข่ในอีกหลายวันต่อมา จากนั้นทั้งคู่จะแยกย้ายกันไป ก่อนจะมาผสมพันธุ์กันอีกในปีถัดมา แต่ในบางชนิดจะมีช่วงผสมพันธุ์ระหว่างฤดูใบไม้ร่วง การเกี้ยวพาราสีอยู่บนพื้นดินและวางไข่บนพื้นดิน ซึ่งรังที่ใช้วางไข่ถูกน้ำท่วมโดยฝนกลางฤดูหนาวหรือต้นฤดูใบไม้ผลิหรือจากน้ำที่เกิดขึ้นจากการละลายของหิมะ วัยอ่อนเมื่ออกจากไข่จะอาศัยอยู่ในน้ำ มีทั้งหมดประมาณ 33 ชนิด มีเพียงสกุลเดียว คือ Ambystoma พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งแต่ใต้สุดของแคนาดาไปจนถึงใต้สุดของที่ราบสูงเม็กซิโก.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์แอกโซลอเติล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ

ัตว์ตีนครีบ (Pinnipedia) หรือ วงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ เป็นวงศ์ใหญ่ที่มีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่มีเท้าครีบ วงศ์ใหญ่มีวงศ์อื่น ๆ รองลงมาได้แก่ วงศ์วอลรัส วงศ์แมวน้ำมีหู และ วงศ์แมวน้ำ วงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบมี 33 สปีชีส์ และมีมากกว่า 50 สปีชีส์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว โดยมีการค้นพบจากหลักฐานของซากดึกดำบรรพ์ สัตว์ตีนครีบจัดอยู่ในอันดับสัตว์กินเนื้อ และสัตว์ในวงศ์อื่นที่มีเชื้อสายใกล้เคียงมากที่สุดคือสัตว์ในวงศ์หมีและวงศ์เพียงพอน (เพียงพอน แรคคูน และ สกังก์).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอน

วงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอน (Amazon river dolphin) เป็นวงศ์ของโลมาแม่น้ำวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Iniidae (/อิน-นิ-ดี้/) ในปัจจุบันนี้มีเพียงสกุลเดียว คือ Inia (/อิน-เนีย/) ซึ่งพบได้เฉพาะในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ หลายสายในทวีปอเมริกาใต้เท่านั้น แต่ได้มีประชากรในวงศ์นี้อีกจำนวนหนึ่ง แต่ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว ซึ่งพบได้ในหลายพื้นที่ เช่น ฟลอริดา, ลิเบีย และอิตาลี (ดูในเนื้อหา) โดยวงศ์นี้ถูกตั้งขึ้นชื่อ จอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ นักสัตววิทยาชาวอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1846 ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (วงศ์: Phasianidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก อันดับไก่ (Galliformes) โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Phasianidae ลักษณะโดยรวมของนกในวงศ์นี้ มีจะงอยปากสั้นหนาแข็งแรง ปลายแหลม มีหงอน มีเหนียง 2 เหนียง ขนหางมี 8-32 เส้น ขาแข็งแรง แต่ละข้างมีตีนนิ้วยื่นไปข้างหน้า 3 นิ้ว ข้างหลัง 1 นิ้ว นิ้วที่ยื่นไปข้างหลังอยู่สูงกว่านิ้วอื่นเล็กน้อย ตัวผู้มีเดือยข้างละเดือย กินเมล็ดพืชและสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ โดยเฉพาะแมลงและหนอนบนพื้นดินเป็นอาหาร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปีกมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับนกในวงศ์อื่น จึงทำให้ไม่สามารถบินได้ แต่จะบินได้ในระยะใกล้ ๆ เช่น บินขึ้นต้นไม้ มักอาศัยอยู่ในป่าไผ่และป่าละเมาะ มีความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจน ตัวผู้จะมีขนาดและสีสันรวมทั้งลักษณะสวยงามกว่าตัวเมีย ไข่มีสีเปลือกทั้งขาว, สีนวล และลายประแต้มสีต่าง ๆ มีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ยาวเป็นเมตร จนเพียง 20 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์ในหลายทวีปทั่วโลก ได้แก่ เอเชีย, ยุโรป, อเมริกาเหนือ และแอฟริกา แบ่งออกได้เป็น 4 วงศ์ย่อย (ดูได้ในตาราง) พบราว 156 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งสิ้น 26 ชนิด อาทิ ไก่นวล (Rhizothera longirostris), นกคุ่มญี่ปุ่น (Coturnix japonica), ไก่จุก (Rollulus rouloul), ไก่ป่า (Gullus gullus) เป็นต้น นกในวงศ์นี้ มีความผูกพันกับมนุษย์มาอย่างช้านาน ด้วยการใช้เนื้อและไข่บริโภคเป็นอาหาร อาทิ ไก่ที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบัน ก็มีต้นทางมาจากไก่ป่า หรือไข่นกกระทา ก็นำมาจากไข่ของนกคุ่มญี่ปุ่น หรือบางชนิดที่มีความสวยงามหรือโดดเด่น ก็ถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม เช่น ไก่ฟ้าสีทอง (Chrysolophus pictus), นกยูง (Pavo spp.) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เพียงพอน

ระวังสับสนกับ: วงศ์พังพอน วงศ์เพียงพอน หรือ วงศ์วีเซล (weasel family, mustelid) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Mustelidae (มาจากภาษาละตินคำว่า Mustela หมายถึง "เพียงพอน") ลักษณะโดยรวมของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ มีหัวกลม ใบหูสั้นกลม ขาสั้นเตี้ย ลำตัวเพรียวยาว หางยาว มีขนที่อ่อนนุ่มและหนาทั้งตัวและหาง อุ้งเล็บตีนแหลมคม ในปากมีฟันที่แหลมคม มีฟันตัดเหมาะสมสำหรับการกินเนื้อ ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน เป็นสัตว์ที่คล่องแคล่วว่องไว ปราดเปรียว และกินอาหารได้หลากหลายไม่เลือกทั้งพืชและสัตว์ หลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพียงพอน จะล่ากระต่ายกินเป็นอาหาร ทั้งที่เป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า โดยทำการล่าเป็นฝูงและมุดเข้าไปลากดึงเอาถึงในโพรงจากลำตัวที่เพรียวยาว ลักษณะเด่นคือประการ คือ ส่วนมากยกเว้นนากทะเล จะมีต่อมกลิ่นใกล้กับรูทวาร ซึ่งผลิตสารเคมีที่เป็นของเหลวเหมือนน้ำมันสีเหลือง มีกลิ่นฉุนสำหรับใช้ประกาศอาณาเขตและใช้เป็นการประกาศทางเพศ และเมื่อปฏิสนธิแล้ว ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจะยังไม่ฝังตัวเข้ากับผนังมดลูก แต่จะลอยอยู่อย่างนั้น ซึ่งอาจกินเวลานับ 10 เดือน จะฝังตัวเฉพาะเมื่อถึงฤดูกาลที่อาหารอุดมสมบูรณ์เท่านั้น ก่อนที่จะพัฒนาต่อมาเป็นตัวอ่อนและพัฒนาต่อมาจนกระทั่งคลอดออกมาในฤดูที่อาหารอุดมสมบูรณ์ อุณหภูมิอากาศพอเหมาะแก่ลูกอ่อนที่เกิดขึ้นมา ซึ่งตัวแม่จะออกลูกและเลี้ยงดูลูกไว้ในโพรงดินหรือโพรงไม้ ลูกอ่อนจะยังไม่ลืมตา และมีขนบาง ๆ ปกคลุมตัวเท่านั้น จนกระทั่งอายุได้ราว 2-3 เดือน จึงจะเริ่มหย่านม และออกมาใช้ชีวิตเองตามลำพังเมื่ออายุได้ราว 1 ปี พบกระจายพันธุ์ไปในหลายพื้นที่รอบโลก ทั้งในป่าทึบ, ที่ราบสูง, พื้นที่ชุ่มน้ำ, ชายฝั่งทะเล ตลอดจนชุมชนเมืองของมนุษย์ จนกระทั่งหลายชนิดเป็นสัตว์รังควานสร้างความเสียหายให้แก่มนุษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เพียงพอน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เหี้ย

วงศ์เหี้ย (Monitor lizard, Goanna) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Squamata ใช้ชื่อวงศ์ว่า Varanidae (/วา-รา-นิ-ดี้/).

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เหี้ย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เอลิฟานติดี

วงศ์เอลิฟานติดี (อังกฤษ: Elephant) เป็นวงศ์ตามการอนุกรมวิธาน ได้แก่สัตว์จำพวกช้าง คือ ช้างและแมมมอธ ใช้ชื่อวงศ์ว่า Elephantidae เป็นสัตว์บกเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่ที่มีงวงและงา สกุลและชนิดส่วนใหญ่ในวงศ์นี้ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว เหลือเพียงสองสกุลเท่านั้นที่ยังมีชีวิตอยู่ ได้แก่ Loxodonta (ช้างแอฟริกา) และ Elephas (ช้างเอเชีย) เท่านั้น และเหลือเพียง 3 ชนิดเท่านั้น วงศ์ดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อโดยจอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ นักสัตววิทยาชาวอังกฤษ ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เอลิฟานติดี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เขียดงู

วงศ์เขียดงู (Asiatic tailed caecilian, Fish caecilian; วงศ์: Ichthyophiidae) เป็นวงศ์ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในอันดับ Gymnophiona ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ichthyophiidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีกระดูกกะโหลกเชื่อมรวมกันมากขึ้นและไม่มีปล้องลำตัวจำนวนมากและเป็นลักษณะเด่น ประกอบด้วยปล้องลำตัวปฐมภูมิ ปล้องลำตัวทุติยภูมิ และปล้องลำตัวตติยภูมิ มีเกล็ดอยู่ในร่องปล้องลำตัวส่วนมาก ตาอยู่ในร่องของกระดูกใต้ผิวหนังแต่มองเห็นได้ชัดเจน ปากอยู่ที่ปลายสุดของหัวหรือต่ำลงมาเล็กน้อย ช่องเปิดของหนวดอยู่ระหว่างตากับช่องเปิดจมูกแต่อยู่ใกล้กับตามากกว่า ส่วนหางมีลักษณะคล้ายกับเขียดงูในวงศ์ Rhinatrematidae ที่พบในอเมริกาใต้ มีความยาวเฉลี่ยประมาณ 20-30 เซนติเมตร แต่บางชนิด เช่น Caudacaecilia nigroflava และIchthyophis glutinosus มีความยาวลำตัวประมาณ 40-50 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในโพรงดิน ตัวเมียวางไข่ในโพรงดินใกล้กับแหล่งน้ำและเฝ้าดูแลไข่จนกระทั่งตัวอ่อนออกจากไข่ ตัวอ่อนเมื่อออกจากไข่แล้วจะลงสู่แหล่งน้ำและอาศัยอยู่ในน้ำในช่วงต้นของวงจรชีวิต แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล พบราว 37 ชนิด พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, ศรีลังกา, เอเชียอาคเนย์, ฟิลิปปิน, มาเลเซีย, บอร์เนียว, สุมาตรา เป็นต้น ในประเทศไทยล้วนแต่พบเฉพาะในวงศ์นี้ราว 7 ชนิด เช่น เขียดงูดำ (Caudacaecilia larutensis), เขียดงูเกาะเต่า (Ichthyophis kohtaoensis), เขียดงูดอยสุเทพ (I. youngorum) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เขียดงู · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เต่าสแนปปิ้ง

วงศ์เต่าสแนปปิ้ง (Snapping turtle) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าขนาดใหญ่ วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelydridae ลักษณะสำคัญของเต่าในวงศ์นี้ คือ เป็นเต่าน้ำจืดขนาดใหญ่ มีส่วนหัวและขาที่ใหญ่จนไม่สามารถหดเข้าในกระดองได้ กระดองหลังแบนและกว้าง ส่วนกระท้องท้องเล็กมาก ก้านกระดูกไปเชื่อมต่อกับขอบกระดองหลังตรึงแน่น ด้านท้ายของกะโหลกเว้ามาก หางยาว จึงเป็นเต่าที่ว่ายน้ำไม่ได้ดีนัก จึงใช้การเคลื่อนไหวด้วยการเดินใต้น้ำแทน การหุบขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปบนก้านกระดูกโพรโอติก และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกโพรโอติกที่อยู่ในซัยโนเวียลแคปซูล ขอบนอกของกระดองหลังมีร่องที่แบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 11 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องในลักษณะยืดหยุ่นได้ ซึ่งเต่าในวงศ์นี้มีลักษณะคล้ายคลึงกับเต่าในวงศ์ Platysternidae หรือ เต่าปูลู ที่พบในทวีปเอเชีย ซึ่งมีขนาดเล็กกว่ามาก ซึ่งในบางข้อมูลได้จัดรวมทั้ง 2 วงศ์นี้ให้อยู่ด้วยกัน แต่เป็นวงศ์ย่อยของกันและกัน เต่าสแนปปิ้ง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 สกุล (ดูในตาราง) เป็นเต่าที่อาศัยและหากินในน้ำเป็นหลัก ด้วยวิธีการฉกเหยื่อด้วยกรามที่ทรงพลังด้วยความรุนแรงและรวดเร็ว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือ ถือเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่ยังมีชีวิตอยู่ เพราะได้ปรากฏขึ้นมาเป็นโลกเป็นเวลานานถึง 90 ล้านปีแล้ว และเหลือสมาชิกที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่แค่ไม่กี่ชนิดเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เต่าสแนปปิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เต่าทะเล

วงศ์เต่าทะเล (Marine turtle, Sea turtle, Modern sea turtle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Cheloniidae) เป็นวงศ์ของเต่าในวงศ์ใหญ่ Chelonioidea หรือ เต่าทะเล ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cheloniidae มีกระดองที่แบนและยาว เมื่อมองจากด้านหน้าทางตรงจะเห็นเป็นรูปสามเหลี่ยม ขาคู่หน้าและหลังเปลี่ยนรูปเป็นใบพายเพื่อใช้สำหรับว่ายน้ำ โดยเฉพาะขาคู่หนาที่ยาวกว่าคู่หลัง เพราะใช้ในการเคลื่อนที่ ส่วนขาคู่หลังใช้ควบคุมทิศทางเหมือนหางเสือ การหุบขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปบนกระดูกโพรโอติก และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกโพรโอติกที่อยู่ในซัยโนเวียลแคปซูล กระดูกท้องไม่มีกระดูกมีโสพลาสทรอน กระดูกพลาสทรอนที่เชื่อมต่อกับขอบนอกของกระดองหลังอาจมั่นคงหรือไม่มั่นคง ขอบนอกของกระดองหลังมีร่องที่แบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 11 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องในลักษณะยืดหยุ่นได้ เต่าทะเลจะใช้ชีวิตตลอดทั้งชีวิตอยู่ในทะเล จะขึ้นมาบนบกก็เพียงเพื่อวางไข่เท่านั้น และไม่มีพฤติกรรมผึ่งแดดเหมือนเต่าน้ำจืด อีกทั้งไม่สามารถหดหัวหรือขาเข้าไปในกระดองได้เหมือนเต่าบกหรือเต่าน้ำจืด เต่าทะเลจะวางไข่ได้เมื่ออายุถึง 25 ปี หรือมากกว่านั้น ทุกชนิดจะวางไข่บนหาดทรายที่เงียบสงบ ปราศจากแสงสี ส่งรบกวน ในเวลากลางคืน ยกเว้นในสกุล Lepidochelys ที่มีพฤติกรรมวางไข่ในเวลากลางวัน เมื่อขึ้นมาบนบกจะไม่สามารถยกตัวเองให้สูงพ้นพื้นได้ ตัวเมียจะวางไข่ได้หลายครั้ง อาจถึง 2-5 ครั้ง ภายในปีเดียว แต่ปริมาณไข่จะมากที่สุดอยู่ในช่วงฤดูสืบพันธุ์ เต่าทะเลสามารถพบได้ในทะเลและมหาสมุทรทั่วโลก ยกเว้นในแถบอาร์กติกเท่านั้น ปัจจุบันพบทั้งหมด 6 ชนิด 5 สกุล.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เต่าทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เต่าคองู

วงศ์เต่าคองู (Austro-american side-necked turtles, Snake-necked turtles) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelidae เป็นเต่าที่อยู่ในอันดับย่อย Pleurodira หรือ เต่าที่สามารถเบนหัวไปข้างด้านข้างหรือแนวราบของลำตัวได้ มีลักษณะเด่น คือ มีขอบด้านท้ายของกะโหลกเว้ามาก มีกระดูกพาไรทัลและกระดูกสควาโมซัล ส่วนกระดูกควาดาโทจูกัลลดรูปไป การหุบปากหรือการอ้าขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปบนก้านกระดูกพอเทอรีกอยด์ และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกพอเทอรีกอยด์ซึ่งไม่มีซัยโนเวียลแคปซูล แต่มีท่อคล้ายถุงซึ่งภายในมีของเหลวและเจริญของช่องปากเข้ามาทำหน้าที่ทดแทน กระดองท้องไม่มีกระดูกมีโสพลาสทรอน แต่มีกระดูกพลาสทรอนชิ้นใหญ่เจริญไปเชื่อมต่อกับขอบนอกของกระดองหลังที่มีร่องแบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 11 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องมั่นคงและกระดูกอิเลียมไม่มีก้านกระดูกธีเลียล เต่าในวงศ์นี้มีความยาวของกระดองประมาณ 15 เซนติเมตร จนถึง 50 เซนติเมตร กระดองหลังแบนราบ ส่วนใหญ่เป็นเต่าที่อาศัยและหากินในน้ำจืดเป็นหลัก พบบางชนิดบ้างในน้ำกร่อย ในบางชนิดมีพฤติกรรมฝังตัวอยู่ใต้โคลนในฤดูแล้งคล้ายการจำศีล หลายสกุลมีคอยาวมาก กินอาหารด้วยวิธีการดูด พบทั้งหมด 10 สกุล (ดูในตาราง) ประมาณ 50 ชนิด กระจายพันธุ์ทั้งในประเทศออสเตรเลีย, เกาะนิวกินี และทวีปอเมริกาใต้ มีหลายชนิดนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง เช่น เต่ามาตามาต้า (Chelus fimbriata), เต่าคองู (Chelodina longicollis) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เต่าคองู · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เต่านา

วงศ์เต่านา (Terrapin, Pond turtle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Geoemydidae หรือ ในอดีตใช้ Bataguridae) เป็นวงศ์ของเต่า ที่ส่วนมากอาศัยอยู่ในน้ำทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย หรือบางส่วนอาศัยบนพื้นที่มีความชุ่มชื้นหรือชื้นแฉะ หรืออยู่บนบกแห้ง ๆ เลยก็มี เป็นเต่าที่มีกระดองทรงกลมหรือโค้งนูนเล็กน้อย กระดองท้องใหญ่ กระดูกแอนกูลาร์ของขากรรไกรล่างไม่เชื่อมติดกับกระดูกอ่อนเมคเคล กระดูกเบสิคออคซิพิทัลเป็นชิ้นกว้าง การหุบขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปกระดูกโพรโอติก และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกโพรโอติกที่อยู่ในซัยโนเวียลแคปซูล กระดองท้องไม่มีกระดูกมีโสพลาสทรอน มีกระดูกพลาสทรอนไปเชื่อมต่อกับขอบนอกของกระดองหลังที่มีร่องแบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 11 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องในลักษณะที่ยืดหยุ่นได้ เต่าในวงศ์นี้ถือเป็นวงศ์ใหญ่ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง) มีทั้งหมด 23 สกุล พบราว 65 ชนิด แพร่กระจายพันธุ์ในทวีปยุโรปตอนใต้, เอเชียอาคเนย์, อเมริกากลาง และบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยมีเต่าในวงศ์นี้มากถึง 16 ชนิด อาทิ เต่าลายตีนเป็ด (Callagur borneoensis), เต่ากระอาน (Batagur baska), เต่านา (Malayemys macrocephala และM. subtrijuga), เต่าหับ (Cuora amboinensis), เต่าดำ (Siebenrockiella crassicollis) เป็นต้น โดยเต่าชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้คือ เต่าน้ำบอร์เนียว (Orlitia borneensis) ที่มีความยาวของกระดองได้ถึง 80 เซนติเมตร พบในบึงน้ำและแม่น้ำของมาเลเซียและเกาะบอร์เนียว ซึ่งเป็นเต่าชนิดหนึ่งที่ใกล้สูญพันธุ์มากแล้วชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เต่านา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เต่าแก้มแดง

วงศ์เต่าแก้มแดง (Terrapin, Pond turtle, Marsh turtle) เป็นวงศ์ของเต่าวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อว่า Emydidae เป็นเต่าที่มีลักษณะคล้ายกับเต่าในวงศ์เต่านา (Bataguridae) คือ มีกระดองที่โค้งกลมเหมือนกัน กระดองท้องใหญ่เหมือนกัน ในบางสกุลจะมีบานพับที่กระดองท้อง เช่น Terrapene แต่กระดูกแอนกูลาร์ของขากรรไกรล่างไม่เชื่อมติดกับกระดูกอ่อนเมคเคล กระดูกออคซิพิทัลเป็นชิ้นแคบ การหุบขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปกระดูกโพรโอติก และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกโพรโอติกที่อยู่ในซัยโนเวียลแคปซูล กระดองท้องไม่มีกระดูกมีโสพลาสทรอน มีกระดูกพลาสทรอนไปเชื่อมต่อกับขอบนอกของกระดองหลังที่มีร่องแบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 11 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องในลักษณะที่ยืดหยุ่นได้ เป็นเต่าที่มีวงศ์ขนาดใหญ่ จึงแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย ๆ (ดูในตาราง) มีทั้งหมด 10 สกุล ราว 50 ชนิด พบแพร่กระจายพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย ทั้งในทวีปยุโรป, อเมริกาเหนือ และบางส่วนของอเมริกาใต้ เต่าตัวผู้โดยมากจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียมาก และมีความแตกต่างระหว่างเพศมาก จนเห็นได้ชัดเจน กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ หรือบางสกุลหรือบางชนิดก็กินได้ทั้ง 2 อย่าง โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ เต่าแก้มแดง (Trachemys scripta) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "เต่าญี่ปุ่น" ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงจนกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในหลายประเทศ รวมถึงในประเทศไทยด้วย โดยสามารถโตเต็มที่ได้ถึง 60 เซนติเมตร และขนาดเล็กที่สุด คือ เต่าจุด (Clemmys guttata) ที่โตเต็มที่มีความยาวกระดองเพียง 10-12 เซนติเมตร เท่านั้น ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยฝังไข่ไว้ในหาดทรายริมฝั่งแม่น้ำ โดยเต่าเพศเมียจะวางไข่ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ และลูกเต่าจะฟักเป็นตัวในช่วงปลายฤดูร้อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และวงศ์เต่าแก้มแดง · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์รวมสายพันธุ์กล้วย

ป้ายด้านหน้าสวน ศูนย์รวมสายพันธุ์กล้วย เป็นแหล่งรวบรวมสายพันธุ์กล้วยขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง อยู่ในจังหวัดกำแพงเพชร ตั้งอยู่ในเขต พิพิธภัณฑสถานกำแพงเพชรเฉลิมพระเกียรติ (หรือ "พิพิธภัณฑ์เรือนไทย") ด้านหลังศาลากลางจังหวัดกำแพงเพชร และมีรั้วติดกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร มีการปลูกกล้วยไว้มากกว่า 200 ชนิด เปิดให้บริการทุกวัน โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใ.

ใหม่!!: สปีชีส์และศูนย์รวมสายพันธุ์กล้วย · ดูเพิ่มเติม »

สกุล (ชีววิทยา)

ในทางชีววิทยา สกุล (อังกฤษ genus) เป็นการจัดกลุ่มเอาสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ที่มีลักษณะใกล้เคียงเข้ามารวมกัน ในการตั้งชื่อแบบทวินาม ชื่อสิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นจากสองส่วน คือ สกุล ซึ่งต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ สปีชีส์ ตัวอย่างหนึ่งคือ Homo sapiens เป็นชื่อเรียกมนุษย์ อยู่ในสกุล Homo ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่งสามารถซ้ำกับชื่อสกุลหรือชื่อในอนุกรมวิธานของอาณาจักรอื่นได้ ตัวอย่างเช่น Anura เป็นชื่อสกุลของพืชในวงศ์ และเป็นชื่ออันดับของกบ Aotus เป็นชื่อสกุลของถั่วและลิง เป็นต้น แต่ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่ง ๆ ต้องห้ามซ้ำกัน หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุล (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชบา

กุลชบา (Hibiscus) เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Malvaceae เป็นสกุลขนาดใหญ่ มีด้วยกันราว 200 ถึง 230ชนิด พบในเขตอากาศอุ่นในกึ่งเขตร้อนและเขตร้อนทั่วโลก ไม้สกุลนี้มีทั้งพืชปีเดียวและพืชหลายฤดู มีทั้งไม้ล้มลุกและพืชที่มีเนื้อไม้ ชื่อสกุลนี้มาจากภาษากรีก ἱβίσκος (hibískos) ซึ่งเป็นชื่อที่นักปรัชญาและนักพฤกษศาสตร์ชาวกรีก พีดาเนียส ไดออสคอริดีส ตั้งให้กับ Althaea officinalis.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลชบา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบัวผุด

กุลบัวผุด หรือ Rafflesia เป็นสกุลของพืชเบียนที่เป็นพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 28 สปีชีส์ พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลบัวผุด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบาร์โบดีส

กุลบาร์โบดีส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Barbodes (/บาร์-โบ-ดีส/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำว่า Barbodes มาจากภาษาละตินคำว่า barbus หมายถึง "หนวดปลา" และภาษากรีกคำว่า oides หมายถึง "เหมือนกับ" หรือ "คล้ายกับ" มีลักษณะสำคัญ คือ เมื่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนจะมีแต้มกลมเรียงกันในแนวด้านข้างลำตัว 3-5 แต้ม ซึ่งรวมทั้งแต้มบริเวณคอดหาง และมีแต้มที่จุดเริ่มต้นของครีบหลัง ก้านครีบแข็งมีขอบเป็นซี่จักรแข็ง เกือบทุกชนิดมีหนวดบนขากรรไกรบนสองคู่ ยกเว้นในบางชนิด มีเกล็ดที่มีท่อในแนวเส้นข้างลำตัว 22-32 เกล็.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลบาร์โบดีส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบาร์โบนีมัส

กุลบาร์โบนีมัส (Tinfoil barb) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Barbonymus (/บาร์-โบ-นี-มัส/) มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธานคือ มีครีบหลังที่มีก้านครีบเดี่ยวที่ขอบจักเป็นฟันเลื่อย ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ปากล่างมีร่องระหว่างริมปากกับกระดูกขากรรไกร ฐานครีบก้นยาวประมาณร้อยละ 90 ของหัว จะงอยปากไม่มีตุ่มเม็ดสิว มีหนวด 2 คู่ โดยแบ่งเป็นริมฝีปากบน 1 คู่ และมุมปาก 1 คู่ ปลาที่อยู่ในสกุลนี้มีทั้งหมด 10 ชนิด เป็นปลาที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมด สกุลนี้ได้รับการตั้งชื่อในปี ค.ศ. 1999 โดยมอริส ก็อตลา ซึ่งเป็นนักมีนวิทยาชาวสวิสที่พำนักอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ โดยแยกออกมาจากสกุล Barbodes โดยคำว่า Barbonymus มาจากคำว่า Barbus ซึ่งเป็นสกุลหนึ่งในวงศ์เดียวกัน ที่เคยรวมกันเป็นสกุลเดียวกันก่อนหน้านั้น และคำว่า ἀνώνυμος (anṓnumos) ในภาษากรีกโบราณ ที่แปลว่า "ที่ไม่ระบุชื่อ" เนื่องจากปลาสกุลนี้ก่อนหน้านี้ขาดชื่อทั่วไปที่เหมาะสม.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลบาร์โบนีมัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบานไม่รู้โรย

กุลบานไม่รู้โรย (Gomphrena) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลกอมฟรีนา (Gomphrena) ในวงศ์บานไม่รู้โรยที่มีด้วยกัน 4 สปีชีส์.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลบานไม่รู้โรย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชิมแปนซี

กุลชิมแปนซี (Chimpanzee, Bonobo, Chimp) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีวิวัฒนาการสูง ใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด ในอันดับวานร เป็นลิงไม่มีหาง ใช้ชื่อสกุลว่า่ Pan มีถิ่นที่อยู่ในแถบทวีปแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกากลางระดับเส้นศูนย์สูตร ตัวผู้จะหนักราว 110 ปอนด์ มีส่วนสูงเฉลี่ย 5 ฟุต ส่วนตัวเมียหนักราว 88 ปอนด์และสูงเฉลี่ย 4 ฟุต สามารถปีนป่ายต้นไม้ได้เป็นอย่างดี แต่ชอบที่จะหากินและอาศัยอยู่้บนพื้นดินมากกว่า ขนตามลำตัวสั้นสีน้ำตาลดำหรือเทาเข้ม แต่ที่มือและเท้าไม่มีขน รวมทั้งบริเวณใบหน้าและใบหู มีลักษณะเด่น คือ ไม่มีดั้งจมูก ขากรรไกรค่อนข้างยื่นออกมา มีฟันกรามที่พัฒนาใช้การได้ดี มีปริมาตรสมองราว 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีโครโมโซมจำนวน 24 คู่ และมีดีเอ็นเอร่วมกับมนุษย์ถึงร้อยละ 99.4 เนื่องจากมีบรรพบุรุษร่วมกันมา แต่ได้แยกวิวัฒนาการออกจากกันเมื่อราว 5-6 ล้านปีก่อน มีพฤติกรรมกินพืชเป็นอาหารหลัก โดยปกติเป็นสัตว์ที่รักสงบ แต่ก็มีบางครั้งที่ตัวผู้จะมีพฤติกรรมดุร้าย มักยกพวกเข้าโจมตีกัน และยังมีพฤติกรรมล่าลิงชนิดอื่น ได้แก่ ลิงโลกเก่ากินเป็นอาหารอีกด้วย เป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นครอบครัว มีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติกัน โดยมีตัวผู้เป็นจ่าฝูง ออกลูกครั้งละเพียง 1 ตัว อายุขัยโดยเฉลี่ย 40 ปี เป็นสัตว์ที่มีความเฉลียวฉลาด มีการแสดงออกทางอารมณ์คล้ายคลึงและใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด รวมทั้งกล้ามเนื้อและสรีระ ทั้งนี้เพราะระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์และชิมแปนซีนั้นคล้ายกันมาก แต่ถึงอย่างนั้นเมื่อเปรียบเทียบกันต่อหน่วยน้ำหนักแล้ว ชิมแปนซีมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงกว่ามนุษย์ 2-3 เท่า โดยมีการศึกษาพบว่า ชิมแปนซีมีความทรงจำดีัเสียยิ่งกว่ามนุษย์ที่เป็นผู้ใหญ่เสียอีก และจดจำคำศัพท์ของมนุษย์ได้ถึง 125 คำ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลชิมแปนซี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชิงชี่

กุลชิงชี่ หรือCapparis เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Capparaceae ซึ่งรวมอยู่กับวงศ์ Brassicaceae ในระบบ APG II กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลชิงชี่ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพรุน

กุลพรุน เป็นสกุลของต้นไม้และไม้พุ่มซึ่งรวมถึงพลัม, เชอร์รี, ลูกท้อ, เอพริคอต, ซากุระ และอัลมอนด์ ใช้ชื่อสกุลว่า Prunus ในวงศ์กุหลาบ แต่เดิมอยู่ในวงศ์ย่อย Prunoideae (หรือ Amygdaloideae) แต่บางครั้งก็มีวงศ์เป็นของตนเองคือ Prunaceae (หรือ Amygdalaceae) เมื่อเร็วๆนี้ เห็นได้ชัดว่า Prunus วิวัฒน์มาจากวงศ์ย่อย Spiraeoideae มีประมาณ 430 สปีชีส์ กระจายทั่วพื้นที่ส่วนบนของโลก ดอกเป็นสีขาวถึงชมพู มี 5 กลีบเลี้ยง 5 กลีบดอก เป็นดอกเดี่ยวหรือในช่อซี่ร่ม 2-6 หรือมากกว่าบนช่อกระจะ ผลเป็นแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง ใบเป็นรูปหอก ไม่มีหยักหรือฟันบนขอบใ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลพรุน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพวงแก้วกุดั่น

กุลพวงแก้วกุดั่น เป็นสกุลที่มีสมาชิกประมาณ 300 สปีชีส์ อยู้ในวงศ์ Ranunculaceae พันธุ์ผสมหลายชนิดเป็นที่นิยมของนักจัดสวน เช่น Clematis × jackmanii ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในจีนและญี่ปุ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลพวงแก้วกุดั่น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพุนชัส

ปลาตะเพียนหน้าแดง (''Sahyadria denisonii'') ซึ่งเดิมเคยอยู่ในสกุลนี้ แต่ปัจจุบันแยกอยู่ในสกุล ''Sahyadria''Raghavan, R., Philip, S., Ali, A. & Dahanukar, N. (2013): http://www.threatenedtaxa.org/ZooPrintJournal/2013/November/o367326xi134932-4938.pdf ''Sahyadria'', a new genus of barbs (Teleostei: Cyprinidae) from Western Ghats of India. ''Journal of Threatened Taxa, 5 (15): 4932-4938.'' สกุลพุนชัส (Barb) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีอยู่ด้วยกันมากมายหลายชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Puntius.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลพุนชัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกระโถนฤๅษี

กระโถนฤๅษี เป็นสกุลพืชไม้ดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน ขึ้นอาศัยบนเถาองุ่นและพืชสกุลเครือเขาน้ำ (Tetrastigma) พืชสกุลนี้พบแค่ในป่าร้อนชื้นของเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดอกของพืชสกุลกระโถนฤๅษีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 ซม.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลกระโถนฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกล้วย

กุลกล้วย (Musa) เป็นหนึ่งในสามสกุลของวงศ์กล้วย (Musaceae) ประกอบด้วยกล้วยและกล้าย มีมากกว่า 50 ชนิด มีการนำไปใช้งานหลากหลาย พืชสกุลนี้แม้จะเติบโตสูงเหมือนต้นไม้ แต่กล้วยและกล้ายไม่มีเนื้อไม้และที่ปรากฏให้เห็นเป็นลำต้นนั้น เป็นเพียงก้านใบที่มีขนาดใหญ่ ทำให้มันกลายเป็นพืชโตชั่วฤดูขนาดยักษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะพ้อ

กุลกะพ้อ เป็นสกุลของพืชวงศ์ปาล์มที่มักพบในเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี และฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นปาล์มที่ใบแผ่เป็นรูปพัด จะแบ่งเท่าหรือไม่เท่าก็ได้;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลกะพ้อ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะหนานปลิง

กุลกะหนานปลิง หรือ Pterospermum เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Sterculiaceae ซึ่งปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ Malvaceae ในระบบ Angiosperm Phylogeny Group Pterospermum มาจากภาษากรีก 2 คำ "Pteron" และ "Sperma" หมายถึง "เมล็ดมีปีก".

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลกะหนานปลิง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมหาพรหม

กุลมหาพรหม หรือ Mitrephora เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae มีสมาชิกประมาณ 40 สปีชีส์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กและไม้พุ่ม พบในเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลียเหนือ แพร่กระจายจากจีนไปจนถึงเกาะไหหลำจนถึงรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย พืชสกุลนี้พบมากในอินเดียและมีความหลากหลายในเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมหาพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะพลับ

กุลมะพลับ หรือ Diospyros เป็นสกุลที่มีสมาชิก 450–500 สปีชีส์ ซึ่งไม่ผลัดใบ มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อน หลายสปีชีส์จะเป็นที่รู้จักในชื่อพลับ บางชนิดเนื้อไม้แข็ง คุณภาพดี บางชนิดผลรับประทานได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมะพลับ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะม่วงหัวแมงวัน

กุลมะม่วงหัวแมงวัน หรือ Buchanania เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Anacardiaceae สปีชีส์ในสกุลนี้ ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมะม่วงหัวแมงวัน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะขามป้อม

กุลมะขามป้อมหรือPhyllanthus เป็นสกุลขนาดใหญ่ในวงศ์ Phyllanthaceae คาดว่ามีสมาชิกประมาณ 750David J. Mabberley.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมะขามป้อม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะขามเทศ

กุลมะขามเทศ หรือ Pithecellobium เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Fabaceae ชื่อสกุลนี้มาจาก ภาษากรีก πιθηκος (pithekos), หมายถึงลิง และ ελλοβιον (ellobion), หมายถึง ต่างหู ซึ่งหมายถึงรูปร่างของฝัก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมะขามเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะแฟน

กุลมะแฟนหรือProtium เป็นสกุลของพืชที่มีสมาชิกมากกว่า 140 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Burseraceae เป็นพืชท้องถิ่นในบริเวณมาดากัสการ์ นิวกินี และเอเชียใต้ตั้งแต่ปากีสถานจนถึงเวียดนาม บางครั้งรวมสกุลนี้เข้ากับสกุล Bursera และมีความใกล้เคียงกับสกุล Crepidospermum และ Tetragastris.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมะแฟน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะไฟ

Baccaurea เป็นสกุลของพืชมีดอก อยู่ในวงศ์ Phyllanthaceaeประกอบด้วยสปีชีส์มากกว่า 100 สปีชีส์ แพร่กระจายจากอินโดนีเซีย จนถึงแปซิฟิกตะวันตก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมะไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะเม่า

Antidesma เป็นสกุลของพืชเขตร้อนในวงศ์ เป็นพืชที่มีความสูงได้หลากหลาย มีทั้งต้นเตี้ยและต้นสูง ช่อดอกเป็นช่อยาว และเมื่อติดผลจะเป็นช่อยาวด้วย ผลกลม ขนาดเล็ก มักมีรสเปรี้ยวเมื่อดิบ สุกแล้วเป็นสีแดงแล้วกลายเป็นดำ รสจะหวานขึ้น Antidesma เป็นสกุลของพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของโลกเก่า มีประมาณ 100 สปีชีส์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมี 18 สปีชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมะเม่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมังคุด

กุลมังคุด หรือGarcinia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Clusiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในออสเตรเลีย เอเชีย แอฟริกาใต้และโพลีเนเซีย ตัวอย่างพืชในสกุลนี้เช่น มังคุด ชะมวง ส้มแขก เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมังคุด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมีสทัส

กุลมีสทัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลากด (Bagridae) ในอันดับปลาหนัง (Siluformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Mystus (/มีส-ทัส/) เดิมทีสกุลนี้มิได้มีการกำหนดชนิดต้นแบบไว้ ต่อมาภายหลัง ได้มีการการกำหนดให้ Bagrus halapenesis เป็นต้นแบบ แต่อย่างไรก็ตาม ได้มีนักมีนวิทยาหลายท่านได้ให้การรับรองและนำมาตั้งเป็นชื่อปลาที่ตนเองค้นพบ เช่น เค.ซี. จารายาม ในปี ค.ศ. 1977, ค.ศ. 1978 และค.ศ. 1981, มัวรีซ คอทเทเลท ในปี ค.ศ. 1985, ดับเบิลยู.อี. เบอร์เกส ในปี ค.ศ. 1989 และไทสัน โรเบิร์ตส์ ในปี ค.ศ. 1989 และค.ศ. 1992 เป็นต้น มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาว ผิวหนังเรียบ หัวแบน นัยน์ตาเล็ก ปากกว้าง รูปปากตัดตรง ขากรรไกรบนยาวกว่าขากรรไกรล่างเล็กน้อย ปากมีริมฝีปากโดยรอบ ฟันที่ขากรรไกรเป็นซี่เล็กละเอียด ฟันที่กระดูกเพดานเรียงเป็นแผ่นโค้งเล็กน้อย ช่องเหงือกกว้าง โดยเฉพาะด้านล่าง หนังริมกระดูกแก้มทั้งสองข้างแยกจากกันเป็นอิสระไม่ติดกับเอ็นคาง กระดูกกะโหลกบางชนิดไม่เรียบและมีร่องที่กึ่งกลางกะโหลก กระดูกท้ายทอยส่วนหลังยื่นยาวเป็นกิ่ง บางส่วนเปลือย และบางส่วนซ่อนอยู่ใต้ผิวหนัง มีหนวด 4 คู่ คือ หนวดขนาดเล็กและที่สั้นจมูก 1 คู่ หนวดที่ริมปากบนยาวเลยหัว 1 คู่ และมีหนวดที่คางสั้นกว่าความยาวหัว 1 คู่ ครีบหลังมีด้านครีบเดี่ยวที่ขอบจักเป็นฟันเลื่อย 1 ก้าน และครีบแขนง 6 ก้าน มีครีบไขมัน 1 ก้าน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยวเป็นเงี่ยงแข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย ปลายครีบยาวไม่ถึงฐานของครีบท้อง ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึกแยกเป็น 2 แฉก แต่ขนาดไม่เท่ากัน โดยปลายแฉกบนในบางชนิดแยกออกมาเป็นครีบเดี่ยวที่เรียวยาวเหมือนหางเปีย ในอดีต ปลากดในสกุลมิสทัสนี้เคยรวมอยู่เป็นสกุลเดียวกันกับ Bagrus, Hemibagrus และSperata แต่ต่อมาได้มีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่ามีความแตกต่างกันพอสมควร จึงมีการจับแยกกันในปัจจุบัน ซึ่งปลาในสกุลมีสทัสนี้ถือว่าเป็นปลาที่มีขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง ในภาษาไทยอาจเรียกชื่อสามัญได้ว่า "ปลาแขยง" พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์ โดยในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลมีสทัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลม้า

กุลม้า หรือ สกุลลา เป็นสกุลของสัตว์ในวงศ์ Equidae ซึ่งประกอบไปด้วยม้า, ลา, และ ม้าลาย ในวงศ์ Equidae ใช้ชื่อสกุลว่า Equus เป็นเพียงสกุลเดียวที่มีชนิดในสกุลยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน มีชนิดจำนวนมากที่สูญพันธุ์ไปแล้วหรือเป็นซากดึกดำบรร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลม้า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยอ

กุลยอ หรือ Morindaเป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Rubiaceae.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลยอ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยาสุฮิโกทาเกีย

กุลยาสุฮิโกทาเกีย เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Yasuhikotakia (/ยา-สุ-ฮิ-โก-ทา-เกีย/) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวยาว แบนข้าง คอดหางใหญ่ มีหนังหนาคลุมเกล็ดมิด มีเขี้ยวพับเก็บได้ในร่องบริเวณด้านหน้าของตา ปากเล็กยื่นแหลมมีหนวด 3 คู่ รอบปาก ปลาในสกุลนี้ เดิมเคยจัดอยู่ในสกุล Botia แต่ในปี ค.ศ. 2002 ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลยาสุฮิโกทาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลรองเท้านารี

กุลรองเท้านารี (Paphiopedilum) เป็นพันธุ์ไม้ประเภทกล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลรองเท้านารี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลรัสบอร่า

กุลรัสบอร่า เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ซึ่งตั้งชื่อโดย ปีเตอร์ บลีกเกอร์ ในปี ค.ศ. 1859 ใช้ชื่อสกุลว่า Rasbora (/รัส-บอ-รา/) มีลักษณะโดยรวม คือ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้าน และก้านครีบแขนง 7 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน ปากแคบ มีปุ่มในปากล่าง ไม่มีหนวด และจุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัว มีการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำของทวีปแอฟริกา, ทวีปเอเชีย พบตั้งแต่เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก มีสมาชิกในสกุลนี้จำนวนมาก โดยในประเทศไทยจะเรียกปลาในสกุลนี้รวม ๆ กันว่า "ปลาซิว" มีอยู่หลายชนิด สำหรับในประเทศไทย ปลาที่ได้ชื่อว่าปลาซิว คือ ปลาที่อยู่ในสกุลนี้มากที่สุด มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้บริโภคกันในท้องถิ่นและการเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม โดยอาจเรียกทับศัพท์ตามชื่อวิทยาศาสตร์ไปว่า รัสบอร่า โดยรวบรวมปลาได้จากการจับทีละมาก ๆ จากธรรมชาติและเพาะขยายพันธุ์ได้เองในที่เลี้ยง อีกทั้งยังถือเป็นห่วงโซ่อาหารเบื้องต้นตามธรรมชาติอีกด้วย เนื่องจากปลาในสกุลนี้มีขนาดเล็กและกินพืชเป็นอาหาร จึงมักตกเป็นอาหารของปลาและสัตว์น้ำขนาดใหญ่กว่าเสมอ แต่ในปัจจุบัน ได้มีการแบ่งแยกเป็นสกุลใหม่ ได้แก่ Kottelatia 1 ชนิด, Boraras 5 ชนิด, Breviora 2 ชนิด, Microrasbora 7 ชนิด และ Trigonostigma 4 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลรัสบอร่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลราชพฤกษ์

กุลราชพฤกษ์ หรือ Cassia เป็นสกุลไม้ดอกไม้ประดับหนึ่งในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) นอกจากนี้ยังมีพืชชื่อ Cassia หลายชนิดในสกุลขี้เหล็ก (Senna) และสกุลอบเชย (Cinnamomum) สกุลราชพฤกษ์มีลักษณะทั่วไปเป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบเรียงเวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว ใบย่อยเรียงตรงข้าม ช่อดอกเป็นช่อแยกแขนงหรือช่อกระจะ ก้านดอกมีใบประดับ 2 ใบที่โคนหรือเหนือโคนเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ พับงอกลับ ดอกสมมาตรด้านข้าง มี 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาว 3 อัน ก้านชูอับเรณูโค้งงอ ส่วนอีก 7 อันสั้นกว่า ก้านชูอับเรณูตรง อับเรณูแตกหรือมีรูเปิดที่โคนหรือปลาย ผลเป็นแบบแห้งไม่แตก ทรงกระบอกหรือแบน เมล็ดจำนวนมาก เรียง 1-2 แถว.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลลัดวิเจีย

กุลลัดวิเจีย หรือ Ludwigia(primrose-willow, water-purslane, หรือ water-primrose) เป็นพืชตระกูลพืชน้ำ มีประมาณ 75 ชนิด สามารถพบได้ทุกพื้นที่ แต่ส่วนมากจะกระจายอยู่ในเขตร้อน;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลลัดวิเจีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลลาเบโอ

กุลลาเบโอ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดที่อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดยมีลักษณะที่สำคัญคือ ลำตัวยาว แบนข้างมากในบางชนิด บางชนิดแบนข้างน้อย จะงอยปากยื่นยาว บางชนิดจะงอยปากทู่ บางชนิดจะงอยปากแหลม ส่วนใหญ่ปลายจะงอยปากจะปกคลุมด้วยรูเล็ก ๆ และตุ่มเม็ดสิวเล็ก ๆ ใต้จะงอยปากมีติ่งเนื้อยื่นออกมาทั้งสองข้างอยู่หเนือขากรรไกรบน ริมฝีปากบนและล่างหนา หนวดที่ปลายจะงอยปากมักยาวกว่าหนวดที่มุมปากบน แต่ไม่ยาวมากนัก ความยาวของหนวดเมื่อเทียบกับเส้นผ่าศูนย์กลางตาแล้วมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบท้องยาวกว่าส่วนหัว ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังมีขอบเรียบและไม่เป็นหนามแข็ง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 10-12 ก้าน มีขนาดแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่มีขนาดไม่ถึงหนึ่งฟุตจนถึงเกือบ ๆ หนึ่งเมตร มักหากินโดยแทะเล็มตะไคร่น้ำ, สาหร่าย หรืออินทรียสารต่าง ๆ บริเวณโขดหินหรือใต้ท้องน้ำ พบทั้งทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พบแล้วมากกว่า 100 ชนิด นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและรับประทานเป็นปลาเศรษฐกิจ โดยที่ปลาสกุลนี้มีความใกล้เคียงกับสกุล Epalzeorhynchos มาก โดยที่หลายชนิด เช่น L. chrysophekadion ก็ใช้ชื่อสกุล Epalzeorhynchos เป็นชื่อพ้องด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลลาเบโอ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลลิงซ์

ำหรับลิงซ์ในความหมายอื่น ดูที่: Lynx ตะกูลลิงซ์ (Lynx, Bobcat) เป็นตะกูลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อสกุลหนึ่ง จัดเป็นเสือขนาดเล็ก ใช้ชื่อสกุลว่า Lynx อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) คำว่า Lynx ที่ใช้เป็นชื่อสกุล มีที่มาจากภาษาอังกฤษกลาง ที่มาจากภาษากรีกคำว่า "λύγξ" หรือมาจากรากศัพท์ภาษาอินโด-ยูโรเปียนคำว่า "ลุก" หมายถึง "แสงสว่าง" ซึ่งหมายถึงตาของลิงซ์ที่แวววาว ลิงซ์ มีลักษณะทั่วไปเหมือนแมวในสกุล Felis ทำให้ครั้งหนึ่งมีการพิจารณาว่า ควรมีสกุลเป็นของตนเองหรือไม่ หรือแค่จัดเป็นสกุลย่อยของสกุล Felis แต่ปัจจุบันได้ยอมรับว่าเป็นสกุลของตนเอง โดย จอห์นสัน และคนอื่น ๆ รายงานว่า ลิงซ์ได้มีเครือบรรพบุรุษร่วมกับ เสือพูม่า, แมวดาว และเชื้อสายของแมวบ้าน เมื่อ 7.15 ล้านปีมาแล้ว และลิงซ์ได้แยกตัวออกมาเป็นกลุ่มแรก เมื่อประมาณ 3.24 ล้านปีก่อน ลักษณะเด่นของลิงซ์ คือ มีขนที่หนาและปุกปุยกว่าตั้งแต่หางตาตลอดจนแก้ม มีจุดเด่น คือ ขนปลายหูที่เป็นพู่แหลมชี้ตั้งขึ้นตรง ลำตัวมีความยาวประมาณ 2 ฟุตครึ่ง แต่มีส่วนหางที่สั้นไม่สมมาตรกับลำตัว อุ้งเท้ามีขนาดกว้างใหญ่ ทำให้เดินบนหิมะและน้ำแข็งได้อย่างสะดวก ลิงซ์มีอุปนิสัยชอบลับเล็บกับต้นไม้ เหมือนกับสัตว์ในวงศ์นี้ทั่วไป ลิงศ์เป็นสัตว์ที่กินเนื้อได้หลากหลาย ตั้งแต่สัตว์เล็กเช่น นก, หนู, กระต่าย จนกระทั่งสัตว์ขนาดใหญ่กว่า เช่น ลูกวัว และลูกแกะ เป็นต้น ลิงซ์ กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทวีปเอเชียตอนเหนือและตอนกลาง, ทวีปยุโรป และอเมริกาเหนือ โดยอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ทั้งหมด 4 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลลิงซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลวานิลลา

กุลวานิลล หรือ Vanilla เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิกประมาณ 110 สปีชีส์ ชนิดที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ Vanilla planifoliaซึ่งเป็นพืชที่ผลิตกลิ่นวานิลลาที่ใช้ในทางการค้า เป็นกล้วยไม้เพียงชนิดเดียวที่มีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม อีกชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์ทางการค้าแต่ไม่ได้ใช้ในระดับอุตสาหกรรมคือ Vanilla pompona.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลวานิลลา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลวูลเปส

กุลวูลเปส (Fox, True fox) เป็นสกุลของหมาจิ้งจอกสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Vulpes จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ ซึ่งคำว่า "Vulpes" เป็นภาษาลาตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก" สกุลวูลเปส นับเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดของหมาจิ้งจอก คือ มีทั้งหมด 12 ชนิด โดยมี หมาจิ้งจอกแดง (Vulpes vulpes) เป็นต้นแบบของสกุล พบกระจายพันธุ์ไปแทบทุกส่วนของโลก ทั้ง ป่า, ชายป่าใกล้ชุมชนมนุษย์, ทะเลทราย, ที่ราบสูง หรือแม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลวูลเปส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสหยัดเรีย

กุลสหยัดเรีย เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Sahyadria ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) คำว่า Sahyadria มาจากคำว่า "Sahyadri" (สหยัดรี) ซึ่งเป็นชื่อท้องถิ่นของเทือกเขาเวสเทิร์นกาตส์ ในภาคตะวันตกของอินเดีย ซึ่งเป็นถิ่นกำเนิดของปลาในสกุลนี้ จัดเป็นปลาที่พบได้เฉพาะถิ่น ปัจจุบัน จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่Raghavan, R., Philip, S., Ali, A. & Dahanukar, N. (2013): Journal of Threatened Taxa, 5 (15): 4932-4938.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลสหยัดเรีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสิงโตพัด

thumb สกุลสิงโตพัด หรือ Cirrhopetalum เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง เป็นสกุลที่ใกล้เคียงกับสกุล Bulbophyllum กล้วยไม้บางชิดในสกุลเคยถูกจัดอยู่ในสกุล Bulbophyllum.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลสิงโตพัด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหญ้าจิ้มฟันควาย

กุลหญ้าจิ้มฟันควายหรือ Arundina เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิกเพียงชนิดเดียวคือยี่โถปีนัง แต่บางแหล่งกล้าวว่ามีสองสปีชีส์ กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลหญ้าจิ้มฟันควาย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหมูป่าหน้าหูด

กุลหมูป่าหน้าหูด สัตว์กีบคู่จำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Phacochoerinae และสกุล Phacochoerus ในวงศ์หมู (Suidae) หมูป่าหน้าหูด มีลักษณะแตกต่างจากหมูป่าทั่วไปอย่างเห็นได้ชัดเจน คือ มีลักษณะตัวโต หน้าแบนกว้าง ตาเล็ก มีจุดเด่นคือใต้ตาทั้งสองข้างมีก้อนเนื้อคล้ายหูดขนาดใหญ่ปรากฏอยู่ มีเขี้ยวโง้งออกมานอกปากเห็นชัดเจน ซึ่งเขี้ยวนี้จะใหญ่กว่าหมูป่าทั่วไป ประโยชน์ของการมีหูดนี้คือ ช่วยป้องกันใบหน้าและดวงตาเมื่อต่อสู้กัน อีกทั้งยังเป็นเครื่องหมายที่บ่งบอกถึงความแตกต่างระหว่างเพศอีกด้วย โดยในตัวผู้จะมีทั้งหูดและเขี้ยวโง้งยาวกว่าตัวเมีย เขี้ยวของตัวผู้จะมีเขี้ยวด้านบนถึงสองเขี้ยว มีความยาวได้ถึง 20 เซนติเมตรNovak, R. M. (editor) (1999).

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลหมูป่าหน้าหูด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหวาย (กล้วยไม้)

กุลหวาย (Dendrobium; /เดน-โด-เบียม/) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลหวาย (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลออรีเซียส

กุลออรีเซียส เป็นสกุลของปลาในวงศ์ปลาซิวข้าวสาร (Adrianichthyidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Oryzias (/ออ-รี-เซียส/) โดยมาจากภาษากรีกคำว่า ὄρυζα ซึ่งแปลว่า "ข้าว" อ้างอิงมาจากสถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ นาข้าว มีลักษณะสำคัญ คือ ขากรรไกรไม่ยืดหด ฐานด้านบนของครีบอกอยู่ใกล้แนวสันหลังของลำตัว ครีบหลังอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบก้นมีฐานยาว ครีบหางมีปลายกลมมน เป็นปลาที่เก็บไข่ไว้ใต้ครีบอก มีความยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ขนาดเต็มที่ไม่เกิน 9 เซนติเมตร โดยพบในแหล่งน้ำที่มีพรรณไม้น้ำมากมาย โดยมากพบในอุณหภูมิประมาณ 28 เซนติเมตร บ่อยครั้งที่พบในแหล่งน้ำที่มีค่าแร่ธาตุคาร์บอเนต และมีค่าความเป็นกรดด่าง (pH) ประมาณ 7.5 และอาจพบได้ในน้ำกร่อยได้ด้วย มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงญี่ปุ่น, เกาะสุลาเวสี, คาบสมุทรอินโดจีนจนถึงออสเตรเลีย ปัจจุบันพบแล้วประมาณ 32 ชนิด เป็นการพบได้ในประเทศไทย 6 ชนิด หน้า 26-27, สกุล Oryzias ปลาข้าวสาร โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลออรีเซียส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลทิลาเพีย

กุลทิลาเพีย เป็นสกุลของปลาน้ำจืด ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichildae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tilapia (/ทิลาเพีย/).

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลทิลาเพีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขี้เหล็ก

กุลขี้เหล็ก หรือ Senna (มาจาก ภาษาอาหรับ sanā) เป็นสกุลขนาดใหญ่ในวงศ์ Fabaceaeและวงศ์ย่อย Caesalpinioideae พืชในสกุลนี้เป็นพืชท้องถิ่นในเขตร้อน พบในเขตอบอุ่นไม่กี่ชนิด จำนวนสปีชีส์ประมาณ 260 - 350 สปีชีส์Randell, B. R. and B. A. Barlow.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลขี้เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลดีอานีม่า

กุลดีอานีม่า เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) ซึ่งเป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) โดยใช้ชื่อสกุลว่า Dianema มีรูปร่างเรียวยาวเป็นทรงกระบอก ส่วนหัวแหลม ปากแบนเล็ก มีหนวดบนปากสองเส้นและข้างปากอีกสองเส้น และริมฝีปากอีก 4 เส้น ใช้ในการสัมผัสหาอาหาร ลำตัวมีผิวหนังที่พัฒนาเป็นเกราะแข็งใช้สำหรับป้องกันตัว ส่วนหัวมีจุดสีดำกระจัดกระจายไปทั่ว มีแถบสีดำในแนวนอนลากยาวตั้งแต่จมูกจรดแผ่นปิดเหงือก ดวงตาอยู่ตรงขนานกับปาก ปลาตัวผู้มีหนามแข็งเล็ก ๆ ที่ก้านครีบอก ปลาตัวเมียมีลักษณะอ้วนป้อมกว่าหากมองจากด้านบน ตัวเมียเมื่อไข่สุกท้องจะขยายใหญ่ วางไข่ได้ถึงครั้งละ 500 ฟอง โดยปลาตัวผู้จะเป็นผู้ดูแลไข่ที่วางในหลุมพื้นน้ำที่ขุดขึ้น เป็นปลาขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 10-12 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ ไม่แรงเชี่ยว มีใบไม้หรือพืชน้ำทับถมกัน น้ำมีความเป็นกรดเล็กน้อย (pH ต่ำกว่า 7 ลงมาเล็กน้อย) ซึ่งมักเป็นแหล่งน้ำตื้น ๆ ไหลคดเคี้ยวในป่าดิบชื้น หากินเศษอาหารตามพื้นน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก แบ่งออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลดีอานีม่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลคองโกโครมิส

กุลคองโกโครมิส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Congochromis (/คอง-โก-โคร-มิส/) จัดเป็นปลาหมอแคระสกุลหนึ่ง เป็นสกุลใหม่ที่เพิ่งถูกตั้งชื่อมาในปี ค.ศ. 2007 เดิมเคยจัดให้อยู่ในสกุล Nanochromis ลักษณะโดยทั่วไป คือ มีขนาดเล็กกว่าปลาในสกุล Nanochromis มีลำตัวป้อมกว่า ตาไม่ปูดโปนทำให้ทรงหัวดูมนกลม มีพฤติกรรมหากินบริเวณพื้นน้ำ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง มีลักษณะการว่ายน้ำที่ประหลาด พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาตอนกลาง แถบลุ่มแม่น้ำคองโก ได้แก่ แคเมอรูน, ซาอีร์, แอฟริกากลาง เป็นต้น แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลคองโกโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลตานขโมย

กุลตานขโมย หรือ Apostasia เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิก 7 สปีชีส์ พบในเทือกเขาหิมาลัย อินเดีย ศรีลังกา เกาะนิวกินี และทางเหนือของออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลตานขโมย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลซิสทูรา

กุลซิสทูรา เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาค้อ (Balitoridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Schistura (/ซิส-ทู-รา/) เดิมทีปลาในสกุลนี้เคยอยู่รวมอยู่ในสกุล Nemacheilus เป็นปลาที่มีเกล็ดเล็กละเอียด มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นต้องใช้แว่นขยาย ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน มีหนวด 3 คู่ ที่จะงอยปาก 2 คู่ และมุมปาก 1 คู่ มีลำตัวยาวและแบนข้าง หัวกลมมน จะงอยปากสั้นทู่ ปากเล็กอยู่ใต้จะงอยปาก ริมฝีปากล่างมีเอ็นคั่นตรงกลาง รูก้นอยู่ใกล้ครีบก้นมากกว่าครีบท้อง ตามีขนาดเล็ก ลำตัวมีลายเป็นปล้อง ๆ สีดำหรือสีน้ำตาล พื้นลำตัวมักมีสีเขียวหรือสีน้ำตาล มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 12 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำลำธารที่น้ำมีอุณหภูมิค่อนข้างเย็นประมาณ 18-26 องศาเซลเซียส เช่น น้ำตกบนภูเขาหรือป่าดิบชื้น หากินในเวลากลางคืน มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูง หากินอาหารจำพวก แมลงน้ำและแทะเล็มตะไคร่น้ำ ปัจจุบันพบแล้วราว 200 ชนิด แต่จำนวนนี้ก็ยังไม่นิ่ง ด้วยการค้นพบใหม่ขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงเวียดนาม, ตอนใต้ของเทือกเขาหิมาลัย จนถึงมาเลเซียภาคตะวันตก เช่น รัฐปะลิส พบในประเทศไทยราว 30 ชนิด ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วด้วยวิธีเลียนแบบธรรมชาติ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลซิสทูรา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลซีสโทมัส

กุลซีสโทมัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Systomus (/ซีส-โท-มัส/) เป็นปลาพื้นเมืองที่พบได้ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย เป็นปลาที่มีขอบท้ายก้านครีบแข็งของครีบหลังมีซี่จักรแข็งแรง ริมฝีปากเรียบบาง มีหนวดที่ริมฝีปากบนสองคู่ เกล็ดในแนวเส้นข้างลำตัวพัฒนาเป็นท่อสมบูรณ์จำนวนระหว่าง 27-34 เกล็ด เกล็ดบนลำตัวแต่ละเกล็ดมีฐานเกล็ดสีดำ แลดูเหมือนลายตามยาวจาง ๆ มีแต้มกลมรี ตามแนวยาวที่ฐานครีบหาง หลายชนิดมีจุดกลมสีดำบริเวณจุดเริ่มต้นของครีบหลัง มักพบแถบสีดำบริเวณขอบบนและล่างของครีบหาง หน้า 68, ตะเพียน Update, "คุยเฟื่องเรื่องปลาไทย" โดย อ.ชัยวุฒิ กรุดพันธุ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลซีสโทมัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปรงไข่

ปรงไข่ในอินโดนีเซีย สกุลปรงไข่หรือ Acrostichum เป็นเฟินในวงศ์ย่อย Ceratopteridoideae ในวงศ์ Pteridaceae Maarten J. M. Christenhusz, Xian-Chun Zhang & Herald Schneider: "A linear sequence of extant families and genera of lycophytes and ferns," Phytotaxa, 19: 7-54 (18 Feb. 2011) เป็นเฟินที่มีซอรีแบบ "acrostichoid" หรือกระจายที่ด้านหลังของใบ Acrostichum aureum เป็นพืชทนเค็ม ขึ้นในป่าชายเลน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปรงไข่ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาชาร์

กุลปลาชาร์ (Salvelinus) เป็นสกุลปลาในวงศ์ปลาแซลมอน บางสปีชีส์ถูกเรียกว่า "ปลาเทราต์" กระจายพันธุ์อยู่ใกล้กับขั้วโลกเหนือ สายพันธุ์ปลาในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นปลาน้ำเย็นและอาศัยอยู่ในน้ำจืด แต่ก็มีบางสปีชีส์ที่อาศัยอยู่ในทะเล ปลาชาร์ส่วนมากจะมีสีครีมอ่อน, ชมพู หรือมีจุดแดงแต้มตามลำตัวสีมืด มีขนาดตัวเล็กเมื่อวัดจากเส้นข้างลำตัว มีครีบอก, ครีบเชิงกราน, ครีบหาง และครีบส่วนหลังเป็นสีขาวหิมะหรือสีครีบบริเวณปล.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปลาชาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาวัวปิกัสโซ

กุลปลาวัวปิกัสโซ (Picasso triggerfish) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งน้ำเค็มสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) อันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinecanthus (มาจากภาษากรีก rhinos หมายถึง "จมูก" และ akantha หมายถึง "หนาม" หรือ"เงี่ยง") มีชื่อสามัญเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาวัวปิกัสโซ" ขณะที่ในภาษาฮาวายจะเรียกปลาวัวสกุลนี้ว่า Humuhumu (ฮูมูฮูมู) หมายถึง "ปลาวัวที่มีหน้าคล้ายหมู" อันเนื่องจากมีส่วนหน้าที่ยื่นยาวออกมาเหมือนหมู ปากมีขนาดเล็ก ฟันแหลมคม และตามลำตัวมีลวดลายและสีสันต่าง ๆ สวยงาม ทั้ง สีดำ, สีฟ้า, สีเหลือง บนพื้นลำตัวสีขาวหรือสีส้ม มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ในแนวปะการัง ของแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ฮาวาย จนถึงอินโดนีเซีย จัดเป็นปลาวัวที่ไม่ดุร้ายมากนักเมื่อเทียบกับสกุลอื่น ๆ ประกอบกับสีสันที่สวยงาม จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ก็สามารถกัดให้ได้รับบาดเจ็บเหมือนกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปลาวัวปิกัสโซ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาหัวโต

กุลปลาหัวโต (Silver carp, Bighead carp) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืด 3 ชนิด ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่ต้นกำเนิดอยู่ในประเทศจีนแถบแม่น้ำฮวงโหและแม่น้ำสาขา ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปลาหัวโต · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาทองทะเล

ปลาทองทะเล เป็นสกุลของปลาทะเลขนาดเล็กที่อยู่ในสกุล Pseudanthias ในวงศ์ย่อย Anthiinae ของวงศ์ปลากะรัง หรือปลาเก๋า (Serranidae) เป็นปลาขนาดเล็กมีสีสันและลวดลายสดใส พบได้ในแนวปะการังของมหาสมุทรอินเดีย และแถบอินโด-แปซิฟิก จึงเป็นที่นิยมของนักประดาน้ำและการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม หลายชนิดจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปลาทองทะเล · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาปักเป้าตุ๊กแก

กุลปลาปักเป้าตุ๊กแก เป็นสกุลของปลาน้ำกร่อยและน้ำเค็มจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลาปักเป้า วงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Chelonodon (/ซี-ลอน-โอ-ดอน/) มีลักษณะที่สำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ ครีบหลังอยู่ใกล้กับครีบหาง มีก้านครีบแขนง 9-16 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 8-15 ก้าน เยื่อจมูกยื่นออกมาเป็นแผ่น ใต้ครีบหลังและโคนหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่ 1 จุด พบทั้งหมด 3 ชนิด ทั้งหมดเป็นปลาน้ำเค็มหมด และเป็นปลาที่ปรับตัวให้อาศัยอยู่ได้ในน้ำจืดและน้ำกร่อยเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปลาปักเป้าตุ๊กแก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาแพะ

กุลปลาแพะ (Corydorases, Corie, Cory) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Corydoras (/คอ-รี่-ดอ-เรส/) เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 5-9 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ตั้งแต่ เวเนซุเอลา, เปรู, บราซิล, เอกวาดอร์, ตรินิแดดและโตเบโก ไปตลอดจนแนวเทือกเขาแอนดีส มีจำนวนสมาชิกไม่แน่นอน เนื่องจากค้นพบชนิดใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี แต่ ณ ปัจจุบัน มีมากกว่า 100 ชนิดแล้ว นับว่าเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ นับเป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม หลายชนิดสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ทั้งง่ายและยาก เป็นปลาที่หากินอยู่กับหน้าดิน และอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารได้แก่ ไส้เดือนน้ำ และหนอนแดง อยู่ในน้ำที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ไม่เกิน 7 โดยชนิดที่นิยมเลี้ยง เช่น ปลาแพะเขียว (C. aeneus), ปลาแพะทรีลิเนียตัส (C. trilineatus), ปลาแพะสเตอร์ไบ (C. sterbai), ปลาแพะแพนด้า (C. panda), ปลาแพะพลิคาเรอัส (C. duplicareus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปลาแพะ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาไบเคอร์

กุลปลาไบเคอร์ หรือ สกุลปลาบิเชียร์ (Bichir, Dinosaur eel) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดกระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ในชื่อสกุลว่า Polypterus อยู่ในวงศ์ปลาไบเคอร์ (Polypteridae) จัดเป็นปลาที่มีวิวัฒนาการเป็นของตัวเอง ต่างจากปลากระดูกแข็งในวงศ์อื่น ๆ มีรูปร่างคลัยกับงูหรือกิ้งก่า ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานมากกว่าจะเป็นปลา มีเกล็ดขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจนเป็นแบบกานอยด์ หรือเกล็ดแบบสาก และสามารถหายใจได้โดยผ่านถุงลมแทนที่จะใช้ซี่กรองเหงือกเหมือนปลาในวงศ์อื่น ๆ มีครีบทุกครีบที่แข็งแรงและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งใช้ในการเคลื่อนที่ใต้น้ำได้เป็นอย่างดี โดยมักจะหากินใต้น้ำ ในเวลากลางคืน กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทวีปแอฟริกาทั้งแหล่งน้ำจืด และบริเวณที่เป็นน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำ ปลาไบเคอร์ ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ ปลาไบเคอร์ยักษ์ (Polypterus endlicheri congicus) ซึ่งเป็นชนิดย่อยของปลาไบเคอร์คองโก (P. endlicheri) ที่เมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีขนาดความยาวได้ถึงเกือบ 90 เซนติเมตร ปลาไบเคอร์ทุกชนิดเป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร โดยจะกินอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น ปลาต่าง ๆ เป็นอาหาร แต่ไม่ใช่เป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าว จึงนิยมนำมาเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ตัวผู้จะมีครีบก้นที่ยาวแหลมกว่า และมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่าปลาตัวเมียอย่างเห็นได้ชัด ปลาไบเคอร์ทุกชนิดออกลูกเป็นไข่ โดยในครั้งนึงจะออกประมาณ 300 ฟอง และตัวอ่อนจะออกจากไข่ภายในระยะเวลา 4 วัน นับจากแม่ปลาวาง.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลปลาไบเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลนกกระตั้วดำ

ำหรับนกกระตั้วดำอีกชนิด ดูที่: นกกระตั้วดำ นกกระตั้วดำ (Black cockatoo, Dark cockatoo) เป็นสกุลของนกปากขอขนาดใหญ่ ในวงศ์นกกระตั้ว (Cacatuidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Calyptorhynchus สกุลนี้บรรยายทางวิทยาศาสตร์โดยนักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศส อองเซลเม่ เกต็อง เดมาไรซ์ ในปี ค.ศ. 1826 พบทั้งหมด 5 ชนิด ทั้งหมดส่วนใหญ่มีขนสีทึบทึมเช่น สีเทา หรือสีน้ำตาลเข้ม และการอนุกรมวิธานจะพิจารณาตามตามขนาดและบางส่วนของขนขนาดเล็กสีแดง, สีเทา และสีเหลืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งในขนหาง จัดได้ว่ามีลักษณะทางพันธุกรรมที่ใกล้เคียงกับนกกระตั้วแก๊ง-แก๊ง (Callocephalon fimbriatum) และนกคอกคาเทล (Nymphicus hollandicus) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่ามาก ถือได้ว่าเป็นสกุลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของนกกระตั้วที่มิได้มีขนสีขาว และแบ่งออกได้เป็น 2 สกุลย่อย คือ Calyptorhynchus และ Zanda โดยพิจารณาจากสีขนและความแตกต่างกันระหว่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลนกกระตั้วดำ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลนมตำเลีย

กุลนมตำเลีย หรือ Hoya เป็นสกุลของพืชในวงศ์นมตำเลีย มี 200–300 สปีชีส์ในเขตร้อน ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย ได้แก่ อินเดีย จีน ไทย มาเลเซีย, และ อินโดนีเซีย และยังพบใน ฟิลิปปินส์ โพลีเนเซีย นิวกินี และ ออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลนมตำเลีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแบร็คอิรัส

กุลแบร็คอิรัส (Zebra fishes) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็ง ในวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Brachirus (/แบร็ค-อิ-รัส/) มีลักษณะสำคัญ คือ ครีบหลัง, ครีบหาง และครีบท้องเชื่อมติดกัน ครีบอกมีขนาดเล็กมาก หรือบางชนิดไม่มีครีบอกเลย หนังขอบกระดูกแก้มแยกออกมาจากครีบอก ไม่มีติ่งกระดูกที่ปลายจะงอยปาก ที่มาของสกุลนี้มีความสับสนมาก เนื่องจาก ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ใช้ชื่อสกุลว่า Synaptura แต่ต่อมา วอลเตอร์ เรนโบธ ใช้ Euryglossa แต่เมื่อตรวจสอบจากสถาบันวิทยาศาสตร์แคลิฟอร์เนีย พบว่าทั้ง 2 สกุลนั้น มาร์คุส อลิเซอร์ บลอช และโยฮานน์ ก็อทลอบ เทเลนุส ชไนเดอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้กำหนดให้ Pleuronectes orientalis เป็นตัวแทนของสกุลทั้งสิ้น จึงสรุปได้ว่าชื่อที่ถูกต้องตามกฎการตั้งชื่อสัตว์ คือ Brachirus ที่ตั้งชื่อก่อนสกุลอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแบร็คอิรัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมว

กุลแมว หรือ สกุลแมวเล็ก (Small cat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับสัตว์กินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดเป็นเสือขนาดเล็ก ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Felis โดยที่คำว่า Felis นั้น มาจากภาษาละตินที่แปลตรงตัวว่า แมว และถือเป็นสกุลดั้งเดิมของหลายชนิดในวงศ์นี้ ก่อนที่จะแตกออกไปเป็นสกุลอื่น ๆ ตามเวลาที่มีการศึกษาเพิ่มเติม โดยสมาชิกที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้ ก็คือ แมวตีนดำ ที่พบในทวีปแอฟริกา ที่มีความยาวเต็มที่ 36.9 เซนติเมตร (14.5 นิ้ว) และความยาวหาง 12.6-17 เซนติเมตร ซึ่งถือเป็นชนิดที่เล็กที่สุดในวงศ์นี้ด้วย ขณะที่ใหญ่ที่สุด คือ แมวป่า มีความยาวลำตัวและส่วนหัว 50-56 เซนติเมตร ขณะที่ความยาวหาง 26-31 เซนติเมตร สมาชิกในสกุลนี้ยังรวมถึงแมวบ้าน ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงด้วย จากการศึกษาทางพันธุกรรมพบว่า สกุลนี้มีปรากฏครั้งแรกเมื่อราว 8-10 ล้านปีมาแล้ว ทางแถบเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแมว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมวลายหินอ่อน

กุลแมวลายหินอ่อน (Marbled cat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์แมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pardofelis โดยคำว่า Pardofelis นั้นเป็นภาษาละติน 2 คำ คือ pardus หมายถึง เสือดาว และ felis หมายถึง แมว สัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้นั้น มีด้วยกัน 3 ชนิด กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, อินโดจีน จนถึงเกาะบอร์เนียว โดยสกุลนี้ถูกตั้งขึ้นโดยนักสำรวจและนักธรรมชาติวิทยาชาวรัสเซีย นิโคไล เซเวอร์ทซอฟ ในปี ค.ศ. 1858 โดยมีแมวลายหินอ่อนเป็นต้นแบบ จากการศึกษาพบว่าสกุลนี้ได้พัฒนาตัวเองขึ้นมาเมื่อ 9.4 ล้านปีก่อน Johnson, W. E., Eizirik, E., Pecon-Slattery, J., Murphy, W. J., Antunes, A., Teeling, E., O'Brien, S. J. (2006).

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแมวลายหินอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมวดาว

กุลแมวดาว (Fishing cat, Leopard cat) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อขนาดเล็ก จำพวกเสือขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Prionailurus มีลักษณะโดยรวมคือ มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับแมวในสกุล Felis หรือแมวบ้าน มาก โดยที่สกุลนี้ตั้งชื่อขึ้นโดย นิโคไล เซเวอร์ทซอฟ นักสำรวจธรรมชาติชาวรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1858 ต่อมานักสัตววิทยาชาวอังกฤษ เรจินัลด์ อินเนส โพค็อก ได้อนุกรมวิธานและบรรยายทางวิทยาศาสตร์ของสกุลนี้ในระหว่างปี ค.ศ. 1917 จนถึงปี ค.ศ. 1939 พบว่ามีลักษณะเด่น คือ กะโหลกของสกุลนี้จะมีลักษณะแบนต่ำกว่า และส่วนโค้งบริเวณใบหน้าสั้นกว่าสกุลอื่น ๆ ใบหูมีขนาดเล็ก กระดูกจมูกแบนราบและเชิดขึ้น และมีลวดลายบนผิวหนังมีจุดหลากหลาย และบางส่วนก็เป็นแถวตรงในแนวนอนไปในทางเดียวกัน คล้ายคันศรหรือปลายหอก พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชียตั้งแต่ตอนเหนือของอนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออก, บางส่วนของเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นแมวที่หากินใกล้กับพื้นที่ชุ่มน้ำ ว่ายน้ำและดำน้ำได้เป็นอย่างดี มีความสามารถจับปลา และสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหารได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแมวดาว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมงมุมแม่ม่าย

กุลแมงมุมแม่ม่าย เป็นสกุลแมงมุมสกุลหนึ่งในวงศ์แมงมุม Theridiidae แมงมุมตัวเมียในสกุลนี้จะกินตัวผู้ภายหลังจากเสร็จสิ้นการผสมพันธุ์ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ ปัจจุบันค้นแมงมุมในสกุลนี้แล้วจำนวน 33 สายพันธุ์กระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก แต่ละสายพันธุ์จะมีขนาดตัวแตกต่างกัน ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ว ตัวเมียจะมีสีเข้มกว่าตัวผู้และมีเครื่องหมายสังเกตุเห็นได้ชัดเจนเป็นรูปนาฬิกาทรายอยู่บนท้อง แม้ว่าแมงมุมในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นแมงมุมพิษแต่ก็เป็นแมงมุมที่มักเลี่ยงการเผชิญหน้า เมื่อรู้สึกได้ถึงภัยคุกคามมันจะรีบปล่อยเส้นใยและไต่ลงไปที่ระดับพื้นดินอย่างรวดเร็ว แมงมุมสกุลนี้มีสายตาที่แย่ หากมันไม่สามารถเลี่ยงภัยคุกคามได้ มันมักจะแกล้งตายหรือพ่นใยใส่ผู้คุกคามนั้น หากไม่ได้ผลจึงจะใช้การกัดเข้าป้องกันตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแมงมุมแม่ม่าย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมงคีมหนวดสามปล้อง

กุลแมงคีมหนวดสามปล้อง หรือ สกุลด้วงคีมหนวดสามปล้อง เป็นสกุลของแมลงปีกแข็ง ในวงศ์ด้วงคีม (Lucanidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prosopocoilus มีจุดเด่น คือ มีปลายหนวดเป็นปมประกอบด้วยหนวด 3 ปล้อง ในประเทศไทยพบหลายชนิด อาทิ แมงคีมแดง (Prosopocoilus astacoides), แมงคีมบูด้า (P. buddha), แมงคีมปากคีบ (P. forceps), แมงคีมยีราฟ (P. giraffa) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแมงคีมหนวดสามปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแรด

กุลแรด เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์แรด สมาชิกในสกุลมีนอเดียว ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinoceros คำว่า "rhinoceros" มาจากภาษากรีก "rhino" แปลว่า "จมูก" และ "ceros" แปลว่า "เขา" สกุลนี้ประกอบไปด้วยแรด 2 ชนิดคือ แรดอินเดีย (Rhinoceros unicornis) และ แรดชวา (Rhinoceros sondaicus) ถึงแม้ว่าแรดทั้ง 2 ชนิดถูกคุกคามอย่างหนัก แต่แรดชวากลับเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ที่สุดในโลก เหลือประชากรเพียง 60 ตัวเท่านั้นในชวาและเวียดนาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแรด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแร้ง

กุลแร้ง (Gyps) เป็นนกล่าเหยื่อในวงศ์ Accipitridae จัดเป็นแร้งโลกเก่าสกุลหนึ่ง เป็นแร้งที่พบได้ทั่วไป มีส่วนหัวโล้นเลี่ยน มีช่วงปีกกว้างและมีขนสีเข้มส่วนใหญ่ เมื่อเวลาจะกินอาหารซึ่งได้แก่ ซากศพต่าง ๆ จะไล่นกชนิดอื่น หรือสัตว์อื่นให้พ้นไปจากอาหาร โดยใช้วิธีหาอหาารจากสายตาเมื่อยามบินวนบนท้องฟ้า พบกระจายพันธุ์ในเขตร้อนหรือเขตอบอุ่นของซีกโลกเก่า เมื่อเทียบกับแร้งสกุลอื่น แร้งในสกุลนี้มีขนรอบลำคอค่อนข้างมีลักษณะนุ่มครอบคลุม เชื่อว่ามีเพื่อควบคุมอุณหภูม.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแร้ง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแอมบาสทาเอีย

กุลแอมบาสทาเอีย เป็นสกุลหนึ่งของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Ambastaia โดยสกุลนี้ตั้งขึ้นโดย มัวรีซ คอตเทเลต ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแอมบาสทาเอีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแอสโตรไฟตัม

กุลแอสโตรไฟตัม (Astrophytum) เป็นสกุลของกระบองเพชร มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ มีทั้งสิ้น 6 ชนิด ชื่อ Astrophytum มาจากภาษากรีก άστρον (astron) หมายความว่า "ดาว" และ φυτόν (phyton) หมายความว่า "พืช".

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแอสโตรไฟตัม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแผ่นดินเย็น

กุลแผ่นดินเย็น หรือ Nervilia iเป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งมีสมาชิก 65 สปีชีส์ มี 6 สปีชีส์ที่พบในออสเตรเลีย ส่วนใหญ่กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของเอเชีย ในอินเดียพบ 16 สปีชีส์ และพบในแอฟริกาใต้ 5 สปีชีส์ สปีชีส์ได้แก่.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแผ่นดินเย็น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแซกโก

กุลแซกโก (Freshwater minnow, Trout minnow) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Zacco (/แซก-โก/) หมายถึง "ดาบของจักรพรรดิลีโอที่ใช้โดยชาวแซ็กซอน" มีรูปร่างเรียวยาว ลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาน้ำหมึก หรือปลาสะนาก มีความคล่องแคล่วว่องไวปราดเปรียว พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีทั้งหมด 7 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลแซกโก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโพ

กุลโพ-ไทร-มะเดื่อ เป็นสกุลของไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Ficus บางชนิดอาจขึ้นเป็นไม้พุ่มหรือไม้เถา ขึ้นบนดินหรือกึ่งอิงอาศัย โดยมีรากเกาะอาศัยต้นไม้อื่นแล้วเจริญโอบรัดต้นไม้ที่เกาะลักษณะคล้ายกาฝาก แยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้น ส่วนต่าง ๆ มีน้ำยาง หูใบหุ้มตาใบชัดเจน กิ่งมีรอยแผลหูใบเป็นวงรอบข้อ ใบเดี่ยว ส่วนมากเรียงเวียนหรือเรียงสลับในระนาบเดียวกัน เแผ่นใบด้านล่างส่วนมากมีต่อมไขตามโคนเส้นใบใกล้ฐานใบ บางครั้งมีซิสโทลิท ดอกขนาดเล็กจำนวนมากเรียงแน่นอยู่ภายในฐานรองดอกที่โอบหุ้มดอกทั้งหมดไว้ภายใน หรือ ซิทโอเนียม หรือฟิก โดยมีช่องเปิด ส่วนใหญ่มีใบประดับที่โคน ดอกเพศผู้ กลีบรวมส่วนมากมี 2-6 กลีบ แยกกันหรือติดกัน หรือไม่มีกลีบรวม เกสรเพศผู้ 1-5 อัน ดอกเพศเมียก้านยาว กลีบรวมส่วนมากมี 3-5 กลีบ แยกกันหรือติดกัน ยอดเกสรเพศเมีย 2 อัน แยกกันหรือติดกัน ดอกที่เป็นหมันเป็นปม ก้านเกสรเพศเมียสั้น เป็นที่อยู่ของแมลงขนาดเล็ก บางชนิดมีดอกแบบไม่มีเพศ คือไม่มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ลักษณะเฉพาะนี้มีความสัมพันธ์กับแมลงในลักษณะพึ่งพากัน ชนิดของแมลงมีความเฉพาะกับไทรแต่ละชนิด ผลขนาดเล็ก คล้ายผลมีผนังชั้นในแข็งหรือผลแห้งเมล็ดล่อน เมล็ดมีเอนโดสเปิร์ม ผลของมะเดื่อ (''F. carica'') ผ่าครึ่ง ไม้ที่อยู่ในสกุลนี้มีมากกว่า 800 ชนิดทั่วโลก (แบ่งออกได้เป็น 6 สกุลย่อย) ส่วนใหญ่กระจายพันธุ์อยู่ในเขตร้อน พบในประเทศไทยประมาณ 115 ชนิด มีประมาณ 7-8 ชนิดที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ซึ่งคนไทยมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าไม้เหล่านี้เป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สิงสถิตย์ของเทพารักษ์หรือนางไม้ เป็นไม้มงคล นำมาสู่คึวามร่มเย็นหรือโชคลาภแก่ผู้ปลูก เช่น โพ (F. religiosa), ไทร (F. benjamina) ส่วนที่นำมาปลูกเพื่อใช้รับประทานผล ได้แก่ มะเดื่อ (F. carica) ที่มีคุณค่าทางสารโภชนาการสูงมาก, มะเดื่อชุมพร (F. racemosa) เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นอาหารหลักของสัตว์และนกหลายชนิด เช่น นกเงือก, นกโพระดก ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลโพ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโลโบคีลอส

กุลโลโบคีลอส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในสกุล Lobocheilos ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ในวงศ์ย่อยปลาเลียหิน (Labeoninae) เผ่า Banganini มีลักษณะสำคัญ คือ ลำตัวค่อนข้างยาว ปากอยู่ด้านล่าง ริมปากทั้งบนและล่างเรียบ ปากล่างขยายเป็นแผ่นเนื้อหนาแผ่คลุมกระดูกขากรรไกร บนจะงอยปากมีรูเล็ก ๆ และมีตุ่มสิวเป็นกระจุกหรือเรียงกันเป็นแถว ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8–10 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวไม่เป็นหนามแข็ง มีหนวดที่มุมปาก 1 คู่ เป็นสกุลที่มีสมาชิกมาก ในประเทศไทยพบได้ถึง 12 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลโลโบคีลอส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโดรีอิคธีส

กุลโดรีอิคธีส (Freshwater pipefish) เป็นสกุลของปลาจิ้มฟันจระเข้สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Doryichthys (/โด-รี-อิค-ธีส/; มาจากภาษากรีกคำว่า Dory (δόρυ) หมายถึง "หอก" และ ichthys (Ιχθύς) หมายถึง "ปลา") ในวงศ์ Syngnathidae มีลักษณะโดยรวมของสกุลนี้คือ ขอบเกล็ดด้านนอกแยกออกจากกัน ส่วนเกล็ดด้านในติดกัน ครีบหางเล็กมาก ส่วนใหญ่จะมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน พบทั้งหมด 5 ชนิด พบในประเทศไทยอย่างน้อย 2 ชนิด ซึ่งเป็นปลาน้ำจืดทั้งหมด พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลโดรีอิคธีส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโปตาโมไทรกอน

กุลโปตาโมไทรกอน เป็นปลากระเบนสกุลหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Potamotrygonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Potamotrygon (/โป-ตา-โม-ไทร-กอน/) โดยมาจากภาษากรีก (Ποταμός; potamos) แปลว่า "แม่น้ำ" และภาษากรีกคำว่า "trygon" แปลว่า "ปลากระเบน" พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่แหล่งน้ำจืดของหลายประเทศในทวีปอเมริกาใต้ อาทิ บราซิล, เปรู, โคลอมเบีย, เวเนซุเอลา, อาร์เจนตินา, เอกวาดอร์, ปารากวัย มีลักษณะทั่วไปเหมือนปลากระเบนสกุลอื่นในวงศ์นี้ คือ ลำตัวเป็นทรงกลมคล้ายจานหรือแผ่นซีดี หางมีขนาดสั้นไม่ยาวเหมือนปลากระเบนในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) โคนหางมีเงี่ยงที่มีพิษอยู่ 2 ชิ้น และมีหนามแหลมบริเวณโคนหางไปจนถึงเงี่ยง ปลายหางมีแผ่นหนังบาง ๆ เป็นริ้ว ๆ อยู่ มีสีพื้นลำตัวและมีจุดหรือมีลวดลายหลากหลายมาก แตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด มีความกว้างของลำตัวตั้งแต่ 1 ฟุต ไปจนถึง 1 เมตร หากินตามพื้นท้องน้ำ นาน ๆ ทีจึงจะว่ายขึ้นมาหากินบนผิวน้ำบ้าง ซึ่งอาหารหลักได้แก่ ครัสเตเซียนชนิดต่าง ๆ รวมทั้ง ปลาขนาดเล็กกว่า ปลากระเบนในสกุลนี้นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เนื่องจากมีความสวยในสีสันและลวดลายซึ่งเป็นเอกลักษณะเฉพาะไม่เหมือนกับปลากระเบนประเภทอื่น อีกทั้งยังสามารถเพาะขยายพันธุ์ในสถานที่เลี้ยงได้อีกด้วย และสามารถผสมข้ามสายพันธุ์ก่อให้เกิดเป็นสายพันธุ์ใหม่ ๆ ได้อีกหลายชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลโปตาโมไทรกอน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไมโครนีมา

กุลไมโครนีมา (Sheatfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Micronema (/ไม-โคร-นี-มา/) นักมีนวิทยาบางท่าน เช่น ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ได้จัดให้สกุลนี้เป็นสกุลเดียวกับสกุล Kryptopterus แต่บางท่านได้แยกออกมา เนื่องจากเล็งเห็นว่ามีความแตกต่างกันอยู่ ลักษณะสำคัญของปลาในสกุลนี้คือ มีหนวดที่สั้นมาก 2 คู่ หนวดที่ริมฝีปากบนยาวไม่ถึงช่องเปิดเหงือก หนวดที่คางสั้นและเล็กมาก ไม่มีครีบหลัง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 9-10 ก้าน และครีบก้นมีก้านครีบแขนง 75-95 ก้าน เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เป็นปลาที่ใช้ในการบริโภคกัน รู้จักกันดีในชื่อ "ปลาเนื้ออ่อน" แต่ปัจจุบันได้มีสมาชิกบางส่วนแยกออกไปเป็นสกุลต่างหาก คือ Phalacronotus.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลไมโครนีมา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไคร้น้ำ

Homonoia เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Euphorbiaceae ประกอบด้วย 2 สปีชีส์ H. retusa พบในอินเดียตอนกลาง ส่วน H. riparia หรือไคร้น้ำ พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงจีนไต้หวัน มาเลเซียเกาะนิวกินี มักพบตามริมฝั่งแม่น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลไคร้น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไซโนกลอสซัส

กุลไซโนกลอสซัส (Tonguefishes) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็ง ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) ใช้ชื่อสกุล Cynoglossus (/ไซ-โน-กลอส-ซัส/) เป็นปลาที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ มีลักษณะคือ มีครีบท้องมีเฉพาะด้านซ้าย ครีบหลัง ครีบหาง และครีบก้นติดต่อรวมกัน มีเส้นข้างลำตัว 2 หรือ 3 เส้น อยู่ด้านเดียวกับนัยน์ตา ริมฝีปากทั้งสองข้างราบเรียบ ปากงุ้มเป็นตะขอ ช่องเปิดเหงือกอยู่ทางด้านซ้ายของลำตัว เป็นปลาที่พบได้ในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด ปกติจะฝังตัวอยู่ใต้พื้นทรายหรือโคลน พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิกตั้งแต่ ฟิลิปปิน, ทะเลแดง, อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน, ทะเลจีนใต้, คาบสมุทรมลายู, อ่าวเบงกอล และพบได้จรดถึงชายฝั่งแอฟริกา ในประเทศไทยพบได้หลายชนิด อาทิ ปลายอดม่วงเกล็ดใหญ่ (C. macrolepidotus) พบในน้ำจืด 2 ชนิด คือ ปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C. microlepis) และปลายอดม่วงลาย (C. feldmanni).

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลไซโนกลอสซัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไซเรน

กุลไซเรน (Siren, Aquatic salamander) เป็นสกุลของซาลาแมนเดอร์ ในวงศ์ Sirenidae ใช้ชื่อสกุลว่า Siren มีรูปร่างเรียวยาวเหมือนงูหรือปลาไหล ลำตัวเรียวยาว ไม่มีขาคู่หลัง ไม่มีฟัน มีกระดูกแมคซิลลาขนาดเล็กมาก ขาคู่หน้าเล็กมาก อาศัยและดำรงชีวิตในน้ำตลอดชีวิต พบกระจายพันธุ์เฉพาะลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปีในทวีปอเมริกาเหนือ ขนาดยาวที่สุดพบได้ถึง 90 เซนติเมตร กินสัตว์น้ำจำพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด และมีบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ได้แก่ หน้า 308, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลไซเรน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไซเลอร์อัส

กุลไซเลอร์อัส (Sheatfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Silurus (/ไซ-เลอร์-อัส/) โดยถือว่าเป็นปลาหนัง (Siluriformes) ที่มีขนาดใหญ่ อาจยาวได้ถึง 3 เมตร และหนักได้เป็นร้อยกิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปยุโรปและเอเชียตะวันออก เป็นปลาที่กินไม่เลือก และมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมาก มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาวแบนข้าง หัวมีขนาดเล็ก นัยน์ตาอยู่เหนือมุมปาก มีหนวด 2 คู่ ที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ ครีบหลังเล็กอยู่หน้าล้ำครีบท้อง ครีบอกสั้น และยาวไม่ถึงฐานของครีบท้อง มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลางอยู่รวมกัน 1 กลุ่ม ครีบหางตัดตรงหรือเว้าเล็กน้อย ครีบก้นยาวแต่ไม่ต่อรวมถึงครีบหาง.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลไซเลอร์อัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเพลวิคาโครมิส

กุลเพลวิคาโครมิส เป็นสกุลปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pelvicachromis อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาขนาดเล็ก จัดเป็นปลาหมอแคระอีกสกุลหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตก ตั้งแต่แม่น้ำในประเทศไนจีเรียจนถึงทิศตะวันออกของประเทศแคเมอรูน มีขนาดความยาวลำตัวไม่เกิน 10 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่และลำตัวยาวกว่าตัวเมีย ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าและท้องอูมป้อมกลม จุดเด่นของปลาในสกุลนี้คือ ตัวเมียจะมีสีสันที่สวยกว่าตัวผู้ โดยเฉพาะในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ช่วงท้องของปลาตัวเมียจะเป็นสีชมพูอมม่วง ปลาสกุลเพลวิคาโครมิสนี้มีพฤติกรรมคล้ายกับปลาสกุลอพิสโตแกรมมา โดยอาศัยอยู่ในน้ำที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.8-6.5 (pH) มีพฤติกรรมการวางไข่ในถ้ำที่ตีลังกาเช่นเดียวกัน สามารถวางไข่ได้ถึง 300-500 ฟอง โดยปกติแล้ว ปลาตัวเมียจะเป็นผู้ดูแลไข่ แต่บางครั้งตัวผู้อาจจะเข้ามาช่วยดูแลด้วยได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเพลวิคาโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเพเธีย

กุลเพเธีย เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pethia ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) คำว่า Pethia มาจากภาษาสิงหลคำว่า pethia หมายถึง สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เช่น ปลาตะเพียนขนาดเล็ก ๆ ส่วนใหญ่เป็นปลาที่พบได้ในประเทศอินเดีย รวมถึงพม่า มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นปลาขนาดเล็กที่มีสีสันสดใส มีก้านครีบแข็งที่ครีบหลัง ที่ขอบด้านท้ายเป็นซี่จักรแข็งแรง ไม่มีหนวดที่ขากรรไกรคู่หน้า ส่วนคู่หลังอาจพบหรือไม่พบแล้วแต่ชนิด ริมฝีปากบาง เกล็ดที่มีท่อเส้นข้างลำตัวอาจไม่พบตลอดแนวเกล็ดด้านข้างจำนวน 19-24 เกล็ด ในบางชนิด ครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัวล้ำแนวจุดเริ่มต้นของครีบท้อง มักมีจุดกลมรีในแนวยาวบริเวณคอดหาง และแต้มกลมเหนือแนวครีบอก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเพเธีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือชีตาห์

กุลเสือชีตาห์ เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อขนาดกลางจำพวกหนึ่ง จัดเป็นเสือขนาดเล็ก ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Acinonyx ลักษณะเด่นของเสือในสกุลนี้ คือ ที่อุ้งตีนไม่มีซองหุ้มเล็บเหมือนสมาชิกในวงศ์นี้ทั่วไป และในลำคอไม่มีเส้นเสียง จึงไม่สามารถร้องคำรามเสียงดังได้ (ในบางข้อมูลจัดให้เป็นวงศ์ย่อยแยกออกมา) ปัจจุบัน เสือในสกุลนี้หลงเหลือเพียงชนิดเดียวเท่านั้น คือ เสือชีตาห์ ที่กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา ส่วนชนิดอื่นได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว ตั้งแต่ยุคน้ำแข็งสุดท้าย จากเดิมที่เคยมีอยู่ทั้งหมด 5 ชนิด และกระจายพันธุ์ทั้งทวีปแอฟริกา, ยุโรป และเอเชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเสือชีตาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือพูม่า

ำหรับพูม่าที่เป็นผลิตภัณฑ์กีฬา ดูที่: พูม่า สกุลเสือพูม่า หรือ สกุลเสือคูการ์ หรือ สกุลสิงโตภูเขา (Puma, Jaguarundi) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Puma จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) แม้จะมีรูปร่างที่แลดูใหญ่ แต่เสือในสกุลนี้ถูกจัดให้อยู่ในจำพวกเสือขนาดเล็ก เนื่องจากในลำคอไม่มีกระดูกไฮออยด์ที่ยืดหยุ่นและไม่มีสายเสียงขนาดใหญ่ที่สามารถทำเสียงดังเช่น คำราม ได้ เหมือนเสือขนาดใหญ่ มีลักษณะโดยรวม คือ ขนมีสีเดียวตลอดทั้งตัว และมีขาหลังที่ยาวที่สุดในบรรดาสัตว์วงศ์นี้ทั้งหมด จัดเป็นสัตว์ในวงศ์นี้ ที่พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางมากที่สุดในทวีปอเมริกา พบได้ทั้ง อเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ ถูกจัดแบ่งออกเป็น 3 ชนิด สูญพันธุ์ไปแล้วหนึ่งชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเสือพูม่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือลายเมฆ

กุลเสือลายเมฆ เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกเสือขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Neofelis จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) โดยคำว่า Neofelis นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า νεο หมายถึง "ใหม่" และภาษาละตินคำว่า feles หมายถึง "แมว" รวมความแล้วหมายถึง "แมวใหม่" สกุลนี้ตั้งขึ้นโดย จอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ นักสัตววิทยาชาวอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1867 ลักษณะเด่นของเสือในสกุลนี้ คือ มีกะโหลกส่วนใบหน้าที่กว้าง หน้าผากมีขนาดใหญ่และจมูกยาว ขากรรไกรล่างและขากรรไกรบนมีฟันเขี้ยวที่คมและปลายขอบตัดขวาง ซึ่งกะโหลกลักษณะนี้คล้ายคลึงกับเสือเขี้ยวดาบที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ นอกจากนี้แล้วเสือลายเมฆที่พบในภูมิภาคซุนดามีเขี้ยวบนยาวและมีเพดานปากที่แคบระหว่างเขี้ยวนั้น โดยรวมแล้ว เสือลายเมฆเป็นเสือขนาดใหญ่ที่มีรูปร่างเล็กกว่าเสือขนาดใหญ่ชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์เฉพาะภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และพบได้ในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของจีน ลักษณะกะโหลกและฟันเขี้ยวของเสือลายเม.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือไฟ

กุลเสือไฟ (Golden cat) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อจำพวกเสือขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Catopuma ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ลักษณะโดยทั่วไปของเสือในสกุลนี้ คือ จะมีขนสีเดียวตลอดทั้งตัว คือ สีแดงหรือสีส้ม ในขณะที่ส่วนหัวจะมีลวดลายสีเข้มเป็นเอกลักษณ์ พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ จนถึงเกาะบอร์เนียว ปัจจุบันมีการแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด โดยทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกแยกออกจากกันชัดเจนจากการวิเคราะห์ทางพันธุกรรม โดยทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกแยกออกจากกันเมื่อ 4.9-5.3 ล้านปีมาแล้ว โดยชนิดที่พบบนเกาะบอร์เนียววิวัฒนาการตัวเองแยกออกมาก่อน โดยมีญาติใกล้ชิดที่สุด คือ แมวลายหินอ่อน ซึ่งอยู่ในสกุล Pardofelis ซึ่งแยกออกมาต่างหากเมื่อ 9.4 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเสือไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเออรีธิสทีส

กุลเออรีธิสทีส เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืดขนาดเล็กในสกุล Erethistes (/เออ-รี-ธิส-ทีส/) จัดอยู่ในวงศ์ปลาแค้ขี้หมู (Erethistidae) ซึ่งเป็นวงศ์ที่แยกออกมาจากวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) ลักษณะโดยทั่วไปเป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ลำตัวป้อมสั้น ช่องเหงือกแคบ หนังที่ริมกระดูกแก้มไม่ติดกับเอ็นคาง ปากแคบ กระดูกท้ายทอยมีขนาดใหญ่ นัยน์ตาเล็กถูกปกคลุมด้วยหนังบาง ๆ ไม่มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นข้าง มีหนวด 4 คู่ (ระหว่างรูจมูก 1 คู่ ริมปากบน 1 คู่ ริมปากล่าง 1 คู่ และคาง 1 คู่) ครีบหลังและครีบอกมีเงี่ยงแข็ง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 6 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนงประมาณ 10 ก้าน เป็นปลาที่พบตามลำธารในทวีปเอเชีย จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเออรีธิสทีส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเอื้องน้ำต้น

กุลเอื้องน้ำต้นหรือCalanthe เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งที่มีสมาชิกประมาณ 200 สปีชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเอื้องน้ำต้น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเฮมอิบากรัส

กุลเฮมอิบากรัส เป็นสกุลของปลาหนังในวงศ์ปลากด (Bagridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Hemibagrus (/เฮม-อิ-บา-กรัส/) นับว่าเป็นปลากดสกุลหนึ่งที่มีขนาดใหญ่พอสมควร เดิมทีสกุลนี้ผู้ตั้งชื่อ ปีเตอร์ บลีกเกอร์ ชาวดัตช์ ได้ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1862 โดยกำหนดให้ชนิด Bagrus nemurus เป็นต้นแบบของสกุล แต่ว่านักมีนวิทยารุ่นหลังหลายท่าน เช่น ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ เมื่อปี ค.ศ. 1989 ได้กล่าวว่าเป็นชื่อพ้องของสกุล Mystus ดังนั้นในข้อมูลเก่า ปลาหลายชนิดในสกุลนี้จะใช้ชื่อสกุลว่า Mystus แต่ในปัจจุบัน มัวรีซ คอทเทเลต เมื่อปี ค.ศ. 2001, เค. ปีเตอร์ อู๋ และ ฮ็อก ฮี อู๋ เมื่อปี ค.ศ. 1995 ได้ยืนยันว่า สกุลเฮมอิบากรัสนี้มีความแตกต่างจากสกุลมีสทัสพอสมควร คือ ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายของครีบหลังมีขอบเรียบ ไม่เป็นฟันเลื่อย และปลาในสกุลเฮมอิบากรัสนี้จะมีความยาวเต็มที่เกินกว่า 50 เซนติเมตรทั้งนั้น จึงได้เปลี่ยนมาใช้จนถึงปัจจุบัน ส่วนสกุล Bagrus หลุยส์ ออกุสติน กิลโยม บลอค นักชีววิทยาชาวฝรั่งเศส ผู้ตั้งชื่อสกุลมิได้กำหนดให้ชนิดไหนเป็นต้นแบบของสกุล ต่อมา ไบลีย์ และ สจวร์ต ในปี ค.ศ. 1893 ได้กำหนดให้ Silurus bajad เป็นต้นแบบสกุล ปลาในสกุลเฮมอิบากรัส ถือว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลากดคัง (H. wyckioides) ที่มีน้ำหนักเต็มที่ได้ถึง 80 กิโลกรัม จึงนิยมตกกันเป็นเกมกีฬาและบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจ พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้ จากลุ่มแม่น้ำคงคาและพรหมบุตร, ตอนใต้ของจีน, อินโดจีน ไปจนถึงเขตชีวภาพซุน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเฮมอิบากรัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเจินจูฉ่าย

กุลเจินจูฉ่าย (珍珠菜, 真珠菜) ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกเตียวจูฉ่าย เป็นคนละชนิดกับจิงจูฉ่ายที่ชาวจีนแต้จิ๋วนิยมนำไปใส่ในเกาเหลาเลือดหมูเป็นกลุ่มพืชสกุล Lysimachia ถือเป็นสมุนไพรจีน เการแพทย์แผนจีนโบราณถือว่าผักชนิดนี้มีคุณสมบัติเป็นยาเย็น(หยิน)มีรสขม ลักษณะต้นขึ้นเป็นกอคล้ายต้นใบบัวบก เจริญงอกงามในที่แดดรำไร ชื้น ดินโปร่งแต่ไม่แฉ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเจินจูฉ่าย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเจตมูลเพลิง

กุลเจตมูลเพลิง เป็นสกุลของพืชที่มีสมาชิก 10-20 สปีชีส์ในวงศ์ Plumbaginaceae พบในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน plumbum ("ตะกั่ว") และ agere ("to resemble") ใช้ครั้งแรกโดย Pliny the Elder (23-79) กับพืชชื่อ μολυβδαινα (molybdaina) to Pedanius Dioscorides (ca. 40-90).

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเจตมูลเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเถาคัน

''Cissus verticillata'' สกุลเถาคัน หรือ Cissusเป็นสกุลที่มีสมาชิกประมาณ 350 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Vitaceae พบมากในเขตร้อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเถาคัน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเทียนดอก

กุลเทียนดอก หรือ Impatiens เป็นสกุลชอ พืชมีดอกที่มีสมาชิก 850 - 1,000 สปีชีส์ พบแพร่กระจายในซีกโลกเหนือ และเขตร้อน อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเทียนดอก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเดสโมพุนชัส

กุลเดสโมพุนชัส (Striped barb, Banded barb) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Desmopuntius (/เดส-โม-พุน-ชัส/) คำว่า Desmopuntius มาจากภาษากรีกคำว่า δεσμωτες (desmotes) แปลว่า "นักโทษ" หรือ "เชลย" และคำว่า Puntius ซึ่งเป็นชื่อสกุลเก่า มีความหมายถึง ลวดลายบนตัวปลาที่เหมือนชุดนักโทษ มีลักษณะเด่นทางกายภาค คือ ขอบด้านท้ายของก้านครีบแข็งที่ครีบหลังเป็นซี่จักร ริมฝีปากบาง มีหนวดสองคู่เห็นชัดเจน เกล็ดในแนวข้างลำตัวมีท่อเรียงกันสมบูรณ์ถึงฐานครีบหางจำนวนระหว่าง 25-27 เกล็.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเดสโมพุนชัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเตตราโอดอน

กุลเตตราโอดอน เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Tetraodon (/เต-ตรา-โอ-ดอน/) มีรูปร่างโดยรวม ป้อมสั้น อ้วนกลม ครีบทั้งหมดสั้น ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 12-14 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 10-12 ก้าน เยื่อจมูกยื่นออกมาเป็นหลอด ปลายแยกเป็นสองแฉก ใต้ผิวหนังมีเกล็ดที่พัฒนาเป็นหนามเล็ก ๆ ซ่อนอยู่ ผิวหนังมักมีจุดสีดำแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด เมื่อตกใจหรือต้องการป้องกันตัว สามารถพองลมให้ใหญ่ขึ้นมาได้ ในปากมีฟันที่แหลมคมใช้สำหรับขบกัดเปลือกของสัตว์น้ำมีกระดอง ต่าง ๆ ได้ รวมถึงหอย ซึ่งเป็นอาหารหลัก มีอุปนิสัยดุร้าย มักจะชอบกัดกินเกล็ดหรือครีบหางของปลาชนิดต่าง ๆ ที่ติดอวนของชาวประมงอยู่เสมอ ๆ นอกจากนี้แล้วยังสามารถซ่อนตัวใต้พื้นทรายเพื่ออำพรางตัวหาอาหารได้ในบางชนิด ในบางชนิดก็สามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ และยังสามารถเป่าน้ำจากปากเพื่อคุ้ยหาอาหารในพื้นทรายได้ด้วย ภายในตัวและอวัยวะภายในมีสารพิษที่เรียกว่า เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) อยู่ เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วจะทำให้เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยรวมแล้ว ปลาในสกุลนี้จะว่ายน้ำได้ช้ากว่าปลาปักเป้าในสกุลอื่น เช่น Takifugu หรือ Auriglobus เนื่องจากมีครีบที่สั้นและรูปร่างที่อ้วนกลมกว่า พบได้ทั้งทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด โดยกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาจนถึงเอเชีย มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและใช้บริโภคในบางท้องถิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเตตราโอดอน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเต่าร้าง

กุลเต่าร้าง หรือ สกุลเต่ารั้ง เป็นสกุลของปาล์มที่อยู่ในสกุล Caryota มีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ชัดคือดอกอยู่รวมกันเป็นช่อใหญ่ยาวย้อยลงมา และใบคู่สุดท้ายที่ปลายก้านมีลักษณะคล้ายหางปลา มักขึ้นในป่าทึบหรือตามสวนยางที่ร่มครึ้ม สามารถขึ้นได้ดีในที่ร่ม บางชนิดมีลำตัวที่สูงได้ถึง 8-12 เมตร ออกลูกเป็นทลาย พืชในสกุลเต่าร้างเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปเอเชีย ทางแถบเอเชียแปซิฟิก ปัจจุบันมีการนำเข้าไปปลูกในสหรัฐอเมริกา แถบรัฐฟลอริดา ประโยชน์ คือ ใช้ยอดอ่อนทำแกง, รากใช้ทำยา, น้ำหวานจากงวงใช้ทำน้ำตาล และยังปลูกกันเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: สปีชีส์และสกุลเต่าร้าง · ดูเพิ่มเติม »

สมองใหญ่

ทเลนเซฟาลอน (Telencephalon) เป็นส่วนของสมองส่วนหน้า เป็นโครงสร้างที่ใหญ่ของสมองซึ่งทำหน้าที่หลากหลาย อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ซีรีบรัม (Cerebrum) หรือ สมองใหญ่ ในทางเทคนิค เทเลนเซฟาลอนหมายถึงซีรีบรัล เฮมิสเฟียร์ (cerebral hemispheres) และโครงสร้างเล็กๆ อื่นๆ ภายในสมอง สมองส่วนนี้เป็นส่วนที่อยู่หน้าสุดในการแบ่งส่วนของสมองในเอ็มบริโอ เจริญมาจากโปรเซนเซฟาลอน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสมองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยไพลสโตซีน

มัยไพลสโตซีน (Pleistocene เครื่องหมาย PS) เป็นธรณีกาลระหว่าง 2,588,000-11,700 ปีก่อนที่มียุคน้ำแข็งเกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน ชาลส์ ไลเอลล์ บัญญัติคำนี้ขึ้นในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และสมัยไพลสโตซีน · ดูเพิ่มเติม »

สมเสร็จ

กีบเท้าของสมเสร็จมลายู (ขวา) เท้าหน้ามี 4 กีบ, (ซ้าย) เท้าหลังมี 3 กีบ) ปฏิกิริยาอ้าปากสูดกลิ่น สมเสร็จ (Tapir) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกินพืชขนาดใหญ่ เป็นสัตว์มีหน้าตาประหลาด มีลักษณะของสัตว์หลายชนิดผสมอยู่ในตัวเดียวกัน มีจมูกที่ยื่นยาวออกมาคล้ายงวงของช้าง ลำตัวคล้ายหมูที่มีขายาว หางสั้นคล้ายหมีและมีกีบเท้าคล้ายแรด อาศัยในป่าทึบในแถบอเมริกาใต้, อเมริกากลาง, และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทั้งหมดสี่ชนิด คือ สมเสร็จอเมริกาใต้, สมเสร็จมลายู, สมเสร็จอเมริกากลาง และสมเสร็จภูเขา ทั้งสี่ชนิดถูกจัดสถานะเป็นใกล้สูญพันธุ์หรือเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ สมเสร็จเป็นญาติใกล้ชิดกับสัตว์กีบคี่อื่น ได้แก่ ม้า และแร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสมเสร็จ · ดูเพิ่มเติม »

สมเสร็จมลายู

มเสร็จมลายู หรือ สมเสร็จเอเชีย (Malayan tapir, Asian tapir) บ้างเรียก ผสมเสร็.

ใหม่!!: สปีชีส์และสมเสร็จมลายู · ดูเพิ่มเติม »

สยามโมอะเดปิส แม่เมาะเอนซิส

มโมอะ​เดปิส​ ​แม่​เมาะ​เอนซิส เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับไพรเมต (Primate) ซึ่งปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Siamoadapis maemohensis อยู่ในวงศ์ศิวะอะปิด (Sivaladapidae) ซึ่งมีกรามล่างจำ​นวน 4 กราม​ ​มีลักษณะสำคัญ คือ มีฟันกรามน้อยหนึ่งซี่​ซึ่ง​มีขนาด​ใหญ่​กว่าฟันกรามน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับไพรเมตวงศ์อื่น ๆ สยามโมอะ​เดปิส​ ​แม่​เมาะ​เอนซิส มีลักษณะ​ใกล้​เคียง​กับลีเมอร์ มีหางยาว​ไว้​เกาะเกี่ยวต้นไม้และ​มีวิวัฒนาการน้อย​ซึ่ง​พบเฉพาะ​เกาะมาดากัสการ์​ ​ในทวีปแอฟริกา ขณะที่ลำ​ตัวของ สยามโมอะ​เดปิส​ ​แม่​เมาะ​เอนซิส มี​ความ​ยาว 15 เซนติเมตร หรือ​เล็ก​กว่าลิงลมในปัจจุบันครึ่งหนึ่ง​ มีน้ำหนักเพียง​ 500-700 กรัม หากินในเวลากลางคืน​ โดย​กินแมลง,​ ใบไม้และผลไม้​เป็น​อาหาร​ ​ไม่​สามารถ​กัดกินอาหารแข็ง ๆ ได้ ​มีอายุ​อยู่​เมื่อประมาณ 13 ล้านปีก่อน​หรือ​ตอนกลางของยุคไมโอซีนเมื่อ 8 ล้านปีที่​แล้ว โดยขุดค้นเป็นซากฟอสซิลครั้งแรกในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในประเทศไทยและในภูมิภาคแถบนี้ เมื่อปี ค.ศ. 2004 โดย ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสยามโมอะเดปิส แม่เมาะเอนซิส · ดูเพิ่มเติม »

สลอธ

ลอธ หรือ สโลธ (sloth) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางในวงศ์สลอธสองนิ้วเท้า (Megalonychidae) และสลอธสามนิ้วเท้า (Bradypodidae) จำแนกเป็นหกสปีชีส์ สลอธอยู่ในอันดับ Pilosa และมีความสัมพันธ์กับตัวกินมด ซึ่งมีชุดกรงเล็บที่ทำหน้าที่พิเศษคล้ายกัน สลอธเท่าที่มีอยู่เป็นสัตว์อาศัยอยู่บนต้นไม้ในป่าอเมริกากลางและทวีปอเมริกาใต้ และขึ้นชื่อว่าเคลื่อนที่ช้า อันเป็นที่มาของชื่อ "sloth" สปีชีส์สลอธที่สูญพันธุ์แล้วมีสลอธน้ำบางชนิดและสลอธบกอีกหลายชนิด บางชนิดมีขนาดเท่าช้าง สลอธสร้างแหล่งที่อยู่ที่ดีสำหรับสิ่งมีชีวิตอื่น และสลอธหนึ่งตัวอาจเป็นที่อยู่ของผีเสื้อกลางคืน แมลงเต่าทอง แมลงสาบ ซิลิเอต เห็ดราและสาหร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสลอธ · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์สิงคโปร์

วนสัตว์สิงคโปร์ สวนสัตว์สิงคโปร์ (新加坡动物园; Singapore Zoo, Singapore Zoological Gardens) เป็นสวนสัตว์ในประเทศสิงคโปร์ เปิดเมื่อ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1973 ในพื้นที่ 28 เฮกตาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสวนสัตว์สิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

สังข์รดน้ำ

ังข์รดน้ำ (Valambari shank, Great indian chank) เป็นหอยทะเลฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง ในวงศ์หอยสังข์มงคล (Turbinellidae) จัดเป็นหอยขนาดใหญ่ มีเปลือกหนา รูปเปลือกค่อนข้างป้อม วงเกลียวตัวกลม ส่วนปลายมีร่องยาวปานกลาง ส่วนยอดเตี้ย ช่องเปลือกรูปรี ขอบด้านในมีสัน 3-4 อัน ผิวชั้นนอกสุดสีน้ำตาล เป็นชั้นที่บางและหลุดล่อนง่าย และมักจะหลุดออกเมื่อหอยตาย เปลือกชั้นรองลงไปเป็นส่วนที่มีความหนาและแข็ง ค่อนข้างเรียบ มีสีขาวนวลหรือสีขาวอมชมพู พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะมหาสมุทรอินเดียทางตอนใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังกาเท่านั้น อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำที่เป็นพื้นทราย กินหนอนตัวแบนและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร สังข์รดน้ำ โดยปกติแล้วจะมีเปลือกเวียนทางซ้าย (อุตราวรรต) ตามเข็มนาฬิกา แต่มีบางตัวที่เวียนไปทางด้านขวา (ทักษิณาวรรต) ซึ่งพบได้น้อยมาก ซึ่งหอยลักษณะนี้ตามคติของศาสนาฮินดูจะถือเป็นมงคล (ตามคติของพราหมณ์-ฮินดู ขว.

ใหม่!!: สปีชีส์และสังข์รดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

ัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Amphibia อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก มีลักษณะเฉพาะ คือ ผิวหนังมีต่อมเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปียกลื่นอยู่เสมอ ไม่มีเกล็ดตัวไม่แห้งหรือไม่มีขน หายใจด้วยเหงือก, ปอด, ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ โดยชั้นผิวหนังนั้นมีลักษณะพิเศษสามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เนื่องจากมีโครงข่ายหลอดเลือดฝอยจำนวนมาก เพื่อใช้ในการหายใจ สืบพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว สืบพันธุ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ออกลูกเป็นไข่อยู่ในน้ำ ไม่มีเปลือก วางไข่เป็นกลุ่มในน้ำมีสารเป็นวุ้นหุ้ม ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างคล้ายปลาเรียกว่า "ลูกอ๊อด" อยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่ต้องอยู่ใกล้น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรูปร่างอาศัยอยู่บนบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งในช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ส่วนใหญ่จะขุดรูจำศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผิวหนังแห้ง ถ้าผิวหนังแห้งจะหายใจไม่ได้และตายในที่สุด เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ำเมือกที่ผิวหนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต ระยะนี้จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่างกายอย่างช้า ๆ นิวต์และซาลามานเดอร์ก็เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกถือเป็นสัตว์เลือดเย็นเช่นเดียวกับสัตว์พวกปลา หรือแมลง หรือสัตว์เลื้อยคลาน ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานสัตว์ในชั้นแล้วกว่า 6,500 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ปีก

ัตว์ปีก หรือ นก (รวมถึง ไก่, เป็ด, ห่าน, ไก่ฟ้า) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้น Aves (คำว่า Aves เป็นภาษาละติน หมายถึง นก) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์ทวิบาท เลือดอุ่น ออกลูกเป็นไข่ รยางค์คู่หน้าเปลี่ยนแปลงไปเป็นปีก มีขนนก และมีกระดูกที่กลวงเบา ในปัจจุบันทั่วโลกมีนกอยู่ประมาณ 8,800 ถึง 9,800 ชนิด (ตามการจัดอนุกรมวิธานที่ต่างกัน) ซึ่งนับว่านกเป็นชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีความหลากหลายมากที่สุด ในบรรดาชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหลายที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน ความหลากหลายของนกนับเนื่องไปตั้งแต่ในเรื่องของขนาดตัว สีสัน เสียงร้อง อาหารการกิน และถิ่นที่อยู่อาศัย นกเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญเป็นอันมากทั้งต่อระบบนิเวศและต่อชีวิตมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับนกเป็นไปอย่างแน่นแฟ้น และการเกื้อกูลกันระหว่างนกกับสรรพสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติก็เป็นไปอย่างแนบแน่น ถ้าหากปราศจากนก คงเป็นเรื่องยากที่จะจินตนาการถึงการดำรงอยู่ต่อไปของชีวภาคใบนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และสัตว์ปีก · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ป่าในประเทศมาซิโดเนีย

ัตว์ป่าในประเทศมาซิโดเนีย มีอยู่มากมายอาทิ เช่น หมี,หมูป่า,หมาป่า,สุนัขจิ้งจอก,กระรอก,เลียงผา และกวาง ลิงซ์ยูเรเชีย พบได้น้อยมากในเทือกเขาทางตะวันตกของมาซิโดเนีย จำนวนสัตว์ทั้งหมดที่รายงานจนถึงปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 10,354 ตัว ในทะเลสาบสามแห่งทางเขตฟูนา เป็นที่อยู่ของสัตว์น้ำและสัตว์บกประกอบไปด้วยปลาเทราท์เลตเทอร์, ปลาเทราท์เลค, ปลาทู, ปลากะรัง, นกพิราบ และพิณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และสัตว์ป่าในประเทศมาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

ใหม่!!: สปีชีส์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เคี้ยวเอื้อง

ัตว์เคี้ยวเอื้อง (ruminant) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในอันดับ Artiodactyla ซึ่งย่อยอาหารที่ประกอบด้วยพืชเป็นหลัก โดยเริ่มจากการย่อยให้นุ่มก่อนในกระเพาะอาหารส่วนแรกของสัตว์นั้น ซึ่งเป็นการกระทำของแบคทีเรียเป็นหลัก แล้วจึงสำรอกเอาอาหารที่ย่อยแล้วครึ่งหนึ่งออกมา เรียกว่า เอื้อง (cud) ค่อยเคี้ยวอีกครั้ง ขบวนการเคี้ยวเอื้องอีกครั้งเพื่อย่อยสลายสารที่มีอยู่ในพืชและกระตุ้นการย่อยอาหารนี้ เรียกว่า "การเคี้ยวเอื้อง" (ruminating) มีสัตว์เคี้ยวเอื้องอยู่ราว 150 สปีชีส์ ซึ่งมีทั้งสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เคี้ยวเอื้องมีทั้งปศุสัตว์ แพะ แกะ ยีราฟ ไบซัน กวางมูส กวางเอลก์ ยัค กระบือ กวาง อูฐ อัลปากา ยามา แอนทิโลป พรองฮอร์น และนิลกาย ในทางอนุกรมวิธาน อันดับย่อย Ruminanti มีสัตว์ทุกสปีชีส์ที่กล่าวมาข้างต้น ยกเว้นอูฐ ลามาและอัลปากา ซึ่งอยู่ในอันดับย่อย Tylopoda ดังนั้น คำว่า "สัตว์เคี้ยวเอื้อง" จึงมิได้มีความหมายเหมือนกับ Ruminantia คำว่า "ruminant" มาจากภาษาละตินว่า ruminare หมายถึง "ไตร่ตรองถี่ถ้วนอีกครั้ง" (to chew over again).

ใหม่!!: สปีชีส์และสัตว์เคี้ยวเอื้อง · ดูเพิ่มเติม »

สาวน้อยประแป้ง

สาวน้อยประแป้ง หรือ ดิฟเฟนบาเกีย(ชื่อวิทยาศาสตร์ Dieffenbachia) เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศเขตร้อนทั่วไป ในอเมริกาใต้และหมู่เกาะอินดีสตะวันตก นิยมปลูกเป็นไม้กระถางกันทั่วไป ใช้ประดับภายในอาคาร หมวดหมู่:พืชมีพิษ หมวดหมู่:ไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์บอน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสาวน้อยประแป้ง · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่ายมะริโมะ

หร่ายมะริโมะ (Marimo; 毬藻 ความหมาย พืชน้ำที่มีลักษณะเป็นก้อนกลม; หรือ Cladophora aegagropila var. linnaei) พืชน้ำชนิดหนึ่ง จำพวกสาหร่าย นับเป็นสาหร่ายประเภทเดียวกับสาหร่ายสีเขียว หรือสาหร่ายน้ำจืดประเภทที่พบได้ทั่วไปในแหล่งน้ำของประเทศไทย เช่น สาหร่ายไก ที่เป็นเส้นยาว และนิยมนำมารับประทานเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสาหร่ายมะริโมะ · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่ายไก

หร่ายไก เป็นสาหร่ายน้ำจืดสีเขียวสกุล Cladophora และ Rhizocronium ที่พบทางภาคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะแถบ แม่น้ำน่าน ในอำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน และแม่น้ำโขง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ซึ่งสาหร่ายชนิดนี้สามารถนำมารับประทานได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และสาหร่ายไก · ดูเพิ่มเติม »

สางห่า (สกุล)

งห่า หรือ จิ้งเหลนน้อยหางยาว เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์ Lacertidae หรือ สางห่า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Takydromus ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า ταχυδρόμος (takhudromos), "วิ่งเร็ว" และ ταχύς (takhus), "เร็ว" + δρόμος (dromos), "สนามแข่ง, แข่งขัน" มีลักษณะทั่วไปมีลำตัวเรียวยาวและเพรียวผอม มีลักษณะเด่น คือ มีส่วนหางที่มีความยาวมากกว่าความยาวลำตัวตั้งแต่ปลายจมูกจรดรูทวาร 2–5 เท่า สามารถปล่อยหางให้หลุดจากลำตัวได้เพื่อหลบหลีกศัตรูตามธรรมชาติ โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางอยู่ทางด้านหน้าของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหางทุกปล้อง มีเล็บนิ้วตีนทุกเล็บยาวและงุ้มลงด้านล่าง เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางวัน โดยมักหากินตามพื้นดินหรือไม่ก็ไม้พุ่มหรือต้นไม้เตี้ย ๆ มีความรวดเร็วในการเคลื่อนไหวมาก จึงมักไม่พบเห็นตัวง่าย ๆ กระจายพันธุ์ในหลายประเทศของทวีปเอเชีย สำหรับในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว.

ใหม่!!: สปีชีส์และสางห่า (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิต

งมีชีวิต จะมีคุณลักษณะ (properties) ที่ไม่พบในสิ่งไม่มีชีวิต อันได้แก่ความสามารถในการใช้สสารและพลังงานเป็นสำคัญ ซึ่งได้รับถ่ายทอดจากบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม อย่างไรก็ตามสิ่งมีชีวิตเริ่มแรกหรือบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตซึ่งถือกำเนิดมาบนโลกกว่า 4 พันล้านปี เมื่อผ่านการวิวัฒนาการและการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลา ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมากดังที่ปรากฏในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสิ่งมีชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตตัวแบบ

''Escherichia coli'' เป็นสิ่งมีชีวิตตัวแบบที่เป็นโพรแคริโอตและแบคทีเรียแกรมลบ แมลงวันทองเป็นสัตว์ทดลองที่ใช้มากที่สุดชนิดหนึ่ง ''Saccharomyces cerevisiae'' เป็นโพรแคริโอตตัวแบบที่ใช้ศึกษามากที่สุดในอณูชีววิทยาและชีววิทยาของเซลล์ สิ่งมีชีวิตตัวแบบ หรือ สิ่งมีชีวิตแบบจำลอง (model organism) เป็นสปีชีส์สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ ที่ใช้อย่างกว้างขวางในการศึกษาเพื่อเข้าใจปรากฏการณ์ทางชีววิทยาต่าง ๆ โดยคาดหวังว่า สิ่งที่ค้นพบในแบบจำลองจะช่วยให้เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตแบบจำลองจะเป็นแบบยังมีชีวิตอยู่ และได้ใช้อย่างกว้างขวางในงานวิจัยโรคมนุษย์ที่การทดลองในมนุษย์เป็นไปไม่ได้หรือไม่ถูกจริยธรรม กลยุทธ์นี่ใช้ได้ก็เพราะสิ่งมีชีวิตทั้งหมดสืบเชื้อสายร่วมกันจากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยได้อนุรักษ์วิถีเมแทบอลิซึม วิถีพัฒนาการ และกระบวนการอื่น ๆ ทางพันธุกรรมตลอดวิวัฒนาการ แม้การศึกษาสิ่งมีชีวิตตัวแบบจะให้ข้อมูลที่ดี แต่ก็ต้องระวังเมื่อประยุกต์ใช้กับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในการวิจัยโรคมนุษย์ สิ่งมีชีวิตตัวแบบจะทำให้เข้าใจกระบวนการของโรคดีขึ้นโดยไม่ต้องเสี่ยงทำอันตรายแก่มนุษย์ สปีชีส์ที่เลือกปกติจะผ่านเกณฑ์ความสมมูลทางอนุกรมวิธาน (taxonomic equivalency) บางอย่างกับมนุษย์ คือสัตว์จะมีปฏิกิริยาทางสรีรภาพต่อโรคหรือต่อการรักษา ในรูปแบบที่คล้าย ๆ กับของมนุษย์ ถึงแม้จะไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่า กระบวนการทางชีววิทยาที่พบในสัตว์ตัวแบบจะเป็นอย่างเดียวกันในมนุษย์ แต่วิธีการรักษาและยาจำนวนมากที่ใช้ในโรคมนุษย์ ก็ได้พัฒนาอาศัยแนวคิดที่ได้จากสัตว์ตัวแบบเป็นบางส่วน มีแบบจำลองโรค 3 ประเภทหลัก ๆ คือ homologous (กำเนิดเดียวกัน), isomorphic (สมสัณฐาน) และ predictive (พยากรณ์) สัตว์จำลองแบบกำเนิดเดียวกันจะมีเหตุโรค อาการ และการรักษาเหมือนกับของมนุษย์ที่มีโรค สัตว์จำลองแบบสมสัณฐานจะมีอาการและการรักษาเหมือนกัน สัตว์จำลองแบบพยากรณ์จะมีสภาพเพียงแค่บางอย่างที่คล้ายกับมนุษย์ผู้มีโรค แต่ก็มีประโยชน์ในการคาดหมายกลไกต่าง ๆ เกี่ยวกับโร.

ใหม่!!: สปีชีส์และสิ่งมีชีวิตตัวแบบ · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น

รองเท้านารีปีกแมลงปอ หรือ รองเท้านารีสุขะกูล (''Paphiopedilum sukhakulii'') เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นที่พบได้เฉพาะภูเขาหินทรายในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,000-1,500 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเท่านั้น''กล้วยไม้เมืองไทย'', รศ.ดร. อบฉันท์ ไทยทอง, สำนักพิมพ์บ้านและสวน, หน้า 42-43 สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น หรือ สิ่งมีชีวิตถิ่นเดียว (Endemic species, Endemism) หมายถึง สิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ ชนิดที่แพร่กระจายพันธุ์ตามธรรมชาติในบริเวณเขตภูมิศาสตร์เขตใดเขตหนึ่งของโลก และเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเขตกระจายพันธุ์ทางภูมิศาสตร์ค่อนข้างจำกัด ไม่กว้างขวางนัก เช่น อาจจะพบตามระบบนิเวศต่าง ๆ เช่น บนเกาะ, ยอดเขา, หน้าผาของภูเขาหินปูน, แอ่งพรุ เป็นต้น ถิ่นที่อยู่ดังกล่าวมีสภาพจำกัดของสิ่งแวดล้อมหรือมีสภาพดินฟ้าอากาศเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตัว ที่เหมาะสมสำหรับการดำรงชีวิตอยู่ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ พืชถิ่นเดียวและพืชหายากของประเทศไทย สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี, 2543 และ หนังสือ พืชถิ่นเดียวและพืชหายากของประเทศไทย ของกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช, 2547 ชาร์ล ดาร์วิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ผู้คิดค้นทฤษฎีวิวัฒนาการ ได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น เอาไว้ในหนังสือ The Origin of Species ของตนเอง ไว้ว่า ปัจจุบัน บริเวณพื้นผิวโลกทีพบว่ามีสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นสูงมาก มีทั้งสิ้น 18 แห่ง มีพื้นที่ประมาณ 746,400 ตารางกิโลเมตร หรือเพียงร้อยละ 0.5 ของพื้นผิวโลกที่เป็นพื้นดินเท่านั้น และมีพืชเฉพาะถิ่นอาศัยอยู่ถึงประมาณ 49,955 ชนิด หรือร้อยละ 20 ของพืชทั้งหมดที่พบในโลก และยังมีสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกอาศัยอีกอย่างน้อย 1,659 ชนิด หรือร้อยละ 15 ของสัตว์ทั้ง 2 กลุ่มในโลก ทั้งซีกโลกเก่า และซีกโลกใหม่ สถานที่ที่มีสัตว์เฉพาะถิ่นสูงในทวีปอเมริกาเหนือ 1 แห่ง, ทวีปอเมริกาใต้ 5 แห่ง, ทวีปแอฟริกา 4 แห่ง, ทวีปเอเชีย 6 แห่ง, ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย 2 แห่ง เฉพาะในทวีปเอเชีย ได้แก่ ป่าดิบชื้นในฟิลิปปินส์, เกาะบอร์เนียวทางตอนเหนือ, เทือกเขาหิมาลัยด้านตะวันออก, คาบสมุทรมลายู, เทือกเขาเวสเทิร์น เกทส์ ในอินเดีย และศรีลังกาบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยที่ ๆ ขึ้นชื่ออย่างมากในเรื่องสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น คือ หมู่เกาะกาลาปาโกส กลางมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเอกวาดอร์ ที่มีสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการของตนเองสูงมาก จนได้รับเลือกให้เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ ด้วยพื้นที่อันจำกัด ทำให้สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นหลายชนิด ใกล้สูญพันธุ์หรือใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต ในประเทศไทยมีรายงานพบพืชที่เป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นประมาณ 11,000 ชนิด ร้อยละ 30 เป็นพืชที่มีท่อลำเลียงน้ำและอาหาร ส่วนที่เป็นสัตว์ เช่น ปลาน้ำจืด 68 ชนิด, เป็นหอย 3 ชนิด, เป็นสัตว์จำพวกปูและกุ้งหรือกั้ง 5 ชนิด และเป็นนก 3 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

สตรอว์เบอร์รี

ตรอว์เบอร์รี (strawberry) เป็นสกุลไม้ดอกในวงศ์กุหลาบ ผลสามารถรับประทานได้ ในอดีตปลูกเป็นพืชคลุมดินให้กับต้นไม้ปลูกเลี้ยงอื่น ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อก็เป็นได้ มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมีลูกผสมมากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa) ผลของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึงเปรี้ยว สตรอเบอร์รีเป็นผลไม้ทางการค้าที่สำคัญ มีปลูกกันเป็นวงกว้างหลายสภาพอากาศทั่วโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และสตรอว์เบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

สติแรโคซอรัส

ติแรโคซอรัส (Styracosaurus, หมายถึง "กิ้งก่าหัวแหลม" มาจากภาษากรีกโบราณ สไทรักซ์/στύραξ "หัวหอก" และ ซอรัส/σαῦρος "กิ้งก่า") เป็นสกุลของไดโนเสาร์กินพืชในอันดับเซราทอปเซีย มีชีวิตอยู่ในยุคครีเทเชียส (ช่วงแคมปาเนียน) เมื่อประมาณ 76.5 ถึง 75.0 ล้านปีมาแล้ว มันมีเขา 4-6 อัน ยื่นออกมาจากแผงคอ และยังมีเขาที่มีขนาดเล็กยื่นออกมาบริเวณแก้มแต่ละข้าง และมีเขาเดี่ยวยื่นออกมาบริเวณเหนือจมูก ซึ่งน่าจะมีความยาวถึง 60 เซนติเมตร (2 ฟุต) และกว้าง 15 เซนติเมตร (6 นิ้ว) ส่วนหน้าที่ของเขาและแผงคอยังไม่มีการยืนยันเป็นที่แน่นอนมาจนถึงปัจจุบัน สติแรโคซอรัสเป็นไดโนเสาร์ที่มีลักษณะค่อนข้างใหญ่ โดยมีความยาวถึง 5.5 เมตร (18 ฟุต) และหนักเกือบ 3 ตัน เมื่อมันยืนจะมีความสูงประมาณ 1.8 เมตร (6 ฟุต) สติแรโคซอรัสมีขาที่สั้น 4 ขาและมีลำตัวที่ใหญ่ มีหางค่อนข้างสั้น มันมีจะงอยปากและแก้มแบน บ่งชี้ว่าอาหารของมันคือพืชซึ่งเหมือนกันกับไดโนเสาร์จำพวกเซราทอปเซียสกุลอื่น ไดโนเสาร์ชนิดนี้เป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นฝูง และเดินทางกันเป็นกลุ่มใหญ่ ชื่อของไดโนเสาร์ถูกตั้งโดย ลอว์เรนซ์ แลมเบอ ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และสติแรโคซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

สเตโกดอน

ตโกดอน (Stegodon) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกช้างที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stegodon (หมายถึง "รากฟัน" จากภาษากรีกคำว่า στέγειν อ่านว่า "stegein" หมายถึง "ครอบคลุม" และ ὀδούς อ่านว่า "odous" หมายถึง "ฟัน") เดิมทีสเตโกดอนถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Elephantidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับวงศ์ของช้างในยุคปัจจุบัน แต่ต่อมาได้ถูกแบ่งแยกออกมาเป็นวงศ์ของตัวเอง คือ Stegodontidae มีชีวิตอยู่ในยุคไมโอซีนตอนปลาย ถึงต้นยุคไพลสโตซีน ราว 1,800,000 ปีก่อน จัดว่าเป็นช้างรุ่นที่ 6 ในลำดับวิวัฒนาการของช้าง ซึ่งนับว่าว่าเก่าแก่กว่าช้างแมมมอธ ซึ่งถูกจัดอยู่ในรุ่นที่ 8 ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีเสียอีก สเตโกดอน จัดว่าเป็นช้างโบราณ ที่เชื่อว่ามีสายสัมพันธ์กับช้างในสกุล Elephas หรือช้างเอเชียในยุคปัจจุบัน เป็นไปได้ว่าช้างเอเชียอาจสืบสายพันธุ์หรือวิวัฒนาการมาจากสเตโกดอน นอกจากนี้แล้วสเตโกดอนยังถือว่าเป็นช้างที่มีลักษณะร่วมกันของช้างเอเชียกับมาสโตดอน ซึ่งเป็นช้างโบราณอีกสกุลหนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้วเช่นกัน สเตโกดอน มีรูปร่างที่สูงใหญ่ บางตัวหรือบางชนิดอาจสูงถึง 4 เมตร มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับช้างในยุคปัจจุบัน กะโหลกมีขนาดใหญ่ ขากรรไกรสั้น ไม่มีงาล่าง ฟันกรามประกอบด้วยสันฟันแนวขวาง 6–13 สัน มีลักษณะเด่น คือ มีงาหนึ่งคู่ที่ยาวงอกออกมาจากมุมปากทั้งสองข้าง มีลักษณะชิดติดกัน ซึ่งในบางชนิดมีความยาวได้ถึง 3.3 เมตร งวงไม่สามารถแทรกลงตรงกลางงาได้ ต้องพาดไปไว้ข้างใดข้างหนึ่ง ซากดึกดำบรรพ์ของสเตโกดอนถูกค้นพบในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยค้นพบที่ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา และอำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล โดยที่จังหวัดสตูลนั้น ถูกค้นพบในถ้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นถ้ำที่มีน้ำทะเลไหลผ่านพื้นถ้ำด้วยความยาวกว่า 4 กิโลเมตร เดิมชาวบ้านที่นี่เรียก "ถ้ำวังกล้วย" แต่ปัจจุบันได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "ถ้ำเลสเตโกดอน" จากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และสเตโกดอน · ดูเพิ่มเติม »

สเตโกซอรัส

สเตโกซอรัส (Stegosaurus) สเตโกซอรัส (กิ้งก่ามีหลังคา) เป็นไดโนเสาร์กินพืชจำพวกสะโพกนก (Ornithischia) ที่มีเกราะป้องกันตัวจำพวกแรกๆ มีลักษณะโดดเด่น มีขาหน้าสั้น และปากเล็ก มีแผ่นเกล็ดเรียงบนหลังยาวไปจนถึงปลายหางแผ่นเกล็ดนี้มีไว้ขู่ศัตรูโดดสูบฉีดเลือดไปที่เกล็ด ซึ่งสันนิษฐานว่ามันมีเส้นเลือดเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ และแผ่นกระดูกนี้ไม่ได้มีไว้สำหรับป้องกันตัว แต่มีไว้เพื่อช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย นอกจากนี้มันยังหนามแหลมที่ปลายหาง ซึ่งเอาไว้ป้องกันตัวจากไดโนเสาร์กินเนื้อในยุคนั้นได้ดี อย่าง อัลโลซอรัส รูปร่างดูน่ากลัวแต่สมองมันเล็กกว่าถั่วเขียวและหนักไม่ถึง 70 กรัม ลำตัวยาว 9 เมตรหนัก 2-3 ตันอาศัยอยู่ยุคจูแรสซิก 170-130 ล้านปี หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคจูแรสซิก หมวดหมู่:สเตโกซอร์.

ใหม่!!: สปีชีส์และสเตโกซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

หญ้า

หญ้า เป็นพืชล้มลุกหลายชนิด หลายสกุล ในชั้น Liliopsida วงศ์ Poaceae หรือเป็นที่รู้จักกันดีว่าวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าคา (Imperata cylindrica Beauv.) หญ้าตีนกา (Eleusine indica Gaertn.) หญ้าแพรก (Cynodon dactylon Pers.) หญ้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชื่อว่า ธูปฤาษี มีพืชชนิดนี้ประมาณ 600 สกุล และมีประมาณ 10,000 ชนิด มีการประเมินกันว่าหญ้าเป็นพืชที่ปกคลุมผิวโลกกว่า 20% ของพืชทั้งหมดบนโลก พืชในวงศ์นี้เป็นพืชที่มีความสำคัญที่สุดต่อเศรษฐกิจมนุษย์ รวมไปถึง ใช้เป็นสนามหญ้า, อาหารหลักที่ปลูกทั่วโลก, และไม้ไผ่ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างในเอเชีย แต่บางชนิดจัดเป็นวัชพืช ปัจจุบัน หญ้าเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในด้านการนำมาใช้ผลิตพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนอีกด้วย เช่นหญ้ามิสแคนทัส และ หญ้ามิสแคนทัสช้าง พืชในวงศ์หญ้าที่เรารู้จักดี เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ข้าวโอ้ต ข้าวไรย์ ลูกเดือย หญ้าไรย์ อ้อย ไผ่ ตะไคร้ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

หมาหริ่ง

ระวังสับสนกับ: หมูหริ่ง หมาหริ่ง หรือ หมาหรึ่ง (badger, ferret-badger; 鼬獾屬) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ในสกุล Melogale ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดเล็ก จัดเป็นแบดเจอร์สกุลหนึ่ง มีลำตัวยาวประมาณ 33-39 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 15-21 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม มีช่วงขาที่สั้น เล็บนิ้วกางแยกออกจากกันและมีกรงเล็บที่แหลมคม สีขนเป็นสีน้ำตาลแกมเทาจนถึงสีดำ ส่วนหัวมีสีเข้มกว่าลำตัว มีลายแถบสีขาวระหว่างตาแถบหนึ่ง ซึ่งเห็นได้ชัดเจน และมีแถบสีขาวข้างแก้มและเหนือตาจากผ่านตามแนวสันคอจรดถึงหัวไหล่ เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวรุนแรง เนื่องจากมีต่อมผลิตกลิ่นอยู่ที่อยู่ที่บริเวณใกล้ก้น ซึ่งจะผลิตกลิ่นเหม็นออกจากเมื่อถูกคุกคามหรือตกใจ จัดเป็นสัตว์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้หลากหลายประเภท ตั้งแต่ป่าดิบ, ทุ่งหญ้า, นาข้าว จนถึงพื้นที่เกษตรกรรมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในตอนกลางวันจะนอนหลับพักผ่อนในโพรงดินหรือโพรงไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน ซึ่งกินได้ทั้งพืชและสัตว์ต่าง ๆ อาทิ ผลไม้, ลูกไม้, สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดเล็ก, แมลง, หนู, หอยทาก เป็นต้น ซึ่งบางครั้งอาจปีนต้นไม้ขึ้นไปหากินได้ ฤดูผสมพันธุ์จะอยู่ในช่วงฤดูร้อน โดยจะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ตั้งท้องนานประมาณ 3 เดือน ออกลูกครั้งละ 1-3 ตัว ในราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ซึ่งในบางครั้งอาจพบอยู่ด้วยกันในโพรงเดียวประมาณ 4-5 ตัว พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์และเอเชียตะวันออก ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว ในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอก

หมาจิ้งจอก หรือ สุนัขจิ้งจอก หรือเรียกสั้น ๆ ว่า จิ้งจอก (fox, jackal; อีสาน: หมาจอก) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม วงศ์ Canidae ในเผ่า Vulpini ลักษณะทั่วไปของหมาจิ้งจอกจะมีขนาดลำตัวที่เล็กกว่าสุนัขบ้านทั่วไป และคล้ายกับสุนัขไทยพื้นเมือง จมูกแหลมยาว หูใหญ่ชี้ตั้ง ฟันกรามแข็งแรงและแหลมคม หางยาวเป็นพวง ขนสีน้ำตาลแกมเหลือง หมาจิ้งจอกมีทั้งหมด 27 ชนิด ใน 5 สกุล พบได้ทั่วโลก แม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ สามารถปรับตัวให้เข้ากับทุกสภาพแวดล้อมได้ สำหรับในประเทศไทย หมาจิ้งจอกจัดอยู่ในสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป..

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาจิ้งจอก · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกหูค้างคาว

หมาจิ้งจอกหูค้างคาว (Bat-eared fox) เป็นสัตว์กินเนื้อในวงศ์ Canidae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Otocyon megalotis เป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวในสกุล Otocyon มีถิ่นกำเนิดในตอนใต้ของทวีปแอฟริกาและแอฟริกาตะวันออก ชอบอยู่เป็นฝูง อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าสะวันนา มีลำตัวสีน้ำตาลเทา ยกเว้นขาทั้ง 4 ข้าง, ส่วนหน้าของใบหน้า, ปลายหาง และใบหูเป็นสีดำ เป็นหมาจิ้งจอกที่มีขนาดเล็ก อุปนิสัยไม่ดุร้าย มีความยาวตั้งแต่หัวจรดปลายหางประมาณ 55 เซนติเมตร น้ำหนักเต็มที่ประมาณ 3-5 กิโลกรัม มีจุดเด่นอยู่ที่ใบหูที่ยาวใหญ่ถึง 13 เซนติเมตร รูปร่างคล้ายค้างคาวอันเป็นที่มาของชื่อ ซึ่งเป็นที่รวมของเส้นเลือดต่าง ๆ ช่วยระบายความร้อน และทำให้มีประสาทการรับฟังอย่างดีเยี่ยม จนสามารถฟังได้แม้กระทั่งเสียงคลานของแมลง โดยอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ประมาณ 2-6 ตัว ในโพรงดิน นอกจากนี้แล้วยังมีฟันและกรามที่แตกต่างไปจากสุนัขชนิดอื่น ๆ คือ สุนัขทั่วไปจะมีฟันกรามบน 2 ซี่ และกรามล่าง 3 ซี่ แต่หมาจิ้งจอกหูค้างคาวมีฟันกรามบน 3 ซี่ และกรามล่าง 4 ซี่ และสามารถขยับกรามได้อย่างรวดเร็วเพื่อเคี้ยวแมลงได้อีกต่างหาก ออกหากินในเวลากลางคืน ในฤดูหนาวจะหากินในเวลากลางวัน โดยกินแมลงจำพวกปลวกเป็นอาหารหลัก และสัตว์ฟันแทะ รวมถึงผลไม้บางชนิด โตเต็มวัยเมื่ออายุได้ 7-9 เดือน มีฤดูผสมพันธุ์ในฤดูหนาว ออกลูกครั้งละ 2-5 ตัว แม่หมาจิ้งจอกหูค้างคาวจะเลี้ยงลูกนานราว 15 สัปดาห์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาจิ้งจอกหูค้างคาว · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกเฟนเนก

หมาจิ้งจอกเฟนเนก หรือ หมาจิ้งจอกทะเลทราย (Fennec fox, Desert fox) เป็นหมาจิ้งจอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Vulpes zerda อยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) หมาจิ้งจอกเฟนเนกเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก ถือได้ว่าเป็นสัตว์ในวงศ์สุนัขที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก เนื่องจากขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้ว มีน้ำหนักเฉลี่ยเพียง 1.75 กิโลกรัมสำหรับตัวผู้ และ 1.25 กิโลกรัมสำหรับตัวเมีย ซึ่งถือได้ว่าเล็กกว่าสุนัขบ้านเสียอีก นับได้ว่ามีขนาดน้ำหนักตัวใกล้เคียงกับชิวาวา ซึ่งเป็นสุนัขขนาดเล็ก และมีความยาวลำตัวประมาณ 24-40 เซนติเมตร มีความยาวหาง 8 นิ้ว มีขนสีน้ำตาลเหลืองตลอดทั้งตัว ดวงตาสีดำ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดเจนคือ ใบหูที่ยาวมาก บางตัวอาจยาวได้ถึง 15 เซนติเมตร คล้ายกับหมาจิ้งจอกหูค้างคาว (Otocyon megalotis) ซึ่งถือได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็กเช่นกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า หมาจิ้งจอกเฟนเนกมีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา โดยอาศัยอยู่ในทะเลทราย มีพฤติกรรมรวมกันเป็นฝูงขนาดเล็ก หากินในเวลากลางคืน โดยมีอาหารหลักคือ แมลงชนิดต่าง ๆ ด้วยการขุดคุ้ยจากการฟังเสียงจากใบหูที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนั้นแล้วยังสามารถกินสัตว์ที่มีขนาดเล็ก, ไข่นก และผลไม้ได้อีกด้วย กระนั้นหมาจิ้งจอกเฟนเนกก็ยังตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่าได้อีกด้วย แต่ด้วยสภาพร่างกายที่เหมาะกับการอาศัยอยู่ในทะเลทราย ทำให้สามารถเอาตัวรอดได้ โดยขนที่อุ้งเท้าจะหนาสำหรับใช้เดินบนพื้นทรายที่ร้อนระอุได้ ขนสีน้ำตาลเหมือนสีของทรายของช่วยให้อำพรางตัวได้ในทะเลทราย นอกจากนี้แล้วยังหนาต่างจากสัตว์ที่อยู่ในทะเลทรายจำพวกอื่น ๆ โดยขนจะทำหน้าที่สะท้อนความร้อนจากแสงแดดในเวลากลางวันออกไป ส่วนตอนกลางคืนก็ทำหน้าที่สะสมความอบอุ่นไว้เพื่อต่อสู้กับความหนาวเย็น เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคึน ขยายพันธุ์ด้วยการตั้งท้องนานครั้งละ 2 เดือน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 9 เดือน โดยจะตกลูกปี​ละ​ครั้ง ​เป็น​สัตว์​ที่​มี​คู่​ตัว​เดียว​ตลอด​ชีวิต ตัวผู้​จะ​ดุร้าย​และ​หวง​คู่ อีก​ทั้ง​ทำ​หน้าที่​คอย​หา​อาหาร​ให้​ตัวเมีย​ตลอด​เวลา​ช่วง​ที่​ตั้ง​ท้อง​และ​ให้​นม ตกลูกครั้งละ 2-4 ตัว คำว่า "เฟนเนก" นั้น มาจากภาษาอาหรับคำว่า "ثعلب" (fanak) หมายถึง "หมาจิ้งจอก" ส่วนชื่อชนิดทางวิทยาศาตร์คำว่า zerda มาจากภาษากรีกคำว่า xeros ซึ่งหมายถึง "ความแห้ง" อันหมายถึงสภาพของสถานที่อยู่อาศัยนั่นเอง ด้วยรูปลักษณ์ที่น่ารัก และมีขนาดเล็ก จึงทำให้หมาจิ้งจอกเฟนเนกกลายเป็นสัตว์เลี้ยงชนิดหนึ่งของมนุษย์ เช่นเดียวกับ สัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นฉายาของทีมฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรียอีกด้วย โดยเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า Les Fennecs หมายถึง "หมาจิ้งจอกทะเลทราย".

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาจิ้งจอกเฟนเนก · ดูเพิ่มเติม »

หมาป่าดิงโก

หมาป่าดิงโก (อังกฤษ: Dingo) สุนัขป่าชนิดหนึ่ง พบได้เฉพาะที่ออสเตรเลียเท่านั้น หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขป่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่มีรูปร่างหน้าตาคล้ายสุนัขบ้านมากที่สุด จึงสันนิษฐานว่าบรรพบุรุษของหมาป่าดิงโก สืบเชื้อสายมาจากสุนัขบ้านจากเอเชียอาคเนย์ (รวมถึงประเทศไทยด้วย) โดยเข้ามาอยู่ในออสเตรเลียเมื่อราว 3,000-4,000 ปีก่อน หมาป่าดิงโกจัดเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวเท่านั้นในวงศ์สุนัข (Canidae) ที่พบในออสเตรเลีย แผนที่แสดงความเป็นไปได้ในการอพยพของหมาป่าดิงโก หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขป่าขนสั้น หางเป็นพวง สีขนมีหลากหลายมาก ส่วนใหญ่จะเป็นสีน้ำตาลอมเหลือง ในบางตัวอาจมีสีเทาหรือแดง แม้กระทั่งขาวล้วนหรือดำล้วนก็มี มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ มีนิสัยดุร้ายและปราดเปรียวมาก แม้พื้นที่ ๆ อาศัยอยู่จะเป็นทะเลทรายหรือที่ราบกว้างใหญ่ แต่หมาป่าดิงโกก็สามารถป่ายปีนก้อนหินหรือหน้าผาได้อย่างคล่องแคล่ว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ สูงประมาณ 52-60 เซนติเมตร ความยาวลำตัวตั้งแต่ปลายจมูกจรดหาง 117-124 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 13-24 กิโลกรัม หมาป่าดิงโกจัดเป็นสัตว์อันตรายชนิดหนึ่งในออสเตรเลีย โดยจะโจมตีใส่สัตว์เลี้ยงของมนุษย์เช่น แกะ หรือ ม้า ได้ แม้กระทั่งโจมตีใส่มนุษย์และทำร้ายจนถึงแก่ความตายได้ด้วย หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขที่ไม่เชื่อง ดังนั้น จึงตกเป็นสัตว์ที่ถูกล่าในศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบัน หมาป่าดิงโก มีสถานะที่มีความเสี่ยงในการสูญพันธุ์ ในทางตอนใต้และตะวันออกของออสเตรเลีย มีการแบ่งเขตเป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์หมาป่าดิงโก เพื่อไม่ให้หมาป่าดิงโกเข้ามาปะปนกับมนุษย์หรือสัตว์ชนิดอื่น โดยกั้นเป็นรั้วยาวกว่าครึ่งของประเทศออสเตรเลีย ซึ่งจัดเป็นแนวรั้วที่ยาวที่สุดในโลก ในปี ค.ศ. 2010 นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ได้เปิดเผยผลการวิจัยว่า จากการศึกษาดีเอ็นเอพบว่า หมาป่าดิงโกและสุนัขป่านิวกินี (C. l. hallstromi) ซึ่งเป็นสุนัขป่าพื้นเมืองของเกาะนิวกินี นั้นเป็นสายพันธุ์สุนัขป่าที่ใกล้เคียงกับสุนัขบ้านมากที่สุด และถือเป็นสายพันธุ์สุนัขแท้ ๆ ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ซึ่งปัจจุบันนี้สุนัขทั้ง 2 สายพันธุ์นี้ก็ใกล้สูญพันธุ์อย่างเต็มที่แล้ว โดยเฉพาะหมาป่าดิงโกที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เพราะการผสมข้ามสายพันธุ์ เพราะกว่า 80 เปอร์เซนต์ ของหมาป่าดิงโกที่อาศัยแถบชายฝั่งทางตะวันออกของออสเตรเลียเป็นพันธุ์ผสมที่ผสมกับสุนัขสายพันธุ์อื่น ในปัจจุบันหมาป่าดิงโกสายพันธุ์แท้หลงเหลือเพียงแห่งเดียวเท่านั้น คือ เกาะเฟรเซอร์ ในรัฐควีนส์แลนด์ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาป่าดิงโก · ดูเพิ่มเติม »

หมาป่านิวกินี

หมาป่านิวกินี (อังกฤษ: New Guinea singing dog, New Guinea highland dog; ชื่อย่อ: NGSD) หมาป่าชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับสุนัขบ้านมากที่สุด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis lupus hallstromi ในวงศ์สุนัข (Canidae) มีรูปร่างของกะโหลกศีรษะเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีส่วนสูง 13-16.5 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 17-30 ปอนด์ มีขนสั้นและหนาแน่น มีขนสีน้ำตาลแดง ส่วนท้อง คอ หน้าอก และหางมีสีขาว มีฟันที่มีขนาดใหญ่และแข็งแรงกว่าสุนัขสายพันธุ์อื่น ๆ โดยเฉพาะฟันกรามบน จากการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ พบว่าหมาป่านิวกินีอาศัยอยู่บนเกาะนิวกินีมาตั้งแต่ยุคหินแล้ว โดยอยู่ร่วมกับชนพื้นเมืองเช่นเดียวกับสุนัขสายพันธุ์อื่น ๆ ทั่วโลก โดนมีอุปนิสัยฉลาด และเป็นมิตรกับมนุษย์ หมาป่านิวกินี มีจุดเด่นอีกประการคือ เสียงหอนที่แหลมสูงและหอนได้ต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่าสุนัขสายพันธุ์อื่น จึงเป็นที่มาของชื่อในภาษาอังกฤษว่า "Singing Dog" (สุนัขร้องเพลง) เป็นที่รู้จักครั้งแรกของชาวโลก ในทศวรรษที่ 50 เนื่องจากชาวตะวันตกที่เดินทางไปศึกษาสัตว์ป่าที่เซาเทิร์นไฮแลนส์ บนเกาะนิวกินี และได้รับรายงานจากการที่หมาป่านิวกินีไปฆ่าเป็ดไก่ของชาวบ้าน และได้รับการอนุกรมวิธาน โดยทีแรกให้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis hallstromi แต่ได้มีการเปลี่ยนในภายหลัง โดยจัดให้เป็นชนิดย่อยว่า hallstromi ขณะที่ชื่อสกุลและชนิดใช้ว่า Canis lupus เช่นเดียวกับหมาป่าชนิดที่พบในยุโรป หมาป่านิวกินี ถูกส่งไปสหรัฐอเมริกาครั้งแรกในปี ค.ศ. 1958 ที่สวนสัตว์ซานดิเอโก เป็นเพศเมีย ต่อมาสมาคมสุนัขสหราชอาณาจักร (United Kennel Club) ได้รับรองสายพันธุ์หมาป่านิวกินีนี้ลงในทะเบียนของสมาคม ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1996 โดยหมาป่านิวกินีในที่เลี้ยงพบว่ามีอุปนิสัยฉลาด รักอิสระ มีนิสัยอ่อนโยน แต่ยังคงมีสัญชาตญาณสัตว์ป่าสูง สามารถป่ายปีนและขุดดินเก่ง สามารถหลบหนีจากกรงได้อย่างชาญฉลาด มีพฤติกรรมงับเหยื่อหรืออาหารอย่างแน่น ไม่ยอมปล่อยจนกว่าจะปลอดภัย การฝึกต้องอาศัยความละเอียดและอดทน หมาที่คุ้นเคยกับมนุษย์แล้วจะเป็นมิตรด้วย แต่จะพุ่งใส่หมาหรือสุนัขตัวอื่นที่ดุร้ายแม้ตัวจะใหญ่กว่า หรือคนแปลกหน้า และจะต่อสู้อย่างดุเดือด สำหรับสถานะ หมาป่านิวกินีในธรรมชาตินับว่าหายากมาก ซึ่งทางสมาคมสุนัขสหราชอาณาจักรได้ให้เงินทุนสำหรับการอนุรักษ์สายพันธุ์ ในปี ค.ศ. 2010 นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ได้เปิดเผยผลการวิจัยว่า จากการศึกษาดีเอ็นเอพบว่า หมาป่านิวกินีและดิงโก (C. l. dingo) ซึ่งพบเฉพาะในออสเตรเลียนั้นเป็นสายพันธุ์หมาป่าที่ใกล้เคียงกับสุนัขบ้านมากที่สุด และถือเป็นสายพันธุ์สุนัขแท้ ๆ ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ซึ่งปัจจุบันนี้หมาป่าทั้ง 2 สายพันธุ์นี้ก็ใกล้สูญพันธุ์อย่างเต็มที่แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาป่านิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

หมาป่าเคราขาว

หมาป่าเคราขาว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Chrysocyon brachyurus; Maned wolf) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์สุนัข (Canidae) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Chrysocyon พบในทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศบราซิล, ประเทศปารากวัย และประเทศโบลิเวีย หมาป่าเคราขาวมีลักษณะโดยผิวเผินคล้ายคลึงกับหมาจิ้งจอก แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก โดยสูงถึงสามฟุตนับจากเท้าถึงหัวไหล่ เพราะมีช่วงขาที่ยาวทำให้การมองเห็นได้ดีเมื่อต้องอยู่ในทุ่งหญ้าหรือที่รกชัฏ มีน้ำหนักประมาณ 20 ถึง 25 กิโลกรัม ขนลำตัวเป็นสีแดงน้ำตาล โดยมีขนขาและหลังคอเป็นสีดำ ขนปลายหางและใต้ลำคอเป็นสีขาว ขนดำที่หลังคอเป็นขนยาวและตั้งชันได้เวลากลัวหรือต้องการแสดงความก้าวร้าว หมาป่าเคราขาวมักอาศัยเป็นลำพัง หรือเป็นคู่ ซึ่งต่างจากสัตว์ในวงศ์หมาป่าขนาดใหญ่ชนิดอื่นๆที่มักอยู่เป็นฝูง หมาป่าเคราขาวล่าสัตว์ขนาดเล็กและขนาดกลางเป็นอาหารในเวลากลางคืน เช่น สัตว์ฟันแทะ, กระต่าย และ นก นอกเหนือจากนี้ หมาป่าเคราขาวกินผลไม้และพืชอีกหลายชนิดไม่แพ้เนื้อสัตว์ หากไม่ได้กินพืช หมาป่าเคราขาวจะเป็นโรคนิ่วได้ หมาป่าเคราขาวที่อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าเซอราโด ของบราซิล มีพฤติกรรมชอบกินผลของโลบิรา (Solanum lycocarpum) มาก และเมื่อกินแล้วจะถ่ายมูลลงบนยอดจอมปลวกเล็ก ๆ ที่ขึ้นในทุ่งหญ้าเซอราโด ซึ่งในมูลนั้นจะมีเมล็ดของโลบิราอยู่ด้วย ซึ่งจะงอกเป็นต้นโลบิราขึ้นมาบนจอมปลวกนั้น เป็นเหตุให้ต้นโลบิราในทุ่งหญ้าเซอราโด มักขึ้นอยู่บนยอดจอมปลวกขนาดเล็ก ในปัจจุบัน หมาป่าเคราขาวมีจำนวนลดลง เนื่องจากถูกล่าจากมนุษย์ และติดเชื้อโรคจากสุนัขบ้าน หมาป่าเคราขาวเป็นสัตว์ในบัญชีหมายเลข ๒ ของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (CITES) โดยห้ามส่งออกหรือนำเข้าโดยปราศจากใบอนุญาต ซึ่งรวมถึงประเทศไทย ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาป่าเคราขาว · ดูเพิ่มเติม »

หมาใน

หมาใน, หมาป่าเอเชีย หรือ หมาแดง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cuon alpinus ในวงศ์สุนัข (Canidae) เป็นหมาป่าที่มีขนาดใหญ่กว่าหมาจิ้งจอก จมูกสั้น ใบหูกลมมีขนาดใหญ่ ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นมีสีน้ำตาลแดง สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่าบริเวณหลัง หางยาวเป็นพวง ปลายหางมีสีเทาเข้มหรือดำ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยูในสกุล Cuon มีความยาวลำตัวและหัว 80–90 เซนติเมตร ความยาวหาง 30.5–34.5 เซนติเมตร น้ำหนักในเพศผู้ 10–21 กิโลกรัม เพศเมีย 10–13 กิโลกรัม หมาในมีฟันที่แข็งแรงแต่มีฟันกรามล่างเพียงข้างละ 2 ซี่เท่านั้น ซึ่งต่างจากสัตว์ในวงศ์สุนัขชนิดอื่น ๆ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง ทำให้มีชนิดย่อย ถึง 11 ชนิด พบตั้งแต่ภาคใต้ของไซบีเรีย เรื่อยมาจนถึงคาบสมุทรเกาหลี, เนปาล, อินเดีย, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม และเกาะชวาในอินโดนีเซีย มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ โดยฝูงหนึ่ง ๆ มีสมาชิกตั้งแต่ 6–12 ตัว โดยสมาชิกแต่ละตัวจะมีหน้าที่ช่วยกันล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ เช่น กระทิง ควายป่า หรือ กวางป่า มีความเชื่อว่า ก่อนล่าเหยื่อจะปัสสาวะรดพื้นหรือใบไม้เมื่อเหยื่อดมถูกจะเกิดความหวาดกลัวจนยืนแข็งทำอะไรไม่ถูก จึงเชื่อว่า สามารถทำให้เหยื่อตาบอดได้ด้วยวิธีนี้ ฝูงหมาในมีความใกล้ชิดกันทางสายเลือด ภายในกลุ่มมีสมาชิกตั้งแต่ 2–3 ครอบครัว ออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน แต่ในบางครั้งอาจล่าในเวลากลางคืนหรือพลบค่ำหรือเช้าตรู่ได้ อาหารโดยปกติ ได้แก่ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่ เช่น กวางป่า, เก้ง และกระต่ายป่า แต่ในบางสถานการณ์ที่อาหารขาดแคลน อาจกินลูกตัวเองเป็นอาหารได้ หมาในระบบประสาทหู ตา และการดมกลิ่นที่ดีเยี่ยม สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 9 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 8–10 ตัว ตามโพรงดินหรือในถ้ำที่ปลอดภัย แม่หมาในมีเต้านม 8 คู่ ลูกที่เกิดใหม่จะมีสีขนสีน้ำตาลเทา มีอายุในที่เลี้ยงประมาณ 16 ปี ในธรรมชาติราว 10 ปี ฝูงหมาในล่ากวางป่า ที่อุทยานแห่งชาติบันดิเปอร์ ประเทศเนปาล สถานภาพในประเทศไทย เป็นหมาป่า 1 ใน 2 ชนิดที่สามารถพบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งชนิด คือ หมาจิ้งจอก) จากเดิมที่เคยพบในป่าทั่วประเทศ ปัจจุบันเชื่อว่าเหลือเพียงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เท่านั้น และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมาใน · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (สัตว์)

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึก (สัตว์) · ดูเพิ่มเติม »

หมึกกระดอง

ลิ้นทะเล หมึกกระดอง เป็นมอลลัสคาประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sepiida.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกกระดอง · ดูเพิ่มเติม »

หมึกกระดองลายเสือ

หมึกกระดองลายเสือ หรือ หมึกหน้าดิน หรือ หมึกแม่ไก่ (Pharaoh cuttlefish; ชื่อวิทยาศาสตร์: Sepia pharaonis) ปลาหมึกเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับหอย มีบทบาทสำคัญในระบบนิเวศน์ และมีความสำคัญในห่วงโซ่อาหาร รวมถึงด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ปลาหมึกกระดองลายเสือมีลำตัวกว้าง ครีบกว้างทอดยาวตลอดด้านข้างของลำตัว ด้านหลังของลำตัวและส่วนหัวมีลายคล้ายลายเสือพาดขวาง และมีกระดอง(cuttlebone) เป็นแผ่นแข็งสีขาวขุ่น เป็นสารประกอบจำพวกหินปูน ซึ่งเรียกกันว่า “ลิ้นทะเล เพศผู้จะมีลายมีสีม่วงเข้ม ส่วนตัวเมียจะมีลายที่แคบกว่า และสีจางกว่า ที่บริเวณหัวมีหนวด(arm) 4 คู่ และหนวดจับ(tentacle) 1 คู่ และหนวดคู่ที่ 4 ข้างซ้ายของเพศผู้ใช้สำหรับการผสมพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกกระดองลายเสือ · ดูเพิ่มเติม »

หมึกกล้วย

ลื่อนไหวของหมึกหอม หมึกกล้วย เป็นมอลลัสคาประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Teuthida.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

หมึกมหึมา

หมึกมหึมา หรือ หมึกโคลอสซัล (Colossal squid, Antarctic giant cranch squid) เชื่อว่าเป็นหมึกสปีชีส์ที่ขนาดใหญ่ที่สุด และเป็นสปีชีส์เดียวในสกุล Mesonychoteuthis ประเมินจากตัวอย่างที่ขนาดเล็กกว่าและยังไม่โตเต็มวัย คาดว่าขนาดตัวเต็มวัยใหญ่ที่สุดอาจถึง 14 เมตร จึงเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่ที่สุดด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกมหึมา · ดูเพิ่มเติม »

หมึกสาย

รูปแสดงกายภาคของหมึกสาย หมึกสาย หรือ หมึกยักษ์ เป็นมอลลัสก์ประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Octopoda.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกสาย · ดูเพิ่มเติม »

หมึกสายวงน้ำเงิน

หมึกสายวงน้ำเงิน หรือ หมึกบลูริง (Blue-ringed octopus) เป็นหมึกในสกุล Hapalochlaena ในอันดับหมึกยักษ์ จัดเป็นหมึกขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีจุดเด่น คือสีสันตามลำตัวที่เป็นจุดวงกลมคล้ายแหวนสีน้ำเงินหรือสีม่วงซึ่งสามารถเรืองแสงได้เมื่อถูกคุกคาม ตัดพื้นลำตัวสีขาวหรือเขียว แลดูสวยงามมาก แต่ทว่า หมึกสายวงน้ำเงินนั้นมีพิษที่ผสมอยู่ในน้ำลายที่มีความร้ายแรงมาก ซึ่งร้ายแรงกว่างูเห่าถึง 20 เท่า ผู้ที่ถูกกัดจะตายภายใน 2-3 นาที ทั้งสามารถฆ่าคนได้ 26 คนในคราวเดียว นับเป็นหนึ่งในสัตว์น้ำที่มีพิษร้ายแรงมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกสายวงน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

หมึกฮัมโบลต์

การจับหมึกฮัมโบลต์ที่ชิลี หมึกฮัมโบลต์, หมึกจัมโบ หรือ หมึกบินจัมโบ (Humboldt squid, Jumbo squid, Flying jumbo squid) หรือ เดียโบลโรโค (Diablo rojo, "ปีศาจแดง")) เป็นหมึกประเภทหมึกกล้วยชนิดหนึ่ง เป็นหมึกกล้วยที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมึกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Dosidicus หมึกฮัมโบลต์มีความยาวได้ถึง 9 ฟุต มีน้ำหนักได้ถึง 150 ปอนด์ มีรูปร่างเพรียวยาว อ้วนป้อมออกด้านข้าง มีหนวดทั้งสิ้น 8 หนวด โดยมี 2 เส้นยาว ที่มีอวัยวะเหมือนฟันแหลมคมข้าง ๆ ปุ่มดูด ซึ่งมีไว้สำหรับจับและฉีกอาหาร มีดวงตากลมโตขนาดใหญ่ หมึกฮัมโบลต์กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก ตั้งแต่อเมริกาเหนือ เช่น ออริกอน, วอชิงตัน, บริติชโคลัมเบีย และอะแลสกา จนถึงอเมริกากลาง เช่น ทะเลกอร์เตซ จนถึงอเมริกาใต้ เช่น เปรู ชิลีZeidberg, L. & B.H. Robinson 2007.. PNAS 104(31): 12948–12950. หมึกฮัมโบลต์สามารถว่ายน้ำได้เร็ว 24 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยวิธีการพ่นน้ำและใช้ครีบ สามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ อีกทั้งสามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ตลอดเวลาตั้งแต่สีขาวจนถึงแดงเข้ม และดำน้ำได้ลึกถึง 1,000 ฟุต เพื่อพักผ่อน ย่อยอาหาร และหลบเลี่ยงสัตว์นักล่า มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ออกหากินบริเวณกลางน้ำทั้งเวลากลางวันและกลางคืน ออกหากินตลอดเวลา จะกินอาหารทุกที่เมื่อสบโอกาส ถือเป็นสัตว์ที่ต้องการแคลอรีมากที่สุดชนิดหนึ่งในทะเล มีพฤติกรรมแย่งอาหาร และกินแม้แต่พวกเดียวกันเอง เมื่อชาวประมงจับหมึกฮัมโบลต์ได้ ตัวแรกจะถูกหั่นออกเป็นชิ้น ๆ แล้วโยนลงทะเล เพื่อใช้เป็นเหยื่อล่อหมึกตัวอื่น ๆ ให้ตามมา เมื่อหมึกตัวหนึ่งจับอาหารได้จะพ่นหมึกออกมา หมึกตัวอื่น ๆ ก็จะเข้ามารุมล้อมแย่งกิน และเมื่อจับอาหารได้ชิ้นใหญ่กว่าปากของตัวเอง จะใช้หนวดดูดและใช้ปากที่แหลมคมเหมือนปากนกแก้ว ฉีกอาหารเป็นชิ้น ๆ ให้พอกับคำ หมึกฮัมโบลต์เมื่อแรกเกิดมีความยาวเพียง 1.8 นิ้ว แต่สามารถโตได้ถึง 7 ฟุต ด้วยเวลาเพียง 2 ปี นับว่าเป็นอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมากชนิดหนึ่งในบรรดาสัตว์ทั้งหมด แต่อายุขัยยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด คาดว่าประมาณ 1-2 ปี หมึกฮัมโบลต์นับว่าเป็นสัตว์นักล่าที่สมบูรณ์แบบมากชนิดหนึ่งในทะเล เป็นสัตว์ที่ฉลาดและคล่องแคล่วว่องไว อีกทั้งมีหนวดที่แข็งแรงและแหลมคมเป็นอาวุธ ถือเป็นสัตว์ทะเลอีกชนิดหนึ่งที่สามารถทำร้ายโจมตีมนุษย์ได้ สามารถใช้หนวดดึงบ่าของนักประดาน้ำให้หลุดและลากลงไปในที่ลึกได้ หากสวมชุดประดาน้ำแบบธรรมดาไม่มีเครื่องป้องกันแบบเดียวกับเครื่องป้องกันปลาฉลาม จะถูกทำอันตรายจากปากและหนวดได้เหมือนกับการกัดของสุนัขขนาดใหญ่อย่างเยอรมันเชเพิร์ด จนมีเรื่องเล่าขานกันในหมู่ชาวประมงแถบทะเลกอร์เตซว่าหมึกฮัมโบลต์ทำร้ายและกินมนุษย์เป็นอาหาร ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2009 มีนักประดาน้ำ 3 คน เสียชีวิตในทะเลกอร์เตซ โดยศพถูกคลื่นซัดขึ้นฝั่งพบว่าชุดประดาน้ำฉีกขาด และเปื้อนไปด้วยหมึก และภายหลังพิสูจน์ว่าเป็นหมึกจากหมึกฮัมโบลต์ หมึกฮัมโบลต์จัดเป็นหมึกอีกชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานและบริโภคกันอย่างมากเช่นเดียวกับหมึกและมอลลัสคาชนิดอื่น ๆ มีมูลค่าในการตลาดสูงมาก โดยเฉพาะในทวีปเอเชีย มีอัตราการส่งออกสูงถึง 500,000 ตัน ในแต่ละปีSquid, "Rouge Nature With Dave Salmoni" โดย อนิมอลพลาเน็ต สารคดีทางทรูวิชั่นส์: อังคารที่ 25 ธันวาคม 2555.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกฮัมโบลต์ · ดูเพิ่มเติม »

หมึกแคระ

หมึกแคระ (Pygmy squid) เป็นเซฟาโลพอดจำพวกหมึกหูช้างกลุ่มหนึ่ง ในวงศ์ Idiosepiidae และสกุล Idiosepius นับเป็นหมึกที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก เมื่อโตเต็มที่เพศเมียมีความยาวลำตัว 1-3 เซนติเมตร ส่วนเพศผู้ 0.5-1.5 เซนติเมตรเท่านั้น พบในบริเวณชายฝั่ง, ป่าชายเลน, แหล่งสาหร่ายทะเล และแหล่งหญ้าทะเล พฤติกรรมมีลักษณะเฉพาะตัวอย่างยิ่งที่ไม่พบในปลาหมึกชนิดอื่น กล่าวคือ สามารถเกาะติดอยู่อยู่กับวัสดุต่าง ๆ โดยใช้อวัยวะพิเศษ บนส่วนหลังของลำตัว กินอาหารพวกครัสเตเชียนขนาดเล็ก วงจรชีวิตประมาณ 3 เดือน ปัจจุบันสามารถเลี้ยงเพาะพันธุ์ได้แล้วในห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์ วางไข่ประมาณ 100 ฟองต่อตัว ไข่ใช้เวลาฟักประมาณ 2 สัปดาห์ ลูกหมึกแรกเกิด มีการดำรงชีวิตแบบกลางน้ำ พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดียReid, A. 2005.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมึกแคระ · ดูเพิ่มเติม »

หมูหริ่ง

หมูหริ่ง, หมูหรึ่ง หรือ หมูดิน (hog badger, Indian badger) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctonyx collaris อยู่ในวงศ์ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเพียงพอนหรือวีเซล โดยที่หมูหริ่งอยู่ในสกุล Arctonyx นับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมูหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หมี

หมี จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ จัดอยู่ในวงศ์ Ursidae ออกลูกเป็นตัว ตาและใบหูกลมเล็ก ริมฝีปากยื่นแยกห่างออกจากเหงือก สามารถยืนและเดินด้วยขาหลังได้ ประสาทการดมกลิ่นดีกว่าประสาทตาและหู กินได้ทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมี · ดูเพิ่มเติม »

หมีกริซลี

หมีกริซลี (grizzly bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) จัดเป็นชนิดย่อยของหมีสีน้ำตาล (U. arctoc) หมีกริซลี จัดได้ว่าเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และถือว่าเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกด้วย เมื่อตัวผู้ที่มีขนาดโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักได้ถึง 180-980 กิโลกรัม หรือ 1 ตัน และยืนด้วยสองขามีความสูงถึง 2.5 เมตร หรือ 3 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมีกริซลี · ดูเพิ่มเติม »

หมีสีน้ำตาล

หมีสีน้ำตาล (Brown bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่มาก โดยตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย เมื่อยืน 4 เท้ามีความสูงถึง 5 ฟุต และเมื่อยืนด้วย 2 เท้า อาจสูงถึง 9 ฟุต แต่ยืนได้ในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักมากถึง 1,000 ปอนด์ ส่วนตัวเมียอาจมีน้ำหนักมากกว่า 450 ปอนด์ มีขนสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ปุ่มหรือเนินตรงหัวไหล่ มีขนและเล็บยาว มีจมูกที่ใหญ่ แต่มีใบหูขนาดเล็ก แต่จะมีขนสีเข้มหรืออ่อนไปตามสภาพแวดล้อมและภูมิประเทศที่อาศัย รวมถึงขนาดตัวด้วย ซึ่งถือเป็นชนิดย่อย (ดูในตาราง) โดยกระจายพันธุ์ไปในพื้นที่ ๆ กว้างไกลมาก ตั้งแต่อะแลสกา, แคนาดา, รัสเซีย, หลายพื้นที่ในยุโรป และตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย, เนปาล และจีน และตะวันออกกลาง หมีสีน้ำตาลกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้งพืชและสัตว์ โดยหากเป็นพืชมักจะเป็นผลไม้ประเภทเบอร์รี่ บางครั้งกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง หรือ หนู แต่บางครั้งก็กินสัตว์ใหญ่ เช่น ม้า, วัวป่า, กวาง รวมถึงซากสัตว์ ในช่วงฤดูกาลที่มีอาหารสมบูรณ์ อาหารที่หมีสีน้ำตาลชอบมาก คือ ปลาแซลมอน และปลาเทราท์ หมีสีน้ำตาลตัวเมียต้องมีอายุ 4 ถึง 10 ปี จึงจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และให้กำเนิดลูกโดยเฉลี่ย 2 ตัว ในระยะเวลา 4 ปี ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิถึงต้นฤดูร้อน แม่หมีจะให้กำเนิดลูกในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ปกติ 2-3 ตัว โดยลูกหมีที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และยังไม่มีขน ลูกหมีจะอาศัยอยู่ในถ้ำที่แม่หมีขุดขึ้นมาจนกระทั่งถึงเดือนเมษายน หรืออาจถึงเดือนมิถุนายน และเริ่มหย่านมเมื่ออายุประมาณ 5 เดือน และเริ่มเรียนรู้ว่า พืชหรือสัตว์ประเภทไหนที่ใช้เป็นอาหาร ลูกหมีจะอยู่กับแม่อย่างน้อยอีก 1 ปี หรือมากกว่านั้น จากนั้นจึงเริ่มแยกตัวออกไป ส่วนในฤดูหนาว หมีสีน้ำตาลจะจำศีลในถ้ำเป็นระยะเวลาราว 2 เดือน โดยใช้พลังงานจากไขมันที่สะสมไว้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

หมีขอ

หมีขอ หรือ บินตุรง หรือ หมีกระรอก (Binturong, Bearcat;; อีสาน: เหง็นหางขอ, เหง็นหมี) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม แม้จะมีหน้าตาคล้ายหมีจนได้ชื่อว่าหมี แต่เป็นสัตว์จำพวกชะมดและอีเห็น (Viverridae) ที่ใหญ่ที่สุด จัดเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวในสกุล Arctictis มีหางยาวเป็นพวงคล้ายกระรอก ขนตามลำตัวค่อนข้างยาวสีดำและหยาบ สีขนบริเวณหัวอาจมีสีเทา หูกลม บริเวณขอบหูมีสีขาว หางที่ยาวสามารถใช้เกาะเกี่ยวต้นไม้ได้เป็นอย่างดี มีความยาวลำตัวและหัว 61-96.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 50-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 9-20 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ภูฐาน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ภาคตะวันตกของพม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, พรมแดนระหว่างเวียดนามติดกับลาวและกัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวในอินโดนีเซีย และเกาะปาลาวันในฟิลิปปินส์ หมีขอเป็นสัตว์หากินในเวลากลางคืน อาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในบางครั้งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประกอบไปด้วย แม่และลูก ในเวลากลางวันจะอาศัยโพรงไม้เป็นที่หลับนอน อาหารได้แก่ ผลไม้และสัตว์ที่มีขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ บนต้นไม้ทั้งแมลงและสัตว์เลื้อยคลาน ปีนต้นไม้ได้เก่งมาก โดยใช้หางที่ยาวเกาะเกี่ยวกิ่งไม้จากต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย มีการผสมพันธุ์กันได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 92 วัน ออกลูกครั้งละ 1-3 ตัว หมีขอตัวเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 2 คู่ ลูกที่เกิดใหม่ยังไม่สามารถขาและหางเกี่ยวกิ่งไม้ได้ชำนาญเหมือนตัวพ่อแม่ หมีขอเป็นสัตว์ที่เลี้ยงตั้งแต่เล็กแล้วจะเชื่อง จนสามารถนำมาฝึกให้แสดงโชว์ต่าง ๆ ได้ตามสวนสัตว์ สถานะปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมีขอ · ดูเพิ่มเติม »

หมีขาว

หมีขาว หรือ หมีขั้วโลก (polar bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) จัดเป็นหมีชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมีขาว · ดูเพิ่มเติม »

หมีควาย

หมีควาย หรือ หมีดำเอเชีย (Asian black bear, Asiatic black bear) จัดเป็นหมี 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งคือ หมีหมา (U. malayanus)).

ใหม่!!: สปีชีส์และหมีควาย · ดูเพิ่มเติม »

หมีน้ำ

หมีน้ำ (Waterbears) หรือชื่อสามัญว่า ทาร์ดิกราดา (Tardigrada) หรือ ทาร์ดิเกรด (Tardigrades) เป็นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tardigrada.

ใหม่!!: สปีชีส์และหมีน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ใหม่!!: สปีชีส์และหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หยาดหิมะ

กาแลนธัส (Galanthus หรือ Snowdrop) เป็นพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 สปีชีส์ ที่รู้จักกันในชื่อง่ายๆ ว่า หยาดหิมะ เป็นดอกไม้หนึ่งในดอกไม้ชนิดแรกที่บานในฤดูใบไม้ผลิ แต่ก็มีบางสายพันธุ์ที่บานตอนปลายฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว “หยาดหิมะ” บางครั้งก็สับสนกับ “เกล็ดหิมะ” (Spring Snowflake) ที่อยู่ในสปีชีส์ “Galanthus nivalis” ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่แพร่หลายที่สุดในสกุลนี้ ถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรป ตั้งแต่เทือกเขาพิเรนีสทางตะวันตกไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี โปแลนด์ อิตาลี ตอนเหนือของกรีซ และตุรกีในยุโรป กาแลนธัสถูกนำไปปลูกในบริเวณอื่นและขึ้นงามดี แม้ว่ามักจะคิดกันว่าเป็นดอกไม้ป่าท้องถิ่นของอังกฤษแต่อันที่จริงแล้วเป็นสายพันธุ์ที่อาจจะนำเข้ามาในอังกฤษโดยโรมัน หรืออาจจะราวประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 สปีชีส์ส่วนใหญ่มาจากทางตะวันออกของเมดิเตอเรเนียน แต่ก็มีบ้างที่มาจากทางใต้ของรัสเซีย จอร์เจีย และ อาเซอร์ไบจาน ส่วน “Galanthus fosteri” มาจาก จอร์แดน เลบานอน ซีเรีย ตุรกี และอาจจะจากอิสราเอล หยาดหิมะทุกสายพันธุ์เป็นพืชยืนต้นที่ปลูกจากหัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และหยาดหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

หยาดน้ำค้าง (สกุล)

หยาดน้ำค้าง (Sundew) เป็นพืชกินสัตว์สกุลใหญ่สกุลหนึ่ง ในวงศ์หญ้าน้ำค้าง มีประมาณ 194 ชนิด สามารถล่อ จับ และย่อยแมลงด้วยต่อมเมือกของมันที่ปกคลุมอยู่ที่ผิวใบ โดยเหยื่อที่จับได้จะใช้เป็นสารเสริมทดแทนสารอาหารที่ขาดไป พืชในสกุลหยาดน้ำค้างมีหลายรูปแบบและหลายขนาดต่างกันไปในแต่ละชนิด สามารถพบได้แทบทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ชื่อวิทยาศาสตร์ของหยาดน้ำค้าง คือ Drosera มาจากคำในภาษากรีก δρόσος: "drosos" แปลว่า "หยดน้ำ หรือ น้ำค้าง" รวมทั้งชื่อในภาษาอังกฤษ "sundew" กลายมาจาก ros solis ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า "น้ำตาพระอาทิตย์" โดยมีที่มาจากเมือกบนปลายหนวดแต่ละหนวดที่แวววาวคล้ายน้ำค้างยามเช้า ในประเทศไทยพบหยาดน้ำค้างอยู่ 3 ชนิดคือ จอกบ่วาย (Drosera burmannii Vahl), หญ้าน้ำค้าง (Drosera indica L.) และ หญ้าไฟตะกาด (Drosera peltata Sm.).

ใหม่!!: สปีชีส์และหยาดน้ำค้าง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หย่งชวนโนซอรัส

หย่งชวนโนซอรัส (Yangchuanosaurus) ค้นพบในจีนเมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และหย่งชวนโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

หลอดกึ่งวงกลม

หลอดกึ่งวงกลม (semicircular canal, semicircular duct) เป็นท่อกึ่งวงกลม 3 ท่อที่เชื่อมต่อกันภายในหูชั้นในแต่ละข้าง คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และหลอดกึ่งวงกลม · ดูเพิ่มเติม »

หลักระวังไว้ก่อน

หลักระวังไว้ก่อน (precautionary principle) เป็นวิธีการจัดการความเสี่ยงที่มีหลักว่า ถ้าการกระทำหรือนโยบายมีข้อน่าสงสัยว่า จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสาธารณประโยชน์หรือต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ โดยไม่มีมติส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ว่า การกระทำหรือนโยบายนั้นจะไม่ทำความเสียหาย การพิสูจน์ว่าจะไม่ก่อความเสียหาย ตกเป็นหน้าที่ของบุคคลที่ต้องการทำการนั้น ๆ ผู้ออกนโยบายได้ใช้หลักนี้เป็นเหตุผลการตัดสินใจ ในสถานการณ์ที่อาจเกิดความเสียหายเพราะการตัดสินใจบางอย่าง (เช่นเพื่อจะทำการใดการหนึ่ง หรืออนุมัติให้ทำการใดการหนึ่ง) ในกรณีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่ชัดเจน หลักนี้แสดงนัยว่า ผู้ออกนโยบายมีหน้าที่ทางสังคมที่จะป้องกันสาธารณชนจากการได้รับสิ่งที่มีอันตราย เมื่อการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์ได้พบความเสี่ยงที่เป็นไปได้ และการป้องกันเช่นนี้จะสามารถเพลาลงได้ ก็ต่อเมื่อมีงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงหลักฐานที่ชัดเจนว่าจะไม่มีอันตรายเกิดขึ้น กฎหมายของเขตบางเขต เช่นในสหภาพยุโรป ได้บังคับใช้หลักนี้ในบางเรื่อง ส่วนในระดับสากล มีการยอมรับใช้หลักนี้เป็นครั้งแรกในปี 2525 เมื่อสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตกลงใช้กฎบัตรเพื่อธรรมชาติแห่งโลก (World Charter for Nature) แล้วต่อมาจึงมีผลเป็นกฎหมายจริง ๆ ในปี 2530 ผ่านพิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol) ต่อจากนั้นจึงมีการใช้หลักนี้ตามสนธิสัญญาที่มีผลทางกฎหมายต่าง ๆ เช่น ปฏิญญารีโอ (Rio Declaration) และพิธีสารเกียวโต.

ใหม่!!: สปีชีส์และหลักระวังไว้ก่อน · ดูเพิ่มเติม »

หอย

หอยเบี้ย (''Monetaria moneta'') ที่มนุษย์ในสมัยก่อนใช้แทนเงินตรา หอย เป็นชื่อสามัญในภาษาไทยของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสกา (Mollusca) อาศัยอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้ำ มีจุดเด่น คือ มีเปลือกที่เป็นแคลเซียมแข็ง ใช้ห่อหุ้มลำตัว โดยปกติแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 หรือ 3 จำพวกใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอย · ดูเพิ่มเติม »

หอยกูอีดั๊ก

ำหรับหอยงวงช้างที่มีรูปร่างเหมือนหมึกผสมกับหอยฝาเดี่ยวดูที่: หอยงวงช้าง หอยกูอีดั๊ก (geoduck; หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กูอี (Gooey) หรือ ดั๊ก (Duck)) เป็นหอยสองฝาที่พบในทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panopea generosa ในวงศ์ Hiatellidae เป็นหอยที่มีลักษณะเด่นคือ มีเปลือกสีขาวยาวประมาณ 15–20 เซนติเมตร แต่มีจุดเด่นคือ มีท่อดูดซึ่งตอนปลายมีรู 2 รู แยกเป็นรูดูดอาหารและรูปล่อยของเสียรวมถึงสเปิร์มในตัวผู้ และไข่ในตัวเมีย ยื่นยาวออกมาจากเปลือกอย่างเห็นได้ชัด แลดูคล้ายงวงของช้าง ซึ่งอาจยาวได้ถึง 1 เมตร หอยกูอีดั๊กจะอาศัยในทะเล โดยการฝังตัวใต้ทรายบริเวณชายฝั่งบริติชโคลัมเบียในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา หากินโดยการกินสาหร่ายทะเลเป็นอาหาร เมื่อถูกจับขึ้นมา จะพ่นน้ำคัดหลั่งออกมาจากปลายท่อดูด ขยายพันธุ์ด้วยการที่ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อออกมาปฏิสนธิพร้อมกับตัวเมียที่ปล่อยไข่ออกมาได้ราวครั้งละ 10 ล้านฟอง ลูกหอยขนาดเล็กจะขุดหลุมฝังตัวใต้ทรายในระดับที่ตื้น ๆ ก่อนที่จะขุดลึกลงไปเรื่อย ๆ ตามวัยที่โตขึ้น ซึ่งอาจลึกได้ถึง 110 เมตร นอกจากนี้แล้ว หอยชนิดนี้ยังมีอายุยืนได้ถึง 146 ปี นับเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีอายุยืนที่สุดของโลก โดยมีฤดูการขยายพันธุ์อยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน–กรกฎาคม ซึ่งเป็นช่วงที่น้ำมีอุณหภูมิค่อนข้างอุ่น เป็นหอยที่นิยมบริโภคกันทั้งในสหรัฐอเมริกาหรือประเทศทางภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยนิยมทำไปเป็นซูชิในอาหารญี่ปุ่น โดยถูกเฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ หรือปรุงเป็นอาหารจีน ซึ่งมีชื่อเรียกในภาษาจีนเรียกว่า 象拔蚌 (พินอิน: Xiàng bá bàng; หอยงวงช้าง) ปัจจุบัน หอยชนิดนี้มีการเพาะเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรม ลูกหอยที่เพาะออกมาได้ จะถูกนำไปฝังไว้ใต้ทรายบริเวณชายหาดในท่อพลาสติก ซึ่งต้องใช้เวลานานกว่า 5 ปี กว่าหอยจะโตเต็มวัยถึงขนาดที่จับขายได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยกูอีดั๊ก · ดูเพิ่มเติม »

หอยมือเสือ

มุกของหอยมือเสือยักษ์ หอยมือเสือ (Giant clam) เป็นสกุลของหอยสองฝาขนาดใหญ่ ในวงศ์หอยมือเสือ (Tridacninae) ใช้ชื่อสกุลว่า Tridacna (/ไทร-แดก-นา/).

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยมือเสือ · ดูเพิ่มเติม »

หอยลาย

หอยลาย (Surf clam, Short necked clam, Carpet clam, Venus shell, Baby clam) เป็นหอยฝาคู่ ที่อยู่ในวงศ์หอยลาย (Veneridae) ลักษณะเปลือกมีรูปร่างเป็นรูปไข่ ฝาทั้งสองฝามีขนาดเท่ากัน ผิวด้านนอกของเปลือกหอยเรียบ มีสีน้ำตาลอ่อน และมีลวดลายหยักเป็นเส้นคล้ายตาข่ายตลอดความยาวของผิวเปลือก เส้นลายหยักเหล่านี้จะมีสีน้ำตาลเข้ม ส่วนผิวเปลือกด้านในเรียบมีสีขาว ในส่วนของบานพับ ซึ่งเป็นส่วนต่อระหว่างฝาทั้งสองมีลักษณะคล้ายฟันซี่เล็ก ๆ ฝาละ 3 ซี่ พบกระจายพันธุ์ในน้ำลึกประมาณ 8.0 เมตร โดยขุดรูอยู่ใต้พื้นทรายลึกประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบเอเชียอาคเนย์ ในประเทศไทยพบมากที่ จังหวัดชลบุรี, บางปะกง, สมุทรปราการ, ตราด, สุราษฎร์ธานี หอยลายผัดน้ำพริกเผา นับเป็นหอยลายชนิด 1 ใน 3 ชนิดในสกุล Paphia ที่พบได้ในน่านน้ำไทย และเป็นชนิดที่นิยมรับมาประทานมากที่สุด สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ เช่น ผัดน้ำพริกเผากับใบกะเพรา และนำไปแปรรูปส่งออกต่างประเท.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยลาย · ดูเพิ่มเติม »

หอยสังข์

หอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลีย (''Syrinx aruanus'') ซึ่งเป็นหอยกาบเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกhttp://www.qm.qld.gov.au/Find+out+about/Animals+of+Queensland/Molluscs/Gastropods/Marine+snails/Syrinx+-+Worlds+largest+snail ''Syrinx'' - the world's largest snail en หอยสังข์ หรือ สังข์ หรือ สังข (Conch; શંખ) เป็นชื่อสามัญของหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดหลายสกุล (โดยมากหมายถึงสกุล Strombus) ในหลายวงศ์ เช่น สังข์รดน้ำ (Turbinella pyrum) เปลือกสีขาว รูปทรงงดงาม ใช้สำหรับหลั่งน้ำพระพุทธมนต์หรือน้ำเทพมนตร์, สังข์แตร (Charonia tritonis) เปลือกมีลาย ใช้เป่าในงานพิธีของชาวเกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีลักษณนามว่า ขอน เช่น สังข์ 2 ขอน เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยสังข์ · ดูเพิ่มเติม »

หอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลีย

หอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลีย (Australian trumpet, False trumpet) เป็นมอลลัสคาในชั้นหอยฝาเดียว (Gastopoda) เป็นหอยสังข์ที่มีขนาดใหญ่มาก โดยอาจยาวได้ถึง 91 เซนติเมตร มีน้ำหนักกว่า 18 กิโลกรัม และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Syrinx นับเป็นหอยฝาเดียวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีปากที่ใหญ่ขนาดที่สามารถนำเด็กทารกไปวางนอนในนั้นได้ เป็นหอยชนิดที่พบเฉพาะพรมแดนทางทะเลระหว่างอินโดนีเซียและออสเตรเลียเท่านั้น มีเปลือกภายนอกสีเหลืองออกทอง ซึ่งหอยสังข์ชนิดนี้ สันนิษฐานว่าเป็นต้นกำเนิดของวรรณคดีไทยเรื่อง สังข์ทอง สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลมาจากนิทานพื้นบ้านของชวา ที่มีเนื้อเรื่องคล้ายคลึงกัน ในยุคต้นรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

หอยสังข์หนามเล็ก

หอยสังข์หนามเล็ก (ชื่อสามัญ:Murex trapa) เป็นสปีชีส์หนึ่งในหอยทากทะเลอยู่ในไฟลัมมอลลัสกาในวงศ์หอยหนามBouchet, P. (2015).

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยสังข์หนามเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

หอยหมาก

หอยหมาก (Spiral babylon snail) เป็นมอลลัสคาในชั้นหอยฝาเดียว ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับหอยหวาน (B. areolata) แต่มีความแตกต่างกันที่ หอยหมากจะมีเปลือกสีเข้มกว่าและมีแต้มสีน้ำตาลจำนวนมาก ส่วนหัวที่เป็นเกลียวจะเป็นร่องลึก มีขนาดเล็กกว่าหอยหวาน พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่แคบกว่าหอยหวาน โดยในน่านน้ำไทยจะพบแพร่กระจายอยู่ทางฝั่งทะเลอันดามัน โดยพบมากที่จังหวัดระนอง ต่างประเทศ พบที่ปากีสถาน, ศรีลังกา จนถึงไต้หวัน จัดเป็นหอยที่ใช้ในการบริโภคเช่นเดียวกับหอยหวาน แต่ได้รับความนิยมน้อยกว่า และมีราคาขายที่ถูกกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยหมาก · ดูเพิ่มเติม »

หอยหลอด

หอยหลอด เป็นชื่อสามัญของหอยทะเลกาบคู่หลายชนิดในวงศ์ Solenidae ชนิดที่พบในไทย เช่น S. corneus, S. exiguus, S. malaccensis, S. regularis, S. strictus, S. thailandicus ในสกุล Solen เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยหลอด · ดูเพิ่มเติม »

หอยหวาน

หอยหวาน หรือ หอยตุ๊กแก หรือ หอยเทพรส (Spotted babylon; ชื่อวิทยาศาสตร์: Babylonia areolata) เป็นหอยทะเลฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง มีเปลือกที่ค่อนข้างหนารูปไข่ ผิวเรียบสีขาวมีลวดลายสีน้ำตาลเข้ม มีหนวด 1 คู่ ตา 1 คู่ มีท่อ มีเท้าขนาดใหญ่ใช้สำหรับเคลื่อนที่ อาศัยอยู่ตามพื้นทะเลที่เป็นทรายหรือทรายปนโคลน ในระดับความลึกตั้งแต่ 2–20 เมตร พบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ในต่างประเทศพบได้ที่ ทะเลฟิลิปปิน, ทะเลจีนใต้ และไต้หวัน กินอาหารโดยใช้อวัยวะที่เป็นท่อสีขาวยื่นออกมา โดยจะยื่นปลายท่อไปยังอาหารและส่งน้ำย่อยออกไปและดูดอาหารกลับทางท่อเข้าร่างกาย หลังกินอาหารแล้ว ก็จะเคลื่อนที่ไปฝังตัวใต้ทราย ซึ่งอาหารได้แก่ ซากพืช ซากสัตว์ชนิดต่าง ๆ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40–100 มิลลิเมตร ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยหอยตัวเมียจะวางไข่เป็นฟัก วางไข่ครั้งละประมาณ 20–70 ฝัก โดยวางไข่ได้ทั้งปี ระยะเดือนมกราคมถึงมีนาคม จะวางไข่ได้มากที่สุด ฝักไข่มีความกว้างเฉลี่ย 10.32 มิลลิเมตร ความยาวเฉลี่ย 29.31 มิลลิเมตร มีก้านยึดติดกับวัตถุในพื้นทะเล เช่น เม็ดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 5–7 วัน ลูกหอยวัยอ่อนจะดำรงชีวิตแบบแพลงก์ตอน คือ ลอยไปมาตามกระแสน้ำ กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ระยะเวลาเติบโตจนเป็นวัยเจริญพันธุ์ประมาณ 1 ปี ปัจจุบัน หอยหวานถือเป็นสัตว์เศรษฐกิจชนิดหนึ่ง นิยมรับประทานกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีการเพาะเลี้ยงกันเป็นอาชีพ แต่ทว่าปริมาณหอยที่ได้นั้นยังไม่เพียงพอต่อการตล.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยหวาน · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้าง

ำหรับหอยงวงช้างที่นิยมนำมารับประทาน ดูที่: หอยกูอีดั๊ก หอยงวงช้าง เป็นมอลลัสคาในชั้นเซฟาโลพอด จัดอยู่ในอันดับย่อย Nautilina จัดเป็นมอลลัสคาที่มีวิวัฒนาการค่อนข้างสูง เป็นสิ่งมีชีวิตดึกดำบรรพ์ที่มีชีวิตอยู่บนโลกนี้แล้วกว่า 350 ล้านปี จัดอยู่ในชั้นเซฟาโลพอด อันเป็นชั้นเดียวกับปลาหมึก ในชั้นย่อยนอติลอยด์ จัดเป็นนอติลอยด์เพียงกลุ่มเดียวเท่าที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตจำพวกหนึ่งก็ว่าได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยงวงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้างกระดาษ

หอยงวงช้างกระดาษ (Paper nautilus, Argonaut) เป็นมอลลัสคาประเภทหมึก จำพวกหมึกสายสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Argonauta แม้จะได้ชื่อว่าเป็นหอยงวงช้าง แต่ก็มิได้ถูกจัดให้อยู่ในจำพวกหอยงวงช้าง แต่ถูกจัดให้เป็นหมึก.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยงวงช้างกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้างมุก

หอยงวงช้างมุก (Chambered nautilus, Pearly nautilus) เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมมอลลัสคา ชั้นเซฟาโลโพดา จัดเป็นหอยงวงช้าง (Nautilidae) ชนิดหนึ่ง มีลักษณะของเปลือกค่อนข้างโตและมีพื้นสีขาว มีลายสีส้มอมแดง จากบริเวณปากไปจนถึงก้นเปลือกหอย โดยเป็นสัตว์ที่มีชีวิตอยู่มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการพบซากฟอสซิลที่ทะเลเกาะลูซอน ในประเทศฟิลิปปินส์ มีขนาดประมาณ 10-25 เซนติเมตร พบได้ทั่วไปในน่านน้ำเขตอินโด-แปซิฟิก จนถึงฟิลิปปิน, ทะเลญี่ปุ่น, ทะเลซูลู จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) ในน่านน้ำไทยจัดว่าหาได้ยาก โดยจะพบได้น้อยที่ฝั่งทะเลอันดามัน เช่น เกาะอาดัง, หมู่เกาะสิมิลัน, เกาะหลีเป๊ะ โดยไม่พบในอ่าวไทย เป็นสัตว์ที่ว่ายและหากินในแถบกลางน้ำและพื้นดิน โดยสามารถดำน้ำได้ถึง 3 กิโลเมตร จับสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เช่น ปลาหรือกุ้ง เป็นอาหาร รวมทั้งซากสัตว์ทั่วไป เป็นสัตว์ที่ใช้เนื้อรับประทานได้เช่นเดียวกับหมึกหรือหอยทั่วไป เปลือกใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องประดับ รวมถึงการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำทั่วไป ซึ่งหอยงวงช้างมุกจะไม่ค่อยเคลื่อนไหวมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากในธรรมชาติอาศัยอยู่ในน้ำลึก แต่จะลอยตัวนิ่ง ๆ อยู่ข้างตู้มากกว่า อุณหภูมิที่ใช้เลี้ยงจะอยู่ที่ประมาณ 18-20 องศาเซลเซียส และเป็นสัตว์ที่ไม่กินอาหารมากนัก จนสามารถให้อาหารเพียงแค่สัปดาห์ละครั้งหรือ 2 ครั้งเท่านั้น โดยสามารถใช้ไม้เสียบล่อให้มากินหรือให้อาหารเองกับมือได้ นอกจากนี้แล้วในสถานที่เลี้ยงพบว่า หอยงวงช้างมุกสามารถวางไข่ได้ด้วย โดยจะวางไข่ติดกับก้อนหิน ไข่ใช้ระยะเวลาฟัก 8 เดือน หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำ ตัวอ่อนมีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 3 เซนติเมตร แต่อย่างไรก็ตาม จวบจนปัจจุบันยังไม่สามารถเลี้ยงลูกหอยงวงช้างมุกจนกระทั่งโตเต็มวัยได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยงวงช้างมุก · ดูเพิ่มเติม »

หอยปีกนางฟ้า

หอยปีกนางฟ้า (Lister's conch, Lister's spider conch) เป็นหอยฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง ในวงศ์หอยชักตีน (Strombidae) มีเปลือกแข็งมีวงก้นประมาณ 9-10 วง ปากยาว มีขอบเปลือกแผ่ยื่นกว้างออกมาจากลำตัวเป็นปีกดูสวยงาม และที่ตัวเปลือกเองจะมีลวดลายสวยงามด้วยเช่นกัน กินซากอินทรียสารที่เน่าเปื่อยเป็นอาหาร มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10-13 เซนติเมตร จะพบได้ในเขตน้ำลึกของมหาสมุทรอินเดียเท่านั้น โดยมักพบบริเวณไหล่ทวีปอยู่ตามพื้นทะเลที่เป็นโคลน พบมากทางทะเลอันดามันและอ่าวเบงกอล เป็นหอยที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง จึงนิยมที่จะใช้ทำเครื่องประดับ และเก็บสะสม.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยปีกนางฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

หอยเบี้ยจักจั่น

หอยเบี้ยจักจั่น หรือ หอยเบี้ยจั่น (Money cowry) เป็นหอยทะเลฝาเดียวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monetaria moneta (ศัพทมูลวิทยา: moneta (/โม-เน-ตา/) เป็นภาษาละตินแปลว่า "เงินตรา") ในวงศ์ Cypraeidae มีเปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังนูน ท้องแบน ช่องปากยาวแคบและไปสุดตอนปลายทั้ง 2 ข้าง เป็นลำราง ริมปากทั้ง 2 เป็นหยักคล้ายฟัน ไม่มีฝาปิด มีความยาวประมาณ 12-24 มิลลิเมตร มีถิ่นแพร่กระจายอยู่ในทะเลเขตอบอุ่นทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย อาทิ ทะเลแดง อินโด-แปซิฟิก นอกชายฝั่งทะเลด้านมหาสมุทรแปซิฟิกของอเมริกากลาง ชายฝั่งทะเลทวีปแอฟริกาตอนตะวันออกและใต้ ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ทะเลญี่ปุ่น ไปจนถึงโอเชียเนีย ดำรงชีวิตอยู่ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนและสาหร่ายทะเลที่ลอยมาตามกระแสน้ำ เปลือกหอยของหอยเบี้ยชนิดนี้ มีความสำคัญต่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคโบราณ โดยใช้เป็นเครื่องแลกเปลี่ยนสิ่งของแทนเงินตราในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าคำว่า "เบี้ย" ในภาษาไทยก็เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "รูปี" ซึ่งเป็นหน่วยเงินตราของอินเดียมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลคอลัมน์ Aqua Pets โดย จอม สมหวัง ปัทมคันธิน "สุดยอดแฟนพันธุ์แท้เปลือกหอย 2 สมัย" หน้า 107 นิตยสาร Aquarium Biz Vo.1 issue 6 ฉบับเดือนธันวาคม 2010 นอกจากนี้แล้ว เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังใช้เป็นเครื่องรางของขลังในวัฒนธรรมไทย โดยมักนำไปบรรจุปรอทแล้วเปิดทับด้วยชันโรงใต้ดิน อาจจะมีแผ่นทองแดงลงอักขระยันต์หรือไม่ก็ได้ เชื่อกันว่า ถ้าพกเปลือกหอยเบี้ยชนิดนี้ไว้กับตัวเวลาเดินทางสัญจรในป่า จะช่วยป้องกันไข้ป่า รวมถึงป้องกันและแก้ไขภยันอันตรายจากร้ายให้กลายเป็นดีได้ หรือนำไปตกแต่งพลอยเรียกว่า "ภควจั่น" ในเด็ก ๆ เชื่อว่าช่วยป้องกันฟันผุ หรือพกใส่กระเป๋าสตางค์ เชื่อว่าทำให้เงินทองไหลเทมาและโชคดี ปัจจุบัน เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังนิยมสะสมกันเป็นของประดับและของสะสมกันอีกด้วย โดยมีชนิดที่แปลกแตกต่างไปจากปกติ คือ "ไนเจอร์" (Niger) ที่หอยจะสร้างเมลานินสีดำเคลือบเปลือกไว้จนกลายเป็นสีดำหรือสีน้ำตาลคล้ำทั้งหมด และชนิดที่มีราคาสูงที่สุด เรียกว่า "โรสเตรท" (Rostrat) หรือ หอยเบี้ยจักจั่นงวง คือ เป็นหอยเบี้ยจักจั่นในตัวที่ส่วนท้ายของเปลือกมิได้กลมมนเหมือนเช่นปกติ แต่สร้างแคลเซี่ยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในเวลาหลายปี จนกระทั่งยาวยืดออกมาและม้วนขึ้นเป็นวงอย่างสวยงามเหมือนงวงช้าง ซึ่งหอยในรูปแบบนี้จะพบได้เฉพาะแถบอ่าวด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะนิวแคลิโดเนียที่เดียวในโลกเท่านั้น มีการประเมินราคาของเปลือกหอยลักษณะนี้ไว้ถึง 25 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นราคาของเปลือกหอยที่มีค่าสูงที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยเบี้ยจักจั่น · ดูเพิ่มเติม »

หอยเต้าปูน

หอยเต้าปูน (Cone snail, Cone shell) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมมอลลัสคา ชั้นแกสโทรโพดา เป็นสัตว์นักล่า พบได้ตามแถบแนวปะการัง เปลือกมีสีสันสดใส และมีลวดลายสวยงาม ดึงดูดสายตา แต่มีบางสายพันธุ์ที่สีของหอยเต้าปูนจะซ่อนอยู่ภายใต้เนื้อเยื่อพิเศษ ที่ยังไม่ทราบการทำงานที่แน่ชัด (Periostracum) บางชนิดในแถบทะเลเขตร้อน จะมีขนาดที่ค่อนข้างใหญ่ มีมากกว่า 500 สปีชี่ส์ จัดเป็นสัตว์กินเนื้อ มักจะล่าหนอนทะเล ปลาเล็ก ๆ หอย หรือแม้กระทั่งหอยเต้าปูนด้วยกันเองเป็นอาหาร เนื่องจากเคลื่อนที่ได้ช้า จึงมีการพัฒนาอาวุธเฉพาะตัวขึ้นมาคือ เข็มพิษ (venomous harpoon) เพื่อใช้สำหรับล่าเหยื่อและทำให้เหยื่อหมดสติก่อนกลายเป็นอาหาร ที่มีความรวดเร็วสูง ซึ่งในสายพันธุ์ขนาดใหญ่ พิษของหอยเต้าปูนมีความรุนแรงมากพอที่จะฆ่าคนได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยเต้าปูน · ดูเพิ่มเติม »

หอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดีย

หอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดีย (Glory of India) เป็นหอยฝาเดี่ยวในวงศ์หอยเต้าปูน (Conidae) ชนิดหนึ่ง เป็นหอยเต้าปูนชนิดหนึ่ง ที่มีเปลือกสวยงาม มีสีน้ำตาลเข้มเหมือนช็อคโกแล็ต แต้มด้วยลายดอกสีขาวรูปสามเหลี่ยมตลอดทั้งเปลือก มีความยาวตั้งแต่ 46 มิลลิเมตร จนถึง 185 มิลลิเมตร พบแพร่กระจายพันธุ์เฉพาะทะเลอาหรับตั้งแต่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย จนถึงทะเลแดง และแอฟริกาใต้ เป็นหอยที่มีเข็มพิษที่ใช้ล่าเหยื่อและป้องกันตัว ด้วยพิษที่ร้ายแรง ที่สามารถทำให้มนุษย์ถึงแก่ชีวิตได้ เหมือนหอยเต้าปูนชนิดอื่น ๆ ขณะที่เปลือกมีความสวยงาม จึงนิยมที่จะเก็บสะสม.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

หอยเต้าปูนลายแผนที่

หอยเต้าปูนลายแผนที่ หรือ หอยบุหรี่ (Geography cone, Cigarette snail) เป็นหอยเปลือกเดี่ยวชนิดหนึ่ง ในวงศ์หอยเต้าปูน (Conidae) หอยเต้าปูนลายแผนที่ มีเปลือกรูปร่างคล้ายกรวย ปลายวนคล้ายเจดีย์ค่อนข้างแหลม มีสีสันสวยงาม มีขนาดยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร ในเวลากลางวันจะซ่อนตัวอยู่ใต้ทรายในแนวโขดหินหรือแนวปะการัง โดยยื่นงวงออกมาดักจับอาหาร และยื่นซิฟอนเพื่อให้น้ำผ่านเข้าออก หากินในเวลากลางคืน โดยกินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กด้วยกันเป็นอาหาร เช่น ดาวทะเล, ไส้เดือนทะเล หรือแม้แต่หอยเต้าปูนด้วยกันเอง ด้วยการใช้พิษล่าเหยื่อ โดยมีถุงน้ำพิษ ซึ่งมีท่อน้ำพิษเปิดออกอยู่ส่วนใกล้บริเวณปาก หอยเต้าปูนลายแผนที่ถือเป็นหอยเต้าปูนที่มีพิษร้ายแรงที่สุด โดยการปล่อยเข็มพิษจะเป็นไปอย่างเชื่องช้า เนื่องจากต้องใช้งวงยึดผิวหนังของเหยื่อก่อน เสร็จแล้วกล้ามเนื้อบริเวณคอหอย และส่วนปากบริเวณงวงพร้อมปล่อยเข็มพิษดันออกมาสู่เหยื่อ ซึ่งเข็มพิษนั้นจะมีน้ำพิษติดมาด้วย ทำให้ได้รับความเจ็บปวด โดยสามารถถึงกับฆ่าสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่กว่าอย่างมนุษย์ได้ด้วย โดยเข็มพิษนั้นสามารถทะลุชุดหรือถุงมือประดาน้ำได้ ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ชา บวม และกล้ามเนื้อเป็นอัมพาต สายตาพร่ามัว ระบบหายใจล้มเหลว ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มียาขนานใดที่จะเยียวยาหรือรักษาพิษนี้ได้ หอยเต้าปูนลายแผนที่กระจายพันธุ์ในวงที่กว้าง ตั้งแต่ ทะเลแดง, อินโด-แปซิฟิก, ฮาวาย, มาดากัสการ์, มอริเตเนีย, โมซัมบิก.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยเต้าปูนลายแผนที่ · ดูเพิ่มเติม »

หอยเต้าปูนหาดราไวย์

หอยเต้าปูนหาดราไวย์ (Rawai cone snail) เป็นหอยฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์หอยเต้าปูน (Conidae) เป็นหอยเต้าปูนขนาดเล็ก มีความยาวโดยเฉลี่ย 20-46 มิลลิเมตร ถูกตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ตามชื่อของหาดราไวย์ ในจังหวัดภูเก็ต สถานที่ ๆ พบครั้งแรก มีเข็มพิษที่สามารถฆ่ามนุษย์ให้ถึงแก่ความตายได้เหมือนหอยเต้าปูนชนิดอื่น ๆ สีของเปลือกโดยปกติจะเป็นสีเดียวทั้งเปลือก คือ สีแดงปนส้มสด มีตุ่มเป็นแนวเพียงเล็กน้อย แต่ในบางตัวที่จัดว่าสวยจะนิยมเก็บเป็นของสะสม คือ เปลือกมีสีส้มสลับกับแดงสด มีแถบสีเข้ม-อ่อนสลับกันไล่เรียงเป็นทางยาวตลอดทั้งเปลือก ขณะที่ทางก้นหอยเป็นแต้ม และแถบสลับสีแดงและส้ม ตุ่มขึ้นชัดเจนเหมือนไข่มุกถึง 3-4 ชั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และหอยเต้าปูนหาดราไวย์ · ดูเพิ่มเติม »

หิ่งห้อย

หิ่งห้อย หรือ ทิ้งถ่วง เป็นแมลงปีกแข็งหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Lampyridae ในอันดับ Coleoptera ทั่วทั้งโลกมีหิ่งห้อยประมาณ 2,000 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และหิ่งห้อย · ดูเพิ่มเติม »

หูชั้นใน

หูชั้นใน หูชั้นใน (inner ear, internal ear, auris interna) เป็นหูชั้นในสุดของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีหน้าที่ตรวจจับเสียงและการทรงตัว ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มันจะประกอบด้วยกระดูกห้องหูชั้นใน (bony labyrinth) ซึ่งเป็นช่อง ๆ หนึ่งในกระดูกขมับของกะโหลกศีรษะ เป็นระบบท่อที่มีส่วนสำคัญสองส่วน คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และหูชั้นใน · ดูเพิ่มเติม »

หูชั้นในรูปหอยโข่ง

หูชั้นในรูปหอยโข่ง หรือ อวัยวะรูปหอยโข่ง หรือ คอเคลีย (cochlea,, จาก κοχλίας, kōhlias, แปลว่า หมุนเป็นวงก้นหอย หรือเปลือกหอยทาก) เป็นอวัยวะรับเสียงในหูชั้นใน เป็นช่องกลวงมีรูปร่างเป็นก้นหอยโข่งอยู่ในกระดูกห้องหูชั้นใน (bony labyrinth) โดยในมนุษย์จะหมุน 2.5 ครั้งรอบ ๆ แกนที่เรียกว่า modiolus และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 มม.

ใหม่!!: สปีชีส์และหูชั้นในรูปหอยโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

หูฉลาม

หูฉลามปรุงเสร็จ หูฉลาม หรือ ซุปหูฉลาม หรือ ฮื่อฉี่ ในสำเนียงแต้จิ๋ว (จีนตัวเต็ม: 魚翅, จีนตัวย่อ: 鱼翅) เป็นอาหารจีนที่มีชื่อเสียงและรู้จักกันดีอย่างหนึ่ง ประวัติของหูฉลามนั้นย้อนไปได้ถึงสมัยราชวงศ์หมิง หูฉลาม นั้นปรุงมาจากครีบส่วนต่าง ๆ ของปลาฉลาม โดยใช้วิธีการปรุงคล้ายกับกระเพาะปลา คือ มีความหนีดคาว และมีส่วนผสมอย่างอื่น เช่น เนื้อไก่, เนื้อหมู, ขาหมู, กระดูกไก่, กระดูกหมู และเครื่องยาจีนต่าง ๆ ซึ่งครีบของปลาฉลามนั้น มีลักษณะเป็นกระดูกอ่อนที่แบ่งออกได้เป็นสองส่วน คือฐานครีบและก้านครีบ ซึ่งเป็นกระดูกที่มีลักษณะเป็นเส้น ๆ เพื่อช่วยให้ปลาฉลามสามารถแผ่ครีบออกได้ ซึ่งส่วนที่นำมาทำเป็นหูฉลามนั้น ก็คือ ก้านครีบ ซึ่งต้องผ่านกระบวนการหลายอย่าง ตั้งแต่การแตกแห้ง ต้มจนเปื่อย และขูดหนังทิ้งจนเหลือแต่กระดูกอ่อน โดยมีความเชื่อกันว่าหูฉลามที่นำมาต้มจนเปื่อยและตุ๋นจนได้ที่จะกลายเป็นอาหารวิเศษในการบำรุงร่างกาย แต่คุณค่าในทางอาหารแล้ว หูฉลามหนึ่งชามมีค่าเท่ากับไข่เป็ดฟองเดียวเท่านั้น หูฉลาม จัดว่าเป็นอาหารที่มีราคาแพง เป็นอาหารหลักในช่วงงานเทศกาลต่าง ๆ เช่น เทศกาลตรุษจีน, งานแต่งงานในจีน, ฮ่องกง, ไต้หวัน และอีกหลายประเทศที่มีชาวจีนอาศัยอยู่ อาทิเช่น สิงคโปร์ ไทย โดยภัตตาคารแห่งหนึ่งในสิงคโปร์ ขายหูฉลามในราคาจานละ 16 ดอลลาร์ จากการขายหูฉลามนั้น ทำให้ทั่วโลกมีการล่าปลาฉลามเพื่อตัดเอาครีบมาทำเป็นหูฉลามมากขึ้น รายงานของกองทุนสัตว์ป่าโลก (WWF) ระบุว่า มีปลาฉลามจำนวนกว่า 73 ล้านตัวถูกฆ่าในทุก ๆ ปี และในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และหูฉลาม · ดูเพิ่มเติม »

หงส์

หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

หงส์ขาวคอดำ

หงส์ขาวคอดำ หรือ หงส์คอดำ (Black-necked swan) เป็นสัตว์ปีกจำพวกหงส์ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) หงส์ขาวคอดำ มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับหงส์ชนิดอื่นทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ มีขนตามลำตัวสีขาวล้วนทั้งตัว เว้นแต่ส่วนลำคอขึ้นไปที่เป็นสีดำล้วน จนดูคล้ายกับเป็นลูกผสมระหว่างหงส์ขาวกับหงส์ดำ มีจะงอยปากสีเทาอมชมพูและมีปุ่มสีแดงสดที่ฐานของปาก ขณะที่ส่วนใบหน้ามีลายเส้นเล็ก ๆ สีขาวพาดผ่านตา มีถิ่นกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ โดยตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 6-7 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียจะมีน้ำหนักประมาณ 4-5 กิโลกรัม อายุขัยโดยเฉลี่ย 10 ปี และจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 1.5-2 ปี วางไข่ครั้งละประมาณ 5-6 ฟอง ทำรังโดยการเอากิ่งไม้หรือเศษใบไม้หรือฟางมาปูพื้น โดยลักษณะการทำรังจะเป็นไปอย่างมีระเบียบและอ่อนช้อยกว่านกชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกันมาก ระยะเวลาฟักไข่ประมาณ 30-33 วัน โดยจะผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงที่มีอุณหภูมิค่อนข้างเย็น เช่น ฤดูหนาวหรือฤดูฝน ทั้งตัวผู้และตัวอ่อนจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ซึ่งในช่วงนี้ จะมีนิสัยดุร้ายมาก เพราะต้องปกป้องลูกอ่อน ลูกที่เกิดมาใหม่ ขนจะยังไม่เป็นสีช่วงลำคอเหมือนตัวโต และจะยังบินไม่ได้ หากินตามแหล่งน้ำทั่วไป โดยกินได้ทั้งพืชน้ำและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เหมือนหงส์ชนิดอื่น ๆ และจับคู่เพียงตัวเดียวตลอดทั้งชีวิต หงส์ขาวคอดำ ในปัจจุบัน ได้รับความนิยมในการเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม โดยเฉพาะผู้มีฐานะ เนื่องจากมีราคาซื้อขายที่แพงมาก อีกทั้งต้องใช้สถานที่ค่อนข้างกว้างขวางในการเลี้ยง ซึ่งสายพันธุ์ของหงส์ขาวคอดำที่เป็นสัตว์เลี้ยงในปัจจุบันนั้น มาจากนักเพาะพันธุ์สัตว์ของประเทศเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: สปีชีส์และหงส์ขาวคอดำ · ดูเพิ่มเติม »

หงส์ดำ

หงส์ดำ (Black swan) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จัดเป็นหงส์ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับหงส์ชนิดอื่น ๆ แต่มีลักษณะเด่น คือ ตัวผู้มีสีขนทั่วตัวสีดำอมเทา ยกเว้นขนปีกสำหรับบินเส้นยาวเท่านั้นที่เป็นสีขาวซึ่งตัดกับลำตัวเห็นเด่นชัดสะดุดตา นัยน์ตาสีแดงเข้ม จะงอยปากสีแดงแต่มีแถบขาว ปลายปาก ขาและเท้าสีดำ ขณะที่ตัวเมียเหมือนตัวผู้ทุกประการ แต่มีขนาดเล็กกว่าและลำคอสั้นกว่า มีขนาดโตเต็มที่ มีความยาวประมาณ 110–142 เซนติเมตร น้ำหนัก 3.7–9 กิโลกรัม ความกว้างของปีกจากข้างหนึ่งไปถึงอีกข้างหนึ่ง 1.6–2 เมตร กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศออสเตรเลีย เช่น รัฐนิวเซาท์เวลส์, รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย รวมถึงเกาะแทสมาเนีย มีพฤติกรรมชอบรวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ หากินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ รวมถึงพืช เมล็ดพืช เป็นอาหาร โดยสามารถพบได้ถึงแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำเค็มได้ด้วย เสียงร้องเหมือนเสียงทรัมเป็ต มักร้องในเวลาเย็นหรือกลางแสงจันทร์ในคืนเดือนหงายขณะกำลังบิน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2 ปี ทำรังโดยการใช้ เศษกิ่งไม้หรือใบไม้แห้งมาปู วางไข่ครั้งละ 5-6 ฟอง ไข่มีสีขาวแกมเขียว ระยะเวลาฟักไข่นาน 34-37 ฟอง หงส์ดำ เป็นนกที่ไม่พบในประเทศไทย แต่มีรายงานว่าในต้นเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 พบตัวผู้ตัวหนึ่งลอยคออยู่ในสระน้ำพรุนาแด้ อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง สันนิษฐานว่าอาจหลุดมาจากที่เลี้ยงหรือในสวนสัตว์ที่ใดที่หนึ่ง ปัจจุบัน หงส์ดำมีการเพาะขยายพันธุ์ด้วยฝีมือมนุษย์ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกัน โดยมีราคาซื้อขายที่แพงมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และหงส์ดำ · ดูเพิ่มเติม »

หนอนกำมะหยี่

หนอนกำมะหยี่ (Velvet worm) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกหนึ่งในไฟลัม Onychophora (หรือ Protracheata) หนอนกำมะหยี่ เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีรูปร่างคล้ายหนอนหรือหนอนผีเสื้อ แต่มิใช่แมลงเช่นหนอนทั่วไป หากแต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างจากยุคดึกดำบรรพ์เพียงไม่มาก โดยกำเนิดมาในยุคแคมเบรียน ในช่วงยุคแรกของยุคพาลีโซอิก เมื่อกว่า 530 ล้านปีที่แล้ว จึงจัดเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตจำพวกหนึ่ง มีความยาวประมาณ 1.4-15 เซนติเมตร ลำตัวปกคลุมด้วยคิวติเคิลที่อ่อนนุ่ม มีขาประมาณ 14-43 คู่ ส่วนปลายจะเป็นแผ่นและมีกรงเล็บ 2 อัน ส่วนหัวเป็นที่ตั้งของหนวด 1 คู่ มีตาอยู่ที่ด้านฐาน มีระบบท่อลมคล้ายกับที่พบในแมลงช่วยในการหายใจเชื่อมต่อกับรูเปิดทั่วร่างกาย มีระบบหมุนเวียนโลหิตแบบเปิด หัวใจเป็นท่อ สมองมีขนาดใหญ่ มีการแบ่งเพศชัดเจน บางชนิดพบว่ามีรกเป็นทางเชื่อมระหว่างแม่และลูก บางชนิดตัวอ่อนเจริญอยู่ในเปลือกหุ้ม หนอนกำมะหยี่ อาศัยอยู่ในพื้นดินที่มืดและชื้นแฉะ เช่น ในป่าฝนเมืองร้อนของอเมริกากลางจนถึงอเมริกาใต้ เป็นต้น ปัจจุบันพบแล้วประมาณ 180 ชนิด หนอนกำมะหยี่ โดยปกติจะเป็นอาหารของสัตว์ใหญ่กว่าชนิดต่าง ๆ เช่น ตะขาบ, นก หรือสัตว์ฟันแท.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนอนกำมะหยี่ · ดูเพิ่มเติม »

หนอนนก

หนอนนก (Mealworm) เป็นชื่อสามัญที่เรียกสำหรับหนอนของแมลงปีกแข็งชนิด Tenebrio molitor ปัจจุบันนิยมเพาะเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยมีความสำคัญใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะ สัตว์เลี้ยงสวยงาม เช่น ปลาสวยงาม, นกสวยงาม, สัตว์เลื้อยคลาน รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กบางชนิด เช่น แฮมสเตอร์ หรือ กระรอก รูปร่างของหนอนนก เป็นหนอนที่มีเปลือก มีลำตัวยาวเรียวทรงกระบอกสีน้ำตาลอมเขียว เมื่อโตเต็มที่มีความกว้างลำตัว 0.28-3.2 มิลลิเมตร ยาว 29-35 มิลลิเมตร น้ำหนัก 0.2-0.24 กรัม มีอายุประมาณ 55-75 วัน ก่อนจะเข้าสู่ภาวะดักแด้ ซึ่งจะมีอายุในวงจรนี้ราว 5-7 วัน จากนั้นจะลอกคราบเป็นตัวโตเต็มวัย ซึ่งจะเป็นแมลงปีกแข็งลำตัวสีน้ำตาลอมดำ ซึ่งจัดเป็นแมลงศัตรูพืช มีถิ่นกำเนิดในทวีปยุโรปในที่ ๆ ที่มีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น ซึ่งตัวเต็มวัยจะมีอายุเฉลี่ยประมาณ 3-6 เดือน ตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 1-2 ฟอง/วัน หรือ 80-85 ฟอง/ตลอดวงจรชีวิต คุณค่าของหนอนนก คือ เป็นอาหารที่มีทั้งโปรตีนและไขมันค่อนข้างสูง โดยเฉพาะไขมัน ในปลาสวยงามบางชนิด เช่น ปลาอะโรวาน่า หากให้หนอนนกในปริมาณที่มาก ปลาจะติดใจในบางตัวอาจจะไม่ยอมกินอาหารชนิดอื่นเลยก็เป็นได้ และจะสะสมไขมันในตัวซึ่งจะนำมาซึ่งอาการตาตก นอกจากนี้แล้ว ในบางพื้นที่ ยังมีผู้รับประทานหนอนนกเป็นอาหารอีกด้วย ด้วยการทอดเช่นเดียวกับแมลงชนิดอื่น ๆ ที่รับประทานได้ ปัจจุบัน ได้มีผู้เพาะเลี้ยงหนอนนกเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยโรงเรือนที่เพาะต้องเป็นสถานที่ ๆ โปร่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก ที่สำคัญคือ ต้องไม่ชื้น หากชื้นหนอนนกจะตายด้วยเชื้อราและไม่มีศัตรูตามธรรมชาติมารบกวน เช่น จิ้งจก, ตุ๊กแก หรือ มด ผู้ที่เลี้ยงสัตว์ เมื่อซื้อหนอนนกไปแล้ว จะนิยมเก็บด้วยการเทใส่ถาดหรือถังพลาสติกที่มีความสูงพอสมควรที่หนอนนกไม่สามารถปีนออกมาได้ ปิดฝาด้วยภาชนะแบบตะแกรง อาหารที่ให้สามารถให้ได้หลากหลาย ทั้ง ผักชนิดต่าง ๆ อาหารปลาเม็ด หรือ รำข้าว และต้องมีตะแกรงรองพื้น เพื่อช่วยในการร่อนมูลและเปลือกของหนอนนกที่ถ่ายออกมาด้วย นิยมขายปลีกกันที่ขีดละ 40-80 บาท กิโลกรัมละ 300-500 บาท.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนอนนก · ดูเพิ่มเติม »

หนู

หนู เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะ ที่อยู่ในวงศ์ Muridae ใช้ชื่อสกุลว่า Rattus มีการกระจายพันธุ์อยู่ในซีกโลกที่เรียกว่า "โลกเก่า" อันได้แก่ ทวีปเอเชีย, ยุโรป และแอฟริกา ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2–3 เดือน ในขณะที่ตัวผู้อายุ 3 เดือนขึ้นไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนู · ดูเพิ่มเติม »

หนูบ้าน

หนูบ้าน, หนูนอร์เวย์, หนูสีน้ำตาล หรือ หนูท่อ เป็นหนูชนิดที่พบเห็นได้บ่อยที่สุด เพราะเป็นหนูชนิดที่กระจายพันธุ์ไปอยู่ทั่วโลก พบได้ทุกสภาพแวดล้อม รวมถึงบ้านเรือนที่อาศัยของมนุษย์ สันนิษฐานว่าหนูบ้านกระจายพันธุ์มาจากประเทศนอร์เวย์ในภูมิภาคสแกนดิเนเวียที่เป็นแหล่งกำเนิดดั้งเดิม ไปทั่วทุกมุมโลกจากการติดไปกับเรือขนส่งสินค้าในยุควิคตอเรีย ซึ่งมันสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทุกรูปแบบได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีอัตราการสืบพันธุ์ที่สูงและทักษะในการเอาตัวรอดที่เยี่ยมอีกด้วย หนูบ้านจัดได้ว่าเป็นหนูชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Rattus มีน้ำหนักโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 300-350 กรัม (ในบางตัวอาจหนักได้ถึง 400 กรัม) ขนาดลำตัวและหัวยาวประมาณ 180-250 มิลลิเมตร หางยาวประมาณ 150-220 มิลลิเมตร เท้าหลังยาวประมาณ 35-40 มิลลิเมตร หูยาวประมาณ 17-23 มิลลิเมตร ลักษณะขนหยาบมีสีน้ำตาลปนเทา ท้องสีเทา ส่วนจมูกทู่ ใบหูเล็ก ตาเล็ก หางสั้นมี 2 สี ด้านบนสีดำ ด้านล่างสีจาง มีเกล็ดหยาบ ๆ ที่หาง และด้านบนของเท้าหลังมีสีขาว มีเต้านมรวม 6 คู่ อยู่ที่อก 3 คู่ ท้อง 3 คู่ ถ้าอยู่ในชุมชนของมนุษย์ มักอยู่ตามรูท่อระบายน้ำ ใต้ถุนตึกหรือบ้านเรือน บริเวณลำคลอง กองขยะหรือตลาดสด สามารถผสมพันธุ์และออกลูกได้ตลอดทั้งปี โดยออกลูกปีละ 4-7 ครอก ลูกหนึ่งครอกมีจำนวน 8–12 ตัว เริ่มเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3-5 เดือน เมื่อผสมแล้วจะตั้งท้องเพียง 21-22 วัน เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้แทบทุกอย่างและกินไม่เลือก รวมถึงมีพฤติกรรมกินซากพวกเดียวกันเองด้วย แม้จะไม่พบบ่อยมากนัก มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 2 ปี ให้ลูกได้ตลอดทั้งชีวิต 6-10 ครอก จัดเป็นสัตว์ที่สร้างความรำคาญและเป็นพาหะนำโรคระบาดร้ายแรงที่ทำให้ถึงชีวิตมาสู่มนุษย์ได้อย่างมากที่สุดชนิดหนึ่ง เช่น กาฬโรค ที่เคยระบาดอย่างรุนแรงมาแล้วในทวีปยุโรปในยุคกลาง ที่เรียกว่า ความตายสีดำ (Black Death) และโรคอื่น ๆ อีก เช่น โรคฉี่หนู หรือ เลปโตสไปโรซ.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนูฟาน

หนูฟาน (Rajah rat, Spiny rat, สกุล: Maxomys) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Maxomys จัดอยู่ในวงศ์ Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae หนูฟาน มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับหนูในสกุล Rattus คือ หนูที่พบได้ตามบ้านเรือนทั่วไป มีขนาดปานกลางถึงขนาดเล็ก พบได้ทั่วไปในหลากหลายภูมิประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในบ้านเรือน, ชุมชนใกล้ชายป่า, ป่าทึบ, ป่าละเมาะ หรือพื้นที่เกษตรกรรม เช่น นาข้าว หรือยุ้งฉาง ในอดีต หนูฟานเคยถูกจัดให้เป็นสกุลย่อยของสกุล Rattus แต่ปัจจุบันได้ถูกจัดให้เป็นสกุลของตนเองร่วมกับสกุล Niviventer และสกุล Leopoldamys โดยนักอนุกรมวิธานในปี ค.ศ. 1979 หนูฟาน ในปัจจุบันได้มีการอนุกรมวิธานไว้ 17 ชนิด (ดูในตาราง) โดยมี 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย คือ หนูฟานเหลือง (M. surifer) และหนูฟานสีน้ำตาล (M. rajah).

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูฟาน · ดูเพิ่มเติม »

หนูฟานเหลือง

หนูฟานเหลือง (Red spiny rat, Yellow rajah rat) เป็นหนูชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae หนูฟานเหลือง เป็นหนูขนาดกลาง มีจมูกยาว ขนมีความอ่อนนุ่ม ด้านหลังมีขนแข็งแซมสีดำ ทำให้ขนบริเวณหลังมีสีน้ำตาลเหลืองปนดำ ด้านท้องสีขาว หางมีสีค่อนข้างดำ ปลายหางสีขาว ตัวเมียมีเต้านม 4 คู่ มีขนาดความยาวตั้งแต่หัวจรดโคนหาง 18.8 เซนติเมตร และความยาวหาง 18.5 เซนติเมตร มีน้ำหนักราว 155 กรัม หนูฟานเหลือง จัดได้ว่าเป็นหนูที่มีความเชื่องช้า หากินตามพื้นดินในเวลากลางคืน โดยไม่ขึ้นต้นไม้ กินอาหารแทบทุกอย่างที่พบได้ตามพื้นดิน ผสมพันธุ์และออกลูกในช่วงฤดูฝนครั้งละ 4-6 ตัว ตั้งท้องนาน 28 วัน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ในป่าดิบ, ป่าละเมาะ และแม้แต่สวนผลไม้ แต่จะหาได้ยากตามบ้านเรือน ในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภูม.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูฟานเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

หนูพุก

หนูพุก หรือ หนูแผง (Bandicoot rats) เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะในวงศ์ Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bandicota (มาจากภาษาเตลูกู คำว่า pandikokku หมายถึง "หนูหมู") หนูพุก มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายกับหนูทั่วไปในวงศ์ Murinae แต่ทว่ามีรูปร่างที่ใหญ่กว่าหนูในสกุล Rattus มาก และมีจุดเด่นที่มีขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำที่รุงรังไม่เป็นระเบียบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบริเวณหลังที่เป็นแผงแข็ง หลังตีนเป็นสีดำ หางยาวมีเกล็ดสีเดียว เป็นหนูที่มีอุปนิสัยดุร้าย เมื่อถูกคุกคามจะขู่และพร้อมที่จะกัด หนุพุก แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด พบได้ในประเทศไทย 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูพุก · ดูเพิ่มเติม »

หนูหริ่ง

ระวังสับสนกับสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่กว่า: หมูหริ่ง บุคคลดูที่: สมบัติ บุญงามอนงค์ หนูหริ่ง เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ในวงศ์ Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mus หนูหริ่งเป็นหนูที่มีขนาดเล็ก มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับหนูในสกุล Rattus แต่ก็ยังมีขนาดเล็กกว่า แม้แต่หนูจี๊ด (R. exulans) ซึ่งเป็นหนูที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุล หนูหริ่งก็ยังเล็กกว่า ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 1–1.5 เดือน ขณะที่ตัวผู้ 1–2 เดือน หนูหริ่งเป็นหนูอีกจำพวกหนึ่งที่สามารถพบได้ทั่วไปทั้งในบ้านเรือนและในพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ถือเป็นหนูนา ที่เป็นศัตรูพืชที่สำคัญอีกจำพวกหนึ่งรวมกับหนูในสกุลอื่น หนูหริ่งชนิดที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ หนูหริ่งบ้าน (M. musculus) ซึ่งเป็นหนูอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ทั่วไปในบ้านเรือน ซึ่งเป็นชนิดที่นิยมนำมาเป็นสัตว์ทดลองในทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ และได้มีการพัฒนาสายพันธุ์จนกลายมาเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลิน ในแบบที่เป็นหนูเผือกทั้งตัว หรือมีสีสันที่หลากหลายในตัวเดียว เรียกว่า "หนูถีบจักร" หรือ "หนูขาว" โดยเริ่มครั้งแรกมาจากพระราชวังในจีนและญี่ปุ่น นอกจากนี้แล้ว หนูมาซิโดเนีย (M. macedonicus) ที่แพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเมเตอร์เรเนียนและประเทศในแถบตะวันออกกลางที่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยังเป็นสัตว์รังควานที่รบกวนมนุษย์มานานแล้วถึง 15,000 ปี ซึ่งเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นยุคก่อนที่มนุษย์จะรู้จักการเพาะปลูกเสียอีก โดยเข้ามาหาอาหารถึงในชุมชนมนุษย์ โดยมีหลักฐานเป็นฟอสซิลฟันของหนูชนิดนี้นับพันตัว ปัจจุบันได้มีการอนุกรมวิธานหนูหริ่งไว้ประมาณ 38 ชนิด ในประเทศไทยพบทั้งหมด 6 ชนิด นอกจากหนูหริ่งบ้านแล้ว ยังมี หนูหริ่งใหญ่ (M. cookii), หนูหริ่งนาหางสั้น (M. cervicolor), หนูหริ่งนาหางยาว (M. caroli), หนูหริ่งป่าใหญ่ขนเสี้ยน (M. shotridgei) และหนูหริ่งป่าเล็กขนเสี้ยน (M. pahari).

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หนูหริ่งบ้าน

หนูหริ่งบ้าน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ในวงศ์หนู (Muridae) หนูหริ่งบ้านจัดเป็นหนูที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักตัวเมื่อโตเต็มที่ทั้งตัวผู้และตัวเมียประมาณ 30-40 กรัม มีขนสีน้ำตาลอ่อนตลอดทั้งลำตัว ส่วนท้องสีขาว ไม่มีขนที่หาง ขาหน้ามี 4 นิ้ว ขาหลังมี 5 นิ้ว ตัวเมียมีเต้านม 10 เต้า มีอายุขัยประมาณ 1.5-3 ปี หนูหริ่งบ้านเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไว ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้แทบทุกอย่างเช่นเดียวกับหนูทั่วไป และจัดเป็นหนูอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ตามบ้านเรือนของมนุษย์ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบแทบทุกมุมของโลกและทุกทวีป แต่เชื่อว่า ดั้งเดิมเป็นสัตว์ที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย ก่อนจะกระจายไปทั่วโลกอย่างในปัจจุบัน หนูหริ่งบ้านเป็นหนูชนิดที่ได้รับความนิยมในการนำมาเป็นสัตว์เลี้ยง โดยมีการปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์โดยชาวจีนและชาวญี่ปุ่นจนกลายเป็นหนูเผือกทั้งตัว ตาสีแดง และพัฒนาจนเป็นสีต่าง ๆ ตามลำตัว โดยแรกเรี่มเลี้ยงกันในพระราชวัง และเป็นหนูชนิดที่นิยมเป็นสัตว์ทดลองและเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงแก่สัตว์เลื้อยคลาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูหริ่งบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนูหิน

หนูหิน (Laotian rock rat; ลาว: ຂະຍຸ; ข่าหนู, ขะหยุ) เป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งได้รับการอนุกรมวิธานและค้นพบเจอเมื่อปี ค.ศ. 2005 หนูหิน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Laonastes aenigmamus (เป็นภาษาละติน คำแรกมีความหมายว่า "ผู้อาศัยอยู่ในหิน" และคำหลังหมายถึง "หนูประหลาด") มีความยาวตลอดทั้งตัวประมาณ 40 เซนติเมตร มีรูปร่างคล้ายหนู มีขนปกคลุมลำตัวสีเทาเข้ม แต่มีหางเป็นพวงเหมือนกระรอก และเท้าเป็นพังผืดคล้ายอุ้งเท้าของเป็ด ส่วนเท้าหลังแผ่ออกกว้างเป็นรูปตัววี ทำมุมกับลำตัว ทำให้เดินอุ้ยอ้ายเชื่องช้าและไม่สามารถป่ายปีนได้ มีหนวดยาวและนัยน์ตากลมมน ออกหากินในเวลากลางคืน และไม่สามารถป้องกันตัวเองได้ ปัจจุบันพบในเขตภูเขาหินปูนแขวงคำม่วน ประเทศลาวเพียงแห่งเดียวเท่านั้น และถือเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Laonastes หนูหิน จัดได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตชนิดหนึ่ง ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันนั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วตั้งแต่เมื่อ 11 ล้านปีก่อน โดยมีหลักฐานเป็นซากดึกดำบรรพ์พบในมณฑลซานตง ทางตอนใต้ของประเทศจีน หนูหินนั้นเป็นสัตว์ที่ชาวพื้นเมืองรับประทานเป็นอาหารโดยปกติอยู่แล้ว แต่ว่าเพิ่งจะมาเป็นรู้จักของชาวโลกในกลางปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูหิน · ดูเพิ่มเติม »

หนูผี

หนูผี (Shrews) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Soricidae ครั้งหนึ่ง หนูผีเคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) หนูผี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับหนู ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ซึ่งเป็นสัตว์คนละอันดับมาก แต่ทว่ามีขนาดเล็กกว่ามาก มีฟันที่แหลมคมที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด สามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า ตามลำตัวมีขนที่อ่อนนุ่มสีคล้ำปกคลุม ตาและใบหูมีขนาดเล็กมากฝังอยู่ในขน ดังนั้นตาและหูของหนูผีใช้การไม่ค่อยดี จึงอาศัยประสาทการดมกลิ่นจากจมูกเป็นหลัก โดยมักจะกระดุกกระดิกจมูกสอดส่ายหากลิ่นตามพื้นดิน หรือบางครั้งก็ชูขึ้นสูดกลิ่นในอากาศ หนูผี โดยขุดรูตื้น ๆ อยู่ในดินหรือซุกซ่อนในพงหญ้า กินอาหารหลักจำพวก แมลง และอาจมีเมล็ดพืชบ้าง หนูผีเป็นสัตว์ที่มีระบบการเผาผลาญอาหารสูงมาก ดังนั้น จึงจะหากินอยู่ตลอดเวลา ด้วยการหากิน 3 ชั่วโมง และนอนหลับ 3 ชั่วโมง เป็นเช่นนี้สลับกันไปตลอด หากไม่เช่นแล้ว อาจทำให้ถึงตายได้ หนูผี เป็นสัตว์ที่มีอุปนิสัยดุร้าย มักกัดกันเองเสมอ ๆ โดยหากเมื่อต่อสู้กันแล้ว มักจะขู่ศัตรูด้วยการยืนด้วยสองขาหลังส่งเสียงร้องแหลมเล็กให้หนีไป หากได้กัดแล้ว จะกัดด้วยการกัดที่หางและขาหลังของกันและกันเป็นวงกลมเช่นนี้ต่อไปเรื่อย ๆ พร้อมกับเสียงดังข่มขู่กันตลอด หนูผี บางชนิดเมื่อกัดแล้วมีพิษ และถือเป็นสัตว์ที่มีต่อมน้ำพิษที่มีกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรงอยู่ใต้ผิวหนัง ดังนั้น หนูผีจึงมักไม่ค่อยตกเป็นอาหารของสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ ยกเว้นนกเค้าแมว หนูผี ทำรังด้วยใบไม้และฟาง ออกลูกครอกละ 5-8 ตัว ปีหนึ่ง ๆ อาจออกได้หลายครอก ลูกอ่อนจะสามารถหาเลี้ยงตัวเองได้เมื่อมีอายุได้ 5 สัปดาห์ แต่หนูผีมักมีอายุสั้นไม่เกินหนึ่งปี กระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ทุกทวีปของโลก พบในหลากหลายภูมิประเทศ รวมถึงในบ้านเรือนของมนุษย์ หนูผีที่พบในบ้านจะไม่ทำลายข้าวของเหมือนเช่นหนูบ้านทั่วไป เนื่องด้วยไม่ใช่สัตว์ฟันแทะ แต่อาจจะมีขโมยเศษอาหารได้ ทำให้เกิดกลิ่นเหม็บสาบรุนแรง และอาจจะจับแมลงสาบกินได้ และกลิ่นเหม็นอันรุนแรงของหนูผีจะไล่หนูบ้านออกไปได้ นอกจากนี้แล้ว หนูผียังสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้เก่งกว่าหนูมาก โดยสามารถกลั้นหายใจใต้น้ำได้นานถึง 20 วินาที เพื่อจับสัตว์น้ำต่าง ๆ เช่น หอย หรือตัวอ่อนของแมลงปอ กินเป็นอาหาร หนูผี ในปัจจุบันนี้พบแล้วกว่า 385 ชนิด ใน 26 สกุล แบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยได้ 3 วงศ์ (ดูในตาราง)สำหรับชนิดที่พบได้ในประเทศไทยมีหลายชนิด อาทิ หนูผีบ้าน (Suncus murinus), หนูผีจิ๋ว (S. etrusucs), และชนิดที่พบได้ในป่าและทุ่งนา เช่น หนูผีป่า (S. malayanus), หนูผีภูเขา (Crocidura monticola) เป็นต้น โดยที่ครั้งหนึ่ง หนูผีจิ๋วที่พบได้ในทวีปยุโรปและในไทยด้วย เคยเป็นสัตว์เลี้ยงลูกนมที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกมาแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูผี · ดูเพิ่มเติม »

หนูผีช้างหน้าเทา

หนูผีช้างหน้าเทา หรือ เซงกิหน้าเทา (Grey-faced sengi, Grey-face elephant shrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับหนูผีช้าง (Macroscelidea) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchocyon udzungwensis (/ริน-โค-ไซ-ออน-อุด-ซุง-เวน-ซิส/) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีสีขนเป็นสีเทาและแดงสดบริเวณใบหน้า มีขนที่เบาบางและแหลม ด้านสะโพกมีขนสีดำและสีน้ำตาลอ่อน ด้านท้องและหางเป็นสีอ่อน มีฟันที่แหลมคม มีความยาวเฉลี่ย 56.4 เซนติเมตร น้ำหนักโดยเฉลี่ย 711 กรัม นับเป็นว่าเป็นหนูผีช้าง หรือ เซงกิชนิดใหญ่ชนิดหนึ่ง ถือว่าเป็นหนูผีช้างที่มีขนาดใหญ่กว่าหนูผีช้างชนิดอื่นประมาณร้อยละ 25 หนูผีช้างหน้าเทา เป็นสัตว์เฉพาะถิ่น กระจายพันธุ์อยู่เฉพาะแถบเทือกเขาอุดซุงก์วา ในประเทศแทนซาเนีย ในแอฟริกาตะวันออกเท่านั้น โดยเป็นหนูผีช้างชนิดที่ได้รับการค้นพบเป็นครั้งแรกในรอบ 126 ปี โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 2 คน ในปี ค.ศ. 2005 และอนุกรมวิธานในเดือนมกราคม ค.ศ. 2008.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูผีช้างหน้าเทา · ดูเพิ่มเติม »

หนูผีบ้าน

หนูผีบ้าน (Asian house shrew, Grey musk shrew, Asian musk shrew) เป็นหนูผีชนิดหนึ่ง มีสีขนและหางสีเทาอมดำตลอดตัว จมูกยื่นแหลมยาว ตามีขนาดเล็กมาก มีความยาวตั้งแต่ปลายจมูกถึงรูทวารประมาณ 9-14.5 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 100 กรัม จัดเป็นหนูผีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย หนูผีบ้าน เป็นหนูผีชนิดที่สามารถพบได้ทั่วไปอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาฝั่งตะวันออก และเกาะมาดากัสการ์ เรื่อยมาจนถึงอนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเอเชียตะวันออก เป็นหนูผีที่สามารถปรับตัวให้อยู่กับสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย สามารถพบได้ในที่ชุมชนของมนุษย์ หรือในบ้านเรือน เป็นสัตว์ที่กินแมลงเป็นหลัก ในประเทศไทยพบได้ทุกภูม.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูผีบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนูผีจิ๋ว

หนูผีจิ๋ว หรือ หนูผีอีทรัสแคน (Dwarf shrew, Etruscan pygmy shrew) เป็นหนูผีชนิดหนึ่ง หนูผีจิ๋ว มีเท้าหลังสั้นมากและมีสีคล้ำในตัวเต็มวัย กะโหลกลาดแบน จมูกแหลมยาวมาก ตามีขนาดเล็กมาก ใบหูมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดลำตัว มีความจากหลายจมูกถึงรูทวารเพียง 4–5.6 เซนติเมตร และมีน้ำหนักเพียง 1.8 กรัม เท่านั้น ซึ่งครั้งหนึ่งเคยถูกจัดให้เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกมาแล้ว ก่อนจะถูกแทนที่ตำแหน่งนี้ด้วยการค้นพบค้างคาวคุณกิตติ (Craseonycteris thonglongyai) ในเวลาต่อมา หนูผีจิ๋ว มีพฤติกรรมชอบอาศัยในที่เปียกชื้นและมีหญ้าขึ้นรก หากินแมลงขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ตามพื้นดินเป็นอาหาร ไม่จัดว่าเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองแต่อย่างใด พบกระจายพันธุ์ในทวีปยุโรป, แอฟริกาเหนือ และบางส่วนในทวีปเอเชีย สำหรับในประเทศไทย พบได้ในป่าในภาคเหนือ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูผีจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

หนูผีป่า

หนูผีป่า หรือ หนูเหม็น (Gymnures, Moonrats) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับเฮดจ์ฮอก (Erinaceomorpha) ในวงศ์ Erinaceidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galericinae เป็นวงศ์ที่แยกออกมาจากวงศ์ย่อยเฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) ด้วยมีรูปร่างลักษณะที่ต่างกันหลายประการ สัตว์ที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ มีรูปร่างโดยทั่วไปแลคล้ายหนู ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) มีส่วนหัวใหญ่ ปลายจมูกและจะงอยปากแหลมยาว มีฟันที่แหลมคมและมีขนาดใหญ่ คิดเป็นสัดส่วน 1/3 ของร่างกายทั้งหมด มีขนปกคลุมร่างกายทั้งหมด หางเรียวยาวไม่มีขน เพื่อควบคุมสมดุลของร่างกายและอุณหภูมิภายในร่างกาย มีความไวในประสาทการรับกลิ่นเป็นอย่างดีมาก หนูผีป่า เป็นสัตว์ที่มีเอกลักษณ์ คือ มีกลิ่นเหม็นมากเหมือนกลิ่นแอมโมเนียโดยมีต่อมผลิตกลิ่น ปกติเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นฤดูผสมพันธุ์ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน โดยหากินสัตว์ขนาดเล็กที่อยู่ตามพื้นดินเป็นหลัก เช่น แมลง เป็นอาหารหลัก และอาจกินสัตว์ได้อย่างอื่นได้ด้วย เช่น สัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ หรือสัตว์ฟันแทะขนาดเล็ก บางครั้งอาจกินผลไม้หรือเห็ดรา พบกระจายพันธุ์แต่เฉพาะในป่าดิบของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยไม่พบในเมือง เช่น อินโดจีน, สุมาตรา, จีนและคาบสมุทรมลายู มีทั้งหมด 5 สกุล (ดูในตาราง) 8 ชนิด โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ หนูเหม็น (Echinosorex gymnura) หรือสาโท ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูผีป่า · ดูเพิ่มเติม »

หนูผีนาก

หนูผีนาก (Otter shrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ย่อย Potamogalinae ในวงศ์ Tenrecidae จัดเป็นเทนเรคจำพวกหนึ่ง เป็นสัตว์ที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับนากผสมกับหนูผี ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อยู่ต่างอันดับกัน เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแอฟริกาใต้สะฮารา เป็นสัตว์ที่หากินและอาศัยในรูปแบบกึ่งน้ำกึ่งบก มีหนวดที่มีความไวต่อการสัมผัส ใช้สำหรับนำทางและหาอาหารใต้น้ำคล้ายกับนาก เคลื่อนไหวใต้น้ำโดยการเคลื่อนไหวลำตัวและหางไปด้านข้างคล้ายกับจระเข้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูผีนาก · ดูเพิ่มเติม »

หนูท้องขาว

หนูท้องขาว หรือ หนูดำ หรือ หนูนาท้องขาว (Roof rat, Black rat) เป็นหนูที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rattus rattus อยู่ในวงศ์ Muridae จัดเป็นหนูที่พบได้ในบ้านเรือนของมนุษย์หนึ่งในสามชนิด ร่วมกับ หนูบ้าน (R. norvegicus) และหนูจี๊ด (R. exulans) เป็นหนูขนาดกลาง ใบหูใหญ่ ขนตามลำตัวด้านสีน้ำตาลอ่อนหรือสีน้ำตาลแดงหรือสีดำ ขนท้องสีขาว มีลายสีดำเล็ก ๆ ที่หน้าอก หางสีดำมีความยาวพอ ๆ หรือยาวกว่าความยาวลำตัวและหัว มีเกล็ดตลอดทั้งหาง จมูกแหลมกว่าหนูบ้าน มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 18 เซนติเมตร ส่วนหางก็มีความยาวพอ ๆ กัน ตัวเมียมีเต้านมที่หน้าอก 2 คู่ ออกลูกปีละ 4-6 ครอก ลูกหนึ่งครอกมีจำนวน 6-8 ตัว มีระยะทางหากิน 100-150 ฟุต เป็นหนูที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย และพบกระจายพันธุ์ไปไกลจนถึงทิศตะวันออกของโรมาเนีย เป็นหนูที่ปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ชอบขึ้นและหากินบนต้นไม้ เพราะชอบกินเมล็ดพืชมากที่สุด จึงมักพบในพื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทยพบได้ทุกภาค โดยเฉพาะในสวนมะพร้าวหรือปาล์มน้ำมันในภาคใต้ จัดเป็นศัตรูพืชของพืชจำพวกนี้ เกษตรกรจึงใช้วิธีตามธรรมชาติกำจัดหนูเหล่านี้ โดยสร้างรังนกแสก (Tyto alba) ให้อยู่ท้ายสวน เพราะนกแสกจะกินหนูโดยเฉพาะหนูท้องขาวเป็นอาหารหลัก ถ้าอาศัยอยู่ในบ้านก็มักจะสร้างรังบนเพดานบ้าน.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูท้องขาว · ดูเพิ่มเติม »

หนูขนเสี้ยน

หนูขนเสี้ยน (Spiny rats; สกุล: Niviventer) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Niviventer ในวงศ์ย่อย Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae มีลักษณะโดยรวมเป็นหนูขนาดเล็ก สภาพทั่วไปคล้ายกับหนูในสกุล Rattus ซึ่งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นสกุลย่อยในสกุลนี้ แต่มีขนาดเล็กกว่า ซึ่งปัจจุบันได้ถูกแยกออกมาเป็นสกุลต่างหากร่วมกับสกุล Maxomys และสกุล Leopoldamys โดยนักอนุกรมวิธานในปี ค.ศ. 1979 แต่มีขนที่แข็งขึ้นแซมบนลำตัวทางด้านหลัง เมื่อเอามือลูบดูจะรู้สึกตำมือคล้ายกับหนามหรือเสี้ยน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ความยาวหางมีขนาดความยาวพอ ๆ กับลำตัว ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานไว้ทั้งหมด 18 ชนิด (ดูในตาราง) พบในประเทศไทยทั้งหมด 6 ชนิด โดยมีชนิดที่สำคัญคือ หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน (N. hinpoon) ซึ่งเป็นหนูที่มีการกระจายพันธุ์ในวงแคบมาก กล่าวคือ จะพบเฉพาะในถ้ำหินปูนในแถบจังหวัดภาคกลางในประเทศไทยเท่านั้น เช่น จังหวัดกาญจนบุรี, สระบุรี และลพบุรีเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูขนเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน

หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Niviventer hinpoon; อังกฤษ: Limestone rat) เป็นสปีชีส์ของสัตว์ฟันแทะในวงศ์ Muridae อาศัยในถ้ำหินปูน พบในประเทศไทยเพียงแห่งเดียวเท่านั้น ในจังหวัดอุทัยธานี, สระบุรี และลพบุรี สถานภาพปัจจุบันตามบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติว่าเป็นสัตว์ใกล้ถูกคุกคาม ในประเทศไทยจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป..

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูขนเสี้ยนเขาหินปูน · ดูเพิ่มเติม »

หนูเหม็น

ำหรับสาโทที่หมายถึงเครื่องดื่มประเภทสุรา ดูที่: สาโท หนูเหม็น หรือ สาโท (อังกฤษ: Moonrat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Echinosorex gymnurus จัดอยู่ในวงศ์ Erinaceidae ซึ่งจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Echinosorex หนูเหม็น มีรูปร่างลักษณะคล้ายหนูที่อยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ แต่หนูเหม็นเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับเฮดจ์ฮอกเช่นเดียวกับเฮดจ์ฮอก มีขนยาวปุกปุยรุงรังสีดำแซมขาว หัวมีขนสีขาวและมีแถบดำพาดผ่านตาเห็นได้ชัดเจน ปลายปากด้านบนและดั้งจมูกยาวเรียวยื่นออกไปมากกว่าปลายริมฝีปากล่าง หางมีเกล็ดเล็ก ๆ ปกคลุมคล้ายหางหนู มีสีดำและปลายหางสีขาว พบกระจายพันธุ์อยู่ในแถบเทือกเขาตะนาวศรีในเขตพม่า และภาคใต้ของไทยตั้งแต่คอคอดกระลงไปตลอดแหลมมลายู, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว มีขนาดลำตัวยาว 26-45 เซนติเมตร หางยาว 20-21 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 0.5-1.1 กิโลกรัม ถือว่าเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์และอันดับนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ E.g.albus พบในตอนตะวันออกและตอนใต้ของเกาะบอร์เนียว และ E.g.cadidus พบในตอนตะวันตกของเกาะบอร์เนียว เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวเหม็นรุนแรงจึงเป็นที่มาของชื่อ ซึ่งกลิ่นตัวนี้คล้ายกับกลิ่นระเหยของแอมโมเนีย สามารถส่งกลิ่นออกไปได้ไกลเป็นระยะหลายเมตร ใช้สำหรับติดต่อกับหนูเหม็นตัวอื่น มักอาศัยอยู่ตามลำพัง ชอบอาศัยอยู่ในที่ชื้นแฉะตามป่าดิบชื้น เช่น ป่าโกงกาง, ป่าตามพื้นที่ราบเชิงเขา โดยเฉพาะตามหุบเขาที่มีป่ารกทึบ ติดกับลำธารที่มีน้ำไหลผ่าน ซึ่งเหมาะเป็นแหล่งในการหาอาหารได้สะดวก เป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ หนอน, ด้วง และแมลงต่าง ๆ, ไส้เดือนดิน สามารถที่จะล่าสัตว์เล็ก ๆ กิน เช่น ลูกกบ, เขียด, กุ้ง, ปู, ปลา และหอย ได้ด้วย กลางวันจะพักอาศัยหลบซ่อนอยู่ในรูดิน โพรงไม้และตามซอกใตัรากไม้ในป่าทั่วไป มีฤดูผสมพันธุ์ตลอดทั้งปี ๆ ละ 2 ครอก มีลูกครอกละ 2 ตัว มีนิสัยค่อนข้างดุร้าย ปัจจุบันเป็นสัตว์ที่หายาก มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากสภาพพื้นที่ ๆ อยู่อาศัยถูกทำลาย และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 หนูเหม็น มีความเชื่อมาแต่โบราณว่า หากเก็บกระดูกไว้จะสามารถแก้เสน่ห์ยาแฝดหรือมนต์ดำได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และหนูเหม็น · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยรับกลิ่น

รงสร้างของ rhodopsin ซึ่งเป็น G protein-coupled receptor ที่หน่วยรับกลิ่นจะมีโครงสร้างคล้าย ๆ doi.

ใหม่!!: สปีชีส์และหน่วยรับกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ห่านหัวลาย

ห่านหัวลาย (Bar-headed goose) เป็นสัตว์ปีกจำพวกห่านชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Anatidae มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนตามร่างกายเป็นสีเทาอ่อน ส่วนหัวมีสีขาวมีแถบสีดำพาดจากหางตาขึ้นไปที่กระหม่อม และมีแถบสีดำอีกเส้นหนึ่งที่ท้ายทอย อันเป็นที่มาของชื่อ คอสีเทาเข้มและมีแถบสีขาวตามแนวยาวของคอต่อกับสีขาวของหัว สีข้างเป็นลายขวางสีดำ หางสีขาวและตรงกลางคาดแถบสีเทา ปากสีส้มถึงเหลือง นิ้วสีเหลือง ตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยมีสีเทาเช่นเดียวกับตัวที่โตเต็มวัย แต่บริเวณกระหม่อมและท้ายทอยเป็นสีดำตัดกับหน้าผากสีขาว หน้าและลำคอส่วนที่เหลือสีขาว สีข้างไม่มีลาย ลำตัวด้านล่างมีลายแต้มสีน้ำตาลแดง มีการแพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียกลางในหลายประเทศ และในฤดูหนาวจะอพยพข้ามเทือกเขาหิมาลัยไปสู่ที่ราบลุ่มที่อบอุ่นกว่าในปากีสถานและอินเดีย โดยใช้เวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมง ทำให้เชื่อกันว่าเป็นนกที่บินได้สูงที่สุดในโลก โดยเคยพบว่าบินได้สูงถึง 30,000 ฟุต (ประมาณ 9 กิโลเมตร) และสามารถบินได้สูงกว่านี้อีกเท่าตัว เพราะเลือดของห่านหัวลายสามารถดูดซับออกซิเจนได้ดีกว่านกชนิดอื่น ๆ จึงทำให้สามารถบินในระดับความสูงที่มีออกซิเจนเพียงเบาบางได้ ห่านหัวลาย มีพฤติกรรมมักรวมกันเป็นฝูงใหญ่ อาจถึงขั้นเป็นร้อยตัว ห่านหัวลายมักจะทำลายพืชไร่ชนิดต่าง ๆ ด้วยการกัดกินเป็นอาหาร เช่น ข้าวฟ่าง, ข้าวโพด โดยเฉพาะยอดอ่อน ออกหากินในเวลากลางคืน ขณะที่กลางวันจะนอนหลับพักผ่อน ด้วยการยืนนิ่ง ๆ ในแหล่งน้ำตื้น ๆ แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ประมาณ 3-8 ฟองในรังใกล้ ๆ ทะเลสาบบนภูเขา การจำแนกห่านชนิดนี้ออกจากห่านชนิดอื่นในสกุล Anser สามารถทำได้ง่าย โดยดูจากแถบสีดำบนหัว และมีขนสีซีดจางกว่าห่านชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน ห่านหัวลาย โดยปกติแล้ว ไม่ใช่นกประจำถิ่นของไทย แต่จะเป็นนกอพยพ ที่หาได้ยาก มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และห่านหัวลาย · ดูเพิ่มเติม »

อมาร์กาซอรัส

อมาร์กาซอรัส (อังกฤษ: Amargasaurus ; "La Amarga lizard") เป็นสกุลของไดโนเสาร์ประเภทซอโรพอดในยุคครีเทเชียสตอนต้น (129.4–122.46 ล้านปีก่อน) ที่อาร์เจนตินา โครงกระดูกที่มีสภาพสมบูรณ์ถูกค้นพบเมื่อปี1984 มีสปีชีส์เดียวคือ Amargasaurus cazaui.

ใหม่!!: สปีชีส์และอมาร์กาซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

อลาโมซอรัส

อลาโมซอรัส (Alamosaurus) เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์ซอโรพอดชนิดสุดท้าย ค้นพบฟอสซิลที่อเมริกาเหนือ ยาวประมาณ 25 เมตร อาศัยอยู่ในปลายยุคครีเทเชียส เมื่อประมาณ 66 ล้านปีก่อน กินพืชเป็นอาหาร รักสงบ หนัก 30 ตัน มีหัวคล้ายกับคามาราซอรัส หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และอลาโมซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ออริกซ์

ออริกซ์ (oryx) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคู่เคี้ยวเอื้อง จำพวกแอนทิโลปหรือกาเซลล์ พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาและคาบสมุทรอาหรับ มีลักษณะเด่น คือ เป็นแอนทิโลปขนาดใหญ่ และมีเขาที่บิดเป็นเกลียวยาวแหลม เห็นได้ชัดเจน มีใบหน้ารวมถึงลำตัวช่วงขาที่เป็นลายสีเส้นดำพาดผ่าน ขณะที่ตามลำตัวเป็นสีขาวหรือสีสว่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และออริกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์นิโทไมมัส

ออร์นิโทไมมัส (Ornithomimus) ค้นพบที่รัฐมอนแทนา สหรัฐอเมริกา เป็นเหยื่อที่วิ่งเร็วที่สุดของทีเร็กซ์ โดยสามารถวิ่งได้ด้วยความเร็ว 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขนาดประมาณ 2 เมตร อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลายเมื่อประมาณ 75-65 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และออร์นิโทไมมัส · ดูเพิ่มเติม »

อะกาเว

อะกาเว (Agave, หรือ) เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์ย่อย Agavoideae วงศ์ AsparagaceaeMark W. Chase, James L. Reveal, and Michael F. Fay.

ใหม่!!: สปีชีส์และอะกาเว · ดูเพิ่มเติม »

อะมิกดะลา

มองมนุษย์แบ่งหน้าหลัง อะมิกดะลามีสีแดงเข้ม อะมิกดะลา (พหูพจน์: amygdalae ออกเสียงว่า เอกพจน์: amygdala หรือ corpus amygdaloideum มาจาก ἀμυγδαλή, amygdalē, แปลว่า อัลมอนด์, ทอนซิล แสดงไว้ในตำรากายวิภาคของเกรย์ ว่า nucleus amygdalæ) เป็นกลุ่มของนิวเคลียสรูปอัลมอนด์ ฝังลึกอยู่ในสมองกลีบขมับส่วนกลาง (medial temporal lobe) ในสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ซับซ้อนรวมทั้งมนุษย์ด้วย อะมิกดะลามีบทบาทที่สำคัญที่สุดในการปฏิบัติการในระบบความจำ กับในการตอบสนองโดยความรู้สึก และเป็นส่วนหนึ่งของระบบลิมบิก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอะมิกดะลา · ดูเพิ่มเติม »

อะแพโทซอรัส

อะแพทโทซอรัส หรือ อะแพตโตซอรัส (Apatosarus) หรือชื่อที่คุ้นเคยกันในอดีตว่า บรอนโตซอรัส (Brontosaurus) เป็นไดโนเสาร์ยักษ์ในยุคจูแรสซิก กินพืชเป็นอาหาร เคยมีสมญาว่า ยักษ์ใหญ่ไร้พิษสง อาศัยอยู่บนโลกนี้เมือประมาณ 190-135 ล้านปีที่ผ่านมา ชื่อของไดโนเสาร์ชนิดนี้เมื่อแปลออกมาแล้วจะมีความหมายว่า "กิ้งก่าปลอม" อะแพโทซอรัสเป็นไดโนเสาร์ที่ตัวใหญ่มาก เมื่อโตเต็มที่จะยาวถึง 75 ฟุต สูงกว่า 15 ฟุต (แต่ขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยพบคือ 85 ฟุต) หางยาวอะแพโทซอรัสมีน้ำหนัก 24-35 ตัน ถูกค้นพบในยุคแรก ๆ ของสงครามล่ากระดูกไดโนเสาร์ในอเมริกา ปลายคริสศตวรรษที่ 19 (สูสีกับดิพโพลโดคัสมากนะครับ) ลักษณะตามแบบตระกูลซอโรพอด คือ คอยาว หางยาวมาก ๆ ประมาณ 23-26 เมตร หัวเล็ก ดูเผิน ๆ เหมือนกับนกไม่มีหัว ขา 4 ข้างใหญ่เหมือนเสา สามารถรับน้ำหนักตัวมันได้ แม้จะอยู่บนบก หรือ ยืน 2 ขาขึ้นเพื่อหาใบไม้อ่อนยอดสูงกิน ที่เท้าหน้าของอะแพโทซอรัสมีเล็บแหลมตรงนิ้วโป้ง ซึ่งปัจจุบันนักโบราณชีววิทยาสันนิษฐานว่า น่าจะเป็นอาวุธใช้ป้องกันตัวต่อสู้กับพวกอัลโลซอรัส ด้วยการยืน 2 ขา แล้วใช้เล็บแหลมนี้ทิ่มจิกนักล่า ลักษณะที่สำคัญไดโนเสาร์ชนิดนี้มีความประหลาดมาก คือมีหัวใจ 7-8 ดวงเรียงจากอกถึงลำคอเพื่อช่วยในการสูบฉีดเลือดเพราะมีลำตัวยาวมาก นอกจากนี้ พวกนี้มีฟันรูปร่างคล้ายแท่งดินสอที่ไม่แข็งแรงเคี้ยวอะไรไม่ได้ นอกจากพืชน้ำที่นิ่มที่สุดเท่านั้น (บางข้อมูลก็เชื่อว่า มันใช้ฟันแท่งดินสอเหล่านี้รูดใบไม้อ่อนตามยอดต้นไม้กิน) หัวของมันก็เล็กจิ๋ว เมื่อเทียบกับความใหญ่โตของลำตัว สมองของอะแพโทซอรัสจึงจิ๋วตามหัวไปด้วย แต่รูจมูกของมันจะอยู่กลางกระหม่อม สันนิษฐานว่าเพื่อประโยชน์ในการใช้ชีวิตในแหล่งน้ำ ทำให้อะแพโทซอรัสสามารถดำน้ำได้นาน เพราะขณะดำน้ำ มันจะชูคอโผล่แต่กระหม่อมขึ้นมาเหนือน้ำ ส่วนตัวก็อยู่ใต้น้ำ ที่มันต้องดำน้ำก็เพราะที่อยู่ของเจ้าอะแพโทซอรัสเป็นถิ่นที่อยู่ของไดโนเสาร์กินเนื้อพันธุ์ดุร้ายมากมายนั่นเอง และใต้น้ำก็มีต้นไม้อ่อน ๆ นิ่ม ๆ ไม่เหมือนต้นไม้บนบกที่มีใบแข็ง มันจึงต้องดำน้ำหรืออยู่ใกล้แหล่งน้ำเสมอ อย่างไรก็ดี ทฤษฎีการดำน้ำของอะแพโทซอรัสหรือซอโรพอดอื่น ๆ เริ่มเป็นที่ถกประเด็นในยุคหลังว่าเป็นได้จริงแค่ไหน โดยนักชีววิทยามีความเห็นว่า หากซอโรพอดต้องหลบศัตรูโดยดำน้ำลงไปลึกเกือบ 10 เมตรจริง ลำคอและปอดของมันจะทนทานแรงกดดันของน้ำลึกได้ขนาดนั้นหรือไม่ ภาพพจน์ในอดีตของอะแพโทซอรัสถูกมองว่าเป็นยักษ์ไร้พิษสง มักจะพบภาพของมันถูกวาดให้โดนไดโนเสาร์นักล่าตะครุบขย้ำเป็นอาหาร (ในจำนวนนี้ มีมากที่เป็นภาพไทรันโนซอรัสกำลังล่าอะแพโทซอรัส ผิดจากความเป็นจริงที่ว่า เหยื่อกับนักล่า 2 พันธุ์นี้มีชีวิตอยู่คนละยุคห่างกันหลายสิบล้านปี ไม่สามารถมาเผชิญหน้ากัน) เนื่องจากลักษณะของมันไม่มีอาวุธป้องกันตัวที่เด่น เช่น เขาขนาดใหญ่แบบไทรเซอราทอปส์ หรือหนาม-ตุ้มที่หางแบบไดโนเสาร์หุ้มเกราะ แต่การค้นคว้าสมัยหลัง ๆ เชื่อว่า มันไม่ใช่เหยื่อตัวยักษ์ที่หวานหมูนักล่าขนาดนั้น ด้วยขนาดตัวที่ใหญ่กว่านักล่าหลายเท่านั้นก็เป็นอุปสรรคแก่นักล่าระดับหนึ่งแล้ว เช่นเดียวกับช้างในปัจจุบัน อะแพโทซอรัสมีหางที่ยาวมากเพื่อถ่วงคานน้ำหนักกับส่วนคอที่ยาวของมัน คำนวณกันมาว่า หากไม่มีส่วนหาง อะแพโทซอรัสจะไม่สามารถยกคอมันขึ้นจากพื้นได้ นอกจากนี้ หางใหญ่ของมันยังเป็นอาวุธป้องกันตัวสำคัญใช้ฟาดอย่างแรงเมื่อถูกอัลโลซอรัสหรือนักล่าอื่น ๆโจมตี ส่วนตรงปลายหางที่เรียวเล็กก็ใช้หวดต่างแส้ได้เช่นกัน หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคจูแรสซิก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอะแพโทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

อัลโลซอรัส

อัลโลซอรัส (Allosaurus) ไดโนเสาร์นักล่าก่อนยุคไทรันโนซอรัสแต่ตัวเล็กกว่า อาศัยอยู่ในยุคจูราสสิคเมื่อ 155-145 ล้านปีก่อน ขนาดทั่วไปมีความยาวประมาณ 8.5 เมตร (29 ฟุต) สูงจากพื้นถึงไล่ประมาณ 3.2 เมตร แต่ก็มีพบขนาดใหญ่ที่สุดมากกว่า 10 เมตร (34 ฟุต) มีหน้าตาคล้ายกิ้งก่าขนาดใหญ่ มีปุ่มเขาขนาดเล็กเหนือดวงตา ขากรรไกรทรงพลังมีฟันเรียงราย แม้จะไม่เทียบเท่าตระกูลไทรันโนซอรัสในยุคหลัง ร่างกายมีความสมดุลโดยยาวและหางหนัก ตามคุณสมบัติของตระกูล อัลโลซอร์ มันมีญาติอันตรายอย่าง คาร์ชาโรดอนโทซอรัส และ กิก้าโนโตซอรัสในไทยอาจมีญาติของอัลโลซอรัสคือ สยามโมไทรันนัส ที่สันนิษฐานไว้.

ใหม่!!: สปีชีส์และอัลโลซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

อัลไพน์ซาลาแมนเดอร์

ระวังสับสนกับ: อัลไพน์ นิวต์ อัลไพน์ซาลาแมนเดอร์ หรือ ซาลาแมนเดอร์ แอททร้า (Alpine salamander, Golden salamander) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชนิดหนึ่ง จำพวกซาลาแมนเดอร์ จัดเป็นซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก หรือนิวต์ (Salamandridae) อัลไพน์ซาลาแมนเดอร์ เป็นซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก มีลักษณะเด่นคือ มีสีดำตลอดทั้งตัว มี 5 นิ้ว ปลายนิ้วไม่มีเล็บ มีหัวใจทั้งหมด 3 ห้อง ผิวหนังเปียกชื้นไม่มีเกล็ด เหมือนซาลาแมนเดอร์ทั่วไป พบกระจายพันธุ์ในแถบเทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป ในระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 2,800 เมตร พบได้ในประเทศแอลเบเนีย, ออสเตรีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, ลิกเตนสไตน์, มอนเตเนโกร, เซอร์เบีย และสวิสเซอร์แลนด์ ในลำธารที่สภาพอากาศหนาวเย็น โดยปกติทางตอนใต้ของเทือกเขาแอลป์ จะไม่ค่อยพบในที่ ๆ มีความสูงจากระดับน้ำทะเลต่ำกว่า 900 เมตร และมีรายงานว่าพบในที่ ๆ สูงที่สุด คือ 2,430 เมตร ในฝรั่งเศส และ 2,800 เมตร ที่ออสเตรีย คาเรนทันนี กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็ก ได้แก่ แมลง, หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ และหอยขนาดเล็ก อัลไพน์ ซาลาแมนเดอร์ ในช่วงฤดูหนาวจะขุดรูเพื่อจำศีล ในโพรงดินลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร เพื่อรักษาความชื้นของผิวหนัง โดยสภาพร่างกายในช่วงนี้จะอยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว อัตราเมแทบอลิซึมต่ำ อัตราการใช้ออกซิเจนจะลดลงอย่างมาก อาจเป็น 1/3 หรือ 1/100 ของอัตราปกติ หัวใจเต้นนาทีละไม่กี่ครั้ง ซึ่งอาจจะอยู่ในภาวะเช่นนี้ได้หลายเดือน จนกระทั่งเมื่ออุณหภูมิขึ้นสูงในระดับ 12-14 องศาเซลเซียส จึงจะขยับตัวออกมา ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่ง ของอัลไพน์ซาลาแมนเดอร์ คือ ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกเป็นตัว โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว จะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2-3 ปี โดยตัวผู้จะปล่อยสเปิร์มทิ้งไว้ตามใบไม้ริมน้ำหรือไม้น้ำ หรือก้อนหินที่เปียกชื้นริมน้ำ แล้วจะเปลี่ยนตัวเองให้มีสีที่สวยขึ้น คือ สีทอง เพื่อดึงดูดใจตัวเมีย เมื่อปฏิสนธิแล้ว ไข่จะพัฒนาตัวเองเป็นตัวอ่อนอยู่ในร่างกายของแม่ก่อนที่จะออกมาสู่โลกภายนอก ทั้งนี้เป็นเพราะการปรับตัวให้เข้ากับสถานที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นที่ ๆ หนาวเย็น จนบางครั้งแหล่งน้ำที่อาศัยอยู่แข็งเป็นน้ำแข็ง อัลไพน์ซาลาแมนเดอร์ ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงSalamandra atra... จิ้งจกน้ำสีนิลแห่งเทือกเขาแอลป์ โดย สุริศา ซอมาดี คอลัมน์ Aqua Survey, หน้า 76-81 นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 2 ฉบับที่ 28: ตุลาคม 2012.

ใหม่!!: สปีชีส์และอัลไพน์ซาลาแมนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับบ่าง

อันดับบ่าง (Colugo, Flying lemur) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในชั้นย่อยยูเทอเรีย (Eutheria) อันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dermoptera (/เดอ-มอป-เทอ-รา/ แปลว่า "ปีกหนัง") และถือเป็นอันดับที่อยู่ถัดมาจากอันดับโพรซีเมียน (Prosimian) ถือว่า บ่างเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใกล้เคียงกับสัตว์ในอันดับไพรเมต อันได้แก่ ทาร์เซีย, ลิงและเอป ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ด้วย และเชื่อกันว่า บ่างเป็นต้นบรรพบุรุษของค้างคาว ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงจำพวกเดียวที่บินได้ ซึ่งอยู่ในอันดับ Chiroptera ด้วย ลักษณะของสัตว์ในอันดับนี้ คือ มีรูปร่างคล้ายกับกระรอกบินหรือค้างคาวหรือลีเมอร์ แต่มีจุดเด่น คือ มีแผ่นหนังบาง ๆ ที่เชื่อมติดกันระหว่างคอ, ขาหน้า, ขาหลัง และหาง รวมถึงนิ้วทุกนิ้วอีกด้วย โดยที่ไม่มีหัวแม่มือ ซึ่งเมื่อกางออกจะเป็นแผ่นคล้ายว่าว ทำให้สามารถร่อนถลาได้เหมือนกระรอกบินหรือชูการ์ไกลเดอร์ ซึ่งเป็นสัตว์ต่างอันดับกัน บ่าง เป็นสัตว์ที่มีดวงตากลมโตสีแดง ส่วนจมูกและใบหน้าแหลม รวมทั้งมีสีขนที่เลอะ เพื่อแฝงตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ทำให้แลดูน่าเกลียดน่ากลัว แต่เป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร ได้แก่ ยอดไม้, ดอกไม้ รวมถึงแมลง และลูกไม้เนื้ออ่อน เป็นอาหาร มีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า มีส่วนหางที่สั้น มีเล็บที่นิ้วที่แหลมคมใช้สำหรับในการปีนต้นไม้และเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ รวมถึงสามารถห้อยหัวลงมาได้เหมือนค้างคาว บ่างจะหากินในเวลากลางคืนหรือโพล้เพล้ ส่วนในเวลากลางวันจะนอนหลับอยู่ตามโพรงไม้หรือคอมะพร้าว บ่าง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว เนื่องจากแม่บ่างสามารถรับน้ำหนักได้เพียงแค่นี้ ลูกบ่างจะเกาะติดกับหน้าอกแม่ดูดนมจากเต้านมแม่ซึ่งมี 2 คู่ แม้แต่เมื่อหากินหรือระหว่างร่อน ใช้เวลาโตเต็มที่ประมาณ 2-3 ปี บ่างแรกเกิดมักมีการพัฒนาไม่มากนักคล้ายสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้อง (Marsupialia) แม่บ่างจะเลี้ยงลูกไว้โดยให้เกาะที่ท้อง เวลาเกาะอยู่กับต้นไม้ โดยใช้ผังผืดระหว่างขาช่วงล่างสุดห่อคล้ายร่มหรือถุงเหมือนสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ในช่วงที่แม่บ่างเลี้ยงลูกจะยังไม่มีลูกใหม่ จนกว่าลูกตัวเดิมจะแยกตัวออกไปหากินเอง ซึ่งใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี แม่บ่างจะเลียฉี่และมูลของลูก ขณะที่ลูกบ่างจะกินมูลของแม่ด้วย ซึ่งภายในมีแบคทีเรียที่ช่วยในการย่อยอาหารซึ่งได้แก่ พืช ส่วนต่าง ๆ แต่พฤติกรรมการผสมพันธุ์ยังไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่ชัดบ่าง, "สีสันสัตว์โลก สเปเชี่ยล", สารคดีทางช่อง 9: 17 ธันวาคม 2556 บ่างอาศัยอยู่ในป่าดิบที่มีความอุดมสมบูรณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด ใน 2 สกุล และมีอีก 1 สกุล ซึ่งมี 2 ชนิด ที่ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับบ่าง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับช้าง

อันดับช้าง เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Proboscidea (/โพร-โบส-ซิ-เดีย/) มีลักษณะเด่น คือ เป็นสัตว์กินพืชที่มีร่างกายใหญ่โต มีจมูกและริมฝีปากบนยาว เรียกว่า "งวง" ที่เต็มไปด้วยกล้ามเนื้อ ใช้สำหรับหายใจ หยิบจับสิ่งของ และจับอาหารเข้าปาก มีฟันซี่หน้า 2 ซี่ บนขากรรไกรบนยาวใหญ่ และเจริญไปเป็น "งา" ฟันกรามมีขนาดใหญ่ โดยมากไม่เกิน 1 คู่ ขณะที่บางสกุล บางชนิด หรือบางวงศ์มีมากกว่านั้น ไม่มีฟันเขี้ยว ขาใหญ่ตรงลักษณะคล้ายต้นเสา ขาหน้ามีกระดูกเรเดียส และอัลนาร์สมบูรณ์ ขาหลังก็มีกระดูกทิเบีย และฟิบูลาสมบูรณ์ เท้ามีนิ้วข้างละ 5 นิ้ว แต่เล็บนิ้วก้อยบางตัวนั้น เมื่อโตขึ้นจะหายไป มีกระเพาะอาหารแบบธรรมดา ไม่ได้เป็นกระเพาะอาหารที่แบ่งเป็นห้อง ๆ แบบสัตว์เคี้ยวเอื้อง ตัวผู้มีลูกอัณฑะอยู่ในท้อง ไม่อยู่ในถุงห้อยออกมาอย่างสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป ขณะที่ตัวเมียมีมดลูกแยกเป็นไบคอร์เนาท์ มีเต้านม 1 คู่ อยู่ที่หน้าอกระหว่างขาหน้าทั้ง 2 ข้าง ปัจจุบัน หลงเหลือสัตว์ที่อยู่ในอันดับนี้เพียงวงศ์เดียว คือ Elephantidae 3 ชนิด (ไม่นับชนิดย่อย) คือ ช้างเอเชีย (Elephas maximus) ที่พบในทวีปเอเชีย, ช้างพุ่มไ้ม้แอฟริกา (Loxodonta africana) และช้างป่าแอฟริกา (L. cyclotis) พบในทวีปแอฟริกา ซึ่งจัดเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกในปัจจุบัน นอกจากนี้แล้ว สัตว์ในอันดับช้างยังมีความคล้ายคลึงกับสัตว์ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กคล้ายหนูตะเภาที่พบในแอฟริกาอีก ด้วยการที่มีฟันกรามและข้อต่อนิ้วเท้าที่คล้ายคลึงกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับพะยูน

อันดับพะยูน เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sirenia เดิมที สัตว์ในอันดับนี้ถูกจัดให้อยู่ในอันดับเดียวกับอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ด้วยเห็นว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเล และมีรูปร่างคล้ายคลึงกัน แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 1816 อ็องรี มารี ดูว์ครอแต เดอ แบล็งวีล นักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส เป็นบุคคลแรกที่ทำการแยกความแตกต่างระหว่างพะยูนกับโลมาและวาฬ ออกจากกันและจัดพะยูนเข้าไว้ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกีบในอันดับ Sirenia โดยนับว่าพะยูนมีบรรพบุรุษร่วมกันกับช้างมาก่อน คือ Paenungulata รวมถึงการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ของพะยูนสกุล Eotheroides ที่พบในประเทศอียิปต์ พบว่ามีลักษณะบางอย่างเหมือนและใกล้เคียงกันกับ Moeritherium ซึ่งเป็นต้นตระกูลของช้างยุคอีโอซีนตอนต้น (ประมาณ 40 ล้านปีมาแล้ว) Eotheroides เป็นสัตว์มี 4 ขา มีฟันครบและอาศัยอยู่ในน้ำ ต่อมามีวิวัฒนาการเพื่อให้อาศัยอยู่ในน้ำได้ดีขึ้น โดยที่ขาหลังจะลดขนาดลงและหายไปในที่สุด ส่วนขาหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบพายเพื่อให้เหมาะสมกับการว่ายน้ำ จากนั้นก็มีวิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ จนกลายมาเป็นพะยูนในปัจจุบัน อีกทั้ง แอนสท์ แฮคเคิล นักชีววิทยาชาวเยอรมันได้วิจัยเมื่อประมาณ 100 ปีก่อน โดยพบว่าตัวอ่อนของสัตว์ทั้งสองนี้มีโครงสร้างทางสรีระที่คล้ายกันมากจนในอดีตเมื่อ 40 ล้านปีก่อน ช้างและพะยูนมีต้นตระกูลร่วมกัน ถึงวันนี้มันก็ยังมีงวงและจมูกที่ใช้หายใจเหมือนกัน มีพฤติกรรมสืบพันธุ์ที่คล้ายคลึงกัน และเลี้ยงลูกด้วยนมเหมือนกัน ปัจจุบัน พะยูนได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 วงศ์ คือ Dugongidae และTrichechidae แบ่งได้เป็น 2 สกุล 4 ชนิด กระจายพันธุ์ไปในทะเลและแม่น้ำสายใหญ่ในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก กินอาหารจำพวก หญ้าทะเล, สาหร่ายและตะไคร่น้ำ เป็นอาหาร โดยพะยูนชนิดที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา คือ วัวทะเลชเตลเลอร์ (Hydrodamalis gigas) ที่อยู่ในวงศ์ Dugongidae ที่มีความยาวถึง 7 เมตร แต่ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปแล้วเมื่อราว 300 ปีก่อน โดยคำว่า "Sirenia" นั้นมาจากคำว่า "ไซเรน" ซึ่งเป็นอสูรกายที่อาศัยอยู่ในทะเลในเทพปกรณัมกรีก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับพะยูน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกบ

กบ เป็นอันดับของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anura (/อะ-นู-รา/) มีรูปร่างโดยรวม คือ เป็นสัตว์ไม่มีหาง เพราะกระดูกสันหลังส่วนหางได้เชื่อมรวมเป็นชิ้นเดียวยาว กระดูกสันหลังลดจำนวนลงมาจากสัตว์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เพราะมีไม่เกิน 9 ปล้อง มีขาหลังยาวจากการยืดของกระดูกทิเบียกับกระดูกฟิบูลาและของกระดูกแอสทรากากัสกับกระดูกแคลลาเนียม โดยมีบางส่วนเชื่อมติดกันและเต็มไปด้วยมัดกล้ามเนื้อแข็งแรง เพื่อใช้ในการกระโดด มีส่วนหัวที่ใหญ่และแบนราบ ปากกว้างมาก กบในระยะวัยอ่อนจะมีลักษณะแตกต่างไปจากตัวเต็มวัยอย่างชัดเจน เรียกว่า "ลูกอ๊อด" โดยมีรูปร่างคล้ายปลา มีส่วนหัวที่โตมาก มีหาง ไม่มีฟัน โดยในส่วนโครงสร้างของจะงอยปากเป็นสารประกอบเคอราติน หายใจด้วยเหงือกเหมือนซาลาแมนเดอร์ พฤติกรรมการกินอาหารของลูกอ๊อดจะแตกต่างกันไป โดยอาจจะกินแบบกรองกิน หรือกินพืช และกินสัตว์ เมื่อเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัยจึงเปลี่ยนลักษณะการกิน รวมทั้งเปลี่ยนสภาพโครงสร้างของอวัยวะระบบย่อยอาหารรวมทั้งระบบอวัยวะอย่างอื่น ซึ่งการเปลี่ยนรูปร่างของกบนั้นจะต่างจากซาลาแมนเดอร์เป็นอย่างมาก การสืบพันธุ์ของกบนั้นมีหลากหลายมาก ส่วนการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นภายนอกตัว โดยทั้ง 2 เพศมีพฤติกรรมกอดรัดกันระหว่างผสมพันธุ์ กบส่วนมากจะป้องกันดูแลไข่ นอกจากบางชนิดเท่านั้นที่เก็บไข่ไว้บนหลัง ที่ขา ในถุงบนหลัง หรือในช่องท้อง หรือบางชนิดวางไข่ติดไว้กับพืชน้ำที่เติบโตในน้ำหรือบนกิ่งไม้ของต้นไม้เหนือน้ำและเฝ้าไข่ไว้ การปฏิสนธิที่เกิดขึ้นภายในตัวจะพบเพียงกับกบบางชนิดเท่านั้น เช่น Ascaphus truei เป็นต้น และการเจริญของเอมบริโอภายในไข่และวัยอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างเป็นเหมือนตัวเต็มวัยเลย โดยไม่ผ่านขั้นการเป็นลูกอ๊อดเกิดขึ้นกับหลายสกุลในหลายวงศ์ อาทิ สกุล Hemiphractus และStefania เป็นต้น กบ เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดมาแล้วราว 200 ล้านปีก่อน และเป็นสัตว์ที่อยู่รอดพ้นมาได้จากการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ที่ทำให้ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ โดยนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาถึงเรื่องนี้ เชื่อว่า เพราะกบเป็นสัตว์ที่หลบซ่อนตัวอยู่ใต้ดินได้อย่างเป็นดี และเป็นสัตว์ที่ปรับตัวได้ดีให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศแบบใหม่ จากการศึกษาพบว่า กบในยุคปัจจุบันราวร้อยละ 88 เป็นกบที่มีที่มาจากอดีตที่สามารถย้อนไปไกลได้ถึง 66–150 ล้านปีก่อน โดยศึกษาจากการตรวจสอบทางพันธุกรรมและเปรียบเทียบระดับยีนและโมเลกุลระหว่างกบในยุคปัจจุบัน และซากดึกดำบรรพ์ของกบในยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยพบว่า กบใน 3 วงศ์ คือ Microhylidae หรืออึ่งอ่าง, Natatanura ที่พบในทวีปแอฟริกา และHyloidea ที่พบในทวีปอเมริกาใต้ เป็นกบที่สืบสายพันธุ์มาจากกบในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และปัจจุบันได้มีการสืบสายพันธุ์และแตกแขนงทางชีววิทยาไปทั่วโลก ปัจจุบัน ได้มีการอนุกรมวิธานกบออกเป็นวงศ์ทั้งหมด 27 วงศ์ ใน 419 สกุล ปัจจุบันพบแล้วกว่า 6,700 ชนิด นับว่าเป็นอันดับที่มีความหลากหลายมากที่สุดของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และก็ยังคงมีการค้นพบชนิดใหม่ขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี ประมาณ 60 ชนิดต่อปี โดยกบส่วนใหญ่จะพบในเขตร้อน โดยใช้หลักการพิจารณาจาก โครงสร้างกระดูก, กล้ามเนื้อขา, รูปร่างลักษณะของลูกอ๊อด และรูปแบบการกอดรัด เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับกบ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกระแต

ฟันของกระแต กระแต (1920.) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กอันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Scandentia กระแต มีลักษณะโดยรวมคล้ายกับกระรอก ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) รวมทั้งมีพฤติกรรมความเป็นอยู่ที่คล้ายกัน หากแต่กระแตมีปากยื่นยาวกว่ากระรอก มีฟันเล็กหลายซี่ ไม่ได้เป็นฟันแทะ แบ่งออกเป็นฟันตัด 4 ซี่ ที่ขากรรไกรบน และ 6 ซี่ที่ขากรรไกรล่าง สามรถเขียนเป็นสูตรได้ว่า จึงไม่สามารถที่จะกัดแทะผลไม้หรือไม้เปลือกแข็งอย่างกระรอกได้ และมีนิ้วที่ขาคู่หน้า 5 นิ้ว ที่เจริญและใช้ในการหยิบจับได้ดี เหมือนเช่นสัตว์ในอันดับไพรเมต (Primate) หรืออันดับวานร กระแตมีขนปกลุมลำตัวสีเขียวหรือสีน้ำตาลเหมือนกระรอก มีหางยาวประมาณ 12-19 เซนติเมตร กระแต นั้นหากินทั้งบนพื้นดิน โคนต้นไม้ และบนต้นไม้ กินได้ทั้งพืช และสัตว์เล็ก ๆ อย่าง แมลง หรือหนอน เป็นอาหาร โดยมากจะหากินในเวลากลางคืน และอาศัยอยู่ตามลำพังเพียงตัวเดียว แต่บางครั้งก็พบอยู่ด้วยกัน 2-3 ตัว เป็นฝูงเล็ก ๆ ออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว โดยที่ก็ตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่กว่า เช่น ชะมด หรืออีเห็น, แมวป่า หรือนกล่าเหยื่อ อย่าง เหยี่ยว หรืออินทรี ด้วย กระแต กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในป่าทวีปเอเชียแถบเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีทั้งหมด 19 ชนิด 5 สกุล แบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ (ดูในตาราง) พบในประเทศไทย 5 ชนิด คือ กระแตเหนือ (Tupaia belangeri) และกระแตใต้ หรือกระแตธรรมดา (T. glis), กระแตเล็ก (T. minor), กระแตหางขนนก (Ptilocercus lowii) และกระแตหางหนู (Dendrogale murina) เดิม กระแตเคยถูกจัดรวมอยู่อันดับเดียวกับอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) เช่น หนูผี แต่ปัจจุบันได้ถูกแบ่งออกเป็นอันดับต่างหาก และกระแตถูกสันนิษฐานว่ามีบรรพบุรุษร่วมกันกับอันดับไพรเมตด้วย ด้วยมีนิ้วที่เท้าหน้าคล้ายคลึงกัน โดยวิวัฒนาการแยกออกจากกันในยุคอีโอซีนตอนกลาง.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับกระแต · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกิ้งก่าและงู

อันดับกิ้งก่าและงู (Lizard and Snake) เป็นอันดับของสัตว์เลื้อยคลานที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ ใช้ชื่อว่า Squamata (/สะ-ควอ-มา-ตา/) นับเป็นอันดับที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดและพบได้หลากหลายกว้างขวางมากที่สุด โดยอันดับนี้แบ่งได้เป็น 2 อันดับย่อย คือ Lacertilia หรือ อันดับย่อยกิ้งก่า กับ Serpentes หรือ อันดับย่อยงู การที่รวมสัตว์เลื้อยคลานทั้ง 2 ประเภทนี้ไว้ด้วยกัน เหตุเพราะมีโครงสร้างบางอย่างที่ร่วมกันถึง 70 ประการ โดยงูนั้นมีวิวัฒนาการมาจากกิ้งก่าในวงศ์ Amphisbaenidae ที่มีการลดรูปของขา นอกจากนั้นแล้วยังมีกล้ามเนื้อ, กระดูก, กะโหลก, อวัยวะถ่ายอสุจิที่เป็นถุงพีนิสคู่ แต่มีความแตกต่างกันทางด้านสรีระ พฤติกรรม และการทำงานของโครงสร้างอวัยวะ ทั้งกิ้งก่าและงูมีเกล็ดปกคลุมลำตัว โดยมีปริมาณ ลักษณะ และจำนวนที่ปกคลุมอวัยวะแต่ละส่วนแตกต่างกันตามลักษณะทางอนุกรมวิธาน กิ้งก่าบางชนิดมีกระดูกในชั้นหนังซ้อนอยู่ใต้เกล็ดซึ่งไม่มีในงู พื้นผิวลำตัวของกิ้งก่ามีต่อมผิวหนังไม่มากแต่บริเวณด้านหน้าช่องเปิดทวารร่วมและทางด้านในของต้นขาหลังของกิ้งก่าหลายชนิดมีต่อมผิวหนังค่อนข้างมาก ซึ่งสังเคราะห์สารเคมีเพื่อใช้ในการกำหนดอาณาเขตและหน้าที่ประการต่าง ๆ ซึ่งจำนวนต่อมดังกล่าวนี้อีกทั้งตำแหน่งที่ตั้งแตกต่างกันระหว่างเพศ โดยตัวผู้จะมีมากกว่าและใหญ่กว่า ซึ่งต่อมดังกล่าวนี้ยังใช้เป็นลักษณะในการจำแนกประเภทอีกด้วย กิ้งก่าและงูหลายชนิดสามารถปล่อยท่อนหางให้หลุดจากลำตัวเพื่อหนีเอาตัวรอดจากศัตรูได้ เช่น ในวงศ์จิ้งเหลน (Scincidae) บางตัวอาจหลุดได้หลายครั้งในช่วงชีวิต เหตุที่หลุดและงอกใหม่ได้เนื่องจากลักษณะการเรียงตัวของกล้ามเนื้อกับเนื้อเยื่อที่เกี่ยวพันซึ่งอาจมีตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เมื่อหางหลุดไปแล้วอาจงอกขึ้นมาใหม่สั้นกว่าเดิมหรือใช้เวลานานกว่าจะเท่าเดิม เพราะมีแกนเป็นแท่งกระดูกอ่อนทดแทนปล้องของกระดูกสันหลังแทน แต่ส่วนของงูแล้วเมื่อหลุดไปแล้วไม่อาจงอกใหม่ได้ กิ้งก่าในหลายวงศ์ ได้ลดรูปของขาลงจนหดเล็กสั้นจนดูเหมือนไม่มีขา รวมทั้งนิ้วด้วย เพื่อเป็นประโยชน์ในการอาศัยอยู่ในโพรงดิน เช่น จิ้งเหลนด้วง เป็นต้น อวัยวะถ่ายอสุจิของตัวผู้ของกิ้งก่าและงูจะมีลักษณะเป็นถุงพีนิสอยู่ทางด้านท้ายของช่องเปิดทวารร่วม พื้นผิวด้นนอกจะเป็นร่องเพื่อใช้เป็นเส้นทางในการลำเลียงตัวอสุจิเข้าสู่ช่องทวารร่วมของตัวเมียขณะผสมพันธุ์ ซึ่งถุงนี้มีลักษณะเป็นหนามและเป็นสันซึ่งอยู่ทางด้านหน้าของถุง ซึ่งลักษณะรูปร่างและหนามของถุงนี้จะแตกต่างกันไปตามวงศ์ เช่น กิ้งก่าในวงศ์เหี้ย (Varanidae) มีแท่งกระดูกอยู่ภายในถุงเพื่อเสริมให้มั่นคงขณะผสมพันธุ์ ขณะเดียวกันในตัวเมียก็มีกระดูกดังกล่าว แต่มีขนาดเล็กมาก ขยายพันธุ์ได้ด้วยการวางไข่และตกลูกเป็นตัว ซึ่งปริมาณและจำนวนที่ออกมาแตกต่างกันไปตามวงศ์, สกุล และชนิด แต่ในส่วนของกิ้งก่าแล้วมีเพียงร้อยละ 20 เท่านั้นที่ตกลูกเป็นตัว อีกทั้งยังมีบางส่วนที่เกิดได้โดยไม่ผ่านการผสมพันธุ์ด้วย เช่น ในวงศ์เหี้ย, Leiolepidinae หรือ แย้ หรืองูในวงศ์ Typhlopidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับกิ้งก่าและงู · ดูเพิ่มเติม »

อันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่

อันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่ (อันดับย่อย: Anabantoidei) เป็นอันดับย่อยของปลาที่อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ซึ่งทั้งหมดเป็นปลาที่อยู่ในน้ำจืดทั้งหมด โดยจะพบในทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anabantoidei (/อะ-นา-เบน-ทอย-เดีย/) ส่วนมากเป็นปลาที่มีขนาดเล็ก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ไม่เกินฝ่ามือของมนุษย์ แต่จะมีบางสกุลเท่านั้นที่ใหญ่ได้ถึงเกือบหนึ่งเมตร ได้แก่ Osphronemus หรือสกุลปลาแรด ปลาในอันดับนี้จะถูกเรียกในชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า "Labyrinth fish" หรือ "ปลาที่มีอวัยวะช่วยในการหายใจ" เพราะปลาในอันดับนี้จะมีอวัยวะช่วยในการหายใจอยู่ในเหงือก เรียกว่า "อวัยวะเขาวงกต" (Labyrinth organ) จึงทำให้สามารถฮุบอากาศจากบนผิวน้ำได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอให้ออกซิเจนละลายในน้ำผ่านซี่กรองเหงือกเหมือนปลาทั่วไป Pinter, H. (1986).

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับย่อยเต่า

อันดับย่อยเต่า (Turtle, Tortoise, Soft-shell turtle) เป็นอันดับย่อยของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับเต่า (Testudines) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cryptodira ลักษณะร่วมของเต่าในอันดับย่อยนี้ คือ สามารถยืดหรือหดหัวหรือส่วนคอเข้าไปในกระดองได้ แต่สามารถกระทำได้ในแนวดิ่งขึ้นลงหรือซ้อนทางด้านบนได้เท่านั้น ซึ่งเป็นลักษณะของเต่าส่วนใหญ่ แต่ก็มีบางวงศ์ที่ไม่สามารถทำเช่นนั้นได้ เนื่องจากมีส่วนหัวที่ใหญ่ ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับย่อยเต่า · ดูเพิ่มเติม »

อันดับลิ่น

ลิ่น หรือ นิ่ม หรือที่นิยมเรียกกันว่า ตัวลิ่น หรือ ตัวนิ่ม จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วย ชั้ ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนนม ที่อยู่ในอันดับ Pholidota จัดเป็นสัตว์ที่มีเพียงวงศ์เดียว คือ Manidae และสกุลเดียว คือ Manis ลิ่นเป็นสัตว์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับอาร์มาดิลโล หรือ สัตว์ที่อยู่ในอันดับ Cingulata ที่พบได้ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ขณะที่ลิ่นจะพบได้ที่ทวีปเอเชียและแอฟริกา ลิ่นทุกชนิดจะมีส่วนหน้าที่ยาว มีปากขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นรูเล็ก ๆ ไม่มีฟัน กินอาหารโดยการใช้ลิ้นที่ยื่นยาวและน้ำลายที่เหนียวตวัดกินแมลงตามพื้นดิน จำพวก มดและปลวกหรือหนอนขนาดเล็ก และมีลำตัวที่ปกคลุมด้วยเกล็ดเป็นชิ้น ๆ เหมือนกับสัตว์เลื้อยคลาน ทำหน้าที่เหมือนชุดเกราะเพื่อใช้ในการป้องกันตัว เมื่อถูกรุกรานลิ่นจะลดลำตัวเป็นวงกลม ขณะที่ส่วนท้องจะไม่มีเกล็ด ซึ่งจะถูกโจมตีได้ง่าย ลิ่นมีเล็บที่แหลมคมและยื่นยาว ใช้สำหรับขุดพื้นดินหาอาหารและขุดโพรงเป็นที่อยู่อาศัยและพักผ่อน และปีนต้นไม้ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน ลิ่นออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 1-2 ตัว ตั้งท้องนานราว 130 วัน เมื่อแรกเกิด ลูกลิ่นจะมีเกล็ดติดตัวมาตั้งแต่เกิด และจะเกาะกับแม่ตรงบริเวณโคนหาง ซึ่งลูกลิ่นวัยอ่อนจะยังไม่มีเกล็ดแข็งเหมือนกับลิ่นวัยโต แต่จะค่อย ๆ แข็งขึ้นเรื่อย ๆ ตามการเจริญเติบโต ลิ่นมีทั้งหมด 8 ชนิด (ดูในตาราง) กระจายพันธุ์ไปในทวีปแอฟริกาและเอเชีย สำหรับในประเทศไทยพบ 2 ชนิด คือ ลิ่นซุนดา หรือ ลิ่นชวา (M. javanica) ที่พบได้ทั่วไปทุกภาค กับลิ่นจีน (M. pentadactyla) ที่มีรายงานการพบเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น บริเวณอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เมื่อปี พ.ศ. 2483 ซึ่งมีขนาดลำตัวที่เล็กกว่า หางสั้นกว่า และมีสีที่คล้ำกว่า ลิ่นซุนดา ในปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าที่นิยมอย่างมากในการรับประทานในหมู่ของผู้ที่นิยมรับประทานสัตว์ป่าหรือของแปลก ๆ โดยมีราคาขายสูงถึงกิโลกรัมละ 2,000-3,000 บาท หากตัวไหนที่มีน้ำหนักมากอาจมีราคาสูงถึง 3,500 บาท ทำให้มีการลักลอบค้าตัวลิ่นอยู่บ่อย ๆ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคใต้ เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด และอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า เป็นต้น และในความเชื่อของชาวจีน เชื่อว่า เกล็ดของลิ่นช่วยในการรักษาโรคกระเพาะ โดยผู้ที่เข้าป่าหาตัวลิ่นจะใช้สุนัขดมกลิ่นตามล่า หากลิ่นปีนขึ้นต้นไม้ ก็จะใช้การตัดต้นไม้ต้นนั้นทิ้งเสีย โดยการค้าตัวลิ่นถือว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย เพราะลิ่นไม่ว่าชนิดไหน ในประเทศไทย ถือว่าเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และมีกฎหมายคุ้มครองระหว่างประเทศอีกด้วย ผู้กระทำผิดจะได้รับโทษปรับไม่เกิน 40,000 บาท จำคุก 4 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งคำว่า "Pangolin" ซึ่งเป็นคำศัพท์ในภาษาอังกฤษที่เรียกลิ่นนั้น มาจากภาษามลายูคำว่า Peng-goling แปลว่า "ไอ้ตัวขด".

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

อันดับวานร

อันดับวานร หรือ อันดับไพรเมต (Primate) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันได้แก่ สัตว์จำพวกลีเมอร์, ลิง และลิงไม่มีหาง ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย มีชื่อสามัญเรียกกันโดยทั่วไปว่า ไพรเมต จึงกล่าวได้ว่าสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแอฟริกา, ตอนล่างของทวีปเอเชีย, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่ชนิดในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเม็กซิโก โดยที่ไม่พบในทวีปยุโรป และทวีปออสเตรเลีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Primates.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับวานร · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสัตว์กีบคู่

อันดับสัตว์กีบคู่ เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Artiodactyla (/อา-ทิ-โอ-แดค-ทิ-ล่า/) มีลักษณะเด่น คือ มีนิ้วเท้าที่เป็นกีบที่เป็นคู่ แตกต่างไปจากสัตว์ที่อยู่ในอันดับสัตว์กีบคี่ (Perissodactyla) ซึ่งมีกีบนิ้วเท้าเป็นจำนวนคี่ ทั้งสองอันดับล้วนแต่เป็นสัตว์กินพืช ที่จะกินพืชลักษณะแตกต่างกันออกไปตามสกุลและวงศ์ หรือชนิด กระจายพันธุ์ออกไปในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นโอเชียเนีย ปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 10 วงศ์ ราว 220 ชนิด โดยแบ่งออกได้เป็น 3 อันดับย่อย โดยแบ่งตามลักษณะของกระเพาะอาหาร โดยแบ่งออกเป็นห้อง ๆ หรือส่วน คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับสัตว์กีบคู่ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง

ัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง หรือ สัตว์มีถุงหน้าท้อง (อันดับ: Marsupialia; Marsupial) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับหนึ่ง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับต่าง ๆ ได้อีกจำนวนหนึ่ง (ดูในตาราง) สัตว์ในอันดับนี้ มีความแตกต่างและหลากหลายในแง่ของรูปร่าง ลักษณะ และขนาดเป็นอย่างมาก แต่มีลักษณะเด่นที่มีความเหมือนกันประการหนึ่ง คือ จะออกลูกเป็นตัว โดยตัวเมียมีถุงหน้าท้อง ตัวอ่อนของสัตว์ในอันดับนี้เจริญเติบโตในมดลูกในช่วงระยะเวลาสั้น มีสะดือและสายรกด้วย แล้วจะคลานย้ายมาอยู่ในถุงหน้าท้องดูดกินนมจากแม่ ก่อนจะเจริญเติบโตในถุงหน้าท้องหรือกระเป๋าหน้าท้องนี้จนโต บางครั้งเมื่อยังโตไม่เต็มที่ จะเข้า-ออกระหว่างข้างออกกับกระเป๋าหน้าท้องเป็นปกติ ซึ่งสัตว์ในอันดับนี้ที่เป็นที่รู้จักดี ได้แก่ จิงโจ้, โคอาลา, โอพอสซัม, ชูการ์ไกลเดอร์, วอมแบต, แทสเมเนียนเดวิล เป็นต้น ซึ่งสัตว์ในอันดับนี้ล้วนแต่จะพบเฉพาะในทวีปออสเตรเลียและบางส่วนของนิวกินี และพบในบางส่วนของทวีปอเมริกา ทั้งอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ หลายชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้ว เช่น หมาป่าแทสมาเนีย (Thylacinus cynocephalus) หรือไดโปรโตดอน (Diprotodon spp.) เป็นต้น โดยคำว่า Marsupialia นั้นมาจากภาษาละติน แปลว่า "กระเป๋า หรือ ถุง".

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับหนูผีช้าง

หนูผีช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง พบในทวีปแอฟริกา มีรูปร่างคล้ายหนูซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่กลับมีจมูกยื่นยาวเหมือนงวงช้าง ซึ่งในความจริงแล้ว หนูผีช้างเดิมเคยถูกจัดเป็นสัตว์ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) และอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) แต่ปัจจุบัน ถูกแยกออกมาเป็นอันดับต่างหาก คือ อันดับ Macroscelidea หนูผีช้าง มีชื่อเรียกในภาษาเบนตูว่า เซงกิส (Sengis) เป็นสัตว์ที่พบเห็นได้ยาก ออกหากินในเวลากลางคืน ปัจจุบันพบมีทั้งหมด 15 ชนิด ในทั้งหมด 4 สกุล และวงศ์เดียว โดยชนิดที่พบล่าสุด ได้ถูกอนุกรมวิธานเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2008 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 2 คน ซึ่งได้พบเจอครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 2005 ที่ป่าใจกลางประเทศแทนซาเนีย ทางแอฟริกาตะวันออก และได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchocyon udzungwensis นับว่าเป็นการค้นพบหนูผีช้างชนิดใหม่ในรอบ 126 ปี หนูผีช้าง กินแมลงตามพื้นดินเป็นอาหาร เป็นสัตว์ที่พบอยู่เฉพาะในทวีปแอฟริกาเท่านั้น มีพฤติกรรมที่ครองคู่เพียงตัวเดียวตลอดชีวิต จากการศึกษาในระดับโมเลกุลในห้องปฏิบัติการพบว่ามีความใกล้ชิดกับช้างมากกว่าสัตว์ในอันดับใด ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยจัดเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับใหญ่ แอโฟรธีเรีย (Afrotheria) ที่มีวิวัฒนาการอยู่ในแอฟริกามากว่า 100 ล้านปีแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับหนูผีช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับห่าน

อันดับห่าน หรือ อันดับเป็ด (Duck, Goose, Swan, Teal, Screamer, Waterfowl) เป็นอันดับของสัตว์ปีกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anseriformes นกในอันดับหานมีขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญมาก มีขนาดลำตัวยาวตั่งแต่ 29 – 152 เซนติเมตร ไดแก ห่านและนกเป็ดน้ำตาง ๆ ปากของนกในอันดับนี้แตกตางจากปากของนกในอันดับอื่นอยางชัดเจนคือ ปากแบนและกวาง ปลายปากมีลักษณะคลายเล็บและเปนขอเล็กนอย รูจมูกทะลุถึงกัน นิ้วมี 4 นิ้ว เหยียดไปขางหลัง 1 นิ้ว และเหยียดไปขางหนา 3 นิ้ว นิ้วหนามีพังผืด นิ้วแบบตีนพัด นิ้วหลังเปนนิ้วตางระดับ ขนปลายปกมี 10 เสน ขนกลางปกเปนแบบไมมีขนกลางปกเสนที่ 5 ขนแตละเสนมีแกนขนรองเล็กหรือไมมี ดานขางของคอมีขน ตัวเต็มวัยมีขนอุยปกคลุมลำตัว มีตอมน้ำมันลักษณะเปนพุมขน ทำให้เมื่อลงน้ำแล้วขนจะไม่อุ้มน้ำ ไม่ทำให้ตัวหนัก นกในอันดับหานเปนนกน้ำหรือกึ่งน้ำกึ่งบก สามารถวายน้ำรวมถึงดำน้ำไดดี อาหารไดแก สัตวตัวเล็กต่าง ๆ และพืช ปกติทำรังโดยใชขนวางตามพื้นดิน บางชนิดทำรังตามโพรงตนไม วางไขครอกละ 3 – 15 ฟอง เปลือกไขสีขาวหรือสีเนื้อหรือสีออกเขียวเปนมัน ลูกนกแรกเกิดมีสภาพเปนลูกออนเดินได มีกระจายพันธุ์ทั่วทั้งโลกประมาณ 140 – 150 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับห่าน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับจระเข้

อันดับจระเข้ (Crocodile, Gharial, Alligator, Caiman) เป็นอันดับของสัตว์เลื้อยคลานโบราณที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crocodilia หรือ Crocodylia ที่รู้จักกันดีในชื่อของ "จระเข้" โดยอันดับนี้ปรากฏขึ้นมาบนโลกมาตั้งแต่ยุคครีเตเชียส (84 ล้านปีมาแล้ว) จนถึงปัจจุบัน เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ มีแผ่นแข็งและหนาปกคลุมลำตัวคล้ายเกล็ด แผ่นแข็งที่ปกคลุมลำตัวด้านหลังมีกระดูกชิ้นใหญ่อยู่ในชั้นหนังซึ่งในหลายชนิดมีกระดูกในชั้นหนังทางด้านท้องด้วย แผ่นแข็งของวงศ์ Crocodylidae และวงศ์ Gavialidae มีแอ่งทำหน้าที่รับรู้ความรู้สึกสัมผัสได้ ส่วนของปลายหัวยื่นยาวและมีฟันอยู่ในแอ่งของขากรรไกร ตามีแผ่นหนังโปร่งใสคลุมทับขณะดำน้ำ หางมีขนาดใหญ่ ขามีขนาดใหญ่แต่สั้นและแข็งแรงและมีแผ่นหนังเรียกว่าพังผืดยิดติดระหว่างนิ้ว ใช้ในการว่ายน้ำ ในวงศ์ Crocodylidae และวงศ์ Gavialidae มีต่อมขจัดเกลืออยู่บนลิ้น เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ แบ่งออกได้เป็น 3 วงศ์ (ดูในตาราง) ปัจจุบันพบทั้งหมด 25 ชนิด แต่ในบางข้อมูลอาจจัดให้อยู่ในวงศ์เดียวกันหมด แต่แบ่งออกมาเป็นวงศ์ย่อย โดยเฉพาะความสัมพันธ์กันระห่างสกุล Tomistoma กับ สกุล Gavialis เพราะการวิเคราะห์ทางกายภาคจัดว่า Tomistoma นั้นอยู่ในวงศ์ Crocodylidae แต่การวิเคราะห์ทางโมเลกุล พบว่าใกล้เคียงกับสกุล Gavialis ที่อยู่ในวงศ์ Gavialidae มากกว่า (ในบางข้อมูลอาจจะยังจัดให้อยู่ในวงศ์ Crocodylidae) เป็นสัตว์กินเนื้อ ที่หากินในน้ำเป็นหลัก จึงมีสภาพของร่างกายใช้ชีวิตได้ดีเมื่ออยู่ในน้ำ กล่าวคือ ช่องเปิดจมูกอยู่ทางด้านบนตรงส่วนปลายสุดของส่วนหัวที่ยื่นยาวและช่องเปิดจมูกมีแผ่นลิ้นปิดได้อยู่ใต้น้ำ อุ้งปากมีเพดานปากทุติยภูมิเจริญขึ้นมาจึงแยกปากออกจากโพรงจมูกได้สมบูรณ์ โพรงจมูกทางด้านท้ายสุดของเพดานปากทุติยภูมิมีแผ่นลิ้นปิดเช่นเดียวกัน ซึ่งทำให้สามารถหายใจได้เมื่ออยู่ในน้ำขณะที่คาบอาหารอยู่ นอกจากนี้แล้วยังมีแผ่นเยื่อแบ่งแยกช่องอกออกจากช่องท้องซึ่งแผ่นเยื่อนี้ทำหน้าที่เหมือนกะบังลมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแต่เจริญจากเนื้อเยื่อที่ต่างกัน ปอดจึงมีถุงลมที่เจริญกว่าปอดของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับอื่น การแลกเปลี่ยนก๊าซจึงมีประสิทธิภาพสูงกว่า หัวใจมี 4 ห้องและมีลักษณะโครงสร้างคล้ายคลึงกับหัวใจของสัตว์ปีก ซึ่งเป็นสัตว์ในชั้นที่วิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานจำพวกไดโนเสาร์เช่นกัน แต่การปะปนกันของเลือดยังคงเกิดขึ้นบ้างทางช่องตรงตำแหน่งที่หลอดเลือดแดงซีสทีมิกซ้ายและหลอดเลือดแดงซิสทีมิกขวาทอดข้ามกัน และสามารถควบคุมการไหลเวียนของเลือดให้ไปเฉพาะสมองได้ขณะดำน้ำ ขณะอยู่บนบกแม้ไม่คล่องเท่าอยู่ในน้ำ แต่ก็เดินหรือวิ่งได้ดี โดยจะใช้ขายกลำตัวขึ้น และมีรายงานว่า จระเข้น้ำจืดออสเตรเลีย (Crocodylus johnsoni) สามารถกระโดดเมื่ออยู่บนบกได้ด้วย ภาพของสัตว์ในอันดับจระเข้ชนิดต่าง ๆ เมื่อเทียบกับมนุษย์ (สีแดง & สีส้ม-สูญพันธุ์ไปแล้ว) ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ในดินหรือทรายริมตลิ่งที่ปะปนด้วยพืชจำพวกหญ้าหรือวัชพืชต่าง ๆ ปกคลุม หรือในบางพื้นที่อาจวางไข่ในแหล่งน้ำหรือพื้นที่เปิดโล่ง ทั้งตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแลไข่จนกระทั่งฟักออกมา ซึ่งมีความรักและผูกพันต่อลูกมาก ซึ่งเป็นลักษณะการดูแลลูกของสัตว์ในอันดับอาร์โคซอร์ เช่นเดียวกับสัตว์ปีกและไดโนเสาร์ การกำหนดเพศของตัวอ่อนขึ้นอยู่กับปัจจัยทางอุณหภูมิ อาหารส่วนมากเป็นสัตว์น้ำ แต่ก็อาจจะกินสัตว์อย่างอื่นหรือแม้กระทั่งสัตว์ที่ใหญ่กว่าได้ โดยมีมักหากินในเวลากลางคืน โดยลากลงไปในน้ำและใช้วิธีกดให้เหยื่อจมน้ำตายก่อนแล้วจึงกิน นับเป็นสัตว์กินเนื้อที่มีประสิทธิภาพในการล่าเหยื่อสูงมากจำพวกหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก และพบได้จนถึงแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม เช่น ปากแม่น้ำหรือป่าโกงกาง แม้ส่วนใหญ่จะอาศัยและหากินในน้ำจืดเป็นหลักก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับจระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับทัวทารา

อันดับทัวทารา (Tuatara) เป็นอันดับของสัตว์เลื้อยคลานอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchocephalia สัตว์เลื้อยคลานในอันดับนี้ เดิมเคยมีอยู่หลากหลายชนิด และหลายวงศ์ มีการแพร่กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง แต่จนถึงปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปเกือบหมดแล้ว ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันนี้อยู่เพียงวงศ์เดียว และมีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์เฉพาะในหมู่เกาะของนิวซีแลนด์เท่านั้น สันนิษฐานว่าสัตว์เลื้อยคลานในอันดับทัวทาราเป็นบรรพบุรุษของ Squamata หรือ งูและกิ้งก่า เนื่องจากมีลักษณะร่วมกันหลายประการ เช่น ช่องเปิดทวารร่วมเป็นรอยผ่าตามขวางลำตัว, ลิ้นมีรอยหยักทางด้านหน้า, กระบวนการลอกของผิวหนัง, การเกาะติดของฟันติดกับพื้นผิวกระดูกโดยตรง, ตำแหน่งที่ปล่อยหางหลุดจากลำตัว, มีถุงขนาดเล็กที่อยู่ด้านท้ายของห้องทวารร่วมซึ่งเปรียบเทียบได้กับถุงพีนิสของงูและกิ้งก่า รวมทั้งโครงสร้างทางกายวิภาคหลายประการ แต่ก็ยังมีลักษณะที่แตกต่างไปออกจาก Squamata เช่น กระดูกควาเดรทเป็นชิ้นเล็ก, มีกระดูกแกสทราเลียในกล้ามเนื้อผนังช่องท้อง, ฟันบนกระดูกพาลาทีนมีขนาดใหญ่, ก้านกระดูกโคโรนอยด์ของขากรรไกรล่างเป็นชิ้นใหญ่ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับทัวทารา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับด้วง

้วง หรือ แมลงปีกแข็ง (Beetle) จัดเป็นแมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับย่อยอีก 4 อันดับ (ดูในตาราง) จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตสมบูรณ์ คือ เป็น ไข่, หนอน, ดักแด้ และตัวเต็มวัย ด้วง หรือ แมลงปีกแข็งนั้น นับเป็นแมลงที่มีจำนวนมากที่สุดในโลก กล่าวคือ มีประมาณร้อยละ 40 ของแมลงที่มีอยู่ทั้งหมด (ประมาณ 400,000 ชนิด) มีลักษณะเด่นโดยรวม คือ ในวัยเต็มตัวจะมีปีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกที่มีความแข็งเท่ากันหรือเกือบเท่ากันตลอดทั้งแผ่น เรียกว่า Elytra ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἔλυτρον) ซึ่งหมายถึง แผ่น หรือ ปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยู่ปีกคู่หลังจะพับซ้อนกันอย่างมีระเบียบและซ่อนอยู่ภายใต้ปีกคู่หน้าอย่างมิดชิด และเมื่อต้องการบิน ปีกคู่หลังนี้จะกางออก โดยการเปิดกางออกของปีกคู่หน้าขึ้นก่อนที่จะเหยียดกางปีกคู่หลังนี้ออกมาบินอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาที่จะเกาะหรือคลาน จะหุบปีกโดยปีกคู่หน้าจะประกบกันสนิทเป็นเส้นตรงอยู่ตรงกลางลำตัว ปีกคู่หน้าจึงทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันตัวและปีกคู่หลัง ในขณะที่บินปีกคู่หน้านี้จะไม่ช่วยในการบินแต่จะช่วยในการทรงตัว อย่างไรก็ตาม จะมีด้วงบางชนิดที่ปีกคู่หน้าเชื่อมติดกัน จึงไม่สามารถบินได้ และบางชนิดก็มีปีกคู่หน้าเล็กหรือสั้นกว่าลำตัวมากจนไม่สามารถปิดส่วนท้องได้สนิท.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับด้วง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาลิ้นกระดูก

อันดับปลาลิ้นกระดูก (อังกฤษ: Bony tongues fish) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่งที่มีวิวัฒนาการไม่ต่างจากปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์มากนัก ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Osteoglossiformes (/ออส-ที-โอ-ฟอร์-เมส/) จากฟอสซิลอายุกว่า 60 ล้านปี ที่ค้นพบในทวีปอเมริกาเหนือ บรรพบุรุษของปลาในอันดับนี้มีขนาดใหญ่ ยาวกว่า 14 ฟุต มีลักษณะพิเศษคือ บริเวณส่วนหัวและลิ้นเป็นกระดูกแข็ง อันเป็นที่มาของชื่อ ทั้งหมดเป็นปลาน้ำจืด ไม่พบในทะเล เป็นปลากินเนื้อ มีการกระจายพันธุ์ทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่น พบทั้งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียใต้, ทวีปแอฟริกา, ทวีปอเมริกาใต้, ทวีปออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาลิ้นกระดูก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาสเตอร์เจียน

Peipiaosteidae - ''Yanosteus longidorsalis'' อันดับปลาสเตอร์เจียน (อันดับ: Acipenseriformes, Sturgeon, Paddlefish) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ที่อยู่ในชั้นย่อย Chondrostei เช่นเดียวกับปลาในอันดับ Polypteriformes หรือ ปลาไบเคอร์ ซึ่งเป็นปลาน้ำจืดที่พบในทวีปแอฟริกา ปลาในอันดับปลาสเตอร์เจียน นี้เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ อาจยาวเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 5-10 เมตร เป็นปลาน้ำจืดที่จัดเป็นปลาสองน้ำ ที่มีวงจรชีวิตในช่วงวัยอ่อนอยู่ในชายฝั่งหรือปากแม่น้ำ มีรูปร่างโดยทั่วไปภายนอกคล้ายปลาฉลาม ที่เป็นปลากระดูกอ่อน ลักษณะโดยรวมของปลาในอันดับนี้ คือ มีเกล็ดเป็นแบบกานอยด์ คือ เกล็ดสาก ซึ่งเป็นเกล็ดที่พบในปลามีกระดูกสันหลังในยุคแรก มีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมรูปว่าวและมีส่วนยื่นรับกับข้อต่อ ระหว่างเกล็ดแต่ละชิ้น มีลำไส้ที่ขดเป็นเกลียวมากกว่าปลากระดูกแข็งในอันดับอื่น ๆ ในปัจจุบัน เหลือปลาในอันดับเพียง 2 วงศ์เท่านั้น คือ วงศ์ปลาสเตอร์เจียน (Acipenseridae) และ วงศ์ปลาฉลามปากเป็ด (Polyodontidae) พบทั้งหมดราว 28 ชนิด จากที่เคยมีทั้งหมด 4 วงศ์ แต่ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาสเตอร์เจียน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาหลังเขียว

อันดับปลาหลังเขียว (อันดับ: Clupeiformes) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Clupeiformes เป็นปลาที่มีถุงลมมีท่อนิวเมติกเชื่อมต่อไปยังลำไส้ เส้นข้างลำตัวมักขาด แต่มีเกล็ดและครีบเช่นปลาในอันดับอื่น ๆ โดยมากแล้วมักจะมีลำตัวสีเงิน และมีส่วนหลังสีเขียว อันเป็นที่มาของชื่อ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยมากแล้วจะกินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร โดยผ่านซี่กรองเหงือก และไม่มีฟัน แต่ก็มีบางชนิดหรือบางวงศ์ที่กินเนื้อเป็นอาหารและมีฟัน เช่นกัน พบทั้งหมด 6 วงศ์ ประมาณ 300 ชนิด ซึ่งปลาในอันดับนี้จะมีชื่อที่เป็นที่รู้จักกันในภาษาไทยเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาหลังเขียว", "ปลาตะลุมพุก", "ปลามงโกรย", "ปลากะตัก", "ปลาไส้ตัน", "ปลาทราย", "ปลากล้วย" เป็นต้น ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกว่า "Herring", "Sardine", "Anchovy" หรือ " Shad" เป็นต้น พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะถูกจับนำมาบริโภคในฐานะปลาเศรษฐกิจและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ปลากระป๋องหรือน้ำปลา เป็นต้น โดยคำว่า Clupeiformes นั้นมาจากภาษาละติน "clupea" หมายถึง "ปลาซาร์ดีน" กับคำว่า "forma" หมายถึง "แหลมคม".

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาหลังเขียว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาหัวตะกั่ว

อันดับปลาหัวตะกั่ว หรือ อันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Toothcarp) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งขนาดเล็กอันดับหนึ่ง พบกระจายพันธุ์โดยทั่วไปในแหล่งน้ำจืดและน้ำกร่อยของเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ใช้ชื่ออันดับว่า Cyprinodontiformes โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีขนาดเล็กมีความยาวโดยเฉลี่ยไม่เกิน 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินและอาศัยบริเวณผิวน้ำ โดยเฉพาะริมฝั่งที่มีไม้น้ำหรือร่มไม้ขึ้นครึ้ม ส่วนมากมีสีสันสวยงาม มีความแตกต่างระหว่างตัวผู้และตัวเมียค่อนข้างชัดเจน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทวีปอเมริกาเหนือ, อเมริกากลางจนถึงอเมริกาใต้, แอฟริกา และบางส่วนในทวีปเอเชีย เช่น เอเชียใต้ และเอเชียอาคเนย์ ปลาในอันดับนี้ส่วนมากออกลูกเป็นไข่ แต่มีบางชนิดออกลูกเป็นตัว ชนิดที่ออกลูกเป็นตัวจะมีลักษณะเฉพาะ คือ ตัวผู้จะมีอวัยวะสืบพันธุ์ ซึ่งมีการพัฒนาลักษณะโครงสร้างมาจากก้านครีบก้นคือ จะมีลักษณะแหลมยาวเรียกว่า โกโนโพเดียม ซึ่งจะใช้เป็นอวัยวะนี้ผสมพันธุ์กับตัวเมียส่วนอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของตัวเมียจะมีช่องเพศอยู่บริเวณหน้าครีบก้น ซึ่งตัวผู้จะใช้อวัยวะที่เรียกว่าโกโนโพเดียม สอดเข้าไปในช่องเพศของตัวเมีย และส่งน้ำเชื้อเข้าไปผสมกับไข่ของตัวเมียหรืออาจจะถูกเก็บไว้ในท่อนำไข่ ปลาในอันดับนี้สามารถออกลูกเป็นตัว โดยไข่ที่อยู่ในท้องของตัวเมียจะถูกผสมโดยน้ำเชื้อของตัวผู้ และไข่ก็จะพัฒนาอยู่ในท้องของตัวเมียจนกระทั่งฟักออกเป็นตัว ซึ่งปลาตัวเมียที่ได้ผสมกับปลาตัวผู้เพียงครั้งเดียว จะสามารถให้ลูกได้ต่อไปอีกหลายครั้ง ถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับการผสมพันธุ์กับตัวผู้อีกเลย โดยไข่จะผสมพันธุ์กับน้ำเชื้อที่ถูกกักเก็บไว้ในท่อนำไข่ ซึ่งการที่ปลาออกลูกเป็นตัวตัวเมียสามารถกักเก็บน้ำเชื้อตัวผู้ได้ยาวนานนั้นขึ้นอยู่ชนิดและความสมบูรณ์ของตัวแม่ปลา ปลาในอันดับนี้โดยรวม เป็นที่รู้จักกันดีของมนุษย์ โดยมิได้นำมารับประทานเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่มีการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกันมาอย่างยาวนานแล้ว เพราะเลี้ยงง่าย มีความสวยงาม เนื่องจากเป็นปลาขนาดเล็ก และมักว่ายอยู่บรเวณผิวน้ำ ซึ่งในปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์กันอย่างกว้างขวางนเกิดเป็นสายพันธุ์แปลก ๆ และสวยงามกว่าที่มีอยู่ในธรรมชาติจริง ๆ มากมาย อีกทั้งยังมีประโยชน์ในการกำจัดลูกน้ำซึ่งเป็นตัวอ่อนของยุงได้เป็นอย่างดีอีกด้วย โดยปลาในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ วงศ์ปลาหัวตะกั่ว (Aplocheilidae) และ วงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) ซึ่งรวมถึงปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาหัวตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาหนัง

อันดับปลาหนัง หรือ ตระกูลปลาหนัง (Catfish) เป็นอันดับทางอนุกรมวิธานของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Siluriformes (/ซิ-ลู-ริ-ฟอร์-เมส/) อันดับปลาหนังเป็นอันดับที่มีจำนวนปลามากถึง 35 วงศ์ และ 2,867 ชนิด ซึ่งประกอบไปด้วยปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ปลาดุก, ปลาสวาย, ปลาบึก, ปลาเนื้ออ่อน, ปลาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาหนัง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ

อันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ เป็นอันดับปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Syngnathiformes ปลาในอันดับนี้มีรูปร่างประหลาดไปกว่าปลาในอันดับอื่น ๆ กล่าวคือ มีรูปร่างที่เรียวยาวเหมือนหลอดหรือกิ่งไม้ เป็นปลาขนาดเล็ก ในปากไม่มีฟัน ไม่มีขากรรไกร แต่จะมีลักษณะคล้ายท่อดูด ไว้สำหรับดูดอาหารจำพวก แพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็กหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ มีขนาดโดยเฉลี่ยเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล ซึ่งคำว่า "Syngnathiformes" นั้นมาจากภาษากรีก แปลว่า "ติดกับขากรรไกร" โดยมาจากภาษากรีกโบราณ คำว่า συν แปลว่า ด้วยกัน กับ γνάθος แปลว่า ขากรรไกร และ "formes" มาจากภาษาลาตินที่หมายถึง "รูปแบบที่คล้ายคลึงกัน".

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาคางคก

ปลาคางคก (อังกฤษ: Toadfishes, Frogfishes) เป็นปลาทะเลจำพวกปลากระดูกแข็งกลุ่มหนึ่ง ในอันดับ Batrachoidiformes และวงศ์ Batrachoididae ซึ่งมีเพียงวงศ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในอันดับนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาคางคก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาตะเพียน

อันดับปลาตะเพียน หรือ อันดับปลากินพืช (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cypriniformes, Carp, Barb, Loach, Minnow, Chinese suckerfish, Garra) เป็นอันดับของปลาจำพวกหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยปลาตะเพียน, ปลาทอง, ปลาคาร์ป, ปลาซิว เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นปลาที่อยู่ในวงศ์ Cyprinidae มีลักษณะโดยรวมคือ ลำตัวมีเกล็ด ส่วนใหญ่แบนข้าง สันท้องกลมหรือเป็นสันคม ไม่มีหนามที่สันท้อง ตาไม่มีหนังคลุม ปากมีหลายตำแหน่งทั้งอยู่ตรงด้านหน้า เฉียงขึ้น หรืออยู่ทางด้านล่าง บางชนิดยืดหดได้เล็กน้อย บางชนิดมีลักษณะคล้ายปากดูด ส่วนใหญ่ไม่มีฟันบนขากรรไกรหรือบางชนิดที่มีก็มีไม่เกิน 8 ซี่ รอยต่อส่วนปลายของขากรรไกรล่างมีปมยื่นออกมาเรียกว่า ซิมไซซีล นอบ ริมฝีปากบางอาจมีหรือไม่มีติ่งเนื้อ บางชนิดไม่มีริมฝีปาก ไม่มีหนามใต้ตา หรือหน้าตา ช่องเปิดเหงือกกว้างกระดูกโอเพอร์เคิล เจริญดี มีหนวด 1-2 คู่ หรือไม่มี ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายของครีบหลังอาจแข็ง หรือไม่แข็ง อาจมีหยักด้านในหรือไม่มี ไม่มีครีบไขมัน มีฟันที่หลอดคอ 1-3 แถว ขอบปากเป็นกระดูกพรีแมคซิลลา ขากรรไกรบนยืดหดได้ บางชนิดครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว มีครีบหลังตอนเดียว ถุงลมมีขนาดค่อนข้างใหญ่ส่วนใหญ่แบ่งออกเป็นสองตอน ไม่ถูกแผ่นกระดูกปกคลุมไว้ เป็นปลาที่กระจายอยู่ทั่วไปในทุกภูมิภาคของโลก ทั้งอเมริกาเหนือ, ทวีปยูเรเชียและทวีปเอเชีย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ พบในน้ำจืดมากกว่าทะเล ส่วนใหญ่เป็นปลาที่กินพืชเป็นอาหาร ไม่มีกระเพาะอาหาร แต่ก็มีหลายชนิดที่กินเนื้อหรือแพลงก์ตอน เป็นปลาที่มนุษย์คุ้นเคยมานานเพราะใช้เป็นอาหาร นอกเหนือจากปลาในวงศ์ Cyprinidae แล้ว ยังมีปลาในวงศ์อื่นอีกที่อยู่ในอันดับนี้ประมาณ 5-6 วงศ์ ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาตะเพียน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาตาเหลือก

อันดับปลาตาเหลือก (Tarpon, Ladyfish; อันดับ: Elopiformes) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Elopiformes มีรูปร่างโดยรวม คือ มีปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกกรามล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น เกล็ดมีสีเงินแวววาวตลอดทั้งลำตัว ตามีขนาดโต และมีเยื่อไขมันคลุมตาในบางชนิด เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร ในเมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน จะมีรูปร่างคล้ายกับปลาไหล ปัจจุบัน เหลือเพียง 2 วงศ์ 2 สกุล 9 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาตาเหลือก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาฉลามกบ

อันดับปลาฉลามกบ (Carpet shark, อันดับ: Orectolobiformes) เป็นอันดับของปลากระดูกอ่อนอันดับหนึ่ง อยู่ในชั้นปลาฉลาม ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Orectolobiformes มีลักษณะโดยรวม คือ มีครีบหลัง 2 อัน ไม่มีหนามแข็งที่ครีบหลัง มีครีบหลัง 2 ครีบ มีครีบก้น ปากเล็กอยู่ทางด้านล่าง มีหนวดอยู่ทางด้านหน้าของปาก มีร่องเชื่อมระหว่างจมูกและปาก เรียกว่าโอโรนาซัล กรูฟ หรือ นาโซรัล กรูฟ มีช่องดึงน้ำเข้าจากทางด้านบนบริเวณหลังตา ตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็กอยู่ด้านหลังของตา ยกเว้นบางชนิดที่มีช่องเปิดเหงือก 5 ช่อง โดยที่ช่องที่ 4 และช่องที่ 5 อยู่หลังจุดเริ่มต้นของครีบหู ส่วนใหญ่อาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำ ชอบหลบอยู่ระหว่างก้อนหินหรือสาหร่ายหรือแนวปะการัง แต่บางชนิดก็กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร มีทั้งหมด 43 ชนิด ใน 13 สกุล แบ่งออกเป็น 7 วงศ์ ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาฉลามกบ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาฉลามหลังหนาม

อันดับปลาฉลามหลังหนาม (Dogfish shark, วงศ์: Squaliformes) เป็นอันดับของปลากระดูกอ่อนในชั้นปลาฉลามอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Squaliformes มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวเป็นรูปทรงกระบอก ส่วนหัวเป็นรูปกรวยไม่แผ่ออกทางด้านข้าง ช่องรับน้ำด้านหลังตามีขนาดเล็กจนถึงมีขนาดใหญ่ จมูกและปากไม่มีร่องเชื่อมติดต่อกัน ตาอยู่ทางด้านข้างของส่วนหัว ปากค่อนข้างกว้างและโค้ง มีหนังที่บริเวณมุมปาก ฟันมีขนาดค่อนข้างใหญ่มีหลายขนาด มีครีบหลัง 2 ตอน ด้านหน้าครีบหลังอาจมีหรือไม่มีหนามแข็งหน้าครีบหลัง ไม่มีครีบก้น ส่วนใหญ่เป็นปลาฉลามที่มีขนาดเล็ก แบ่งออกได้เป็น 7 วงศ์ 97 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาฉลามหลังหนาม · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาฉลามหัววัว

อันดับปลาฉลามหัววัว (อันดับ: Heterodontiformes) เป็นอันดับของปลาในชั้นปลากระดูกอ่อน ในชั้นย่อยปลาฉลามจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Heterodontiformes รูปร่างโดยรวมของปลาฉลามในอันดับนี้ คือ มีช่องเปิดเหงือก 3 ช่องสุดท้ายอยู่เหนือจุดเริ่มต้นของครีบอก ช่องรับน้ำมีขนาดเล็กอยู่ทางด้านหลังของตา ไม่มีหนวด มีร่องลึกเชื่อมระหว่างจมูกกับปาก แผ่นเนื้อที่อยู่ทางด้านหน้าของปากยาวถึงปาก ไม่มีแผ่นหนังปิดตา มีส่วนหัวที่เป็นทรงสี่เหลี่ยมและสั้นคล้ายกับส่วนหัวของวัวอันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีครีบหลัง 2 ครีบ ซึ่งมีเงี่ยงที่มีรายงานว่ามีพิษ เป็นปลาฉลามขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ 1.50 เซนติเมตร อาศัยและหากินตามพื้นทะเล และเป็นปลาที่ถือกำเนิดขึ้นในยุคจูแรซซิก ออกลูกเป็นไข่ ไข่มีลักษณะคล้ายกับเกลียวที่เปิดจุกไวน์มีสีคล้ำ ตามกอสาหร่าย ไข่บางส่วนจะถูกกระแสน้ำซัดขึ้นไปเกยหาดไม่มีโอกาสฟักเป็นตัว ในส่วนที่ฟักเป็นตัวจะใช้เวลาประมาณ 9 เดือน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาฉลามหัววัว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาฉลามขาว

อันดับปลาฉลามขาว (Mackerel shark) เป็นอันดับของปลากระดูกอ่อนในชั้นปลาฉลามอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อว่า Lamniformes มีลักษณะโดยรวม คือ มีช่องเปิดเหงือกด้านละ 5 ช่อง ช่องเปิดเหงือกช่องที่ 4 และช่องที่ 5 อยู่เหนือฐานของครีบอก ไม่มีช่องรับน้ำบริเวณด้านหลังของตาหรือถ้ามีจะมีขนาดเล็ก จมูกไม่มีหนวด และไม่มีร่องเชื่อมระหว่างจมูก และปาก nตาอยู่ทางด้านข้างของส่วนหัวเยื้องขึ้นมาทางด้านบนเล็กน้อย ครีบหลังทั้งสองครีบไม่มีหนามแข็งอยู่ทางด้านหน้า มีครีบหลัง 2 ครีบ มีครีบก้น ปากกว้างเป็นแบบพระจันทร์เสี้ยวมุมปากอยู่ทางด้านหลังของตา จะงอยปากแหลมเป็นรูปกรวย มีทั้งหมดทั้งสิ้น 7 วงศ์ 60 ชนิดที่ยังคงมีชีวิตมาจนถึงปัจจุบันนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาฉลามขาว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาฉลามครุย

อันดับปลาฉลามครุย (อันดับ: Hexanchiformes, Frilled shark, Cow shark) เป็นอันดับของปลาในชั้นปลากระดูกอ่อนอันดับหนึ่ง ในชั้นย่อยปลาฉลาม ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hexanchiformes มีลักษณะแตกต่างจากปลาฉลามในอันดับอื่น คือ มีเหงือกและช่องเหงือก 6 หรือ 7 ช่องในแต่ละด้าน ซึ่งปลาฉลามที่ส่วนใหญ่มีเพียงแค่ 5 และไม่มีเยื่อหุ้มตา มีเพียงครีบหลังครีบเดียว เป็นปลาฉลามที่ถือกำเนิดมาจากในยุคจูราซซิค แบ่งออกเป็น 3 วงศ์ (ดูในตาราง) อาศัยอยู่ในเขตน้ำลึก ปัจจุบันเหลือเพียงแค่ 6 ชนิด เพราะได้สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีหลักฐานเป็นฟอสซิล ซึ่งปลาฉลามในอันดับนี้ที่ได้ปรากฏมาและเป็นที่ฮือฮาในเขตทะเลญี่ปุ่น คือ ปลาฉลามครุย (Chlamydoselachus anguineus) ที่มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหล และมีปากที่กว้างมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาฉลามครุย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาซีกเดียว

อันดับปลาซีกเดียว (Flatfish) ปลากระดูกแข็งในกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ พบได้ทั้งทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด ในภาษาไทยมักเรียกปลาในอันดับนี้รวม ๆ กัน เช่น "ลิ้นหมา", "ซีกเดียว", "ยอดม่วง", "ลิ้นเสือ", "ลิ้นควาย", "ใบไม้" หรือ "จักรผาน" เป็นต้น โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pleuronectiformes.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาซีกเดียว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาปักเป้า

อันดับปลาปักเป้า (Puffers, Sunfishes, Triggerfishes, Filefishes) เป็นชื่อเรียกของปลาอันดับ Tetraodontiformes มีอยู่หลายชนิด หลายวงศ์ หลายสกุล อาศัยอยู่ทั้งในทะเล น้ำกร่อย และน้ำจืด โดยมากมีลำตัวกลม ครีบและหางเล็ก จึงว่ายน้ำได้เชื่องช้าดูน่ารัก หัวโต ฟันแหลมคมใช้สำหรับขบกัดสัตว์น้ำมีเปลือกต่าง ๆ เป็นอาหาร คนที่ลงเล่นน้ำจึงมักถูกกัดทำร้ายเป็นแผลบ่อย ๆ เมื่อตกใจหรือข่มขู่สามารถสูดน้ำหรือลมเข้าช่องท้องให้ตัวพองออกได้หลายลูกโป่ง ในบางชนิดมีหนามด้วย แต่การที่ปลาพองตัวออกเช่นนี้ จะมีผลกระทบต่ออวัยวะภายใน ในบางครั้ง เช่น ปลาตกใจอาจไปกระทบกับถุงลมซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญที่ใช้ในการทรงตัวเมื่ออยู่ใต้น้ำ ให้แตกได้ ปลาปักเป้าที่เป็นเช่นนี้จะไม่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติ แต่จะลอยตัวอยู่บนผิวน้ำไปอย่างนั้น จนกระทั่งตาย เนื่องจากไม่สามารถป้องกันตัวหรือหากินได้อีก ปลาในอันดับนี้ที่รู้จักกันดี คือ ปลาปักเป้า ปักเป้าทุกชนิดเป็นปลาที่มีพิษในตัว โดยเฉพาะอวัยวะภายในและรังไข่ แม้บริโภคเพียงเล็กน้อยก็อาจถึงแก่ความตายได้ แต่บางชนิดในบางแหล่งน้ำหรือบางภูมิภาคก็มีผู้จับมาบริโภค โดยต้องรู้วิธีชำแหละเป็นพิเศษ เช่น ประเทศญี่ปุ่น นิยมบริโภคปลาปักเป้าโดยทำเป็นซูชิ จนเป็นอาหารประจำชาติญี่ปุ่นที่ขึ้นชื่อเป็นที่รู้จัก วงศ์ปลาปักเป้ามีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 วงศ์ คือ Diodontidae ปลาในวงศ์นี้มีฟัน 2 ซี่ Tetraodontidae ปลาในวงศ์นี้มีฟัน 4 ซี่ และ Triodontidae ปลาในวงศ์นี้ลักษณะลำตัวแบนข้าง สำหรับในประเทศไทยพบปลาทั้ง 3 วงศ์นี้ ทั้งหมด 42 ชนิด เป็นชนิดในน้ำจืด 9 ชนิด อีก 33 ชนิด เป็นชนิดในน้ำกร่อยรวมถึงทะเล ในประเทศไทย มีการนำปลาปักเป้ามาจำหน่ายในท้องตลาดในชื่อปลาเนื้อไก่ ซึ่งผู้บริโภคอาจได้รับพิษทำให้รู้สึกชาที่ริมฝีปาก ลิ้น ปลายนิ้วมือ คลื่นไส้วิงเวียน แขนขาไม่มีแรง ยืนและเดินไม่ได้ หายใจลำบาก หมดสติ และอาจจะอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วได้ เนื่องจากสารพิษชื่อว่า เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) ในหนังปลา ไข่ปลา เนื้อปลา ตับ และลำไส้ มีความทนต่อความร้อนสูง ความร้อนในการปรุงอาหาร การหุงต้ม การแปรรูป ไม่สามารถทำลายสารพิษดังกล่าวได้ ส่วนปลาในวงศ์อื่นแต่อยู่ในอันดับนี้ คือ ปลาแสงอาทิตย์ (Mola mola) ซึ่งเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในอันดับนี้ด้วย รวมทั้งปลาวัว (Balistidae) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาปักเป้า · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลานวลจันทร์ทะเล

อันดับปลานวลจันทร์ทะเล (Milkfish) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gonorynchiformes ลักษณะสำคัญของปลาในอันดับนี้ คือ มีช่องปากเล็ก ไม่มีฟันบนกระดูกขากรรไกร ตามีเยื่อไขมันใสคลุม ครีบอกอยู่ในตำแหน่งทางด้านล่างของลำตัว ครีบท้องอยู่ในตำแหน่งท้อง มีเกล็ดแบบอซิลลารี่ ขนาดใหญ่ที่ฐานของครีบท้องและครีบอก ไม่มีก้านครีบแข็งที่ครีบ มีกระดูกค้ำจุนกระพุ้งแก้ม 4 อัน มีกระเพาะลม ไม่มีกระดูกออร์บิทอสเฟนอย กระดูกพาร์ไรทัลมีขนาดเล็ก ไม่มีฟันบนกระดูกเซอราโทแบรนชิล คู่ที่ 5 กระดูกสันหลังสามข้อแรกเชื่อมติดต่อกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลานวลจันทร์ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาโรนัน

อันดับปลาโรนัน (อันดับ: Rajiformes, Skate, guitarfish) เป็นอันดับย่อยของอันดับ Batoidea ซึ่งจัดอยู่ในชั้นปลากระดูกอ่อน ปลาที่อยู่ในอันดับนี้มีลักษณะโดยรวมที่แตกต่างไปจากปลาในอันดับ Batoidea อันดับอื่น คือ มีครีบอกที่ใหญ่กว่า แผ่ขยายมากกว่า และอยู่ใกล้กับส่วนหัวซึ่งแบนราบอย่างเห็นได้ชัด มีตาอยู่บนด้านบนของหัว และซี่เหงือกอยู่ด้านล่างเหมือนปลากระเบนทั่วไป มีฟันใช้สำหรับบดอาหาร จำพวก ครัสเตเชียนและหอยชนิดต่าง ๆ ส่วนใหญ่เมื่อให้กำเนิดลูก ตัวอ่อนจะพัฒนาในแคปซูลที่มีรูปร่างเหมือนเขาสัตว์ ที่ถูกเรียก "กระเป๋านางเงือก" (Mermaid's purse) ซึ่งปลาที่อยู่ในอันดับนี้ที่เป็นรู้จักเป็นอย่างดี คือ ปลาโรนัน และ ปลาโรนิน รวมถึงปลากระบาง ซึ่งอันดับนี้เคยรวมเป็นอันดับเดียวกับ อันดับปลากระเบน คือ ปลากระเบนทั่วไป และ Pristiformes หรือปลาฉนากมาก่อนด้วย โดยคำว่า Rajiformes นั้น มาจากภาษาลาตินคำว่า "raja" ที่หมายถึง ปลากระเบน กับคำว่า "forma" ที่หมายถึง แหลมคม.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาโรนัน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาไหล

อันดับปลาไหล หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ในชื่อสามัญว่า ปลาไหล เป็นปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในอันดับใหญ่ที่ใช้ชื่อว่า Anguilliformes มีรูปร่างโดยรวมยาวเหมือนงู พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย หรือน้ำเค็ม สามารถแบ่งออกได้เป็นอีกหลายอันดับย่อย ในหลายวงศ์ เช่น ในวงศ์ปลาตูหนา (Anguillidae), วงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae), วงศ์ปลาไหลทะเล (Ophichthidae), วงศ์ปลาไหลยอดจาก (Muraenesocidae), วงศ์ปลาไหลสวน (Congridae) เป็นต้น เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร ผิวหนังโดยมากเกล็ดจะมีขนาดเล็กแทบมองไม่เห็นและฝังอยู่ใต้ผิวหนัง มีลักษณะลื่น ครีบทั้งหมดมีขนาดเล็กและสั้น มักจะซุกซ่อนตัวอยู่ในวัสดุใต้น้ำประเภทต่าง ๆ เช่น ปะการัง, ก้อนหิน, โพรงไม้ หรือ ซากเรือจม ปลาที่อยู่ในอันดับปลาไหลนี้ พบแล้วประมาณ 4 อันดับย่อย, 19 วงศ์, 110 สกุล และประมาณ 800 ชนิด อนึ่ง ปลาบางประเภทที่มีรูปร่างยาวคล้ายปลาไหล แต่มิได้จัดให้อยู่ในอันดับปลาไหลได้แก่ ปลาไหลนา (Monopterus albus) ที่จัดอยู่ในอันดับปลาไหลนา (Synbranchiformes), ปลาปอด ถูกจัดอยู่ในอันดับ Lepidosireniformes และ Ceratodontiformes, ปลาไหลไฟฟ้า (Electrophorus electricus) อยู่ในอันดับ Gymnotiformes, ปลาไหลผีอะบาอะบา (Gymnarchus niloticus) อยู่ในอันดับ Osteoglossiformes, ปลางู (Pangio spp.) อยู่ในอันดับ Cypriniformes หรือแม้กระทั่ง ปลาแลมป์เพรย์ และแฮคฟิช ถูกจัดอยู่ในชั้น Agnatha ซึ่งอยู่คนละชั้นเลยก็ตาม เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับปลาไหล · ดูเพิ่มเติม »

อันดับนกกระสา

อันดับนกกระสา (Bittern, Ibis, Heron, Spoonbill, Stork) เป็นอันดับของนกจำพวกนกน้ำอันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Ciconiiformes ประกอบด้วยนกน้ำตั้งแต่ขนาดเล็กถึงกลาง และขนาดใหญ่ มีลักษณะเด่น คือ ขายาว ปากใหญ่ ได้แก่ นกกระสา, นกยาง, นกปากห่าง มีวิวัฒนาการเพื่อการดำรงชีวิตตามพื้นหาดทรายชายเลนและท้องทุ่งชายน้ำ พบกำเนิดในตอนปลายสมัยอีโอซีนถึงปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็นวงศ์ต่าง ๆ ได้ 5 วงศ์ (ดูในตาราง) ในประเทศไทยพบ 3 วงศ์ 36 ชนิด เดิมเคยมีวงศ์ในอันดับนี้มากกว่านี้ อาทิ นกปากซ่อม แต่ปัจจุบันแบ่งออกมาต่างหาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับนกกระสา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับนกกระทุง

อันดับนกกระทุง (Pelican, Cormorant, Ibis, Spoonbill) เป็นอันดับของนกขากรรไกรแบบใหม่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Pelecaniformes ลักษณะร่วมกันหลายอย่างของนกในอันดับนี้ คือ นิ้วตีนทั้ง 4 มีแผ่นพังผืดขึงติดต่อกัน เรียกว่า "Totipalmate foot" และลำคอเปลือยเปล่าหย่อนยานเป็นถุงหนัง ซึ่งเรียกว่า "Gular pouch" มีไว้สำหรับล่าหาอาหารและเก็บอาหาร เป็นนกที่พบกระจายพันธุ์ไปในทุกภูมิภาค ทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นเฉพาะทางเหนือของประเทศแคนาดาและทางเหนือของทวีปเอเชียซึ่งมีอากาศหนาวเย็น, เกาะต่าง ๆ บางแห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง และทวีปแอนตาร์กติกาซึ่งมีอากาศหนาวเย็น เป็นนกที่หากินและอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำเนื่องจากหากินสัตว์น้ำประเภทต่าง ๆ เช่น ปลา, กุ้ง, ปู หรือสัตว์อื่น ๆ ขนาดเล็ก กินเป็นอาหาร เช่น บึง, หนอง, คลอง, ชายทะเล หรือเกาะกลางทะเล ว่ายน้ำได้เก่งและดำนำได้ดี แบ่งออกเป็นวงศ์ต่าง ๆ ได้ 5 วงศ์ (ข้อมูลบางแห่งจัดให้มี 6 วงศ์) ซึ่งวงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกที่สุดคือ Phalacrocoracidae หรือนกกาน้ำ ที่มีจำนวนชนิดมากถึง 38-39 ชนิด นับว่ามีมากกว่าครึ่งของสมาชิกในอันดับนี้ รองลงไปคือ Sulidae หรือนกบูบบี ที่มี 9 ชนิด แต่อย่างไรก็ตาม ข้อมูลบางแหล่งจะจัดให้วงศ์ในอันดับนี้ มีอันดับของตัวเองแตกต่างกันออกไป A Phylogenomic Study of Birds Reveals Their Evolutionary History.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับนกกระทุง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับนกหัวขวานและนกโพระดก

อันดับนกหัวขวานและนกโพระดก เป็นอันดับของนกขากรรไกรแบบใหม่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Piciformes โดยลักษณะทั่วไปของนกในอันดับนี้ คือ เป็นนกขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง (16-60 เซนติเมตร) มีลักษณะเด่น คือ รูจมูกทะลุไม่ถึงกันเพราะมีผนังกั้น ตัวเต็มวัยไม่มีขนอุย ขนแต่ละเส้นมีแกนขนรอง ขนปลายปีกมี 9-10 เส้น มีขนกลางปีกเส้นที่ 5 ขนหางมี 10-12 เส้น ขาสั้น การจัดเรียงนิ้วเป็นแบบนิ้วคู่สลับ ทำรังตามโพรงไม้หรือโพรงดิน ไข่มีรูปร่างกลม สีขาว ลูกนกแรกเกิดมีสภาพช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โดยนกในอันดับนี้ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ นกหัวขวาน (Picidae) และนกโพระดก (Megalaimidae) เป็นต้น ในประเทศไทย พบนกในอันดับนี้ 3 วงศ์ ได้แก่ นกหัวขวาน (Picidae), นกโพระดก (Megalaimidae) และนกพรานผึ้ง (Indicatoridae) รวมกันแล้วประมาณ 52 ชนิด ขณะที่ทั่วโลกพบมากกว่า 400 ชนิด ใน 67 สกุล.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับนกหัวขวานและนกโพระดก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับนกตะขาบ

อันดับนกตะขาบ เป็นอันดับของนกขากรรไกรแบบใหม่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Coraciiformes โดยที่คำว่า "Coraciiformes" นั้น หมายถึง "เหมือนนกเรเวน" หรืออีกบริบทคือ "อีกา" (อีกาจัดเป็นนกเกาะคอน) โดยมาจากคำว่า "Corax" ในภาษาละติน มีความหมาย "อีกา" และคำว่า "Forma" หมายถึง "รูปแบบ" ซึ่งเป็นคำลงท้ายในการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากเป็นนกที่มีลักษณะคล้ายกับอีกา เป็นนกที่มีขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ มีลักษณะโดยร่วมกัน คือ จะงอยปากมีหลายรูปแบบ คือ ปากตรง ปากแบนข้าง ปากโค้ง ปากเป็นรูปขอ รูจมูกไม่ทะลุถึงกันเพราะมีผนังกั้น หางยาวปานกลางจนถึงยาวมาก ปลายหางมนหรือเป็นหางตัด ปีกยาวปานกลางจนถึงยาวมาก ปลายปีกมักแหลม ขนปลายปีกมี 10-11 เส้น มีขนกลางปีกเส้นที่ 5 ยกเว้นในบางชนิด ขายาวปานกลางหรือขาสั้น แข้งสั้น หน้าแข้งด้านหน้าปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดใหญ่แบบเกล็ดซ้อน โดยเกล็ดแต่ละชิ้นมีขนาดไม่เท่ากัน นิ้วหลังสั้นกว่านิ้วหน้า โคนนิ้วเป็นแบบนิ้วติด ยกเว้นในบางวงศ์ แกนขนรองมีขนาดเล็กหรือไม่มี หัวอาจมีหงอนหรือมีขนก็ได้ มีพฤติกรรมทำรังตามโพรงไม้หรือโพรงดินตามริมฝั่งแม่น้ำ ไข่มีเปลือกสีขาวหรือสีน้ำเงิน วางไข่ครั้งละ 2-8 ฟอง ลูกนกแรกเกิดไม่สามารถที่จะเดินหรือช่วยเหลือตัวเองได้ กินผลไม้เป็นอาหารหลัก และเสริมด้วยสัตว์ขนาดเล็ก ๆ เช่น หนู หรือกิ้งก่า และแมลงต่าง ๆ พบกระจายพันธุ์อยู่แทบทุกภูมิภาคของโลก ยกเว้นเกาะฮาวาย ประกอบไปด้วยวงศ์ทั้งหมด 11 วงศ์ โดยนกที่เป็นที่รู้จักกันดีในอันดับนี้ ได้แก่ นกเงือก (Bucerotidae) ซึ่งเป็นนกที่มีหงอนบนหัวและมีขนาดใหญ่, นกตะขาบ (Coraciidae), นกกะรางหัวขวาน (Upupidae), นกกระเต็น (Alcedinidae) เป็นต้น (แต่ในบางข้อมูลจะจัดนกเงือก, นกกระเต็น และนกกะรางหัวขวาน แยกออกเป็นอันดับต่างหาก) ในประเทศไทย พบทั้งสิ้น 5 วงศ์ ประมาณ 38 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับนกตะขาบ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับนกแก้ว

นกแก้ว หรือ นกปากขอ (ภาษาไทยถิ่นเหนือ: นกแล) เป็นอันดับของนกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Psittaciformes เป็นนกที่มีความแตกต่างกันมากทางสรีระ คือมีตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงใหญ่ (19-100 เซนติเมตร) มีหัวกลมโต ลำตัวมีขนอุยปกคลุมหนาแน่น ขนมีแกนขนรอง ต่อมน้ำมันมีลักษณะเป็นพุ่มขน ผิวหนังค่อนข้างหนา มีลักษณะเด่นที่แตกต่างจากนกอันดับอื่น ๆ คือ จะงอยปากที่สั้นหนา และทรวดทรงงอเป็นตะขอหุ้มปากล่าง มีความคมและแข็งแรง อันเป็นที่ของชื่อสามัญ ใช้สำหรับกัดแทะอาหารและช่วยในการปีนป่าย เช่นเดียวกับกรงเล็บ รูจมูกไม่ทะลุถึงกัน สันปากบนหนาหยาบและแข็งทื่อ ขนปลายปีกมี 10 เส้น ขนกลางปีกมี 8-14 เส้น ไม่มีขนกลางปีกเส้นที่ 5 ขนหางมี 12-14 เส้น หน้าแข้งสั้นกว่าความยาวของนิ้วที่ยาวที่สุด แข้งปกคลุมด้วยเกล็ดชนิดเกล็ดร่างแห นิ้วมีการจัดเรียงแบบนิ้วคู่สลับกัน คือ เหยียดไปข้างหน้า 2 นิ้ว (นิ้วที่ 2 และ 3) และเหยียดไปข้างหลัง 2 นิ้ว (นิ้วที่ 1 และนิ้วที่ 4) ซึ่งนิ้วที่ 4 สามารถหมุนไปข้างหน้าได้ เป็นนกที่อาศัยและหากินบนต้นไม้ กินผลไม้และเมล็ดพืช บินได้ดีและบินได้เร็ว พบอาศัยอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง ทำรังตามโพรงต้นไม้ ไข่สีขาว ลักษณะทรงกลม วางไข่ครั้งละ 2-6 ฟอง ลูกนกแรกเกิดมีสภาพเป็นลูกอ่อนเดินไม่ได้ พบกระจายพันธุ์ตามเขตร้อนทั่วโลก ในบางชนิดมีอายุยืนได้ถึง 50 ปี โดยเฉพาะนกแก้วชนิดที่มีขนาดใหญ่ และจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์พบว่า นกแก้วขนาดใหญ่มีความเฉลียวฉลาดเทียบเท่ากับเด็กอายุ 4 ขวบPets 101: Pet Guide, สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: พฤหัสบดีที่ 3 มกราคม 2556 เป็นนกที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี เนื่องด้วยนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงที่สามารถฝึกหัดให้เลียนเสียงตามแบบภาษามนุษย์ในภาษาต่าง ๆ ได้ ประกอบกับมีสีสันต่าง ๆ สวยงามตามชนิด ซึ่งนกแก้วไม่มีกล่องเสียง แต่การส่งเสียงมาจากกล้ามเนื้อถุงลมและแผ่นเนื้อเยื่อ เมื่ออวัยวะส่วนนี้เกิดการสั่นสะเทือน จึงเปล่งเสียงออกมาได้ แบ่งออกได้ราว 360 ชนิด ใน 80 สกุล ในประเทศไทยพบเพียงวงศ์เดียว คือ Psittacidae หรือนกแก้วแท้ พบทั้งหมด 7 ชนิด ใน 3 สกุล อาทิ นกแขกเต้า (Psittacula alexandri), นกแก้วโม่ง (P. eupatria) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีนกเพียงชนิดเดียวในอันดับนี้ที่บินไม่ได้ และหากินในเวลากลางคืนด้วย คือ นกแก้วคาคาโป (Strigops habroptila) ที่พบเฉพาะบนเกาะนิวซีแลนด์เท่านั้น โดยเป็นนกรูปร่างใหญ่ บินไม่ได้ นอกจากจะหากินในเวลากลางคืนแล้ว ยังมีเสียงร้องประหลาดที่คล้ายกบหรืออึ่งอ่างอีกด้วย ปัจจุบันมีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับนกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับไก่

อันดับไก่ เป็นอันดับของสัตว์ปีกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galliformes สัตว์ปีกหรือนกในนี้มีขนาดลำตัวตั้งแต่เล็กมากจนถึงใหญ่มาก ตั้งแต่ 12 – 223 เซนติเมตร จะงอยปากสั้น ปลายปากทู่ จะงอยปากบนโค้งเล็กน้อย รูจมูกไม่ทะลุถึงกัน ขาใหญ่ แข้งปกคลุมด้วยเกล็ดแบบเกล็ดซ่อน นิ้วหลังอยู่ในระดับเดียวกับนิ้วหน้า เล็บทู่ ปากสั้น ปลายปากมนและเว้าเข้าข้างใน ขนปลายปากแข็งและโค้ง มี 10 เส้น และมีขนกลางปากเส้นที่ 5 ขนหางมี 8 – 32 เส้น ขนแต่ละเส้นมีแกนขนรอง ตัวเต็มวัยลำตัวมีขนอุยปกคลุมห่าง ๆ ต่อมน้ำมันเป็นพุ่มขน แต่บางชนิดก็ไม่เป็นพุ่มขน มีพฤติกรรมเป็นนกที่คุยเขี่ยหาอาหารตามพื้นดิน อาศัยตามต้นไม้ อาหารได้แก่ เมล็ดธัญพืช ผลไม้ เมล็ดพืช แมลง และสัตว์ขนาดเล็ก ทำรังตามพื้นดินหรือกิ่งไม้ วางไข่คราวละ 1 – 20 ฟอง ไข่มีสีเนื้อหรือสีขาว อาจมีลายจุด ลูกอ่อนในระยะแรกเกิดมีขนอุยปกคลุมเต็มลำตัว สามารถเดินตามพ่อแม่ไปหาอาหารได้ทันทีหลังจากขนแห้ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับไก่ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับไฮแรกซ์

อันดับไฮแรกซ์ (Hyraxes, Dassies "Hyracoidea" in Grzimek's Animal Life Encyclopedia, Vol.) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กอันดับหนึ่ง ที่เรียกชื่อสามัญว่า ไฮแรกซ์ หรือ ตัวไฮแรกซ์ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hyracoidea (/ไฮ-รา-คอย-เดีย/).

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับไฮแรกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเหยี่ยวปีกแหลม

อันดับเหยี่ยวปีกแหลม (Falconiformes) เป็นกลุ่มของนกมีประมาณ 290 สปีชีส์ ประกอบด้วย นกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน การระบุนกล่าเหยื่อเป็นเรื่องยากและการถืออันดับมีหลายรูปแ.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับเหยี่ยวปีกแหลม · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเฮดจ์ฮอก

อันดับเฮดจ์ฮอก (Hedgehog, Gymnure, อันดับ: Erinaceomorpha) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Erinaceomorpha เป็นอันดับที่แยกตัวออกมาจากอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) ลักษณะโดยรวมของสัตว์ที่อยู่ในอันดับนี้ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก กินแมลงเป็นอาหาร มีทั้งออกหากินในเวลากลางวัน และออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยอยู่บนพื้นและบนต้นไม้ ยืนด้วยฝ่าเท้า มีสมองส่วนรับกลิ่นเจริญดี แต่สายตาไม่ดี นอกจากกินแมลงแล้วยังอาจจะยังกินสัตว์ขนาดเล็กกว่าหรือพืชและผลไม้เป็นอาหาร จำแนกออกได้เพียงวงศ์เดียว คือ Erinaceidae 10 สกุล (ดูในตาราง) 24 ชนิด โดยที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กมีขนที่เป็นหนามแข็งขนาดเล็กคล้ายเม่นซึ่งอยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคยุโรป สำหรับในประเทศไทยพบ 2 เท่านั้น คือ หนูเหม็น (Echinosorex gymnurus) หรือสาโท ที่มีลักษณะคล้ายหนูแต่มีขนาดใหญ่กว่า และมีกลิ่นตัวเหม็นอย่างรุนแรงคล้ายกับกลิ่นของแอมโมเนีย และหนูผีหางหมู (Hylomys suillus).

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับเฮดจ์ฮอก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเทนเรค

อันดับเทนเรค เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Afrosoricida (มาจากภาษากรีก-ละติน หมายความว่า "ดูคล้ายหนูผีแอฟริกา") ซึ่งอันดับนี้เดิมเคยถูกรวมกับสัตว์อื่นที่มีความใกล้เคียงกัน คือ อันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) รูปร่างลักษณะของสัตว์ในอันดับนี้จะเหมือนกับสัตว์จำพวกอื่นที่เคยถูกจัดรวมเป็นอันดับสัตว์กินแมลงเหมือนกันในอดีต เช่น ตุ่น, หนูผี, เฮดจ์ฮอก หรือแม้แต่กระทั่งผสมกันระหว่างนาก ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ กับหนูผีก็มี ซึ่งจากการศึกษาด้านพันธุกรรมและดีเอ็นเอพบว่า สัตว์ในอันดับนี้มีการวิวัฒนาการที่แยกออกไป จึงได้ถูกจัดแยกออกมาเป็นอันดับต่างหาก ซึ่งการที่มีวิวัฒนาการเป็นของตัวเองแต่กลับมีรูปร่างลักษณะเหมือนกับสัตว์ที่มีวิวัฒนาการที่แตกต่างออกไป การวิวัฒนาการเช่นนี้เรียกว่า "วิวัฒนาการแบบเข้าหากัน" พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา และเป็นสัตว์เฉพาะถิ่นของเกาะมาดากัสการ์ ซึ่งบรรพบุรุษของสัตว์ในอันดับนี้ก็เดินทางมาจากแผ่นดินใหญ่เหมือนกับลีเมอร์หรือสัตว์อื่น ๆ ที่เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นของเกาะมาดากัสการ์เช่นเดียวกันMadagascar, "Mutant Planet" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันดับเทนเรค · ดูเพิ่มเติม »

อันเดอร์วอเตอร์เวิลด์ (สิงคโปร์)

ทางเข้าอันเดอร์วอเตอร์เวิลด์, สิงคโปร์ อันเดอร์วอเตอร์เวิลด์ (新加坡海底世界; Underwater World) เป็นสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำตั้งอยู่บนเกาะเซนโทซา ประเทศสิงคโปร์จัดแสดงสัตว์น้ำมากกว่า 2,500 ตัว ใน 250 ชนิด เปิดให้บริการเมื่อปี ค.ศ. 1991 ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 80 Siloso Road, Sentosa, Singapore 098969 มีจุดเด่น คือ อุโมงค์กระจกใต้ทะเลความยาว 83 เมตรผ่านฝูงปลาฉลามขนาดใหญ่, การให้บริการฟิชสปา, การแสดงโชว์โลมา และบ่อการแสดงฟอสซิลมีชีวิต ที่สามารถสัมผัสได้ เป็นต้น เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09:00-19:00 นาฬิกา ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 22.90 ดอลลาร์สิงคโปร์ และเด็ก (3-12 ปี) 14.60 ดอลลาร์สิงคโปร์ (เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีไม่เสียค่าผ่านประตู) แต่ในแต่ละส่วนจะมีเวลาเปิด-ปิดไม่ตรงกัน และมีอัตราการให้บริการต่างหาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอันเดอร์วอเตอร์เวิลด์ (สิงคโปร์) · ดูเพิ่มเติม »

อาย-อาย

อาย-อาย (Aye-aye) เป็นไพรเมตชนิดหนึ่ง จำพวกลีเมอร์ โดยที่อาย-อาย เป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Daubentonia และวงศ์ Daubentoniidae (มีอยู่ชนิดหนึ่ง คือ อาย-อายยักษ์ ที่มีความยาวกว่า 2.5 เมตร แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วกว่า 2,000 ปีก่อน และมีน้ำหนักมากกว่า อาย-อาย หลายเท่า).

ใหม่!!: สปีชีส์และอาย-อาย · ดูเพิ่มเติม »

อาริสโตเน็ตเทส

อาริสโตเน็ตทีส (Aristonectes; ความหมาย:ว่ายน้ำอย่างดี(อังกฤษ:'best swimmer') เป็นสัตว์เลื้อยคลานทะเลที่มีชีวิตอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลายมันเป็นสัตว์เลื้อยคลานทะเลขนาดใหญ่ในครอบครัวอีลาสโมซอร์พบในอเมริกาใต้และแอนตาร์กติกา อาศัยหาปลา,หมึก,และสัตว์เลื้อยคลานทะเล อื่นๆที่ตัวเล็กกว่ากินเป็นอาหาร นอกจากนี้อาริสโตเน็ตทีสยังเป็นสปีชีส์ที่สูญพันธุ์ของ เพลซิโอซอร์ มันถูกตั้งชื่อโดย Cabrera ในปี 1941.

ใหม่!!: สปีชีส์และอาริสโตเน็ตเทส · ดูเพิ่มเติม »

อาหาร

อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".

ใหม่!!: สปีชีส์และอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาเคเชีย

''Acacia drepanolobium'' ''Acacia sp.'' อาเคเชีย (Acacia) เป็นไม้สกุลของไม้พุ่มหรือไม้ต้นที่อยู่ในวงศ์ย่อย Mimosoideae ของวงศ์ถั่ว บันทึกเป็นครั้งแรกในแอฟริกาโดยนักชีววิทยาชาวสวีเดนคาโรลัส ลินเนียส ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และอาเคเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนา

อิกัวนา (อังกฤษและiguana) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าในสกุล Iguana ในวงศ์อิกัวนา (Iguanidae) และในวงศ์ย่อย Iguaninae พบกระจายพันธุ์ในเม็กซิโก, อเมริกากลาง รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ในภูมิภาคแคริบเบียนและพอลินีเซีย กิ้งก่าสกุลนี้ถูกกล่าวถึงครั้งแรกในเชิงวิทยาศาสตร์เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และอิกัวนา · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนาบก

อิกัวนาบก (Land iguana) เป็นกิ้งก่าสกุลหนึ่ง ในวงศ์อิกัวนา (Iguanidae) จัดอยู่ในสกุล Conolophus (มาจากภาษากรีกสองคำ: conos (κώνος) หมายถึง "หนาม" และ lophos (λοφος) หมายถึง "หงอน" โดยมีความหมายถึง หนามบนสันหลัง) จัดเป็นสัตว์ถิ่นเดียวที่พบเฉพาะบนหมู่เกาะกาลาปาโกสเท่านั้น โดยถือว่าเป็นอิกัวนาอีกจำพวกหนึ่งที่มีความโดดเด่นของที่นี่นอกเหนือไปจากอิกัวนาทะเล ซึ่งอิกัวนาบกนั้นมีรูปร่างลักษณะ ตลอดจนพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากอิกัวนาทะเลพอสมควร เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินแต่เฉพาะบนบก กินพืชเป็นอาหาร โดยพืชที่นิยมกินเป็นพืชจำพวกกระบองเพชร โดยเฉพาะกระบองเพชรซันตาเฟ ซึ่งก็เป็นพืชถิ่นเดียวของหมู่เกาะกาลาปาโกสเช่นเดียวกัน ดังนั้นกระบองเพชรซันตาเฟจึงมีลักษณะลำต้นและกิ่งก้านที่สูงและยาว รวมถึงมีหนามแหลมเพื่อป้องกันตัวเองจากการกินของอิกัวนา ดังนั้น อิกัวนาบกเองก็มีวิวัฒนาการของตัวเอง โดยปรับตัวให้สามารถกินอาหารได้หลากหลายขึ้น เช่น เปลี่ยนมากินแมลงเล็ก ๆ เป็นอาหารด้วย อิกัวนาบก เป็นสัตว์ที่ไม่มีอุปนิสัยดุร้าย แม้จะมีรูปร่างหน้าตาที่น่ากลัวเหมือนกับอิกัวนาทะเล โดยพบกระจายพันธุ์ได้น้อยกว่าอิกัวนาทะเลพอสมควร โดยธรรมชาติเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยขยับเขยื้อนตัว เนื่องจากเป็นสัตว์กินพืช จึงจะขยับตัวหรือเคลื่อนไหวต่อเมื่อกินอาหารเท่านั้น เกาะที่สามารถพบอิกัวนาบกได้มากที่สุด คือ เกาะซันตาเฟ หรือเกาะบาร์ริงตัน และเกาะเซาท์พลาซา สามารถจำแนกได้เป็น 3 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอิกัวนาบก · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนาฟีจี

อิกัวนาฟีจี (Fiji banded iguana) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brachylophus fasciatus ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีสีสันสวยงามที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง ในตัวผู้จะมีแถบสีขาวอมฟ้าคาดที่กลางลำตัวลงไปถึงช่วงท้องประมาณ 2-3 แถบ ในขณะที่ลำตัวทั้งตัวจะเป็นสีเขียวอ่อนทั้งตัว ในส่วนของตัวเมียจะไม่ปรากฏแถบดังกล่าว ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 60-80 เซนติเมตร โดยมีความยาวหางคิดเป็น 2 ใน 3 ส่วนของขนาดความยาวทั้งตัว มีหนามเล็ก ๆ เรียงกันเป็นแถวเดียวตั้งแต่ส่วนบริเวณเหนือมุมปากไปจนถึงต้นตอ จากนั้นจะกลายเป็นแค่สันแถวเดียวไปจรดปลายหาง ใช้ชีวิตส่วนอาศัยอยู่บนต้นไม้ กินอาหารจำพวกผลไม้และดอกไม้ได้หลากหลายประเภทเป็นอาหารหลัก แต่ก็สามารถกินแมลงบางชนิดได้เป็นอาหารเสริมเช่นกัน พบกระจายพันธุ์เฉพาะในหมู่เกาะฟีจีและตองงา ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้แห่งเดียวเท่านั้น โดยเชื่อว่าในอดีตบรรพบุรุษคงมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่อยู่ห่างไกลออกไปประมาณ 6,000 กิโลเมตร ด้วยการเกาะวัสดุที่ลอยตามน้ำมาจากพายุ พร้อมกับสัตว์จำพวกอื่น จนวิวัฒนาการมาเป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นที่นี่ เป็นกิ้งก่าที่ได้รับความนิยมเป็นสัตว์เลี้ยงอย่างมากเนื่องจากความสวยงามและหายาก ทำให้มีราคาซื้อขายกันในแวดวงสัตว์เลี้ยงสูงมาก ซึ่งพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงนั้น อิกัวนาฟีจีแทบไม่ปรากฏความก้าวร้าวต่อผู้เลี้ยงเลย แต่สถานะในธรรมชาติปัจจุบันนั้น อิกัวนาฟีจีกำลังใกล้สูญพันธุ์แล้ว เนื่องจากถิ่นที่อยู่ที่จำกัดถูกคุกคามจากมนุษย์ และยังได้รับผลกระทบจากสัตว์นักล่าขนาดใหญ่กว่าที่มิใช่สัตว์พื้นเมือง เช่น พังพอนหรือแมวบ้าน เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และอิกัวนาฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนาสีชมพู

อิกัวนาสีชมพู, อิกัวนาบกสีชมพูกาลาปาโกส หรือ อิกัวนากาลาปาโกสสีกุหลาบ (Pink iguana, Galápagos pink land iguana, Galapagos rosy iguana) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่งจำพวกกิ้งก่า ในวงศ์อิกัวนา (Iguanidae) อิกัวนาสีชมพูเป็นอิกัวนาจำพวกอิกัวนาบกชนิดหนึ่ง มีความยาวเต็มที่ประมาณ 1 เมตร และน้ำหนักราว 12 กิโลกรัม เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นที่พบได้ที่หมู่เกาะกาลาปาโกสเท่านั้น เป็นอิกัวนาที่ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และอิกัวนาสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนาหมวกเหล็ก

อิกัวนาหมวกเหล็ก หรือ กิ้งก่าบาซิลิสก์หมวกเหล็ก (Helmeted iguana, Helmeted basilisk) เป็นกิ้งก่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Corytophanes ในวงศ์กิ้งก่าบาซิลิสก์ (Corytophanidae) มีลักษณะต่างจากกิ้งก่าบาซิลิสก์ ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน คือ มีสันบนหัวทั้งตัวผู้และตัวเมีย ซึ่งใช้ประโยชน์จากสันนี้เพื่อป้องกันตัวโดยหันข้างลำตัวให้กับสัตว์ผู้ล่าหรือศัตรู เพื่อลวงให้เห็นว่ามีขนาดตัวใหญ่ เป็นกิ้งก่าที่อาศัยอยู่บนต้นไม้เท่านั้น และจะลงมาหากินบนพื้นดินเฉพาะวางไข่เท่านั้น พบกระจายพันธุ์เฉพาะอเมริกากลาง คือ ตอนใต้ของเม็กซิโก ไปจนถึงตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้เท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และอิกัวนาหมวกเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวโนดอน

อิกัวโนดอน (Iguanodon) เป็นสิ่งมีชีวิตสกุลหนึ่งในกลุ่มของไดโนเสาร์กินพืช มีขาหลังใหญ่และแข็งแรง ค้นพบซากดึกดำบรรพ์ในปลายยุคจูแรสซิกและต้นยุคครีเทเชียส (ประมาณ 135 ถึง 110 ล้านปีมาแล้ว) ในพื้นที่กว้างใหญ่ตั้งแต่ทวีปยุโรป ไปจนถึงตอนเหนือของทวีปแอฟริกา และเอเชียตะวันออก กิเดียน แมนเทล แพทย์และนักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ ค้นพบอิกัวโนดอนเมื่อ พ.ศ. 2365 (ค.ศ. 1822) นับเป็นไดโนเสาร์ชนิดแรก ๆ ที่พบ และมีรายงานทางวิทยาศาสตร์เผยแพร่ในสามปีต่อมา ที่ตั้งชื่อว่าอิกัวโนดอนเพราะฟันของมันคล้ายกับฟันของอิกัวนา และเป็นหลักฐานชิ้นแรกที่แสดงว่าไดโนเสาร์พัฒนามาจากสัตว์เลื้อยคลาน อิกัวโนดอนเป็นสิ่งมีชีวิตสกุลที่มีขนาดใหญ่และพบกระจัดกระจายอยู่เป็นบริเวณกว้างมากที่สุดเมื่อเทียบกับสิ่งมีชีวิตวงศ์เดียวกัน ลำตัวของมันยาวกว่า 10 เมตร เมื่อยืดตัวขึ้นจะมีความสูง 5 เมตร หนัก 4-5 ตัน สันนิษฐานว่าอิกัวโนดอนเคลื่อนที่โดยใช้ขาทั้ง 4 ขา แต่ก็อาจเดินได้โดยใช้เพียงสองขา มือที่ขาหน้าของอิกัวโนดอนมี 5 นิ้ว หัวแม่มือแข็งแรงและชี้ขึ้นตั้งฉากกับฝ่ามือ ซากดึกดำบรรพ์และรอยเท้าที่พบทำให้เชื่อว่าอิกัวโนดอนมักอยู่เป็นฝูง.

ใหม่!!: สปีชีส์และอิกัวโนดอน · ดูเพิ่มเติม »

อิกทิโอซอรัส

อิกทิโอซอรัส (Ichthyosaurus; Ichthyo.

ใหม่!!: สปีชีส์และอิกทิโอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

อิริอาเตอร์

อิริอาเตอร์ (Irritator) อยู่ในสกุลสไปโนซอร์หรือพวกฟันจระเข้ที่กินปลา มีเอกลักษณ์อยู่ตรงที่หงอนรูปครีบปลาของมันบนหัว เล็บขนาดใหญ่ของมันมีไว้เพื่อล่าเทอโรซอร์และปลา ฟอสซิลของมันค้นพบที่บราซิล อาสัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้นเมื่อประมาณ 123-125 ล้านปี มีชื่อชนิดต้นแบบว่า I. challengeri ซึ่งตั้งตามศาสตราจารย์ชาลเลนเจอร์ ตัวละครใน The Lost World ของเซอร์อาเธอร์ โคแนน ดอยล์Isaak, Mark (2008).

ใหม่!!: สปีชีส์และอิริอาเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีกินงู

อินทรีกินงู หรือ เหยี่ยวรุ้ง (Serpent eagle) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อจำพวกเหยี่ยวหรืออินทรีสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Spilornis ในวงศ์เหยี่ยวและอินทรี (Accipitridae) นกที่โตเต็มที่จะมีกระหม่อมสีคล้ำ มีดวงตาสดใสสีเหลือง เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางพบกระจายพันธุ์ได้ในป่าของทวีปเอเชียตอนใต้และเอเชียอาคเนย์ เป็นนกที่ล่างูเป็นอาหารหลัก แม้กระทั่งงูพิษ จึงเป็นที่มาของชื่อในภาษาอังกฤษที่ว่า "Serpent eagle".

ใหม่!!: สปีชีส์และอินทรีกินงู · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีหัวขาว

อินทรีหัวขาว หรือ อินทรีหัวล้าน (White-Head Eagle, Bald Eagle, American Eagle) เป็นนกอินทรีชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกอินทรีทะเล มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Haliaeetus leucocephalus เป็นนกขนาดใหญ่ มีจุดเด่น คือ ขนส่วนหัวจนถึงลำคอเป็นสีขาว ตัดกับสีขนลำตัวและปีกซึ่งเป็นสีดำ และปลายหางสีขาว ขณะที่กรงเล็บ รวมทั้งจะงอยปากเป็นสีเหลือง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 70-102 เซนติเมตร (28-40 นิ้ว) ความยาวปีกเมื่อกางปีก 1.8-2.3 เมตร (5.9-7.5 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 2.5 ถึง 7 กิโลกรัม (9-12 ปอนด์) ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ประมาณร้อยละ 25 สามารถบินได้เร็วประมาณ 48 กิโลเมตร/ชั่วโมง และมีสายตาที่สามารถมองได้ไกลประมาณ 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) จัดเป็นนกที่มีความสวยงามและสง่างามมากชนิดหนึ่ง มีถิ่นกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือตลอดไปจนถึงเม็กซิโกตอนเหนือ และทะเลแคริบเบียน มักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำหรือชายทะเล เพราะกินปลาเป็นอาหารหลัก มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 25-30 ปี ในขณะที่ยังเป็นนกวัยอ่อนจนถึง 5 ขวบ ขนบริเวณหัวและปลายหางจะยังเป็นสีน้ำตาล ไม่เปลี่ยนไปเป็นสีขาว อินทรีหัวขาวมีพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีกันค่อนข้างโลดโผน โดยนกทั้งคู่จะใช้กรงเล็บเกาะเกี่ยวกันกลางอากาศ แล้วทิ้งตัวดิ่งลงสู่พื้นดิน แต่เมื่อใกล้จะถึงพื้น ก็จะผละแยกออกจากกัน ซึ่งพฤติกรรมเช่นนี้เป็นไปเพื่อต้องการทดสอบความแข็งแกร่งของคู่ของตน ซึ่งจะทำให้ได้ลูกนกที่เกิดมาใหม่นั้นเป็นนกที่แข็งแรง อีกทั้งยังเป็นคู่ที่จับคู่กันตลอดชีวิตอีกด้วย เว้นแต่ตัวใดตัวหนึ่งตายไปเสียก่อน จึงจะหาคู่ใหม่ อินทรีหัวขาวถือเป็นสัญลักษณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยปรากฏในตราประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และอีกหลายหน่วยงานราชการในประเทศ อินทรีหัวขาว เป็นนกที่ได้รับการคุ้มครองในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และอินทรีหัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีทะเล

ระวังสับสนกับ: เหยี่ยวปลา อินทรีทะเล (Sea eagle, Fish eagle บางครั้งเรียก Erne หรือ Ern ซึ่งมาจากอินทรีหางขาว) เป็นนกล่าเหยื่อในสกุล Haliaeetus ในวงศ์ Accipitridae อินทรีทะเลมีหลายขนาด ตั้งแต่อินทรีทะเลแซนฟอร์ดซึ่งมีน้ำหนักประมาณ 2–2.7 กิโลกรัม ถึงอินทรีทะเลสเตลเลอร์ซึ่งหนักถึง 9 กิโลกรัมdel Hoyo, J., Elliott, A., & Sargatal, J., eds.

ใหม่!!: สปีชีส์และอินทรีทะเล · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีทะเลหัวนวล

อินทรีทะเลหัวนวล หรือ อินทรีหัวนวล (Pallas's fish eagle, Pallas's sea eagle, Band-tailed fish eagle) เป็นนกอินทรีชนิดหนึ่ง มีขนาดยาวลำตัวประมาณ 68-81 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน แต่ตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่า หัวมีสีน้ำตาลอ่อน ปีกกว้างมีสีน้ำตาลดำ ตามีแถบคาดขนาดใหญ่สีเทา กลางหางก็มีแถบสีขาวอยู่ 1 แถบ เมื่อยังเป็นตัวไม่เต็มจะมีขนสีอ่อนกว่า ที่หัวและคอมีสีน้ำตาลเข้มกว่า แถบคาดตาก็มีสีน้ำตาลดำ เป็นนกอินทรีทะเลชนิดหนึ่ง กินอาหาร จำพวก ปลาและสัตว์น้ำ กระจายพันธุ์อยู่ในเอเชียกลาง ระหว่างอ่าวเปอร์เซียและทะเลเหลือง จากคาซัคสถานและมองโกเลีย จนถึงแนวเทือกเขาหิมาลัย, บังกลาเทศ จนถึงอินเดีย ในช่วงฤดูหนาวจะมีการอพยพหนีหนาวมาสู่ภูมิภาคที่อุ่นกว่า เช่น ประเทศไทย เป็นต้น ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 อินทรีทะเลหัวนวล จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และอินทรีทะเลหัวนวล · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีทุ่งหญ้าสเตปป์

อินทรีทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe eagle) เป็นนกอินทรีชนิดหนึ่ง มีขนาดลำตัวประมาณ 76-80 เซนติเมตร ความยาวปีก 1.7-2.1 เมตร จัดเป็นนกอินทรีทีมีขนาดใหญ่ มีท้ายทอยมีแถบสีน้ำตาลแดง คอบางส่วนสีอ่อน มุมปากลึกเกินกึ่งกลางดวงตา ปีกและหางยาว ขนคลุมใต้ปีกสีน้ำตาลเข้มตัดกับขนคลุมปลายปีกสีดำ ขนปีกบนมีลายขวาง ปลายปีกและขอบปีกด้านหลังสีเข้ม ในนกวัยอ่อน หัวและขนลำตัวสีน้ำตาลแกมเทากว่านกเต็มวัย มีแถบขาวจากปลายขนต่างจากนกอินทรีชนิดอื่น ๆ ที่มีแถบสีขาวใหญ่กลางปีกตามแนวขนคลุมใต้ปีก อายุเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ 6 ปี จึงค่อยมีสีเหมือนนกตัวเต็มวัย เป็นนกประจำถิ่นของภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงทวีปยุโรป โดยมักจะอาศัยหากินอยู่ตามทุ่งหญ้าหรือทุ่งหญ้าสเตปป์ รวมถึงพื้นที่เกษตรกรรมเปิดโล่งในพื้นที่ต่ำ เช่น นาข้าว อันเป็นที่มาของชื่อเรียก กินหนูนาเป็นอาหารหลัก แต่ก็มีรายงานพบในที่ ๆ มีความสูงถึง 2,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล สำหรับในประเทศไทย จัดเป็นนกอพยพที่หาได้ยากมากชนิดหนึ่ง มีปริมาณการพบเห็นปีละไม่เกิน 2 ตัว ในแถบจังหวัดเพชรบุรีและนครสวรรค์ ในช่วงฤดูหนาว และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และอินทรีทุ่งหญ้าสเตปป์ · ดูเพิ่มเติม »

อินดรี

อินดรี หรือ อินดรี อินดรี (Indri, Indri indri, Babakoto) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primate) ชนิดหนึ่ง จำพวกลีเมอร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indri indri อยู่ในวงศ์อินดรี (Indriidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Indri มีลำตัวขนาดใหญ่ ขนาดประมาณเท่าลูกหมี มีความยาวตั้งแต่หัวจรดโคนหางประมาณ 64–72 เซนติเมตร (2.10–2.36 ฟุต) และอาจยาวได้ถึง 120 เซนติเมตร (3.9 ฟุต) น้ำหนักตัวเต็มที่ประมาณ 6–9.5 กิโลกรัม (13–21 กรัม) ลำตัวมีขนสีขาว–ดำ ส่วนหางสั้น มีใบหูกลมคล้ายแพนด้า กินอาหารจำพวกใบไม้ และหน่ออ่อนของต้นไม้เป็นอาหารหลัก ออกหากินในเวลากลางวัน มีขาแข็งแรงเพราะต้องใช้ในการปีนป่ายต้นไม้ จัดเป็นลีเมอร์ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และมีเสียงร้องที่ดังที่สุด ซึ่งอาจได้ยินไปไกลถึง 3 กิโลเมตร อินดรีจะส่งเสียงร้องทุก ๆ เช้าเพื่อสื่อสารกันและประกาศอาณาเขต โดยจะเริ่มจากจ่าฝูงก่อน เมื่ออินดรีกระโดดครั้งเดียวอาจไกลได้ถึง 30 ฟุต ในการสัญจรไปมาระหว่างต้นไม้ เนื่องจากมีขาหลังที่ยาวและทรงพลัง ซึ่งขาหลังของอินดรีมีความยาวกว่าความยาวลำตัวรวมกับหัวด้วยซ้ำThe Night Stalker, "Nick Baker's Weird Creatures" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และอินดรี · ดูเพิ่มเติม »

อึ่งอ่าง

อึ่งอ่าง หรือ อึ่งยาง (accessdate) เป็นสกุลของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกกบในสกุล Kaloula ในวงศ์อึ่งอ่าง (Microhylidae) วงศ์ย่อย Microhylinae พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย เช่น เอเชียใต้, เอเชียตะวันออก และเอเชียอาคเนย์ ลักษณะโดยทั่วไป มีผิวหนังมันลื่น มีสีนํ้าตาลลายขาว ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีความยาวประมาณ 7 เซนติเมตร มักทําตัวพองเมื่อถูกรบกวน มักร้องเสียงดังเมื่อนํ้านองโดยเฉพาะหลังฝนตกที่มีอากาศเย็นชื้น เสียงร้องดังระงม.

ใหม่!!: สปีชีส์และอึ่งอ่าง · ดูเพิ่มเติม »

อึ่งอ่างบ้าน

อึ่งอ่างบ้าน หรือ อึ่งยาง หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า อึ่งอ่าง เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์อึ่งอ่าง (Microhylidae) มีลำตัวอ้วนกลม ไม่มีคอ หัวกว้าง และปลายปากแหลมไม่มาก ขาและแขนค่อนข้างสั้น มีความยาวไล่เลี่ยกัน นิ้วมือและนิ้วเท้า ตอนปลายแผ่แบน และตัดตรงทางด้านหน้า ผิวหนังเรียบลื่น มีปุ่มเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วหลังและมากในขาคู่หลัง ใต้ฝ่าเท้ามีแผ่นแข็งยาวสองแผ่นใช้ในการขุดดิน ลำตัวด้านหลังสีออกน้ำตาลคล้ำ หรือน้ำตาลแกมแดง มีลายแถบกว้างสีน้ำตาลอ่อนพาด ตั้งแต่เหนือลูกตาจนถึงโคนขาทั้งสองข้าง ตรงปลายบนสุดแต่ละแถบยังเชื่อมต่อกันระหว่างลูก ตาทั้งสองข้าง ปลายล่างสุดในบางตัวลายแถบจะแตกออกเป็นปื้น ๆ แต่ยังอยู่ในแนวเดิม ใต้ ท้องสีออกคล้ำ โดยเฉพาะใต้คางมีสีเกือบดำ บริเวณอื่น ๆ เป็นลายตาข่ายสีออกม่วงคล้ำ ๆ เห็นไม่ชัดเจนนัก ยกเว้นในบางตัวที่มีขนาดใหญ่มาก มีขนาดความยาวจัดจากปลายปากจนถึงก้นประมาณ 58–70 มิลลิเมตร มีอายุยืนเต็มที่ประมาณ 10 ปี มีการแพร่กระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้างขวาง ตั้งแต่อินเดีย, ศรีลังกา, จีนตอนใต้, พม่า, เวียดนาม, ลาว, กัมพูชา, ไทย จนถึงคาบสมุทรมลายู ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ด้วยการขุดดินลึกลงไปซ่อนตัวอยู่ เลือกดินที่ชื้นและร่วนซุย เมื่อฝนตกจึงจะออกมาหากินเมื่อมีฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน มักพบในช่วงฤดูฝนตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกรกฎาคม เมื่อถูกรบกวนจะพองตัวออกจนกลมป่องคล้ายลูกบอล เสียงร้องจะเรียงเสียงว่า "อึ่ง ๆ " อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ในช่วงชุกชุมมักถูกจับกินเป็นอาหารสำหรับบางพื้นที่ โดยเฉพาะกินในตัวที่มีไข่อยู่เต็มท้อง ก็จะมีราคาขายที่สูงด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอึ่งอ่างบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อึ่งปากขวด

อึ่งปากขวด หรือ อึ่งเพ้า (Truncate-snouted burrowing frog, Balloon frog) เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชนิดหนึ่ง จำพวกอึ่งอ่าง จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Glyphoglossus มีความยาวจากหัวจรดถึงก้นประมาณ 73 มิลลิเมตร ลำตัวอ้วนป้อม มีลักษณะเด่นคือ หน้าสั้นมาก ปากแคบและทู่ไม่มีฟัน ไม่เหมือนกับกบหรืออึ่งอ่างชนิดอื่น ๆ ตาเล็ก ขาสั้น แผ่นเยื่อแก้วหูเห็นไม่ชัด ลำตัวสีน้ำตาลดำหรือสีเทาดำ ใต้ท้องสีขาว บางตัวอาจมีจุดกระสีเหลืองกระจายอยู่ทั่ว เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดเกาะติดอยู่ ใช้สำหรับว่ายน้ำ และมีสันใต้ฝ่าเท้าหลังใช้สำหรับขุดดิน อึ่งปากขวดพบในภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยจะพบเฉพาะพื้นที่ที่อยู่เหนือจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ขึ้นไป โดยมีพฤติกรรมอาศัยโดยขุดโพรงดินที่เป็นดินปนทรายและอาศัยอยู่ภายใน ในป่าที่มีความชุ่มชื้นใกล้กับพื้นที่ชุ่มน้ำ ในฤดูร้อนจะซ่อนตัวในโพรงแทบตลอด เมื่อฝนตกจะออกมาหากิน โดยหากินในเวลากลางคืน ผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงต้นฤดูฝน และจะผสมพันธุ์วางไข่เร็วกว่าอึ่งอ่างหรือกบชนิดอื่น ลูกอ๊อดมีลำตัวป้อมและโปร่งแสง ลำตัวเป็นสีเหลือง มีส่วนบนและส่วนล่างเป็นสีดำ หากินอยู่ในระดับกลางน้ำ โดยจะว่ายทำมุมประมาณ 45 องศา อยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ไปไหนมาไหนพร้อมกันเป็นฝูง อึ่งปากขวดไม่จัดว่าเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง แต่ในปัจจุบันมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ เพราะถูกจับมาบริโภค โดยเฉพาะอย่างมากในช่วงฤดูฝนที่จะสร้างรายได้แก่ผู้ที่จับมาได้วันละหลายหมื่นบาท (แต่มักจะเรียกปนกันว่า "อึ่งอ่าง" หรืออึ่งยาง ซึ่งเป็นอึ่งคนละชนิด) กอรปกับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยเปลี่ยนไป ปัจจุบันกรมประมงได้สนับสนุนให้เลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอึ่งปากขวด · ดูเพิ่มเติม »

อุรังอุตัง

อุรังอุตัง (Orangutan) เป็นไพรเมตจำพวกลิงไม่มีหาง ที่อยู่ในสกุล Pongo (/พอง-โก/) เป็นสัตว์พื้นเมืองของเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น มีขนาดใหญ่คล้ายมนุษย์ ไม่มีหาง หูเล็ก แขนและขายาว ตัวผู้มีน้ำหนัก 75–200 กิโลกรัม ส่วนตัวเมียหนัก 50–80 กิโลกรัม มีขนหยาบสีแดงรุงรัง เมื่อโตขึ้นกระพุ้งแก้มจะห้อยเป็นถุงขนาดใหญ่ มันชอบอยู่บนต้นไม้โดดเดี่ยว เว้นแต่ช่วงผสมพันธุ์จะอยู่เป็นคู่ ชอบห้อยโหนจากกิ่งหนึ่งไปอีกกิ่งหนึ่ง มีการสร้างรังนอน แบบเดียวกับชิมแปนซี เชื่อง ไม่ดุ หัดง่ายแต่เมื่อเติบโตแล้วจะดุมาก เมื่ออุรังอุตังอายุ 10 ปี จะสามารถผสมพันธุ์ได้ ออกลูกทีละ 1 ตัว และอายุยืนถึง 40 ปีเลย ปัจจุบัน เป็นสัตว์หายาก อาหารหลักคือผลไม้ชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะทุเรียน นอกจากนี้ยังกินแมลง ไข่นก สัตว์เล็ก ๆ อื่น ๆ อีกด้วย แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ (สูญพันธุ์ไป 1).

ใหม่!!: สปีชีส์และอุรังอุตัง · ดูเพิ่มเติม »

อุรังอุตังบอร์เนียว

อุรังอุตังบอร์เนียว หรือ อุรังอุตังบอร์เนียน (Bornean orangutan) เป็นชนิดหนึ่งของอุรังอุตัง มีถิ่นกำเนิดในเกาะบอร์เนียว มีลักษณะคล้ายคลึงกับอุรังอุตังสุมาตรา (P. abelii) แต่มีขนาดใหญ่กว่า อุรังอุตังบอร์เนียวมีอายุยืนถึง 35 ปี ในป่า ในกรงเลี้ยงสามารถมีอายุยืนยาวได้ถึง 60 ปี จากการสำรวจอุรังอุตังบอร์เนียวในป่า พบว่า เพศผู้มีน้ำหนักโดยเฉลี่ย 75 กก.

ใหม่!!: สปีชีส์และอุรังอุตังบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

อุรังอุตังสุมาตรา

อุรังอุตังสุมาตรา (Sumatran orangutan) เป็นหนึ่งในอุรังอุตังสองสปีชีส์ ซึ่งพบเฉพาะบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น อุรังอุตังชนิดนี้หายากและมีขนาดตัวเล็กกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว (P. pygmaeus) อุรังอุตังสุมาตราเพศผู้มีความสูงได้ถึง 1.4 เมตร และหนัก 90 กิโลกรัม ขณะที่เพศเมียจะมีขนาดตัวเล็กกว่า โดยเฉลี่ยแล้วจะสูง 90 เซนติเมตร และหนัก 45 กิโลกรัม.

ใหม่!!: สปีชีส์และอุรังอุตังสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติแม่วงก์

อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอปางศิลาทอง จังหวัดกำแพงเพชร และอำเภอแม่วงก์ และอำเภอแม่เปิน จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธาร ตามเทือกเขาสูงชันก่อกำเนิดเป็นน้ำตกที่สวยงาม 4-5 แห่ง ทั้งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำแม่วงก์อันเป็นต้นน้ำของแม่น้ำสะแกกรัง นอกจากนี้ยังมีแก่งหินทำให้เกิดน้ำตกเล็กๆ ตามแก่งหินนี้ ตลอดจนมีหน้าผาที่สวยงามตามธรรมชาติ อุทยานมีเนื้อที่ประมาณ 558,750 ไร่ หรือ 894 ตารางกิโลเมตร ซึ่งในขณะนี้รัฐบาลกำลังดำเนินการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ในเขตพื้นที่อุทยานด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ · ดูเพิ่มเติม »

อูฐ

อูฐ (Camel; جمليات, ญะมัล) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อยู่ในสกุล Camelus จัดอยู่ในวงศ์ Camelidae เป็นสัตว์ที่มีความอดทนสูง สามารถอาศัยอยู่ได้โดยไม่ต้องกินอาหารหรือน้ำเลย 2 สัปดาห์ เพราะมีไขมันสะสมไว้ในหนอกและร่างกายเก็บรักษาน้ำได้เป็นอย่างดี จึงสามารถอยู่ในที่ทุรกันดารเช่นทะเลทรายได้เป็นอย่างดี กินอาหารประเภทใบไม้ในทะเลทราย ตัวโตเต็มที่มีความสูงถึงบ่าประมาณ 1.85 เมตร และหนอกสูงอีก 75 เซนติเมตร ความสามารถ วิ่งได้เร็ว 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และเดินด้วยความเร็วคงที่ประมาณ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แบกน้ำหนักได้ 150-200 กิโลกรัม อุณหภูมิร่างกายเปลี่ยนแปลงได้จาก 34 องศาเซลเซียสในตอนกลางคืนมาเป็น 41 องศาเซลเซียสในตอนกลางวัน ปัจจุบันสัตว์ในตระกูลอูฐได้ถูกนำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจในบางประเทศ แต่ใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ เป็นอาหาร ตัดขน รีดนม และใช้เนื้อเพื่อบร.

ใหม่!!: สปีชีส์และอูฐ · ดูเพิ่มเติม »

อูราโนซอรัส

อูราโนซอรัส (Ouranosaurus) ชื่อของมันมีความหมายว่า กิ้งก่าผู้กล้าหาญ ตรงกลางที่หลังมีกระดูกที่เหมือนกับหนามโผล่ขึ้นมาเรียงเป็นแถวและมีหนังห่อหุ้มอยู่ เหมือนพวกสไปโนซอริดซ์ แต่กลับเป็นพวกอิกัวโนดอน ครีบนี้มีหน้าที่ปรับอุณภูมิของร่างกาย ขนาด 7 เมตร อยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้น เมื่อประมาณ 110 ล้านปีก่อน พบที่ทวีปแอฟริกาเป็นเหยื่อที่ล่าง่ายๆของสไปโนซอรัสที่ยาว 17 เมตร หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และอูราโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

อีแลนด์

อีแลนด์ (Eland) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่จำพวกแอนทีโลปสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Taurotragus อีแลนด์ จัดเป็นแอนทีโลปขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในทวีปแอฟริกา น้ำหนักตัวหลายร้อยกิโลกรัม (ประมาณ 800-900 กิโลกรัมในตัวผู้ และ 300-500 กิโลกรัมในตัวเมีย) อีแลนด์มีความสูงเฉลี่ยประมาณ 2 เมตร และความยาวลำตัวได้ถึง 2.4-3.4 เมตร มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย เขาของตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่า แต่เขาของตัวเมียมีความยาวกว่า เนื้อของอีแลนด์มีโปรตีนมากกว่าเนื้อวัวและไขมันน้อยกว่า และนมของอีแลนด์มีระดับแคลเซียมสูงมาก ด้วยเหตุนี้อีแลนด์จึงได้รับการคัดเลือกว่ามีคุณภาพและปริมาณเนื้อนมในแอสคาเนีย-โนวาสวนสัตว์ในยูเครน แต่ไม่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาให้เป็นสัตว์เศรษฐกิจในยุโรป แต่อีแลนด์ในแอฟริกาบางท้องถิ่นชาวพื้นเมืองได้เลี้ยงไว้เพื่อทำการทำไร่ไถ่นาเหมือนกับควายในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และอีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็น

อีเห็น หรือ กระเห็น(Palm civet.; อีสาน: เหง็น; ใต้: มูสัง) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Paradoxurus ในวงศ์ชะมดและอีเห็น (Viverridae) อีเห็น มีความแตกต่างจากชะมด (Viverra spp.) ซึ่งเป็นสัตว์อีกสกุลในวงศ์นี้ คือ อุ้งตีนมีลักษณะเหมาะสมสำหรับการปีนป่าย โดยเฉพาะนิ้วที่ 3 และ 4 ของตีนหลังบางส่วนมีพังผืดเชื่อมติดกัน อุ้งตีนแยกออกเป็น 4 ส่วน อีเห็นจะมีนิ้วตีนทั้งหมดที่อุ้งตีนข้างละ 5 นิ้ว มีเล็บคมยาวไว้ปีนป่าย ขนาดอุ้งตีนของอีเห็นจะเล็กกว่าชะมด เพราะอีเห็นจะปีนป่ายต้นไม้หากินมากกว่าชะมด ที่หากินตามพื้นดิน แต่ทั้ง 2 สกุลนี้ เมื่อลงพื้นดิน โดยเฉพาะดินที่อ่อนนุ่ม จะฝากรอยเท้าทิ้งเอาไว้ให้สังเกตเห็นได้ง่าย อีกทั้ง อีเห็นจะเป็นสัตว์กินพืชและผลไม้มากกว่าชะมด ขณะที่ชะมดจะกินสัตว์ต่าง ๆ เช่น กบ หรือเขียด หรือปลา เป็นอาหารมากกว่าพืช อีเห็น เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ทั้งแต่เอเชียใต้ จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และหมู่เกาะต่าง ๆ นอกจากนี้แล้วในบางประเทศ เช่น อินโดนีเซีย หรือ เวียดนาม มีการเลี้ยงอีเห็นในสกุลนี้ให้กินเมล็ดกาแฟ เมื่อถ่ายมูลออกมาแล้ว เมล็ดกาแฟจะไม่ถูกย่อยสลาย จะออกมาเป็นเมล็ดเหมือนเดิม จากนั้นจะนำไปล้างและคั่วเป็นกาแฟสำหรับจำหน่าย ซึ่งกาแฟลักษณะนี้เรียกว่า "กาแฟขี้ชะมด" เป็นกาแฟที่มีรสชาติกลมกล่อม หอมหวาน อร่อยกว่ากาแฟทั่วไป จึงมีราคาขายที่แพงกว่ากาแฟปกติทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากในระบบย่อยอาหารของอีเห็นมีเอนไซม์ที่ทำให้เมล็ดกาแฟมีรสชาติที่หอมหวาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอีเห็น · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ใหม่!!: สปีชีส์และอีเห็นข้างลาย · ดูเพิ่มเติม »

อนุกรมวิธาน

อนุกรมวิธานวิทยา (อังกฤษ: Taxonomy) เป็นการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ตามสายวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานเป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ในการศึกษาอนุกรมวิธานจะมีศัพท์ที่ใช้เรียกแตกต่างกันออกไป ถ้าหากการศึกษาเป็นไปในทางรวบรวมตัวอย่าง (specimen) บิดาแห่งอนุกรมวิธานวิทยา คือ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอนุกรมวิธาน · ดูเพิ่มเติม »

อ้น (สกุล)

อ้น (Bamboo rat, Root rat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์ฟันแทะในสกุล Rhizomys ในวงศ์ Spalacidae (หรือ Rhizomyidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีรูปร่างอ้วนป้อมคล้ายหนูตะเภา ใบหูเล็ก ดวงตาเล็ก ขนตามลำตัวสีน้ำตาล มีฟันแทะที่แข็งแรง แลเห็นได้ชัดเจน มีขาและหางสั้นไม่มีขน แพร่กระจายพันธุ์อยู่ในทวีปเอเชียตั้งแต่อินเดีย, จีนตอนใต้ จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำรังโดยการขุดรูอยู่ใต้ดินหรือในโพรงไม้ แบ่งออกเป็นห้องได้หลายห้อง กินพืชหลายชนิดเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่สุดได้ถึง 60 เซนติเมตร น้ำหนักมากกว่า 8 กิโลกรัม.

ใหม่!!: สปีชีส์และอ้น (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

อ้นกลาง

อ้นกลาง (Hoary bamboo rat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ในวงศ์ Rhizomyinae เป็นอ้นขนาดกลาง มีรูปร่างคล้ายอ้นชนิดอื่นทั่วไป มีความยาวจากปลายจมูกถึงรูทวาร ประมาณ 26-35 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในป่าไผ่ พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของจีน, ในประเทศไทย ในภาคเหนือ แนวป่าตะวันตกและตามแนวเขาหินปูนในภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และภาคใต้ และหลายประเทศในภูมิภาคอินโดจีน.

ใหม่!!: สปีชีส์และอ้นกลาง · ดูเพิ่มเติม »

อ้นเล็ก

อ้นเล็ก (Lesser bamboo rat) เป็นสัตว์ฟันแทะในอยู่ในวงศ์ย่อย Rhizomyinae ในวงศ์ Spalacidae จัดเป็นอ้นชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุด และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในสกุล Cannomys มีความแตกต่างไปจากอ้นที่อยู่ในสกุล Rhizomys คือ ฝ่าเท้าจะเรียบ และมีลายสีขาวบริเวณหน้าผากและหัวคล้ายหนูตะเภา ในขณะที่มีขนอ่อนนุ่มสีน้ำตาล โดยขนที่ท้องจะมีสีเข้มกว่าขนที่หลัง มีความยาวตั้งแต่ปลายจมูกจรดหางประมาณ 15-30 เซนติเมตร หางมีขนาดสั้นยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร น้ำหนักตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 0.5 กิโลกรัม มีจุดเด่นคือ ฟันแทะคู่หน้าที่ยาวอย่างเห็นได้ชัดเจน ใช้สำหรับขุดโพรงใต้ดินเพื่ออยู่อาศัยและใช้กัดแทะอาหาร ซึ่งได้แก่ ไม้ไผ่และหน่อไม้ รวมถึงผลไม้ประเภทต่าง ๆ ด้วยที่หล่นบนพื้นดิน บริเวณปากโพรงที่อ้นอยู่อาศัยจะมีกองดินปิดไว้ มักจะขุดโพรงในป่าบริเวณใกล้แหล่งน้ำหรือบริเวณที่เป็นป่าไผ่ ออกหากินในเวลากลางคืนและพลบค่ำ ออกลูกครั้งละ 3-5 ตัว พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดียตั้งแต่ เนปาล, บังกลาเทศ, รัฐอัสสัมในอินเดีย, ภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่เหนือบริเวณคอคอดกร.

ใหม่!!: สปีชีส์และอ้นเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ฮาลิซอรัส

ลิซอรัส (Halisaurus) เป็นสายพันธุ์ที่สูญพันธุ์แล้ว ของตระกูลโมซาซอร์ มันมีความยาวประมาณ 3-4 เมตร (10 -13 ฟุต) มันอาจจะเป็นโมซาซอร์ที่เล็กที่สุด เมื่อเทียบกับโมซาซอร์ชนิดอื่น ฮาลิซอรัสอาศัยอยู่ในช่วงยุคครีเทเชียส เมื่อประมาณ 85-65 ล้านปีก่อน ชื่อของมันมีความหมายว่า กิ้งก่าทะเล เหยื่อของมันอาจจะเป็นนกทะเลดึกดำบรรพ์ที่ชื่อ เฮสเปอร์รอร์น.

ใหม่!!: สปีชีส์และฮาลิซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ

ร. ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ (ื่อย่อ: H.M. Smith) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2408 / ค.ศ. 1865 -28 กันยายน พ.ศ. 2484 / ค.ศ. 1941) นักชีววิทยา ชาวอเมริกัน อธิบดีสำนักงานประมง (the Bureau of Fisheries) แห่งสหรัฐอเมริกา ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ หรือ ดร.ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ เกิดที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ได้จบการศึกษาปริญญาเอกแพทยศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) และจบการศึกษาระดับปริญญาเอกนิติศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) เริ่มต้นทำงานที่ สำนักประมง สหรัฐอเมริกา (U. S. Fish Commission) ปี พ.ศ. 2429 (ค.ศ. 1886) ในตำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์ 1897-1903 หัวหน้าห้องปฏิบัติการชีววิทยาทางทะเล (Marine Biological Laboratory ที่ Wood Hole, และโดยเป็นผู้กำกับดูแลงานทางด้านการศึกษาและสำรวจธรรมชาติในทางวิทยาศาสตร์ ในสถาบันการศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) ถึงปี พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) ได้เดินทางพร้อมคณะนักสำรวจมาที่ฟิลิปปินส์ ด้วยเรือชื่อ USS Albatross ด้วยเป็นกรรมการสมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก เพื่อสำรวจความหลากหลายของธรรมชาติในภูมิภาคแถบนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน หรือ ผีเสื้อยักษ์ (Atlas moth) เป็นผีเสื้อที่อยู่ในวงศ์ Saturniidae จัดเป็นผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ ระยะที่เป็นตัวหนอนกินใบกระท้อน, ฝรั่ง, ขนุน และใบดาหลา ตัวเมียวางไข่บนใบพืชอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และผีเสื้อหนอนใบกระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อขอบปีกเลื่อยจุดแดง

ผีเสื้อขอบปีกเลื่อยจุดแดง (อังกฤษ: Red-spot Sawtooth) เป็นแมลงจำพวกผีเสื้อชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prioneris philonome อยู่ในวงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ำ (Pieridae) ลักษณะเป็นผีเสื้อที่ปีกด้านบนมีสีขาว มีเส้นปีกลายสีดำพากสลับตามยาว ที่ปีกด้านล่างคล้ายกันกับปีกด้านบน ปีกคู่หลังมีสีเหลือง เกือบทั่วปีกด้านหลัง บริเวณโคนปีกแต้มด้วยสีแดงสด มีหนวดสองเส้น ตั้งตรงเป็นรูปตัว V มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 80-90 มิลลิเมตร จึงจัดเป็นผีเสื้อที่ยาวมากชนิดหนึ่ง กินอาหารที่เป็นของเหลว เช่น เศษใบไม้ น้ำหวานจากดอกไม้ โดยใช้ปากที่เป็นหลอดดูดเพื่อดูดกินอาหาร มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่ตามที่โล่งแจ้ง ตามชายป่า สวนดอกไม้ทั่วไป เป็นผีเสื้อที่ไม่ชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม พบเห็นได้ทั่วไป หากินตามบริเวณพื้นดินมากกว่าบนต้นไม้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วทุก.

ใหม่!!: สปีชีส์และผีเสื้อขอบปีกเลื่อยจุดแดง · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้

ระเข้ (Crocodile, อีสาน: แข้) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Crocodylidae อยู่ในอันดับจระเข้ (Crocodilia) มีลักษณะโดยรวมคือ ส่วนปลายของหัวแผ่กว้างหรือเรียวยาว ขากรรไกรยาวและกว้าง เมื่อหุบปากแล้วจะเห็นฟันซี่ที่ 4 ของขากรรไกรล่างเนื่องจากขอบปากบนตรงตำแหน่งนี้เป็นรอยหยักเว้า ส่วนปลายของขากรรไกรล่างข้างซ้ายและข้างขวาเชื่อมต่อกันเป็นพื้นที่แคบ กระดูกเอนโทพเทอรีกอยด์อยู่ชัดกับแถวของฟันที่กระดูกแมคซิลลา กระดูกพาลามีนมีก้านชิ้นสั้นอยู่ทางด้านหน้าและไม่ถึงช่องในเบ้าตา พื้นผิวด้านบนของลิ้นไม่มีสารเคอราติน ต่อมขจัดเกลือบนลิ้นมีขนาดใหญ่ มีก้อนเนื้อที่ปลายปากนูนสูงที่ช่องเปิดรูจมูกเรียกว่า "ก้อนขี้หมา" หรือ "หัวขี้หมา" ซึ่งจะแตกต่างออกไปตามชนิดและเพศหรือขนาด โคนหางเป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่และแข็งแรงเรียกว่า "บ้องตัน" ใช้ในการฟาดเพื่อป้องกันตัว หางแบนยาวใช้โบกว่ายน้ำ จระเข้ ถือเป็นสัตว์ที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาาหร เนื่องจากเป็นสัตว์ผู้ล่ากินเนื้อขนาดใหญ่ ที่ไม่มีศัตรูตามธรรมชาติ ยกเว้นจระเข้ในวัยอ่อน ที่ตกเป็นอาหารของสัตว์ขนาดใหญ่กว่าชนิดต่าง ๆ ได้ จระเข้ตัวโตเต็มวัยจะมีพฤติกรรมกินอาหารแบบหมุนตัว กล่าว คือ เมื่อจับเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ขณะอยู่ใต้น้ำและต้องการกินเหยื่อจะใช้ปากงับไว้และหมุนตัวเองเพื่อฉีกเนื้อเหยื่อออกเป็นชิ้น ส่วนเหยื่อที่มีขนาดเล็กถูกบดให้แหลกด้วยลิ้นขนาดใหญ่โดยใช้ลิ้นดันเหยื่ออัดแน่นกับเพดานของอุ้งปาก นอกจากนี้แล้วจระเข้ยังกลืนก้อนกรวดหรือก้อนหินเข้าไปในกระเพาะเพื่อช่วยในการบดอาหารด้วย แบ่งออกได้เป็น 3 สกุล 14 ชนิด พบได้ในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของทุกทวีปทั่วโลก นับว่ามีจำนวนสมาชิกมากและหลากหลายที่สุดของอันดับจระเข้ที่ยังพบคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ มักอาศัยบริเวณป่าริมน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ เพราะหากินในน้ำเป็นหลัก บางชนิดหรือบางพื้นที่อาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยหรือป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำใกล้ทะเล ในประเทศไทยพบ 3 ชนิด คือ จระเข้บึง หรือ จระเข้น้ำจืด (Crocodylus siamensis), อ้ายเคี่ยม หรือ จระเข้น้ำเค็ม (C. porosus) และ จระเข้ปากกระทุงเหว หรือ ตะโขง (Tomistoma schlegelii) ซึ่งมิได้ถูกจัดอยู่ในวงศ์นี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และจระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้ตีนเป็ด

แอลลิเกเตอร์ หรือ จระเข้ตีนเป็ด (Alligators; เรียกสั้น ๆ ว่า เกเตอร์: Gators) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับจระเข้ (Crocodilia) ในวงศ์ Alligatoridae ใช้ชื่อสกุลว่า Alligator แอลลิเกเตอร์เป็นจระเข้ที่อยู่ในวงศ์ Alligatoridae ซึ่งแยกมาจากจระเข้ทั่วไปส่วนใหญ่ที่จะอยู่ในวงศ์ Crocodylidae ซึ่งแยกออกมาจากกันราว 200 ล้านปีก่อน ในมหายุคมีโซโซอิก และไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่าง แอลลิเกเตอร์จึงจัดเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตจำพวกหนึ่ง แอลลิเกเตอร์ มีลักษณะที่แตกต่างไปจากจระเข้ในวงศ์ Crocodylidae หรือจระเข้ทั่วไป คือ เมื่อมองจากด้านบนจะเห็นจะงอยปากสั้นและเป็นรูปตัวยู รูจมูกมีขนาดใหญ่ และเมื่อหุบปากแล้วฟันล่างจะไม่โผล่ออกมาให้เห็น เพราะมีส่วปลายของหัวแผ่กว้างและขากรรไกรยาว ส่วนปลายของขากรรไกรล่างซ้ายและขวาเชื่อมต่อกันเป็นพื้นที่แคบ กระดูกแอนโทพเทอรีกอยด์อยู่ห่างจากแถวของฟันที่กระดูกแมคซิลลาเป็นช่องกว้าง กระดูกพาลาทีนมีก้านกระดูกชิ้นยาวอยู่ทางด้านหน้าและยื่นเลยช่องในเบ้าตา พื้นผิวด้านบนของลิ่นมีสารเคอราติน ไม่มีต่อมขจัดเกลือบนลิ้น ปัจจุบัน แอลลิเกเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ แอลลิเกเตอร์อเมริกัน (Alligator mississippiensis) ซึ่งถือเป็นสัตว์จำพวกจระเข้ที่ใหญ่ที่สุดที่พบได้ในทวีปอเมริกาเหนือ และแอลลิเกเตอร์จีน (A. sinensis) ที่พบในลุ่มแม่น้ำแยงซีในประเทศจีนเท่านั้น และเป็นสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว ซึ่งคำว่า แอลลิเกเตอร์นั้น มาจากภาษาสเปนคำว่า "Lagarto" หมายถึง "สัตว์เลื้อยคลาน".

ใหม่!!: สปีชีส์และจระเข้ตีนเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้น้ำเค็ม

ระเข้น้ำเค็ม หรือ จระเข้น้ำกร่อย หรือ ไอ้เคี่ยม หรือ จระเข้ทองหลาง(Saltwater crocodile, Estuarine crocodile) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ในอันดับจระเข้ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Crocodylidae เป็นจระเข้ 1 ใน 3 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 2 ชนิด คือ จระเข้น้ำจืดและตะโขง) มีลักษณะทั่วไปคล้ายจระเข้น้ำจืด จุดที่แตกต่างกันคือ ขาคู่หลังมีลักษณะแข็งแรงกว่าขาคู่หน้าและมีเพียง 4 นิ้วมีพังผืดระหว่างนิ้วตีนมากกว่าจระเข้น้ำจืด จะงอยปากยาวและส่วนปลายค่อนข้างแหลม มีฟันประมาณ 60 ซี่ ลักษณะแตกต่างจากจระเข้น้ำจืดคือไม่มีเกล็ด 4 เกล็ดที่ท้ายทอย ปากยาวกว่าจระเข้น้ำจืดอย่างเห็นได้ชัด มีสันเล็ก ๆ ยื่นจากลูกตาไปตามความยาวของส่วนหัวจนถึงตำแหน่งของปุ่มจมูก หรือที่เรียกว่าก้อนขี้หมา สีลำตัวออกเหลืองอ่อนหรือสีขาว และมีการเรียงตัวที่ส่วนหาง ดูคล้ายตาหมากรุก ตัวผู้มีความยาวหางยาวกว่าตัวเมีย แต่ลำตัวของตัวผู้ผอมเพรียวกว่าแต่โดยรวมแล้วขนาดลำตัวของตัวเมียจะเล็กกว่าเมื่อเทียบกันตัวต่อตัว และระยะห่างของโหนกหลังตาจะกว้างกว่าหัวของตัวผู้ดูป้อมสั้น ตัวเมียจะดูหัวยาวเรียว จระเข้น้ำเค็มจัดว่าเป็นสายพันธุ์จระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โตเต็มที่ได้ถึง 4-5 เมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศออสเตรเลียทางตอนเหนือ บริเวณนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี มักอาศัยอยู่ในป่าโกงกางหรือป่าชายเลนในที่ที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม ตัวผู้จะถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 16 ปี ตัวเมียอายุ 10 ปี แต่จะให้ไข่ที่สมบูรณ์เมื่ออายุ 12 ปี มีขนาดยาว 2.2 เมตร มีการผสมพันธุ์ในฤดูร้อนและวางไข่ในฤดูฝน ครั้งละ 25-90 ฟอง การวางไข่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที ใช้ระยะเวลาในการฟักไข่ประมาณ 80 วัน ขนาดของไข่จระเข้น้ำเค็มจะใหญ่กว่าจระเข้น้ำจืดเล็กน้อย มีน้ำหนักประมาณ 110-120 กรัม จระเข้น้ำเค็มมีอุปนิสัยดุร้ายมาก สามารถโจมตีสัตว์ที่โดยปกติไม่ใช่อาหารได้ เช่น มนุษย์ เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบางถิ่นของออสเตรเลียที่ขึ้นชื่ออย่างยิ่งในเรื่องการโจมตีมนุษย์ของจระเข้น้ำเค็ม อีกทั้งมีการกัดของกรามได้อย่างรุนแรงมากที่สุดในโลก โดยมีแรงมากถึง 1,700 ปอนด์ และสามารถกระโดดงับเหยื่อได้ ซึ่งไม่น่าเป็นไปได้ในสัตว์เลื้อยคลายขนาดใหญ่เช่นนี้ จนกระทั่งมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า "Man Eater" ซึ่งในสวนสัตว์บางแห่งได้ใช้ความสามารถพิเศษอันนี้หลอกล่อให้จระเข้กระโดดงับเหยื่อที่แขวนล่อไว้เพื่อแสดงแก่ผู้ที่มาเยี่ยมชม ในทางอุตสาหกรรม หนังของจระเข้น้ำเค็มมีคุณสมบัติเหมาะสมในการทำเครื่องหนังมากกว่าจระเข้น้ำจืด เพราะมีหนังที่เหนียวทนทานกว่า จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจ แต่ทว่าด้วยความที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการจระเข้จะโตและให้ผลผลิตที่ดีได้ จึงนิยมผสมข้ามสายพันธุ์กับจระเข้สายพันธุ์อื่นเพื่อให้ได้จระเข้ลูกผสมที่จะให้ผลผลิตที่เร็วกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และจระเข้น้ำเค็ม · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้แคระ

ระเข้แคระ (Dwarf crocodile) เป็นจระเข้ที่พบในทวีปแอฟริกา และเป็นชนิดของจระเข้ที่เล็กที่สุดในโลก ปัจจุบันจากการสุ่มตัวอย่างตรวจพบถึงการระบุประชากรที่แตกต่างกันสามกลุ่มพันธุกรรม ซึ่งการค้นพบนี้อาจยกชนิดย่อยขึ้นเป็นชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และจระเข้แคระ · ดูเพิ่มเติม »

จอตา

ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง เรตินา หรือ จอตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" หรือ จอประสาทตา (retina, พหูพจน์: retinae, จากคำว่า rēte แปลว่า ตาข่าย) เป็นเนื้อเยื่อมีลักษณะเป็นชั้น ๆ ที่ไวแสง บุอยู่บนผิวด้านในของดวงตา การมองเห็นภาพต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นได้โดยอาศัยเซลล์ที่อยู่บนเรตินา เป็นตัวรับและแปลสัญญาณแสงให้กลายเป็นสัญญาณประสาทหรือกระแสประสาท ส่งขึ้นไปแปลผลยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้เราสามารถมองเห็นภาพต่างๆได้ คือ กลไกรับแสงของตาฉายภาพของโลกภายนอกลงบนเรตินา (ผ่านกระจกตาและเลนส์) ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับฟิลม์ในกล้องถ่ายรูป แสงที่ตกลงบนเรตินาก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางเคมีและไฟฟ้าที่เป็นไปตามลำดับ ซึ่งนำไปสู่การส่งสัญญาณประสาทโดยที่สุด ซึ่งดำเนินไปยังศูนย์ประมวลผลทางตาต่าง ๆ ในสมองผ่านเส้นประสาทตา ในสัตว์มีกระดูกสันหลังในช่วงพัฒนาการของเอ็มบริโอ ทั้งเรตินาทั้งเส้นประสาทตามีกำเนิดเป็นส่วนหนึ่งของสมอง ดังนั้น เรตินาจึงได้รับพิจารณาว่าเป็นส่วนของระบบประสาทกลาง (CNS) และจริง ๆ แล้วเป็นเนื้อเยื่อของสมอง"Sensory Reception: Human Vision: Structure and function of the Human Eye" vol.

ใหม่!!: สปีชีส์และจอตา · ดูเพิ่มเติม »

จักจั่นทะเล

ักจั่นทะเล (Mole crab, Sand crab) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จำพวกอาร์โธพอด ในไฟลัมย่อยครัสตาเชียน อันดับฐานปูไม่แท้ โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hippoidea จักจั่นทะเล เป็นสัตว์ที่มีรูปร่างคล้ายกับจักจั่นที่เป็นแมลง ตัวขนาดเท่าแมลงทับ แต่อาศัยอยู่ในทะเลอันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ซึ่งตามพจนานุกรมฉบับ เปลื้อง ณ นคร ได้อธิบายไว้ว่า จักจั่นทะเล ขนาดเท่านิ้วหัวแม่โป้ง มีกระดองแข็งคล้ายปู มีขาทั้งหมด 5 คู่ แต่ส่วนของขาว่ายน้ำไม่ได้ใช้ว่ายน้ำ แต่ใช้ในการพยุงรักษาไข่เหมือนปูมากกว่า ส่วนหัวมีกรี แต่ไม่แข็งเหมือนกุ้ง ไม่มีก้ามหนีบ เป็นสัตว์ที่กินแพลงก์ตอน, สัตว์น้ำขนาดเล็ก และพืชน้ำจำพวกสาหร่ายที่ลอยมากับกระแสน้ำเป็นอาหาร โดยปกติแล้วจะอาศัยอยู่ในพื้นทรายที่ใกล้ชายฝั่งทะเลทั่วโลก เมื่อพบกับศัตรูผู้รุกรานจะมุดตัวลงใต้ทรายอย่างรวดเร็ว โดยโผล่มาแค่ก้านตา จะมีร่องรอยที่มุดลงทรายเป็นรูปตัวยู (U) หรือตัววี (V) มีพฤติกรรมการขยายพันธุ์ ด้วยการที่ตัวผู้จะฉีดน้ำเชื้อเข้าไปผสมกับไข่ของตัวเมีย ที่เกาะอยู่ใต้ท้องเหมือนกับสัตว์จำพวกอื่นในไฟลัมย่อยครัสตาเชียนเหมือนกัน โดยวางไข่ใต้พื้นทรายลึกลงไปริมชายหาด เมื่อฟักเป็นตัวอ่อนก็ถูกกระแสคลื่นน้ำพัดพาออกไปใช้ชีวิตเบื้องต้นเหมือนแพลงก์ตอน จากนั้นเมื่อเจริญเติบโตขึ้นก็ถูกกระแสน้ำพัดกลับเข้าฝั่งเป็นวงจรชีวิต จักจั่นทะเลตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้มาก โดยตัวผู้จะมีขนาดใหญ่ประมาณ 10 มิลลิเมตรเท่านั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 วงศ์ ด้วยกัน ได้แก่;Albuneidae Stimpson, 1858.

ใหม่!!: สปีชีส์และจักจั่นทะเล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอัลไบ

ังหวัดอัลไบ (Lalawigan ng Albay; Provincia de Albay) เป็นจังหวัดในเขตบีโคล ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือเลกาซปี ซึ่งยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของเขตอีกด้วย เมืองนี้ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของภูเขาไฟมาโยน ซึ่งกรวยภูเขาไฟสลับชั้นแห่งนี้ นับได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัด และเมื่อขึ้นไปข้างบน สามารถมองเห็นทัศนียภาพรอบ ๆ ที่สวยงามได้ จังหวัดอัลไบ ถูกเพิ่มใน World Network of Biosphere Reserves ของยูเนสโก ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และจังหวัดอัลไบ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโรมโบลน

ังหวัดโรมโบลน เป็นจังหวัดเกาะในเขตมีมาโรปา ประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยเกาะหลักอย่างเกาะตาบลาส ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและครอบคลุมเทศบาลทั้งเก้าแห่ง และเกาะซีบูยัน ซึ่งเป็นที่ตั้งของเทศบาลโรมโบลน ศูนย์กลางของจังหวัด จังหวัดนี้ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดมารินดูเคและเคโซน อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดซีลางังมินโดโร ทิศเหนือของจังหวัดอักลันและคาปิซ และทิศตะวันตกของจังหวัดมัสบาเต ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และจังหวัดโรมโบลน · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์เทศหอม

ันทน์เทศหอม เป็นสปีชีส์ของพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Myristicaceae เป็นพืชไม่ผลัดใบที่เป็นพืชท้องถิ่นในหมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย เป็นพืชสำคัญที่ให้ลูกจันทน์เทศและดอกจันทน์เทศ มีปลูกในกวางตุ้ง ยูนนาน ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกรนาดาในทะเลแคริบเบียน เกระละในอินเดีย ศรีลังกา และอเมริกาใต้ สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และจันทน์เทศหอม · ดูเพิ่มเติม »

จำปี

ำปี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Michelia alba DC.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า จุมปี, จุ๋มปี๋ (ภาคเหนือ) มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของจีน มาเลเซียและอินโดนีเซีย แบ่งเป็นสปีชีส์ได้ประมาณ 50 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และจำปี · ดูเพิ่มเติม »

จิก

ก (Cornbeefwood) เป็นชื่อสามัญในภาษาไทยที่ใช้เรียกต้นไม้ในสกุล Barringtonia ในวงศ์ Lecythidaceae มีลักษณะโดยร่วมเป็นไม้ยืนต้น ขึ้นในที่พื้นที่ชุ่มน้ำ ดอกมีสีขาว เกสรเพศผู้สีแดงหรือสีชมพู มักออกเป็นช่อยาวห้อยเป็นระย้า มีทั้งหมด 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิก · ดูเพิ่มเติม »

จิงโจ้

งโจ้ (Kangaroo) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องในตัวเมียสำหรับแพร่ขยายพันธุ์และเป็นที่อยู่อาศัยของลูกอ่อน นับเป็นสัตว์ในประเภทนี้ที่มีขนาดใหญ่ และเป็นสัตว์ประจำท้องถิ่นของออสเตรเลีย จิงโจ้นั้นจัดออกได้เป็นหลากหลายประเภท ในหลายวงศ์, หลายสกุล แต่ทั้งหมดจัดอยู่ในอันดับ Macropodiformes หรือที่เรียกในชื่อสามัญว่า "แมคโครพอด" (Macropod) ที่หมายถึง "ตีนใหญ่" แต่ทั้งหมดก็มีรูปร่างคล้ายกัน (แต่โดยปกติแล้ว จิงโจ้จะหมายถึงแมคโครพอดที่อยู่ในสกุล Macropus) คือ มีขาหลังที่ยาวแข็งแกร่ง ทรงพลัง ใช้ในการกระโดด และมีส่วนหางที่แข็งแรง ใช้ในการทรงตัว และใช้ในการกร.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิงโจ้ · ดูเพิ่มเติม »

จิงโจ้ต้นไม้

งโจ้ต้นไม้ (Tree-kangaroo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกระเป๋าหน้าท้องจำพวกแมคโครพอด ในวงศ์แมคโครโพดิดี (Macropodidae) เช่นเดียวกับจิงโจ้ จิงโจ้ต้นไม้วิวัฒนาการมาจากไซโนเดลฟิส สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีรูปร่างคล้ายหนู พบซากฟอสซิลที่จีน อายุราว 125 ล้านปีก่อน เช่นเดียวกับจิงโจ้หรือสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องอื่น ๆ แต่แทนที่จะมาใช้ชีวิตอยู่บนพื้นดิน แต่จิงโจ้ต้นไม้กลับขึ้นไปใช้ชีวิตอยู่บนต้นไม้ เหมือนกับไซโนเดลฟิส และวิวัฒนาการร่างกายให้เข้ากับการใช้ชีวิตบนต้นไม้ เชื่อกันว่าจิงโจ้ที่หากินบนพื้นดินหรือวอลลาบี ก็วิวัฒนาการมาจากจิงโจ้ต้นไม้อีกที จิงโจ้ต้นไม้ มีรูปร่างคล้ายกับลิงโลกใหม่หรือลีเมอร์มากกว่าจะเหมือนจิงโจ้หรือสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องทั่วไป มีหางยาวเอาไว้ถ่วงน้ำหนักขณะทรงตัวบนต้นไม้ มีอุ้งตีนที่อ่อนนุ่มและเล็บตีนหน้าแหลมยาวแข็งแรงใช้ในการเกาะเกี่ยวต้นไม้ จิงโจ้ต้นไม้สามารถกระโดดจากต้นไม้ต้นหนึ่งไปอีกต้นหนึ่งได้อย่างคล่องแคล่ว ได้ไกลถึง 30 ฟุต และสามารถกระโดดขึ้นต้นไม้ที่สูงกว่าถึง 60 ฟุตได้อย่างสบาย ๆ รวมถึงการกระโดดลงมาในแนวดิ่งด้วย แต่ในพื้นราบจะไม่คล่องแคล่วเท่า จิงโจ้ต้นไม้กินใบไม้, เปลือกไม้ และแมลงเล็ก ๆ เป็นอาหาร แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกครั้งละตัว ลูกอ่อนอาศัยอยู่ในกระเป๋าหน้าท้องของแม่จนอายุ 10 เดือน จึงออกมาหากินข้างนอก จิงโจ้ต้นไม้ พบกระจายพันธุ์ในป่าทึบของนิวกินี และออสเตรเลียทิศตะวันออกเฉียงเหนือแถบรัฐควีนส์แลนด์ และยังพบได้ในเกาะต่าง ๆ ใกล้เคียงกัน เช่น เกาะสุลาเวสี มีขนาดประมาณ 14–77 เซนติเมตร (16–30 นิ้ว) ความยาวหาง 40–87 เซนติเมตร (16–34 นิ้ว) น้ำหนักมากกว่า 14.5 กิโลกรัม (32 ปอนด์) ขึ้นไป ตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย จิงโจ้ต้นไม้ที่มีอายุยาวนานที่สุดในโลก มีชื่อว่า "แพ็ตตี" อาศัยอยู่ในสวนสัตว์ไมอามี ในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และจิงโจ้ต้นไม้ · ดูเพิ่มเติม »

จิงโจ้น้ำ

งโจ้น้ำ (Water Striders / Pond Skaters) เป็นแมลงที่จัดอยู่ในกลุ่มประเภทมวนอยู่ในอันดับ Hemiptera วงศ์ Gerridae ชื่อสามัญ Water Striders หรือ Pond skaters มีชื่อเรียกต่างกันคือ จิงโจ้น้ำ มวนจิงโจ้น้ำ แมงกะพุ้งน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิงโจ้น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

จิงโจ้แดง

งโจ้แดง (Red kangaroo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง (Marsupialia) ชนิดหนึ่ง จำพวกจิงโจ้.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิงโจ้แดง · ดูเพิ่มเติม »

จิตพยาธิวิทยาสัตว์

ตพยาธิวิทยาสัตว์ (Animal psychopathology) เป็นการศึกษาโรคจิตและพฤติกรรมในสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ โดยประวัติแล้ว ศาสตร์มักจะเอามนุษย์เป็นศูนย์ (มานุษยประมาณนิยม) เมื่อศึกษาจิตพยาธิวิทยาในสัตว์เพื่อใช้เป็นแบบจำลองสำหรับโรคจิตในมนุษย์ แต่จากมุมมองทางวิวัฒนาการ จิตพยาธิของสัตว์จะพิจารณาได้อย่างเหมาะสมกว่าว่า เป็นพฤติกรรมที่ไม่ปรับตัว (non-adaptive) เพราะความพิการทางความรู้คิด ความพิการทางอารมณ์ หรือความทุกข์บางอย่าง บทความนี้แสดงจิตพยาธิสัตว์จำนวนหนึ่งแต่ไม่สมบูรณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิตพยาธิวิทยาสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งหรีด

้งหรีด หรือ จังหรีด (Cricket; วงศ์: Gryllidae) เป็นแมลงจำพวกหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Gryllidae ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยต่าง ๆ อีกจำนวนหนึ่ง (ดูในตาราง) จิ้งหรีดถือเป็นแมลงที่มีขนาดลำตัวปานกลางเมื่อเทียบกับแมลงโดยทั่วไป มีปีก 2 คู่ คู่หน้าเนื้อปีกหนากว่าคู่หลัง ปีกเมื่อพับจะหักเป็นมุมที่ด้านข้างของลำตัว ปีกคู่หลังบางพับได้แบบพัดสอดเข้าไปอยู่ใต้ปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน หัวกับอกมีขนาดกว้างไล่เลี่ยกัน ขาคู่หลังใหญ่และแข็งแรงใช้สำหรับกระโดด ตัวผู้มีอวัยวะพิเศษสำหรับทำเสียงเป็นฟันเล็ก ๆ อยู่ตามเส้นปีกบริเวณกลางปีก ใช้กรีดกับแผ่นทำเสียงที่อยู่บริเวณท้องปีกของปีกอีกข้างหนึ่ง อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันดีของจิ้งหรีด ขณะที่ตัวเมียจะไม่สามารถทำเสียงดังนั้นได้ และจะมีอวัยวะสำหรับใช้วางไข่เป็นท่อยาว ๆ บริเวณก้นคล้ายเข็ม เห็นได้ชัดเจน จิ้งหรีดสามารถพบได้ในทั่วโลก โดยเฉพาะในเขตร้อนชื้น พบแล้วประมาณ 900 ชนิด ในประเทศไทยก็พบได้หลายชนิด จิ้งหรีดเป็นแมลงที่กัดกินพืชชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร สามารถกินได้หลายชนิด มักออกหากินในเวลากลางคืน มักจะอาศัยโดยการขุดรูอยู่ในดินหรือทราย ในที่ ๆ เป็นพุ่มหญ้า แต่ก็มีจิ้งหรีดบางจำพวกเหมือนกันที่อาศัยบนต้นไม้เป็นหลัก สำหรับในประเทศไทย พบจิ้งหรีดได้ทั่วทุกภูมิภาค ชนิดของจิ้งหรีดที่พบ ได้แก่ จิ้งหรีดทองดำ (Gryllus bimaculatus), จิ้งหรีดทองแดง (G. testaceus), จิ้งโกร่ง หรือ จิ้งกุ่ง (Brachytrupes portentosus) เป็นต้น จิ้งหรีดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตแบบไม่ต้องผ่านการเป็นหนอนหรือดักแด้ ตัวอ่อนที่เกิดมาจะเหมือนตัวเต็มวัย เพียงแต่ยังไม่มีปีก และมีสีที่อ่อนกว่า ต้องผ่านการลอกคราบเสียก่อน จึงจะมีปีกและทำเสียงได้ จิ้งหรีดจะผสมพันธุ์เมื่อเป็นตัวเต็มวัย การผสมพันธุ์และวางไข่แต่ละรุ่นจะใช้เวลาประมาณ 15 วันต่อครั้ง ในแต่ละรุ่น เมื่อหมดการวางไข่รุ่นสุดท้ายแล้วตัวเมียก็จะตาย โดยตัวผู้จะทำเสียงโดยยกปีกคู่หน้าถูกันให้เกิดเสียง เพื่อเรียกตัวเมีย จังหวะเสียงจะดังเมื่อตัวเมียเข้ามาหา บริเวณที่ตัวผู้อยู่ ตัวผู้จะเดินไปรอบ ๆ ตัวเมียประมาณ 2-3 รอบ ช่วงนี้จังหวะเสียงจะเบาลง แล้วตัวเมียจะขึ้นคร่อมตัวผู้ จากนั้นตัวผู้จะยื่นอวัยวะเพศแทงไปที่อวัยวะเพศตัวเมีย หลังจากนั้นประมาณ 14 นาที ถุงน้ำเชื้อก็จะฝ่อลง แล้วตัวเมียจะใช้ ขาเขี่ยถุงน้ำเชื้อทิ้งไป เมื่อไข่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว ตัวเมียใช้อวัยวะวางไข่ที่แทงลงในดินที่มีลักษณะเรียวยาวคล้ายเมล็ดข้าวสาร ใช้เวลาประมาณ 7 วัน ก็จะฟักออกเป็นตัวอ่อน ตลอดอายุไข่จิ้งหรีดตัวเมียสามารถวางไข่ได้ตั้งแต่ 600-1,000 ฟอง ซึ่งจะวางไข่เป็นรุ่น ๆ ได้ประมาณ 4 รุ่น จิ้งหรีดถือเป็นแมลงที่เป็นศัตรูพืชอย่างหนึ่ง แต่ก็มีความเกี่ยวพันธ์กับมนุษย์ในแง่ของเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงมาอย่างยาวนาน ในหลายวัฒนธรรม ในหลายประเทศ มีการเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อฟังเสียงร้อง และเลี้ยงไว้สำหรับการกัดกัน โดยถือว่าเป็นแมลงจำพวกหนึ่งที่สามารถนำมาต่อสู้กันได้อย่างด้วงกว่าง อีกทั้งยังปรากฏในนิทานอีสปในเรื่อง มดกับจิ้งหรีด เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ในปัจจุบัน ยังนิยมใช้เพื่อการบริโภคเป็นอาหาร และใช้เป็นอาหารสัตว์ จึงมีการส่งเสริมให้เลี้ยงจิ้งหรีดในฐานะเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยนิยมเลี้ยงกันในบ่อปูนซีเมนต์วงกลม โดยมีแหล่งใหญ่อยู่ที่อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งหรีด · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งหรีดทองดำ

้งหรีดทองดำ (House cricket, African cricket, Mediterranean field cricket, Two-spotted cricket) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง จำพวกจิ้งหรีด (Gryllidae) มีรูปร่างสั้น หัวกลม หนวดยาวแบบเส้นด้าย ลำตัวมีสีดำ ขาสีดำสนิท มีจุดเด่นคือ จุดสีเหลืองบริเวณโคนปีก 2 จุด มีปากแบบกัดกิน ส่วนปีกมีความยาว เท่ากับส่วนท้อง ขาหลังใหญ่แข็งแรง และกระโดดได้เก่ง ตัวผู้ทำเสียงโดยใช้ขอบปีกคู่หน้าที่มีรอยหยักเห็นชัดเจนสีกัน มีอวัยวะฟังเสียงอยู่ที่ขาคู่หน้า ตัวเมียมีอวัยวะวางไข่ยาวเท่ากับความยาวของลำตัว ไม่สามารถทำเสียงได้ เพราะขอบปีกไม่มีรอยหยัก ปกติขุดรูอาศัยตามทุ่งหญ้า ออกหากินในเวลากลางคืน ชอบเล่นแสงไฟ กินรากไม้และกล้าอ่อนเป็นอาหาร สามารถกัดกินพืชได้แทบทุกชนิด แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยตัวเมียจะใช้ท่อวางไข่ปักลงในดิน ลูกจิ้งหรีดเมื่อแรกเกิด ตัวจะสีขาวกว่าตัวเต็มวัย และจะยังไม่มีปีก จนกว่าจะลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย ระยะที่ไข่ฟักเป็นตัวตั้งแต่ 10-17 วัน ตามแต่ฤดูกาล จิ้งหรีดทองดำ นับเป็นจิ้งหรีดชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง เพื่อฟังเสียงร้อง และนำมากัดต่อสู้กัน นิยมกันในหลายวัฒนธรรมของหลายประเทศ ทั้ง ยุโรป, จีน, ญี่ปุ่น หรือไทย ปัจจุบัน มีการนำมาบริโภคกันทั้งทอด, คั่ว หรือเป็นอาหารสัตว์แก่สัตว์เลี้ยงชนิดต่าง ๆ เช่น ปลาอะโรวาน่า, แมงมุม, แมงป่อง, สัตว์เลื้อยคลาน จึงมีการส่งเสริมการเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐก.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งหรีดทองดำ · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งหรีดทองแดงลาย

้งหรีดทองแดงลาย หรือ จิ้งหรีดขาว หรือ แมงสะดิ้ง ในภาษาอีสาน (House cricket) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง จำพวกจิ้งหรีด (Gryllidae) เป็นจิ้งหรีดขนาดเล็ก มีลำตัวสีน้ำตาล ลักษณะคล้ายกับจิ้งหรีดทองแดง (Gryllus testaceus) แต่มีขนาดเล็กกว่า ตัวเมียมีปีกคู่หน้าสั้นครึ่งลำตัว ไม่ชอบบิน เคลื่อนไหวไม่รวดเร็วเท่าจิ้งหรีดชนิดอื่น ๆ โดยทั่ว ๆ ไปลำตัวกว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตร ยาว 2.05 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 0.53 กรัม หรือประมาณ 1,890 – 2,235 ตัว ต่อ 1 กิโลกรัม มีการแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ยุโรป, เอเชียตะวันตกเฉียงใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก โดยดั้งเดิมเป็นสัตว์ท้องถิ่นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ไปแพร่กระจายพันธุ์ที่ยุโรปตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ด้วยการติดไปกับกระถางต้นไม้ในเรือสำเภาขนส่งสินค้า จากนั้นก็ได้แพร่ขยายพันธุ์ไปยังอเมริกาเหนือ เป็นจิ้งหรีดอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และเป็นชนิดที่มีการเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจมากที่สุด เพราะจิ้งหรีดทองแดงลาย เป็นจิ้งหรีดที่มีขนาดเล็ก ให้ไข่เยอะ จึงมีความมันกว่าจิ้งหรีดชนิดอื่นเมื่อรับประทาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งหรีดทองแดงลาย · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งจกบ้าน

้งจกบ้าน หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า จิ้งจก เป็นสัตว์เลื้อยคลาน ที่อยู่ในสกุล Hemidactylus พบมากในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแพร่พันธุ์ไปในหลายประเทศทั่วโลก ทั้งแอฟริกาตะวันออก, นิวกินี, เม็กซิโก, มาดากัสการ์, ออสเตรเลีย และหลายพื้นที่ทั่วโลก สามารถพบเห็นได้ทั่วไปตามที่พักอาศัย สำหรับชนิดที่พบได้บ่อยและแพร่หลายที่สุดในประเทศไทย คือ จิ้งจกบ้านหางแบน (H. platyurus) และจิ้งจกบ้านหางหนาม (H. frenatus) มีสี่เท้า มีลำตัวขนาดเล็ก ลำตัวแบน หัวสั้น และมีหาง ไม่มีม่านตา โดยเฉลี่ยลำตัวจะมีความยาว 3 นิ้ว ตัวเต็มวัยอาจจะถึง 5 นิ้ว มีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงเข้ม ลิ้นสั้นแต่ยืดออกได้ ผิวหนังค่อนข้างละเอียด ตัวมักมีสีขาวหรือคล้ำ สามารถปรับตัวให้กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อม เท้าเหนียวช่วยให้ไต่ไปตามเพดานหรือข้างฝาได้ มักอาศัยอยู่ตามบ้านเรือน (2004):.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งจกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งจกดิน

้งจกดิน (Leaf-toed gecko, Indochinese leaf-toed gecko) สัตว์เลื้อยคลานสกุลหนึ่ง ในวงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก (Gekkonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Dixonius โดยตั้งชื่อมาจาก เจมส์ อาร์. ดิกสัน นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกแห่งมหาวิทยาลัยเทกซัสเอแอนด์เอ็ม จัดเป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก มักจะหากินอยู่ตามพื้นดิน, กองหิน, โคนต้นไม้, ตอไม้ รวมถึงผาหินในระดับต่ำ หากินในเวลากลางคืน ตอนกลางวันมักจะซ่อนตัวตามซอกหิน, โพรงไม้ หรือกองใบไม้เหนือพื้นดิน วางไข่ครั้งละ 2 ฟอง พบได้ทั้งในป่าและรวมถึงในตัวเมือง เช่น สวนสาธารณะ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน เ่ช่น กัมพูชา, เวียดนาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งจกดิน · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งจอกแร็กคูน

้งจอกแร็กคูน (raccoon dog) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nyctereutes procyonoides อยู่ในวงศ์ Canidae อันเป็นวงศ์เดียวกับสุนัข จัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวในสกุล Nyctereutes ที่ยังดำรงสายพันธุ์อยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งจอกแร็กคูน · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งเหลน

้งเหลน (Skink, ชื่อวิทยาศาสตร์: Scincidae) เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่จัดอยู่ในอันดับ Squamata เช่นเดียวกับงูและกิ้งก่า จัดอยู่ในวงศ์ Scincidae มีรูปร่างโดยรวม คือ ลดรูปรยางค์ขาแตกต่างกันหลายระดับเพราะบางชนิดมีขาใหญ่ บางชนิดมีขาเล็กมาก และบางชนิดไม่มีขา มีรูปร่างแตกต่างกันตั้งแต่ลำตัวป้อมและขาใหญ่ไปจนถึงลำตัวเรียวยาวคล้ายงู เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านท้องรูปร่างกลมและเรียบเป็นมัน เกล็ดเรียงซ้อนเหลื่อมกันและมีกระดูกในชั้นหนังรองรับโดยมีลักษณะจำเพาะ คือ เกล็ดแต่ละแผ่นมีกระดูกในชั้นหนังหลายชิ้นซึ่งแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่น ๆ ที่มีชั้นเดียว ลักษณะจำเพาะและแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่นอีกประการ คือ หลายชนิดของวงศ์นี้มีเพดานปากแบบทุติยภูมิเจริญขึ้นมา กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์ควาวิเคิลเป็นรูปโค้งหรือไม่มีกระดูกชิ้นนี้และกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม หางค่อนข้างยาว หลายชนิดปล่อยหางหลุดจากลำตัวได้เหมือนเช่น จิ้งจก เพื่อเอาตัวรอดจากศัตรู โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางอยู่ทางด้านหน้าของก้านกระดูกทางด้านข้างของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหาง พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟันหรือไม่มีฟัน วงศ์จิ้งเหลนนี้ถือว่าเป็นวงศ์ที่ใหญ่มาก สามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) แบ่งออกได้เป็นสกุลต่าง ๆ ได้ถึง 116 สกุล และเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ราว 1,000 ชนิด ซึ่งจำนวนนี้ไม่แน่นอน เพราะการค้นพบใหม่ ๆ ขึ้นทุกปี สำหรับสัตว์ในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ จิ้งเหลนบ้าน (Eutropis multifasciata) ที่สารถพบได้ทั่วไปในประเทศไทย เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งเหลน · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งเหลนจระเข้

้งเหลนจระเข้ (Crocodile skink) สัตว์เลื้อยคลานสกุลหนึ่ง จำพวกจิ้งเหลน (Scincidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Tribolonotus เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก มีลักษณะเด่นคือ ลำตัวมีผิวเรียบลื่นเหมือนจิ้งเหลนทั่วไป แต่ว่ามีเกล็ดแข็งที่เป็นหนามแหลมลักษณะคล้ายกับเกล็ดของจระเข้ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งเหลนจระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งเหลนจระเข้ตาแดง

้งเหลนจระเข้ตาแดง หรือ จิ้งเหลนจระเข้ตาส้ม หรือ จิ้งเหลนจระเข้ตาเหลือง (ตัวย่อ: Trib) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tribolonotus gracilis อยู่ในวงศ์ Scincidae หรือจิ้งเหลน มีผิวลำตัวเรียบลื่นเหมือนจิ้งเหลนทั่วไป แต่มีหนามแข็งคล้ายจระเข้ทั่วทั้งตัวจรดหาง หัวมีขนาดใหญ่ เป็นรูปทรงสามเหลี่ยม ลำตัวคล้ายทรงสี่เหลี่ยม มีสีน้ำตาลเข้มจนถึงสีดำ ดวงตามีขนาดกลมโต มีจุดเด่น คือ มีวงแหวนสีส้มหรือแดงรอบดวงตา บางตัวอาจเป็นสีน้ำตาลทอง ที่บริเวณใบหน้าและเท้า อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 7-10 นิ้ว โดยเป็นส่วนหัวและลำตัวประมาณ 3 นิ้ว และส่วนหาง 2 นิ้วเท่านั้น ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ซึ่งแตกต่างไปจากจิ้งเหลนชนิดอื่น ๆ ที่มักออกลูกเป็นตัว เมื่อแรกเกิดที่ฟักออกจากไข่จะมีขนาดราว 2 นิ้ว โตเต็มวัยเมื่อมีอายุประมาณ 6-8 เดือน ตั้งท้องนานประมาณ 20 วัน มีอายุยืนประมาณ 10-15 ปี มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ที่นิวกินี ในป่าดิบชื้น ที่มีความชื้นพอสมควร หากินตามพื้นดินไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ โดยกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น จิ้งหรีด, ทาก, ลูกกบ, หนอน, ตั๊กแตน, ไส้เดือน, หนู หรือแมลงปีกแข็ง เป็นต้น ปัจจุบัน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงแปลก ๆ หรือสัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย นิสัยไม่ดุร้าย ซึ่งนิยมเลี้ยงกันในตู้กระจก โดยจัดสภาพแวดล้อมให้คล้ายกับถิ่นที่อยู่ในธรรมชาติจริง.

ใหม่!!: สปีชีส์และจิ้งเหลนจระเข้ตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

จงโคร่ง

และวงศ์หมาน้ำ จงโคร่ง หรือ หมาน้ำ หรือ กง หรือ กระทาหอง หรือ กระหอง (ปักษ์ใต้) (อังกฤษ: Giant jungle toad, Asian giant toad; ชื่อวิทยาศาสตร์: Phrynoidis aspera) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกคางคกขนาดใหญ่ที่พบในประเทศไทยชนิดหนึ่ง จงโคร่งนับเป็นคางคกชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย บริเวณหลังมีน้ำพิษเห็นเป็นปุ่มชักเจน ตาใหญ่ ตัวมีสีน้ำตาลดำ ตัวผู้มักปรากฏลายสีเข้มเป็นแถบทั้งขาหน้า และขาหลัง บริเวณใต้ท้องมีสีขาวหม่น ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 22 เซนติเมตร ขายาว 6-8 นิ้ว ขาหน้าสั้นกว่าขาหลัง นิ้วเท้ามี 4 นิ้ว สามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ตามสภาพแวดล้อม โดยตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ จงโคร่งเป็นสัตว์ที่พบได้เฉพาะในป่าดิบชื้น โดยจะอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำในป่า เช่น ลำธารน้ำตกหรือลำห้วย โดยมักใช้ชีวิตอยู่ในน้ำมากกว่าอยู่บนบก มักหลบอยู่ตามขอนไม้หรือก้อนหินขนาดใหญ่ หากินในเวลากลางคืน อาหารหลักได้แก่ แมลงและสัตว์น้ำขนาดเล็ก มีเสียงร้องคล้ายสุนัขเห่า จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "หมาน้ำ" โดยมีพฤติกรรมร้องเป็นจังหวะ ๆ ละ 6-10 วินาที ลักษณะไข่เป็นฟองกลม ๆ อาจติดอยู่ตามขอบแหล่งน้ำที่อาศัย โดยฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูฝนจนถึงต้นฤดูหนาว พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าดิบชื้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบได้ในภาคเหนือ, ภาคตะวันตกและภาคใต้ ในความเชื่อของคนปักษ์ใต้ จงโคร่งหรือกงเป็นสัตว์นำโชค หากเข้าบ้านใครถือเป็นลางมงคล แต่ในบางท้องถิ่นมีการเอาหนังของจงโคร่งมาตากแห้งแล้วมวนผสมกับใบยาสูบสูบเหมือนยาสูบทั่วไป มีฤทธิ์แรงกว่ายาสูบหรือบุหรี่ทั่วไป โดยมีความแรงเทียบเท่ากับกัญชา ในฟิลิปปินส์ก็นิยมทำเช่นเดียวกัน ปัจจุบัน มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และจงโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

ธันเดอร์เบิร์ด (เทพปกรณัม)

อินเดียนแดง ธันเดอร์เบิร์ด (Thunderbird) เป็นชื่อนกยักษ์ในตำนานของอินเดียนแดง ซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของอเมริกาเหนือ เชื่อกันว่า ธันเดอร์เบิร์ด มีความกว้างของปีกทั้งสองข้างยาวถึง 8 เมตร และแรงกระพือของปีกเวลาบินก่อให้เกิดทอร์นาโดและฟ้าร้อง และปรากฏการณ์ฟ้าแลบนั้น เชื่อว่าเกิดจากแสงสะท้อนของแสงอาทิตย์กระทบกับตาของธันเดอร์เบิร์ด ธันเดอร์เบิร์ดเป็นนกที่ชาวอินเดียนแดงให้ความนับถือเป็นอย่างยิ่ง ถือเป็นสัตว์ที่น่าเกรงขามและศักดิ์สิทธิ์ดุจเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า โดยมักจะประดับอยู่ที่ยอดเสาอินเดียนแดงธันเดอร์เบิร์ดมีคนเขาบอกกันว่ามันคือ เทอโรซอร์ ที่ยังไม่สูญพันธ์ สันนิษฐานว่าความเชื่อเรื่องธันเดอร์เบิร์ด อาจจะมาจากนกจำพวกแร้งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ คือ แร้งแคลิฟอร์เนีย (Gymnogyps californianus) ซึ่งในอดีตเคยมีอยู่มากมาย แต่สถานะในปัจจุบันเป็นสัตว์ที่อยู่ในขั้นใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตแล้ว อย่างไรก็ดี ความเชื่อเรื่องธันเดอร์เบิร์ดได้กลายมาเป็นเรื่องเล่าลือเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดในหลายที่ของสหรัฐอเมริกา เช่น ในแถบตะวันตกเฉียงใต้ หรือที่รัฐเพนซิลเวเนีย โดยมีรายงานการพบเห็นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1840 จนถึงปัจจุบัน (ก่อนหน้านั้นมีการเล่าลือโดยชาวอินเดียนแดงมานับเป็นร้อย ๆ ปี) โดยลักษณะของสิ่งที่เชื่อว่าเป็นธันเดอร์เบิร์ด เป็นนกที่มีขนาดประมาณเครื่องบินขนาดเล็กหนึ่งลำ มีรูปร่างเหมือนนกอินทรีขนาดใหญ่ มีดวงตาสีดำขนาดใหญ่และมีจะงอยปากแข็งแรงมาก ขนทั้งตัวมีสีดำหรือสีเทาหรือสีน้ำตาล มีขาหนาและกรงเล็บใหญ่กว่าขนาดมือของมนุษย์เสียอีก โดยพยานผู้พบเห็นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 มักกล่าวตรงกันว่า เมื่อแรกเห็นพวกเขาเห็นเป็นเพียงเงาบินผาดผ่าน แต่เมื่อมองขึ้นไปแล้วเห็นเป็นสิ่งว่าเป็นเครื่องบินขนาดเล็ก แต่เมื่อพิจารณาอย่างชัด ๆ ขึ้นไปแล้ว พบว่าเป็นนกคล้ายนกอินทรีหรืออีแร้งขนาดใหญ่ มีขนสีดำ บินได้สูงและสง่างามโดยไม่ได้กระพือปีก แต่เมื่อกระพือแล้วก็ทำให้สูงขึ้นไปอีก ยิ่งโดยเฉพาะในปี ค.ศ. 2001 มีชายคนหนึ่งอ้างว่า ได้พบเห็นมันอย่างน้อย 20 นาที และเห็นรูปร่างของมันอย่างเต็มที่ มีความกว้างของปีกทั้งสองประมาณ 15 ฟุต และความยาวลำตัวถึง 5 ฟุต โดยเขากล่าวว่ามันเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เขาเคยเห็นมา จากเรื่องเล่าลือนี้ ทำให้ในปี ค.ศ. 2009 ทางช่องแอนิมอลแพลนเน็ต ได้ผลิตเป็นสารคดีทางโทรทัศน์ในชื่อ Lost Tapes ความยาวชุดละประมาณ 20 นาที เกี่ยวกับสัตว์ประหลาดชนิดต่าง ๆ ที่โจมตีใส่มนุษย์ ก็มีตอนของธันเดอร์เบิร์ดนี่ด้วย (เข้าฉายในประเทศไทยในกลางปีเดียวกันทางช่องทรูวิชันส์ โดยใช้ชื่อตอนว่า Thunderbird).

ใหม่!!: สปีชีส์และธันเดอร์เบิร์ด (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคิริบาส

งชาติคิริบาส เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดงมีรูปนกฟรีเกตใหญ่ (ภาษาอังกฤษ: Great Frigatebird อยู่ในสปีชีส์ Fregata minor, ภาษาคิริบาส: te eitei) บินอยู่เหนือดวงอาทิตย์มีรัศมี 17 แฉกโผล่พ้นน้ำ รูปดังกล่าวนี้เป็นสีทอง ครึ่งล่างของธงเป็นผืนน้ำ มีลักษณะเป็นแถบสีขาวสลับน้ำเงินสีละ 3 แถบ แถบสีดังกล่าวนี้หมายถึงมหาสมุทรแปซิฟิก และหมู่เกาะ 3 หมู่เกาะในประเทศคิริบาส คือ หมู่เกาะกิลเบิร์ต (Gilbert Islands) หมู่เกาะฟีนิกซ์ (Phoenix Islands) และหมู่เกาะไลน์ (Line Islands) รัศมีทั้ง 17 แฉกแทนเกาะทั้ง 16 เกาะของหมู่เกาะกิลเบิร์ตและเกาะบานาบา (เกาะนี้เดิมเรียกว่าเกาะโอเชียน หรือ Ocean Island) ส่วนรูปนกฟรีเกตใหญ่หมายถึงอำนาจและอิสรภาพ ธงนี้มีลักษณะอย่างเดียวกับที่ปรากฏในตราแผ่นดินของคิริบาส ซึ่งออกแบบโดยเซอร์ อาเธอร์ กริมเบิล (Sir Arthur Grimble) ในปี พ.ศ. 2475 เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายของอาณานิคมหมู่เกาะกิลเบิรต์และเอลลิส (Gilbert and Ellice Islands) ของสหราชอาณาจักร ซึ่งปัจจุบันนี้ได้แก่ประเทศคิริบาส และประเทศตูวาลู ตรานี้เริ่มใช้เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2480 และใช้ประกอบเข้ากับธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร (ธงบูลเอนไซน์ - Blue Ensign) เพื่อใช้เป็นธงราชการสำหรับอาณานิคม ภายหลังในปี พ.ศ. 2522 ก่อนหน้าการประกาศเอกราชของคิริบาสเพียงเล็กน้อย ได้มีการประกวดแบบสำหรับธงชาติและตราของคิริบาสในฐานะรัฐเอกราช แบบตราแผ่นดินในสมัยอาณานิคมก็ได้รับเลือกให้ใช้เป็นตราแผ่นดินและธงชาติของคิริบาสใหม่ โดยมีการดัดแปลงลักษณะบางอย่างให้เป็นอย่างที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงนี้ได้ชักขึ้นครั้งแรกที่กรุงทาวารา เมืองหลวงของประเทศ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: สปีชีส์และธงชาติคิริบาส · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วปากอ้า

ั่วปากอ้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vicia faba) เป็นสปีชีส์หนึ่งของถั่วมีฝักในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบแอฟริกาเหนือและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ถั่วปากอ้ามีสารพิษที่ทำให้เกิดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกง.

ใหม่!!: สปีชีส์และถั่วปากอ้า · ดูเพิ่มเติม »

ถุงมือจิ้งจอก

งมือจิ้งจอก หรือ ดิจิทาลลิส (Digitalis, Foxglove) เป็นสกุลของไม้ 20 ชนิดของสมุนไพรที่เป็นพืชสองปี (Perennial plant) ที่เรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า “foxgloves” หรือ “ถุงมือจิ้งจอก” เดิมจัดอยู่ในวงศ์มณเฑียรทอง (Scrophulariaceae) แต่หลังจากการพิจารณาทางไฟโลเจเนติกส์ ก็ได้รับการจัดให้อยู่ในตระกูลที่ใหญ่กว่าในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) ถุงมือจิ้งจอกเป็นไม้ที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรป, เอเชียตะวันตก เอเชียกลางและทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา ชื่อวิทยาศาสตร์แปลว่า “เหมือนนิ้ว” เพราะขนาดของดอกพอดีกับการที่เอาปลายนิ้วสอดเข้าไปได้พอดี ดอกออกบนกิ่งเรียวยาวชลูดขึ้นไปจากกอที่ติดดิน ตัวดอกมีลักษณะเป็นหลอดสั้น ๆ สีก็มีต่าง ๆ ที่รวมทั้งม่วง ชมพู ขาวและเหลือง ชนิดที่พบบ่อยเรียกว่า Digitalis purpurea ถุงมือจิ้งจอก นอกจากจะเป็นไม้ที่ขึ้นง่ายโดยทั่วไปเป็นดอกไม้ป่าแล้วก็ยังเป็นไม้บ้านเป็นพืชสองปีที่มักปลูกเป็นไม้ประดับเพราะดอกที่มีความเด่นที่มีสีและแต้มด้านในของดอกต่าง ๆ ปีแรกที่ปลูกจะมีเพียงแต่ใบ ปีที่สองจึงออกดอก ความสูงของก้านประมาณระหว่าง 0.5 ถึง 2.5 เมตร คำว่า “ดิจิทาลลิส” ยังหมายถึงสารดิช็อกซินที่สกัดจากไม้ที่ใช้ในการทำคาร์ดิแอกไกลโคไซด์ สำหรับการรักษาโรคหัวใจ แต่ “ถุงมือจิ้งจอก” บางพันธุ์ก็เป็นไม้มีพิษร้ายแรงทั้งต้นทั้งดอกที่ทำให้ได้สมญาว่า “กระดิ่งคนตาย” หรือ “ถุงมือแม่มด” ต้นถุงมือจิ้งจอก เป็นต้นไม้ที่ในความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ของยุโรปยุคกลางเชื่อว่า เป็นส่วนผสมที่ผสมกับสารเคมีอย่างอื่น เช่น ฝิ่น ทำให้ผู้ที่ทากลายร่างเป็นสัตว์ป่าที่ดุร้ายหรือมนุษย์หมาป่าได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และถุงมือจิ้งจอก · ดูเพิ่มเติม »

ทรูโอดอน

ทรโอดอน (Troodon หรือ Troödon) เป็น ไดโนเสาร์ กินเนื้อที่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์ทีมีความฉลาดมากที่สุด ไดโนเสาร์โทรโอดอนเป็นไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่ใน ช่วงครีเตเชียสตอนปลาย พบได้ ในประเทศอเมริกาและคานาดา ไดโนเสาร์โทรโอดอนจัดว่าเป็นไดโนเสาร์ที่มีขนาดเล็กกว่า ไดโนเสาร์พันธุ์อื่น ๆ เพราะโครงสร้างที่บอบบาง ลำตัวมีความยาวประมาณ 1.8 เมตร ข้างกะโหลกศีรษะของมัน ค่อนข้างแตกต่างจากไดโนเสาร์พันธุ์อื่น ๆ เพราะบริเวณด้านหลังและด้านข้างของจมูก จะมีโครงกระดูกแหลมโผล่ออกมา ฟันมีลักษณะแหลมและเป็นซี่เล็ก ๆ ตาโต ทำให้สามารถ มองเห็นวัตถุต่าง ๆ ได้ดี มีนิ้วมือสำหรับตะครุบ ด้วยความฉลาดและมีนิ้วมือสำหรับตะครุบ ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และทรูโอดอน · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีความผูกพัน

ำหรับทั้งทารกและเด็กหัดเดิน "เป้าหมาย" ของระบบความผูกพันโดยพฤติกรรมก็เพื่ออยู่ใกล้ ๆ กับคนที่ผูกพัน ปกติเป็นพ่อแม่ ทฤษฎีความผูกพัน (Attachment theory) หรือ ทฤษฎีความผูกพันทางอารมณ์ เป็นแบบจำลองทางจิตวิทยาเพื่อกำหนดพลศาสตร์ของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ทั้งในระยะยาวระยะสั้น แต่ว่า "ทฤษฎีความผูกพันไม่ได้ตั้งเป็นทฤษฎีทั่วไปของความสัมพันธ์ (แต่) ใช้กล่าวถึงด้าน ๆ หนึ่งเพียงเท่านั้น" คือ การตอบสนองของมนุษย์ภายในสัมพันธภาพเมื่อเจ็บ ถูกพรากจากคนรัก หรือว่ารู้สึกอันตราย โดยพื้นฐานแล้ว ทารกอาจผูกพันกับคนเลี้ยงคนไหนก็ได้ แต่ว่า คุณลักษณะของความสัมพันธ์กับ/ของแต่ละคนจะแตกต่างกัน ในทารก ความผูกพันโดยเป็นส่วนของระบบแรงจูงใจและพฤติกรรมจะสั่งการให้เด็กเข้าไปอยู่ใกล้ชิดกับคนดูแลที่คุ้นเคยเมื่อตกใจ โดยคาดหวังว่าจะได้การคุ้มครองและการปลอบใจ บิดาของทฤษฎีผู้เป็นนักจิตวิทยาทรงอิทธิพลชาวอังกฤษจอห์น โบลบี้ เชื่อว่า ความโน้มเอียงของทารกวานร (รวมทั้งมนุษย์) ที่จะผูกพันกับคนเลี้ยงที่คุ้นเคย เป็นผลของความกดดันทางวิวัฒนาการ เพราะว่าพฤติกรรมผูกพันอำนวยให้รอดชีวิตเมื่อเผชิญกับอันตรายเช่นการถูกล่าหรือต้องเผชิญกับสิ่งแวดล้อม หลักสำคัญที่สุดของทฤษฎีก็คือว่า ทารกจำเป็นต้องสร้างความสัมพันธ์กับคนเลี้ยงหลักอย่างน้อยหนึ่งคนเพื่อให้เกิดพัฒนาการทางสังคมและทางอารมณ์ได้อย่างสำเร็จ โดยเฉพาะการเรียนรู้เพื่อควบคุมอารมณ์ตนเองอย่างมีประสิทธิผล พ่อหรือคนอื่น ๆ มีโอกาสกลายเป็นผู้ผูกพันหลักถ้าให้การดูแลเด็กและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่สมควรโดยมากที่สุด เมื่อมีคนดูแลที่ไวความรู้สึกและตอบสนองต่อเด็ก ทารกจะอาศัยคนดูแลเป็น "เสาหลัก" เมื่อสำรวจสิ่งแวดล้อม ควรจะเข้าใจว่า "แม้คนดูแลที่ไวความรู้สึกจะรู้ใจถูกก็ประมาณแค่ 50% เพราะการสื่อสารอาจจะไม่ลงรอยกัน ไม่สมกัน บางครั้งพ่อแม่ก็อาจรู้สึกเหนื่อยหรือสนใจเรื่องอื่นอยู่ มีโทรศัพท์ที่ต้องรับหรืออาหารเช้าที่จะต้องทำ กล่าวอีกอย่างก็คือ ปฏิสัมพันธ์ที่เข้ากันอย่างดีอาจเสียไปได้อย่างบ่อยครั้ง แต่ลักษณะของคนดูแลที่ไวความรู้สึกคนแท้ก็คือ ความเสียหายนั้นจะได้การบริหารหรือซ่อมแซม" ความผูกพันระหว่างทารกกับผู้ดูแลเกิดขึ้นแม้เมื่อคนดูแลไม่ไวความรู้สึกและไม่ตอบสนองต่อเด็ก ซึ่งทำให้มีผลตามมาหลายอย่าง คือ ทารกจะไม่สามารถออกจากความสัมพันธ์กับคนดูแลที่ไว้ใจไม่ได้หรือไม่ไวความรู้สึก ทารกจะต้องบริหารเองเท่าที่ทำได้ภายในความสัมพันธ์เช่นนี้ โดยอาศัยเกณฑ์วิธีสถานการณ์แปลก (Strange situation) งานวิจัยของนักจิตวิทยาพัฒนาการชาวอังกฤษ ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และทฤษฎีความผูกพัน · ดูเพิ่มเติม »

ทศพร วงศ์รัตน์

ตราจารย์กิตติคุณ ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานปลา จบการศึกษาจากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโทจากประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดลไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกในเชิงอนุกรมวิธานปลาจากมหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับราชการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2524 และต่อมาในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และทศพร วงศ์รัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมสันส์กาเซลล์

ทอมสันส์กาเซลล์ (Thomson’s gazelle) เป็นกาเซลล์ชนิดหนึ่งในวงศ์ Antilopinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae โดยได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่โจเซฟ ทอมสัน นักสำรวจชาวสกอต ทอมสันส์กาเซลล์จัดเป็นแอนทิโลปขนาดเล็ก ลำตัวยาวประมาณ 1 เมตร หางยาวประมาณ 25 เซนติเมตร มีความสูงจากพื้นถึงไหล่ประมาณ 70 เซนติเมตร ขนเป็นสีน้ำตาลอมเหลืองมีแถบสีดำพาดอยู่ทั้งสองข้างของลำตัว ขนที่บริเวณท้องเป็นสีขาว หางมีสีดำ มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่เขาของตัวเมียจะเล็กและสั้นกว่าตัวผู้ น้ำหนักเต็มที่อยู่ที่ประมาณ 20-40 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในบริเวณภาคตะวันออกของทวีปแอฟริกา เช่น เคนยา, แทนซาเนีย มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นฝูงขนาดใหญ่ตามทุ่งหญ้าที่หญ้าไม่สูงมากนักหรืออยู่ตามทุ่งโล่งที่มีพุ่มไม้ขึ้นกระจัดกระจาย เป็นสัตว์ที่ปราดเปรียวโดยสามารถวิ่งได้เร็วถึง 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมื่อแรกเกิด ลูกทอมสันส์กาเซลล์จะหมอบซ่อนตัวอยู่ในพงหญ้า โดยแม่จะแวะมาให้นมเป็นระยะ ประมาณ 5-6 วัน จนกว่าจะแข็งแรงพอที่จะวิ่งตามฝูงได้ และจะเริ่มผสมพันธุ์เมื่ออายุได้ประมาณ 8-9 เดือน มีระยะตั้งท้องนาน 5.5-6 เดือน ออกลูกได้ปีละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 ตัว ทอมสันส์กาเซลล์มีนิสัยการกินแบบเดียวกับสัตว์ในวงศ์ Bovinae มากกว่าการกินใบไม้พุ่มแบบสัตว์ในวงศ์ Caprinae มีประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารหยาบเป็นเนื้อสูง ในธรรมชาติ ทอมสันส์กาเซลล์จะตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้ออยู่เสมอ ๆ เช่น สิงโต, เสือดาว, เสือชีตาห์ หรือไฮยีนา เป็นต้น ในประเทศไทย ทอมสันส์กาเซลล์กำลังจะเป็นสัตว์เศรษฐกิจชนิดใหม่ จากการสนับสนุนโดยกรมปศุสัตว์ให้เกษตรกรได้เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และทอมสันส์กาเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์วอซอรัส

วาดของทาร์วอซอรัสเมื่อขณะยังมีชีวิต ขนาดของทาร์วอซอรัสเมื่อเทียบกับมนุษย์และสัตว์อื่น (สีฟ้า) ทอร์วอซอรัส (อังกฤษ:Torvosaurus) เป็นหนึ่งใน เทอโรพอดขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในช่วงปลาย ยุคจูลาสสิค ชื่อ ทอร์วอซอรัส มาจาก ทอร์วัส ในภาษาละติน แปลว่า อำมหิต ซากดึกดำบรรพ์ของ ทอร์วอซอรัส มีการค้นพบในทวีปอเมริกาเหนือและโปรตุเกส ทอร์วอซอรัส มีความยาวระหว่าง 9-11เมตร (30-36ฟุต) น้ำหนักประมาณ 2 ตัน เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ใหญ่สุดในยุคจูลาสสิค รองจาก ซอโรเพกาแนกซ์ และ อัลโลซอรัสคู่แข่งร่วมยุคของมัน ถูกพบครั้งแรกโดย เจมส์ เจนเซ่น และ เคนเน็ท แสตทแมน ในปี 1972 ที่ชั้นหินตะกอน มอร์ริสัน ฟอร์เมชั่นชั้น (Morrison Formation) ทางตะวันตกที่ราบสูงของโคโลร.

ใหม่!!: สปีชีส์และทอร์วอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบมาลาวี

ทะเลสาบมาลาวี หรือ ทะเลสาบนยาซา หรือ ทะเลสาบนิอัสซา (Lake Malawi, Lake Nyasa, Lake Nyassa, Lake Niassa; ชื่อหลังเป็นชื่อที่นิยมเรียกกันในโมซัมบิก) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา เช่นเดียวกับทะเลสาบวิกตอเรียหรือทะเลสาบแทนกันยีกา นับว่าเป็นทะเลสาบที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดา 3 ทะเลสาบนี้ ทะเลสาบมาลาวี เกิดจากการที่พื้นผิวโลกในบริเวณหุบเขาเกรตริฟต์แวลลีย์แยกตัวออกจากกันเมื่อ 8 ล้านปีก่อน และกำเนิดเป็นทะเลสาบเมื่อ 4 ล้านปีก่อน จากน้ำที่เอ่อล้นในทะเลสาบแทนกันยีกา ไหลมารวมกันที่นี่Mutant Planet: African Rift Valley Lakes, "Mutant Planet".

ใหม่!!: สปีชีส์และทะเลสาบมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบสงขลา

ทะเลสาบสงขลา หรือ ทะเลสาบพัทลุง หรือ ทะเลสาบลำปำ (ชื่อที่เรียกในเขตจังหวัดพัทลุง) เป็นทะเลสาบแห่งเดียวในประเทศไทยที่อยู่ติดกันถึง 3 จังหวัด มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 1,000 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ จังหวัดพัทลุง ในเขตอำเภอเมืองพัทลุง อำเภอปากพะยูน อำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสนและอำเภอควนขนุน, จังหวัดสงขลา ในเขตอำเภอระโนด อำเภอสทิงพระ อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสิงหนคร อำเภอเมืองสงขลา อำเภอควนเนียง อำเภอหาดใหญ่ และอำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ทะเลสาบสงขลาตอนล่างมีเกาะขนาดใหญ่อยู่เกาะหนึ่ง คือ เกาะยอ และมีเกาะต่าง ๆ อีก ที่เป็นแหล่งสัมปทานเก็บรังนก คือ เกาะสี่ เกาะห้.

ใหม่!!: สปีชีส์และทะเลสาบสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบคานาส

ทะเลสาบคานาส (Kanas Lake, Kanasi Lake.) หรือ คานาซือ (喀纳斯, พินอิน: Kānàsī Hú) หรือ ฮานาซือ (哈纳斯) ในภาษาจีน เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่อยู่ท่ามกลางวงโอบล้อมของเทือกเขาอัลไต มีพื้นที่กว่า 2,000 ตารางกิโลเมตร โดยอยู่บริเวณตอนเหนือสุดของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ อยู่ระหว่างพรมแดนจีนกับคาซัคสถาน โดยคำว่า "คานาส" เป็นภาษามองโกล แปลว่า "ทะเลสาบท่ามกลางขุนเขา" ทะเลสาบคานาสเป็นทะเลสาบทรงรีอยู่เหนือระดับน้ำทะเลถึง 1,370 เมตร มีโค้งใหญ่ ๆ รวม 6 แห่ง ยาวรวมทั้งสิ้น 24 กิโลเมตร นอกจากนี้แล้ว ทะเลสาบคานาสยังถือว่าเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกที่สุดในโลกอีกด้วย โดยจุดที่ลึกที่สุดนั้นอยู่บริเวณโค้งที่ 2 มีความลึกราว 188 เมตร หรือเทียบเท่ากับตึกราว 60 ชั้น ทะเลสาบแห่งนี้ มีฉายาว่า "ทะเลสาบเปลี่ยนสี" ด้วยเหตุที่เมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง สีของน้ำในทะเลสาบก็จะเปลี่ยนตาม กล่าวคือ ในวันท้องฟ้าสดใสน้ำในทะเลสาบแห่งนี้จะเป็นสีเขียวครามเข้ม ในวันครึ้มฟ้าครึ้มฝน น้ำในทะเลสาบจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเทา และในช่วงฤดูร้อนที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นสูงน้ำในทะเลสาบก็จะสะท้อนออกมาเป็นสีเขียวครามขุ่น นอกจากนี้แล้ว รอบ ๆ ทะเลสาบคานาสยังได้ขึ้นทะเบียนเป็นเขตอนุรักษ์ธรรมชาติ ด้วยมีความหลากหลายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์มากมาย มีสัตว์หายากหลายชนิดที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ เช่น หมีสีน้ำตาล (Ursus arctos), แมวป่าลิงซ์ยูเรเซีย (Lynx lynx), เสือดาวหิมะ (Uncia uncia) เป็นต้น ทะเลสาบคานาสยังเป็นสถานที่ ๆ มีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดที่อาศัยอยู่ในห้วงลึกสุดของทะเลสาบเช่นเดียวกับ สัตว์ประหลาดล็อกเนสส์ ของทะเลสาบเนสส์ ในสก็อตแลนด์อีกด้วย โดยเป็นความเชื่อของชาวถูหว่าซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่นั่น ที่เชื่อว่า สัตว์ประหลาดตัวนี้ คือ ปลาไทแมน (Hucho taimen) ปลาจำพวกแซลมอนขนาดใหญ่ ที่มีสีแดงก่ำ แต่ก็เชื่อว่าสัตว์ประหลาดแห่งทะเลสาบนี้ได้ลากเอาสัตว์เลี้ยงจำพวก วัว ควาย แพะ แกะและม้า ของชาวบ้านลงไปกินในน้ำด้วย ด้วยการสำรวจของนักสำรวจกลุ่มหนึ่งในช่วงทศวรรษที่ 80 พบโครงกระดูกที่สมบูรณ์ของสัตว์เหล่านี้ที่ก้นทะเลสาบ ซึ่งต่อมาได้มีการพิสูจน์ความจริงโดยสถานีโทรทัศน์ CCTV ของจีน ด้วยการจับภาพ พบว่าเป็นฝูงปลาไทแมนขนาดใหญ่ แต่ถึงอย่างไรความเชื่อในเรื่องสัตว์ประหลาดนี้ก็ยังคงมีอยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และทะเลสาบคานาส · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบแทนกันยีกา

ทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม), แทนซาเนีย, แซมเบีย และบุรุนดี เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจากทะเลสาบวิกตอเรีย นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลกและภูเขาไฟระเบิด เมื่อราว 20 ล้านปีมาแล้ว นับเป็นทะเลสาบแห่งหนึ่งที่มีอายุเก่าแก่ในทวีปแอฟริกา ซึ่งตั้งอยู่ในแนวเกรตริฟต์แวลลีย์ โดยคำว่า "แทนกันยีกา" นั้นมาจากภาษาสวาฮิลีสองคำ คือ "tangan" หมายถึง "เรือใบ" และ "nyika" หมายถึง "ป่า" หรือ "ไม่มีที่อยู่" โดยรวมอาจหมายความว่า "เรือใบที่แล่นในถิ่นทุรกันดาร" ก็ได้ ทะเลสาบแทนกันยีกา มีความยาวจัดจากเหนือจรดใต้ได้ถึง 673 กิโลเมตร แต่มีความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 3,2892 ตารางกิโลเมตร ความยาวรอบชายฝั่งวัดรวมกันได้ 1,828 กิโลเมตร และยังเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกเป็นอันดับสองของโลกรองจากทะเลสาบไบคาล ในไซบีเรีย มีดินแดนติดกับคองโกราวร้อยละ 45 และติดกับแทนซาเนียร้อยละ 41 โดยประมาณ น้ำในทะเลสาบไหลสู่แม่น้ำคองโกในตอนกลางของทวีป และจะไหลไปลงทะเลที่ตอนแอฟริกาตะวันตกที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลสาบแห่งนี้มีความโดดเด่นเรื่องของอุณหภูมิที่ค่อนข้างเสถียร เรื่องจากข้างล่างทะเลสาบยังคงมีภูเขาไฟ น้ำมีการเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งน้อยมาก ในความลึกเกิน 300 เมตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำค่อนข้างน้อย จึงมักไม่ค่อยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมีความเปลี่ยนแปลงต่างกันไม่เกิน 5 ฟาเรนไฮต์ โดยบริเวณผิวน้ำจะมีอุณหภูมิประมาณ 73-88 ฟาเรนไฮต์ ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำอยู่ที่ประมาณ 7.5-9.3 (pH) ระบบนิเวศของทะเลสาบแทนกันยีกา แบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลัก คือ ระบบชายฝั่งและพื้นที่นอกชายฝั่ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบนิเวศตามสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และทะเลสาบแทนกันยีกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบเวิร์ท

ทะเลสาบเวิร์ท (Wörthersee; Vrbsko jezero) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในรัฐคารินเทีย ทางตอนใต้ของประเทศออสเตรีย เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยมอย่างมากแห่งหนึ่งของออสเตรีย มีความกว้าง 16.5 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่กว่า 90 ตารางกิโลเมตร จุดที่ลึกที่สุดอยู่ที่ทางตะวันตกมีความลึกประมาณ 85 เมตร โดยชื่อ "ทะเลสาบเวิร์ท" มาจากภาษาเยอรมันสูงโบราณ "แวร์แดร์เซ" (Werdersee) แปลว่า "ทะเลสาบเกาะ" โดยที่นี่มีเกาะขนาดใหญ่ 3 เกาะ ชื่อนี้ถูกใช้มาจนถึงศตวรรษที่ 19 จากนั้นจึงเริ่มเป็นที่รู้จักในชื่อทะเลสาบเวิร์ท ทะเลสาบเวิร์ท เกิดจากการละลายของธารน้ำแข็งโบราณที่ไหลไปตามเนินเขาคารินเทียกลาง จนเกิดเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ ที่มีปริมาตรน้ำ 816 ล้านลูกบาตรเมตร มีสภาพภูมิอากาศอบอุ่น อุณหภูมิโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 28 องศาเซลเซียส เนื่องจากมีเทือกเขาป้องกันอากาศหนาวอยู่ ทำให้มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อถึงฤดูหนาว โดยปกติน้ำที่นี่จะยังไม่แข็งตัวเป็นน้ำแข็งจนกว่าจะก่อนถึงเดือนมกราคม และจะกลายเป็นน้ำแข็งก็ต่อเมื่อฤดูหนาวนั้นอุณหภูมิหนาวจัดเท่านั้น โดยอุณหภูมิจะเริ่มเย็นตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน แต่ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงอากาศจะอบอุ่น อีกทั้งสีของน้ำจะแปรเปลี่ยนไปตามฤดูกาล และจากสภาพภูมิอากาศที่อบอุ่นทำให้เป็นหนึ่งในแหล่งที่เป็นที่เล่นน้ำและแล่นเรือใบรวมถึงอาบแดดที่ได้รับความนิยมอย่างมากในออสเตรเลีย และยังเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ ทั้ง นก, ปลา, สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลานหลายชนิด โดยเฉพาะกลันโฟร์ตทางทิศตะวันออกที่เป็นเขตป่าอนุรักษ์ เป็นที่ตั้งของเขตสงวนนาทูรา 2000 ทะเลสาบเวิร์ทในฤดูหนาว ที่น้ำบางส่วนเปลี่ยนเป็นน้ำแข็ง ทะเลสาบเวิร์ท ในช่วงฤดูร้อนได้รับความนิยมอย่างมาก จึงเกิดมีการปลูกสร้างบ้านและที่พักอาศัยที่มีความสวยงามอยู่รอบ ๆ ทะเลสาบ ทั้งสถาปัตยกรรมแบบบาโรก, ศิลปะสมัยใหม่ และบ้านในชนบทของอังกฤษ อีกทั้งเป็นแรงบันดาลให้ศิลปินและจิตรกรจำนวนมากใช้ที่นี่เป็นฉากหลังในงานศิลปะ ตลอดจนใช้เป็นฉากในการถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นสถานที่ ๆ ใช้ในการแข่งขันไตรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในออสเตรีย คือ ไตรกีฬาคนเหล็ก ตลอดจนหาดทรายริมทะเลสาบก็ใช้เป็นสถานที่แข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด และยังมีสไลเดอร์ขนาดใหญ่ของเทศบาลเมืองที่ให้บริการฟรีแก่ผู้มาเล่นน้ำด้วย ในด้านชีวภาพ ที่นี่มีปลาอย่างน้อย 21 ชนิด ทั้งปลาพื้นถิ่น หลายชนิดเป็นปลาหายาก รวมถึงปลาเวลส์ ปลาหนังขนาดใหญ่ที่สุดของทวีปยุโรป และปลาแสงอาทิตย์หูยาว ซึ่งเป็นปลาต่างถิ่นจากทวีปอเมริกาเหนือ ที่ยังไม่มีรายงานการสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม และยังเป็นแหล่งอาศัยและทำรังวางไข่ของนกเป็ดผีใหญ่ ที่ใหญ่ที่สุดในออสเตรียอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และทะเลสาบเวิร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ทัวทารา

ทัวทารา (Tuatara) เป็นสัตว์เลื้อยคลานดึกดำบรรพ์ที่สืบเชื้อสายมาจากสัตว์เลื้อยคลานโบราณยุคเดียวกับไดโนเสาร์ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เมื่อกว่า 220 ล้านปีก่อน จัดเป็นสัตว์หายาก และอายุยืน สามารถปรับสภาพตัวเองจนอยู่รอดมาได้ถึงทุกวันนี้ คาดการณ์ว่าปัจจุบันมีจำนวนประชากรเหลืออยู่ในธรรมชาติราว 50,000 ตัว ทัวทารา จัดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสกุล Sphenodon พบเฉพาะบนเกาะเหนือ ของนิวซีแลนด์เพียงแห่งเดียวในโลกเท่านั้น มีทั้งหมด 3 ชนิด (สูญพันธุ์ไปแล้ว 1 ชนิด) เป็นสัตว์ที่สืบเผ่าพันธุ์มาจากไดโนเสาร์ที่อยู่ในอันดับ Sphenodontia ที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 200 ล้านปีก่อน ขนาดลำตัวของทัวทาราเล็กกว่าบรรพบุรุษมาก โดยมีความยาวจากหัวถึงหางแค่ 32 นิ้วเท่านั้น ตรงแนวสันหลังจะมีรอยหยักขึ้นมาแบบเดียวกับไดโนเสาร์ เป็นสัตว์ที่มีอายุยืนยาวได้ถึง 200 ปี และเคลื่อนไหวช้าเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งคำว่า "ทัวทารา" เป็นภาษาเมารี หมายถึง "รอยหยักตรงแนวสันหลัง" เชื่อว่า บรรพบุรุษของทัวทาราเดินทางมาสู่นิวซีแลนด์จากออสเตรเลียด้วยการเกาะกับของขยะลอยน้ำมากลางทะเลพร้อม ๆ กับการกำเนิดขึ้นมาของผืนดินนิวซีแลนด์เมื่อกว่า 60 ล้านปีก่อน ทัวทารา มีความแตกต่างจากกิ้งก่า ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานส่วนใหญ่ในปัจจุบัน พอสมควร โดยลักษณะที่สำคัญ คือ ไม่มีช่องเปิดของหูชั้นนอก และไม่มีอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศผู้ ใช้การผสมพันธุ์โดยให้ช่องเปิดใต้ท้องติดกัน และปล่อยน้ำเชื้อผ่านเข้าไป บนกลางหัวของทัวทารามีแผ่นหนังที่คล้ายกับดวงตา ที่ทำหน้าที่เหมือนกับดวงที่สาม เรียกว่า "ตาผนังหุ้ม" สามารถตรวจจับแสงและแรงสั่นสะเทือน รวมทั้งทำหน้าที่เหมือนกับตาของสัตว์ประเภทอื่น ๆ ได้ ทัวทารา ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์ที่ซุ่มโจมตีได้อย่างดีเยี่ยม ด้วยเป็นสัตว์ที่เคลื่อนไหวช้า จึงกินแมลงต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นดิน ด้วยการซุ่มนิ่ง ๆ รวมทั้งลูกไม้บางชนิดที่อยู่บนต้น และยังกินแม้แต่ลูกทัวทาราที่เพิ่งฟักจากไข่ใหม่ ๆ ด้วย ทัวทารา เติบโตเต็มที่เมื่ออายุได้ 70 ปี และเริ่มผสมพันธุ์ได้ตั้งแต่อายุ 20 ปี ซึ่งในปี ค.ศ. 2009 ที่สวนสัตว์ในประเทศอังกฤษ ทัวทาราเพศผู้ตัวหนึ่งอายุ 111 ปี ที่ถูกเลี้ยงในนั้นได้ผสมพันธุ์กับทัวทาราเพศเมีย และได้ไข่และฟักออกเป็นตัวทั้งหมด 11 ตัวด้วยกัน ทัวทาราเมื่อวางไข่เสร็จแล้ว จะไม่กลับมาดูแลหรือฟักไข่ แต่จะปล่อยให้ฟักเองโดยธรรมชาติ ไข่ของทัวทารามีลักษณะเปลือกหยุ่นคล้ายแผ่นหนัง และเมื่อฟักออกมาเป็นตัวแล้ว ทัวทาราขนาดเล็กซึ่งมีความยาวเพียง 3 นิ้ว จะรีบออกมาจากโพรงทันที มิเช่นนั้นจะตกเป็นเหยื่อของทัวทาราตัวโตกว่าได้ New Zealand ดินแดนแห่งนก, "Mutant Planet" ทางแอนิมอลแพลนเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และทัวทารา · ดูเพิ่มเติม »

ทากิฟูงุ

ทากิฟูงุ (Takifugu; トラフグ属.) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์เรียกสกุลหนึ่งของปลาปักเป้าในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อสามัญภาษาญี่ปุ่นว่า "ฟูงุ" (河豚-แปลว่า หมูแม่น้ำ) เนื่องจากเป็นปลาปักเป้าสกุลที่นิยมนำมาทำซาชิมิหรือปลาดิบ อาหารญี่ปุ่นที่มีชื่อไปทั่วโลก โดยใช้ชื่อสกุลว่า Takifugu.

ใหม่!!: สปีชีส์และทากิฟูงุ · ดูเพิ่มเติม »

ทากทะเล

ทากทะเล (Nudibranch, Sea slug) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกมอลลัสกา เช่นเดียวกับหอย และหมึก จัดอยู่ในชั้นหอยฝาเดี่ยว ในอันดับย่อย Nudibranchia ทากทะเล มีลักษณะเด่น คือ ไม่มีเปลือกห่อหุ้มลำตัว เพราะเปลือกลดรูปจนมีขนาดเล็กคลุมตัวไม่มิด หรือไม่มีเปลือกเลย ทากทะเลส่วนใหญ่มีสีสวยสดงดงาม บางชนิดมีหลายสีบนตัวเดียวกัน และสามารถปรับสีของตัวให้เข้ากับสภาพของแหล่งอาศัย สีที่ฉูดฉาดของทากทะเลทำให้สัตว์อื่นหลีกเลี่ยงที่จะกินเป็นอาหาร เพราะทากทะเลจะสร้างสารเคมีที่เป็นพิษสะสมไว้ตามผิว เพื่อป้องกันตัว บางชนิดมีอวัยวะช่วยหายใจอยู่ทางด้านบนของหัวหรือลำตัว ซึ่งอาจมีลักษณะเป็นเส้น เป็นกระจุก หรือเป็นแผ่น หรือคล้ายเขา และเป็นสัตว์ที่ไม่มีตาสำหรับการมองเห็น ส่วนมากอาศัยอยู่ในแนวปะการัง และบริเวณใกล้เคียง กินอาหารพวกสาหร่าย, ฟองน้ำ, ดอกไม้ทะเล, ปะการังอ่อน, กัลปังหา และเพรียงหัวหอม ทั่วโลกพบประมาณ 2,000 ชนิด ในน่านน้ำไทยสำรวจพบประมาณ 100 ชนิด เช่น ทากเปลือย เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และทากทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ทาร์โบซอรัส

ทาร์โบซอรัส บาร์ทา เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อดุร้ายมากเหมือนไทรันโนซอรัส เป็นบรรพบุรุษของ ไทรันโนซอรัส พบได้ในเอเชีย มองโกเลีย และจีน ความยาวประมาณ 10-12 เมตร หนัก 5 - 7 ตัน สูงจากหัวถึงพื้น 3.3 เมตร อยู่ยุคครีเทเชียส 85 - 65 ล้านปีก่อน มันมีลักษณะไม่แตกต่างกับไทรันโนซอรัส เร็กซ์ เลย บางคนจึงเรียกมันว่าไทรันโนซอรัส บาร์ทา โดยทาร์โบซอรัส เป็นหนึ่งในบรรพบุรุษของไทรันโนซอรัส โดยเหยื่อของมันก็ไม่ต่างอะไรกับเหยื่อที่ไทแรนโนซอรัส ล่าเป็นอาหารแต่ต่างกันตรงที่ ทาร์โบซอรัส จะล่าเหยื่อที่มีขนาดเล็กไปจนถึงขนาดกลาง ซึ่งต่างจากทีเร็กซ์ที่จะล่าเหยื่อขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งความแตกต่างของ2นักล่าขนาดใหญ่นี้อยู่กะโหลก เพราะ กะโหลกของทาร์โบซอรัสนั้นบางกกว่ากะโหลกของทีเร็กซ์ ในทวีปเอเชียช่วงที่ทาร์โบซอรัสมีชีวิตอยู่ มันคือนักล่าที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในช่วงที่มันมีชีวิตอยู่ ภาพเปรียบเทียบระหว่าง กะโหลกของ ทาร์โบซอรัส(A) กับ กะโหลกของทีเร็กซ์(B) หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และทาร์โบซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ทาร์เซียร์

วีดีโอคลิปทาร์เซียร์ไม่ทราบชนิด ทาร์เซียร์ (tarsier) หรือ มามัก (mamag) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในอันดับไพรเมตที่วิวัฒนาการมาจากยุคไอโอซีนจนมาถึงยุคปัจจุบัน ที่มีรูปร่างลักษณะไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากนัก มีเพียงวงศ์เดียว คือ Tarsiidae และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Tarsius.

ใหม่!!: สปีชีส์และทาร์เซียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทาแมนดัว

ทาแมนดัว เป็นตัวกินมดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tamandua ซึ่งคำว่า tamanduá นี้เป็นภาษาตูเปียนแปลว่า "ตัวกินมด" ทาแมนดัว เป็นตัวกินมดที่มีขนาดกลาง มีความยาวเต็มที่ตั้งแต่ปลายปากจรดหางราว 100 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร ทาแมนดัวมีลิ้นที่เรียวยาวสามารถยืดหดเข้าไปในปากได้อย่างรวดเร็ว เพื่อตวัดเอาแมลงขนาดเล็กกินเป็นอาหาร ทาแมนดัว มีขนปกคลุมตลอดทั้งลำตัวและมีผิวหนังที่หนาเพื่อป้องกันตัวจากการถูกกัดหรือโจมตีโดยแมลงที่เป็นอาหาร แต่ปลายหางของทาแมนดัวนั้นเป็นเกล็ดขนาดเล็ก ๆ ซึ่งปลายหางนั้นสามารถใช้เกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้หรือต้นไม้ได้เป็นอย่างดี เมื่อแลมองไกล ๆ จะเหมือนกับว่ามีแขนที่ 5 เนื่องจากทาแมนดัวเป็นตัวกินมดที่หากินและใช้ชีวิตอยู่บนต้นไม้เป็นหลัก มีกรงเล็บตีนหน้าที่แหลมคม ใช้สำหรับขุดคุ้ยหาแมลงกิน และใช้ในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งทาแมนดัวเมื่ออาศัยหรือเข้าไปหากินในพื้นที่ใด ๆ ลิงหลายชนิดก็จะไม่เข้าใกล้ และจะหนีไป เนื่องจากทาแมนดัวเป็นตัวกินมดที่หากินบนต้นไม้เป็นหลัก ดังนั้นอาหารที่กินส่วนใหญ่จะเป็น มด มากกว่าจะเป็นปลวก ซึ่งเป็นแมลงที่ทำรังบนพื้นดินมากกว่า และถึงแม้ว่าทาแมนดัวจะไม่มีฟัน แต่เมื่อถูกคุกคามหรือถูกจับด้วยมนุษย์ ก็จะหันมากัดด้วยกราม ซึ่งทำให้นักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาทาแมนดัวต้องสวมเครื่องป้องกันตลอดทั้งแขน นอกจากนี้แล้วยังสามารถที่จะยืนด้วย 2 ขาหลังได้ โดยยกกรงเล็บตีนหน้าขึ้นเพื่อการป้องกันตัว ทาแมนดัว เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ในป่าดิบตั้งแต่อเมริกากลาง จนถึงทวีปอเมริกาใต้ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืนเป็นหลัก แต่ก็สามารถหากินในเวลากลางวันได้ด้วยเช่นกัน โดยปกติเป็นสัตว์ที่พบเห็นตัวได้ยาก เนื่องจากค่อนข้างเก็บตัวและขี้อาย และจากการค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ พบว่า ทาแมนดัวยังใช้กรงเล็บหน้าในการผ่าลูกปาล์มที่เพิ่งสุกแยกออก เพื่อใช้ลิ้นตวัดกินน้ำและเนื้อผลของลูกปาล์มกินเป็นอาหารได้อีกด้วย ซึ่งพฤติกรรมนี้เชื่อว่าเป็นพฤติกรรมที่มาจากการเรียนรู้ หรือสั่งสอนกันมาจากรุ่นต่อรุ่น เพื่อเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม.

ใหม่!!: สปีชีส์และทาแมนดัว · ดูเพิ่มเติม »

ทิวลิป

ในดอก ทิวลิป เป็นดอกไม้เมืองหนาวที่เป็นสัญลักษณ์ของฮอลแลนด์ มีอยู่หลายสี ดอกทิวลิปจะปลูกได้ต้องใช้อุณหภูมิที่เหมาะสม คือไม่เกิน 25 องศาเซลเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และทิวลิป · ดูเพิ่มเติม »

ทุเรียน

ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..

ใหม่!!: สปีชีส์และทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ทีนอนโตซอรัส

ที่นอนโตซอรัส (tenontosaurus) ชื่อของมันมีความหมายว่า กิ้งก่าเอ็นกล้ามเนื้อ ที่ชื่อของมันมีความหมายแบบนี้เพราะมีเส้นเอ็นแข็งๆ ตั้งแต่หลังไปจนถึงหาง พบในยุคครีเทเซียสตอนต้น ฟอสซิลของมันค้นพบที่อเมริกาเหนือและแอฟริกา ขนาด 5 เมตร เวลายืนมันใช้ขาหลัง เวลาเดินมันจะใช้ขาทั้งหมด หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และทีนอนโตซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ที่อยู่อาศัย

งส่วนของที่อยู่อาศัยของช้างแอฟริกา ที่หลงเหลืออยู่ ที่อยู่อาศัย (Habitat) หมายถึง พื้นที่ทางระบบนิเวศวิทยาหรือสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นที่อาศัยของสัตว์ พืช หรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในสปีชีส์ที่เฉพาะเจาะจงDickinson, C.I. 1963.

ใหม่!!: สปีชีส์และที่อยู่อาศัย · ดูเพิ่มเติม »

ที่อยู่อาศัยใต้ทะเล

ใต้ทะเลมีสภาพแวดล้อมมากมายที่สิ่งมีชีวิตสามารถใช้เป็นที่อยู่อาศัยได้ สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลทุกชนิดต้องพึ่งน้ำทะเล ที่อยู่อาศัยคือพื้นที่ทางระบบนิเวศวิทยาหรือสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นที่หนึ่งหรือหลายสปีชีส์อาศัยอยู่Dickinson, C.I. 1963.

ใหม่!!: สปีชีส์และที่อยู่อาศัยใต้ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดราวิโดซอรัส

ราวิโดซอรัส (Dravidosaurus) เป็นไดโนเสาร์สเตโกซอร์ชนิดเดียวที่อาศัยอยู่ในอินเดีย และยังเป็นสเตโกซอร์ชนิดเดียวที่อยู่ในยุคครีเทเซียสเมื่อ 75 ล้านปีก่อน ชื่อของมันมีความว่า"กิ้งก่าแห่งดราวิดานาดู"ตามชื่อสถานที่ค้นพบของมัน ดราวิโดซอรัสมีขนาดเพียง 6 เมตร มันกินพืชและรักสง.

ใหม่!!: สปีชีส์และดราวิโดซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ดอกไม้ป่า

ดอกไม้ป่า ดอกไม้ป่า คือดอกไม้ที่เกิดขึ้นในลักษณะที่ไม่ถูกตั้งใจปลูก มักมีลักษณะผสมกันระหว่างรายสปีชีส์ หมวดหมู่:พืช หมวดหมู่:ดอกไม้ หมวดหมู่:ดอกไม้ป่า.

ใหม่!!: สปีชีส์และดอกไม้ป่า · ดูเพิ่มเติม »

ดัค

ัค (Douc, Douc langur; เป็นภาษาเวียดนามหมายถึง "ลิง") เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pygathrix อยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นค่างจำพวกหนึ่ง ที่มีสีสันตามลำตัวสวยงาม โดยเฉพาะหน้าแข้งที่เป็นสีแดงเข้ม พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบพรมแดนระหว่างประเทศลาวและเวียดนาม หางมีความยาว มีพฤติกรรมกินใบไม้และดอกไม้เป็นอาหารหลักได้หลากหลายถึง 450 ชนิด และพบได้ในพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลถึง 200-1,400 เมตร แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด โดยจำแนกตามลักษณะสีขนที่แตกต่างออกไป (ในข้อมูลบางแหล่งจัดให้มีมากถึง 5 ชนิด แต่ปัจจุบันถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rhinopithecus และในข้อมูลเก่าจัดให้มีเพียงชนิดเดียวแต่แบ่งเป็นชนิดย่อยของกันและกัน) ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และดัค · ดูเพิ่มเติม »

ดังเคิลออสเตียส

ังเคิลออสเตียส (Dunkleosteus) เป็นสกุลของปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dunkleosteus (มาจาก "(เดวิด) Dunkle" + osteus (οστεος, ภาษากรีก: กระดูก); หมายถึง "กระดูกของดังเคิล" ซึ่งตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เดวิด ดังเคิล ภัณฑารักษ์แห่งพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์) ดังเคิลออสเตียส เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่อาศัยอยู่ในปลายยุคดีโวเนียน (380-360 ล้านปีมาแล้ว) จัดเป็นปลาที่มีขากรรไกรที่เป็นปลานักล่ากินเนื้อขนาดใหญ่ที่เป็นเสมือนคู่แข่งตัวฉกาจของปลาฉลามในยุคต้นของการวิวัฒนาการเลยทีเดียว ดังเคิลออสเตียส ถือเป็นสกุลของปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่อยู่ในอันดับ Arthrodira รูปลักษณ์ภายนอกของปลาสกุลนี้แลดูดุดันน่ากลัวมาก ที่เห็นเด่นชัดสุดคงเป็นแผ่นขากรรไกรแข็งแรง ยืดหยุ่นได้ดี ไม่มีฟันแต่ที่ขอบปากมีลักษณะแหลมคล้ายเขี้ยวทั้งด้านบนและล่าง ทำให้เป็นเหมือนจะงอยปากไว้งับเหยื่อโดยไม่ต้องใช้ฟัน ในขณะที่มีลำตัวตัวยาว 3-9 เมตร และหนักได้ถึง 3.6-4 ตัน และมีโครงสร้างประกอบด้วยเกล็ดอย่างหนาและแข็งเสมือนชุดเกราะ มีทั้งหมด 7 ชนิด และเป็นชนิดที่เพิ่งได้รับการอนุกรมวิธานไปเมื่อปี ค.ศ. 2010 2 ชนิด (ดูในตาราง) ที่ผ่านมานักวิทยาศาสตร์พบฟอสซิลจำนวนมากของดังเคิลออสเตียสในทวีปอเมริกาเหนือ, โปแลนด์, เบลเยียม และโมร็อกโก แต่มักเป็นฟอสซิลส่วนหัว ทำให้ไม่เป็นที่ชัดเจนว่าท่อนล่างของลำตัวเป็นอย่างไร จากโครงสร้างเสมือนเกราะแข็งหนักของดังเคิลออสเตียสทำให้เชื่อว่าเป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนปลาชนิดอื่น และชอบอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งมากกว่า นักวิทยาศาสตร์ของพิพิธภัณฑ์ฟิล์ด มิวเซียม และมหาวิทยาลัยชิคาโก ศึกษาโครงสร้างขากรรไกรของดังเคิลออสเตียสแล้วมีความเห็นว่าต้องเป็นปลาที่มีพลังในการกัดมหาศาลเหนือกว่าปลาชนิดอื่นใด และเหนือกว่าปลาฉลามทั่วไป และแม้แต่ปลาฉลามขาว โดยมีแรงกดทับสูงถึง 8,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ซึ่งความร้ายกาจอันนี้จึงมักจะถูกนำไปเปรียบเทียบกับไดโนเสาร์กินเนื้อเช่น ไทรันโนซอรัส และจระเข้สมัยใหม่เสียมากกว่า นอกจากนี้ยังอ้าปากได้เร็วมากในอัตรา 1 ใน 50 ส่วนของวินาที ซึ่งทำให้มีพลังมหาศาลในการดูดเหยื่อเข้าไป ซึ่งลักษณะพิเศษเช่นนี้นี้ยังพบได้ในปลากระดูกแข็งสมัยใหม่ที่มีพัฒนาการก้าวหน้าโดยส่วนใหญ่ แต่ปลาในอันดับ Arthrodira นี้มีชีวิตอยู่บนโลกสั้นมาก กล่าวคือ อยู่ได้เพียงประมาณ 50 ล้านปีก็สูญพันธุ์ไปอย่างรวดเร็วในช่วงปลายยุคดีโวเนียน โดยปัจจุบันตามพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาต่าง ๆ ยังมีซากฟอสซิลดังเคิลออสเตียสเก็บแสดงอยู่ โดยที่ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์ในสหรัฐอเมริกา และพิพิธภัณฑ์ควีนส์แลนด์ในออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และดังเคิลออสเตียส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวมงกุฎหนาม

วมงกุฎหนาม หรือ ปลาดาวหนาม (Crown-of-thorns starfish) เป็นดาวทะเลชนิดหนึ่ง เป็นดาวทะเลขนาดใหญ่ มีแขนรวมกันทั้งหมด 16-21 แฉก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 25-30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิก ตามผิวหนังมีหนามยาวคล้ายเม่น ปากอยู่ทางด้านล่าง มีกระเพาะอยู่ด้านนอก ใต้แขนมีขาขนาดเล็ก ๆ คล้าย ๆ กับปุ่มที่หนวดปลาหมึกเป็นจำนวนมากยื่นออกมายึดเกาะพื้น ตรงกลางตัวด้านล่างมีปาก มีหนามแหลมคมปกคลุมที่ตัวทางด้านบน บนหนามมีสารซาโปนินเคลือบอยู่ ซึ่งมีพิษต่อสัตว์หลายชนิด เป็นสัตว์ที่แยกเพศ มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยตัวเมียปล่อยไข่ออกมานอกตัว และตัวผู้ปล่อยสเปอร์มออกมาผสมพันธุ์ ตัวเมียแต่ละตัวมีไข่ประมาณ 12-24 ล้านฟอง ฤดูกาลวางไข่ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่ก็มีรายงานว่าดาวมงกุฎหนามที่เกรตแบร์ริเออร์รีฟ วางไข่ในเดือนธันวาคม และมกราคม ดาวมงกุฎหนามเป็นสัตว์ที่กินปะการังเป็นอาหาร ในทางนิเวศวิทยาถือเป็นสัตว์ที่ควบคุมประชากรปะการังไม่ให้มากจนเกินไป แต่ในหลายพื้นที่ก็มีการแพร่ระบาดจนเกิดเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ที่เกาะกวม แนวปะการังถูกดาวมงกุฎหนามทำลายไปเป็นระยะทาง 1 กิโลเมตร ต่อเดือน บริเวณที่ถูกทำลายไปแล้วปะการังอาจฟื้นตัว ก่อตัวขึ้นใหม่ ซึ่งอาจใช้เวลานานถึง 10-40 ปี หรือนานกว่านี้ หรือในประเทศญี่ปุ่น ได้ลงทุนกำจัดดาวมงกุฎหนามโดยใช้ทุนไป 600 ล้านเยน กำจัดดาวมงกุฏหนามไป 13 ล้านตัวที่เกาะริวกิว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970-ค.ศ. 1983 แต่ก็ยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และจากการศึกษาในระยะหลัง มีการสรุปว่าปริมาณดาวมงกุฎหนามในพื้นที่ 1 เฮกตาร์ (10,000 ตารางเมตร) หากมีจำนวนเกิน 10 ตัว ก็ถือว่าอยู่ในระดับระบาดแล้ว ถ้าเกิน 30 ตัว ถือว่าระบาดรุนแรงมาก เมื่อดาวมงกุฎหนามระบาด ความเสียหายที่เกิดขึ้นในแนวปะการังจะแผ่เป็นบริเวณกว้างกว่าที่จะเกิดจากสาเหตุการทำลายโดยปัจจัยอื่น ๆ เพราะดาวมงกุฎหนามสามารถคืบคลานกินปะการังได้ทุกซอกทุกมุม แต่ดาวมงกุฎหนามเองก็มีศัตรูตามธรรมชาติ คือ หอยสังข์แตร (Charonia tritonis) ที่กินดาวมงกุฎหนามเป็นอาหาร ถือเป็นสัตว์ที่เป็นตัวควบคุมมิให้ปริมาณดาวมงกุฏหนามมีปริมาณมากเกินไปด้วย รวมถึงปูขนาดเล็กบางชนิดหนึ่งที่ซ่อนตัวในปะการัง ใช้ก้ามในการต่อสู้กับดาวมงกุฎหมายมิให้มากินปะการังอันเป็นที่หลบอาศัยด้วย แต่ก็ทำได้เพียงแค่ขับไล่ให้ออกไปเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และดาวมงกุฎหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทรายหนาม

วทรายหนาม (Comb seastar, Sand sifting starfish) เป็นดาวทะเลชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเป็นห้าแฉกหรือรูปดาว เหมือนดาวทะเลทั่วไป มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ตามพื้นทรายตามชายฝั่งทั่วไปในเขตอินโด-แปซิฟิก เพื่อหากินสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร เช่น หนอนตัวแบน, หนอนท่อหรือลูกกุ้ง, ลูกปูขนาดเล็กหรือเคย และสาหร่าย ในบางครั้งเมื่อน้ำลดแล้ว จะพบดาวทะเลชนิดนี้ติดอยู่บนหาดทรายหรือแอ่งน้ำบนโขดหิน เช่นเดียวกับดาวทราย (A. indica) พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทะเลแดง, ทะเลญี่ปุ่น, ฮาวาย จนถึงออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เป็นดาวทะเลอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง โดยคำว่า polyacanthus ที่ใช้เป็นชื่อชนิดนั้น มาจากภาษาละตินที่หมายถึง "มีหนามจำนวนมาก".

ใหม่!!: สปีชีส์และดาวทรายหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทะเล

วทะเล หรือ ปลาดาว เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลัง ที่อยู่ในชั้น Asteroidea ลักษณะทั่วไป มีลำตัวแยกเป็นห้าแฉกคล้ายรูปดาวเรียกว่า แขน ส่วนกลาง มีลักษณะเป็นจานกลม ด้านหลังมีตุ่มหินปูน ขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วไป มีปากอยู่ด้านล่างบริเวณ จุดกึ่งกลางของ ลำตัว ใต้แขนแต่ละข้างมีหนวดสั้น ๆ เรียงตามส่วนยาว ของแขนเป็นคู่ ๆ มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อที่เหนียวและแข็งแรงเรียกว่า โปเดีย ใช้สำหรับยึดเกาะกับเคลื่อนที่ มีสีต่าง ๆ ออกไป ทั้ง ขาว, ชมพู, แดง, ดำ, ม่วง หรือน้ำเงิน เป็นต้น พบอยู่ตามชายฝั่งทะเล โขดหิน และบางส่วนอาจพบได้ถึงพื้นทะเลลึก กินหอยสองฝา โดยเฉพาะ หอยนางรม, กุ้ง, ปู หนอน และ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ เช่น ฟองน้ำหรือปะการัง เป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และดาวทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทะเลปุ่มแดง

วทะเลปุ่มแดง (Red-knobbed starfish, Red spine star, African sea star, African red knob sea star, Linck's starfish) http://www.peteducation.com/article.cfm?c.

ใหม่!!: สปีชีส์และดาวทะเลปุ่มแดง · ดูเพิ่มเติม »

ดิก-ดิก

ก-ดิก (Dik-dik) เป็นแอนทิโลปขนาดเล็ก ในสกุล Madoqua พบในทวีปแอฟริกา แถบภูมิภาคแอฟริกาใต้และตะวันออก มีน้ำหนักตัวประมาณ 4.5–5 กิโลกรัม ความสูงตั้งแต่ปลายกีบเท้าจนถึงหัวไหล่ 35–40 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 56 เซนติเมตร ความยางหาง 5 เซนติเมตร อายุโดยเฉลี่ย 10 ปี ดิก-ดิก ตัวผู้เท่านั้นที่จะมีเขา ลักษณะเขาแหลมสั้น ความยาวประมาณ 3–7.5 เซนติเมตร เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นพุ่มไม้ที่เป็นหนามแหลมจำพวกอะเคเซียเชื่อมต่อกับทุ่งหญ้าสะวันนา เพื่อป้องกันตัวเองจากสัตว์นักล่า โดยต้องอยู่ใกล้แหล่งน้ำ ดิก-ดิก เป็นสัตว์กินพืช โดยอาหารได้แก่ ใบไม้, หน่อไม้, พืชสมุนไพรต่าง ๆ, ดอกไม้, ผลไม้ และเมล็ดพืชต่าง ๆ และตกเป็นอาหารของสัตว์ขนาดใหญ่กว่า เช่น ไฮยีนา, สิงโต, แมวป่า, อินทรีและเหยี่ยวขนาดใหญ่ ตลอดจนงูเหลือม และตะกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และดิก-ดิก · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่าง

้วงกว่าง หรือ กว่าง หรือ แมงกว่าง หรือ แมงกวาง หรือ แมงคาม เป็นแมลงในวงศ์ย่อย Dynastinae จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ Scarabaeidae ในอันดับแมลงปีกแข็ง (Coleoptera).

ใหม่!!: สปีชีส์และด้วงกว่าง · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่างญี่ปุ่น

้วงกว่างญี่ปุ่น (Japanese rhinoceros beetle, Japanese horned beetle, Korean horned beetle, カブトムシ, โรมะจิ: Kabutomushi) เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Allomyrina dichotoma อยู่ในวงศ์ด้วงกว่าง (Dynastinae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Allomyrina นับเป็นด้วงกว่างอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะเด็ก ๆ ชาวญี่ปุ่น ซึ่งสามารถใช้ขวิดต่อสู้กันได้ ด้วงกว่างญี่ปุ่นมีจุดเด่น คือ เขาล่างมีความใหญ่กว่าเขาด้านบน โดยที่ปลายเขาจะมีแขนงแตกออกเป็น 2 แฉกด้วย มีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบและป่าเบญจพรรณในทวีปเอเชีย เช่น อนุทวีปอินเดีย และจะพบมากที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, จีนแผ่นดินใหญ่, เกาหลี, ภาคเหนือของเวียดนาม เป็นต้น ในประเทศไทยพบได้ทางภาคเหนือของประเทศ อาทิ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย, อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง เป็นต้น (มีทั้งหมด 7 ชนิดย่อย แตกต่างกันที่ลักษณะของเขา–ดูในตาราง) ตัวผู้มีขนาดลำตัวใหญ่กว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัด โดยตัวผู้มีขนาด 38.5-79.5 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวเมียมีขนาด 42.2-54.0 มิลลิเมตร และไม่มีเขา หากินในเวลากลางคืนโดยกินยางไม้จากเปลือกของต้นไม้ใหญ่ในป่า ชอบเล่นไฟ แต่การต่อสู้กันของด้วงกว่างญี่ปุ่นจะแตกต่างไปจากด้วงกว่างชนิดอื่น ๆ คือ จะใช้เขาล่างในการงัดกันมากกว่าจะใช้หนีบกัน ผสมพันธุ์และวางไข่ในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศ คือ มีมูลสัตว์และซากไม้ผุผสมอยู่ ใช้เวลาฟักเป็นตัวหนอนราว 1 เดือน จากระยะตัวหนอนใช้เวลา 6-8 เดือนจึงจะเข้าสู่ช่วงดักแด้ซึ่งจะมีช่วงอายุราว 19-28 วัน จึงจะเป็นตัวเต็มวัยออกมาจากดิน ซึ่งตัวเต็มวัยมีอายุราว 2-3 เดือนเท่านั้น รวมช่วงชีวิตแล้วทั้งหมดประมาณ 1 ปี นับได้ว่าใกล้เคียงกับด้วงกว่างโซ้ง (Xylotrupes gideon) ซึ่งเป็นด้วงกว่างชนิดที่พบได้มากที่สุดในประเทศไทย โดยเมื่อตัวเต็มวัยจะปริตัวออกจากเปลือกดักแด้ ช่องดักแด้ในดินมักจะอยู่ในแนวตั้งเพื่อมิให้ไปกดทับปีกที่จะกางออก ซึ่งต้องใช้เวลาอีกหลายชั่วโมงกว่าปีกจะแข็งและสีของลำตัวจะเข้มเหมือนตัวเต็มวัยที่โตเต็มที่ ในช่วงฤดูร้อนของประเทศญี่ปุ่น (ราวกลางเดือนมิถุนายน-กันยายน) จะตรงกับด้วงกว่างญี่ปุ่นเป็นตัวเต็มวัยพอดี บางท้องที่ เช่น ทาซากิ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือราว 130 กิโลเมตร จากกรุงโตเกียว ถึงกับมีเทศกาลของด้วงกว่างชนิดนี้ โดยราคาซื้อขายมีตั้งแต่ 500-28,000 เยน (190-10,000 บาท) ด้วงกว่างญี่ปุ่นเป็นแมลงปีกแข็งที่เป็นนิยมอย่างมากในวัฒนธรรมร่วมสมัยของญี่ปุ่นหลายประการ อาทิ อะนิเมะเรื่อง มูชิคิง ตำนานผู้พิทักษ์ป่า (Mushiking: Battle of the Beetles, 甲虫王者ムシキング) เป็นต้น และถูกอ้างอิงถึงในอีกหลายเรื่องด้วยกัน ซึ่งในภาษาญี่ปุ่น ด้วงกว่างญี่ปุ่นจะถูกเรียกว่า "คาบูโตะมูชิ" ซึ่งคำว่า "คาบูโตะ" (甲虫) หมายถึง หมวกเกราะอันเป็นส่วนหนึ่งของชุดเกราะญี่ปุ่นแบบโบราณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และด้วงกว่างญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่างแอตลัส

้วงกว่างแอตลัส หรือ ด้วงกว่างสามเขาเขาใหญ่ (Atlas beetle) เป็นด้วงกว่างที่อยู่ในสกุลด้วงกว่างสามเขาชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chalcosoma atlas มีลักษณะคล้ายกับด้วงกว่างสามเขาชนิดอื่น ๆ แต่ตัวเมียซึ่งไม่มีเขา มีปีกนอกที่เป็นปีกแข็งค่อนข้างหยาบและไม่มีขนเป็นสีน้ำตาลเหมือนกำมะหยี่เหมือนด้วงกว่างสามเขาคอเคซัส (C. caucasus) ส่วนเขาที่สันคอหลังอกก็สั้นด้วยเช่นกัน ขณะที่ตัวผู้เขาหน้าจะโค้งเรียวตั้งขึ้นเล็กน้อย แต่ไม่แตกเป็นฟันในขอบในเหมือนด้วงกว่างสามเขาจันทร์ ในขณะที่ตัวผู้ที่มีเขาขนาดเล็กจะแตกแขนงตรงปลายออกเป็นสามแฉก และขนาดตัวก็เล็กกว่าด้วย โดยจะมีขนาดประมาณ 20-130 มิลลิเมตร ขณะที่เป็นระยะตัวหนอนตามลำตัวจะมีขนอ่อนปกคลุม ไข่มีลักษณะกลมรีสีขาว ในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์ทับซ้อนกับด้วงกว่างสามเขาจันทร์ และจะพบได้มากกว่าด้วย ขณะในต่างประเทศจะพบได้ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, อนุทวีปอินเดีย ไปจนถึงหมู่เกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเหมือนด้วงกว่างชนิดอื่น ๆ และสามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว มีชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 และมีชื่อติดอยู่ในบัญชีรายชื่อหมายเลข 2 (Appendix II) ตามประกาศของไซเต.

ใหม่!!: สปีชีส์และด้วงกว่างแอตลัส · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส

้วงกว่างเฮอร์คิวลีส เป็นด้วงกว่างที่มีความยาวและความใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dynastes hercules อยู่ในวงศ์ Scarabaeidae พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นตั้งแต่ภูมิภาคอเมริกากลางและทวีปอเมริกาใต้ นับเป็นด้วงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Dynastes ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด เป็นด้วงที่มีความแตกต่างระหว่างตัวผู้กับตัวเมียมาก ตัวผู้มีเขายาว และมีความยาวตั้งแต่ปลายเขาจรดลำตัว 45-178 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขา และมีความยาวเพียงครึ่งหนึ่งของตัวผู้ คือ 50-80 มิลลิเมตร ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส มีชนิดย่อยทั้งหมด 13 ชนิด โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด คือ D. h. hercules พบในเฟรนซ์ กัวดาลูเป้และดอมินีกา ที่ตัวผู้ยาวได้ถึง 178 มิลลิเมตร และมีบันทึกไว้ว่ายาวที่สุดคือ 190 มิลลิเมตร ตัวหนอนกินซากผุของต้นไม้เป็นอาหาร และมีระยะการเป็นตัวหนอนยาวนานถึง 16 เดือน ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในต่างประเทศมาอย่างยาวนาน เช่นที่ ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ได้รับความนิยมโดยเฉพาะในหมู่เด็ก ๆ สำหรับในประเทศไทย ผู้ที่จะเลี้ยงยังต้องนำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศแต่ในกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สามารถเพาะขยายพันธุ์เป็นผลสำเร็จครั้งแรกที่สวนแมลงสยาม ที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: สปีชีส์และด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงงวงมะพร้าว

้วงงวงมะพร้าว หรือ ด้วงสาคู หรือ ด้วงลาน หรือ แมงหวัง ในภาษาใต้ (Red palm weevil, Red-stripes palm weevil, Asian palm weevil, Sago palm weevil) เป็นด้วงงวงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchophorus ferrugineus จัดว่าเป็นด้วงงวงขนาดกลาง ตัวเต็มวัย ปีกมีสีน้ำตาลดำ อกมีสีน้ำตาลและมีจุดสีดำ มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 25-28 มิลลิเมตร ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีขนาดและลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกัน ต่างกันที่ตัวผู้มีขนที่ด้านบนของงวงใกล้ส่วนปลาย ตัวหนอนมีสีเหลืองปนน้ำตาล ดักแด้เป็นปลอกทำด้วยเศษชิ้นส่วนจากพืชที่กินเป็นอาหาร โดยด้วงงวงชนิดนี้นับเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะพืชจำพวกปาล์ม เช่น มะพร้าวหรือสาคู หรือลาน ในประเทศไทยพบมากที่ภาคใต้ ตัวหนอนจะอาศัยและกัดกินบริเวณยอดอ่อน ตัวเต็มวัยจะเกาะกินเนื้อเยื่อด้านในของลำต้นลึกจนเป็นโพรง ซึ่งอาจทำให้ต้นตายได้ โดยจะบินออกหากินในเวลากลางวัน สามารถบินได้ไกลถึง 900 เมตร และอาจซ้ำกินซ้ำเติมจากที่ด้วงแรดมะพร้าว (Oryctes rhinoceros) ซึ่งเป็นด้วงกว่างกินแล้วด้วย ตัวเมียใช้เวลาวางไข่นาน 5-8 สัปดาห์ ในปริมาณเฉลี่ย 400 ฟอง กระจายพันธุ์อยู่ตั้งแต่อินเดียจนถึงซามัว แต่ปัจจุบันได้แพร่กระจายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นไปในทวีปต่าง ๆ ของโลก ตัวหนอนในชามที่รอการบริโภค แต่ในปัจจุบัน ตัวหนอนของด้วงงวงชนิดนี้กำลังเป็นที่นิยมของการเพาะเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยนิยมบริโภคกัน มีราคาซื้อขายที่สูงถึงกิโลกรัมละ 200-300 บาท โดยระยะจากไข่-หนอน-ดักแด้ใช้เวลา 60 วัน ตัวเต็มวัยมีอายุ 2-3 เดือน.

ใหม่!!: สปีชีส์และด้วงงวงมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงแรดมะพร้าว

ระวังสับสนกับด้วงงวงมะพร้าวหรือด้วงสาคู ดู ด้วงงวงมะพร้าว ด้วงแรดมะพร้าว หรือ ด้วงมะพร้าว (Coconut rhinoceros beetle, Indian rhinoceros beetle, Asian rhinoceros beetle) เป็นด้วงกว่างชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oryctes rhinoceros มีลำตัวสีน้ำตาลแดงเกือบดำ มีขนสีน้ำตาลอ่อนที่ด้านข้างของส่วนหัว อก ขา และด้านล่างของลำตัว ตัวผู้มีเขาคล้ายนอแรดที่ส่วนหัวค่อนข้างยาว ตัวเมียมีลักษณะคล้ายตัวผู้แต่มีเขาสั้นกว่า และที่ส่วนปลายของท้องด้านล่างมีขนเยอะกว่าตัวผู้ และมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ไม่มาก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 37-45 มิลลิเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชียอาคเนย์ โดยด้วงกว่างชนิดนี้ถือเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญมากของพืชจำพวกปาล์มและมะพร้าวในทวีปเอเชีย โดยตัวเต็มวัยจะเจาะกินยอดอ่อนในเวลากลางคืนทำให้ยอดอ่อนแตกออกมาเห็นใบหักเสียหาย ส่วนทางมะพร้าวหรือปาล์มที่ตัดทิ้งไว้บนดินภายในสวน ก็เป็นแหล่งเพาะอาศัยของตัวอ่อน โดยหลังจากวางไข่แล้วฟักเป็นตัวหนอนก็จะเจริญเติบโตกัดกินอยู่ด้านล่างหรืออยู่ในดิน ไข่มีทรงกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-4 มิลลิเมตร ฟักเป็นตัวในระยะเวลา 7-8 วัน หนอนมีสีขาวนวลมีอายุ 3-4 วัน มีส่วนหัวเป็นสีเหลืองปนน้ำตาล เป็นดักแด้ประมาณ 1 เดือน ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 2-3 เดือน นับว่าเป็นด้วงกว่างที่มีระยะเวลาเจริญเติบโตเร็วมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และด้วงแรดมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ครั่ง

รั่ง (Lac) คือแมลงจำพวกเพลี้ยหลายชนิดที่อยู่ในวงศ์ Kerridae อาทิ Laccifer lacca ถือว่าเป็นแมลงที่เป็นศัตรูต่อพืชตามธรรมชาติ ที่จะใช้งวงปากเจาะเพื่อดูดน้ำเลี้ยงของต้นไม้ ประเภทไม้เนื้อแข็ง แต่ว่ากลับเป็นแมลงที่มีประโยชน์ต่อมนุษย์เป็นอย่างมากนับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ครั่งจะขับสารชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นเหมือนยางหรือชันออกมาไว้ป้องกันตัวเองจากศัตรู ซึ่งสารที่ขับถ่ายออกมานี้เรียกว่า "ครั่งดิบ" ตามชื่อเรียก สารนี้มีสีแดงม่วง ลักษณะคล้ายขี้ผึ้งสีเหลืองแก่ หรือยางสีส้ม ซึ่งมนุษย์ได้นำมาใช้ประโยชน์กันมานานกว่า 4,000 ปี แล้วในหลายอารยธรรม โดยใช้เป็นสมุนไพร เป็นยารักษาโรคโลหิตจาง, โรคลมขัดข้อ เป็นต้น นอกจากนี้ยังนำไปใช้ในอุตสาหกรรมการทำเชลแล็ก, แลกเกอร์, เครื่องใช้, เครื่องประดับต่าง ๆ, ย้อมสีผ้า สีโลหะ หรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ตลอดจนใช้ประทับในการไปรษณีย์ขนส่งหรือตราประทับเอกสารทางราชการใด ๆ ปัจจุบันครั่งเป็นสินค้าออกที่สำคัญของหลาย ๆ ประเทศ อาทิ อินเดีย, ไทย ซึ่งมีการเลี้ยงในเชิงเกษตร มีราคาขายที่แพงมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และครั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ครีบหลัง

รีบหลังของฉลาม ครีบหลัง คือครีบที่อยู่ด้านหลังของสัตว์น้ำทั้งในน้ำเค็มและน้ำจืดเช่นปลา,วาฬและโลมารวมถึงสัตว์เลื้อยคล้านใต้ทะเลจำพวกอิกทิโอซอร์ (ichthyosaur) ด้วย สปีชีส์ส่วนใหญ่จะมีครีบหลังเพียงครีบเดี่ยวแต่บางชนิดก็มีสองถึงสาม นักชีววิทยาสัตว์ป่ามักใช้ลักษณะและรูปแบบของครีบนี้ในการจำแนกสายพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และครีบหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ควอล

วอล (quoll) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นสัตว์กินเนื้อชนิดหนึ่งอาศัยอยู่บริเวณออสเตรเลียและปาปัวนิวกินี ควอลมีขนาดตั้งแต่ 25–75 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มวัย หางมีขนยาวประมาณ 25–30 เซนติเมตร เพศเมียจะมีหัวนม 6–8 หัว และมีถุงท้องในช่วงที่ตั้งครรภ์ ควอลอาศัยอยู่ในป่าและทุ่งร.

ใหม่!!: สปีชีส์และควอล · ดูเพิ่มเติม »

ความหลากหลายทางชีวภาพ

วามหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตน้อยนิด พันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem.) ที่แตกต่างหลากหลายบนจักรวาล ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุ์ต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยู่ในสายพันธุ์ต่างๆ ยังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่พันธุ์เนื้อ ไก่พันธุ์ไข่ดก วัวพันธุ์นม และวัวพันธุ์เนื้อ เป็นต้น ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และวัวแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลำเลียง (vascular plant) ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงนี้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995) ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ป่าดงดิบ ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาศัยแตกต่างกัน ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถิ่นที่อยู่อาศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้ 'บริการทางสิ่งแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ทำหน้าที่ดูดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่นด้วย เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และความหลากหลายทางชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศบราซิล

นกทูแคนดำอกขาว เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นในเขตสะวันนาของบราซิล มีกบลูกศรพิษหลายพันธุ์ ดังเช่น กบพิษลายสีเหลืองตัวนี้ ที่สามารถพบได้ในป่าของประเทศบราซิล ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศบราซิล ประกอบด้วยสัตว์, เห็ดรา และพืช ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในประเทศนี้ของทวีปอเมริกาใต้ โดยหลักแหล่งของพวกมันมีสภาพเป็นป่าดิบชื้นแอมะซอนถึง 60 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณหนึ่งในสิบของสปีชีส์ทุกชนิดที่มีอยู่ในโลก นับได้ว่าประเทศบราซิล เป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพที่ยิ่งใหญ่ที่สุดกว่าประเทศใด ๆ ในโลก โดยมีสายพันธุ์พืชซึ่งเป็นที่รู้จักราว 55,000 สปีชีส์, ปลาน้ำจืดราว 3,000 สปีชีส์ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอีกกว่า 689 สปีชีส์ ประเทศนี้ยังได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับสามของประเทศที่มีจำนวนสายพันธุ์สัตว์ปีกมากที่สุดถึง 1,832 สปีชีส์ และอยู่ในอันดับสองของประเทศที่มีสายพันธุ์สัตว์เลื้อยคลานมากที่สุดถึง 744 สปีชีส์ ส่วนจำนวนของสายพันธุ์เชื้อรายังไม่ทราบแน่ชัด แต่ก็ถือว่ามีเป็นจำนวนมหาศาลDa Silva, M. and D.W. Minter.

ใหม่!!: สปีชีส์และความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ความหลากหลายทางพันธุกรรม

วามหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic diversity) เป็นจำนวนลักษณะทางพันธุกรรมทั้งหมดของสปีชีส์ ซึ่งแยกจาก "ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม" (genetic variability) ซึ่งหมายถึงความโน้มเอียงของลักษณะทางพันธุกรรมที่จะต่างกัน ความหลากหลายทางพันธุกรรมเป็นกลไกหนึ่ง ที่ประชากรสิ่งมีชีวิตปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่กำลังเปลี่ยนไป ถ้าประชากรมีความแตกต่างกันมาก หน่วยสิ่งมีชีวิตบางหน่วยในกลุ่มประชากรก็จะมีโอกาสมีอัลลีลในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมมากกว่า และก็จะมีโอกาสรอดชีวิตแล้วสร้างทายาทที่มีอัลลีลที่ว่ามากกว่าหน่วยอื่น ๆ กลุ่มประชากรก็จะดำเนินไปได้ในรุ่นต่อ ๆ ไปเพราะความสำเร็จของหน่วยสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น สาขาพันธุศาสตร์ประชากรมีสมมติฐานและทฤษฎีหลายอย่างเกี่ยวกับความหลากหลายทางพันธุกรรม ทฤษฎีวิวัฒนาการที่เป็นกลาง (neutral theory of evolution) เสนอว่า ความหลากหลายเป็นผลของการสะสมความต่าง ๆ ที่ไม่มีประโยชน์และไม่มีโทษ การคัดเลือกที่แตกต่าง (diversifying selection) เป็นสมมติฐานว่า สิ่งแวดล้อมที่ต่างกันของกลุ่มประชากรย่อย 2 กลุ่มภายในสปีชีส์เดียวกัน จะคัดเลือกอัลลีลในโลคัสเดียวกันที่ต่างกัน ซึ่งอาจเกิดขึ้นในกรณีเช่น ถ้าสปีชีสนั้นมีถิ่นที่อยู่กว้างเทียบกับการเคลื่อนที่ได้ของหน่วยสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนั้น การคัดเลือกขึ้นกับความถี่ (frequency-dependent selection) เป็นสมมติฐานว่า เมื่ออัลลีลหนึ่ง ๆ สามัญมากขึ้น สิ่งมีชีวิตก็จะเสี่ยงสูงขึ้น ซึ่งสามารถเกิดอาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวถูกเบียน-ตัวก่อโรค (host-pathogen interaction) ที่เมื่อสิ่งมีชีวิต (ตัวถูกเบียน) มีความถี่อัลลีลที่เป็นตัวป้องกันโรคสูง โรคก็มีโอกาสแพร่ไปมากขึ้นถ้ามันสามารถเอาชัยชนะต่ออัลลีลนั้นได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และความหลากหลายทางพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม

การเปลี่ยนแปรทางพันธุกรรม หรือ ความผันแปรทางพันธุกรรม หรือ ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม (Genetic variability, จากคำว่า vary + liable - เปลี่ยนได้) เป็นสมรรถภาพของระบบชีวภาพไม่ว่าจะที่ระดับสิ่งมีชีวิตหรือที่กลุ่มประชากร ในการเปลี่ยนไปตามกาลเวลา มูลฐานของความผันแปรได้ทางพันธุกรรมก็คือความแตกต่างทางพันธุกรรมของระบบชีวภาพในระดับต่าง ๆ ความผันแปรได้ทางพันธุกรรมอาจนิยามได้ด้วยว่า เป็นค่าความโน้มเอียงที่จีโนไทป์แต่ละชนิด ๆ ในกลุ่มประชากรจะแตกต่างกัน โดยต่างจากความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ซึ่งเป็นจำนวนความแตกต่างที่พบในกลุ่มประชากร ความผันแปรได้ของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จึงหมายถึงค่าความโน้มเอียงที่ลักษณะจะต่าง ๆ กันเป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมและต่อปัจจัยทางพันธุกรรมอื่น ๆ ความผันแปรได้ของยีนในกลุ่มประชากรสำคัญต่อความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) เพราะถ้าไม่สามารถผันแปรได้ กลุ่มสิ่งมีชีวิตก็จะมีปัญหาปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม และดังนั้น จะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ความผันแปรได้เป็นปัจจัยสำคัญในกระบวนการวิวัฒนาการ เพราะมีผลต่อการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อความกดดันทางสิ่งแวดล้อม และดังนั้น สิ่งมีชีวิตจึงสามารถรอดชีวิตได้ต่าง ๆ กันในกลุ่มประชากรหนึ่ง ๆ เนื่องจากธรรมชาติจะคัดเลือกความต่างซึ่งเหมาะสมที่สุด ความผันแปรได้ยังเป็นมูลฐานของความเสี่ยงต่อโรคและความไวพิษ/ยาที่ต่าง ๆ กันในสิ่งมีชีวิต ซึ่งเพิ่มความสนใจในเรื่องการแพทย์แบบปรับเฉพาะบุคคล (personalized medicine) โดยเนื่องกับโครงการจีโนมมนุษย์ และความพยายามเพื่อสร้างแผนที่กำหนดขอบเขตความแตกต่างทางพันธุกรรมของมนุษย์ เช่น ในโครงการ International Hapmap homologous recombination เป็นเหตุเกิดความผันแปรได้ทางพันธุกรรมที่สำคัญ polyploidy จะเพิ่มความผันแปรได้ทางพันธุกรรม การกลายพันธุ์เปลี่ยนแพรเซี่ยงไฮ้ให้มีดอกสีต่างกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และความผันแปรได้ทางพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ความจำชัดแจ้ง

ประเภทและกิจหน้าที่ของความจำในวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ "ความจำชัดแจ้ง" (Explicit memory) หรือบางครั้งเรียกว่า "ความจำเชิงประกาศ" (Declarative memory) เป็นประเภทหนึ่งของความจำระยะยาวสองอย่างในมนุษย์ ความจำชัดแจ้งหมายถึงความจำที่สามารถระลึกได้ใต้อำนาจจิตใจเช่นความจริงและความรู้ต่าง ๆ ดังนั้น การระลึกถึงประสบการณ์ในอดีตหรือข้อมูลอื่น ๆ โดยตั้งใจและประกอบด้วยความรู้สึกตัวว่ากำลังระลึกถึงความจำ จึงเป็นการระลึกถึงความจำชัดแจ้ง มนุษย์มีการจำได้แบบชัดแจ้งตลอดทั้งวัน เช่นจำเวลานัดได้ หรือจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้วหลายปีได้ ส่วนความจำที่คู่กันก็คือ "ความจำโดยปริยาย" (implicit memory) หรือ "ความจำเชิงไม่ประกาศ" (non-declarative memory) หรือ "ความจำเชิงกระบวนวิธี" (procedural memory) ซึ่งหมายถึงความจำที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจเช่นทักษะต่าง ๆ (ตัวอย่างเช่น ทักษะในการขี่จักรยาน) การเข้าถึงความจำโดยปริยายไม่ประกอบด้วยความรู้สึกตัว ไม่ใช่เป็นการระลึกได้ด้วยความตั้งใจ ให้เทียบกับการระลึกถึงความจำชัดแจ้งซึ่งเป็นการระลึกได้พร้อมด้วยความรู้สึกตัว ตัวอย่างเช่น การระลึกถึงการหัดขับรถชั่วโมงหนึ่งได้เป็นตัวอย่างของการจำได้แบบชัดแจ้ง ส่วนทักษะการขับรถที่พัฒนาขึ้นเพราะการหัดขับรถนั้นเป็นตัวอย่างของการจำได้โดยปริยาย ส่วนความจำชัดแจ้งยังสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทอีก คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และความจำชัดแจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ความจำอาศัยเหตุการณ์

วามจำอาศัยเหตุการณ์ (episodic memory) เป็นความจำเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ในชีวประวัติของตนเอง (รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ อารมณ์ความรู้สึกที่มี และเรื่องที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ) ที่สามารถระลึกได้ภายใต้อำนาจจิตใจและนำมากล่าวได้อย่างชัดแจ้ง เป็นความจำรวมประสบการณ์ต่าง ๆ ของตนในอดีต แต่ละเหตุการณ์เกิดขึ้นที่วันเวลาหนึ่ง ๆ และในสถานที่หนึ่ง ๆ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราระลึกถึงงานเลี้ยง (หรือการทำบุญ) วันเกิดเมื่ออายุ 6 ขวบได้ นี่เป็นความจำอาศัยเหตุการณ์ เป็นความจำที่ยังให้เราสามารถเดินทางกลับไปในกาลเวลา (ในใจ) เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่วันเวลานั้น ๆ และสถานที่นั้น ๆ ความจำอาศัยความหมาย (semantic memory) และความจำอาศัยเหตุการณ์รวมกันจัดอยู่ในประเภทความจำชัดแจ้ง (explicit memory) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ความจำเชิงประกาศ (declarative memory) ซึ่งเป็นหนึ่งในสองประเภทหลัก ๆ ของความจำ (โดยอีกประเภทหนึ่งเป็นความจำโดยปริยาย) นักจิตวิทยาชาวแคนาดาชื่อว่าเอ็นเด็ล ทัลวิง ได้บัญญัติคำว่า "Episodic Memory" ไว้ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และความจำอาศัยเหตุการณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความตาย

กะโหลกศีรษะมนุษย์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความตาย ความตาย หรือ การเสียชีวิต เป็นการสิ้นสุดการทำหน้าที่ทางชีวภาพอันคงไว้ซึ่งสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณ์สามัญที่นำมาซึ่งความตาย ได้แก่ โรคชรา การถูกล่า ทุพโภชนาการ โรคภัย อัตวินิบาตกรรม (การฆ่าตัวตาย) ฆาตกรรม ความอดอยาก การขาดน้ำ และอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บภายในร่างกาย ร่างกายหรือศพของสิ่งมีชีวิตจะเริ่มเน่าสลายไม่นานหลังเสียชีวิต ความตายถือว่าเป็นโอกาสที่เศร้าหรือไม่น่ายินดีโอกาสหนึ่ง สาเหตุมาจากความผูกพันหรือความรักที่มีต่อบุคคลผู้เสียชีวิตนั้น หรือการกลัวความตาย โรคกลัวศพ ความกังวลใจ ความเศร้าโศก ความเจ็บปวดทางจิต ภาวะซึมเศร้า ความเห็นอกเห็นใจ ความสงสาร หรือความโดดเดี่ยว สาเหตุการตายที่พบบ่อยที่สุดคือโรคหัวใจ ตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง และโรคเกี่ยวกับเส้นเลือดในสมอง และลำดับที่สามคือภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจตอนล่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และความตาย · ดูเพิ่มเติม »

ความน่ารัก

การเปลี่ยนสัดส่วนต่าง ๆ ของศีรษะและใบหน้า (โดยเฉพาะขนาดขากรรไกรบนโดยเปรียบเทียบกับขากรรไกรล่าง) ตามอายุ "มนุษย์ชอบใจสัตว์ที่มีลักษณะคล้าย ๆ เด็ก คือมีตาใหญ่ กะโหลกศีรษะที่ป่องออก คางที่ไม่ยื่นออก (คอลัมน์ซ้าย) ส่วนสัตว์ที่มีตาเล็ก ปากจมูกยาว (คอลัมน์ขวา) ไม่ทำให้เกิดปฏิกิริยาเช่นเดียวกัน" --ค็อนแรด ลอเร็นซ์ ความน่ารัก (cuteness) เป็นคำบ่งความรู้สึกที่ใช้แสดงความน่าพึงใจ/ความน่าดูน่าชมที่มักจะเกี่ยวข้องกับความเยาว์วัยและรูปร่างหน้าตา และยังเป็นคำบัญญัติทางวิทยาศาสตร์และแบบวิเคราะห์ในพฤติกรรมวิทยาอีกด้วย นักวิทยาศาสตร์ที่ใช้คำนี้เป็นคนแรก (ชาวออสเตรียชื่อว่าค็อนแรด ลอเร็นซ์) ได้เสนอความคิดในเรื่องแผนภาพทารก (baby schema, Kindchenschema) ซึ่งเป็นลักษณะทางใบหน้าและร่างกาย ที่ทำให้สัตว์หนึ่ง ๆ ปรากฏว่า "น่ารัก" และกระตุ้นให้ผู้อื่นช่วยดูแลรักษาสัตว์นั้น ๆ คำนี้สามารถใช้ในการชมบุคคลและสิ่งของที่น่าดูน่าชมหรือมีเสน่ห์ อีกอย่างหนึ่ง ความน่ารัก เป็นความสวยงามประเภทหนึ่งที่มีลักษณะละเอียดอ่อนและดึงดูดใจโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็ก ความน่ารักมักจะเกิดจากส่วนประกอบของสิ่งที่มีลักษณะคล้ายทารกหรือมีขนาดใกล้เคียงกับทารก และมักจะมีส่วนประกอบของความขี้เล่น ความเปราะบาง และการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้รวมอยู่ด้วย เด็กเล็ก ๆ และสัตว์ในวัยเยาว์มักจะมีการกล่าวถึงในลักษณะความน่ารัก ในขณะเดียวกันสัตว์ใหญ่บางประเภทเช่นแพนด้ายักษ์ ก็ยังมีการกล่าวถึงความน่ารัก เนื่องจากลักษณะที่คล้ายคลึงกับทารก และมีสัดส่วนหัวขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดร่างกาย เทียบกับสัตว์ชนิดอื่น ในประเทศญี่ปุ่น ความน่ารักได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม จะเห็นได้ว่าในสื่อต่าง ๆ เสื้อผ้า อาหาร ของเล่น หรือของใช้ส่วนตัว มักจะมีภาพแสดงความน่ารักออกมา หรือแม้แต่หน่วยงานรัฐบาล การทหารก็ยังมีภาพแสดงความน่ารักออกมา ในขณะที่ไม่มีใช้กันในประเทศอื่นโดยถือว่าเป็นความไม่เหมาะสม ความน่ารักในปัจจุบันได้เป็นส่วนหนึ่งของแผนการตลาดของบริษัทขายของ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศญี่ปุ่น โดยได้กลายเป็นจุดขายที่สำคัญ ตัวอย่างเช่นในสินค้า เฮลโล คิตตี้ หรือ โปเกมอน หรือแม้แต่ในวัฒนธรรมตะวันตก เช่น หมีพูห์ หรือ มิกกี้เม.

ใหม่!!: สปีชีส์และความน่ารัก · ดูเพิ่มเติม »

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก

10.1126/science.1177265 ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก (global catastrophic risk) เป็นเหตุการณ์สมมุติในอนาคต ที่อาจทำความเสียหายต่อมนุษย์อย่างรุนแรงทั่วโลก เหตุการณ์บางอย่างอาจทำลาย หรือทำความเสียหายแก่ อารยธรรมที่มีในปัจจุบัน หรือเหตุการณ์ที่รุนแรงกว่านั้น อาจทำให้มวลมนุษย์สูญพันธุ์ ซึ่งเรียกได้ว่า เป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของมนุษย์ (existential risk) ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น การระเบิดของซูเปอร์ภูเขาไฟ และการวิ่งชนโลกของดาวเคราะห์น้อย จะเป็นความเสี่ยงในระดับนี้ถ้ารุนแรงเพียงพอ เหตุการณ์ที่มนุษย์เป็นเหตุ ก็อาจจะเป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของสัตว์ฉลาดต่าง ๆ ของโลก เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน สงครามนิวเคลียร์ หรือการก่อการร้ายชีวภาพ สถาบันอนาคตของมนุษยชาติ (Future of Humanity Institute) ที่เป็นส่วนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เชื่อว่า การสูญพันธุ์ของมนุษย์ น่าจะมีเหตุมาจากมนุษย์เอง มากกว่าจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ แต่ว่า เป็นเรื่องยากลำบากที่จะศึกษาการสูญพันธุ์ของมนุษย์ เพราะไม่เคยมีเหตุการณ์นี้จริง ๆ แม้นี่จะไม่ได้หมายความว่า จะไม่เกิดขึ้นในอนาคต แต่ว่า การสร้างแบบจำลองของความเสี่ยงต่อความอยู่รอด เป็นเรื่องยาก โดยส่วนหนึ่งเพราะผู้ศึกษามีความเอนเอียงจากการอยู่รอด คือมีความคิดผิดพลาดที่พุ่งความสนใจไปในสิ่งที่อยู่รอด จนทำให้เหตุผลไม่ตรงกับความจริง.

ใหม่!!: สปีชีส์และความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

ความเหมาะสม

วามเหมาะสม หรือ ค่าความเหมาะสม (Fitness, มักเขียนเป็น w ในสูตรพันธุศาสตร์ประชากร) เป็นแนวคิดหลักอย่างหนึ่งในทฤษฎีวิวัฒนาการ ในสิ่งแวดล้อมหนึ่ง ๆ จะกำหนดโดยลักษณะทางพันธุกรรม (genotype) หรือลักษณะปรากฏ (phenotype) ก็ได้ ในกรณีแม้ทั้งสอง สามารถอธิบายได้โดยสามัญว่า เป็นความสามารถที่จะรอดชีวิตและสืบพันธุ์ได้ และมีค่าเป็น การให้ยีนของตนโดยเฉลี่ย เป็นส่วนของยีนทั้งหมดในประชากร (gene pool) รุ่นต่อไป โดยเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะทางพันธุกรรมหรือลักษณะปรากฏ เช่นนั้น ๆ กล่าวอีกอย่างคือ ถ้าความแตกต่างของอัลลีลที่พบในยีนหนึ่ง ๆ มีผลต่อความเหมาะสม ความถี่ของอัลลีลนั้นก็จะเปลี่ยนไปตามรุ่น คือ อัลลีลที่เหมาะสมมากกว่าจะมีความถี่สูงกว่า เป็นอัลลีลที่สามัญกว่าในกลุ่มประชากร กระบวนการนี้เรียกว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ศัพท์ภาษาอังกฤษว่า "Darwinian fitness" มักจะใช้หมายถึงความเหมาะสมที่ว่านี้ โดยแตกต่างจากคำว่า "physical fitness" ซึ่งหมายถึงความแข็งแรงของร่างกาย ความเหมาะสมของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ จะปรากฏทางลักษณะปรากฏ โดยมีอิทธิพลทั้งจากสิ่งแวดล้อมและจากยีน และความเหมาะสมของลักษณะปรากฏนั้น ๆ จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อม ดังนั้น สิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิตที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน อาจจะมีความเหมาะสมไม่เท่ากัน (เพราะอาจมีสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมือนกัน) และเพราะว่า ค่าความเหมาะสมของลักษณะทางพันธุกรรมนั้น ๆ เป็นค่าเฉลี่ย ดังนั้น ก็จะเป็นค่าสะท้อนความสำเร็จทางการสืบพันธุ์ ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่มีลักษณะทางพันธุกรรมนั้น ๆ ในสิ่งแวดล้อมนั้น ๆ ส่วนคำว่า "Inclusive fitness" (ความเหมาะสมโดยรวม) ต่างจากความเหมาะสมโดยบุคคล เพราะรวมเอาความสามารถของอัลลีลในแต่ละบุคคล ที่ส่งเสริมการอยู่รอดและการสืบพันธุ์ของบุคคลอื่น ๆ นอกจากตน ที่มีอัลลีลนั้นเหมือนกัน ให้เหนือกว่าสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่มีอัลลีลคนละอย่าง กลไกของความเหมาะสมโดยรวมอย่างหนึ่งก็คือ kin selection (การคัดเลือกโดยญาติ).

ใหม่!!: สปีชีส์และความเหมาะสม · ดูเพิ่มเติม »

ความเอนเอียงของผู้ทดลอง

ในวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง ความเอนเอียงของผู้ทดลอง (experimenter's bias) เป็นความเอนเอียงที่เป็นอัตวิสัยที่เกิดขึ้นโดยโน้มน้าวไปทางค่าผลที่คาดหวังโดยผู้ทำการทดลอง ยกตัวอย่างเช่น ความเอนเอียงที่เกิดขึ้นเมื่อนักวิทยาศาสตร์มีอิทธิพลโดยไม่รู้ตัวต่อผู้ร่วมการทดลองหรือสัตว์ทดลอง เช่นในกรณีของม้าคเลเวอร์แฮน.

ใหม่!!: สปีชีส์และความเอนเอียงของผู้ทดลอง · ดูเพิ่มเติม »

ควายป่าแอฟริกา

วายป่าแอฟริกา (African buffalo, Cape buffalo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) วงศ์ย่อยวัวและควาย (Bovinae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Syncerus ควายป่าแอฟริกามีลักษณะรูปร่างคล้ายกับควายป่า (Bubalus arnee) และควายบ้าน (B. bubalis) ที่พบในทวีปเอเชีย แต่ทว่ามีรูปร่างที่บึกบึนกว่ามาก มีนิสัยว่องไว่และดุร้ายยิ่งกว่างควายป่าเอเชียอย่างมาก และมีส่วนโคนเขาที่ย้อนเข้าหากัน ในตัวผู้จะหนา และโคนเขาชนกัน ขณะที่ตัวเมียจะมีเขาที่เล็กกว่า และโคนเขาไม่ชนกัน ลำตัวมีสีเข้ม กีบเท้ามีลักษณะโค้งกลมขนาดใหญ่ ลำตัวมีความยาว 2.1–3.4 เมตร น้ำหนักมากกว่า 700 กิโลกรัมขึ้นไป มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 22–25 ปี พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาใต้ บริเวณที่เป็นทุ่งหญ้าสะวันน่า และบึงน้ำขนาดใหญ่ทั่วไป กินหญ้าและใบไม้เป็นอาหาร เมื่อโตเต็มวัยมักอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ ชอบที่จะแช่ปลักโคลนเหมือนควายในทวีปเอเชีย โดยมีตัวเมียและลูกเป็นส่วนใหญ่ของฝูง โดยมีตัวผู้ที่มีอายุมากที่สุดเป็นจ่าฝูง มีระยะเวลาตั้งท้องนานประมาณ 340 วัน เมื่อถูกคุกคามจากสัตว์อื่น เช่น สิงโต ทั้งฝูงจะหันบั้นท้ายเข้าชนกัน เพื่อป้องกันลูกควายวัยอ่อนที่ยังป้องกันตัวไม่ได้ ให้อยู่ในวงล้อมป้องกันจากการถูกโจมตี ควายป่าแอฟริกาได้รับความสนใจในเชิงการท่องเที่ยวดูสัตว์ โดยถูกจัดให้เป็น 1 ใน 5 ผู้ยิ่งใหญ่ของสัตว์ป่าแอฟริกา อันประกอบไปด้วย สิงโต, ช้างแอฟริกา, ควายป่า, แรด และเสือดาว.

ใหม่!!: สปีชีส์และควายป่าแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

คอมมอนบรัชเทลพอสซัม

อมมอนบรัชเทลพอสซัม (common brushtail possum, silver-gray brushtail possum; -มาจากภาษากรีกแปลว่า "ขนฟู" และภาษาละตินแปลว่า "จิ้งจอกน้อย" เดิมเคยใช้ชื่อสกุลว่า Phalangista) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง จัดว่าเป็นพอสซัมชนิดหนึ่ง มีขนาดลำตัวไล่เลี่ยกับแมวบ้าน มีใบหูชี้แหลมขนาดใหญ่ หน้าแหลม ฟันมีลักษณะคล้ายกับฟันแทะ 4 ซี่ แต่ไม่มีความแหลมคม ขนมีความหนา ฟู และอ่อนนุ่มมาก และมีความหลากหลายของสี ตั้งแต่ สีน้ำตาลทอง, สีน้ำตาล จนถึงสีเทา ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 1.2–4.5 กิโลกรัม ถือได้ว่าใหญ่กว่าตัวเมีย และมีสีเข้มกว่า ตัวเมียมีกระเป๋าหน้าท้องสำหรับเลี้ยงลูกอ่อน ขาหน้ามีนิ้วที่มีเล็บที่มีความแหลมคมมากใช้สำหรับป่ายปีนต้นไม้ ตลอดจนหยิบจับอาหารเข้าปาก ส่วนเท้าหลัง มีนิ้วโป้งที่ไม่มีเล็บ และแยกออกจากอุ้งเท้าไปอยู่อีกข้าง ส่วนหางมีขนฟูเป็นพวงเหมือนแปรง อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ และมีความแข็งแรงมาก ใช้ในการยึดเกาะต้นไม้.

ใหม่!!: สปีชีส์และคอมมอนบรัชเทลพอสซัม · ดูเพิ่มเติม »

คอมป์ซอกนาทัส

อมป์ซอกนาทัส (Compsognathus) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอด สกุลไดโนเสาร์ที่ตัวเล็กที่สุดในโลก ลำตัวยาวประมาณ 70 เซนติเมตร และมีน้ำหนักเพียง 3 กิโลกรัม ฟอสซิลของมันพบในเหมืองที่ประเทศเยอรมนี นอกจากนี้ยีงพบในประเทศไทยของเราด้วย พบเศษกระดูก 2 ชิ้นของกระดูกแข้งด้านซ้าย และกระดูกน่องด้านขวา มีความยาวประมาณ 3 เซนติเมตร พบที่หลุมขุดค้นที่ 1 ที่ภูประตูตีหมา อุทยานแห่งชาติภูเวียง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น พบอยู่ในเนื้อหินทรายหมวดหินเสาขัว ยุคครีเทเชียสตอนต้น ลักษณะของกระดูกที่พบมีลักษณะใกล้เคียงกับคอมพ์ซอกเนธัส ลองกิเปส มันล่าสัตว์ตัวเล็กอย่างแมลง หรือหนู อาศัยอยู่ปลายยุคจูแรสซิก วิ่งเร็ว เป็นไดโนเสาร์เทอราพอดขนาดเล็ก.

ใหม่!!: สปีชีส์และคอมป์ซอกนาทัส · ดูเพิ่มเติม »

คอลัมน์ในคอร์เทกซ์

อลัมน์ในคอร์เทกซ์ หรือ ไฮเปอร์คอลัมน์ หรือ มอดูลในคอร์เทกซ์ (cortical column หรือ hypercolumn หรือ cortical module) เป็นเซลล์ประสาทกลุ่มหนึ่งในคอร์เทกซ์ ซึ่งสามารถใช้หัวตรวจ สอดเข้าไปเช็คตามลำดับตามแนวที่ตั้งฉากกับผิวคอร์เทกซ์ โดยที่เซลล์ประสาทกลุ่มนั้น มีลานรับสัญญาณที่เกือบจะเหมือนกัน ส่วนเซลล์ประสาทภายใน "มินิคอลัมน์" เข้ารหัสการเข้ารหัสโดยรวม ๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็ก ๆ บนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้คุณสมบัติของตัวกระตุ้นที่คล้าย ๆ กัน เปรียบเทียบกับคำว่า ไฮเปอร์คอลัมน์ ซึ่ง "หมายถึงหน่วยเซลล์ประสาทที่มีค่าหมดทั้งเซตสำหรับพารามิเตอร์ของลานรับสัญญาณเซตใดเซตหนึ่ง" ส่วนคำว่า มอดูลในคอร์เทกซ์ มีคำนิยามว่า เป็นไวพจน์ของไฮเปอร์คอลัมน์ (โดยเมานต์แคสเติล) หรือ ชิ้นเนื้อเยื่อชิ้นหนึ่งที่มีไฮเปอร์คอลัมน์หลายคอลัมน์ ที่แชร์ส่วนเดียวกัน ยังไม่ชัดเจนว่า ศัพท์นี้หมายถึงอะไร คือ คอลัมน์ในคอร์เทกซ์ไม่สัมพันธ์กับโครงสร้างอย่างใดอย่างหนึ่งในคอร์เทกซ์เลย นอกจากนั้นแล้ว ยังไม่มีใครสามารถกำหนดวงจรประสาทแบบบัญญัติ (canonical) ที่สัมพันธ์กับคอลัมน์ในคอร์เทกซ์ และกลไกทางพันธุกรรมในการสร้างคอลัมน์ก็ยังไม่ปรากฏ อย่างไรก็ดี สมมุติฐานการจัดระเบียบเป็นคอลัมน์นี้ เป็นสิ่งที่มีการอ้างอิงอย่างกว้างขวางที่สุด เพื่อจะอธิบายการประมวลข้อมูลของคอร์เทกซ.

ใหม่!!: สปีชีส์และคอลัมน์ในคอร์เทกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ชาโรดอนโทซอรัส

กะโหลกของคาร์ชาโรดอนโทซอรัส นั้นมีความสมบูรณ์มาก คาร์ชาโรดอนโทซอรัส (Carcharodontosaurus) เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่โตและแข็งแรงที่สุดชนิดหนึ่ง มีขนาดโดยประมาณคือ 13.8 เมตร อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกาเหนือเมื่อประมาณ 100-93 ล้านปีก่อน ชื่อ คาชาโรดอน มาจากภาษากรีกมีความหมาย ขรุขระ หรือ คม ซึ่งความหมายของชื่อคือ กิ้งก่าฟันฉลาม ขนาดของคาร์ชาโรดอนโทซอรัสเมื่อเทียบกันไดโนเสาร์กินเนื้ออื่น (สีม่วง).

ใหม่!!: สปีชีส์และคาร์ชาโรดอนโทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

คาร์โนทอรัส

ร์โนทอรัส (Carnotaurus) ค้นพบที่ทุ่งราบปาตาโกเนียของอาร์เจนตินา มีเขาอยู่บนหัว 2 เขา เป็นลักษณะที่พิเศษของคาร์โนทอรัส และมีขาหน้าที่สั้นมากเมื่อเทียบกับเทอโรพอดชนิดอื่นๆ ชื่อของมันมีความหมายว่ากิ้งก่ากระทิง ขนาดประมาณ 7.5 เมตร หนักประมาณ 2 ตัน ซึ่งถือว่าเบาเมื่อเทียบกับขนาดตัว ซึ่งทำให้มันเป็นไดโนเสาร์ที่ปราดเปรียวและว่องไวอีกชนิด อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลายเมื่อประมาณ 75-80 ล้านปีก่อน หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และคาร์โนทอรัส · ดูเพิ่มเติม »

คางคกบ้าน

งคกบ้าน (Asian common toad, Black-spined toad) หรือ ขี้คันคาก ในภาษาอีสานและภาษาลาว หรือที่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า คางคก เป็นสัตว์ในวงศ์คางคก (Bufonidae) ชนิดหนึ่ง จัดว่าเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ มีผิวหนังที่แห้งและมีปุ่มปมทั้งตัว ที่เป็นปุ่มพิษ โดยเฉพาะหลังลูกตา มีรูปทรงกลมคล้ายเมล็ดถั่วขนาดยาวประมาณ 25 มิลลิเมตร กว้าง 10 มิลลิเมตร แผ่นหูมีลักษณะเห็นได้ชัดเจน ขนาดเล็กกว่าลูกตาเล็กน้อย มีสีผิวหนังเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทาตลอดทั้งลำตัว บริเวณรอบปุ่มพิษจะมีสีเข้มกว่าบริเวณอื่น ๆ ใต้ท้องเป็นสีน้ำตาลเหลืองอ่อน ในขณะที่ยังเป็นวัยอ่อนจะเป็นสีขาวซีดกว่า มีขนาดวัดจากปลายปากจนถึงก้นประมาณ 68-105 มิลลิเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในวงกว้างในทวีปเอเชีย ตั้งแต่แนวเทือกเขาหิมาลัย, อินเดีย, จีนตอนใต้, พม่า, ทุกประเทศในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ และพบได้ทั่วไปในทุกสภาพแวดล้อม ทั้งในเมืองใหญ่และในป่าดิบ เป็นสัตว์ที่ไม่อยู่ใกล้กับแหล่งน้ำยกเว้นการผสมพันธุ์และวางไข่ จะมีฤดูผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงฤดูร้อนจนถึงปลายฤดูฝน (มีนาคม-กันยายน) เป็นสัตว์ที่กินแมลงและอาหารได้หลากหลายมาก พบชุกชุมในช่วงฤดูฝน คางคก มักเป็นสัตว์ที่มีผู้นิยมรับมารับประทานทั้ง ๆ ที่มีพิษ มักมีผู้เสียชีวิตบ่อย ๆ จากการรับประทานเข้าไป โดยเชื่อว่าเป็นยาบำรุงและรักษาโรคต่าง ๆ ได้ โดยพิษของคางคกนั้นไม่สามารถทำให้หายไปได้ด้วยความร้อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และคางคกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

คางคกหมอตำแย

งคกหมอตำแย หรือ กบหมอตำแย (Midwife toad) เป็นสกุลของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกกบหรือคางคก จัดอยู่ในสกุล Alytes ในวงศ์คางคกหมอตำแย (Alytidae) คางคกหมอตำแย เป็นกบขนาดเล็ก มีความยาวลำตัวประมาณ 4–5 เซนติเมตร เหตุที่ได้ชื่อว่า "หมอตำแย" เนื่องจากพฤติกรรมในการแพร่ขยายพันธุ์ เมื่อคางคกตัวผู้ผสมพันธุ์และกอดรัดกับตัวเมียอยู่บนบก เมื่อตัวเมียวางไข่และไข่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว คางคกตัวผู้จะกวาดไข่ขึ้นไปแบกไว้บนหลังของตัวเองหรือบนขาหลังแล้วแบกไข่ไว้ตลอดเวลา และจะลงน้ำเป็นบางครั้งเพื่อให้ไข่ได้รับความชุ่มชื้น เมื่อไข่ฟักเป็นลูกอ๊อดแล้ว คางคกตัวผู้ก็จะปล่อยลูกอ๊อดลงสู่แหล่งน้ำ พบกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคตะวันตกของทวีปยุโรป จนถึงตะวันออกกลางและตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา พบได้ในยอดเขาสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 5,000–6,500 ฟุต หมายเหตุ: เดิมคางคกหมอตำแยเคยจัดอยู่ในวงศ์ที่ใช้ชื่อว่า Discoglossidae แต่ปัจจุบันได้ใช้ชื่อวงศ์เป็นชื่อปัจจุบัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และคางคกหมอตำแย · ดูเพิ่มเติม »

คางคกห้วย

งคกห้วย เป็นสกุลของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในสกุล Ansonia (/เอน-โซ-เนีย-อา/) ในวงศ์คางคก (Bufonidae) จัดเป็นคางคกขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำที่เป็นลำธารหรือน้ำตก ลูกอ๊อดอาศัยอยู่ในลำธารน้ำไหลเชี่ยว จึงมีแผ่นดูดอยู่โดยรอบของช่องปากเพื่อช่วยยึดติดลำตัวให้ติดอยู่กับก้อนหินในน้ำ พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชียตั้งแต่ตอนใต้ของอินเดีย, ภาคเหนือของไทยจนถึงคาบสมุทรมลายู, เกาะตีโยมัน, เกาะบอร์เนียว ไปจนถึงเกาะมินดาเนาในฟิลิปปิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และคางคกห้วย · ดูเพิ่มเติม »

คางคกซูรินาม

งคกซูรินาม (Surinam toad, star-fingered toad; Aparo, Rana comun de celdillas) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์กบเล็บ (Pipidae) มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวมีลักษณะแบนคล้ายสี่เหลี่ยม ส่วนหัวเป็นสามเหลี่ยม มีสีเทาถึงสีน้ำตาลเข้ม ขนาดใหญ่ได้ถึง 20 เซนติเมตร แต่โดยทั่วไปจะมีขนาด 10-13 เซนติเมตร ทำให้แลดูเผิน ๆ เหมือนใบไม้แห้ง หรือกบที่ถูกทับแบน มีพังพืดเชื่อมระหว่างนิ้วตีนหน้าขนาดเล็ก ทำให้นิ้วตีนแยกจากกันจนมีลักษณะคล้ายนิ้วแยกเป็นแฉกเหมือนดาว แต่ปลายนิ้วไม่มีเล็บ พบกระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำในป่าดิบที่ราบต่ำของทวีปอเมริกาใต้ตอนบน โดยจะอาศัยหากินอยู่ในน้ำตลอดเวลา เนื่องจากไม่มีลิ้น จึงจะใช้ปากงับกินปลาหรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ เป็นอาหาร ลูกคางคกที่ฝังอยู่ในผิวหนังแม่ ตัวที่มีลำตัวสีเทา คางคกซูรินามมีพฤติกรรมที่เป็นที่น่าสนใจ คือ ตัวเมียเมื่อผสมพันธุ์กับตัวผู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตัวผู้จะว่ายขึ้นสู่ด้านบนของหลังตัวเมีย เพื่อนำไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้ววางลงบนหลังตัวเมีย ซึ่งจะมีไข่ทั้งหมดราว 60-100 ฟอง ไข่จะฝังลงบนหลังของตัวเมีย ผ่านไป 10 วัน ไข่จะฟักเป็นลูกอ๊อด แต่ยังไม่ออกมาจากหลัง จนกระทั่งผ่านไปราว 10-20 สัปดาห์ที่พัฒนาเหมือนตัวเต็มวัยที่มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จะผุดโผล่มาจากหลังตัวเมียจนผิวบนหลังเป็นรูพรุนเต็มไปหมด และแยกย้ายออกไปใช้ชีวิตเอง ด้วยลักษณะและพฤติกรรมที่แปลกเช่นนี้ ทำให้คางคกซูรินามได้รับความนิยมในการถ่ายทำเป็นสารคดี และเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในตู้ปล.

ใหม่!!: สปีชีส์และคางคกซูรินาม · ดูเพิ่มเติม »

คางคกซูรินาม (สกุล)

งคกซูรินาม (Surinam toad) เป็นสกุลของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับกบ (Aruna) ในวงศ์กบเล็บ (Pipidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pipa (/ปี-ปา/) มีลักษณะสำคัญ คือ ลำตัวแบนราบเหมือนใบไม้ ไม่มีเล็บเหมือนสกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน มีเส้นข้างลำตัวที่เจริญเป็นอย่างดี เนื่องจากใช้ชีวิตและหากินตลอดในน้ำ มีพฤติกรรมการขยายพันธุ์ ด้วยการที่ตัวผู้จะกอดรัดตัวเมียในน้ำได้หมุนตัวและกลับตัวเพื่อให้ไข่ที่รับได้การปฏิสนธิแล้วขึ้นไปติดอยู่กับผิวของตัวเมีย ต่อมาเนื้อเยื่อของผิวหนังบนหลังของตัวเมียจะแปรสภาพและเจริญขึ้นมาปกคลุมไข่แต่ละฟอง เมื่อไข่พัฒนาเป็นเอ็มบริโอแล้วจะเจริญภายในไข่ที่อยู่บนหลัง เมื่อฟักออกเป็นลูกอ๊อดแล้ว จึงจะแตกตัวออกจากหลังแม่ และใช้เวลาอีกระยะหนึ่งจึงจะพัฒนาเหมือนตัวเต็มวัย ยกเว้นในชนิดคางคกซูรินาม (Pipa pipa) ที่ลูกอ๊อดจะยังอยู่บนหลังแม่ไปจนกว่าจะกลายสภาพเหมือนตัวเต็มวัย ถูกจำแนกออกเป็น 7 ชนิด กระจายพันธุ์อยู่ในทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และคางคกซูรินาม (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

คางคกแคระ

งคกแคระ หรือ คางคกหัวแบน เป็นสกุลของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในสกุล Ingerophrynus ในวงศ์คางคก (Bufonidae) พบกระจายพันธุ์ในมณฑลยูนนาน และภูมิภาคอินโดจีน, ประเทศไทย, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะสุลาเวสี, เกาะไนแอส และเกาะฟิลิปปิน โดยเป็นสกุลที่แยกออกมาจากสกุล Bufo ซึ่งเป็นสกุลดั้งเดิมของคางคกในวงศ์นี้ 10 ชนิด โดยในชนิด Ingerophrynus gollum ซึ่งเป็นชนิดใหม่ ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ตามกอลลัม ตัวละครจากบทประพันธ์ของเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ลูกอ๊อดของคางคกสกุลนี้มีดวงตาขนาดใหญ่ ตัวสีน้ำตาลดำ มีจุดกระจายทั่วตัว มักพบตามแอ่งข้างลำธารที่มีเศษใบไม้ร่วงทับถมกัน ในประเทศไทยพบ 3 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และคางคกแคระ · ดูเพิ่มเติม »

คางคกโพรงเม็กซิกัน

งคกโพรงเม็กซิกัน (Mexican burrowing toad, Burrowing toad) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในอันดับกบ (Anura) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinophrynus และวงศ์ Rhinophrynidae มีลำตัวกลมและแบนราบ ส่วนหัวหลิมและมีแผ่นหนังที่ปลายของส่วนหัว ตามีขนาดเล็ก ไม่มีแผ่นเยื่อแก้วหู สามารถอ้าปากเพื่อให้ส่วนปลายของลิ้นพลิกกลับและยืดออกมาได้อย่างสะดวกมาก สำหรับกินมดหรือปลวกเป็นอาหาร มีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบ 8 ปล้อง กระดูกสันหลังมีเซนทรัลเป็นแบบอย่างของโอพิสโธซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของอาร์กซิเฟอรัล ไม่มีกระดูกหน้าอก กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแคลคาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะตัวและส่วนปลาย ไม่มีกระดูกแทรกระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย ลูกอ๊อดมีช่องปากยาวและแคบ ไม่มีจะงอยปากและไม่มีตุ่มฟันบริเวณปาก ช่องเปิดห้องเหงือกมี 2 ช่องอยู่ทางด้านข้างของลำตัว กินอาหารด้วยการกรองเข้าปาก มีความยาวประมาณ 7.5-8.5 เซนติเมตร อาศัยโดยการขุดโพรงอยู่ในดิน โดยกินแมลงและแมงที่อยู่บนดินเป็นอาหาร ผสมพันธุ์ในแหล่งน้ำขังชั่วคราว โดยจะเป็นการผสมพันธุ์แบบหมู่เป็นกลุ่มก้อนจำนวนมาก โดยตัวผู้ส่งเสียงร้องเรียกตัวเมียขณะลอยตัวอยู่ในน้ำและกอดรัดตัวเมียบริเวณเอว ตัวเมียวางไข่เป็นจำนวนหลายพันฟอง ไข่ไม่ลอยเป็นแพที่ผิวน้ำแต่จะจมลงก้นบ่อ ลูกอ๊อดจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มตั้งแต่ 5-หลายร้อยตัว พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ใต้สุดของรัฐเทกซัสในสหรัฐอเมริกา จนถึงคอสตาริก.

ใหม่!!: สปีชีส์และคางคกโพรงเม็กซิกัน · ดูเพิ่มเติม »

คาเวียร์

ปลาสเตอร์เจียนเบลูกา (''Huso huso''), คาเวียร์สีส้ม (ล่าง) มาจาก เวอจีน่า คาเวียร์ (caviar) เป็นไข่ปลาที่ผ่านการปรุงรสโดยไข่มาจากปลาหลากหลายประเภท โดยส่วนมากนิยมนำมาจากไข่ปลาสเตอร์เจียน คาเวียร์ได้มีการโฆษณาและได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก คำว่า คาเวียร์ มาจากภาษาเปอร์เซีย ว่า خاگ‌آور (Khag-avar) ซึ่งมีความหมายว่า "ไข่ปลาที่ปรุงรส" โดยในแถบเปอร์เซียจะใช้หมายถึงปลาสเตอร์เจียน การรับประทานคาเวียร์ นิยมจะตักไข่ปลาด้วยช้อนคันเล็ก ๆ ทาลงบนขนมปังแล้วรับประทาน ในปัจจุบัน คาเวียร์ที่มีชื่อเสียงจะมาจากทะเลสาบแคสเปียน ในแถบอาเซอร์ไบจาน, อิหร่าน และรัสเซีย คาเวียร์มีหลายประเภทและหลายสี โดยคาเวียร์สีทองที่มาจากปลาสเตอร์เลต (Sterlet, ชื่อวิทยาศาสตร์: Acipenser ruthenus) เป็นคาเวียร์ที่หายาก นิยมรับประทานกันในหมู่กษัตริย์และบุคคลชั้นสูง โดยในปัจจุบันคาเวียร์ชนิดนี้แทบจะหาไม่ได้เนื่องจากมีการล่ามากจนเกินไป จนทำให้ปลาชนิดนี้แทบจะสูญพันธุ์ ในสมัยอดีต เมื่อเด็กป่วยเป็นหวัด แม่ที่ฐานะดีจะให้ลูกกินคาเวียร์จนหายเป็นปกติ ชนชั้นสูงในรัสเซียก็นิยมกินคาเวียร์ เพราะเชื่อว่าเป็นอาหารอายุวัฒนะ และชาวโรมันนิยมบริโภคคาเวียร์เป็นยา เมื่อครั้งพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย เสด็จเยือนฝรั่งเศส พระองค์พระราชทานคาเวียร์เป็นราชบรรณาการแด่จักรพรรดินโปเลียน เพราะในฝรั่งเศสคาเวียร์เป็นของหายาก และเมื่อจักรพรรดินโปเลียนทรงปราชัยในสงครามกับรัสเซีย ความนิยมกินคาเวียร์ก็ได้แพร่เข้าสู่ยุโรปโดยใช้เส้นทางจากรัสเซียผ่านเมืองฮัมบูร์ก ในเยอรมนี โดยแหล่งที่ขึ้นชื่อว่ามีปลาสเตอร์เจียนชุกชุม คือทะเลสาบแคสเปียน ในอดีตเคยอาศัยอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ให้ชาวประมงรัสเซียได้จับกันเป็นจำนวนมาก จนทำให้ปลาลดจำนวนลงมาก รัฐบาลสหภาพโซเวียตจึงต้องออกกฎหมายห้ามจับโดยเด็ดขาด และส่งเฮลิคอปเตอร์ออกตรวจจับผู้ที่จับปลาที่ทำผิดกฎหมาย ซึ่งถ้าพบว่าชาวประมงคนใดจับปลาสเตอร์เจียนโดยไม่ได้รับอนุญาต จะถูกส่งไปลงโทษจับปลาที่ไซบีเรีย แต่เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลาย ชาวประมงรัสเซียก็ได้ออกมาจับปลาสเตอร์เจียนอีก และถือว่าโชคดีถ้าใครจับปลาสเตอร์เจียนที่มีไข่ได้ เพราะปลาหนึ่งตัวอาจมีไข่ในท้องถึง 50 กิโลกรัม เพียงพอจะทำให้คนที่จับมีฐานะขึ้นมาได้ และนอกจากจะขายไข่ได้ในราคาดีแล้ว เนื้อปลาเองก็อาจขายได้ราคางามถึงปอนด์ละ 900 ดอลลาร์ขึ้นไปด้วย ในเวลาต่อมา เหตุเพราะปลาสเตอร์เจียนถูกจับไปเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ดังนั้นรัฐบาลรัสเซียจึงจัดตั้งศูนย์เลี้ยงปลาสเตอร์เจียนขึ้นที่เมืองอัสตราคัน ส่วนที่คาซัคสถานนั้นก็มีศูนย์ประมงซึ่งมีบริษัทคาเวียร์ เฮ้าส์ & พรีเมียร์ เป็นผู้ดูแล โดยมีปลาสเตอร์เจียนเลี้ยงมากถึง 160,000 ตัว สำหรับประเทศอิหร่านนั้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1957 เป็นต้นมา ได้มีการทำฟาร์มเลี้ยงปลาสเตอร์เจียน เนื่องจากพระเจ้าชาห์แห่งอิหร่านทรงเคยดำริจะมีฟาร์มเลี้ยงปลาสเตอร์เจียน ของอิหร่านเอง และได้พยายามโฆษณาว่า คาเวียร์จากฟาร์มอิหร่านมีรสดีกว่าคาเวียร์จากทะเลสาบแคสเปียนของรัสเซีย ส่วนที่สหรัฐอเมริกา ชาวรัสเซียที่อพยพไปอเมริกาได้เริ่มทำฟาร์มปลาสเตอร์เจียนบ้างเพื่อส่งคาเวียร์ออกขายแข่งกับรัสเซียและอิหร่าน ในปัจจุบันทั้งในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ มีการล่าจับปลาสเตอร์เจียนกันมาก จนอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส) ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการค้าสัตว์และพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ทั้งหมดราว 30,000 ชนิด ได้เข้ามาควบคุมการทำร้ายปลาสเตอร์เจียนด้วย เพื่อไม่ให้สูญพันธุ์ ทั้งนี้เพราะได้มีการพบว่า ผู้คนส่วนใหญ่ยังเชื่อว่า คาเวียร์จากทะเลสาบแคสเปียนมีคุณภาพดีที่สุด จึงทำให้มีการซื้อขายคาเวียร์ทำเงินได้ปีละตั้งแต่ 2,000–4,000 ล้านเหรียญ แต่ไซเตสก็ตระหนักดีว่าการปกป้องคุ้มครองปลาจำพวกนี้นั้น จำต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งศุลกากร นักวิทยาศาสตร์ และชาวประมง จึงได้ออกกฎหมายบังคับห้ามจับปลาสเตอร์เจียนในปริมาณที่เกินกำหนด อีกทั้งห้ามชาวประมงไม่ให้สร้างมลภาวะที่ร้ายแรงในทะเลสาบ และห้ามฆ่าปลาสเตอร์เจียนในช่วงก่อนอายุวางไข่ (15 ปี) รวมถึงให้มีการจำกัดโควตาการผลิตคาเวียร์ โดยให้ทุกประเทศที่อยู่รายรอบทะเลสาบแคสเปียนปฏิบัติตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และคาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

คูโบซัว

ูโบซัว (ชั้น: Cubozoa; Box jellyfish, Sea wasp) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นหนึ่งของไฟลัมไนดาเรีย มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษเรียกโดยรวมว่า "แมงกะพรุนกล่อง" (Box jellyfish) หรือ "แมงกะพรุนสาหร่าย" หรือ "สาโหร่ง" (Sea wasp) เพราะมีพิษที่ร้ายแรงและมีรูปร่างคล้ายลูกบาศก์อันเป็นที่มาของชื่อ คูโบซัว จัดเป็นแมงกะพรุนที่แบ่งออกได้เป็น 2 อันดับใหญ่ ๆ โดยดูที่ลักษณะของหนวดที่มีพิษเป็นสำคัญ ได้แก่ พวกที่มีหนวดพิษเส้นเดี่ยวที่ขอบเมดูซ่า 4 มุม เช่น แมงกะพรุนอิรุคันจิ (Malo kingi) กับพวกที่มีหนวดเป็นกลุ่มที่ขอบเมดูซ่า 4 มุม มุมละ 15 เส้น ซึ่งจะเป็นหนวดที่ยาวมาก อาจยาวได้ถึง 3 เมตร ได้แก่ Chironex fleckeri มีเข็มพิษประมาณ 5,000,0000,000 เล่มที่หนวดแต่ละเส้น ซึ่งมีพิษร้ายแรงซึมเข้าสู่กระแสเลือดของผู้ที่ถูกต่อยได้ โดยมากจะพบตามชายฝั่งของทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น เช่น ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ปาปัวนิวกินี, หมู่เกาะฟิลิปปิน, หมู่เกาะฮาวาย ช่วงที่พบได้มากคือ เดือนตุลาคม-เมษายน และหลังช่วงพายุฝนที่จะถูกน้ำทะเลพัดพาเข้ามาจนใกล้ฝั่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และคูโบซัว · ดูเพิ่มเติม »

ค่าง

ง (อังกฤษ: Langur, Leaf Monkey) ชื่อสามัญของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร โดยจัดอยู่ในวงศ์ย่อย Colobinae ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และค่าง · ดูเพิ่มเติม »

ค่างกระหม่อมขาว

งกระหม่อมขาว หรือ ค่างกระหม่อมทอง หรือ ค่างก๊าตบ่า (อังกฤษ: White-headed langur, Golden-headed langur, Cat Ba langur) เป็นลิงจำพวกค่างชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนค่างทั่วไป แต่มีจุดเด่นคือ ขนบริเวณหัว, ต้นคอ, หัวไหล่ และสะโพกมีสีขาว แต่สีขนบริเวณสะโพกของตัวผู้บางตัวอาจมีสีส้มเทา มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 54.8 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 84.9 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 15-20 กิโลกรัม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ค่างกระหม่อมขาว มีการกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะบนเกาะก๊าตบ่า ซึ่งเป็นเกาะขนาดเล็กที่อยู่กลางอ่าวตังเกี๋ย ทางตอนเหนือของเวียดนามใกล้กับเมืองไฮฟอง และที่มณฑลกวางสี ประเทศจีนเท่านั้น โดยแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ T. p. poliocephalus ซึ่งมีขนส่วนหัว, แก้ม และลำคอเป็นสีเหลือง เป็นประชากรที่พบบนเกาะก๊าตบ่า และเป็นสีขาวในชนิด T. p. eucocephalus ที่พบในมณฑลกวางสี มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงตามหน้าผาที่สูงชันที่เป็นเขาหินปูน สำหรับสถานะของค่างกระหม่อมขาวในปัจจุบันนี้ นับว่าอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตแล้ว จากการสำรวจของสมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า (Wildlife Conservation Society) พบว่าเหลือเพียงแค่ 59 ตัวเท่านั้นบนเกาะก๊าตบ่า และจัดเป็นหนึ่งใน 10 ชนิดของสัตว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ของโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างกระหม่อมขาว · ดูเพิ่มเติม »

ค่างสะโพกขาว

งสะโพกขาว (อังกฤษ: Delacour's langur, Delacour's leaf monkey) ค่างชนิดหนึ่ง มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับค่างชนิดอื่น ๆ ที่พบในภูมิภาคอินโดจีน ขนตามลำตัวเป็นสีดำสนิท มีลักษณะเด่นคือ มีขนสีขาวปกคลุมตามลำตัวตั้งแต่มุมปากถึงใบหู หางยาว ขนหางของค่างสะโพกขาวจะแตกต่างไปจากค่างชนิดอื่น คือ ยาวและฟูคล้ายหางของกระรอกมีขนสีขาวปกคลุมบริเวณสะโพกลงมาจนถึงเหนือหัวเข่า ลูกที่เกิดใหม่มีขนสีทองเหมือนเช่นค่างชนิดอืนที่อยู่ในสกุล Trachypithecus ทั่วไป มีความยาวลำตัวและหัว 55-83 เซนติเมตร ความยาวหาง 81-86 เซนติเมตร ปัจจุบัน ค่างสะโพกขาวพบได้เพียงแค่ป่าลึกทางตอนเหนือของเวียดนามเท่านั้น มีพฤติกรรมมักอาศัยรวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ประมาณ 3-6 ตัว ออกหากินในเวลากลางวัน กินใบไม้ชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยอยู่บนต้นไม้สูงมากจากพื้น โดยหลับนอนตามถ้ำหรือที่ปลอดภัยตามหุบเขาหรือเทือกเขาหินปูน ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับค่างชนิดนี้ยังมีอยู่น้อยมาก เนื่องจากหายากและจำนวนประชากรลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งปัจจุบัน เชื่อว่ามีจำนวนประชากรเหลือน้อยกว่า 320 ตัวเท่านั้นเอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างสะโพกขาว · ดูเพิ่มเติม »

ค่างหัวมงกุฎ

งหัวมงกุฎ หรือ ค่างฝรั่งเศส (อังกฤษ: Francois' langur, Francois' leaf monkey) เป็นค่างชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายค่างหงอก (T. cristala) และค่างดำมลายู (Presbytis femoralis) ขนตามลำตัวเป็นสีดำสนิท มีลักษณะเด่นคือ ขนบริเวณกลางกระหม่อมจะยาวฟูขึ้นไปแลดูคล้ายกับมงกุฎหรือหงอน ขนข้างแก้มตั้งแต่บริเวณใต้ใบหูลงไปจนถึงมุมปากเป็นสีขาว โดยมีขนสีดำขึ้นแทรกอยู่บ้าง ลูกที่เกิดขึ้นมีขนสีเหลืองทองแบบเดียวกับค่างชนิดอื่น ๆ และขนตามลำตัวจะค่อย ๆ กลายเมื่ออายุมากขึ้น ตัวผู้มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 54.8 เซนติเมตร ในขณะที่ตัวเมีย 55-59 เซนติเมตร ความยาวหางตัวผู้ 84.9 เซนติเมตร ตัวเมีย 85.2 เซนติเมตร มีน้ำหนักประมาณ 5.66 กิโลกรัม ค่างหัวมงกุฎพบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณภาคกลางของประเทศลาวและเวียดนาม รวมถึงในตอนล่างของจีนด้วย โดยพบเพียงแค่ 2 มณฑล คือ มณฑลกุ้ยโจว และมณฑลกวางสีเท่านั้น มีพฤติกรรมมักอยู่รวมกันเป็นฝูงตามป่าบนเทือกเขาหินปูน ออกหากินในเวลากลางวัน โดยจะหากินอยู่บนต้นไม้เป็นหลัก นานครั้งถึงจะลงไปหากินบนพื้นดิน ใช้เวลาหากินอยู่ในช่วงระยะเวลาราว 07.00-10.00 น. และ 15.00-16.00 น. ในแต่ละวัน และกินน้ำที่ไหลออกมาตามหน้าผา และหลับนอนตามถ้ำบนเทือกเขาหินปูนในเวลากลางคืนเพื่อความปลอดภัย โดยที่มีเสียงร้องประกาศอาณาเขตที่ดังมาก และเมื่ออายุยังน้อยมีเสียงร้องที่แปลกเฉพาะตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างหัวมงกุฎ · ดูเพิ่มเติม »

ค่างหนุมาน

งหนุมาน (Hanuman langur, Gray langur; लंगूर) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร จำพวกค่างสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Semnopithecus อยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีหางยาวมากใช้สำหรับทรงตัวบนต้นไม้ มีขนตามลำตัวสีขาวหรือสีเทา ขณะที่มีใบหน้าและหูสีคล้ำ แขนและขาเรียวยาว กระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อินเดีย, เนปาล, ปากีสถาน จนถึงอัฟกานิสถาน ตัวผู้มีความสูงเต็มที่ประมาณ 75 เซนติเมตร น้ำหนักราว 11-18 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมากว่าเล็กน้อย ค่างหนุมาน หากินได้ทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ ในภูมิภาคแถบที่อาศัยอยู่ นับถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ โดยถือเป็นหนุมาน เทพเจ้าตามความเชื่อของศาสนาฮินดู จึงไม่มีภัยคุกคามจากมนุษย์ อีกทั้งเป็นค่างที่ปรับตัวได้ง่าย หากินง่าย จนทำให้ในบางชุมชนของมนุษย์ มีฝูงค่างหนุมานอยู่อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จนเกิดเป็นปัญหา ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีความคล่องแคล่วว่องไวมาก จึงไม่มีศัตรูตามธรรมชาติเท่าใดนัก อีกทั้งสามารถกระโดดจากพื้นได้สูงถึง 5 เมตร เพื่อหลบหลีกศัตรูได้อีกด้วยสุดหล้าฟ้าเขียว, รายการ: เสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2555 โดย ปองพล อดิเรกสาร ทางช่อง 3.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างหนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

ค่างจมูกเชิดตังเกี๋ย

งจมูกเชิดตังเกี๋ย (Tonkin snub-nosed langur, Tonkin snub-nosed monkey, Dollman's snub-nosed monkey) เป็นค่างชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinopithecus avunculus จัดเป็นค่างขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง โดยตัวผู้มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 65 เซนติเมตร ความยาวหาง 85 เซนติเมตร ในขณะที่ตัวเมีย 54 เซนติเมตร และมีความยาวหาง 65 เซนติเมตร ตัวผู้มีน้ำหนัก 14 กิโลกรัม ตัวเมีย 8.5 กิโลกรัม มีลักษณะเด่นคือ ขนที่บริเวณหัวไหล่ แขนด้านนอก หลังโคนขามีสีน้ำตาลเข้มถึงดำ ส่วนล่างของลำตัวมีสีเหลืองอ่อน ใบหน้ามีสีฟ้า ริมฝีปากสีชมพู หางยาวสีขาว ลูกที่เกิดใหม่ขนตามลำตัวจะเป็นสีขาวหรือเทาอ่อน ก่อนจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีดำเมื่อโตขึ้นตามวัย ค่างจมูกเชิดตังเกี๋ย พบได้เฉพาะทางตอนเหนือของเวียดนามเท่านั้น โดยอาศัยอยู่ตามป่าทึบตามเทือกเขาหินปูน ที่มีความสูงตั้งแต่ 200-1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล อาหารหลักได้แก่ ผลไม้, ใบไม้ และเมล็ดพืช ออกหากินในเวลากลางวัน อาศัยอยู่กันเป็นฝูงประมาณ 25 ตัว จากการศึกษาพบว่ามีเสียงร้องที่ดังมาก และปัจจุบันพบว่ามีจำนวนประชากรเหลือเพียงไม่เกิน 250 ตัวเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างจมูกเชิดตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ค่างดำมลายู

งดำมลายู หรือ ค่างดำ (Banded surili) เป็นค่างชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างทั่วไปคล้ายค่างชนิดอื่น ๆ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ ขนบริเวณท้องอ่อนกว่าสีตามลำตัว หน้าอกมีสีขาว มีวงแหวนสีขาวรอบดวงตามากกว่าค่างชนิดอื่น ๆ เหมือนสวมแว่นตา ปลายหางมีรูปทรงเนียวเล็กและมีสีอ่อนกว่าโคนหาง ลูกเมื่อยังแรกเกิดจะมีขนสีทอง ส่วนหัวมีสีเทาเข้ม มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 48-58 เซนติเมตร ความยาวหาง 72-84 เซนติเมตร มีน้ำหนักประมาณ 5-7 กิโลกรัม ค่างดำมลายูพบกระจายพันธุ์ตั้งแต่แหลมมลายูลงไปจนถึง เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีนิเวศวิทยามักอาศัยในป่าที่ใกล้กับแหล่งน้ำ อาทิ บึงหรือชายทะเล บางครั้งอาจพบในป่าที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 600-2,200 เมตร อยู่รวมกันเป็นฝูง ในจำนวนสมาชิกไม่มากนักเมื่อเทียบกับค่างชนิดอื่น คือ ประมาณ 5-10 ตัวเท่านั้น สถานะของค่างดำมลายูในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างดำมลายู · ดูเพิ่มเติม »

ค่างแว่นโฮส

งแว่นโฮส (Miller's grizzled langur, Hose's langur, Gray leaf monkey) เป็นค่างชนิด Presbytis hosei มีขนบริเวนใบหน้าสีดำและมีขนปุกปุยสีขาวคล้ายสวมเสื้อคลุมตั้งแต่คางลงไปตลอดหน้าท้อง จมูกและริมฝีปากสีชมพู มีสีขาวเป็นวงรอบดวงตาคล้ายสวมแว่นตา มีหางยาว มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ค่างแว่นโฮสเป็นสัตว์ที่ตกอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยในธรรมชาติถูกทำลายลงจากการบุกรุกตัดไม้ทำลายป่าของมนุษย์และไฟป่า รวมทั้งฆ่าเพื่อเอาหินบีซอร์ที่อยู่ในกระเพาะเพื่อใช้ในทำพิธีกรรมทางเวทมนตร์ตามความเชื่อ อันเนื่องจากค่างจะกินหินบีซอร์ลงไปเพื่อช่วยในการย่อยอาหาร โดยจะพบได้เฉพาะทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว เกาะสุมาตรา เกาะชวา และคาบสมุทรมลายูเท่านั้น ในต้นปี ค.ศ. 2012 ได้มีการค้นพบค่างชนิดนี้โดยบังเอิญผ่านทางกล้องวงจรปิดขณะที่พาฝูงลงมากินดินโป่งในพื้นที่ป่าดิบทางตะวันออกสุดของเกาะบอร์เนียว โดยคณะนักวิจัยชาวตะวันตกจากมหาวิทยาลัยไซมอนเฟรเซอร์ของแคนาดาที่เจตนาตั้งกล้องเพื่อบันทึกภาพของลิงอุรังอุตังและเสือดาว สร้างความตื่นตะลึงและยินดีเป็นอย่างมาก เนื่องจากไม่ได้มีรายงานพบค่างชนิดนี้ในธรรมชาติมานานมากจนเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างแว่นโฮส · ดูเพิ่มเติม »

ค่างเทา

งเทา หรือ ค่างหงอก (อังกฤษ: Silvered langur, Silvery lutung, Silvered leaf monkey) ค่างชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trachypithecus cristatus จัดเป็นลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ค่างเทามีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับค่างดำมลายู (Presbytis femoralis) ขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้ม ปลายขนเป็นสีขาวหรือสีเงิน ทำให้แลดูคล้ายผมหงอกของมนุษย์ อันเป็นที่มาของชื่อ บนหัวจะมีขนยาวเป็นหงอนแหลม ใบหน้ามีสีดำไม่มีวงแหวนสีขาวรอบดวงตา มือและเท้าเป็นสีดำ ลูกค่างที่เกิดใหม่ขนตามลำตัวจะเป็นสีเหลืองทอง มีความยาวลำตัวถึงหัว 49-57 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 72-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 6-8 กิโลกรัม มีชนิดย่อยด้วยกัน 2 ชนิด มีพฤติกรรมอาศัยอยู่บนต้นไม้สูง ในบางครั้งอาจพบในป่าพรุด้วย อาหารของค่างชนิดนี้ได้แก่ ใบอ่อนของต้นไม้, ผลไม้ และแมลงตัวเล็ก ๆ จะออกหากินในเวลากลางวัน มักอยู่รวมเป็นฝูงประมาณ 10-15 ตัว มีการกระจายพันธุ์ในแถบภาคตะวันตก, ภาคเหนือของไทย, ภาคใต้ของลาว, พม่า, เวียดนาม, ตอนใต้ของจีน, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว.

ใหม่!!: สปีชีส์และค่างเทา · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ

้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ หรือ ค้างคาวสี (Painted bat, Painted woolly bat) เป็นค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ค้างคาวกินแมลง (Vespertilionidae) เป็นค้างคาวขนาดเล็ก มีขนาดลำตัวและปีกพอ ๆ กับผีเสื้อ มีน้ำหนักประมาณ 10 กรัม ความยาวตลอดปลายปีกประมาณ 15 เซนติเมตร ขนตามลำตัวสีส้มสด ใบหูใหญ่ ปีกมีสีแดงแกมน้ำตาลบางส่วน ส่วนที่เหลือเหมือนค้างคาวทั่วไป ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า "pict" เป็นรากศัพท์ภาษาละติน หมายถึง "ระบายสี" โดยรวมแล้วหมายถึง มีสีสันหลายสีในตัวเดียวกัน ค้นพบครั้งแรกในหมู่เกาะโมลุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตั้งแต่อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, เวียดนาม, ไทย, มาเลเชีย และอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยแล้ว เป็นค้างคาวที่พบได้น้อย แต่สามารถพบได้ทั่วทุกภาค มีพฤติกรรม มักเกาะอาศัยตามยอดใบกล้วยที่ม้วนเป็นหลอดหรือท่อ และจะย้ายไปเรื่อย ๆ เมื่อยอดกล้วยแก่ขยายออกไม่ม้วนเป็นหลอดแล้ว นอกจากนี้ยังพบเกาะตามใบไม้แห้งของต้นไม้, ยอดหญ้าพง, ยอดอ้อ และยอดอ้อย รวมทั้งมีรายงานเกาะตามรังของนกกระจาบธรรมดาตัวผู้ ซึ่งเป็นรูปหยดน้ำแขวนตามกิ่งก้านของต้นไม้ อยู่เป็นคู่หรือโดดเดี่ยว ออกหากินในเวลาเย็น โดยบินต่ำระดับยอดไม้พุ่ม ลักษณะการบินคล้ายผีเสื้อกลางคืนขนาดใหญ่ แต่บินเร็วกว่ามาก อาหารได้แก่แมลงต่าง ๆ โดยเฉพาะแมลงที่มีขนาดเล็ก มีพฤติกรรมจับคู่ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน ค้างคาวตัวผู้และตัวเมียรวมทั้งลูกอ่อนที่เกาะติดอกแม่ถูกจับได้พร้อมกันบนใบตองแห้งในเดือนสิงหาคม เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวผลไม้

้างคาวผลไม้ (Megabat, Fruit bat) เป็นอันดับย่อยของค้างคาวอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Megachiroptera โดยแบ่งออกไปได้เพียงวงศ์เดียว คือ Pteropodidae ลักษณะโดยรวมของค้าวคาวในอันดับและวงศ์นี้ ก็คือ มีความยาวได้ถึง 16 นิ้ว ระยะกางปีกสามารถกว้างได้ถึง 5 ฟุต มีจมูกยาว หูเล็ก ดวงตาที่โต ใบหน้าคล้ายกับหมาจิ้งจอก มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ลูกค้างคาวจะถือกำเนิดขึ้นในช่วงต้นของฤดูร้อน ตัวเมียหนึ่งตัวจะให้กำเนิดลูกค้างคาวหนึ่งตัว มักจะอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นอาณานิคมใหญ่ โดยปกติแล้วตัวผู้หนึ่งตัวจะอาศัยอยู่ร่วมกับตัวเมียได้ถึง 8 ตัว ออกหากินในเวลากลางคืน บินเป็นเส้นตรง เนื่องจากใช้สายตาเป็นเครื่องนำทาง มูลที่ถ่ายออกมาไม่เป็นก้อน เพราะกินพืชเป็นหลัก มักพบในพื้นที่ป่าทึบ หรือป่าที่ใกล้กับชุมชน หากินในเวลากลางคืน โดยที่จะห้อยหัวอยู่กับกิ่งไม้ในเวลากลางวัน โดยกินอาหาร คือ ผลไม้และน้ำหวานจากดอกไม้ และจะกินใบไม้หากผลไม้และดอกไม้นั้นขาดแคลน เป็นค้างคาวที่พบได้ทั่วทุกภูมิภาคของโลก ยกเว้นแถบขั้วโลก ในประเทศไทยชนิดที่รู้จักกันดี ก็คือ ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Pteropus vampyrus) จัดเป็นศัตรูพืชของเกษตรกรชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และค้างคาวผลไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวขอบหูขาวเล็ก

้างคาวขอบหูขาวเล็ก (อังกฤษ: Lesser Short-nosed Fruit Bat, Common Short-nosed Fruit Bat) ค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynopterus brachyotis อยู่ในวงศ์ค้างคาวผลไม้ (Pteropodidae) เป็นค้างคาวขนาดเล็ก มีจุดเด่นคือขอบใบหูทั้งสองข้างมีขอบสีขาวอันเป็นที่มาของชื่อ มีใบหน้าคล้ายสุนัข จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ค้างคาวหน้าหมา" (Lesser Dog-faced Fruit Bat) ขนตามลำตัวหลากหลายมีตั้งแต่สีเทาจาง, น้ำตาลจาง ๆ จนถึงน้ำตาลเข้ม มีน้ำหนักตัวตั้งแต่ 28-40 กรัม ค้างคาวตัวเมียตกลูกครั้งละ 1 ตัว พบกระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่อินเดีย, ศรีลังกา, หมู่เกาะนิโคบาร์ในทะเลอันดามัน, จีนตอนใต้, เอเชียอาคเนย์ พบได้ในภูมิประเทศที่มีความหลากหลายมาก ตั้งแต่ป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,600 เมตร จนถึงชุมชนในเมืองใหญ่ และสวนผลไม้ต่าง ๆ โดยมักจะอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ตามต้นไม้ใหญ่หรือต้นผลไม้ กินอาหารจำพวก ผลไม้ เช่น มะม่วง และน้ำหวานจากเกสรดอกไม้ จึงนับเป็นศัตรูของผลไม้ด้วยชนิดหนึ่ง แต่ก็มีประโยชน์ในการผสมพันธุ์และแพร่กระจายละอองเกสรดอกไม้และผลไม้ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภูมิภาค ยกเว้นภาคเหนือตอนบนและภาคอีสาน จากการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างขวาง ทำให้มีชนิดย่อยมากมายด้วยกันถึง 7 ชนิดย่อย คือ C.b. altitudinis พบในที่ราบสูงคาแมรอน ในมาเลเซีย, C.b. brachysoma พบในหมู่เกาะอันดามัน, C.b. cylonensis พบในศรีลังกา, C.b. concolor ที่เกาะอังกาโน, C.b. hoffetti พบในเวียดนาม, C.b. insularum พบในหมู่เกาะคังเกียน, C.b. javanicus พบในเกาะชวา และ C.b. minutus พบบนเกาะนิเอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และค้างคาวขอบหูขาวเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง

้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง (Lyle's flying fox) เป็นค้างคาวขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ค้างคาวผลไม้ (Pteropodidae) มีลักษณะเหมือนค้างคาวแม่ไก่ชนิดอื่น ๆ มีขนาดใหญ่กว่าค้างคาวแม่ไก่เกาะแต่เล็กกว่าค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน ขนส่วนท้องและหลังสีน้ำตาลทอง ปลายหูแหลม มีความยาวแขนถึงศอกประมาณ 14.5-16 เซนติเมตร มีน้ำหนักตัว 390-480 กรัม พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่ภาคกลางตอนล่าง, ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบน ของประเทศไทย โดยพบตั้งแต่พื้นที่อ่าวไทยตอนในจรดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และพบได้ที่กัมพูชาและเวียดนาม โดยอาศัยรวมกันเป็นฝูงใหญ่ เกาะบนต้นไม้ จากการศึกษาพบว่า ค้างคาวแม่ไก่ภาคกลางในประเทศไทย มีพื้นที่อาศัยเกาะนอน 16 แห่ง โดยมักอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นหรือพื้นที่ใกล้สวนผลไม้ ในแต่ละคืน กินพืชเป็นอาหารประมาณ 3.38-8.45 ตัน ซึ่งถือว่ามีปริมาณที่ค่อนข้างมากและยากที่เกษตรกรจะยอมรับได้ โดยเป็นพืชเศรษฐกิจเสียส่วนใหญ่ ปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และค้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน

้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Large flying fox, Greater flying fox, Malayan flying fox, Malaysian flying fox, Large fruit bat) เป็นค้างคาวชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pteropus vampyrus อยู่ในวงศ์ Pteropodidae หรือค้างคาวผลไม้ เป็นค้างคาวขนาดใหญ่ มีหัวคล้ายหมาจิ้งจอก มีดวงตาโต จมูกและใบหูเล็ก ขนสีน้ำตาลแกมแดง และมีเล็บที่แหลมคมสามารถเกาะกิ่งไม้ได้ โดยจะใช้เล็บของนิ้วที่ 2 ที่เหมือนตะขอเป็นหลักในการป่ายปีนและเคลื่อนไหว มีฟันทั้งหมด 36 ซี่ ที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Lekagul B., J. A. McNeely.

ใหม่!!: สปีชีส์และค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวแวมไพร์

ำหรับแวมไพร์ที่หมายถึง ผีตามความเชื่อของชาวยุโรปยุคกลาง ดูที่: แวมไพร์ ค้างคาวแวมไพร์ หรือ ค้างคาวดูดเลือด (Vampire bat) เป็นค้างคาวกลุ่มหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้และอเมริกากลาง มีพฤติกรรมดูดเลือดสัตว์ชนิดอื่นเป็นอาหาร จากพฤติกรรมของทำให้ได้ชื่อว่าเป็นค้างคาวแวมไพร์ หรือค้างคาวดูดเลือด เหมือนแวมไพร์ ในความเชื่อของชาวยุโรปยุคกลาง ค้างคาวแวมไพร์ เป็นค้างคาวขนาดเล็กมีทั้งหมด 3 ชนิด ใน 3 สกุล จัดอยู่ในวงศ์ค้างคาวจมูกใบไม้โลกใหม่ (Phyllostomidae) เป็นค้างคาวที่ถือกำเนิดขึ้นมาเมื่อ 26 ล้านปีก่อน โดยมีความสัมพันธ์กับค้างคาวกินแมลง มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ในถ้ำในป่าดิบ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะกินแต่เพียงเลือดของสัตว์เลือดอุ่นขนาดใหญ่กว่าเป็นอาหารเท่านั้น (บางชนิดจะกินนกเป็นอาหาร) โดยมีฟันแหลมคมซี่หน้าคู่หนึ่งกัด โดยมากสัตว์ที่ถูกดูดกิน จะเป็นปศุสัตว์ เช่น หมู หรือวัว เป็นต้น ซึ่งสายตาของค้าวคาวแวมไพร์จะมองเห็นเป็นภาพอินฟาเรด จากความร้อนของอุณหภูมิในร่างกายของเหยื่อ ทำให้มองเห็นในเวลากลางคืนได้ดีมาก และเป็นตัวนำไปสู่การเลือกตำแหน่งที่กัด ซึ่งจะเป็นอวัยวะส่วนต่าง ๆ เช่น ใบหู, ข้อศอก หรือหัวนม และขณะที่กัด ด้วยความคมของฟันประกอบกับมักจะกัดในเวลาที่เหยื่อนอนหลับ ทำให้เหยื่อไม่รู้ตัว และขณะที่ดูดเลือดอยู่นั้น ค้างคาวจะขับปัสสาวะไปด้วย เนื่องจากจะดูดเลือดในปริมาณที่มาก ทำให้ไม่สามารถบินได้ โดยปริมาณเลือดที่ค้างคาวดูดไปนั้น หากคำนวณว่าดูดเลือดหมูทุกคืน ภายในเวลา 5 เดือน จะมีปริมาณเท่ากับน้ำหนัก 5 แกลลอน ซึ่งเลือดที่ไหลออกมานั้นจะไหลผ่านลิ้นของค้างคาวที่มีร่องพิเศษช่วยให้เลือดไหลผ่านหลอดเลือดฝอยได้โดยง่าย และในน้ำลายค้างคาวจะมีเอนไซม์ทำให้เลือดไม่แข็งตัว ซึ่งค้างคาวแวมไพร์ก็อาจดูดเลือดมนุษย์ได้ด้วยเช่นกันในเวลาหลับ และถึงแม้จะน่ากลัว แต่ค้างคาวแวมไพร์ก็มีความผูกพันกับลูก พ่อและแม่ค้างคาวจะเลี้ยงดูลูกค้างคาวที่ยังบินไม่ได้นานถึง 9 เดือน โดยจะนำเลือดที่ดูดเหลือกลับมาฝาก และฝากไปยังค้างคาวตัวอื่น ๆ ในฝูงที่หากินได้ไม่อิ่มพอด้วย นอกจากนี้แล้ว ค้างคาวแวมไพร์ยังเป็นพาหะนำโรคกลัวน้ำ หรือโรคพิษสุนัขบ้า ที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตได้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และค้างคาวแวมไพร์ · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวแวมไพร์ธรรมดา

้างคาวแวมไพร์ธรรมดา หรือ ค้างคาวดูดเลือดธรรมดา (Common vampire bat, Vampire bat) เป็นค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Desmodus rotundus (/เดส-โม-ดัส /โร-ทัน-ดัส/) จัดเป็นค้างคาวเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Desmodus เป็นค้างคาวแวมไพร์หรือค้างคาวดูดเลือด 1 ใน 3 ชนิดที่มีในโลก แต่ถือเป็นเพียงชนิดเดียวที่ดูดเลือดของสัตว์อื่นที่มีขนาดใหญ่กว่ากินเป็นอาหารเท่านั้น จัดว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่กินเลือดเป็นอาหาร กระจายพันธุ์ในป่าดิบตั้งแต่อเมริกากลาง จนถึงทั่วไปในหลายพื้นที่ของทวีปอเมริกาใต้ ลักษณะทั่วไปของค้าวคาวแวมไพร์ธรรมดา คือ จะมีปากสั้นรูปกรวย ไม่มีปีกจมูกทำให้เผยเห็นโพรงจมูกเป็นรูปตัวยู และมีอวัยวะพิเศษ เรียกว่า "Thermoreceptors" ติดอยู่ที่ปลายจมูก สำหรับใช้ช่วยตรวจหาบริเวณที่มีเลือดไหลได้ดีใต้ผิวหนังของเหยื่อ อีกทั้งยังมีสายตาที่มองเห็นเป็นภาพอินฟาเรด จากอุณหภูมิความร้อนของตัวเหยื่อ และทำให้เห็นดีมากในเวลากลางคืน ซึ่งเป็นเวลาออกหากิน ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้Delpietro V. & Russo, R. G. (2002) "Observations of the Common Vampire Bat and the Hairy-legged Vampire Bat in Captivity", Mamm.

ใหม่!!: สปีชีส์และค้างคาวแวมไพร์ธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

งู

งู เป็นสัตว์เลื้อยคลานอันดับหนึ่ง ไม่มีขา ไม่มีเปลือกตา มีเกล็ดปกคลุมผิวหนังทั่วทั้งลำตัว ลักษณะลำตัวยาวซึ่งโดยขนาดของความยาวนั้น จะขึ้นอยู่กับชนิดของงู ปราดเปรียวและว่องไวในการเคลื่อนที่ มีลิ้นสองแฉกเพื่อใช้สำหรับรับความรู้สึกทางกลิ่น จัดอยู่ในชั้น Reptilia, ตระกูล Squamata, ตระกูลย่อย Serpentes โดยทั่วไปแล้วงูจะกลัวและไม่กัด นอกเสียจากถูกรบกวนหรือบุกรุก จะเลื้อยหลบหนีเมื่อมีสิ่งใดเข้ามาใกล้บริเวณที่อยู่ ออกล่าเหยื่อเมื่อรู้สึกหิว โดยกินสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็นอาหาร ยกเว้นงูบางชนิดที่กินงูด้วยกันเอง เช่น งูจงอาง สามารถมองเห็นได้ดีในที่มืดและในเวลากลางคืน โดยทั่วไปจะออกลูกเป็นไข่ ยกเว้นแต่งูที่มีพิษซึ่งมีผลโดยตรงทางด้านโลหิต (วงศ์งูหางกระดิ่ง((Viperidae)) ซึ่งจะออกลูกเป็นตัว เช่น งูแมวเซา ธรรมชาติโดยทั่วไป งูจะลอกคราบเมื่อมันเริ่มโตขึ้น ทำให้ผิวหนังของงูเริ่มแข็งและคับขึ้น ซึ่งงูจะลอกคราบบ่อยครั้งเมื่องูยังมีอายุไม่มากนัก ซึ่งภายหลังจากการลอกคราบของงู จะทำให้ผิวหนังเก่าหลุดออก แต่เซลล์สีที่ทำให้งูมีสีสันยังคงอยู่ในตัวงู ทำให้เกล็ดที่ปกคลุมผิวหนัง มีสีสันสดใสรวมทั้งทำให้เคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างรวดเร็ว ปัจจุบัน มีงูถูกค้นพบแล้วประมาณ 2,700 ชนิด แต่เป็นงูไม่มีพิษประมาณ 2,300 ชนิด สำหรับในประเทศไทยมีงูจำนวนมากตามสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิต ทั่วทุกภูมิภาพของประเทศไทยสามารถพบเห็นงูได้มากกว่า 180 ชนิด โดยเป็นงูที่มีพิษจำนวน 46 ชนิด และสามารถจำแนกงูที่มีพิษออกได้อีก 2 ประเภทคือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และงู · ดูเพิ่มเติม »

งูบิน

งูบิน (Flying snakes) เป็นสกุลหนึ่งของวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) จัดเป็นงูเขียวอย่างหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Chrysopelea งูบินเป็นสัตว์มีพิษอย่างอ่อน และถือว่าไม่เป็นอันตรายเนื่องด้วยพิษของมันไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ กลุ่มอันดับของพวกมันอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ที่แผ่นดินใหญ่, หมู่เกาะซุนดาใหญ่กับหมู่เกาะซุนดาน้อย, หมู่เกาะโมลุกกะ และประเทศฟิลิปปินส์), ชายแดนภาคใต้ของประเทศจีน, อินเดีย และ ศรีลังกาDe Rooij, N. (1915).

ใหม่!!: สปีชีส์และงูบิน · ดูเพิ่มเติม »

งูพิษ

วาดงูสมิงทะเลปากเหลือง (''Laticauda colubrina'') ซึ่งเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงเป็นอันดับ 5 ของโลก และเป็นเพียงชนิดเดียวที่เป็นงูทะเล งูพิษ คืองูที่มีพิษใช้สำหรับป้องกันตัวจากการถูกคุกคามหรือใช้ล่าเหยื่อ ซึ่งมีฤทธิ์ร้ายแรงแตกต่างออกไปตามชนิด, วงศ์ และสกุล ซึ่งร้ายแรงที่สุดสามารถฆ่าสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่กว่าให้ตายได้ในเวลาเพียงไม่กี่นาที พิษของงูจะอยู่ที่บริเวณต่อมน้ำพิษ ในบริเวณฟันเขี้ยว ซึ่งใช้ผลิตน้ำพิษ ซึ่งลักษณะของต่อมน้ำพิษและโครงสร้างจะเกี่ยวข้องในการอนุกรมวิธานจำแนกชนิดของงู น้ำพิษของงูนั้นเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของโปรตีนและสารเคมีประเภทอื่น น้ำพิษในแต่ละชนิดเป็นสารประกอบต่างกันและมีน้ำหนักโมเลกุลต่างกันมาก และเป็นกรณีที่ไม่สามารถอธิบายวิวัฒนาการของน้ำพิษได้ชัดเจน รวมทั้งยากต่อการวินิจฉัยประเภทน้ำพิษและการรักษาเมื่อถูกกัด น้ำพิษของงูนั้นแตกต่างกันตั้งแต่เป็นสารประกอบโมเลกุลเล็กของเพปไทด์ที่มีกรดอะมิโนไม่กี่ชนิดไปจนถึงสารประกอบประเภทเอนไซม์ที่เป็นโมเลกุลเชิงซ้อน หรือเป็นสารประเภทโปรตีนที่ไม่ใช่เอนไซม์และมีน้ำหนักโมเลกุลมาก น้ำพิษของูจำแนกตามลักษณะโครงสร้างของเคมีและผลทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้น เช่น Hemolysin และ Hemorrhagin ทำลายเนื้อเยื่อบุผนังของหลอดเลือดและเซลล์เม็ดเลือดแดง Myotoxin ทำลายกล้ามเนื้อกระดูก Neurotoxin มีผลต่อจุดประสานของเซลล์ประสาทหรือตรงรอยต่อระหว่างกล้ามเนื้อกับแขนงประสาท เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วน้ำพิษของงูในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีผลต่อประบบประสาทและน้ำพิษของงูในวงศ์งูหางกระดิ่ง (Viperidae) มีผลต่อระบบไหลเวียนและเซลล์เม็ดเลือดแดง อย่างไรก็ตามน้ำพิษของงูทั้ง 2 วงศ์นี้อาจส่งผลต่อทั้ง 2 ระบบก็ได้ โดยทั่วไปแล้วความรุนแรงของพิษงูจะพิจารณาจาก 2 ปัจจัย คือ ความเข้มข้นของพิษ ซึ่งดูจากค่า Lethal Dose 50 (LD50) ที่ได้จากการทดลอง ฉีดพิษงูในระดับความเข้มข้นต่าง ๆ เข้าไปในเส้นเลือดดำของหนูทดลอง จนถึงระดับที่ทำให้หนูทดลองตายไปครึ่งหนึ่ง โดยค่า LD50 น้อย หมายถึง "พิษรุนแรง" ส่วนอีกปัจจัยคือ ปริมาณของพิษที่งูปล่อยออกมา นอกจากปริมาณพิษจะแตกต่างกันในงูแต่ละชนิดแล้ว ในการกัด งูก็ไม่ได้ปล่อยพิษออกมา เท่ากันทุกครั้ง เนื่องจากการสร้างพิษใหม่ต้องใช้เวลา การปล่อยพิษพร่ำเพรื่อจะทำให้พลาดโอกาสสำคัญในการล่าเหยื่อ หรือเสียท่าพลาดพลั้งให้ศัตรูได้ ในบางครั้งเมื่องูพิษกัดก็อาจจะไม่ได้มีการปล่อยพิษเลยก็ได้ และถึงแม้ว่างูจะถูกตัดคอเหลือแต่ส่วนหัวของงูยังมีชีวิตอยู่อีกเป็นชั่วโมงและสามารถกัดและพ่นพิษได้เช่นกัน สกุล ''Crotalus'' แสดงให้เห็นถึงฟันเขี้ยวขนาดใหญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูพิษ · ดูเพิ่มเติม »

งูกระด้าง

งูกระด้าง เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์งูน้ำ (Homalopsidae) ซึ่งจัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Erpeton.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูกระด้าง · ดูเพิ่มเติม »

งูกรีนแมมบาตะวันตก

งูกรีนแมมบาตะวันตก (Western green mamba, West African green mamba, Hallowell's green mamba) เป็นงูพิษร้ายแรงในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) เป็นงูที่มีสีเขียวตลอดทั้งตัว มีลักษณะคล้ายกับงูกรีนแมมบาตะวันออก (D. angusticeps) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน (Dendroaspis spp.) แต่ว่าถูกจัดให้เป็นชนิดต่างกัน เนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพที่ต่างกัน คือ มีความยาวที่มากกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก กล่าวคือ มีความยาวโดยเฉลี่ย 1.8 เมตร และมีโทนสีของลำตัวหลากหลายแตกต่างกันมากกว่า กล่าวคือ มีทั้งสีเขียวมรกต, สีเขียวมะกอก หรือแม้แต่สีเขียวอมฟ้า อีกทั้งมีอุปนิสัยที่ดุร้ายก้าวร้าวกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก อาศัยและหากินเป็นหลักบนต้นไม้ งูกรีนแมมบาตะวันตก มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปแอฟริกาตอนกลางในฝั่งทิศตะวันตก ซึ่งเป็นคนละส่วนกับถิ่นแพร่กระจายพันธุ์ของงูกรีนแมมบาตะวันออก ซึ่งทั้งคู่เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงต่อระบบประสาทเช่นเดียวกัน โดยมีพิษร้ายแรงใกล้เคียงกับงูเห่า (Naja spp.) ทั้งคู่มีการนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในหมู่ของผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์แปลก ๆ โดยที่งูกรีนแมมบาตะวันตกจะมีราคาซื้อขายแพงกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูกรีนแมมบาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

งูกะปะ

งูกะปะ เป็นงูพิษที่มีพิษรุนแรงมาก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Calloselasma rhodostoma จัดเป็นงูเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Calloselasma โดยไม่มีชนิดย่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูกะปะ · ดูเพิ่มเติม »

งูลายสอ

งูลายสอ (Painted keelbacks) เป็นงูขนาดเล็กในสกุล Xenochrophis (/ซี-โน-โคร-ฟิส/) ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) เป็นงูขนาดเล็กที่ไม่มีพิษ แต่มีนิสัยดุร้าย ลำตัวมักมีลายดำบนพื้นสีเหลือง อาศัยหากินอยู่ตามพื้นดินและในน้ำ ไม่ขึ้นต้นไม้ ออกหากินในเวลากลางวัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูลายสอ · ดูเพิ่มเติม »

งูสมิงทะเล

งูสมิงทะเล หรือ งูสามเหลี่ยมทะเล (Sea kraits) เป็นสกุลของงูทะเลที่มีขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Laticauda อยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) โดยงูในสกุลนี้ ยังจัดว่าเป็นงูทะเลที่สามารถเลื้อยบนขึ้นมาบนบกได้ ด้วยเกล็ดท้องยังมีอยู่และค่อนข้างกว้างอย่างน้อยประมาณครึ่งหนึ่งของความกว้างลำตัว ทำให้สามารถเลื้อยขึ้นบนหาดทรายได้บ้าง นอกจากนี้ยังมีการสืบพันธุ์ด้วยการวางไข่โดยขึ้นมาวางไข่บนบก โดยจะไปวางไข่ในในโพรงหินหรือพนังถ้ำ มีรูปร่างโดยรวม มีหัวขนาดเล็ก ปากมีขนาดเล็ก ปลายหางแผ่แบนเหมือนครีบปลา เพื่อใช้ในการว่ายน้ำ ลำตัวมีลายปล้องดำสลับกันไปทั้งทั่ว จัดเป็นงูที่มีขนาดใหญ่ โดยมีความยาวได้ถึงเกือบ 3 เมตร งูสมิงทะเลพบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลที่ใกล้กับชายฝั่ง จะอาศัยหากินตามแนวปะการัง เป็นงูที่ว่ายได้ช้า จึงไม่สามารถจับปลาที่ว่ายไปมากินเป็นอาหารได้ จึงหาอาหารที่หลบซ่อนตามซอกหลีบปะการัง พบได้ตั้งแต่ทะเลในแถบเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงหมู่เกาะโซโลมอน หรือเกาะอื่น ๆ ในแถบโอเชียเนีย และเอเชียตะวันออก มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในทะเลสาบน้ำจืดบนหมู่เกาะโซโลมอน.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูสมิงทะเล · ดูเพิ่มเติม »

งูสมิงทะเลปากเหลือง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูสมิงทะเลปากเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

งูสามเหลี่ยม

งูสามเหลี่ยม หรือ งูทับทางเหลือง (Banded krait; ชื่อวิทยาศาสตร์ Bungarus fasciatus) เป็นชนิดของงูมีพิษชนิดหนึ่ง พบในอินเดีย, บังคลาเทศ, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก มีหัวกลม ลำตัวเรียวยาว 1 ถึง 2 เมตร ปลายหางมักทู่ บางตัวหัวแบนเล็กน้อย ลำตัวเป็นสันสามเหลี่ยมชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก เลื้อยช้าแต่ว่ายน้ำได้เร็ว เป็นงูที่มีความว่องไวปราดเปรียวในน้ำ สีของลำตัวเป็นปล้องดำสลับเหลืองทั้งตัว เวลากัดไม่มีการแผ่แม่เบี้ยเหมือนงูในสกุล Naja ในประเทศไทยจะพบได้ทุกภาค แต่จะพบได้มากในภาคใต้ รวมถึงป่าพรุโต๊ะแดง กินอาหาร จำพวก หนู, กบ, เขียด หรือปลา รวมถึงงูด้วยกันขนาดเล็กด้วย หากินในเวลากลางคืน มักขดนอนตามโคนกอไม้ไผ่, ป่าละเมาะ, พงหญ้าริมน้ำ เป็นงูที่ไม่ดุ ไม่ฉกกัด นอกจากจะมีคนเดินไปเหยียบหรือเดินผ่านขณะที่งูสามเหลี่ยมกำลังไล่กัดงูซึ่งเป็นอาหารก่อน งูกินปลา งูเขียว ปกติตอนกลางวันจะซึมเซา แต่ตอนกลางคืนจะว่องไว มีพิษทำลายระบบประสาทและโลหิตรวมกัน เมื่อถูกกัดจะมีอาการชักกระตุก ปวดช่องท้อง มีเลือดออกเป็นจุด ๆ ใต้ผิวหนัง มีเลือดออกตามไรฟันและไอเป็นเลือด มีการแพร่ขยายพันธุ์โดยการวางไข่ครั้งละ 8-12 ฟอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูสามเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

งูสิง

งูสิง (Rat snakes) เป็นสกุลของงูไม่มีพิษหรือพิษอ่อนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Ptyas ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) งูสิง โดยทั่วไปเป็นงูที่มีลักษณะคล้ายกับงูเห่า โดยเมื่อถูกคุกคามมักจะขู่ฟ่อเหมือนงูเห่า แต่ไม่มีแม่เบี้ย และเมื่อถูกรบกวนหนักเข้าก็จะเลื้อยหนี เพราะไม่มีพิษ มีความว่องไวและคล่องแคล่วกว่างูเห่า งูสิง ได้ชื่อว่ามีเนื้อที่อร่อยและนิยมปรุงเป็นอาหาร โดยเฉพาะชาวชนบทโดยเฉพาะในพื้นที่ภาคอีสานของไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูสิง · ดูเพิ่มเติม »

งูสิงธรรมดา

งูสิงธรรมดา หรือ งูสิงบ้าน หรือ งูเห่าตะลาน (Indochinese rat snake) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกงูสิงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1,400 มิลลิเมตร และหางยาว 445 มิลลิเมตร หัวยาวและส่วนของหัวกว้างกว่าลำคอเล็กน้อย ส่วนปลายของหัวมน ตาใหญ่มาก ลำตัวกลมและยาว หางยาวและส่วนปลายหางเรียว ผิวหนังลำตัวมีเกล็ดปกคลุม เกล็ดบนหัวเป็นแผ่นกว้าง เกล็ดบนหลังทางส่วนต้นของลำตัวมีขนาดใหญ่และพื้นผิวเรียบ เกล็ดท้องขยายกว้าง เกล็ดใต้หางเป็นแถวคู่ เกล็ดรอบลำตัวในตำแหน่งกึ่งกลางตัวจำนวน 15 เกล็ด เกล็ดท้องจำนวน 170 เกล็ด และเกล็ดใต้หางจำนวน 125 เกล็ด ลำตัวมีด้านบนของหัวและบนหลังครึ่งทางด้านหน้าของลำตัวสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลอมเขียว ส่วนครึ่งทางด้านท้ายของลำตัวสีน้ำตาล เกล็ดปกคลุมลำตัวและหางมีขอบแผ่นเกล็ดสีจางหรือสีขาว ซึ่งสีขาวของขอบแผ่นเกล็ดได้ขยายกว้างขึ้นตามลำดับไปทางด้านท้ายลำตัวและหาง ทำให้ด้านท้ายของลำตัว โดยเฉพาะหาง เป็นสีขาวที่มีโครงข่ายร่างแหสีดำ คาง ใต้คอ และด้านท้องสีขาวอมน้ำตาล ด้านใต้หางสีขาว งูวัยอ่อนมีจุดเล็กสีขาวเรียงตัวเป็นแถวพาดขวาง (ไม่เป็นระเบียบ) เป็นระยะอยู่ทางส่วนต้นของลำตัว พบกระจายพันธุ์ในทุกประเทศในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ และอนุทวีปอินเดีย เป็นงูที่กินหนูเป็นอาหารหลัก ออกหากินในเวลากลางวันบนพื้นดิน แต่ขึ้นต้นไม้ได้ดีและรวดเร็ว ว่ายน้ำได้ ประกอบกับมีพฤติกรรมการขู่และชูหัวพร้อมส่งเสียงขู่ฟ่อคล้ายงูเห่า ซึ่งเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงกว่า จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "งูเห่าตะลาน" เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูสิงธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

งูหลามบอล

งูหลามบอล หรือที่นิยมเรียกว่า บอลไพธอน (Ball python) เป็นงูในวงศ์งูหลาม งูเหลือม (Pythonidae) ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Python regius โดยที่ไม่มีชนิดย่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูหลามบอล · ดูเพิ่มเติม »

งูหลามต้นไม้สีเขียว

งูหลามต้นไม้สีเขียว (Green tree python) เป็นงูไม่มีพิษชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morelia viridis อยู่ในวงศ์งูเหลือม (Pythonidae) งูเมื่อโตเต็มวัยแล้วจะมีสีของช่วงหลังเป็นสีเขียวสดใสหรือสีฟ้าเป็นแต้ม และช่วงท้องเป็นสีเหลืองอ่อนหรือสีขาวตลอดแนวกระดูกสันหลัง ในขณะที่ยังเป็นตัวอ่อนส่วนใหญ่จะเป็นสีเหลืองสดใสตลอดลำตัว แต่ในบางพื้นที่อาจจะมีช่วงหลังเป็นสีแดง, ส้มหรือเขียว ร่างกายมีกล้ามเนื้อแข็งแรงมีส่วนหัวและลำตัวสั้น ตามีขนาดใหญ่โดยที่มีม่านตาอยู่ในแนวตั้ง และมีแอ่งจับคลื่นความร้อนบริเวณริมฝีปากเช่นเดียวกับงูในวงศ์เดียวกันนี้ชนิดอื่น ๆ โดยใช้เป็นเครื่องมือตรวจจับคลื่นความร้อนจากสัตว์เลือดอุ่นโดยเฉพาะในเวลากลางคืนเพื่อจับเป็นอาหาร มีความยาวเต็มที่ประมาณ 150-200 เซนติเมตร เป็นงูที่สามารถพบได้ในหลายพื้นที่ของเกาะนิวกินีตลอดจนหลายเกาะของอินโดนีเซียจนถึงรัฐควีนส์แลนด์ ของออสเตรเลีย สามารถพบได้ทั้งในป่าพรุ, ป่าดิบแล้ง ตลอดจนถึงพื้นที่ทำการเกษตร โดยสามารถพบได้จนถึงพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลถึง 2,000 เมตร โดยมากจะหาอาหารในเวลากลางคืน ได้แก่ กิ้งก่าและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก โดยจะหากินหลักบนต้นไม้ แต่บางครั้งก็จะลงพื้นดินมาหาอาหารได้ด้วย จัดเป็นงูชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูหลามต้นไม้สีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

งูหลามปากเป็ด

งูหลามปากเป็ด (Blood python) เป็นงูไม่มีพิษ มีลำตัวที่อ้วน หนา กว่างูหลามและงูเหลือม แต่มีหางที่สั้นแลดูไม่สมส่วน และมีลวดลายที่แปลกออกไป มีหลายหลากสี ทั้งน้ำตาล, แดง, เหลือง, ส้ม หรือ เขียว โดยงูแต่ละตัวจะมีสีสันและลวดลายต่างกันออกไป ขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 1.50 เมตร จัดเป็นงูที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้Mehrtens JM.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูหลามปากเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

งูหัวกะโหลก

งูหัวกะโหลก เป็นสกุลของงูพิษอ่อนจำพวกงูน้ำที่อยู่ในสกุล Homalopsis เดิมทีจัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียว แต่ปัจจุบันได้มีการพิจารณาใหม่และจำแนกออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูหัวกะโหลก · ดูเพิ่มเติม »

งูหัวจิ้งจก

งูหัวจิ้งจก (Vine snakes, Whip snakes) เป็นสกุลของงูเขียวที่อยู่ในสกุล Ahaetulla ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) เป็นงูที่มีรูปร่างเรียวยาว ลำตัวโดยปกติสีเขียว แต่อาจจะผันแปรไปได้เป็นสีต่าง ๆ มีส่วนหัวใหญ่และปลายปากปากแหลมเหมือนจิ้งจก ปกติอาศัยและหากินอยู่บนต้นไม้ จัดเป็นงูที่มีพิษอ่อน และนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง โดยคำว่า Ahaetulla เป็นภาษาสิงหลคำว่า ehetulla สำหรับ Ahaetulla nasuta ที่หมายถึง "ที่ดัดขนตา" เป็นงูที่กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออก ตั้งแต่ศรีลังกา และอินเดียถึงจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงส่วนใหญ่ของหมู่เกาะแปซิฟิก.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูหัวจิ้งจก · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่ง

งูหางกระดิ่ง (Rattlesnakes) เป็นชื่อสามัญของงูพิษจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์งูแมวเซา (Viperidae) จัดอยู่ใน 2 สกุล คือ Crotalus และ Sistrurus ในวงศ์ย่อย Crotalinae (Crotalus มาจากภาษากรีก มีความหมายว่า "Castanet" ส่วนคำว่า Sistrurus นั้นเป็นภาษาละตินที่มีความหมายในภาษากรีกว่า "Tail rattler" และมีความหมายตามรากศัพท์เดิมว่า "เครื่องดนตรี") งูหางกระดิ่ง มีลักษณะเด่น คือ เกล็ดที่ปลายหางที่เป็นสารประกอบเคอราติน ที่เป็นอวัยวะที่สามารถทำให้เกิดเสียงได้ โดยเสียงนั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนถี่ ๆ ของปล้องเกล็ดเป็นข้อ ๆ ที่หาง ซึ่งปล้องเกล็ดนี้พัฒนามาจากเกล็ดหางส่วนปลายนั่นเอง ทุกครั้งที่มีการลอกคราบปล้องเกล็ดนี้ก็จะเพิ่มจำนวนขึ้นด้วย 1 ปล้องต่อการลอกคราบ 1 ครั้ง การลอกคราบนั้นอาจเกิดขึ้นหลายครั้งใน 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับอาหารที่ได้รับและอัตราการเติบโต สำหรับลูกงูที่เกิดใหม่นั้นจะมีปล้องเกล็ดที่หาง 1 ปล้อง ซึ่งยังไม่สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ แต่เมื่อผ่านการลอกคราบครั้งแรกไปแล้วก็สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ การสั่นให้เกิดเสียงนั้นก็เพื่อเป็นการข่มขู่เมื่อพบศัตรูเข้ามาใกล้นั่นเองหน้า 410, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะิจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0 งูหางกระดิ่ง ปัจจุบันพบกว่า 30 ชนิด ทุกชนิดพบได้ในทวีปอเมริกาเหนือจนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก โดยมากจะอาศัยและหากินในที่ ๆ แห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย และหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขึ้นต้นไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยใช้การตรวจจับคลื่นความร้อนจากรังสีอินฟาเรดจากตัวเหยื่อด้วยอวัยวะรับคลื่นความร้อนที่เป็นแอ่งระหว่างช่องเปิดจมูกกับตา เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทำให้มนุษย์ที่ถูกกัดเสียชีวิตได้ สำหรับภูมิภาคอื่นที่ไม่มีงูหางกระดิ่ง แต่ก็มีงูบางชนิดในวงศ์เดีัยวกันนี้ ที่เกล็ดตามลำตัวสามารถเสียดสีทำให้เกิดเสียงดังได้เพื่อขู่ศัตรู เช่น งูพิษเกล็ดเลื่อย (Echis carinatus) ในประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูหางกระดิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่งแคระ

งูหางกระดิ่งแคระ หรือ งูหางกระดิ่งเล็ก (Pigmy rattlesnakes, MassasaugasWright AH, Wright AA. 1957. Handbook of Snakes. Comstock Publishing Associates. (7th printing, 1985). 1105 pp. ISBN 0-8014-0463-0.) เป็นสกุลของงูพิษในสกุล Sistrurus ในวงศ์งูหางกระดิ่ง (Viperidae) จัดเป็นงูหางกระดิ่งจำพวกหนึ่ง ที่ไม่ใช่สกุล Crotalus ที่มีขนาดใหญ่กว่า โดยคำว่า Sistrurus แปลว่า "หางกระดิ่ง" (Σείστρουρος, Seistrouros) ซึ่งเป็นภาษากรีกที่มีที่มาจากเครื่องดนตรีของอียิปต์โบราณที่ชื่อซิสทรัม งูหางกระดิ่งแคระ มีลักษณะคล้ายกับงูหางกระดิ่งทั่วไป คือ ส่วนของปลายหางเป็นปล้องของสารประกอบเคอราตินที่เรียงตัวต่อเนื่องกันซึ่งเป็นส่วนของคราบผิวหนังลำตัวที่ยังเหลืออยู่จากการลอกคราบแต่ละครั้ง เมื่อสั่นหางจะเกิดเสียงดังจากการกระทบกันของปล้องของคราบผิวหนังเพื่อใช้เป็นสัญญาณเตือนภัยแก่สัตว์อื่น แต่มีขนาดเล็กกว่า และมีการเรียงตัวของเกล็ดต่างกัน เกล็ดแผ่นใหญ่ที่ส่วนหัวมี 9 แผ่น (เหมือนกับสกุล Agkistrodon) ขณะที่งูหางกระดิ่งทั่วไป (รวมถึงงูสกุลอื่นในวงศ์เดียวกันเกือบทั้งหมด) หัวจะปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก พบกระจายพันธุ์ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของแคนาดา, ภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา รวมถึงตอนเหนือและภาคกลางของเม็กซิโก.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูหางกระดิ่งแคระ · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดา

งูอนาคอนดา หรือ งูโบอาน้ำ (Anacondas, Water Boas) เป็นชื่อสามัญและสกุลของงูขนาดใหญ่ 4 ชนิดที่อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae ใช้ชื่อสกุลว่า Eunectes อาศัยอยู่ในหนอง บึง และแม่น้ำในป่าดิบชื้นในทวีปอเมริกาใต้และเกาะตรินิแดด โดยที่คำว่า Eunectes มาจากภาษากรีกคำว่า Eυνήκτης หมายถึง "ว่ายน้ำได้ดี".

ใหม่!!: สปีชีส์และงูอนาคอนดา · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดายักษ์

งูยักษ์ในแม่น้ำบนเกาะบอร์เนียว ที่เชื่อว่าเป็นภาพตกแต่ง งูอนาคอนดายักษ์ (Giant Anaconda) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่เชื่อกันว่าว่ามีอยู่ในป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้ โดยเป็นงูอนาคอนดาขนาดใหญ่ที่ใหญ่กว่างูอนาคอนดาธรรมดามาก ซึ่งชื่อในภาษาท้องถิ่นเรียกว่า "คอบร้าแกรนดี" แปลว่า "งูยักษ์" โดยที่งูอนาคอนดาสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดนั้น คือ งูอนาคอนดาเขียว (Eunectes murinus) ที่โตเต็มที่จะยาวได้ประมาณ 17 ฟุต (แต่อาจยาวได้ถึง 29 ฟุต) และงูใหญ่จำพวกอื่น คือ งูเหลือม (Python reticulatus) ที่พบในทวีปเอเชีย ก็อาจยาวได้มากกว่า 20 ฟุต เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์นั้น ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าและนิทานพื้นบ้านของชนพื้นเมืองมานานแล้ว จนกระทั่งมีการเข้าไปสำรวจทวีปอเมริกาใต้ของชาวตะวันตกในยุคล่าอาณานิคม โดยชาวสเปนและชาวโปรตุเกสได้รายงานมาว่า มีงูขนาดใหญ่ที่เรียกว่า "มาตาโตโร่" ที่แปลได้ว่า "งูกินวัว" โดยรายงานว่ามันมีความยาวกว่า 80 ฟุต ต่อมาในปี ค.ศ. 1906 พันเอกเพอร์ซี ฟาลเคตต์ ซึ่งเป็นนักสำรวจผู้เขียนแผนที่ป่าอเมซอนได้เขียนลงในบันทึกของเขาว่าเขามีหนังงูที่มีความยาว 62 ฟุต และกล่าวว่า เขาได้สังหารงูตัวนี้ด้วยปืนไรเฟิลด้วยกระสุนขน.44 ในกระดูกสันหลังของมัน ซึ่งมันโจมตีใส่เรือของคณะเขา เส้นผ่าศูนย์กลางของลำตัวมันเกินกว่า 12 นิ้ว และอาจจะใหญ่ได้มากกว่านี้ถ้าได้กินอาหารเข้าไป ในปี ค.ศ. 1925 สาธุคุณวิคเตอร์ไฮนซ์ เห็นงูขนาดใหญ่ที่แม่น้ำริโอเนโกรซึ่งสาขาของแม่น้ำอเมซอน ท่านกล่าวว่าลำตัวของมันที่มองเห็นได้อย่างน้อยยาวกว่า 80 ฟุต และร่างกายมีความหนาเหมือนหนังกลอง ต่อมาหนังสือพิมพ์เปอร์นัมบูโก ในบราซิลประจำวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1948 ตีพิมพ์ภาพและพาดหัวว่า พบงูอนาคอนดาที่มีน้ำหนักกว่า 5 ตัน ขณะที่กำลังกินวัวไปครึ่งตัว โดยภาพส่วนหนึ่งแสดงให้เห็นซากงูที่ถูกชำแหละโดยชาวอินเดียนพื้นเมือง วัดความยาวได้ 113 ฟุต 4 เดือนต่อมาหนังสือพิมพ์นูตี อิลลัสตราดา ของริโอเดอจาเนโร ได้ลงภาพถ่ายของงูอนาคอนดาตัวหนึ่งที่ถูกฆ่าโดยทหารบก มีความยาวทั้งสิ้น 115 ฟุต นอกจากนี้แล้วการรายงานพบเห็นงูขนาดใหญ่ยังมีในทวีปอื่นด้วย ในทวีปแอฟริกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 มีเรื่องเล่าของนักสำรวจว่า ในประเทศแอฟริกาใต้ บริเวณแม่น้ำออเรนจ์ มีถ้ำที่มีอัญมณีซุกซ่อนอยู่ โดยมีงูยักษ์ชื่อ กรูสสแลง เฝ้าอยู่ปากถ้ำ งูนี้มีลำตัวยาว 13 เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางลำตัวกว้าง 1 เมตร และมีความเชื่อของชนพื้นเมืองแถบน้ำตกอูกราบีส์ ซึ่งเป็นน้ำตกของแม่น้ำออเรนจ์ว่า ใต้น้ำตกเป็นที่อยู่ของงูใหญ่ที่เฝ้าสมบัติอยู่ในนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังฝนตก เมื่อปรากฏรุ้งขึ้น นั่นคือ ลำตัวของงูที่มานอนอาบแดด ซึ่งมีผู้อ้างว่าเคยพบเห็นงูตัวนี้ โดยอ้างว่ามีสีดำสนิททั้งตัว พันเอกเรเน่ เลียร์ด ได้ขับเฮลิคอปเตอร์ของเขาจากเมืองกาตังกาในเบลเยียมคองโก ทันใดนั้นมีงูขนาดใหญ่ตัวหนึ่งได้โจมตีเฮลิคอปเตอร์ของเขา แต่เขาเอาตัวรอดพ้นได้และถ่ายรูปงูนั้นได้หลายรูป ประมาณความยาวได้กว่า 40–50 ฟุต ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 ปรากฏเป็นข่าวฮือฮาจากชาวพื้นเมือง บนเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซียว่าได้พบเห็นงูขนาดยักษ์ตัวหนึ่งแหวกว่ายอยู่ในแม่น้ำบนเกาะและถูกบันทึกภาพไว้ได้ ซึ่งน่าจะยาวกว่า 100 ฟุต แต่รูปนี้ก็ยังเป็นที่สงสัยอยู่ว่าเป็นการตกแต่งหรือไม่ และในเดือนพฤศจิกายน ปีเดียวกัน ที่เมืองกูผิง มณฑลเจียงซี ประเทศจีน ขณะมีการก่อสร้างถนนผ่านพื้นที่ป่า คนงานก่อสร้างก็พบกับงูขนาดใหญ่ยาวถึง 16.7 เมตร หนักถึง 300 กิโลกรัม อายุคาดว่าน่าจะอยู่ที่ 140 ปี ถึง 2 ตัว และหนึ่งในสองตัวนั้นก็ได้รับบาดเจ็บจากการถูกรถแบ็คโฮขุดถนนขุดถูกทำให้บาดเจ็บและตายลงในที่สุด อีกตัวก็หนีเข้าป่าไป ซึ่งซากงูตัวที่ตายนั้นได้ถูกถ่ายภาพและเป็นภาพที่แพร่หลายกันในประเทศจีน เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์ได้ถูกอ้างอิงในวัฒนธรรมสมัยนิยมหลายประการ เช่น ภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด 3 ภาค เรื่อง Anaconda ในปี ค.ศ. 1997 Anacondas: The Hunt for the Blood Orchid ในปี ค.ศ. 2004 และ Anaconda 3: The Offspring ในปี ค.ศ. 2008 และเป็นสารคดีทางโทรทัศน์ของดิสคัฟเวอรี่ แชนนอลชุด Lost Tapes ในปี ค.ศ. 2009 ชื่อตอน Megaconda.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูอนาคอนดายักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดาเขียว

งูอนาคอนดาเขียว หรือ งูอนาคอนดาธรรมดา (Green anaconda, Common anaconda) เป็นงูขนาดใหญ่มากที่สุดในโลกที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Eunectes murinus อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) งูอนาคาคอนดาเขียวนับเป็นงูอนาคอนดา ชนิดที่ใหญ่ที่สุดและรู้จักดีที่สุด เมื่อโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 30 ฟุต และหนักได้ถึง 550 ปอนด์ มีผิวลำตัวสีเขียว มีลายเป็นวงกลมสีดำ ใต้ท้องเป็นสีขาว ตาเป็นสีดำ ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้มาก อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ป่าอเมซอน, บราซิล, โบลิเวีย, กายอานา ในหนองน้ำ หรือบึง โดยมักจะอาศัยอยู่ในน้ำหรือหมกตัวในโคลนมากกว่าจะเลื้อยมาอยู่บนบก เนื่องจากน้ำหนักตัวที่มากทำให้งุ่มง่ามเชื่องช้ามากเมื่ออยู่บนบก แต่จะว่องไวกว่าเมื่ออยู่ในน้ำ ว่ายน้ำได้เก่ง บางครั้งอาจใช้วิธีการลอยน้ำอยู่บริเวณผิวน้ำแล้วปล่อยให้กระแสน้ำไหลพัดไป แต่มักจะขึ้นมาอาบแดดเป็นบางครั้งด้วยการเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ริมน้ำ ล่าเหยื่อด้วยการใช้แอ่งรับความร้อนอินฟราเรดที่อยู่บริเวณหน้าผาก ในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้ง สัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่ ทั้ง คาปรีบารา, จระเข้ไคแมน, ปลา, กบ หรือแม้กระทั่งวัวหรือควาย หรือปศุสัตว์ต่าง ๆ ของชาวบ้าน โดยใช้วิธีการรัดเหยื่อด้วยลำตัวอย่างแน่น และกดลงไปในน้ำให้จมน้ำตายก่อนจะเขมือบกลืนเข้าไปทั้งตัว โดยเริ่มจากส่วนหัวก่อน ซึ่งอาจใช้เวลานานหลายชั่วโมง แต่กระนั้นก็จะทำให้ไม่ต้องกินอะไรอีกไปนานนับเดือน ในยามที่อาหารขาดแคลนเช่นในช่วงฤดูร้อน อาจอดอาหารได้นานถึง 7 เดือน หลังจากนั้นแล้วจะเร่งรีบกินเพื่อชดเชยพลังงานที่สูญเสียไปและผสมพันธุ์ โดยถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3-4 ปี ฤดูผสมพันธุ์จะตกอยู่ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ตัวเมียจะปล่อยกลิ่นเพื่อดึงดูดตัวผู้ให้มาผสมพันธุ์ โดยอาจผสมพันธุ์กับตัวผู้ได้มากถึง 2-12 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน 6 เดือน ตกลูกเป็นตัว ซึ่งอาจออกได้ครั้งละ 40 ตัวหรือมากกว่านั้น ลูกงูที่ออกมาใหม่จะมีความยาวราว 2 ฟุต และจะไม่ถูกดูแลโดยแม่ ซึ่งอาจจะตกเป็นเหยื่อของสัตว์ที่ใหญ่กว่าหรือแม้กระทั่งงูอนาคอนดาด้วยกันเองกินก่อนที่จะโตต่อไปในอนาคต งูอนาคอนดาเขียวเป็นงูที่มนุษย์ให้ความสนใจมาก ด้วยขนาดที่ใหญ่โตและพละกำลังที่มากมายมหาศาล ดังนั้น เมื่อมีการจับงูชนิดนี้ได้ในแต่ละครั้งมักปรากฏเป็นข่าวโด่งดัง และถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ อาทิ Anaconda เมื่อปี ค.ศ. 1997 ของฮอลลีวู้ด เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูอนาคอนดาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

งูดินหางยาว

งูดินหางยาว (Long-tailed blind snake) งูดินจำพวกหนึ่ง อยู่ในสกุล Ramphotyphlops ในวงศ์งูดิน (Typhlopidae) งูดินในสกุลนี้ มีแท่งกระดูกอยู่ภายในถุงพีนิสซึ่งแตกต่างจากของสกุลอื่นที่มีเฉพาะตัวถุงพีนิส และในชนิด R. braminus มีชุดโครโมโซมเป็นไตรพลอยด์ และมีกระบวนการเกิดโดยไม่มีการปฏิสนธิได้ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการแพร่กระจายพันธุ์ของงูดินนี้กว้างมากเนื่องจากไข่ติดไปกับรากของต้นไม้ที่ถูกนำไปในพื้นที่อื่นรวมทั้งเกาะกลางมหาสมุทร เช่น หมู่้เกาะฮาวาย หรือเกาะมาดากัสการ์ สามารถแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ 49 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูดินหางยาว · ดูเพิ่มเติม »

งูงวงช้าง

งูงวงช้าง (Elephant trunk snake) เป็นงูน้ำขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ไม่มีพิษ อยู่ในวงศ์ Acrochordidae จัดอยู่ในวงศ์เดียวและสกุลเดียวกับงูผ้าขี้ริ้ว (A. granulatus) ซึ่งในประเทศไทยพบเพียง 2 ชนิดนี้เท่านั้น งูงวงช้างมีผิวหนังย่นและสากแบบเปลือกขนุน หัวแบนเล็ก เกล็ดบนลำตัวมีลักษณะเป็นตุ่ม รวมถึงเกล็ดบริเวณด้านท้องซึ่งแตกต่างจากงูชนิดอื่น ท้องสีขาว ไม่มีลวดลาย ลำตัวป้อมอ้วนสั้น ฟันแหลมคม ถ้าอยู่พ้นน้ำจะมีสีเหลืองนวล แต่ถ้าอยู่ในน้ำจะมีสีน้ำตาลดำ มีความยาวประมาณ 1 เมตร เป็นงูที่อาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลา อาหารหลักคือ ปลา สามารถพบได้ตามแหล่งน้ำทุกภาคของประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ที่อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, กัมพูชา, พม่า, ลาว โดยจะขุดรูอยู่ตามริมตลิ่ง อุปนิสัยไม่ดุ ปกติมักอยู่นิ่ง ๆ ไม่ขยับเขยื้อน แต่ถ้าถูกรบกวนมักจะใช้ลำตัวรัดพัน ดังนั้นเมื่อมีคนลงไปว่ายน้ำในถิ่นที่งูงวงช้างอาศัยอยู่ มักจะถูกงูรัด ทำให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นผีพรายมาฉุด ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 25-30 ตัว ลูกที่เกิดใหม่มีความยาวประมาณ 29 เซนติเมตร ซึ่งสามารถกินอาหารได้เล.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูงวงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

งูตาแมว

งูตาแมว หรือ งูแมว (Cat-eyed snakes, Cat snakes, Boigas) เป็นสกุลของงูในสกุล Boiga ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubridae) ในวงศ์ย่อยงูเขียว (Colubrinae) เป็นงูที่มีถิ่นกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย, อินเดีย และออสเตรเลีย เป็นงูที่มีพิษแต่ทว่าพิษไม่ร้ายแรงและเป็นอันตรายต่อมนุษย์ หากถูกรบกวนจะมีพฤติกรรมยกหัวและลําตัวสวนหนา (ประมาณ 1/3 ของความยาวลําตัว) สูงขึ้นมาจากพื้นดิน พับลําตัวไป-มาโดยมีหัวอยูในตําแหนงตรงกลางของรอยพับ พร้อมทั้งโยกลําตัวให้เอนไป-มาทางด้านหน้าและทางดานหลัง แกวงหางคอนข้างถี่และอ้าปากกว้าง ต่อจากนั้นยืดลําตัวและพุงเข้าฉกหรือกัดอยางรวดเร็ว แลวดึงลําตัวกลับไปอยู่ในตําแหนงเดิม ได้รับความนิยมในแง่ของการเป็นสัตว์เลี้ยงในหลายชนิด เป็นงูที่ออกลูกเป็นไข่ หากินในเวลากลางคืน จับสัตว์ขนาดเล็ก เช่น กิ้งก่า, จิ้งจก, งูขนาดเล็ก หรือนกเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูตาแมว · ดูเพิ่มเติม »

งูปล้องฉนวน

งูปล้องฉนวน (Wolf snakes) เป็นงูในสกุล Lycodon (/ไล-โค-ดอน/) จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubrida) มีลักษณะโดยรวมเป็นงูลำตัวเรียว มีความยาวประมาณ 40-60 เซนติเมตร มักมีลายเป็นปล้องสีนํ้าตาลหรือดําสลับขาว ไม่มีพิษ โดยคำว่า Lycodon มาจากภาษากรีกคำว่า "λύκος" (lykos) หมายถึง "หมาป่า" และ "οδόν" (odon) หมายถึง "ฟัน" อันหมายถึง ลักษณะของฟันที่ขากรรไกรและฟันคู่หน้าล่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูปล้องฉนวน · ดูเพิ่มเติม »

งูแบล็กแมมบา

งูแบล็กแมมบา (Black mamba, Common black mamba, Black-mouthed mamba) งูพิษร้ายแรงมากชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dendroaspis polylepis อยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา ในแถบตอนใต้และตอนกลาง งูแบล็กแมมบา มีรูปร่างเพรียวยาว มีลำตัวสีน้ำตาลเทา ท้องมีสีเทาขาวจนไปถึงสีเหลืองหรือเขียว เส้นขอบปากมีสีน้ำตาลดำ คอแบน ภายในปากสีดำสนิท มีต่อมพิษขนาดใหญ่ ตากลมโตขนาดใหญ่ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 2 เมตร แต่มีขนาดยาวเต็มที่เกือบ 4 เมตร งูแบล็กแมมบาเป็นงูที่มักไม่ขึ้นต้นไม้ แต่จะหากินและอาศัยบนพื้นเป็นหลัก เป็นงูที่เลื้อยคลานได้ไวมาก โดยสามารถเลื้อยได้ไวถึง 20 กิโลเมตร/ชั่วโมง จึงถูกจัดให้เป็นงูที่ไวที่สุดในโลก นอกจากนี้แล้ว งูแบล็กแมมบายังได้ถูกจัดให้เป็นงูที่อันตรายและเป็นงูพิษที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกา ด้วยความเป็นงูที่หากินบนพื้นเป็นหลัก คล่องแคล่วว่องไว อีกทั้งยังเป็นงูที่ไม่กลัวมนุษย์ มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว เมื่อปะทะกับมนุษย์ซึ่ง ๆ หน้า จะไม่หลบหนีเหมือนงูชนิดอื่น ๆ โดยคำว่า "แมมบา" นั้น หมายถึง "โลงศพ" เนื่องจากมีส่วนหัวแลดูคล้ายโลงศพของชาวตะวันตก ซึ่งชื่อนี้มีนัยถึงถึง "ความตายที่มาเยือน" งูแบล็กแมมบา ใช้พิษในการหากินโดยใช้กัดเหยื่อให้ตาย แล้วจึงกลืนเข้าไปทั้งตัว ซึ่งได้แก่ กระต่าย, นก, ค้างคาว และสัตว์ฟันแทะ รวมถึงกบหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำทั่วไป และยังกินงูด้วยกันเป็นอาหารได้อีกด้วย มีพฤติกรรมออกหากินในเวลากลางวัน พิษของงูแบล็กแมมบานั้นถือว่าร้ายแรงมาก ถูกจัดให้เป็นงูที่มีพิษอันตรายมากที่สุดติด 1 ใน 10 อันดับของโลก ก่อนหน้าที่จะมีการพัฒนาเซรุ่มแก้พิษนั้น ผู้ที่โดนกัดจะถึงแก่ความตายทั้งหมด โดยการกัดครั้งหนึ่งจะปล่อยพิษออกมาประมาณ 100-250 มิลลิกรัม มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ที่ถูกกัดจะเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจล้มเหลวในเวลาเพียง 20 นาที แต่โดยเฉลี่ยคือ 2-4 ชั่วโมง จากความล่าช้าของการรักษา งูแบล็กแมมบาสามารถที่จะฉกกัดได้อย่างว่องไว และสามารถขู่ แผ่แม่เบี้ย และชูหัวได้เหมือนกับงูเห่า (Naja spp.) หรืองูจงอาง (Ophiophagus hannah) ซึ่งอยู่ร่วมวงศ์กัน แม้จะไม่ใหญ่เท่า แต่ก็สามารถฉกและชูหัวได้สูงถึง 2 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูแบล็กแมมบา · ดูเพิ่มเติม »

งูแมมบา

งูแมมบา (Mambas) เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูแมมบา · ดูเพิ่มเติม »

งูแมวเซา

งูแมวเซา เป็นงูพิษชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Daboia siamensis ในวงศ์ Viperidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูแมวเซา · ดูเพิ่มเติม »

งูแสมรัง

งูแสมรัง เป็นสกุลของงูพิษ จำพวกงูทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrophis (/ไฮ-โดร-พิส/) ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูแสมรัง · ดูเพิ่มเติม »

งูไทปัน

งูไทปัน (Taipan) เป็นสกุลของงูในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Oxyuranus เป็นงูที่ได้รับการจัดอันดับให้เป็นงูกลุ่มที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก มีลำตัวยาวโดยประมาณ 2-3.6 เมตร ลักษณะลำตัวมีสีน้ำตาลปนดำ มักอาศัยอยู่ตามซอกหินในทะเลทรายของประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูไทปัน · ดูเพิ่มเติม »

งูเส้นด้ายบาร์เบโดส

งูเส้นด้ายบาร์เบโดส (Barbados threadsnake) เป็นงูเส้นด้ายตาบอดสปีชีส์หนึ่งในวงศ์ Leptotyphlopidae เป็นงูขนาดเล็กที่สุดในโลก พบในเกาะในแคริบเบียนของประเทศบาร์เบโดส และพบในเมืองอาบูเกีย (Abu Qir) ในประเทศอียิปต์ http://species.asu.edu/2009_species04 งูชนิดนี้ได้รับการบรรยายและระบุแยกตัวเป็นสปีชีส์ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเส้นด้ายบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

งูเหลือม (สกุล)

งูเหลือม หรือ งูหลาม (Pythons) เป็นสกุลของงูไม่มีพิษในวงศ์งูเหลือม (Pythonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Python (/ไพ-ธอน/) มีทั้งหมด 10 ชนิด (ดูในตาราง) แพร่กระจายพันธุ์ทั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชีย และออสเตรเลีย ในแอฟริกาพบได้ตั้งแต่ใต้ทะเลทรายซาฮาราลงไป จนถึงแอฟริกาตอนใต้ และพบในเกาะมาดากัสการ์ ในเอเชีย พบได้ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะกลางทะเล และบางส่วนในเอเชียตะวันออก เช่น ภาคใต้ของจีน, ฮ่องกง และเกาะไหหลำ เป็นงูที่ใช้พละกำลังจากกล้ามเนื้อที่ลำตัวรัดเหยื่อจนกระดูกหักและขาดใจตาย ก่อนจะกลืนกินเข้าไปทั้งตัว ในบางครั้งที่เหยื่อมีขนาดใหญ่อาจใช้เวลาหลายชั่วโมง โดยเหยื่อที่กินส่วนมากจะเป็นสัตว์เลือดอุ่น ทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือสัตว์ปีก แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ หาเหยื่อได้ทั้งบนดิน, ต้นไม้ และในน้ำ ซึ่งแตกต่างออกไปตามชนิด โดยคำว่า Python นั้น มาจากภาษากรีก คือคำว่า "πύθων/πύθωνας" มีที่มาจากเทพปกรณัมกรีก เมื่อมหาเทพซูสได้มีจิตปฏิพัทธ์ต่อ นางเลโต ทำให้ เทพีฮีรา มเหสีเอกเกิดความหึงหวงจึงกลั่นแกล้งด้วยการส่ง งูเหลือมที่เลี้ยงไว้ไปตามรังควาน นางจึงต้องอุ้มครรภ์หนีซอกซอนไปจนถึงเกาะดีลอส โปเซดอนมีความสงสารบันดาลให้เกาะผุดขึ้นในทะเล เพื่อให้นางได้ประสูติ เทพอพอลโล กับ เทพีอาร์เตมิส บนเกาะนั้น ทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา เทพอพอลโล ก็จับงูเหลือมฆ่าทิ้งเสีย จึงได้รับการขนานนามว่า ไพธูส (Pytheus) ซึ่งแปลว่า “ผู้สังหารงูเหลือม”.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเหลือม (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

งูเหลือมอ้อ

งูเหลือมอ้อ หรือที่นิยมเรียกกันว่า งูหัวกะโหลก เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์งูน้ำ (Homalopsidae) อดีตเคยถูกจัดให้เป็นงูเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Homalopsis แต่ปัจจุบันได้มีการจำแนกออกใหม่เป็น 5 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเหลือมอ้อ · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่า

งูเห่า (Cobras) เป็นงูพิษขนาดกลางที่อยู่ในสกุล Naja ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) วงศ์ย่อย Elapinae ซึ่งเป็นสกุลของงูพิษที่อาจเรียกได้ว่าเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดอย่างหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่าพ่นพิษสีทอง

งูเห่าพ่นพิษสีทอง (Equatorial spitting cobra) เป็นงูเห่าชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายงูเห่าพ่นพิษสยาม (N. siamensis) และงูเห่าพ่นพิษชนิดอื่น ๆ คือมี ขนาดที่เล็กกว่างูเห่าธรรมดา (N. kaouthia) ไม่มีดอกจันที่แม่เบี้ย ไม่มีลวดลายตามลำตัว สีพื้นลำตัวเป็นสีเหลืองหรือสีทองสวยงาม ท้องมีสีขาว พบมากทางภาคใต้ของประเทศไทย และพบไปจนถึงมาเลเซียและสิงคโปร์ ซึ่งงูที่พบในมาเลเซียและสิงคโปร์นั้นจะมีลำตัวสีดำ ความยาวเต็มที่ 1.6 เมตร มีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "งูเห่าปลวก" นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้ที่ชื่นชอบการเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเห่าพ่นพิษสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่าน้ำ

งูเห่าน้ำ (Water cobras) เป็นสกุลของงูพิษสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Boulengerina ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) คำว่า Boulengerina ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น มาจากชื่อของจอร์จ อัลเบิร์ต บุนเลเยอร์ นักสัตววิทยาชาวเบลเยี่ยม-อังกฤษWallach, V., W. Wüster & D. Broadley 2009 In praise of subgenera: taxonomic status of cobras of the genus Naja Laurenti (Serpentes: Elapidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเห่าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู

งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู (Malayan green whipsnake, Big-eye green whipsnake) เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ahaetulla mycterizans อยู่ในวงศ์ Colubridae มีลักษณะทางกายภาพทั่วไปคล้ายคลึงกับงูเขียวปากจิ้งจก (A. prasina) และงูเขียวปากแหนบ (A. nasuta) มาก โดยเป็นงูที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่งูเขียวหัวจิ้งจกมลายูไม่มีติ่งแหลมที่ปลายหัว ตามีขนาดใหญ่มีเส้นผ่าศูนย์กลางตายาวเกินครึ่งหนึ่งของระยะจากปลายหัวถึงตา ตัวสีเขียวเข้ม หางสีเดียวกับลำตัว ใช้ชีวิตอาศัยส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ ขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 1 เมตร พบกระจายพันธุ์ในแหลมมลายูเรื่อยไปจนถึงสิงคโปร์ เกาะสุมาตราและเกาะชวาในอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยพบตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานเช่นเดียวกับงูเขียวปากจิ้งจกและงูเขียวปากแหน.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเขียวหัวจิ้งจกมลายู · ดูเพิ่มเติม »

งูเขียวหางไหม้

ำหรับงูเขียวจำพวกอื่น ดูที่: งูเขียว งูเขียวหางไหม้ (Green pit vipers, Asian pit vipers Mehrtens JM.) เป็นงูที่อยู่ในสกุล Trimeresurus ในวงศ์งูพิษเขี้ยวพับ (Viperidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีหัวยาวมนใหญ่เป็นรูปสามเหลี่ยม คอเล็ก ตัวอ้วนสั้น ปลายหางมีสีแดง ลำตัวมีสีเขียวอมเหลืองสด บางตัวมีสีเขียวอมน้ำเงิน หางสีแดงสด บางตัวมีหางสีแดงคล้ำเกือบเป็นสีน้ำตาล อันเป็นที่มาของชื่อ จัดเป็นงูพิษอ่อน ผิดไปจากงูสกุลหรือชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยผู้ที่ถูกกัดจะไม่ถึงกับเสียชีวิต นอกจากเสียแต่ว่ามีโรคหรืออาการอื่นแทรกแซง โดยผู้ที่ถูกกัดจะมีอาการปวดอย่างรุนแรงทันทีที่ถูกกัด แล้วค่อย ๆหายใน 5-6 ชั่วโมง บริเวณที่ถูกกัดจะบวมอย่างรวดเร็วในระยะ 3-4 วันแรก จากนั้นจะค่อย ๆ ยุบบวมในเวลา 5-7 วัน อาจจะมีเลือดออกจากรอยเขี้ยว แต่ไม่มาก หากมีอาการมากกว่านี้ถือว่าเป็นอาการหนัก เป็นงูที่เลื้อยช้า ๆ ไม่รวดเร็ว มีนิสัยดุและฉกกัดเมื่อเข้าใกล้ ชอบอาศัยตามซอกชายคา, กองไม้, กระถางต้นไม้, กอหญ้า ออกหากินในเวลากลางคืนทั้งบนต้นไม้ และตามพื้นดินที่มีหญ้ารก ๆ โดยกิน นก, จิ้งจก, ตุ๊กแก, สัตว์ฟันแทะ รวมถึงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร ขณะเกาะนอนบนกิ่งไม้ จะใช้ลำตัวและหางรัดพันยึดกับกิ่งไม้ไว้ โดยปกติ เป็นงูที่ออกลูกเป็นตัวครั้งละประมาณ 8-12 ตัว แต่ก็มีบางชนิดเหมือนกันที่ออกลูกเป็นไข่ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก พบประมาณ 35 ชนิด ในประเทศไทย พบชุกชุมในภาคกลางและภาคตะวันออก เช่น งูเขียวหางไหม้ท้องเหลือง (T. trigonocephalus), งูเขียวหางไหม้ลายเสือ (T. purpureomaculatus), งูหางแฮ่มกาญจน์ (T. kanburiensis), งูปาล์ม (T. puniceus) เป็นต้น โดยมีชนิดที่ค้นพบใหม่ คือ งูเขียวหางไหม้ภูเก็ต (T. phuketensis) ที่พบในป่าดิบชื้น ในจังหวัดภูเก็ต เมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเขียวหางไหม้ · ดูเพิ่มเติม »

งูเขียวหางไหม้ลายเสือ

งูเขียวหางไหม้ลายเสือ หรือ งูพังกา (Shore pit viperBrown JH.U.S. Navy. 1991. Poisonous Snakes of the World. US Govt. New York: Dover Publications Inc. 203 pp. ISBN 0-486-26629-X.) เป็นงูพิษชนิดหนึ่ง มีพิษอ่อน เมื่อเข้าใกล้จะสั่นหางขู่และฉกกัดอย่างรวดเร็ว ออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยบนต้นไม้เป็นพุ่มเตี้ยๆ ตามป่าชายเลน หรือตามริมฝั่งคลองที่ติดกับทะเล พบในประเทศอินเดีย (รัฐอัสสัม, หมู่เกาะอันดามัน), ประเทศบังกลาเทศ, ประเทศพม่า, ประเทศไทย, มาเลเซียตะวันตก, ประเทศสิงคโปร์ และ ประเทศอินโดนีเซีย (เกาะสุมาตรา).

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเขียวหางไหม้ลายเสือ · ดูเพิ่มเติม »

งูเขียวปากแหนบ

งูเขียวปากแหนบ (Long-nosed whip snake, Green vine snake) เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ahaetulla nasuta ในวงศ์ Colubridae เป็นงูที่มีลักษณะคล้ายกับงูเขียวปากจิ้งจก (A. prasina) มาก โดยลำตัวเรียวยาวมีพื้นลำตัวส่วนใหญ่เป็นสีเขียว ตามีขนาดใหญ่ ม่านตาอยู่ในแนวนอน หางมีสีเขียวกับลำตัว แต่มีคความแตกต่างคือ งูเขียวปากแหนบจะมีจะงอยปากที่เรียวเล็กและแหลมกว่างูเขียวปากจิ้งจก และมีติ่งแหลมยื่นที่ปลายหัว ใช้ชีวิตอาศัยอยู่บนต้นไม้เป็นส่วนใหญ่ กินอาหารสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก กบ เขียด นก และหนูเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับในประเทศไทยพบทั่วทุกภาคยกเว้นภาคใต้ พบในป่าทุกประเภท รวมถึงสวนสาธารณะหรือสวนในบ้านเรือนผู้คนทั่วไปในเมืองใหญ่ด้วย นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลาน เช่นเดียวกับงูเขียวปากจิ้งจก โดยมีราคาซื้อขายที่ไม่แพง.

ใหม่!!: สปีชีส์และงูเขียวปากแหนบ · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบม่านลาย

ตะพาบม่านลาย (Narrow headed softshell turtles) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกตะพาบ 3 ชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Chitra (/ชิ-ตร้า/) มีรูปร่างโดยรวมคือ เป็นตะพาบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก หัวและตามีขนาดเล็ก เมื่อโตเต็มที่ ขนาดกระดองยาวได้ถึงเมตรเศษ น้ำหนักกว่า 120–200 กิโลกรัม กระดองแบนเรียบสีครีมหรือสีเนื้อ มีจุดเด่นที่เป็นลักษณะสำคัญ คือ มีลายสีน้ำตาลแลดูสวยงาม ที่ขนาดและลักษณะแตกต่างออกไปในช่วงวัยและชนิดพันธุ์ หัวเล็ก เท้าเป็นแผ่นผังผืด มีเล็บใหญ่แข็งแรง กรามแข็งแรงใช้สำหรับขบกัดสัตว์น้ำที่มีเปลือกแข็งและสัตว์มีกระดูกสันหลังบางประเภท เช่น กบหรือเขียด เป็นอาหารได้เป็นอย่างดี พบกระจายพันธุ์เฉพาะแม่น้ำขนาดใหญ่บางสายเท่านั้น ในอนุทวีปอินเดียและภูมิภาคอินโดจีน เช่น ไทย, พม่า, มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ปัจจุบันจำแนกออกได้ 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบม่านลาย · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบม่านลายพม่า

ตะพาบม่านลายพม่า (Burmese narrow-headed softshell) เป็นตะพาบในสกุล Chitra จัดเป็นตะพาบชนิดใหม่ที่เพิ่งอนุกรมวิธานเมื่อปี ค.ศ. 2003 มีลักษณะคล้ายกับตะพาบม่านลายชนิดอื่น ๆ แต่ว่ามีลวดลายที่กระดองเป็นระเบียบกว่า โดยจะเป็นลายบั้ง ๆ และมีสีที่อ่อนกว่า กล่าวคือ จะมีกระดองเป็นสีเขียว อีกทั้งขนาดเมื่อโตเต็มที่ก็มีขนาดเล็กกว่าด้วย พบกระจายพันธุ์ในประเทศพม่า ที่แม่น้ำชินด์วิน และชายแดนที่ติดกับประเทศไทย มีการเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง โดยสามารถเพาะได้แล้วในสถานที่เลี้ยง และเก็บรวบรวมไข่จากธรรมชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบม่านลายพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบม่านลายอินเดีย

ตะพาบม่านลายอินเดีย (Indian narrow-headed softshell turtle, Small-headed softshell turtle; चित्रा इन्डिका) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ตะพาบ (Trionychidae) ตะพาบม่านลายอินเดีย มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับตะพาบม่านลายไทย (C. chitra) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน ที่พบในประเทศไทยและอินโดนีเซีย ซึ่งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดเดียวกัน จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1986 นาวาอากาศเอก (พิเศษ) วิโรจน์ นุตพันธุ์ นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวไทย ได้ศึกษาความแตกต่างระหว่างทั้ง 2 ชนิดนี้อย่างละเอียด และพบว่ามีความแตกต่างกันมากทั้งขนาดลำตัว, ลวดลาย และสีสัน โดยใช้การแยกแยะสัดส่วนของกะโหลก และสัดส่วนของกระดองหลัง โดยรวมแล้วตะพาบม่านลายอินเดียมีขนาดเล็กกว่าตะพาบม่านลายไทย และมีสีคล้ำอมเขียวกว่า ตะพาบม่านลายอินเดีย กระจายพันธุ์ในแม่น้ำสายหลักหลายประเทศในเอเชียใต้ เช่น อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล อาทิ แม่น้ำคงคา, แม่น้ำสินธุ, แม่น้ำมหานที เป็นต้น เป็นตะพาบอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง มีราคาซื้อขายที่สูง ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะเลี้ยงได้แล้วในที่เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบม่านลายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบม่านลายไทย

ตะพาบม่านลายไทย (Asian narrow-headed softshell turtle, Siamese narrow-headed softshell turtle, Nutaphand's narrow headed softshell turtle) เป็นตะพาบที่มีลวดลายสวยและมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีรูปร่างคล้ายตะพาบทั่วไป แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก หัวเล็กและลำคอยาว จมูกค่อนข้างสั้นยาว เมื่อขนาดเล็กมากจะมีแถบสีเหลืองปนน้ำตาลบนส่วนหัวและกระดองอย่างชัดเจน โดยสีสันนั้นอาจปรับเปลี่ยนได้ตามสภาพแวดล้อม อาจจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอมม่วงก็ได้ บนกระดองลายแถบจะพาดผ่านส่วนหัวยาวอย่างต่อเนื่องมาบนกระดอง ส่วนท้องจะมีสีขาวหรือขาวอมชมพู โดยโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 1.5 เมตร ความกว้างของกระดอง 1 เมตร และหนักถึง 100–120 กิโลกรัม ตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมียครึ่งต่อครึ่ง เชื่อว่ามีอายุยืนยาวได้กว่า 100 ปี มีถิ่นกำเนิดที่แม่น้ำแคว จังหวัดกาญจนบุรี, แม่น้ำแม่กลอง จังหวัดราชบุรี และแม่น้ำปิงในเขตภาคเหนือของประเทศไทยเท่านั้น และมีรายงานว่าพบที่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในภาคกลาง และพบที่มาเลเซียและอินโดนีเซียด้วย (โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย) ตะพาบตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่บนหาดทรายริมแหล่งน้ำ โดยขุดหลุมลึก 40–50 เซนติเมตร ออกไข่เสร็จแล้วจะปิดทรายไว้ปากหลุมทิ้งไว้ประมาณ 2 เดือน ไข่จะฟักออกเป็นตัว ลูกตะพาบจะวิ่งหาลงน้ำ และหาอาหาร ซึ่งได้แก่ ลูกปลา, ลูกกุ้งและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร เลี้ยงตัวจนถึงวัยเจริญพันธุ์ โดยพฤติกรรมในธรรมชาติจะฝังตัวอยู่ใต้ทรายในพื้นน้ำ โผล่มาแต่เฉพาะตาและจมูกเท่านั้น และจะหาเหยื่อด้วยวิธีการซุ่มนี้ สถานภาพปัจจุบันไม่พบรายงานในธรรมชาติมานานเป็นระยะเวลากว่า 30 ปีแล้ว จนเชื่อได้ว่าอาจสูญพันธุ์ไปแล้วจากแหล่งธรรมชาติ เนื่องจากถูกล่าเป็นอาหารและสัตว์เลี้ยงอย่างมาก รวมทั้งถูกคุกคามในเรื่องที่อยู่อาศัยในธรรมชาติด้วย และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ตะพาบม่านลายไทยได้สำเร็จในที่เลี้ยงได้แล้วในปี 2545 โดยให้ผสมพันธุ์ในน้ำและขึ้นมาวางไข่บนหาดทรายในฤดูหนาวช่วงเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ ตะพาบม่านลายไทยอัตราการเจริญเติบโตเทียบกับเต่าหรือตะพาบชนิดอื่นแล้ว นับว่ามีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้ากว่ามาก และในต้นปี 2553 แม่พันธุ์ตะพาบม่านลายไทยของกรมประมงก็ได้วางไข่สูงสุดถึง 305 ฟอง ซึ่งนับว่ามากสุดเท่าที่เคยมีมา ใช้เวลาฟัก 61–70 วัน โดยฟักเป็นตัวทั้งหมด 92 ฟอง คิด เป็นอัตราการฟักประมาณร้อยละ 30 ซึ่งทางกรมประมงตั้งเป้าหมายจะเพาะขยายพันธุ์ให้มากขึ้นกว่านี้เพื่อจะได้ปล่อยลูกตะพาบลงสู่ธรรมชาติ เพื่อมิให้เกิดการสูญพันธุ์ นอกจากนี้แล้ว ตะพาบม่านลายไทยยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกว่า "กริวลาย", "กราวด่าง", "ม่อมลาย", "มั่มลาย" เป็นต้น โดยที่ตะพาบม่านลายไทยเดิมถูกจัดเป็นชนิดเดียวและใช้ชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกับ ตะพาบม่านลายอินเดีย (C. indica) ซึ่งเป็นชนิดที่พบในอินเดียและปากีสถาน แต่ทว่าได้ถูกอนุกรมวิธานใหม่จาก น.อ.(พิเศษ) วิโรจน์ นุตพันธุ์ นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบม่านลายไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบสวน

ตะพาบสวน หรือ ตะพาบธรรมดา หรือ ตะพาบไทย (อังกฤษ: Asiatic softshell turtle, Malayan softshell turtle) เป็นตะพาบชนิดหนึ่ง เป็นตะพาบชนิดที่พบได้บ่อยและทั่วไปที่สุดในประเทศไทย นอกจากนั้นยังพบในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, พม่า, สิงคโปร์, มาเลเซีย, บรูไน และอินโดนีเซีย จัดเป็นตะพาบเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Amyda ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่จนถึงปัจจุบัน มีลักษณะสีกระดองสีเขียว ใต้ท้องสีขาว ขนาดกระดองเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 75 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 35 กิโลกรัม โดยมีบันทึกว่ามีน้ำหนักสูงสุดถึง 40 กิโลกรัมที่เวียดนาม เมื่อยังเล็กกระดองมีสีเทาเข้มหรือเกือบดำ และมีจุดสีเหลืองเล็ก ๆ ประปรายทั้งกระดอง บนกระดองยังมีลายคล้ายดาว 4 - 5 แห่ง ท้องมีสีขาว มีขนาดเล็กและอ่อนนุ่ม พบได้ทั่วไปในทุกภาค ในแม่น้ำลำคลองและในท้องร่องสวน ในภาษาอีสานเรียกว่า "ปลาฝา" สถานภาพปัจจุบัน หาได้น้อยมาก ได้ถูกจัดให้เป็นสัตว์น้ำคุ้มครองตามประกาศของกรมประมง และถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ ที่ผู้คนโดยเฉพาะคนจีนนิยมบริโภคมาก เนื่องจากเชื่อว่าเป็นอาหารที่บำรุงร่างกาย แต่การเลี้ยงตะพาบสวนนั้นยังให้ผลผลิตไม่ดีสู้ ตะพาบไต้หวันไม่ได้ เนื่องจากโตช้ากว่า นอกจากนี้แล้วยังนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามเพื่อความเพลิดเพลิน โดยเฉพาะในตัวที่มีจุดกระเหลืองเป็นจำนวนมาก จะถูกเรียกว่า "ตะพาบข้าวตอก" หรือ "ตะพาบดาว" ซึ่งอาจจะมีจุดเหลืองเหล่านี้จวบจนโตโดยไม่หายไป ซึ่งตะพาบที่มีลักษณะเช่นนี้ จะถูกเรียกชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trionyx nakornsrithammarajensis (วิโรจน์, 1979) ซึ่งมีรายงานว่าพบในภาคใต้ของไทย เช่นที่ จังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบสวน · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบหับ

ตะพาบหับ (Flap-shelled turtles) เป็นชื่อสกุลของตะพาบ 3 ชนิด ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lissemys.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบหับ · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบหับอินเดีย

ตะพาบหับอินเดีย หรือ ตะพาบหับปากีสถาน (Indian flap-shelled turtle) เป็นตะพาบหับชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย รูปร่างลักษณะโดยทั่วไปคล้ายกับตะพาบหับพม่า (L. scutata) เมื่อยังเล็ก บริเวณหลังกระดองจะมีจุดกลม ๆ สีเหลืองหรือสีทองกระจายอยู่ทั่วตัว ลำตัวและกระดองมีสีพื้นดำหรือน้ำตาลเข้ม เมื่อโตขึ้นในบางตัว จุดกลมเหล่านี้อาจกลายเป็นสีขาวหรือคงสีเหลืองแบบเดิมไว้ และเมื่อโตเต็มที่จุดกลมอาจหายไปในบางตัว ตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย จัดเป็นตะพาบขนาดเล็ก ที่ตัวผู้มีขนาด 145-162 มิลลิเมตร ตัวเมียมีขนาด 170-250 มิลลิเมตร น้ำหนักหนักได้ราว 4-4.5 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย โดยใช้บริโภคในท้องถิ่น ซึ่งตะพาบหับอินเดียติดอยู่ในรายชื่อของสัตว์ป่า ในบัญชีหมายเลข 2 (Appendix II) ของไซเตส ซึ่งการจะค้าขายได้ต้องได้รับอนุญาตและควบคุมปริมาณจากประเทศที่เป็นต้นกำเนิดเสียก่อน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบหับอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบหัวกบลาย

ตะพาบหัวกบลาย (New Guinea giant softshell turtle, Bibron's giant softshell turtle) เป็นตะพาบชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pelochelys bibroni จัดเป็นตะพาบอยู่ในสกุลตะพาบหัวกบ (Pelochelys) มีรูปร่างคล้ายตะพาบชนิดอื่น ๆ ในสกุลเดียวกัน แต่บางตัวมีลวดลายบนกระดองคล้ายกับตะพาบในสกุล Chitra หรือตะพาบม่านลายด้วย โดยพบได้บนเกาะนิวกินี, นิวกินีตะวันตก, ปาปัวนิวกินี และทางตอนเหนือของออสเตรเลีย ขนาดโตเต็มที่มีขนาดเล็กกว่าตะพาบหัวกบ (P. cantorii) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ในภูมิภาคอินโดจีน เล็กน้อย นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง สำหรับตัวที่มีลวดลายคล้ายกับตะพาบม่านลาย จะถูกเรียกว่า "ตะพาบม่านลายนิวกินี" สำหรับในประเทศไทยเคยมีการนำเข้ามาจำหน่ายเป็นสัตว์เลี้ยงประมาณ 10 ตัว อนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ของตะพาบหัวกบลายนั้น บางข้อมูลใช้เป็นชื่อซ้ำซ้อนกับตะพาบหัวกบชนิด P. cantorii ซึ่งเป็นคนละชนิดกัน โดยที่ชนิดหลังนี้จะพบได้ในประเทศไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบหัวกบลาย · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบจีน

ตะพาบจีน (Chinese softshell turtle) เป็นตะพาบในสกุล Pelodiscus (/เพ-โล-ดิส-คัส/) พบกระจายอยู่ในประเทศจีนและภูมิภาคเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบแก้มแดง

ตะพาบแก้มแดง (Malayan solf-shell turtle) เป็นตะพาบชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย จัดเป็นตะพาบขนาดเล็กที่สุดเป็นอันดับสองที่พบในประเทศไทย (เล็กที่สุด คือ ตะพาบหับพม่า (Lissemys scutata)) กระดองสีเทาเข้มมีจุดสีดำทั่วไป หัวสีเทานวลมีรอยเส้นสีดำตลอดตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงส่วนท้ายกระดอง มีสีแดงที่แก้มและข้างคอ เมื่อยังเล็กมีจุดสีดำคล้ายดวงตากระจายไปทั่วกระดองเห็นชัดเจน ตะพาบที่พบที่จังหวัดตากและกาญจนบุรีมีสีเข้มกว่าและไม่มีสีแดงที่แก้ม มีจมูกยาว หางสั้น และมีขาเล็ก จัดเป็นตะพาบเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dogania ขนาดโตเต็มที่กระดองยาวประมาณ 1 ฟุต หนักประมาณ 15 กิโลกรัม ถิ่นที่อยู่อาศัย พบในพม่า, มาเลเซีย, บรูไน, สุมาตรา, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ สำหรับประเทศไทยพบบ้างที่จังหวัดตาก, กาญจนบุรี และพบมากทางภาคใต้ แถบจังหวัดชุมพร และจังหวัดนครศรีธรรมราช ชอบอยู่ในห้วยหนอง คลองบึงทั่วไป และมีชุกชุมตามลำธารบนภูเขา การสืบพันธุ์ออกไข่ครั้งละ 3-7 ฟอง ปัจจุบันเป็นสัตว์น้ำคุ้มครองตามประกาศของกรมประมง และสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 โดยมีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "ปลาฝาดำ".

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบแก้มแดง · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบไบคอลโลไซต์

ตะพาบไบคอลโลไซต์ (Bicallosite softshell turtles) เป็นสกุลของตะพาบในสกุล Rafetus (/รา-เฟ-ตุส/) เป็นตะพาบที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่ในทวีปเอเชีย เป็นตะพาบขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งของโลก เมื่อโตเต็มที่น้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัม มีความยาวกว่า 0.9144 เมตร และมีอายุยืนยาวได้มากกว่า 100 ปี ปัจจุบัน ได้ถูกจำแนกออกเป็น 2 ชนิด โดยอีกชนิดหนึ่งนั้น คือ ตะพาบฮหว่านเกี๊ยม (Rafetus leloii, ชื่อพ้อง R. vietnamensis) มีตัวอย่างที่มีชีวิตที่รับรู้กันในปัจจุบันเพียงตัวเดียวเท่านั้น คือ ที่ทะเลสาบฮหว่านเกี๊ยม ในประเทศเวียดนาม โดยถือเป็นชื่อพ้องรองของ ตะพาบยักษ์แยงซีเกียง (Rafetus swinhoei) โดยนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบไบคอลโลไซต์ · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบไต้หวัน

ตะพาบไต้หวัน (Chinese softshelled turtle; 中華鱉; พินอิน: zhōnghuá biē) ตะพาบชนิดหนึ่ง ไม่ใช่ตะพาบพันธุ์พื้นเมืองของไทย แต่เป็นตะพาบที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น จีน, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้ ตลอดจนรัสเซีย และเวียดนาม มีรูปร่างคล้ายตะพาบสวน (Amyda cartilaginea) ที่พบได้ในประเทศไทย แต่ตะพาบไต้หวันมีขนาดเล็กกว่า โตเต็มมีขนาดกระดองประมาณ 25 เซนติเมตร มีนิสัยดุร้าย ลักษณะกระดองเป็นทรงรีเล็กน้อย ลักษณะโครงร่างแบบผิวกระดองเรียบมีกระดองส่วนที่นิ่มหรือเชิงค่อนข้างมาก มีหัวใหญ่ คอ ยาวมาก ปากแหลม ฟันคมและแข็งแรง เมื่อยังเล็กกระดองเป็นสีเขียวเข้มด้านท้องจะมีสีส้มและสีดำสลับ 5-6 ตำแหน่ง ใต้ท้องมีสีขาว เมื่อโตเต็มวัยกระดองจะเป็นสีเขียวอมเหลือง บริเวณขอบตาจะมีสีเหลืองเห็นได้ชัดเจน ตรงกลางกระดองจะมีรอยขีดขวางลำตัว 6-7 ขีด ส่วนท้องอ่อนนุ่มมีสีขาวอมชมพูหรือสีเหลืองอ่อน ๆ นิยมรับประทานโดยทำเป็นซุป นิยมกันมากในแบบอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่น ทำให้นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ ที่ปัจจุบันนิยมเลี้ยงมากกว่าตะพาบสวน เพราะโตได้เร็วและแพร่ขยายพันธุ์ได้เร็วกว่า และยังนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามอีกด้วย โดยเฉพาะในตัวที่เป็นเผือก แต่ในด้านสิ่งแวดล้อมขณะนี้พบเป็นเผ่าพันธุ์ต่างถิ่น ที่รุกรานที่อยู่อาศัยและที่วางไข่ของตะพาบและเต่าพื้นเมืองของไทย ปัจจุบัน มีฟาร์มเพาะเลี้ยงกันในประเทศไทยแถบจังหวัดภาคตะวันออก เช่น ระยอง, ชลบุรี, ตราด และเพชรบุรี.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะพาบไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ตะกวดเหลือง

ตะกวดเหลือง (Yellow monitor) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์เหี้ย (Varanidae) ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายสัตว์ในวงศ์นี้ทั่วไป แต่มีนิ้วเท้าที่สั้น และพื้นลำตัวสีเหลือง อีกทั้งมีพฤติกรรรมไม่ชอบอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำหรือที่ชื้นแฉะเหมือนเหี้ย (V. salvator) โดยจะอยู่เฉพาะที่แห้งแล้งหรือพื้นทราย มีขนาดประมาณ 70-100 เซนติเมตร วางไข่จำนวน 30 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 149-155 วัน มีรายงานเคยพบในประเทศไทยในภาคใต้และภาคตะวันตกเมื่อนานมาแล้ว สถานภาพปัจจุบันพบมากใน อินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ และปากีสถาน ยังมีชื่อเรียกอื่น อีก เช่น "แลนดอน" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะกวดเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ตะขาบ

ตะขาบ (อังกฤษ: Centipedes; พายัพ: จักขาบ; อีสาน: ขี้เข็บ) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Chilopoda จัดอยู่ในไฟลัมอาร์โธรพอด เป็นสัตว์ขาข้อที่พบได้ในเขตร้อนชื้น อาศัยอยู่บนบก มีหลายขนาด ส่วนใหญ่ความยาวของลำตัวตั้งแต่ 3-8 เซนติเมตร (ขนาดใหญ่ที่สุดคือชนิด Scolopendra heros มีความยาว 8-10 นิ้ว) ลำตัวแบนราบ มีปล้อง 15-100 ปล้อง แต่ละปล้องมีขา 1 คู่ ส่วนหัวแยกจากลำตัวชัดเจน มีหนวด 1 คู่ และเขี้ยวพิษ 1 คู่ ซึ่งดัดแปลงมาจากปล้องแรกของลำตัว เขี้ยวพิษเชื่อมต่อกับต่อมพิษ เมื่อกัดเหยื่อจะปล่อยพิษออกมา ทำให้เหยื่อเจ็บปวดและเป็นอัมพาต เมื่อถูกตะขาบกัดจะพบรอยเขี้ยวสองรอย ลักษณะเป็นจุดเลือดออกตรงบริเวณที่ถูกกัด ตะขาบวางไข่ในที่ชื้นหรือต้นพืช ต้นหญ้า ใช้เวลาในการเจริญเติบโตนานโดยลอกคราบ 10 ครั้ง ตัวเต็มวัยมีอายุ 3-5 ปี ในเวลากลางวันจะซ่อนอยู่ในที่เย็นๆ เช่น ใต้ก้อนหิน ออกหาเหยื่อในเวลากลางคืน กินแมลงเป็นอาหาร ในประเทศไทย พบทั้งหมด 48 ชนิด (ค.ศ. 2017).

ใหม่!!: สปีชีส์และตะขาบ · ดูเพิ่มเติม »

ตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู

ตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู หรือ ตะขาบยักษ์อเมซอน (Peruvian giant yellow-leg centipede, Amazonian giant centipede) เป็นตะขาบชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Scolopendra โดยปกติเมื่อโตเต็มที่จะยาว 26 เซนติเมตร (10 นิ้ว) แต่บางครั้งก็สามารถโตได้ถึง 30 เซนติเมตร (12 นิ้ว) ตะขาบชนิดนี้อาศัยอยู่ทางแถบเหนือและตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ และตามเกาะแก่งของประเทศตรินิแดดและจาไมกา เป็นสัตว์กินเนื้อ โดยกินจิ้งจก, กบ, นก, หนู และแม้แต่ค้างคาวเป็นอาหาร และขึ้นชื่อในเรื่องความดุร้าย ร่างกายประกอบไปด้วยปล้องจำนวน 21-23 ปล้อง ปล้องมีสีทองแดงหรือสีแดงอมม่วง แต่ละปล้องมีขาสีเหลืองอ่อน 1 คู่ ขาแต่ละข้างสามารถเดินได้อย่างรวดเร็ว (หรือแม้แต่วิ่ง) และจับเหยื่อได้อย่างแน่นหนาก่อนที่จะฆ่า ตะขาบชนิดนี้มีเขี้ยวที่เรียกว่า Forcipule เรียงเป็นแนวโค้งอยู่รอบ ๆ หัว ซึ่งพัฒนาให้สามารถปล่อยพิษเข้าไปในตัวเหยื่อได้ พิษประกอบด้วยสารอะเซทิลคอลีน ฮิสตามีน เซโรโทนิน ซึ่งเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์ ทำให้เกิดแผลเหมือนถูกตัวต่อต่อย แผลจะบวมอย่างรุนแรง และตามด้วยอาการไข้สูง ตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู เป็นสัตว์เลี้ยงที่เป็นที่นิยมในบรรดาผู้นิยมสัตว์ประเภทสัตว์แปลก ๆ แต่ไม่ควรจับมันโดยไม่มีเครื่องป้องกัน แม้เพียงแค่ผิวหนังสัมผัสถูกผิดก็ทำให้เกิดอันตรายได้ อาการที่เกิดจากการถูกพิษของตะขาบในสกุลนี้เรียกว่า "Scolopendrism" ตะขาบขาเหลืองยักษ์เปรู ตัวเมียจะคอยดูแลและปกป้องรังที่มีไข่ของตนเอง ตัวอ่อนจะมีสีแดงเข้มหรือสีดำ ลำตัวบาง และมีหัวกลมใหญ่สีแดง มีวงจรชีวิตลอกคราบหลายครั้งก่อนที่จะโตเต็มวั.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู · ดูเพิ่มเติม »

ตะโขง

ตะโขง หรือ จระเข้ปากกระทุงเหว หรือ ตะโขงมลายู (Malayan gharial, False gharial) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ในอันดับจระเข้ อยู่ในวงศ์ตะโขง (Gavialidae) จัดเป็นหนึ่งในสองชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน แต่จัดว่าเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Tomistoma อนึ่ง บางข้อมูลได้จัดให้ตะโขงอยู่ในวงศ์จระเข้ (Crocodylidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และตะโขง · ดูเพิ่มเติม »

ตะโขงอินเดีย

ตะโขงอินเดีย หรือ กาเรียล (Gharial, Indian gavial, Gavial; ฮินดี: घऱियाल; มราฐี: सुसर Susar) เป็นสมาชิกเพียงไม่กี่ชนิดที่เหลืออยู่ของวงศ์ตะโขง (Gavialidae) ซึ่งเป็นกลุ่มของจระเข้ที่มีปากแหลมเรียวยาว ตะโขงอินเดียได้รับการจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกคุกคามอยู่ในขั้นวิกฤตโดย IUCNChoudhury, B.C., Singh, L.A.K., Rao, R.J., Basu, D., Sharma, R.K., Hussain, S.A., Andrews, H.V., Whitaker, N., Whitaker, R., Lenin, J., Maskey, T., Cadi, A., Rashid, S.M.A., Choudhury, A.A., Dahal, B., Win Ko Ko, U., Thorbjarnarson, J & Ross, J.P. (2007) Gavialis gangeticus. In: IUCN 2010.

ใหม่!!: สปีชีส์และตะโขงอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกินมด

ตัวกินมด (Anteater) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่มหนึ่ง ที่จัดอยู่ในอันดับย่อย Vermilingua (แปลว่า "ลิ้นหนอน") ในอันดับ Pilosa หรือสลอธ ในอันดับใหญ่ Xenarthra ตัวกินมด เป็นสัตว์ที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับสัตว์จำพวกอื่นในอันดับใหญ่ทั่วไป คือ เป็นสัตว์ที่มีส่วนจมูกและปากยาวเหมือนท่อ ไม่มีฟันในกราม จึงไม่สามารถที่จะเคี้ยวอาหารได้ แต่ใช้ลิ้นที่ยาวเรียวและมีน้ำลายที่เหนียวตวัดกินแมลงขนาดเล็กตามต้นไม้ หรือพื้นดินกินเป็นอาหาร โดยใช้จมูกที่ไวต่อความรู้สึกหาแมลงไปเรื่อย ๆ เมื่อพบเจอแล้วจะใช้กรงเล็บตีนหน้าที่แหลมคมขุดคุ้ยหรือพังทลายรังของแมลงเหล่านี้ เช่นเดียวกับอาร์มาดิลโล ที่อยู่ในอันดับใหญ่เดียวกัน หรือลิ่น หรืออาร์ดวาร์ก ที่เคยมีบรรพบุรุษร่วมกันมาก่อนในยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากตัวกินมดกินแมลง ซึ่งได้แก่ มด และปลวก ซึ่งให้พลังงานต่ำ ดังนั้นวัน ๆ หนึ่งจึงต้องกินมดในปริมาณมากที่อาจมากถึง 9,000 ตัวได้ ตัวกินมด มีขนที่หนาปกคลุมตลอดทั้งตัวและผิวหนังที่หนาที่ช่วยป้องกันตัวจากการโจมตีของมด แต่ก็ไม่สามารถที่จะใช้ป้องกันได้สมบูรณ์แ.

ใหม่!!: สปีชีส์และตัวกินมด · ดูเพิ่มเติม »

ตัวสงกรานต์

ตัวสงกรานต์ หรือ ตัวร้อยขา เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกหนึ่ง เป็นสัตว์จำพวกหนอนปล้อง เช่น ปลิง จัดอยู่ในไฟลัม Annelida ชั้น Polychaeta มีหลายชนิด ตัวสงกรานต์เท่าที่พบในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ คือ Sylidae พบในกรุงเทพมหานคร และ Nereidae พบในจังหวัดฉะเชิงเทรา มีขนาดและสีสันแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่สีแดงสด, สีเขียว หรือสีฟ้าอมม่วง ตัวแก่จะมีขาตามปล้องสำหรับเคลื่อนไหวในน้ำและคทบคลานได้ในที่ชื้นแฉะ หรือซอกมุมที่อับชื้น ลำตัวมีความยาวประมาณ 6-10 เซนติเมตร ส่วนใหญ่จะพบในทะเลเขตน้ำกร่อย หรือปากแม่น้ำลำคลองที่เชื่อมติดกับทะเล ตัวแก่บางชนิดสามารถใช้ชีวิตอาศัยอยู่ในน้ำจืดได้ โดยจะอยู่ตามก้นแม่น้ำ แต่โดยปกติแล้วจะไม่พบมากนักในน้ำจืด การที่อยู่ในน้ำจืดเกิดจากการพลัดหลงเข้าไป แต่ไม่สามารถที่จะแพร่ขยายพันธุ์ในน้ำจืดได้ เนื่องจากสภาพตามธรรมชาติไม่อำนวย ตัวสงกรานต์ หรือ ตัวร้อยขา มักปรากฏเป็นข่าวฮือฮาว่าพบปะปนมากับน้ำประปาที่เปิดไหลออกมาจากก๊อกอยู่เสมอ ๆ ทั้งนี้เกิดจากการที่หลุดรอดเข้าไปในท่อประปาหลักที่ชำรุดหรือแตกร้าวในบริเวณที่ชื้นแฉะหรือมีน้ำขัง ทั้งนี้ตัวสงกรานต์ไม่มีอันตรายใด ๆ ต่อมนุษย์ เหตุที่ได้ชื่อว่า "ตัวสงกรานต์" เนื่องจากในอดีตมักพบในช่วงฤดูร้อนตรงกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ โดย นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล นักสัตววิทยาที่มีชื่อเสียงในอดีตของไทย ได้บันทึกว่าเคยจับตัวสงกรานต์ได้ที่บ้านเชิงสะพานอุรุพงษ์ ถนนเพชรบุรี ในวันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: สปีชีส์และตัวสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ตั๊กแตนตำข้าว

ตั๊กแตนตำข้าว หรือ ตั๊กแตนต่อยมวย (Mantis; ภาษาไทยถิ่นเหนือ: แมงม้า) เป็นอันดับของแมลงที่ประกอบไปด้วยแมลงมากกว่า 2,400 ชนิด 430 สกุล ใน 15 วงศ์ พบทั่วไปในภูมิอากาศเขตอบอุ่นและเขตร้อน ส่วนมากอยู่ในวงศ์ Mantidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และตั๊กแตนตำข้าว · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กกาย

ตุ๊กกาย หรือ ตุ๊กแกป่า (Curve-toed geckos) สัตว์เลื้อยคลานจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายตุ๊กแก แต่มีขนาดเล็กกว่า อยู่ในวงศ์ Gekkonidae เช่นเดียวกับตุ๊กแกและจิ้งจก โดยอยู่ในสกุล Cyrtodactylus มีลักษณะสำคัญ คือ มีนิ้วเท้าและเล็บที่แหลมยาว ไม่มีปุ่มดูดจึงไม่สามารถดูดติดเกาะผนังได้เหมือนตุ๊กแกและจิ้งจก ใช้ได้เพียงแค่ปีนป่ายเหมือนกิ้งก่าเท่านั้น อาศัยอยู่ในถ้ำและป่า ของทวีปเอเชียไม่พบในเมือง มีประมาณ 89 ชนิด ปัจจุบันพบแล้วในประเทศไทยประมาณ 30 ชนิด สถานะปัจจุบันเป็นสัตว์หายากชนิดหนึ่ง เคยเป็นสัตว์ที่ถูกบรรจุชื่อไว้ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 แต่เมื่อมีการปรับปรุงใหม่ในปี พ.ศ. 2546 ถูกถอดชื่อออกไป โดยคำว่า "ตุ๊กกาย" ผู้ที่บัญญัติชื่อนี้ขึ้นมา คือ นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล อดีตนักอนุรักษ์ธรรมชาติที่มีชื่อเสียงของไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ๊กกาย · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแก

ตุ๊กแก (Geckos, Calling geckos, Tropical asian geckos, True geckos) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานสกุลหนึ่ง ในวงศ์ย่อย Gekkoninae ในวงศ์ใหญ่ Gekkonidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gekko (/เก็ก-โค/) โดยสัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้ จะอาศัยอยู่ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ส่วนใหญ่มีสีสันและลวดลายบนลำตัว วางไข่ครั้งละ 2 - 7 ฟอง พบได้ทั้งในบ้านเรือนของมนุษย์และในป่าดิบ โดยปกติแล้วจะมีขนาดความยาวมากกว่า 10 เซนติเมตร มีรูปร่างที่แตกต่างกันหลากหลาย ส่วนใหญ่หากินบนต้นไม้และใต้นิ้วเท้ามีแผ่นหนังเรียงต่อกัน ที่มีเส้นขนจำนวนมาก ซึ่งแต่ละเส้นยาวประมาณ 60-90 ไมครอน ส่วนปลายของเส้นขนแตกแขนงและขยายออกเป็นตุ่ม เรียกว่า "เซต้า" ใช้สำหรับยึดเกาะติดกับผนังได้โดยแรงวานเดอร์วาลส์ โดยชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ตุ๊กแกบ้าน (G. gekko).

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ๊กแก · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกบิน

ตุ๊กแกบิน (Flying geckos, Parachute geckos, Gliding geckos) เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่อยู่ในอันดับ Squamata ในวงศ์ตุ๊กแกและจิ้งจก (Gekkonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Ptychozoon.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ๊กแกบิน · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกบินหางแผ่น

ตุ๊กแกบินหางแผ่น (Kuhl's flying gecko; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ptychozoon kuhli) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่งจำพวกตุ๊กแก มีรูปร่างคล้ายจิ้งจกบ้านทั่วไป แต่มีขนาดใหญ่กว่า มีความลำตัวประมาณยาว 9.5 เซนติเมตร หางยาว 9.5 เซนติเมตร มีพังผืดยึดระหว่างนิ้วเท้า ใต้เท้ามีแผ่นยึดเกาะเรียงเป็นแถวเดี่ยว ปลายนิ้วมีเล็บ มีแผ่นหนังแผ่กว้างออกมาจากข้างแก้มและลำตัวทำหน้าที่เหมือนปีกเครื่องร่อน หางแบนขอบหางหยัก ปลายหางแผ่เป็นแผ่นกว้างขอบเรียบและกว้างกว่าหาง ส่วนที่เป็นหยัก สันหางมีตุ่ม ลำตัวสีน้ำตาลหรือเทา มีแถบเข้มพาดขวางบนหลัง 4 แถบ หางมีลายพาด พบในป่าดิบในภาคใต้ของไทย ตั้งแต่จังหวัดนครศรีธรรมราช, จังหวัดปัตตานี พบได้จนถึงภาคเหนือของมาเลเซียจนถึงสิงคโปร์, หมู่เกาะนิโคบาร์ในอินโดนีเซีย นอกจากนี้ยังพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียที่ติดกับพม่า และพบที่อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ทางภาคเหนือของไทยอีกด้วย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานเช่นเดียวกับตุ๊กแกบินหางเฟิน (P. lionotum) ซึ่งเป็นตุ๊กแกในสกุลเดียวกันด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ๊กแกบินหางแผ่น · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกบ้าน

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ Gecko ตุ๊กแกบ้าน (Tokay, Gecko, Calling gecko) หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ตุ๊กแก หรือ ต๊กโต ในภาษาเหนือ หรือ กั๊บแก ในภาษาอีสาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ๊กแกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกหางใบไม้

ตุ๊กแกหางใบไม้ หรือ ตุ๊กแกหางแบน (Leaf-tail gecko, Leaf-tailed gecko, Flat-tailed gecko) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกตุ๊กแก ที่อยู่ในสกุล Uroplatus โดยที่คำว่า Uroplatus เป็นภาษาละตินมาจากภาษากรีก 2 คำ คือ "ourá" (οὐρά) หมายถึง "หาง" และ "platys" (πλατύς) หมายถึง "แบน" ตุ๊กแกหางใบไม้ เป็นตุ๊กแกที่มีลักษณะเด่น คือ มีร่างกายที่บิดงอและแบนราบ ทำให้มีลักษณะกลมกลืนไปกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะส่วนหางที่แบนราบและมีลักษณะคล้ายกับใบไม้มาก จึงเป็นสัตว์ที่สามารถแฝงตัวตามธรรมชาติได้เป็นอย่างดี เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน มีดวงตากลมโตจึงสามารถมองเห็นในเวลากลางคืนได้เป็นอย่างดี โดยที่ไม่มีเปลือกตา ตุ๊กแกหางใบไม้มีความสามารถในการมองในที่มืดดีกว่ามนุษย์ถึง 350 เท่า และสามารถเห็นสีต่าง ๆ ได้แม้ในแสงจันทร์สลัว ๆ กินแมลงต่าง ๆ รวมถึงสัตว์ไม่มีกระดูกชนิดต่าง ๆ เป็นอาหารเหมือนตุ๊กแกทั่วไป ที่ฝ่าตีนและนิ้วมีปุ่มสุญญากาศใช้ยึดเกาะติดกับผนังได้เป็นอย่างดี โดยพฤติกรรมมักจะอยู่นิ่ง ๆ ทำตัวกลมกลืนไปกับต้นไม้หรือใบไม้ มีขนาดตั้งแต่ 30 เซนติเมตร รวมทั้งส่วนหาง จนถึง 10 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดเล็กสุด ตัวเมียวางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง จัดเป็นสัตว์เฉพาะถิ่น ที่พบได้บนเกาะมาดากัสการ์ที่เดียวเท่านั้น อาศัยอยู่ในป่าทั่วไปทั้งป่าดิบ หรือป่าเสื่อมโทรม.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ๊กแกหางใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกตาเขียว

ตุ๊กแกตาเขียว หรือ ตุ๊กแกป่าไทย (Siamese green-eyed gecko) เป็นตุ๊กแกชนิดหนึ่ง มีรูปร่าง ลักษณะคล้ายตุ๊กแกบ้าน (G. gecko) ทั่วไป แต่มีรูปร่างเล็กกว่า มีส่วนหัวที่ยาวกว่า มีลวดลายที่เป็นระเบียบกว่าเป็นสีน้ำตาล และตามตัวและหางจะมีหนามเล็ก ๆ มีจุดเด่น คือ มีดวงตาโตสีเขียว จะพบได้เฉพาะในถ้ำหินปูนในแถบจังหวัดสระบุรี และไม่กี่จังหวัดในพื้นที่ภาคกลาง ในประเทศไทยแห่งเดียวในโลกเท่านั้น ออกหากินในเวลากลางคืน อาหารได้แก่ แมลงและสัตว์ต่าง ๆ ที่มีขนาดเล็กกว่า มีพฤติกรรมวางไข่บนต้นไม้ โดยจะวางไข่ได้เต็มที่ 2 ฟอง เท่านั้น ปัจจุบัน เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่งที่หายาก ใกล้สูญพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ๊กแกตาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ตุ่น

ำหรับ ติ่ง ที่เป็นความหมายสแลงดูที่ ติ่งหู ตุ่น หรือ ติ่ง (Moles) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Talpidae ซึ่งครั้งหนึ่ง (หรือบางข้อมูล) จะจัดให้ตุ่นอยู่ในอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) ตุ่น มีลักษณะคล้ายหนูตะเภาตัวอ้วน ๆ ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ทว่าตุ่นมีอันดับแยกออกมาเองต่างหาก ซึ่งใกล้เคียงกับหนูผี (Soricidae) มากกว่า มีขนอ่อนนุ่ม สีคล้ำอย่างสีเทาหรือสีดำ ตลอดทั้งลำตัว ซึ่งขนนี้มีคุณลักษณะพิเศษที่สามารถบิดไปในทิศทางใดก็ได้ แตกต่างจากสัตว์ประเภทอื่น ๆ ส่วนหางสั้น ตุ่นอาศัยในโพรงใต้ดินตลอดเวลา จะไม่ขึ้นมาบนพื้นดิน หากไม่จำเป็น ดังนั้นจึงมีหูและตาเล็กมาก เพราะแทบไม่ได้ใช้ประโยชน์ และถูกเก็บซ่อนอยู่ใต้ขน เพื่อป้องกันมิให้ดินเข้าเวลาขุดดิน ในบางชนิดจะมีหนังพิเศษปิดเหนือตาด้วย ขาคู่หน้าของตุ่นซ่อนอยู่ใต้ขน ซึ่งจะยื่นออกมาแต่ส่วนปลายเป็นข้อมือที่มีเล็บที่แข็งแรง 5 เล็บ ซึ่งใช้ในการขุดโพรงดิน แต่จะใช้เดินบนพื้นดินไม่ได้เลย หากตุ่นขึ้นมาบนดินจะทำได้เพียงแค่คืบคลาน ในโพรงใต้ดินของตุ่น มีทางยาวมาก โดยมักจะขุดให้ลึกไปจากผิวดินราว 3 นิ้วครึ่งถึงครึ่งฟุต เป็นทางยาวขนานไปกับผิวดิน และลึกจากหน้าดินราวหนึ่งฟุตก็มีอีกโพรงหนึ่งเป็นคู่ขนานด้วยเช่นกัน ซึ่งทั้งสองสายนี้เชื่อมไว้ด้วยทางเชื่อมเล็ก ๆ ในแนวตามจุดต่าง ๆ เป็นระยะ ๆ แต่ในบางจุดอาจมีแนวดิ่งลึกลงไปถึง 4 ฟุต ผนังโพรงราบเรียบสม่ำเสมอกัน ที่ปลายสุดของโพรงจะใช้เป็นที่กลับตัว ซึ่งมีความกว้างเพียงขนาดเท่าตัวของตุ่น ดินที่ขุดขึ้นทำโพรงนั้นจะถูกอัดไปตามผนังโพรงเพื่อให้แน่นและแข็งแรง แต่บางส่วนก็จะถูกดันขึ้นไปเหนือพื้นดิน เห็นเป็นเนิน ๆ ซึ่งเรียกในภาษาไทยว่า "โขย" ตุ่น กินอาหารหลัก คือ ไส้เดือนดิน และก็สามารถกินอาหารอื่นได้ เช่น หนอน, หอยทาก และพืชประเภทหัว เช่น มัน หรือ แห้ว หลายชนิด ในวันหนึ่ง ๆ ตุ่นสามารถที่จะกินอาหารได้เท่ากับน้ำหนักตัว จึงเป็นสัตว์ที่ไม่อาจอดอาหารได้นาน ในฤดูแล้งที่อาหารขาดแคลน ตุ่นสามารถจะสะสมอาหารเป็นเสบียงได้ ในโพรงดินส่วนที่เป็นห้องเก็บอาหาร โดยมีรายงานว่า ตุ่นบางตัวเก็บหนอนไว้ในห้องเก็บอาหารนับร้อยตัว โดยที่หัวของหนอนเหล่านี้ถูกกัดจนหัวขาดแล้ว แต่ยังไม่ตาย ไม่อาจจะหนีไปไหนได้ ตามปกติ ตุ่นเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ลำพัง นอกจากในฤดูผสมพันธุ์ ซึ่งในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้ต้องต่อสู้แย่งชิงตัวเมียเสียก่อน ตัวเมียจะเป็นฝ่ายสร้างรั งขนาดลูกรักบี้ที่บุด้วยใบไม้และฟางหรือกิ่งไม้เล็ก ๆ โดยจะอยู่ลึกจากหน้าดินประมาณ 2 ฟุต หรือตื้นกว่านั้น มีทางแยกออกจากรังหลายทาง เพื่อที่จะเข้าออกได้หลายทาง เพื่อความสะดวกและปลอดภัย ซึ่งรังของตุ่นจะสะอาดสะอ้านอยู่เสมอ ตุ่นมักจะมีลูกครอกละ 2-7 ตัว ลูกอ่อนที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และขนจะเริ่มงอกเมื่อมีอายุได้สัก 10 วัน และลืมตาในเวลาต่อมา และจะออกจากรังเมื่อมีอายุได้ราว 5 สัปดาห์ มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ปี ตุ่นกระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ทั่วโลก ยกเว้นในเขตขั้วโลกและโอเชียเนีย สามารถแบ่งออกได้เป็น 17 สกุล และ 3 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง) พบประมาณ 44 ชนิด ซึ่งบางชนิดมีขนสีทอง บางชนิดมีส่วนหางยาว บางชนิดที่จมูกมีเส้นขนเป็นอวัยวะรับสัมผัสเป็นเส้น ๆ 22 เส้น ลักษณะคล้ายดาว และมีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่บนดินและว่ายน้ำได้เก่งอีกด้วย ขณะที่บางชนิดก็สามารถปีนต้นไม้ได้ และอาศัยอยู่เป็นฝูง สำหรับในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว คือ ตุ่นโคลส (Euroscaptor klossi).

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ตุ่นจมูกดาว

ตุ่นจมูกดาว (Star-nosed mole) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Condylura แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) ตุ่นจมูกดาว มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับตุ่นชนิดอื่น ๆ แต่มีส่วนหางยาว โดยลักษณะเฉพาะตัวที่ดูโดดเด่น คือ เส้นขนที่จมูกที่บานออกเป็นแฉก ๆ คล้ายดาว ซึ่งทำหน้าที่เป็นประสาทสัมผัส 22 เส้นอยู่รอบรูจมูก โดยมีปลายสัมผัสที่เส้นขนเหล่านี้มากมายราวถึงหนึ่งแสนจุด ตุ่นจมูกดาว อาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มชื้นแฉะ ในบริเวณภาคตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือระหว่างแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยพบไปถึงชายฝั่งทะเลในรัฐจอร์เจีย โตเต็มวัยจะมีความยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 55 กรัม มีฟัน 44 ซี่ หากินด้วยการใช้กรงเล็บอันแข็งแรงขุดคุ้ยดินในพื้นที่ชุ่มน้ำหรือตะกอนลำธาร โดยใช้หนวดรอบจมูกคอยสอดส่องหา อันได้แก่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก ๆ เช่น แมลงน้ำและตัวอ่อนชนิดต่าง ๆ, สัตว์จำพวกหอยและปลาหมึก เป็นต้น ซึ่งประสาทสัมผัสรอบจมูกนี้มีความว่องไวมาก ทำให้ตุ่นจมูกดาวสามารถจับเหยื่อเพื่อกินได้ในเวลาเพียง 120 มิลลิวินาทีเท่านั้น นอกจากนี้แล้ว ตุ่นจมูกดาวยังเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่สามารถดมกลิ่นใต้น้ำได้อีกด้วย โดยจะใช้หนวดสำรวจหาเหยื่อตามก้นแหล่งน้ำ โดยจะพ่นฟองอากาศออกมาจากรูจมูกหลายครั้ง เพื่อให้โมเลกุลกลิ่นในน้ำผสมกับอากาศ จากนั้นก็ทำการสูดหายใจเอาฟองอากาศกลับเข้าไปอย่างรวดเร็วด้วยความถี่ประมาณ 10 ครั้งต่อวินาทีเพื่อตรวจหากลิ่นของเหยื่อในน้ำ อีกทั้งยังเป็นตุ่นที่มีพฤติกรรมชอบใช้ชีวิตและหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขุดโพรงอยู่ใต้ดินเหมือนเช่นตุ่นชนิดอื่น ๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ่นจมูกดาว · ดูเพิ่มเติม »

ตุ่นปากเป็ด

ตุ่นปากเป็ด (Platypus, Watermole, Duckbill, Duckmole, Duck-billed platypus) เป็นสัตว์ประจำท้องถิ่นของออสเตรเลีย แม้ว่าตุ่นปากเป็ดจะมีเพียงสปีชีส์เดียว แต่มีชื่อเรียกมากมายหลายชื่อ เช่น และมีชื่อที่ชาวอะบอริจินตั้งให้อีกหลายชื่อ ได้แก่ mallangong, boondaburra และ tambreet พบตุ่นปากเป็ดเฉพาะในแถบตะวันออกของออสเตรเลียเท่านั้น ตุ่นปากเป็ดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับโมโนทรีมาตา (Monotremata) เช่นเดียวกับอีคิดน.

ใหม่!!: สปีชีส์และตุ่นปากเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

ตู้ปลา

ตู้ปลาที่เลี้ยงปลาน้ำจืดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ปลาตะพาก, ปลาตะพัด ในสวนสัตว์บริสตอล ประเทศอังกฤษ ตู้ปลาแบบทั่วไปภายในบ้านเรือน ขนาด 80x30 เซนติเมตร ตู้ปลา (Aquarium) คือ ภาชนะหลักสำหรับการเลี้ยงปลาสวยงาม มีรูปทรงต่าง ๆ กัน โดยมากมักจะทำเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยผลิตจากวัสดุประเภทกระจกหรืออะครีลิค มีขนาดแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่ประมาณ 1 ฟุต จนถึงหลายเมตรในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ ซึ่งตู้ปลาที่มีขนาดใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในน้อยกว่าหรือช้ากว่าตู้ปลาที่มีขนาดเล็ก โดยมากแล้วตู้ปลาที่ผลิตจากกระจกจะเชื่อมต่อกันด้วยกาวซิลิโคนแบบกันน้ำ ซึ่งมีความเหนียวทนทานต่อการละลายของน้ำ ขณะที่ประเภทที่ผลิตจากอะครีลิคจะมีความทนทานกว่า เนื่องจากไม่แตกหักได้ง่าย แต่ก็จะมีราคาขายที่สูงกว่า ซึ่งตู้ปลาแบบที่เป็นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้วยแล้ว จะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และตู้ปลา · ดูเพิ่มเติม »

ต้นฝิ่น

ต้นฝิ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papaver somniferum L. เป็นดอกป๊อปปี้พันธุ์หนึ่ง ในวงศ์ Papaveraceae ชื่อสกุล Papaver เป็นชื่อภาษาละตินสำหรับเรียกพืชที่เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า Opium poppy ส่วนชื่อชนิด somniferum แปลว่า ทำให้นอนหลั.

ใหม่!!: สปีชีส์และต้นฝิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ซอโรโพไซดอน

ซอโรโพไซดอน (Sauroposeidon) มีชื่อมาจาก "เทพโพไซดอน" ของกรีก เป็นไดโนเสาร์ในสกุล ซอโรพอด ขนาดใหญ่ ถูกขุดพบในทวีปอเมริกาเหนือในทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐโอคลาโฮมาของสหรัฐอเมริกา ถูกค้นพบครั้งแรกในปี..1994 อาศัยอยู่ในยุค ครีเตเชียสเมื่อประมาณ 110 ล้านปีที่แล้ว การวิเคราะห์ของนักนิเวศวิทยาบรรพกาล (Paleoecological) ระบุว่า ซอโรโพไซดอน อาศัยอยู่บนชายฝั่งของอ่าวเม็กซิโกในปากแม่น้ำ เช่น เดียวกับ ซอโรพอดอื่นอย่าง แบรกคิโอซอรัส เป็นสัตว์ซึ่งกินพืชเป็นอาหาร คอมีลักษณะคล้ายกับสัตว์กินพืชในยุคปัจจุบันอย่างยีราฟ.

ใหม่!!: สปีชีส์และซอโรโพไซดอน · ดูเพิ่มเติม »

ซอโรโลฟัส

ซอโรโลฟัส (Saurolophus) เป็นไดโนเสาร์ตระกูลปากเป็ดมีหงอนเช่นเดียวกับพาราซอโรโลฟัสหรือคอริโธซอรัส มีความยาวประมาณ 10-13 เมตร ค้นพบที่อเมริกาเหนือ และมองโกเลีย จีน มีความหมายของชื่อว่ากิ้งก่าหงอนใหญ่ อาศัยอยู่ใน ยุคครีเทเชียสตอนต้นปลายประมาณ 80-75 ล้านปี ว่ายน้ำได้ดี หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และซอโรโลฟัส · ดูเพิ่มเติม »

ซอโรเพกาแนกซ์

ปรียเทียบ ซอโรฟากาแนกซ์กับญาติในตระกูลของอัลโลซอร์ ซอโรเพกาแนกซ์ (Saurophaganax) ชื่อมีความหมายว่านายพรานล่าซอโรพอด เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในยุคจูราสสิก ยาวประมาณ 13 เมตร(ยาวกว่าTyranosaurus rex) และหนักประมาณ 3-5 ตัน อยู่ในตระกูลอัลโลซอร์(allosauroids) มีเขี้ยวยาวถึง 25 เซนติเมตร ไว้สำหรับบดกระดูกเช่นเดียวกับไทรันโนซอรัส ค้นพบในรัฐโอคลาโฮมา ส่วนกระดูกขาอ่อนกระดูกสันหลังหลายหางและกระดูกสะโพกมีการพบในภาคเหนือของนิว เม็กซิโก มันถูกพบครั้งแรกเมื่อปี 1995 โดย ดร.คลัช ในครั้งแรกที่ดร.คลัช ค้นพบฟอสซิลยังไม่สมบูรณ์ แต่ในปี 2003 ได้มีการค้นพบฟอสซิลกระดูกเพิ่ม ซึ่งประมาณการความยาวได้ 11-13 เมตร หนักประมาณ 3-5ตัน สูง 4เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และซอโรเพกาแนกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซอโรเพลตา

ซอโรเพลตา (Sauropelta) ค้นพบในปี..1970 เป็นไดโนเสาร์ที่มีเกราะกำบังชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ 5 เมตร อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้น กินพืชเป็นอาหาร รักสงบ ค้นพบฟอสซิลที่ทวีปอเมริกาเหนือ ลักษณะคล้ายกับเอ็ดมันโทเนีย หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และซอโรเพลตา · ดูเพิ่มเติม »

ซัลตาซอรัส

ซัลตาซอรัส (Saltasaurus) ซัลตาซอรัส (กิ้งก่าจากซัลตา) เป็นไดโนเสาร์ตระกูลซอโรพอด ขนาดเล็กที่เหลืออยู่ถึงปลายยุคครีเตเซียส 75 - 65 ล้านปี และ เป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดเล็กลงมาอีก คือมีความยาวเพียง 12 เมตร หนัก 7 ตัน เช่นเดียวกับ ซอโรพอดจำพวกอื่น ซัลตาซอรัสมีฟันแท่งที่ทื่อ ช่วงคอ กับ ส่วนหางที่ยาว แต่ลักษณะเด่นของมันและซอโรพอดยุคหลังอื่นๆคือ ผิวหนังมันมีปุ่มกระดูกเกล็ดผุดขึ้นมาจากหนัง เพื่อประโยชน์เป็นเกราะ ป้องกันลำตัวมันจากนักล่า คล้ายๆกับ ไดโนเสาร์หุ้มเกราะ ค้นพบเมื่อปี..1980 หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และซัลตาซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ซากูระ

ซากูระ ซากูระ เป็นชื่อสามัญของพืชหลายชนิดจำพวกเชอร์รีในสกุล Prunus อาทิ P. jamasakura, P. serrulata เป็นต้น มีถิ่นกำเนิดในจีนตอนใต้, เกาะไต้หวัน, หมู่เกาะโอกินาวะ และหมู่เกาะญี่ปุ่น มีดอกสีขาว กลีบแต่ละกลีบมีจำนวนแตกต่างกันไปตามชนิด ลักษณะเด่นของซากูระก็คือ เมื่อร่วง จะร่วงพร้อมกันหมด ซากูระจึงเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นทหารและวิถีความเป็นบูชิโดของญี่ปุ่น ดอกซากูระมีในเกาหลี, สหรัฐ, แคนาดา, จีน หรือที่อื่น ๆ แต่ไม่มีกลิ่น ขณะที่ในญี่ปุ่นนั้นผู้คนจำนวนมากยกย่องชื่นชมกลิ่นซากูระ และมักจะกล่าวฝากไว้ในบทกวี โดยซากูระจะบานในช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนเมษายน ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิ อุณหภูมิเริ่มอุ่นขึ้นจากฤดูหนาวที่หมดไป คำว่า "ซากูระ" ในภาษาญี่ปุ่นนั้นเชื่อกันว่ากร่อนมาจากคำว่า "ซากูยะ" (咲耶; หมายถึง ผลิบาน) อันเป็นชื่อของเทพธิดา "โคโนฮานาซากูยาฮิเม" (木花之開耶姫) ในเทพปกรณัมของญี่ปุ่น มีศาลบูชาของพระองค์อยู่บนยอดเขาฟูจิด้วย สำหรับพระนามของเทพธิดาองค์ดังกล่าวนั้น มีความหมายว่า "เจ้าหญิงดอกไม้บาน" และเนื่องจากซากูระเป็นดอกไม้ที่นิยมกันมากในญี่ปุ่นสมัยนั้น คำว่าดอกไม้ดังกล่าวจึงหมายถึงดอกซากูระนั่นเอง เทพธิดาองค์ดังกล่าวได้รับพระนามเช่นนั้น ก็เพราะมีเรื่องเล่ามาว่าทรงตกจากสวรรค์มาบนต้นซากูระ ดังนั้น ดอกซากูระจึงถือเป็นตัวแทนของดอกไม้ญี่ปุ่น ขณะที่รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศให้ดอกเก๊กฮวย (ดอกเบญจมาศ) เป็นดอกไม้ประจำชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และซากูระ · ดูเพิ่มเติม »

ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ

ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ (transitional fossil) เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่เหลืออยู่ของสิ่งมีชีวิตใดก็ได้ ที่มีลักษณะสืบสายพันธุ์ซึ่งทั้งกลุ่มสิ่งมีชีวิตบรรพบุรุษของมันและกลุ่มลูกหลานของมันมีร่วมกัน ซึ่งเป็นหลักฐานที่สำคัญเป็นเศษ ในกรณีที่กลุ่มลูกหลานมีกายวิภาคและการดำรงชีวิตที่ต่างกันอย่างมากจากกลุ่มบรรพบุรุษ ซากดึกดำบรรพ์เช่นนี้เป็นเครื่องเตือนใจว่า การแบ่งหน่วยอนุกรมวิธานเป็นอะไรที่มนุษย์สร้างขึ้นในภายหลัง แล้วกำหนดใส่สิ่งมีชีวิตที่มีมาก่อนและมีความแตกต่างแบบต่อเนื่อง ปกติจะไม่มีทางรู้ได้ว่า ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพหนึ่ง ๆ อยู่ใกล้จุดที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มต่าง ๆ วิวัฒนาการเบนออกจากกันแค่ไหน เพราะบันทึกซากดึกดำบรรพ์ไม่สมบูรณ์ ดังนั้น จึงไม่สามารถสมมุติได้ว่า สิ่งมีชีวิตช่วงเปลี่ยนสภาพหนึ่งเป็นบรรพบุรุษโดยตรงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตต่อ ๆ มา แม้นักวิทยาศาสตร์อาจจะใช้มันเป็นแบบของบรรพบุรุษ ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต

ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต หรือ ฟอสซิลที่มีชีวิต (Living fossil) หมายถึงสิ่งมีชีวิตใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ ฟังไจ หรือสาหร่าย ที่ยังคงโครงสร้างร่างกายหรือสรีระแบบบรรพบุรุษดั้งเดิมที่เคยมีชีวิตอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้ ซึ่งตรวจสอบได้จากการนำไปเปรียบเทียบกับซากดึกดำบรรพ์ (fossil) หรือมีการเปลี่ยนแปลงไปน้อยมาก จะถูกจัดว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่มีชีวิต โดยบุคคลแรกที่ใช้ศัพท์คำนี้ คือ ชาลส์ ดาร์วิน ที่กล่าวไว้ในหนังสือ The Origin of Species ที่ว่าถึงทฤษฎีวิวัฒนาการของตนเอง ตอนหนึ่งได้พูดถึงตุ่นปากเป็ด และปลาปอดเอาไว้ว่า โดยชนิดของซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุด และมีความฮือฮามากเมื่อถูกค้นพบ คือ ปลาซีลาแคนท์ ที่ถูกค้นพบเมื่อปลายปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาแมนเดอร์ยักษ์

ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ (Giant salamander) เป็นสกุลของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดใหญ่จำพวกซาลาแมนเดอร์ ใช้ชื่อสกุลว่า Andrias ในวงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ (Cryptobranchidae) มีลักษณะเฉพาะ คือ มีช่องเหงือก 1 คู่ ที่ปิด จัดเป็นซาลาแมนเดอร์และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยอาจยาวได้ถึงเกือบ 2 เมตร พบเฉพาะลำธารหรือแหล่งน้ำที่ใสสะอาด มีออกซิเจนละลายในปริมาณที่สูง และมีอุณหภูมิหนาวเย็น ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก 2 ประเทศเท่านั้น คือ จีน และญี่ปุ่น แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และซาลาแมนเดอร์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น

กะโหลกซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น (Japanese giant salamander; オオサンショウウオ, ハンザキ–โอซานโชอูโอ, ฮานซะกิ) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Andrias japonicus จัดอยู่ในวงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ (Cryptobranchidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ซาวลา

ซาวลา หรือ วัวหวูกว่าง (sao la; Vu Quang ox; ลาว: ເສົາຫຼາ, ເສົາຫລາ) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดใหม่ที่เพิ่งค้นพบในปี ค.ศ. 1992 มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudoryx nghetinhensis มีรูปร่างคล้ายแพะผสมกับเลียงผา จัดอยู่ในวงศ์เดียวกับวัว (Bovidae) จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pseudoryx โดยที่ชื่อนี้ (รวมถึงชื่อวิทยาศาสตร์ทั้งหมด) มาจากภาษากรีกแปลว่า "ออริกซ์ปลอมแห่งเหงะติ๋ง" เนื่องจากมีเขาที่ดูคล้ายออริกซ์ แอนทิโลปเขาตรงที่พบในทวีปแอฟริกา โดย "ซาวลา" ซึ่งเป็นชื่อสามัญในภาษาเวียดนาม มาจากภาษาไต แปลว่า "เขาบิดเกลียว" อีกทั้งยังแฝงความหมายว่า "ล้ำค่าดุจเดือนและดาว" และยังได้สมญาว่าเป็น "ยูนิคอร์นแห่งเอเชีย".

ใหม่!!: สปีชีส์และซาวลา · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโบสปอนไดลัส

ซิมโบสปอนไดลัส (Cymbospondylus) อยู่ในยุคไทรแอสสิค (248 - 206 ล้านปีก่อน) เป็นยุคที่ไดโนเสาร์บนผืนแผ่นดินกำลังวิวัฒนาการอยู่แต่ไดโนเสาร์ในยุคนี้ยังมีขนาดเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับไดโนเสาร์ในยุคจูราสสิค และเช่นเดียวกับยุคออร์โดวิเชียน ท้องทะเลในยุคไทรแอสสิกเต็มไปด้วยสัตว์ทะเลและนักล่า นักล่าที่รู้จักกันดีคือ สัตว์เลื้อยคลานอย่างเช่น กิ้งก่า นอโธซอร์ แต่นักล่าที่ร้ายที่สุดในยุคนี้ก็คือ ซิมโบสปอนไดลัส สัตว์ทะเลลำตัวยาว 10 เมตร รูปร่างคล้ายปลาโลมา แต่ไม่มีกระโดงและหางยาว ปลายหางคล้ายหางของปลาไหลทะเล.

ใหม่!!: สปีชีส์และซิมโบสปอนไดลัส · ดูเพิ่มเติม »

ซิจิลมาซาซอรัส

ซิจิลมาซาซอรัส (อังกฤษ; Sigilmassaurus) ถูกค้นพบที่ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศโมร๊อคโค ในปี 1996, เบื้องต้น เนื่องจากค้นพบกระดูกคอและกระดูกสันหลังรวมกันเพียง 6 ชิ้น ทำให้มันถูกจัดไปเป็นสไปโนซอรัสวัยเยาว์แทนหลังการค้นพบไม่นาน แต่แล้วในปี 2016 นี้เอง ซิจิลมาซาซอรัสก็อาจกลับมาเป็นสปีซีย์แยกได้อีกครั้ง เพราะเมื่อเทียบอัตราส่วนกระดูกคอชิ้นแรกที่ติดกับกะโหลกกับกระดูกคอของญาติๆของมัน(บาริโอนิกส์และสไปโนซอรัส) เจ้าของกระดูกคอนี้จะมีกะโหลกยาวไม่เกิน 1.2 เมตร และคอของมันยังสั้นผิดปกติ ต่างไปจากคอของสไปโนซอร์ทั่วๆไปอีกด้วย หมวดหมู่:เทอโรพอด.

ใหม่!!: สปีชีส์และซิจิลมาซาซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึม

DNA molecule 1 differs from DNA molecule 2 at a single base-pair location (a C/T polymorphism). ซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึม (single-nucleotide polymorphism) หรือสนิป (SNP) เป็นการแปรผันของลำดับดีเอ็นเอชนิดหนึ่งซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของนิวคลีโอไทด์หนึ่งตัวในจีโนมทำให้แตกต่างจากจีโนมของสิ่งมีชีวิตอื่นในสปีชีส์เดียวกันหรือต่างจากโครโมโซมอีกแท่งหนึ่งในสิ่งมีชีวิตเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในตำแหน่งเดียวกันจากคนสองคนพบเป็น AAGCCTA และ AAGCTTA มีความแตกต่างที่นิวคลีโอไทด์ตัวหนึ่ง เช่นนี้กล่าวได้ว่า SNP นี้มี 2 อัลลีล โดย SNP ส่วนใหญ่มีเพียง 2 อัลลีลเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึม · ดูเพิ่มเติม »

ซิตตะโกซอรัส

''ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กี'' ซิตตะโกซอรัส (Psittacosaurus) หรือ ไดโนเสาร์ปากนกแก้ว มีชีวิตอยู่ในยุคครีเตเชียสตอนต้น พบได้ในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป เป็นสัตว์กินพืช 2 เท้าที่มีขนาดเล็ก เพราะมีความ ยาวลำตัวเพียง 2 เมตร กะโหลกศีรษะแคบ กระดูกแก้มมีลักษณะคล้ายเขา ตาและรูจมูกอยู่ค่อน ข้างสูง จะงอยปากมีลักษณะงองุ้มคล้ายปากของนกแก้ว จึงทำให้มันได้ชื่อว่า "ไดโนเสาร์นกแก้ว" หน้าตาของมันไม่ค่อยดุร้ายเหมือนไดโนเสาร์ตัวอื่น ๆ ในตระกูลเดียวกัน ในภายหลัง ได้มีการค้นพบไดโนเสาร์ปากนกแก้วชนิดใหม่ ที่หมวดหินโคกกรวด อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งเป็นการค้นพบซากฟอสซิลไดโนเสาร์ปากนกแก้วครั้งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงได้มีการตั้งชื่อให้กับไดโนเสาร์ปากนกแก้วชนิดใหม่นี้ว่า "ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กี" เพื่อเป็นเกียรติแด่นเรศ สัตยารักษ์ ซึ่งเป็นผู้ค้นพบซากฟอสซิลดังกล่าว.

ใหม่!!: สปีชีส์และซิตตะโกซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ซิโนซอรอปเทอริกซ์

ซิโนซอรอปเทอริกซ์ (Sinosauropteryx) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดชนิดหนึ่ง มีชีวิตอยู่เมื่อ 120 ล้านปีก่อน ไดโนเสาร์ชนิดนี้ผู้เชี่ยวชาญหลายคนคิดว่าเป็นตัวเชื่อมระหว่างไดโนเสาร์กับนก มันเป็นหนึ่งในพวกเทอโรพอดที่มีขน แต่ขนของมันยังไม่ค่อยเหมือนนกยังเป็นคนที่ใช้สำหรับให้ความอบอุ่นหรือขนอ่อน ตอนที่ฟอสซิลของมันค้นพบลักษณะของมันอยู่ในท่าคดตัวเหมือนกำลังบิน เทอโรพอดชนิดนี้มีลักษณะเด่นคือมีหางที่ยาวออกมา ซึ่งคาดว่าน่าจะมีไว้ถ่วงลำตัว ชื่อของมันมีความหมายว่าบิดานกแห่งจีน ฟอสซิลของมันค้นพบครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และซิโนซอรอปเทอริกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซูโคไมมัส

ซูโคไมมัส เป็นไดโนเสาร์ที่อยู่ในสกุล สไปโนซอร์ ที่อาศัยอยู่ในแอฟริกา ประเทศอียิปต์,ไนเจอร์ Suchomimus มีปากที่มีความยาวต่ำและแคบเป็นจะงอย ฟันคมมาก และโค้งย้อนหลัง ออกหาอาหารบริเวณริมแม่น้ำ อาหารหลักของมันคือปลา และสัตว์น้ำในยุคดึกดำบรรณ์ Suchomimus มีความยาว 11 เมตร หนักประมาณ 2.9-4.8 ตัน อาศัยอยู่ในยุคครีเทเซียสตอนต้นเมื่อประมาณ 112 ล้านปีก่อน มันมีศัตรูขู้แข่งตามธรรมชาติที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกันอย่าง จระเข้ยักษ์ ซาร์โคซูคัส (Sarcosuchus) ที่อาศัยอยู่ริมน้ำและจะคอยดักซุ่มโจมตีเหยื่ออยู่ในน้ำ Suchomimus มีญาติไกล้ชิดอย่าง สไปโนซอรัส ที่มีความยาว 15 เมตร กับ อิริอาเตอร์ (อังกฤษ: Irritator) ยาว 8 เมตร (26ฟุต) ที่มีลักษณะรูปร่างและการดำรงชีวิตคล้ายกันแต่มีขนาดเล็กกว่า หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และซูโคไมมัส · ดูเพิ่มเติม »

ซีกสมอง

ซีกสมอง หรือ ซีกสมองใหญ่' (cerebral hemisphere, hemispherium cerebri) เป็นคู่ของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ที่แยกออกจากกันโดยระนาบแบ่งซ้ายขวา คือ medial longitudinal fissure (ช่องตามยาวแนวกลาง) ดังนั้น จึงพรรณนาสมองได้ว่าแบ่งออกเป็นสมองซีกซ้าย (left cerebral hemisphere) และสมองซีกขวา (right cerebral hemisphere) สมองแต่ละซีกมีชั้นด้านนอกเป็นเนื้อเทาที่เรียกว่าเปลือกสมอง (cerebral cortex) มีชั้นด้านในเป็นเนื้อขาวที่พยุงรับชั้นด้านนอก.

ใหม่!!: สปีชีส์และซีกสมอง · ดูเพิ่มเติม »

ซีโลไฟซิส

ซีโลไฟซิส (Coelophysis) เป็นไดโนเสาร์มีความสามารถในการวิ่งอย่างรวดเร็ว เพราะกระดูกของซีโลไฟซิสนั้นกลวง ซีโลไฟซิสยาวประมาณ 3.2 เมตร อาหารของพวกซีโลไฟซิสคือซากสัตว์ที่ตายแล้ว กิ้งก่า และแมลง แต่บางครั้งเมื่อหน้าแล้งมาถึงซึ่งเป็นช่วงหาอาหารลำบาก ซีโลไฟซิสจึงกินพวกเดียวกันด้วย ฟอสซิลของซีโลไฟซิสพบที่รัฐนิวเม็กซิโก ซีโลไฟซิสอยู่ในยุคไทรแอสซิกตอนปลาย เคยมีการพบฟอสซิลของซีโลไฟซิส 1,000 ตัวที่ทุ่งปีศาจ จึงกล่าวว่าซีโลไฟซิสอาจจะอยู่เป็นฝูง แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนค้านว่าซีโลไฟซิสไมได้อยู่เป็นฝูง เพียงแต่ตายในที่เดียวกันเท่านั้น หมวดหมู่:ไดโนเสาร์.

ใหม่!!: สปีชีส์และซีโลไฟซิส · ดูเพิ่มเติม »

ประชากร

ประชากร หมายถึง หมู่คนหรือสิ่งมีชีวิตสปีชีส์หนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เดียวกัน ในระยะเวลาเดียวกัน วิชาพลศาสตร์ประชากร ศึกษาโครงสร้างประชากรทั้งในแง่ของขนาด อายุ และเพศ รวมถึงภาวะการตาย พฤติกรรมการสืบพันธุ์ และการเพิ่มของประชากร ประชากรศาสตร์ ศึกษาพลศาสตร์ประชากรของมนุษย์ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาประชากรในด้านสังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ประชากรนั้นต้องถือสัญชาติในรัฐที่ตนอยู่ แตกต่างจากบุคคลที่อยู่ภายใต้อำนาจรัฐ เช่น คนที่มาเปลี่ยนเที่ยวบินที่ประเทศไทย และ ต้องมีสิทธิพิเศษเหนือประชากรที่มาจากรัฐอื่น หากอยู่ในดินแดนของรัฐนั้น ตามสายโลหิต หรือตามสิทธิที่จะได้รับตามรัฐธรรมนูญ ความหนาแน่นประชากร คือ จำนวนคนหรือสิ่งมีชีวิตต่อหน่วยพื้นที่ พื้นที่ใดมีความหนาแน่นประชากรสูง แสดงว่ามีจำนวนประชากรมาก หมวดหมู่:สังคม * หมวดหมู่:ประชากร id:Penduduk#Penduduk dunia.

ใหม่!!: สปีชีส์และประชากร · ดูเพิ่มเติม »

ประสาทสัมผัส

ประสาทสัมผัส (Sense)"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" ให้ความหมายของ sense ว่า ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้, ประสาทสัมผัส เป็นสมรรถภาพในสรีระของสิ่งมีชีวิตที่ให้ข้อมูลเพื่อให้เกิดการรับรู้ (perception) มีการศึกษาประเด็นเกี่ยวกับการทำงาน การจำแนกประเภท และทฤษฎีของประสาทสัมผัส ในวิชาหลายสาขา โดยเฉพาะในวิทยาศาสตร์ประสาท จิตวิทยาปริชาน (หรือประชานศาสตร์) และปรัชญาแห่งการรับรู้ (philosophy of perception) ระบบประสาทของสัตว์นั้นมีระบบรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับความรู้สึก สำหรับความรู้สึกแต่ละอย่าง มนุษย์เองก็มีประสาทสัมผัสหลายอย่าง การเห็น การได้ยิน การลิ้มรส การได้กลิ่น การถูกต้องสัมผัส เป็นประสาทสัมผัสห้าทางที่รู้จักกันมาตั้งแต่โบราณ แต่ว่า ความสามารถในการตรวจจับตัวกระตุ้นอื่น ๆ นอกเหนือจากนั้นก็ยังมีอยู่ รวมทั้ง อุณหภูมิ ความรู้สึกเกี่ยวกับเคลื่อนไหว (proprioception) ความเจ็บปวด (nociception) ความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัว และความรู้สึกเกี่ยวกับตัวกระตุ้นภายในต่าง ๆ (เช่นมีเซลล์รับความรู้สึกเชิงเคมี คือ chemoreceptor ที่ตรวจจับระดับความเข้มข้นของเกลือและคาร์บอนไดออกไซด์ ที่อยู่ในเลือด) และความสามารถต่าง ๆ เหล่านี้สามารถเรียกว่าเป็นประสาทสัมผัสโดยต่างหากได้เพียงไม่กี่อย่าง เพราะว่า ประเด็นว่า อะไรเรียกว่า ประสาทสัมผัส (sense) ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ทำให้ยากที่จะนิยามความหมายของคำว่า ประสาทสัมผัส อย่างแม่นยำ สัตว์ต่าง ๆ มีตัวรับความรู้สึกเพื่อที่จะสัมผัสโลกรอบ ๆ ตัว มีระดับความสามารถที่ต่าง ๆ กันไปแล้วแต่สปีชีส์ เมื่อเทียบกันแล้ว มนุษย์มีประสาทสัมผัสทางจมูกที่ไม่ดี และสัตว์เหล่าอื่นก็อาจจะไม่มีประสาทสัมผัส 5 ทางที่กล่าวถึงไปแล้วอย่างใดอย่างหนึ่ง สัตว์บางอย่างอาจจะรับข้อมูลเกี่ยวกับตัวกระตุ้นและแปลผลข้อมูลเหล่านั้นต่างไปจากมนุษย์ และสัตว์บางชนิดก็สามารถสัมผัสโลกโดยวิธีที่มนุษย์ไม่สามารถ เช่นมีสัตว์บางชนิดสามารถสัมผัสสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก สามารถสัมผัสแรงดันน้ำและกระแสน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และประสาทสัมผัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโอน (สกุล)

ปลาชะโอน หรือ ปลาสยุมพร เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Ompok (/ออม-พ็อก/) มีลักษณะสำคัญคือ นัยน์ตามีเยื่อใส ๆ คลุม โดยที่เยื่อนี้ติดกับขอบตา ปากแคบและเฉียงขึ้นด้านบน มุมปากยื่นไม่ถึงนัยน์ตา ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 3-4 ก้าน มีหนวด 2 คู่ ที่ริมปากบน 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ ฟันที่กระดูกเพดาปากชิ้นล่างมีสองกลุ่มแยกจากกันเห็นได้ชัด ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 7-8 ก้าน พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำของอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาชะโอน (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโอนหิน

ปลาชะโอนหิน (Leaf catfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Silurichthys (/ไซ-เลอร์-อิค-ธีส/) มีลักษณะสำคัญ คือ นัยน์ตามีเยื่อเหมือนวุ้นคลุม ปลายของครีบหางแยกเป็นสองแฉกและยาวไม่เท่ากัน ครีบก้นยาวและติดต่อรวมกันกับครีบหาง ครีบหลังอยู่หน้าครีบท้อง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 7 ก้าน ฟันที่เพดานปากชิ้นกลางมีขนาดเล็กอยู่รวมกันเป็นกลุ่มกลม มีหนวดค่อนข้างยาว 2 คู่ ที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ มีสีลำตัวคล้ำ มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 14-15 เซนติเมตร พบในทวีปเอเชีย ในลำธารน้ำตกหรือพื้นที่ป่าพร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาชะโอนหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโอนถ้ำ

ปลาชะโอนถ้ำ หรือ ปลาชะโอนถ้ำวังบาดาล (Cave sheatfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) เป็นปลาที่มีถิ่นอาศัยเพียงถิ่นเดียว มีลำตัวสีขาวเผือกอมเหลืองทั้งตัวคล้ายภาวะผิวเผือก ตามีขนาดเล็กมากและเป็นสีแดง โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มที่พบในถ้ำวังบาดาล ภายในอุทยานแห่งชาติเอราวัณ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งปลากลุ่มนี้จะมีลักษณะดังที่กล่าวข้างต้น และกลุ่มที่อยู่นอกถ้ำหรือพบในถ้ำอื่น จะมีลำตัวสีเทาอมน้ำตาลเท่านั้น มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ในถ้ำวังบาดาล ในอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งลักษณะของปากถ้ำเป็นช่องเขาขนาดเล็กบนเขา และวนลึกลงไปจนถึงระดับน้ำด้านล่าง ซึ่งเป็นแอ่งน้ำขนาดพื้นที่เท่าสนามเทนนิส ซึ่งคิดเป็นเพียงพื้นที่ไม่กี่ตารางเมตรเท่านั้น ปัจจุบัน ปลาชะโอนถ้ำ ถูกจำนวนลงมากสัมพันธ์กับปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ก้นถ้ำเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก จนไม่พอสำหรับมนุษย์ที่จะหายใจ ในปี พ.ศ. 2543 มีนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันได้เข้าไปสำรวจ และจับปลาได้เพียงไม่กี่ตัวเท่านั้น จากนั้นในปี พ.ศ. 2545 ได้มีคณะสำรวจชาวไทยเข้าไปสำรวจและจับปลามาได้ราว 10 ตัว จากนั้นก็ไม่เคยมีใครพบกับปลาชะโอนถ้ำนี้อีกเลย แม้จะมีความพยายามอื่นจากหลายคณะก็ตาม และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทสัตว์น้ำตามประกาศของกรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พื..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาชะโอนถ้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโดอินเดีย

ปลาชะโดอินเดีย (Malabar snakehead) ปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) ปลาชะโดอินเดีย มีลักษณะคล้ายกับปลาชะโด (C. micropeltes) ที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ โดยถูกค้นพบครั้งแรกและอนุกรมวิธานโดย ฟรานซิส เดย์ นักมีนวิทยาชาวอังกฤษ เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาชะโดอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบิทเทอร์ลิ่ง

ปลาบิทเทอร์ลิ่ง (Bitterlings) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในสกุล Rhodeus (/โร-ดี-อัส/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ในวงศ์ย่อย Acheilognathinae เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก โดยคำว่า Rhodeus ที่ใช้เป็นชื่อวิทยาศาสตร์เป็นภาษากรีก หมายถึง "ดอกกุหลาบ" เนื่องจากส่วนใหญ่มีลำตัวสีแดงหรือชมพูเหมือนสีกลีบกุหลาบ โดยเฉพาะช่วงโคนหางและช่วงท้องในปลาตัวผู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูการวางไข่เพื่อดึงดูดใจปลาตัวเมีย พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดในแหล่งน้ำที่มีสภาพเย็นตั้งแต่แม่น้ำเนวาในรัสเซีย, แม่น้ำโรนในฝรั่งเศส และหลายแม่น้ำในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยพบกระจายพันธุ์ในภาคพื้นยุโรปเพียงแค่ 2 ชนิดหน้า 82-86, Rosy Bitterling "ลูกน้อย (ใน) หอยกาบ" โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบิทเทอร์ลิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบึก (สกุล)

ปลาบึก เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืด ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pangasianodon (/แพน-กา-เซีย-โน-ดอน/).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบึก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่กลับหัว

ปลาบู่กลับหัว (Duckbill sleeper, Crazy fish, Upside down sleeper) เป็นปลากระดูกแข็งขนาดกลางชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ทราย (Eleotridae) มีส่วนใบหน้าแหลมยาว และไม่มีลายแถบตามยาวลำตัว ลำตัวสีน้ำตาลเข้มตลอดทั้งตัว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 12 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีพฤติกรรมหาอาหารโดยลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ ในระดับกลางน้ำ เพื่อรองับเหยื่อ ซึ่งได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ โดยการเอาหัวทิ่มลงตั้งฉากกับพื้น หรือลอยกลับหัว อันเป็นที่มาของชื่อเรียก พบกระจายพันธุ์ตามแหล่งน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำ พบกระจายพันธุ์กว้างขวางตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทวีปเอเชียจนถึงญี่ปุ่น และออสเตรเลียทางตอนเหนือ เป็นปลาที่นิยมนำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเป็นปลาที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในที่เลี้ยงได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่กลับหัว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่กล้วย

ปลาบู่กล้วย หรือ ปลาบู่จุด (Knight goby, Spotted goby) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stigmatogobius sadanundio ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) มีลักษณะลำตัวค่อนข้างกลม หางแบน หัวโต นัยน์ตามีขนาดใหญ่ ลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง ลำตัวมีจุดแต้มสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม มีลักษณะเด่น คือ มีจุดประสีเข้มขนาดเล็กกระจายอย่างไม่เป็นระเบียบทั่วทั้งลำตัว ครีบหลังยาวแบ่งเป็นสองตอน ตอนหน้าเป็นเส้นยาว ตอนหลังแผ่กางมีจุดประสีดำกระจายทั่วอย่างเป็นระเบียบ ครีบหางใหญ่ปลายมนมีจุดประสีเข้มกระจายทั่ว ครีบท้องมีจุดประ ครีบอกใส ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งทะเลของมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า ไปจนถึงอินโดนีเซียและสิงคโปร์ สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดสนิทได้ มีอุปนิสัยอยู่อยู่รวมกันเป็นฝูงตามชายทะเลหรือชะวากทะเล ในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ชายทะเลฝั่งอ่าวไทยตั้งแต่จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นต้นไป นับเป็นปลาสวยงามชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันในตู้ปลา โดยเฉพาะกับตู้ที่ปลูกพืชไม้น้ำไว้ โดยปลาจะมีพฤติกรรมนอนนิ่ง ๆ กับพ้น ในบางครั้งจะแผ่ครีบกางออกอวดสีสันสวยงามแต่ทว่าเมื่อเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นแล้วจะมีนิสัยดุร้ายมาก จะไล่กัดปลาชนิดอื่นและกินปลาขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร หากเลี้ยงรวมควรเลี้ยงรวมกับปลาบู่กล้วยด้วยกันเอง ซึ่งจากพฤติกรรมดัวกล่าวนี้เองทำให้ได้อีกชื่อเรียกหนึ่งว่า "ปลากัดทะเล".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่กล้วย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่กล้วย (สกุล)

ปลาบู่กล้วย (Spotted goby, Knight goby) เป็นสกุลของปลาขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Stigmatogobius (/สติก-มา-โท-โก-เบียส/) เป็นปลาบู่ขนาดเล็ก มีขนาดความยาวเต็มที่ไม่เกิน 6 เซนติเมตร มีลำตัวทรงกระบอก หัวมีขนาดใหญ่ มีเกล็ดตามแนวลำตัว 24-36 แถว ครีบหางกลม เกล็ดที่แนวสันหลังยื่นเข้ามาอยู่ระหว่างนัยน์ตา บนกระดูกแก้มมีเกล็ดปกคลุม จัดเป็นปลาทะเลที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งที่ติดต่อกับน้ำจืด เช่น ป่าชายเลน, ชะวากทะเล หรือบางครั้งพบในแอ่งน้ำขังชั่วคราวในช่วงน้ำขึ้นน้ำลง สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดสนิทได้ เป็นปลาที่มีความสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่มีพฤติกรรมลอยตัวหากินอยู่บริเวณกลางน้ำถึงผิวน้ำ พบมากในถิ่นที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม พบในประเทศไทย 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่กล้วย (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่มหิดล

ปลาบู่มหิดล เป็นปลาบู่ที่พบในประเทศไทยเป็นครั้งแรก ที่อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2475 โดย ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่มหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่หมาจู

ปลาบู่หมาจู หรือ ปลาหมาจู (Bumblebee goby) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในสกุล Brachygobius (/บรา-ชี่-โก-บิ-อัส/) ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) มีลักษณะโดยรวม เป็นปลาที่มีขนาดเล็กมาก กล่าวคือ มีขนาดโดยเฉลี่ยราว 4-5 เซนติเมตร มีลำตัวเป็นทรงกระบอกคล้ายไม้เบสบอล หัวโต ตาโต ปากกว้าง มีอวัยวะพิเศษคือ มีครีบหนามอยู่ด้านหน้าครีบหลัง และมีการพัฒนาครีบหน้าไปเป็นอวัยวะที่มีรูปร่างคล้ายถ้วย ใช้สำหรับยึดเกาะกับวัตถุต่าง ๆ ใต้น้ำได้เป็นอย่างดี ไม่มีเส้นข้างลำตัว มีสีสันลำตัวเป็นสีเหลืองสลับดำหรือน้ำตาลเข้ม ครีบทุกครีบใสโปร่งแสง มีนิสัยชอบอยู่เป็นฝูง เป็นปลารักสงบ แต่ทว่ามีความก้าวร้าวกันในฝูงพอสมควร โดยจะหวงอาณาเขตตัวเองต่อเฉพาะปลาบู่ด้วยกัน กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็ก ปลาตัวผู้มีสีสันที่สดใสกว่า ส่วนตัวเมียจะมีขนาดลำตัวใหญ่กว่า วางไข่ประมาณ 150-200 ฟอง ภายในวัตถุต่าง ๆ ในน้ำ เช่น ขอนไม้, เปลือกหอย, หิน ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 4-5 วัน โดยที่ปลาตัวผู้จะเป็นผู้ดูแล พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย พบได้ในแม้กระทั่งร่องน้ำในสวนผลไม้ที่มีน้ำกร่อยไหลเข้ามาและแม่น้ำขนาดใหญ่ อย่าง แม่น้ำโขง มีทั้งหมด 9 ชนิด (บางข้อมูลแบ่งเป็น 8 ชนิด) พบในประเทศไทยราว 5 ชนิด เป็นปลาขนาดเล็กที่มีความสวยงามน่ารักจำพวกหนึ่ง จึงนิยมนำมาเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่หมาจู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่หมาจูแม่น้ำโขง

ปลาบู่หมาจูแม่น้ำโขง หรือ ปลาบู่แคระครีบแดง (Mekong bumblebee goby) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brachygobius mekongensis อยู่ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) สกุลปลาบู่หมาจู เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก มีความยาวเพียง 1-2 เซนติเมตร เท่านั้น มีลักษณะลำตัวสั้น หัวกลมมน ปากเล็ก ตาโต เกล็ดเล็ก ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนใส มีลายพาดยาวถึงโคนครีบหางประมาณ 4-5 แถบ ครีบใส ครีบหลังอันแรกมีสีคล้ำที่ขอบหน้า โคนครีบหลังและครีบหางมีสีแดงเรื่อ ๆ กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร วางไข่โดยที่ตัวผู้เป็นผู้ดูแล เป็นปลาที่พบได้เฉพาะลุ่มแม่น้ำโขงทางภาคอีสานของไทยเท่านั้น โดยอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำนิ่งที่มีคุณภาพน้ำดีมีพืชน้ำหนาแน่น ปลาบู่หมาจูแม่น้ำโขงถือเป็นปลาเฉพาะถิ่น เพิ่งค้นพบในปี พ.ศ. 2543 นี่เองตามรายงานของกองทุนสัตว์ป่าโลก สำนักงานประเทศไทย พร้อมกับปลาน้ำจืดชนิดใหม่ ๆ ของโลกอีกหลายชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่หมาจูแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่หิน

ปลาบู่หิน เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งสกุล Glossogobius ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) พบกระจายพันธุ์ในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาจนถึงชายฝั่งแปซิฟิกตะวันตก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่หิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่จาก

ำหรับปลาบู่จากชนิดอื่น ดูที่ ปลาบู่จักรพรรดิ์ ปลาบู่จาก (Flathead gudgeon) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Butis (/บู-ติส/) อยู่ในวงศ์ปลาบู่ทราย (Eleotridae) จัดเป็นปลาบู่ขนาดกลาง มีส่วนหัวและปลายปากที่แบนราบ พบอาศัยในแหล่งน้ำกร่อยถึงจืดสนิท เป็นปลาล่าเหยื่อแบบซุ่มโจมตี โดยใช้ลำตัวแปะแนบไปกับวัสดุใต้น้ำ มีพฤติกรรมชอบว่ายกลับหัวหรือใช้ท้องแปะซุ่มอยู่ใต้วัสดุใต้น้ำ พบมากในถิ่นอาศัยที่เหมาะสม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ชายฝั่งทวีปแอฟริกา, เอเชีย จนถึงออสเตรเลียตอนเหนือ พบในประเทศไทยอย่างน้อย 3 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่จาก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่ทราย (สกุล)

ปลาบู่ทราย (Sleepy Goby, Gudgeon) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดและปลาน้ำกร่อย ในวงศ์ปลาบู่ทราย (Eleotridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Oxyeleotris (/อ็อก-ซี-ลี-โอ-ทริส/) มีลักษณะสำคัญ คือ มีขอบกระดูกแก้มชิ้นหน้าเรียบ เกล็ดบนลำตัวด้านหน้าเป็นแบบบางเรียบ ส่วนเกล็ดด้านท้ายลำตัวเป็นแบบสาก กระดูกหัวระหว่างลูกนัยน์ตาเรียบ ลำตัวป้อมสั้น จำนวนแถวของเกล็ดบนเส้นข้างลำตัว 60 แถว หรือมากกว่า ฟันในปากแถวนอกมีขนาดใหญ่กว่าแถวใน พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำทั่วไปของทวีปเอเชียจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่ทราย (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่เกาะสุรินทร์

ปลาบู่เกาะสุรินทร์ หรือ ปลาบู่ปาปัวนิวกินี (Aporos sleeper, Ornate sleeper, Snakehead gudgeon, Mud gudgeon) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาบู่ทราย (Eleotridae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Giuris มีรูปร่างคล้ายปลาบู่ทั่วไปผสมกับปลาช่อน คือ มีส่วนหัวใหญ่และกลมมน เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมากชนิดหนึ่ง ลำตัวเป็นสีเหลืองอมส้ม มีจุดประสีส้มและสีฟ้าอมน้ำเงิน ที่แก้มและคางมีสีส้มสด ครีบต่าง ๆ เป็นสีฟ้าหรือน้ำเงินแลดูสวยงาม มีขนาดความยาวเต็มที่ 40 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 20-25 เซนติเมตร ตัวผู้มีครีบและมีสีสดสวยกว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นปลาที่พบแพร่กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบในลำธารหรือบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยติดกับทะเล ตั้งแต่ชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียจากแอฟริกาตอนใต้ถึงอินโดนีเซีย รวมถึงหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก เช่น ปาปัวนิวกินี, เมลานีเซีย, ปาเลา, เกาะเซเลบีส, เกาะโอกินาวา ไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยพบเพียงที่เดียว คือ ในลำธารที่หมู่เกาะสุรินทร์ ในเขตทะเลอันดามัน เป็นปลาที่กินสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ รวมถึงแมลงน้ำ เป็นอาหาร ฟักไข่และวัยอ่อนเจริญเติบโตในทะเล ก่อนจะอพยพเข้าสู่น้ำจืดหรือน้ำกร่อยเมื่อเจริญวัยขึ้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ถือเป็นปลาที่มีความสวยงาม เลี้ยงได้ง่าย เนื่องจากอุปนิสัยที่ไม่หลบซ่อนตัว และไม่ดุร้ายก้าวร้าวต่อปลาอื่นในที่เลี้ยง อีกทั้งยังกินอาหารสำเร็จรูปได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่เกาะสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่เหลือง

ปลาบู่เหลือง (Yellow prawn-goby, Watchman goby) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) เป็นปลาบู่ที่มีพฤติกรรมอยู่ตามโพรงตามพื้นทรายใต้ทะเล โดยอาศัยอยู่ร่วมกับกุ้งดีดขันลายเสือ (Alpheus bellulus) ซึ่งเป็นกุ้งที่มีสายตาที่ไม่ดีนักจึงอาศัยปลาบู่เหลืองทำหน้าที่เฝ้าระวังภัยให้ โดยทั้งคู่จะหากินอยู่เฉพาะบริเวณปากโพรง เมื่อไหร่ที่ถูกคุกคาม ปลาบู่เหลืองจะใช้หางโบกสะบัดเพื่อเป็นการเตือนกุ้งให้รู้ และทั้งคู่จะมุดลงโพรงพร้อม ๆ กัน และปลาก็ได้รับประโยชน์จากกุ้ง โดยกุ้งจะทำหน้าที่ขุดโพรงและดูแลโพรงให้เป็นที่อยู่อาศัยและหลบภัย เป็นปลาที่มีสีเหลืองสดใส มีจุดเล็ก ๆ สีฟ้ากระจายทั่วไปบริเวณครีบหลัง ลำตัวส่วนแรกและส่วนหัว เป็นปลาขนาดเล็กมีขนาดความยาวไม่เกิน 7-8 เซนติเมตร มีพฤติกรรมการกินอาหารด้วยการอมทรายและพ่นออกมา พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในแถบอินโด-แปซิฟิก เป็นปลาที่มีความสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ด้วยพฤติกรรมการกินอาหารเสมือนทำความสะอาดตู้เลี้ยงให้สะอาดตลอดเวลาด้วย ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยไม่สามารถสังเกตเพศได้จากลักษณะภายนอก แต่พฤติกรรมปลาตัวผู้เมื่ออยู่รวมกันหลายตัว จะเป็นฝ่ายไล่ตัวอื่น โดยปลาจะผสมพันธุ์กันในเวลาเย็น แม่ปลาจะวางไข่ที่มีลักษณะเป็นพวงติดกับผนังด้านบนของโพรงที่อยู่อาศัย แล้วปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าไปผสม จากนั้นปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายดูแลไข่เป็นหลัก ลูกปลาใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 4 วัน หลังจากที่ไข่ได้รับการผสม อัตราในการฟักอยู่ที่ประมาณ 1,000-2,000 ตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบู่เหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อน

ปลาช่อน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีส่วนหัวค่อนข้างโต รูปร่างทรงกระบอกยาว ครีบหางเรียวปลายมน ปากกว้าง ภายในปากมีฟันเขี้ยวบนเพดาน ลำตัวสีคล้ำอมมะกอกหรือน้ำตาลอ่อน มีลายเส้นทแยงสีคล้ำตลอดทั้งลำตัว 6-7 เส้น ด้านท้องสีจางตัดกับด้านบน ครีบสีคล้ำมีขอบสีเหลืองอ่อน ครีบท้องจาง มีขนาดลำตัวประมาณ 30-40 เซนติเมตร ใหญ่สุดได้ถึง 1 เมตร โดยปลาช่อนชนิดนี้มีความพิเศษไปกว่าปลาช่อนชนิดอื่น ๆ คือ สามารถแถกไถตัวคืบคลานไปบนบกเพื่อหาที่อยู่ใหม่ได้ รวมทั้งสามารถหลบอยู่ใต้ดินในฤดูฝนแล้งเพื่อรอฝนมาได้เป็นแรมเดือน โดยสะสมพลังงานและไขมันไว้ ที่เรียกว่า "ปลาช่อนจำศีล" พบอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำทั่วประเทศไทย พบไปจนถึงเอเชียใต้, พม่าและอินโดนีเซีย นิยมนำมาบริโภค ปรุงเป็นอาหารได้หลากหลายทั้งสดและตากแห้ง เป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจที่สำคัญจนอาจเรียกได้ว่าเป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจอันดับหนึ่ง เลี้ยงได้ทั้งในบ่อและกระชังตามริมแม่น้ำ นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย โดยเฉพาะตัวที่สีกลายเป็นสีเผือกหรือปลาที่พิการตัวสั้นกว่าปกติ ปลาช่อนในบางพื้นที่ เช่น ที่จังหวัดสิงห์บุรี ขึ้นชื่อมาก เรียกกันว่า "ปลาช่อนแม่ลา" มีประเพณีพื้นถิ่นคือเทศกาลกินปลา โดยลักษณะเฉพาะของปลาช่อนแม่ลา คือ มีครีบหูหรือครีบอกสีชมพู ส่วนหางจะมีลักษณะมนเหมือนใบพัด ลำตัวอ้วน แต่หัวหลิม ไม่เหมือนปลาช่อนทั่วไป โดยเป็นปลาช่อนที่อาศัยอยู่ในแม่น้ำลา อยู่ระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำน้อย ในเขตจังหวัดสิงห์บุรี เป็นแหล่งน้ำที่น้ำนิ่ง มีความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารตามธรรมชาติ ใต้ท้องน้ำปกคลุมไปด้วยพืชน้ำและวัชพืช ทำให้น้ำเย็น ดินก้นลำน้ำยังเป็นโคลนตมที่มีอินทรียวัตถุ แร่ธาตุที่ไหลมารวมกัน สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ทำให้ปลาช่อนแม่ลาถึงมีรสชาติดีกว่าปลาช่อนที่อื่น ๆ ซึ่งปัจจุบันด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป มีการสร้างเขื่อนและประตูเปิด-ปิดน้ำ ทำให้แม่น้ำลาตื้นเขิน ปลาช่อนแม่ลาที่เคยขึ้นชื่อใกล้จะสูญพันธุ์ แต่ปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว และมีการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติเพื่อเป็นการอนุรักษ์ ปลาช่อน มีชื่อเรียกตามภาษาถิ่นในแต่ละภาคว่า "ปลาหลิม" ในภาษาเหนือ "ปลาค้อ" หรือ "ปลาก๊วน" ในภาษาอีสาน เป็นต้น และเมื่อไม่นานมานี้มีการค้นพบว่าเนื้อปลาช่อนมีสารที่เป็นส่วนหนึ่งของคอลลาเจน มีฤทธิในการห้ามเลือดและระงับความเจ็บปวดได้คล้ายมอร์ฟีน จึงเหมาะอย่างยิ่งแก่การปรุงเป็นอาหารของผู้ป่วยหรือผู้ที่เพิ่งได้รับการผ่าตัด นอกจากนี้แล้วในหลายพื้นที่ของไทย เช่น อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์, อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา รวมถึงในพื้นที่ตำบลหัวดวง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร และอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีความเชื่อของผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นั้นว่า ปลาช่อนสามารถขอฝนได้ โดยต้องทำตามพิธีตามแบบแผนโบราณ ซึ่งจะกระทำกันในช่วงเกิดภาวะแห้งแล้ง ด้วยการเจริญพระพุทธมนต์ของพระสงฆ์เบื้องหน้าองค์พระประธาน และมีการโยงสายสิญจน์กับอ่างที่มีปลาช่อน 9 ตัว และสวดคาถาปลาช่อน เชื่อกันว่าระหว่างทำพิธี หากปลาช่อนดิ้นกระโดดขึ้นมา เป็นสัญญาณว่าฝนจะตกลงมาในเร็ววันนี้ นอกจากนี้แล้ว ที่อินเดียก็มีความเชื่อและพิธีกรรมที่คล้ายคลึงแบบนี้เหมือนกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนบาร์กา

ปลาช่อนบาร์กา (Barca snakehead) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa barca ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีความยาวเต็มที่ประมาณ 90 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมาก โดยมีสีเขียวและเหลืองประกอบกับจุดสีดำและแดงกระจายทั่วบริเวณส่วนหัว, ลำตัว และครีบ ส่วนหัวมีขนาดโตและปากกว้างมาก จนได้ชื่อว่าเป็นปลาช่อนที่มีความสวยงามที่สุดในโลก มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำพรหมบุตรและแม่น้ำคงคาในรัฐอัสสัมและรัฐเบงกอลตะวันตก ในประเทศอินเดีย และบางส่วนของบังกลาเทศเท่านั้น ปลาช่อนบาร์กา เป็นที่รู้จักครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1822 โดย ฟรานซิส บูชาแนน แฮมิลตัน ซึ่งเป็นนายแพทย์และนักชีววิทยาประจำกองทัพจักรวรรดิอังกฤษที่ปกครองอินเดียอยู่ ได้ศึกษาธรรมชาติในรัฐเบงกอลและได้ค้นพบปลาน้ำจืดชนิดใหม่ ๆ ได้ถึง 100 ชนิด หนึ่งในนั้นคือ ปลาช่อนชนิดนี้ พร้อมกับได้เขียนภาพประกอบไว้ โดยได้ตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ An account of the fishes found in the river Ganges and its branches โดยบรรยายไว้เกี่ยวกับปลาช่อนบาร์กาว่า ความยาวเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร และทำรังโดยขุดรูขึ้นบริเวณริมฝั่งโผล่และเฉพาะส่วนหัวออกมาเพื่อหาอาหาร เพศของปลาชนิดนี้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับสีแต่ขึ้นอยู่กับรูปร่างครีบปลาลำตัว แต่ในปลาตัวผู้นั้นจะมีครีบหลัง ครีบอก ครีบก้นที่ใหญ่กว่าตัวเมียและลำตัวผอมยาวอย่างเห็นได้ชัดแต่ตัวเมียนั้นมีครีบที่เล็กกว่าอย่างเห็นได้ชัด และในตัวเมียมีลำตัวมีลักษณะข้อนข้างป้อมสั้นกว่าตัวผู้ส่วนเรื่องสีของปลาชนิดนี้ก็จะขึ้นอยู่กับค่าน้ำสภาพแวดล้อม และอื่นๆ ปลาช่อนบาร์กา จัดไว้เป็นหนึ่งในปลาช่อนที่หายากที่สุดในโลก จากคุณสมบัติทั้งหมดดังกล่าว ทำให้เป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพงมากชนิดหนึ่ง และสำหรับในประเทศไทยเป็นปลาที่มีการนำเข้ามาจำหน่ายเพียงแค่ไม่กี่ตัว และเคยมีการหลอกขายโดยเอาปลาช่อนชนิดอื่นมาขายกันแล้วในชื่อต่าง ๆ รวมทั้งเคยสับสนกับปลาช่อนชนิดอื่นที่มีความใกล้เคียงกันด้วย พฤติกรรมในที่เลี้ยงเป็นปลาที่มีดุร้ายก้าวร้าวมาก ไม่สามารถเลี้ยงรวมกันโดยเฉพาะตัวผู้หลาย ๆ ตัวได้เลย เพราะจะกัดกันทันทีแม้กระทั่งเพิ่งเทจากถุงลงตู้กระจก แต่การเลี้ยงรวมกับตัวเมียสามารถกระทำได้อย่างง่ายดาย เป็นปลาที่สามารถเลี้ยงในห้องที่เปิดเครื่องปรับอากาศได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพราะอาศัยอยู่ในที่ ๆ มีอุณหภูมิระหว่าง 10-24 องศาเซลเซียส มีพฤติกรรมการกินอาหารเพียงแค่ แมลง หรือกุ้งฝอย หรือเนื้อกุ้งชิ้นเท่านั้น โดยไม่กินปลาเหยื่อหรือลูกปลาขนาดเล็กเล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนบาร์กา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนออแรนติ

ปลาช่อนออแรนติ หรือ ปลาช่อนทองลายบั้ง หรือ ปลาช่อนเจ็ดสียักษ์ (Orange-spotted snakehead) เป็นปลาช่อนในสกุล Channa ชนิดหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาช่อนบาร์กา (C. barca) แต่มีส่วนหัวโตและแบนกว่า สีพื้นของลำตัวและหัวเป็นสีเหลืองทอง แต่เกล็ดทั้งส่วนหัวและลำตัวมีจุดสีน้ำตาลเข้มขนาดใหญ่เกือบเต็มเม็ด ยกเว้นบริเวณข้างลำตัวที่เป็นลายแถบแนวขวางไม่เป็นระเบียบหรือเป็นแต้มกลมขนาดใหญ่ มีสีเหลืองทองเรียงกันในแนวยาว เกล็ดข้างลำตัวประมาณ 51-54 เกล็ด ใต้คางและท้องมีสีขาว มีจุดสีน้ำตาลเข้มกระจายอยู่ทั่ว ครีบหลังและครีบก้นมีสีเหลืองอ่อน ครีบหลังมีก้านครีบทั้งหมด 45-47 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบ 28-30 ก้าน ครีบอกสีส้มมีสีเหลืองทองมีลายเส้นขวาง 6-7 แถบ ปลาตัวผู้วัยโตเต็มที่จะมีครีบหลัง และครีบก้นขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีสีสันสดใสมากกว่ามากโดยเฉพาะสีเหลือบม่วงอมน้ำเงินบนหัวและครีบหลัง ขณะที่ปลาตัวเมียจะมีบั้งสีเหลืองเป็นหลัก เหลือบสีอื่น ๆ ไม่สดเท่าตัวผู้ เมื่อมองจากด้านบนตัวผู้จะมีลำตัวเพรียวยาว และส่วนหัวที่กว้างกว่าตัวเมีย สามารถเพาะขยายพันธุ์ในตู้กระจกได้แล้ว โดยปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายอมและฟักไข่ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 45 เซนติเมตร โตเต็มที่ได้ถึง 60 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำรามบุตรา ซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำพรหมบุตร ในตอนเหนือรัฐอัสสัมและรัฐอรุณาจัลประเทศของประเทศอินเดีย โดยในตอนแรกมักถูกสับสนกับปลาช่อนบาร์กาเนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงกันมากและพบในแหล่งน้ำเดียวกัน แต่ได้ถูกอนุกรมวิธานจาก ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนออแรนติ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนจุดอินโด

ปลาช่อนจุดอินโด (Green spotted snakehead, Ocellated snakehead, Eyespot snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa pleurophthalma ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีรูปร่างเพรียวยาวในวัยอ่อน แต่เมื่อปลาโตขึ้นแล้วจะเปลี่ยนเป็นหัวแหลมแต่ส่วนลำตัวกลับป้อม คล้ายปลาชะโด (C. miropeltes) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน ปลาขนาดเล็กจะมีลำตัวสีเขียว, สีน้ำเงินหรือแกมน้ำตาลในบางตัว ส่วนท้องสีขาว เมื่อโตขึ้นจะมีลักษณะเด่น คือ มีจุดสีดำที่ล้อมด้วยวงสีส้มกลมคล้ายดวงตาขนาดใหญ่อันเป็นที่มาของชื่อ เรียงกันบริเวณข้างลำตัว โดยจุดแรกจะพบบนแก้มหรือกระดูกปิดเหงือก จุดสุดท้ายจะพบบริเวณคอดหาง โดยจะมีประมาณ 3-7 จุด ในปลาแต่ละตัวอาจมีไม่เท่ากัน หรือข้างสองก็ไม่เท่ากัน และเมื่อปลาโตเต็มวัยจุดเหล่านี้จะกลายเป็นกระจายเป็นจุดกระสีดำตามตัวแทน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา และยังพบในแถบตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบอร์เนียว และในจังหวัดกาลีมันตัน พบมีการบริโภคในท้องถิ่น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเป็นปลาที่เลี้ยงให้รอดได้ยาก เนื่องจากปลาขนาดเล็กมักจะปรับตัวให้กับสภาพน้ำในสถานที่เลี้ยงไม่ได้ เพราะเป็นปลาที่อยู่ในน้ำที่มีสภาพความเป็นกรดของน้ำค่อนข้างต่ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนจุดอินโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนทะเล

ปลาช่อนทะเล (Cobia, Black kingfish, Black salmon, Ling, Lemon fish, Crabeater, Aruan tasek) เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rachycentron canadum อยู่ในวงศ์ Rachycentridae อันดับปลากะพง (Perciformes) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้และสกุลนี้ มีความยาวได้เต็มที่ถึง 2 เมตร มีน้ำหนักได้ถึง 68 กิโลกรัม ลำตัวมีรูปร่างยาวและกว้างในช่วงตอนกลางและแคบลงในตอนปลายหาง ส่วนหัวแบน ตามีขนาดเล็ก ขากรรไกรล่างยื่นยาวกว่าขากรรไกรบนเล็กน้อย มีฟันแบบเล็กละเอียดและเรียวขึ้นบนอยู่บนขากรรไกร, ลิ้น และเพดานปาก ลำตัวเรียบ มีเกล็ดเล็กละเอียด มีสีน้ำตาลเข้มแล้วจางเป็นสีขาวบริเวณ ส่วนท้อง ด้านข้างลำตัวมีแถบสีน้ำตาลเข้มเป็นแนวยาว 2 แถบ ซึ่งจะเห็นแถบได้ชัดในช่วงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ ครีบหลังอันแรกเป็นหนามแหลมสั้น เรียงแยกกันเป็นอิสระ 6-9 อัน ซึ่งทำให้จัดอยู่ในวงศ์ต่างหาก ในวัยเจริญพันธุ์มีหางแบบเว้าลึก หรือแบบเสี้ยวพระจันทร์ ส่วนของครีบมีสีน้ำตาลเข้ม เป็นปลาที่ไม่มีถุงลมมีลักษณะคล้ายปลาเหาฉลาม (Echeneidae) แต่ไม่มีแผ่นเกาะด้านหลัง มีลำตัวที่แข็งแรง และมีส่วนหางที่พัฒนาดีกว่า โดยส่วนหางพัฒนาจากกลมมนเป็นเว้าลึกในตัวเต็มวัย ในปลาช่วงวัยรุ่นมีแถบสีขาวและดำชัดเจน เป็นมีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่บริเวณผิวน้ำ ชอบอยู่เดี่ยว ๆ ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์จะมารวมกันตามแนวหิน ซากปรักหักพัง ท่าเรือ แนวก่อสร้าง บางครั้งยังอพยพไปปากแม่น้ำและป่าชายเลนเพื่อหาสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ กินเป็นอาหาร วางไข่บริเวณผิวน้ำ โดยเป็นไข่ลอยขนาดเล็ก 0.12 มิลลิเมตร ล่องลอยเป็นอิสระตามกระแสน้ำจนกว่าจะฟักเป็นตัว ลูกปลาวัยอ่อนมีสภาพเหมือนแพลงก์ตอน ซึ่งในช่วงสัปดาห์แรกจะยังไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ต้องรอจนกว่าตาและปากได้พัฒนาให้สมบูรณ์ขึ้น ในตัวผู้จะสมบูรณ์เพศเมื่ออายุ 2 ปี ส่วนในตัวเมียจะสมบูรณ์เพศเมื่ออายุ 3 ปี มีอายุขัยประมาณ 15 ปี หรือมากกว่านั้น การผสมพันธุ์วางไข่จะรวมกลุ่มบริเวณชายฝั่ง ในช่วงเดือนเมษายน-กันยายน ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ พบกระจายพันธุ์ในเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก เป็นปลาที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา และเป็นปลาเศรษฐกิจที่นิยมบริโภคกันด้วยมีเนื้อรสชาติอร่อย สามารถปรุงได้ทั้งสดและแปรรูปเป็นปลาแห้ง โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเป็นปลาที่ทางการโดย กรมประมงสนับสนุนให้ชาวประมงเลี้ยงกันในเชิงพาณิชย์ ซึ่งในต่างประเทศมีการเพาะเลี้ยงกันมาอย่างยาวนานแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนงูเห่าอินเดีย

ปลาช่อนงูเห่าอินเดีย (Great snakehead, Bullseye snakehead) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa marulius ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีรูปร่างเพรียวยาวคล้ายกับปลาช่อนงูเห่า (C. aurolineatus) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ปลาช่อนงูเห่าอินเดียมีรูปร่างที่อ้วนป้อมกว่า สีของลำตัวก็เข้มกว่า โดยจะออกไปทางสีน้ำตาลแดง มีจุดสีดำขนาดใหญ่เรียงตัวกันประมาณ 5 จุึด ข้างลำตัว และมีจุดประสีขาวมากกว่า ส่วนท้องมีสีขาว และมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวน้อยกว่า มีถิ่นกำเนิดในอนุทวีปอินเดียและปัจจุบันเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นแถบรัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากถูกนำเข้าไปเป็นปลาสำหรับเกมกีฬาตกปลา มีการขยายพันธุ์ด้วยการทำรังวางไข่ โดยพ่อแม่ปลาดูแลลูกปลาด้วยความดุร้าย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 183 เซนติเมตร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นอกจากนี้แล้วปลาช่อนงูเห่าอินเดียที่พบในประเทศศรีลังกา อาจแบ่งออกได้เป็นชนิดย่อยว่า C. m. ara (Deraniyagala, 1945).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนงูเห่าอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนแอฟริกา (สกุล)

ปลาช่อนแอฟริกา (African snakeheads) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Parachanna (/พา-รา-ชาน-นา/) มีรูปร่างคล้ายคลึงกับปลาในสกุล Channa ที่พบในทวีปเอเชีย แต่ทว่าปลาในสกุลนี้จะมีขนาดลำตัวที่เล็กกว่า มีส่วนหัวที่เล็กและแบน และมีลายที่ลำตัวคล้ายลายไม้แบบเดียวกับ ปลากระสง (C. lucius) ที่อยู่ในสกุล Channa พบทั้งหมด 3 ชนิด โดยพบในตอนกลางและตอนตะวันตกของทวีปแอฟริกา ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนแอฟริกา (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนเชล

ปลาช่อนเชล หรือ ปลาช่อนบอร์นา หรือ ปลาช่อนแอมฟิเบียส (Chel snakehead, Borna snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) เป็นปลาที่อาศัยอยู่เฉพาะในแม่น้ำเชล ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำพรหมบุตร ใกล้กับเชิงเทือกเขาหิมาลัยในภูฏานและปากีสถาน ซึ่งจะอาศัยอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิค่อนข้างอุ่น ประมาณ 22-28 องศาเซลเซียส โดยคำว่า amphibeus ที่ใช้เป็นชื่อวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า มาจากพฤติกรรมการขึ้นเหนือน้ำและจับแมลงกินตามพื้นดินคล้ายสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ นับเป็นปลาช่อนขนาดกลางที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับ C. barca และ C. aurantimaculata ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีสีสันที่ใกล้เคียงกัน แต่ว่ามีจำนวนก้านครีบหลัง 50 ก้าน ก้านครีบก้น 35 ครีบ มีเกล็ดข้างลำตัวมากถึง 81 เกล็ด นับว่ามากกว่าชนิดอื่น ๆ ขนาดโตเต็มที่มีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร ซึ่งนับว่าเล็กกว่า 2 ชนิดข้างต้น เป็นปลาช่อนที่หาได้ยากมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก โดยมีการระบุทางวิทยาศาสตร์ครั้งแรกจาก จอห์น แมคคลีแลนด์ แพทย์ชาวอังกฤษ ด้วยการวาดภาพ และมีการเปลี่ยนสถานะหลายครั้ง จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนเชล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนเอเชีย

ปลาช่อนเอเชีย (Asiatic snakehead) สกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) ปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคือ รูปร่างเรียวทรงกระบอก ส่วนหัวโตจะงอยปากยื่น ปากกว้าง ตาโต มีฟันเป็นเขี้ยวบนขากรรไกร หัวด้านบนราบ ถ้าดูจากตอนบนจะโค้งมนคล้ายงู ลำตัวค่อนข้างกลม ครีบหลังและครีบก้นยาว ครีบหางปลายมน ครีบอกใหญ่ ครีบท้องเล็ก เกล็ดใหญ่มีขอบเรียบ มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นหลืบเนื้อสีแดงอยู่ในคอหอย เรียกว่า "Suprabranchia" จึงสามารถอยู่ในแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนต่ำได้ ลำตัวมีลวดลายและสีสันแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Channa (/ชาน-นา/) ลักษณะสำคัญของสกุลนี้ คือ หัวและแก้มปกคลุมด้วยเกล็ด ฐานครีบหลังยาวกว่าฐานครีบก้น หัวกว้างและแบน ปากกว้าง มุมปากยาวเลยหลังตา นัยน์ตาอยู่ค่อยมาทางปลายจะงอยปาก แพร่กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย พบได้ในภูมิภาคเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก มีขนาดรูปร่างแตกต่างกันอย่างมากตามแต่ละชนิด โดยพบมีความยาวตั้งแต่ 1.5 เมตร เช่น C. micropeltes หรือ C. aurolineatus ไปจนถึงไม่ถึงหนึ่งฟุต คือ ปลาช่อนแคร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนเจ็ดสี

ปลาช่อนเจ็ดสี หรือ ปลาช่อนสายรุ้ง (Rainbow snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa bleheri (โดยคำว่า bleheri เป็นชื่อที่ตั้งเพื่อให้เกียรติแก่ ไฮโค เบลียร์ นักสำรวจปลาชาวเยอรมัน) ในวงศ์ปลาช่อน (Channide) จัดเป็นปลาช่อนขนาดเล็กเช่นเดียวกับปลาก้าง (C. limbata) และปลาก้างอินเดีย (C. gachua) คือ ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดไม่เกิน 20 เซนติเมตร แต่ได้ชื่อว่าเป็นปลาช่อนขนาดเล็กที่มีสีสันสวยงามมาก โดยมีหลากหลายสีในตัวเดียวกัน ทั้ง ขาว, น้ำเงิน, แดง, ส้ม สลับกันไปบนพื้นลำตัวสีน้ำตาล อีกทั้งครีบต่าง ๆ โดยเฉพาะครีบหูก็มีลวดลายเป็นริ้ว ๆ สีดำอีกด้วย เป็นปลาที่พบได้เฉพาะลุ่มแม่น้ำพรหมบุตรในรัฐอัสสัมและรัฐอรุณาจัลประเทศ ประเทศอินเดียเท่านั้น โดยมีชื่อเรียกในภาษาอัสสัมว่า Sengeli นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาช่อนสวยงามทั่วไป โดยสามารถเลี้ยงรวมกับปลาช่อนสวยงามขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ ได้ เนื่องด้วยปลาในกลุ่มนี้จัดว่ามีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าว อีกทั้งยังมีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยพฤติกรรมในธรรมชาติ ปลาช่อนกลุ่มนี้จะอาศัยอยู่ในสภาพที่มีอุณหภูมิหลากหลายเปลี่ยนแปลงต่างขั้วกันในรอบปี ตั้งแต่ฤดูที่มีฝนตกหนัก ฤดูร้อนที่อุณหภูมิร้อนจัด ไปจนถึงฤดูหนาวที่มีการละลายของหิมะจากเทือกเขาสูงตามแนวเทือกเขาหิมาลัย จึงมีพฤติกรรมขุดโพรงลึกตามรากไม้เพื่อจำศีลเข้าสู่ฤดูที่เหมาะสมต่อการหากินและแพร่ขยายพันธุ์ต่อไป หน้า 103, CHANNA CRAZY คนคลั่งช่อน, "Wild Ambition" โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์ และชัยพัทธ์ งามบุษบงโสภิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนเจ็ดสี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนเข็ม (สกุล)

ปลาช่อนเข็ม (Pikehead fish) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae ใช้ชื่อสกุลว่า Luciocephalus (/ลิว-ซิ-โอ-เซฟ-อา-ลัส/) มีรูปร่างแตกต่างไปจากปลาชนิดอื่นในวงศ์นี้อย่างเห็นได้ชัด โดยกลับมีรูปร่างคล้ายปลาช่อน แต่หัวและปากยื่นยาวแหลมเหมือนปลาเข็ม ลำตัวมีสีน้ำตาลไหม้หรือน้ำตาลเขียว ด้านหลังสีจางกว่า และมีแถบสีดำพาดยาวทางความยาวลำตัวอย่างเห็นได้ชัด ครีบทุกครีบบางใส และไม่มีถุงลม มีขนาดลำตัวตั้งแต่ 20 เซนติเมตร จนถึง 10 เซนติเมตร เป็นปลาที่หากินอยู่ตามผิวน้ำของพรุตั้งแต่ภาคใต้ตอนล่างของไทยไปจนถึงเกาะบอร์เนียว ในอินโดนีเซีย วางไข่โดยตัวผู้จะอมไว้ในปาก และเลี้ยงจนลูกปลาได้ขนาด 1 เซนติเมตร จึงปล่อยออกมา ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ มีอยู่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาช่อนเข็ม (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบ้า (สกุล)

ปลาบ้า (Leptobarbus) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะที่สำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ มีหัวกว้าง มีหนวดยาว 2 คู่ ปากค่อนข้างกว้าง มุมปากอยู่หน้านัยน์ตา เกล็ดมีขนาดปานกลาง เส้นข้างลำตัวอยู่ต่ำกว่าแนวกลางลำตัว ไปสิ้นสุดลงที่ส่วนล่างของโคนหาง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 7 ก้าน และที่ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน เป็นปลาที่กินพืช โดยเฉพาะเมล็ดพืชเป็นอาหาร สกุลปลาบ้ามีทั้งหมด 4 ชนิด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศไทย ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา นับเป็นปลาจำพวกปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ สำหรับในประเทศไทยพบเพียงแค่ชนิดเดียว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาบ้า (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฟันสุนัข

ปลาฟันสุนัข (Dogtooth characin) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Hydrolycus (/ไฮ-โดร-ไล-คัส/) ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) โดยคำว่า Hydrolycus มาจากภาษากรีกคำว่า Hydro (ὕδωρ) หมายถึง "น้ำ" และ lycus (Λύκος) หมายถึง "สุนัข" หรือ "หมาป่า" อันอธิบายถึงลักษณะฟันของปลาในสกุลนี้ เป็นปลากินเนื้อ มีส่วนหัวใหญ่ ปากกว้าง ภายในปากเต็มไปด้วยฟันแหลมคมที่เมื่อหลุดหรือหักไปแล้วสามารถงอกใหม่ทดแทนได้ พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟันหน้าคู่ล่างที่แหลมคมและยาวกว่าซี่อื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด ใช้สำหรับกัดถุงลมของปลาตัวอื่นที่เป็นเหยื่อ เพื่อให้เหยื่อนั้นว่ายน้ำทรงตัวไม่ได้และลอยตัวขึ้นเหนือน้ำ จากนั้นจึงตามไปจัดการ และจากเขี้ยวที่ยาวนั้นขากรรไกรบนจึงมีร่องพิเศษใช้สำหรับเก็บเขี้ยวคู่นี้ แบ่งออกได้เป็น 4 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฟันสุนัข · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฟิงเกอร์

ปลาฟิงเกอร์ หรือ ปลาเฉี่ยวแอฟริกา (African moony, Mono sebae) เป็นปลาชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเฉี่ยว (Monodactylidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monodactylus sebae มีรูปร่างคล้ายกับปลาเฉี่ยวหินหรือปลาผีเสื้อเงิน (M. argenteus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันคือ ปลาฟิงเกอร์จะไม่มีความแวววาวของเกล็ดเท่า และไม่มีเหลือบสีเหลืองสดที่ครีบหลังและครีบท้องเหมือนปลาเฉี่ยวหิน และมีลายแถบสีดำอีกแถบบริเวณก่อนถึงโคนครีบหาง และมีลักษณะเด่นคือ ครีบท้องในปลาที่โตเต็มที่แล้วจะยาวย้วยห้อยลงมาใต้ท้องดูเหมือนนิ้วมือของมนุษย์ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเรียก "ฟิงเกอร์" มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งนับว่าใหญ่กว่าปลาเฉี่ยวหิน แพร่กระจายพันธุ์อยู่บริเวณปากแม่น้ำและป่าโกงกางของชายฝั่งทวีปแอฟริกาแถบตะวันออก ตั้งแต่หมู่เกาะคะเนรีจนถึงอังโกลา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นิสัยก้าวร้าวและว่ายน้ำได้เร็วมาก จึงไม่เหมาะสมกับการเลี้ยงรวมกับปลาที่ว่ายน้ำช้ากว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฟิงเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพริสเทลล่า

ปลาพริสเทลล่า (X-ray tetra, Pristella tetra, X-ray fish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pristella มีลักษณะลำตัวสีน้ำตาลอ่อน ปลายครีบทุกครีบ ยกเว้นครีบอกมีสีดำ มีลักษณะเด่น คือ เป็นปลาที่มีตำตัวโปร่งแสง จนสามารถทองทะลุไปเห็นถึงอวัยวะภายในได้ มีขนาดโตเต็มที่ 4 เซนติเมตร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเวเนซุเอลา, กายอานา, ซูรินาม, เฟรนช์เกียนา และตอนเหนือของบราซิล โดยเฉพาะในแหล่งน้ำที่มีค่าความเป็นกรดด่างต่ำกว่าความเป็นกลาง (-7 pH) เป็นปลาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์ได้ในที่เลี้ยง โดยมีการพัฒนาสายพันธุ์ให้สีลำตัวให้แปลกไปจากธรรมชาติ เช่น สีขาวทอง แต่ก็ยังคงความโปร่งแสงอยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาพริสเทลล่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพลวง (สกุล)

ปลาพลวง เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดกลางที่ค่อนข้างไปทางใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Neolissochilus (/นี-โอ-ลิส-โซ-คิล-อัส) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุลนี้ถูกแยกออกจากสกุลปลาเวียน (Tor spp.) ในปี ค.ศ. 1985 โดยวอลเตอร์ เรนโบธ นักมีนวิทยาชาวอเมริกัน โดยมีลักษณะที่สำคัญทางอนุกรมวิธานคือ ลำตัวยาวแบนข้าง จะงอยปากสั้นและทู่ ปากมีขนาดปานกลางยืดหดได้ ริมปากบนค่อนข้างหนา ริมฝีปากล่างบาง ส่วนกลางปากล่างเชื่อมติดกับเอ็นคาง ด้านข้างมีร่องคั่นระหว่างริมปากบนขากรรไกร เกล็ดมีขนาดใหญ่ ตามแนวเส้นข้างลำตัวมีเกล็ด 24–29 แถว รอดคอดหางมีเกล็ด 12 แถว มีหนวด 2 คู่ มีตุ่มแบบเม็ดสิวทั้งสองข้างของจะงอยปาก ในตัวผู้ ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายของครีบหลังมีขอบเรียบ มีก้านครีบแขนง 9 ก้าน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาพลวง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพาราไดซ์

ปลาพาราไดซ์ (Paradise fish, Paradise gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macropodus opercularis อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จึงมีอวัยวะช่วยหายใจพิเศษที่มีความวนเวียนเหมือนเขาวงกต เหมือนเช่นปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน ทำให้สามารถขึ้นมาฮุบอากาศที่ผิวน้ำได้โดยตรง และสามารถอยู่ในบริเวณที่มีออกซิเจนต่ำได้ โดยไม่ต้องรอให้ออกซิเจนละลายลงในน้ำก่อนเช่นปลาทั่วไป มีขนาดความยาวลำตัว ประมาณ 7.5 เซนติเมตร มีลำตัวค่อนข้างกว้าง แบนข้าง หัวเล็ก นัยน์ตาโต ปากอยู่หน้าสุด ริมฝีปากยืดหดได้ มีฟันบนกระดูกเพดานปาก เส้นข้างตัวไม่สมบูรณ์ มีลักษณะเด่นอยู่ที่ครีบหลัง ครีบหลัง ครีบท้อง และครีบก้น มีปลายที่ยื่นยาวเป็นเส้นสวยงาม ครีบท้องและครีบหางเป็นสีส้มแดง ครีบหลังมีก้านครีบแขนงไม่เกิน 10 ก้าน ครีบหลังและครีบก้นมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบอกบางใส ครีบท้องมีก้านครีบเดี่ยว อันแรกยื่นออกมาเป็นเส้นยาว ครีบหางมีปลายครีบตัดตรง สีพื้นลำตัวเป็นสีเขียวมีลายสีส้มขวางลำตัวจำนวน 9 แถบ ตัวผู้จะมีสีสันสวยสดกว่าตัวเมีย เป็นปลาที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ไต้หวัน, จีน, ฮ่องกง, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้ และตอนเหนือของเวียดนาม โดยอาศัยอยู่ตามหนองบึง นาข้าว เหมือนกับปลากัดหรือปลากระดี่โดยตัวผู้จะมีการก่อหวอด กินอาหารจำพวก ลูกน้ำ, ลูกไร หรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก มีการผสมพันธุ์และดูแลไข่เหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ ปลาพาราไดซ์ มีนิสัยค่อนข้างก้าวร้าว แต่สามารถเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงได้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีการเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันต่าง ๆ ที่แปลกออกไปจากชนิดที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น สีเผือกทั้งตัว หรือ สีเขียว เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาพาราไดซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพาราไดซ์ (สกุล)

ปลาพาราไดซ์ หรือ ปลาสวรรค์ (Paradise fishes, Paradise gouramis) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Macropodinae และอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae ใช้ชื่อสกุลว่า Macropodus (/แม็ค-โคร-โพ-ดัส/).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาพาราไดซ์ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพีค็อกแบส

ปลาพีค็อกแบส (Peacock bass, Eyetail cichlids) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) โดยชื่อสามัญที่ว่า "Peacock bass" ที่หมายถึง "ปลากะพงนกยูง" นั้นมาจากลักษณะของลวดลายตามลำตัวและโคนครีบหางที่เป็นจุดสีทึบขนาดใหญ่คล้ายกับรำแพนหางของนกยูง โดยเฉพาะโคนครีบหางทั้ง 2 ข้าง ใช้ชื่อสกุลว่า Cichla (/ซิค-คลา/) ซึ่งมาจากภาษากรีก (Kichle) หมายถึง "ปลาทะเลที่มีฟันแหลมและสีสวยแถบทะเลเขตร้อน" มีลักษณะลำตัวทั่วไป มีส่วนหัวขนาดใหญ่ ริมฝีปากหนา ลำตัวยาว พื้นลำตัวเป็นสีเขียวอมส้ม เป็นปลาที่ดวงตาขนาดใหญ่ และสายตาดี มีพละกำลังมากมาย เป็นปลากินเนื้อที่มีขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด อาจยาวได้ถึง 30 นิ้ว จัดเป็นปลากินเนื้อน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดจำพวกหนึ่งที่พบได้ในทวีปอเมริกาใต้ ขณะที่ยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนอยู่ จะมีสีอ่อนกว่าปลาที่เต็มวัย และมีแถบสีดำขนานกับลำตัวของตั้งแต่แก้มไปจนถึงหาง เมื่อโต แถบดังกล่าวจะหายไป กระจายพันธุ์ในแม่น้ำสายหลักต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำโอรีโนโก และแม่น้ำอเมซอน เป็นต้น เดิมได้มีการจำแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ 5 ชนิด โดยใช้เกณฑ์พิจารณาจากลวดลายและโครงสร้างของร่างกาย ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาพีค็อกแบส · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระสูบ

ปลากระสูบ (Hampala barb, Jungle perch) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Hampala (/แฮม-พา-ลา/) ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นในชวา มีรูปร่างโดยรวม คือ มีส่วนหัวใหญ่ ปากกว้าง มุมปากยาวถึงขอบตา มีหนวดที่มุมปากบนหนึ่งคู่ มีฟันที่ลำคอสามแถว ครีบหลังมีก้านครีบแขนงแปดก้าน เกล็ดเป็นแบบขอบบางเรียบ บนลำตัวมีจุดหรือเส้นขีดสีดำเห็นได้ชัดเจน ซึ่งอาจแปรเปลี่ยนไปได้ตามช่วงวัย และแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิด ขนาดโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 60-70 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 20-30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงหมู่เกาะฟิลิปปินส์ เป็นปลาที่กินปลาด้วยกันขนาดเล็กเป็นอาหาร นิยมอยู่เป็นฝูง ออกล่าเหยื่อพร้อม ๆ กัน จึงเป็นที่นิยมของนักตกปลา มีชื่อเรียกในภาษาไทยว่า "ปลากระสูบ" หรือ "ปลาสูบ" หรือ "ปลาสูด" ในบางท้องถิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระสูบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระจัง

ปลากระจัง หรือ ปลาตีนเขี้ยว (Giant mudskipper) เป็นปลาทะเลและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) วงศ์ย่อยปลาตีน (Oxudercinae) เป็นปลากระดูกแข็งมีขนาดลำตัวยาวตั้งแต่ 5-30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาตีนที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีครีบคู่หน้า ครีบอกที่แข็งแรงใช้ครีบอกที่แข็งแรงใช้ครีบกระโดดเป็นช่วง ๆ ไปมาบนพื้นเลน และคลานขึ้นต้นไม้ หรือยึดเกาะกับต้นโกงกางหรือแสม ตัวผู้มีขนาดลำตัวแบนเล็กน้อย มีเกล็ดปกคลุมทั่วลำตัว มีฟันเขี้ยวซี่เล็ก ๆ ขบซ้อนเหลื่อมกันทั้งริมขากรรไกรบนและล่าง ตำแหน่งของปากอยู่ปลายสุดของหัวขนานกับพื้น ลำตัวมีสีเทาแถบสีน้ำตาลพาดบริเวณหัวและตามตัวมีจุดวาวสีเขียวมรกต ปลายครีบหลังสีขาว, สีน้ำตาล, สีน้ำเงินแวววาวเหมือนมุก ส่วนตัวเมียสีลำตัวค่อนข้างเหลือง เมื่ออยู่บนบก จะหายใจผ่านผิวหนังและช่องเหงือก กินอาหารจำพวกลูกกุ้ง, ลูกปู, ตัวอ่อนของสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ, สาหร่าย และซากพืชและสัตว์บนผิวเลน ในฤดูผสมพันธุ์ ปลากระจังตัวผู้จะมีสีเข้มขึ้น จะใช้ปากขุดโคลนสร้างหลุม เพื่อไว้เป็นที่ผสมพันธุ์ และมีพฤติกรรมหวงเขตแดนเมื่อมีตัวผู้อื่นเข้ามารุกล้ำจะกางครีบหลังขู่และเคลื่อนที่เข้าหาผู้บุกรุกเพื่อต่อสู้ด้วยการกัดทันที กระจายพันธุ์ไปในป่าชายเลนที่มีพื้นเป็นเลนหรือโคลน ตั้งแต่อ่าวเบงกอล, ชายฝั่งทะเลอันดามัน, คาบสมุทรมลายู และเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่มักถูกจับกินเป็นอาหารสำหรับชาวพื้นถิ่น และถูกจับขายเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระจัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระทิง (สกุล)

ปลากระทิง เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ในสกุล Mastacembelus (/มาส-ตา-เซม-เบล-อัส/) อยู่ในอันดับปลาไหลนา วงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย ปลายจะงอยปากบนเรียวแหลมคล้ายปลาหลด จมูกคู่หน้ามีปลายแยกออกเป็นติ่งเนื้อเล็ก ๆ 2 ติ่ง และติ่งใหญ่ 2 ติ่ง มีครีบหลังและครีบก้นยาวต่อเนื่องกับครีบหาง ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังเป็นหนามแหลมสั้น ๆ เพื่อป้องกันตัวประมาณ 33–40 ก้าน สีสดสวยกว่าและมีขนาดใหญ่กว่า อาศัยอยู่ในแม่น้ำลำคลองและที่ลุ่มทั่วไป พบทั้งในแหล่งน้ำจืดและน้ำกร่อย กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชียและภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 60–80 เซนติเมตร หากินตามพื้นท้องน้ำด้วยการกินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็ก โดยมักจะซุกซ่อนตัวในโพรงไม้หรือวัตถุต่าง ๆ ใต้น้ำ มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการบริโภค ตกปลา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระทิง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระทุงเหวเมือง

ปลากระทุงเหวเมือง (Freshwater garfish, Asian freshwater needlefish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenentodon canciloides อยู่ในวงศ์ปลากระทุงเหว (Belonidae) มีรูปร่างเหมือนปลาเข็ม แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก ลำตัวค่อนข้างกลมส่วนท้องแบน ครีบหลังอยู่ตรงข้ามกับครีบก้นและอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก ครีบอกใหญ่และแหลมใช้สำหรับกระโดดพ้นจากผิวน้ำเพื่อหลบหลีกศัตรูและไล่จับอาหาร ครีบหางตัดตรงหรือบาง กระดูกแก้มไม่มีเกล็ด ไม่มีสันแข็งที่คอดหาง จะงอยปากแหลมยาวทั้งปากบนและปากล่าง มีฟันซี่แหลมคมเล็ก ๆ เรียงเป็นแถว มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร และนับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Xenentodon เป็นปลาที่หากินอยู่บริเวณผิวน้ำ ในแม่น้ำลำคลองทั่วไปหรือแม้กระทั่งส่วนที่เป็นแหล่งน้ำนิ่ง เช่น ท้องร่องสวน นอกจากนี้แล้วยังพบได้ในบริเวณที่เป็นน้ำกร่อยเช่น ปากแม่น้ำที่ติดกับชายทะเลด้วย ตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และใช้บริโภคเป็นอาหาร มีการเพาะเลี้ยงกันในบางพื้นที่ และนิยมตกเป็นเกมกีฬา มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาเข็มแม่น้ำ" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระทุงเหวเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดูกอ่อน

ปลากระดูกอ่อน (ชั้น: Chondrichthyes; Cartilaginous fish) เป็นชั้นของปลาจำพวกหนึ่ง ซึ่งมีโครงสร้างกระดูกประกอบไปด้วยเซลล์กระดูกอ่อนอย่างเดียว โดยมีหินปูนมาประกอบเป็นบางส่วน ส่วนมากมีเหงือกแยกออกเป็นช่อง 5 ช่อง มีเกล็ดแบบพลาคอยด์ ที่จะไม่โตไปตามตัว มีลักษณะสากเมื่อสัมผัส ตัวผู้มีรยางค์เพศที่ครีบท้องเป็นติ่งยื่นเรียก แคลสเปอร์ หรือที่ในภาษาไทยเรียก เดือย โดยมากจะออกลูกเป็นตัว ขากรรไกรแยกออกจากกะโหลก ปลาจำพวกนี้พบทั่วโลกประมาณ 800 ชนิด เป็นปลากินเนื้อ ส่วนมากเป็นปลาทะเล ในน้ำจืดมีเพียงไม่กี่สิบชนิด มีหลายอันดับ หลายวงศ์ หลายสกุล โดยปลาในกลุ่มปลากระดูกอ่อนนี้ที่รู้จักกันดี ก็ได้แก่ ปลาฉลาม, ปลากระเบน, ปลาฉนาก, ปลาโรนัน เป็นต้น ปลากระดูกอ่อนส่วนใหญ่มีรูปร่างเรียวยาว ยกเว้น ปลากระเบน ที่มีรูปร่างแบน ส่วนใหญ่อยู่ในทะเล พบในน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด เช่น ปลากระเบนน้ำจืด มีขนาดแตกต่างกันตามแต่ละสกุล แต่ละชนิด ตั้งแต่มีความยาวเพียงไม่ถึงหนึ่งฟุต จนถึง 20 เมตร หนักถึง 34 ตัน คือ ปลาฉลามวาฬ (Rhincodon typus) ซึ่งเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดูกอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่

ปลากระดี่ (Gouramis, Gouramies; Sepat; อีสาน: กระเดิด) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในสกุล Trichopodus (เดิมใช้ Trichogaster) ในวงศ์ย่อย Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae มีรูปร่างโดยทั่วไป คือ แบนข้างคล้ายใบไม้ หัวมีขนาดเล็ก ปลายปากค่อนข้างแหลม ปากมีขนาดเล็ก มีครีบอกคู่แรกเป็นเส้นยาวใหญ่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "ตะเกียบ" เป็นอวัยวะช่วยในการสัมผัส มีก้านครีบแขนง 2-4 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3-9 ก้าน และก้านครีบแขนง 7-11 ครีบ ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 9-14 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 25-40 ก้าน ครีบท้องและครีบก้นต่อยาวเป็นแถวเดียวกัน โดยที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว ปลายครีบหางไม่เว้ามากนัก เป็นปลาที่มีการแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพบได้แทบทุกประเภทของแหล่งน้ำจืด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ พบทั้งสิ้น 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ช็อกโกแลต

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (Chocolate gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphaerichthys osphromenoides ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างบางเฉียบ ส่วนหัวแหลมโดยเฉพาะบริเวณปลายปาก ตากลมโต สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้มคล้ายสีของช็อกโกแลตจึงเป็นที่มาของชื่อ มีจุดวงกลมสีดำที่ใกล้โคนครีบหาง ในขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Sphaerichthys หมายถึงวงกลม และ osphromenoides หมายถึงเหมือน osphromenus อันที่เคยเป็นชื่อพ้อง มีจุดเด่นคือ มีลายพาดวงกลมสีขาว 3-4 วง พาดผ่านตลอดทั้งลำตัวทั้งสองข้าง ปลาตัวผู้จะมีสีแดงเข้มกว่าปลาตัวเมีย และมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในคาบสมุทรมลายูของมาเลเซีย จนถึงเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ในอินโดนีเซีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเลี้ยงได้ยากมาก ต้องอาศัยการดูแลอย่างดี เนื่องจากเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำค่อนข้างเย็น กล่าวคือ อุณหภูมิประมาณ 22-26 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำเป็นสภาพเป็นกรดเล็กน้อย คือประมาณ 6-6.5 pH มีพฤติกรรมเช่นเดียวกับปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ คือ รักสงบ ชอบลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ บริเวณผิวน้ำ หรือแอบอยู่ตามพืชน้ำ การแพร่พันธุ์ตัวผู้จะเป็นฝ่ายสร้างหวอดในการวางไข่ และเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกว่าจะเป็นตัว โดยไข่จะมีปริมาณ 18 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 10-14 วัน แต่เมื่อเป็นตัวแล้วปลาตัวผู้จะไม่ดูแลไข่ ซึ่งถ้าเป็นในที่เลี้ยงอาจจะกินลูกตัวเองได้ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันมากในยุโรป ซึ่งถือว่าเป็นปลาที่มีราคาถูก แต่สำหรับในประเทศทางเอเชียถือเป็นปลาราคาแพง และหาได้ค่อนข้างยาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่ช็อกโกแลต · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)

ปลากระดี่ช็อกโกแลต เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Sphaerichthys ในวงศ์ Macropodusinae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาในปลากัด (Betta spp.) และปลากริม (Trichopsis spp.) โดยอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae รูปร่างโดยรวมของปลาในสกุลนี้ คือ มีลำตัวขนาดเล็ก มีรูปร่างบาง แบนข้าง ส่วนหัวแหลม ตากลมโตมีขนาดใหญ่ มีสีลำตัวออกไปทางสีน้ำตาลเข้มหรือสีน้ำตาลแดงเหมือนช็อกโกแลต อันเป็นที่มาของชื่อ โดยที่ปลาตัวผู้จะมีสีแดงสดกว่าตัวเมีย และที่สำคัญคือ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดคือ มีลายพาดขวางลำตัวเหมือนสร้อยสีขาว 3-4 ขีด (คำว่า Sphaerichthys ซึ่งเป็นชื่อสกุลหมายถึง วงกลม)ขนาดลำตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 6 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบได้ในมาเลเซีย, เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซียเท่านั้น พบทั้งสิ้น 4 ชนิดนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ยักษ์

ปลากระดี่ยักษ์ (Giant gourami, Banded gourami, Striped gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trichogaster fasciata อยู่ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ Osphronemidae มีรูปร่างแบนข้างเหมือนปลาในสกุลเดียวกันนี้ชนิดอื่น มีสีสันสวยสะดุดตาเหมือนปลากระดี่แคระ (T. lalia) แต่มีขนาดของลำตัวยาวกว่า ลำตัวเป็นสีส้มอมเหลืองมีแถบสีฟ้าครามพาดเป็นแนวขวางลำตัวเรียงกันตั้งแต่ช่วงอกจนถึงช่วงหาง ขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้วจะยาวได้ประมาณ 12 เซนติเมตร ซึ่งนับได้ว่าใหญ่ที่สุดในสกุลนี้ จึงเป็นที่มาของชื่อว่ากระดี่ยักษ์ พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย, รัฐอัสสัม, บังกลาเทศ ไปจนถึงพม่า และเคยมีรายงานว่าพบในประเทศไทยและคาบสมุทรมลายูด้วย เป็นปลาที่มีนิสัยค่อนข้างเรียบร้อยไม่ก้าวร้าว โดยที่ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายก่อหวอด และเป็นผู้ดูแลไข่ ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 24 ชั่วโมง เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบัน มีการจำหน่ายและส่งออกไปทั่วโลก จนมีการแพร่กระจายพันธุ์แล้วในธรรมชาติของหลายพื้นที่ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่อินเดีย

ปลากระดี่อินเดีย เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ Ostoglossidae ใช้ชื่อสกุลว่า Trichogaster (เดิมใช้ Colisa) มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับปลาในสกุล Trichopodus หรือปลากระดี่ ที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ แต่ทว่ามีขนาดที่เล็กกว่า ครีบทุกครีบสั้น มีสีสันตามลำตัวที่หลากหลายและสวยสดใส ในบางชนิดที่มีลายบั้ง ๆ สีแดงสดสลับกับสีน้ำเงิน มีครีบท้องมีก้านครีบเดี่ยวยื่นออกมาเป็นเส้นยาว ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 12-19 ก้าน และก้านครีบแขนง 7-14 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 15-20 ก้าน และก้านครีบแขนง 11-20 ก้าน ครีบหางปลายเว้าเล็กน้อย มีขนาดโดยเฉลี่ยราว 6 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ 12 เซนติเมตร พบทั้งหมด 4 ชนิดได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่อินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ปากหนา

ปลากระดี่ปากหนา (Thick-lipped gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) เป็นปลากระดี่แคระชนิดหนึ่ง มีรูปร่างยาว ลำตัวเป็นรูปไข่ สีของลำตัวแตกต่างกันออกไป ทั้งสีน้ำตาลเข้มอมส้ม ส่วนท้องมีสีเขียวเข้ม มีแถบสีส้มแกมน้ำตาลสลับกับสีฟ้าครามพาดขวางบริเวณทั้งลำตัว ครีบหางกลมเหมือนพัดมีสีส้มคล้ำ ๆ ครีบอกเป็นเส้นยาว ครีบท้องมีสีแดงส้ม ครีบก้นมีสีฟ้ามีขอบเป็นสีฟ้าหรือสีขาว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 9 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในตอนใต้ของประเทศพม่า โดยไม่พบในประเทศไทย และปัจจุบันมีการนำเข้าไปปล่อยในธรรมชาติในโคลัมเบียอีกด้วย เป็นปลาที่ตัวผู้เมื่อแพร่ขยายพันธุ์ จะเป็นฝ่ายสร้างหวอด ซึ่งคือน้ำลายผสมกับอากาศติดกับพืชน้ำและวัสดุบริเวณผิวน้ำชนิดต่าง ๆ และเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว และมีการผสมข้ามพันธุ์กับปลากระดี่ชนิดอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน เช่น ปลากระดี่อินเดีย, ปลากระดี่แคระ จนได้ลูกที่ออกมาสีสันต่าง ๆ สวยงามจากเดิม เช่น สีแดง, สีทอง, สีเขียว แต่สำหรับในประเทศไทย ปลากระดี่ปากหนายังไม่มีการซื้อขายและเลี้ยงกันในวงการปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่ปากหนา · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่แดง

ปลากระดี่แดง (Honey gourami, Red gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ Osphronemidae มีรูปร่างและลักษณะคล้ายปลากระดี่แคระ (T. lalia) ซึ่งจัดเป็นปลาอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ทว่าปลากระดี่แดงจะมีรูปร่างที่ยาวกว่าอย่างเห็นได้ชัด สีของลำตัวจะเป็นสีแดง, สีส้ม หรือสีเหลือง ช่วงท้องสีจะจางไปเป็นสีขาว โดยที่ตลอดทั้งลำตัวโดยไม่มีลวดลายเหมือนปลากระดี่แคระ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ ตัวผู้จะมีขนาดประมาณ 5 เซนติเมตร ขณะที่ตัวเมียประมาณ 4 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดียและบังกลาเทศ อีกทั้งยังมีบางข้อมูลว่าระบุว่าพบในประเทศไทยด้วย ส่วนพฤติกรรมและการวางไข่คล้ายกับปลากระดี่ในสกุล Trichogaster ชนิดอื่น ๆ เป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวมากนัก สามารถรวมกับปลาชนิดอื่น ๆ ที่มีขนาดลำตัวไล่เลี่ยกันได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่แดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่แคระ

ปลากระดี่แคระ (Dwarf gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในสกุล Trichogaster อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย มีรูปร่างแบนข้างมาก ตามลำตัวมีแถบสีเขียวหรือสีน้ำเงินอ่อนสลับกับสีแดงทั่วไปตามครีบต่าง ๆ ด้วย และอาจมีสีสันที่หลากหลายกว่านี้ โดยในบางตัวอาจจะไม่มีลวดลายเลยก็ได้ ตัวผู้มีความแตกต่างจากตัวเมียอย่างชัดเจน กล่าวคือ มีสีที่สดสวยกว่ามาก มีขนาดความยาวตำตัวประมาณ 5-7 เซนติเมตร มีอุปนิสัยไม่ก้าวร้าวเท่าปลากระดี่ในสกุล Trichopodus ชอบอยู่กันเป็นฝูงตามแหล่งน้ำที่พืชไม้น้ำขึ้นหนาแน่น โดยจะหลบอยู่ตามกอพืช แต่เมื่อถึงเวลาผสมพันธุ์และวางไข่ ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายก่อหวอด และเมื่อวางไข่เสร็จแล้ว ตัวผู้จะดุร้ายกับตัวเมียทันที และอาจทำร้ายตัวเมียจนตายได้ และเมื่อหลังวางไข่เสร็จแล้วตัวเมียมักจะตาย มีอายุเต็มที่ประมาณ 4 ปี นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งได้มีการเพาะขยายพันธุ์ออกมาเป็นสีสันที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ในปลาตัวที่สีสีแดงทั้งตัวหรือสีส้ม มักจะเรียกว่า "กระดี่นีออน".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่แคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่โนเบิล

ปลากระดี่โนเบิล (Frail gourami, Indian paradisefish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในสกุล Ctenops มีลักษณะที่ตัวผู้และตัวเมียมีสีไม่ต่างกัน แต่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่า และตัวผู้มีครีบต่าง ๆ ใหญ่กว่า มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 9-12 เซนติเมตร เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำนิ่งที่มีพรรณไม้น้ำขึ้นอย่างหนาแน่นในภาคตะวันออกของประเทศอินเดีย และบังกลาเทศ ในสภาพแหล่งน้ำที่มีความเป็นกรดต่ำกว่าน้ำที่มีค่าเป็นกลาง (pH ต่ำกว่า 7) มีพฤติกรรมการวางไข่ แตกต่างไปจากปลากระดี่ในสกุลอื่นที่ใกล้เคียงกัน โดยจะไม่ก่อหวอด แต่จะใช้การอมไข่แทน แม่ปลาจะอมไข่ไว้ในปากราว 12-14 วัน โดยที่ไม่กินอาหาร จากนั้นปลาจึงจะฟักเป็นตัว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่รักสงบ แต่อาจก้าวร้าวได้บางขณะกับปลาขนาดเล็กกว่า จัดเป็นปลาค่อนข้างหายาก เพราะเลี้ยงให้รอดได้ยาก และยังไม่มีรายงานการเพาะขยายพันธุ์ได้สำเร็จในที่เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระดี่โนเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโห้

ปลากระโห้ (Siamese giant carp, Giant barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดเกล็ดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดอีกด้วย โดยเฉลี่ยมักมีขนาดประมาณ 1.5 เมตร แต่พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร หนักได้ถึง 150 กิโลกรัม ในอดีต เกล็ดปลากระโห้สามารถนำมาทอดรับประทานเป็นอาหารที่ขึ้นชื่อ ปลากระโห้ จัดเป็นปลาประจำกรุงเทพมหานครของกรมประมง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระโห้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโห้อินเดีย

ปลากระโห้อินเดีย หรือ ปลากระโห้เทศ หรือ ปลากระโห้สาละวิน (Calta, Indian carp; কাতল) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลากระโห้ (Catlocarpio siamensis) ที่พบได้เฉพาะในประเทศไทย เว้นแต่ปลากระโห้อินเดียมีหนวด 1 คู่ เหนือริมฝีปาก นัยน์ตาพองโตกว่าและมีฟันที่ลำคอสองแถว สีลำตัวก็อ่อนกว่าอย่างเห็นได้ชัด จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Gibelion ขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ 182 เซนติเมตร น้ำหนัก 38.6 กิโลกรัม ซึ่งเล็กกว่าปลากระโห้มาก พบได้ในภูมิภาคเอเชียใต้ตอนบน เช่น รัฐอัสสัมในอินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, บังกลาเทศ จนถึงพม่า ปลากระโห้อินเดียได้ถูกนำเข้าสู่ประเทศไทยเช่นเดียวกับ ปลานวลจันทร์เทศ (Cirrhinus cirrhosus) และปลายี่สกเทศ (Labeo rohita) เนื่องจากเป็นปลาที่พบในแหล่งเดียวกัน เพื่อพัฒนาให้เป็นปลาเศรษฐกิจต่อไปในอนาคต แต่ปรากฏว่าผลการเพาะเลี้ยงนั้น ปลากระโห้อินเดียกระทำได้ยากกว่าปลาอีก 2 ชนิดนั้น จึงเป็นที่นิยมและหายากได้ยากกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระโห้อินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโทงร่ม

รีบหลังอันใหญ่เป็นเอกลักษณ์ ปลากระโทงร่ม หรือ ปลากระโทงแทงร่ม (Sailfish) เป็นปลากระโทงที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในสกุล Istiophorus มีรูปร่างยาวเรียว ลำตัวแบนข้าง ส่วนของสันหลังมีกล้ามเนื้อหนา หัวค่อนข้างโต ปากกว้าง จะงอยปากเรียวยาวและแหลม มีครีบกระโดงหลังสูงใหญ่เวลาแผ่กว้างจะมีลักษณะคล้ายใบเรือ ซึ่งใหญ่กว่าปลากระโทงสกุลอื่น ครีบอกมีขนาดเล็ก ครีบท้องเรียวยาวเหมือนแถบริบบิ้น ครีบก้นแยกเป็นสองอันเล็ก ๆ อันที่สองอยู่ตรงข้ามครีบหลังซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน สีของลำตัวด้านหลังเป็นสีน้ำเงินเข้มปนดำข้างตัวสีน้ำเงินอ่อนกว่าด้านหลัง ท้องสีขาวเงินมีลายเป็นเส้นประพาดจากด้านหลังลงไปถึงท้อง ครีบทุกครีบมีสีดำ มีความยาวได้ถึง 3.5 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ 100-125 กิโลกรัม กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลเปิดของมหาสมุทรต่าง ๆ ทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก โดยสามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เนื่องจากเป็นปลาที่มีกล้ามเนื้อแข็งแรงมาก ข้อต่อของกระดูกและครีบต่าง ๆ ที่ช่วยในการเคลื่อนไหวได้เป็นอย่างดี มีการอพยพย้ายถิ่นไปตามกระแสน้ำ ลูกปลาวัยอ่อนเมื่อฟักออกมาจากไข่มีขนาดเพียง 3 มิลลิเมตรเท่านั้น และจะมีขนาดเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีความยาวได้ 20 เซนติเมตร ปลาวัยอ่อนจะอาศัยหากินตามผิวน้ำที่ไม่ไกลจากฝั่งมากนัก และบางครั้งอาจเข้าไปหากินใกล้ชายฝั่งหรือใกล้กับเกาะ โดยใช้จะงอยปากที่แหลมยาวและครีบหลังที่ใหญ่ไล่ต้อน ซึ่งอาหารที่ชื่นชอบ คือ ปลาขนาดเล็กและหมึก เมื่อจะล่าเหยื่อ โดยเฉพาะปลาแมกเคอเรล จะเปลี่ยนสีลำตัวเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน เนื่องจากสายตาของปลาแมกเคอเรลไวต่อแสงสีฟ้าหรือสีน้ำเงินมาก รวมทั้งสามารถมองเห็นแสงอัลตราไวโอเลตด้วย การเปลี่ยนเป็นสีฟ้าจะทำให้ปลาแมกเคอเรลสับสน ปลากระโทงร่ม เป็นปลาที่เป็นทื่นิยมอย่างมากในการตกเป็นเกมกีฬา ด้วยเป็นปลาที่สู้กับเบ็ดและต้องใช้พละกำลังและเวลาอย่างมากในการตก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระโทงร่ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก

ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก หรือ ปลากระโทงแทงกล้วย (Banana sailfish, Indo-Pacific sailfish) เป็นปลากระโทงที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง และจัดเป็นปลากระโทงร่มชนิดหนึ่ง มีรูปร่างยาวเรียว ลำตัวแบนข้าง ส่วนของสันหลังมีกล้ามเนื้อหนา หัวค่อนข้างโต ปากกว้าง จะงอยปากเรียวยาวและแหลม มีครีบกระโดงหลังสูงใหญ่เวลาแผ่กว้างจะมีลักษณะคล้ายใบเรือ ซึ่งใหญ่กว่าปลากระโทงชนิดอื่น ๆ ครีบอกมีขนาดเล็ก ครีบท้องเรียวยาวเหมือนแถบริบบิ้น ครีบก้นแยกเป็นสองอันเล็ก ๆ อันที่สองอยู่ตรงข้ามครีบหลังซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน สีของลำตัวด้านหลังเป็นสีน้ำเงินเข้มปนดำข้างตัวสีน้ำเงินอ่อนกว่าด้านหลัง ท้องสีขาวเงินมีลายเป็นเส้นประพาดจากด้านหลังลงไปถึงท้อง ครีบทุกครีบมีสีดำ มีครีบท้องเป็นเส้นยาวชัดเจน มีความยาวได้ถึง 3.5 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ 100-125 กิโลกรัม กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในเขตร้อนของทะเลเปิดของมหาสมุทรต่าง ๆ ทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก โดยสามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เนื่องจากเป็นปลาที่มีกล้ามเนื้อแข็งแรงมาก ข้อต่อของกระดูกและครีบต่าง ๆ ที่ช่วยในการเคลื่อนไหวได้เป็นอย่างดี มีการอพยพย้ายถิ่นไปตามกระแสน้ำ ลูกปลาขนาดเล็ก ปลาที่ถูกตกได้ที่คอสตาริกา ลูกปลาวัยอ่อนเมื่อฟักออกมาจากไข่มีขนาดเพียง 3 มิลลิเมตรเท่านั้น และจะมีขนาดเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีความยาวได้ 20 เซนติเมตร ปลาวัยอ่อนจะอาศัยหากินตามผิวน้ำที่ไม่ไกลจากฝั่งมากนัก และบางครั้งอาจเข้าไปหากินใกล้ชายฝั่งหรือใกล้กับเกาะ โดยใช้จะงอยปากที่แหลมยาวและครีบหลังที่ใหญ่ไล่ต้อน ซึ่งอาหารที่ชื่นชอบ คือ ปลาขนาดเล็กและหมึก เมื่อจะล่าเหยื่อ โดยเฉพาะปลาแมกเคอเรล จะเปลี่ยนสีลำตัวเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน เนื่องจากสายตาของปลาแมกเคอเรลไวต่อแสงสีฟ้าหรือสีน้ำเงินมาก รวมทั้งสามารถมองเห็นแสงอัลตราไวโอเลตด้วย การเปลี่ยนเป็นสีฟ้าจะทำให้ปลาแมกเคอเรลสับสน ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก เป็นปลาที่เป็นทื่นิยมอย่างมากในการตกเป็นเกมกีฬา ด้วยเป็นปลาที่สู้กับเบ็ดและต้องใช้พละกำลังและเวลาอย่างมากในการตก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนบอนเนต

ปลากระเบนบอนเนต (Bonnet rays) เป็นสกุลของปลากระเบนในสกุล Aetobatus (/เอ-โต-บา-ตัส/) ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก, อินเดีย และแอตแลนติก มีส่วนหัวและปากแหลม กินอาหารจำพวก ปูหรือหอยสองฝาเป็นอาหาร มีลักษณะเด่น คือ เป็นปลากระเบนที่มีครีบข้างยาว แยกออกจากส่วนหัว ส่วนหางยาว จึงทำให้ว่ายน้ำได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน เมื่อตกใจสามารถกระโดดขึ้นเหนือน้ำหรือกระโดดเพื่อเล่นคลื่นได้ แต่เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ปัจจุบันจำแนกออกเป็น 5 ชนิด.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนบอนเนต · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง (สกุล)

ปลากระเบนชายธง หรือ ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) เป็นสกุลของปลากระเบนจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pastinachus (เป็นภาษาละตินหมายถึง "ปลากระเบน" หรือ "ปลากระเบนธง") ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวที่เป็นทรงคล้ายสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายชายธงจึงทำให้เป็นที่มาของชื่อ กลางหลังมีเกล็ดชิ้นใหญ่คล้ายไข่มุกและมีส่วนที่เป็นเกล็ดรูปฟันขนาดเล็กปกคลุมผิวหนังส่วนบน บนฐานปากมีตุ่มเนื้อ 5 ตุ่ม ตรงกลาง 3 ด้านข้างอย่างละหนึ่งเหมือนกัน มีส่วนหางที่อวบอ้วน มีเงี่ยงที่กลางหางอยู่เลยกว่าตำแหน่งของปลากระเบนสกุลอื่น ๆ ที่มีเงี่ยงกันที่อยู่บริเวณโคนหาง ที่สำคัญ คือ แผ่นหนังที่เห็นได้ชัดเจนที่ปลายหาง หางมีความยาวกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ส่วนหัว ปัจจุบันพบทั้งสิ้น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนชายธง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนลายแมลงวัน

ปลากระเบนลายแมลงวัน หรือ ปลากระเบนลายเสือ หรือ ปลากระเบนเสือดาว (Reticulate whipray, Honeycomb whipray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Himantura uarnak อยู่ในวงศ์ Dasyatidae มีรูปร่างเหมือนกับปลาชนิดอื่นที่อยู่ในสกุล Himantura เช่นเดียวกัน มีจุดเด่นอยู่ที่ลวดลายของลำตัวด้านบนที่เป็นจุดดำบนสีพื้นสีเหลืองหรือสีน้ำตาลที่เหมือนกับลายของเสือดาว จะงอยปากแหลม ขณะที่ปลายังเล็กอยู่ ลวดลายเหล่านี้จะแตกออกเป็นแขนงเหมือนลายของตาข่าย และจะงอยปากไม่แหลมเหมือนปลาที่โต ขอบครีบทั้งสองข้างป้าน มีขนาดโตเต็มที่กว้างได้ถึง 2 เมตร น้ำหนักเต็มที่ได้ถึง 200 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งตามแนวปะการังของอินโด-แปซิฟิก ชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออก,แอฟริกาใต้ ทะเลแดง อ่าวเปอร์เซีย อ่าวไทย และออสเตรเลีย บางครั้งอาจเข้ามาหากินในบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้อีกด้วย สามารถดำน้ำได้ลึกถึง 50 เมตร ปลากระเบนลายแมลงวันนี้ ถือเป็นต้นแบบของปลาในสกุล Himantura โดยถือเป็นปลาที่ทำให้นักมีนวิทยาทำการแยกสกุลออกจากปลาในสกุล Pastinachus (ซึ่งในขณะนั้นยังคงใช้ชื่อสกุลว่า Raja) เป็นปลากระเบนอีกชนิดหนึ่งที่มีความสวยงาม จึงทำให้นิยมเลี้ยงกันในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ อาทิ สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำสวนสัตว์เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ หรือ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำดาวน์ทาวน์ โคโลราโด ในเดนเวอร์ รัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกา เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนลายแมลงวัน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนลายเสือ

ปลากระเบนลายเสือ (Marbled whipray) เป็นปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หางยาว โคนหางมีเงี่ยงแหลมมีพิษ 1 หรือ 2 ชิ้น ที่สามารถงอกใหม่ได้เมื่อหลุดหรือหักไป หางไม่มีริ้วหนัง พื้นลำตัวด้านบนสีน้ำตาลเหลือง กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ มีจุดดำคล้ายลายของเสือดาวกระจายอยู่ทั่วตัวไปจนปลายหาง อันเป็นที่มาของชื่อ พื้นลำตัวด้านล่างสีขาว หากินตามพื้นท้องน้ำโดยอาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็ก, สัตว์หน้าดิน และสัตว์มีเปลือก จะว่ายขึ้นมาหากินบริเวณผิวน้ำบ้างเป็นบางครั้ง มีขนาดความกว้างประมาณ 40 เซนติเมตร หางยาว 1.2 เมตร น้ำหนักตั้งแต่ 3-5 กิโลกรัม ปลากระเบนลายเสือเป็นปลาน้ำกร่อยที่พบอาศัยอยู่ค่อนมาทางน้ำจืด เป็นปลาที่พบน้อย พบได้ตามปากแม่น้ำ เช่น ปากแม่น้ำเจ้าพระยา, ปากแม่น้ำโขง, แม่น้ำแม่กลอง, ทะเลสาบเขมร และพบได้ไกลถึงปากแม่น้ำบนเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย แต่มีรายงานทางวิชาการว่าพบครั้งแรกที่แม่น้ำน่าน เนื่องจากเป็นปลาที่มีลวดลายสวยงามจึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพง แต่มักจะเลี้ยงไม่ค่อยรอดเพราะปลามักประสบปัญหาปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือภาวะแวดล้อมในที่เลี้ยงไม่ค่อยได้ ปลากระเบนลายเสือมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกว่า "ปลากระเบนเสือดาว", "ปลากระเบนลาย" หรือ "ปลากระเบนลายหินอ่อน".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนลายเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนหางริบบิ้น

ปลากระเบนหางริบบิ้น (Ribbontail stingrays.) เป็นสกุลของปลากระดูกอ่อนจำพวกปลากระเบนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Taeniura (/เท-นิ-อู-ร่า/) ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) เป็นปลากระเบนที่พบเฉพาะในทะเลเท่านั้น โดยกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการังและพื้นทรายของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก และพบในมหาสมุทรแอตแลนติก และทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตอนใต้ แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนหางริบบิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนหางหนาม

ปลากระเบนหางหนาม (Jenkins' whipray) ปลาทะเลกระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมด้านเท่า จะงอยปากแหลมเล็กน้อย ขอบปีกด้านข้างเป็นมุมมน ด้านหลังมีตุ่มแหลมมาก มีแกนกลางเป็นตุ่มใหญ่ไปจนถึงโคนหาง หางมีตุ่มหยาบมาก ลำตัวสีน้ำตาลแดง ด้านท้องสีขาว หางสีคล้ำ มีขนาดความกว้างได้ถึง 150 เซนติเมตร จากปีกด้านหนึ่งไปอีกยังด้านหนึ่ง อาศัยอยู่ตามพื้นทรายหรือพื้นที่มีโคลนปนตามแถบชายฝั่งจนถึงแนวปะการัง ตั้งแต่ชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาใต้, อ่าวเปอร์เซีย, ทะเลอาหรับ, ทะเลแดง, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลฟิลิปปิน ไปจนถึงตอนเหนือออสเตรเลีย เป็นปลาที่หากินสัตว์น้ำหน้าดินต่าง ๆ เป็นอาหาร เช่น หอย, ปู ในน่านน้ำไทยถือเป็นปลาที่พบได้น้อย หายาก แต่ที่มัลดีฟส์ เป็นปลาที่พบได้ง่าย โดยมักจะว่ายเข้ามาหานักท่องเที่ยวเพื่อขออาหารกิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนหางหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนหางแส้

ปลากระเบนหางแส้ (Whip rays) เป็นชื่อสกุลของปลากระเบน ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Himantura (/ไฮ-แมน-ทู-รา/) ปลากระเบนในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคือ มีปลายจะงอยปากที่แหลมยาว ขอบของด้านหน้าเชิงมน ลำตัวแบนกลมคล้ายใบโพ กลางหลังมีผิวที่ขรุขะและเป็นหนาม ในบางตัวอาจมีตุ่มหนามเล็ก ๆ ไปจรดถึงโคนหางที่เป็นเงี่ยงพิษ 2 ชิ้น มีส่วนหางที่เรียวยาวมาก โดยจะมีความยาวเป็น 2 เท่าของลำตัว มีซี่กรองเหงือกทั้งหมด 5 คู่ อยู่ด้านใต้ของลำตัวซึ่งเป็นสีขาว และสีจางกว่าด้านบนลำตัว ความยาวของลำตัววัดจากรูก้นถึงปลายจะงอยปากสั้นมากกว่าความกว้างลำตัว เป็นปลาที่พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียจนถึงมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ปัจจุบันพบแล้วกว่า 28 ชนิด โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลากระเบนราหู (H. polylepis) ที่พบอาศัยในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ของประเทศไทยไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ที่มีความยาวถึง 5 เมตร และหนักถึงเกือบ 300 กิโลกรัม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนหางแส้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนจุดฟ้า

ระวังสับสนกับ: ปลากระเบนทอง ปลากระเบนจุดฟ้า (Bluespotted stingray, Bluespotted maskray) ปลากระดูกอ่อนน้ำเค็มชนิดหนึ่ง จำพวกปลากระเบน อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีจะงอยปากและปลายครีบอกเป็นมุมกว้าง ด้านหลังลำตัวเรียบ หางเรียวยาวกว่าลำตัวเล็กน้อย ตาโตอยู่ชิดกันและมีแถบสีคล้ำระหว่างดวงตา ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลอ่อนอมเทาหรือเหลือง มีจุดประสีฟ้าอ่อนและดำกระจาย ด้านท้องสีจาง ปลายหางมีสีดำ มีปล้องสีขาวอยู่ 1-2 ปล้อง มีขนาดความกว้างของลำตัวประมาณ 50 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่ง ตั้งแต่แนวปะการังไปจนถึงที่ลึกอย่างไหล่ทวีป ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย โดยพบได้ประปรายในทวีปแอฟริกา มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ฝังตัวอยู่ใต้พื้นทรายในที่ตื้น ๆ โดยกินสัตว์น้ำเช่น กุ้ง, ปู และหอย เป็นอาหาร ในเขตน่านน้ำไทยพบได้ชุกชุมในบางพื้นที่ และพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามันหน้า 101, คู่มือปลาทะเล โดย ชวลิต วิทยานนท์ ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนจุดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนทอง

ระวังสับสนกับ: ปลากระเบนจุดฟ้า ปลากระเบนทอง หรือ ปลากระเบนหิน (Blue-spotted fantail ray, Bluespotted ribbontail ray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Taeniura lymma อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีลำตัวแบนค่อนข้างกลม ตาโปนโต มีช่องจมูกทางด้านข้างของตาขนาดใหญ่ ด้านล่างมีปากเว้าโค้ง ลำตัวกว้างประมาณ 25 เซนติเมตร หรือ 1 ฟุต มีหางยาวเท่า ๆ กับความยาวลำตัว มีเงี่ยงที่โคนหาง 2 อัน ลักษณะแหลมยาว ปลายหางมีแผ่นหนังบาง ๆ คล้ายปลากระเบนชายธง และมีแถบสีฟ้าเป็นคู่ขนานกันตั้งแต่โคนจรดปลายหาง ตามลำตัวเป็นเมือกลื่นสีเหลืองทอง และมีจุดสีฟ้าแต้มอยู่ทั่วทางด้านบน พื้นลำตัวมีหลากหลายสี ทั้ง สีเขียว, สีน้ำตาล หรือสีเทา ส่วนใต้ท้องมีสีขาว อาศัยอยู่ตามพื้นทรายในบริเวณแนวปะการังเขตร้อนทั่วไป พบได้ตั้งแต่ความลึกไม่เกิน 30 เมตร จนถึงชายฝั่ง กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็ก ตลอดจนสัตว์มีกระดองชนิดต่าง ๆ พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกไปจนถึง ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, อ่าวเบงกอล, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลจีนใต้, ทะเลฟิลิปปิน ไปจนถึงออสเตรเลียทางตอนเหนือ จัดเป็นปลากระเบนอีกชนิดหนึ่งที่มีขนาดไม่ใหญ่นักและมีความสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนค้างคาว

ปลากระเบนค้างค้าวหรือ ปลากระเบนเนื้อดำ หรือ ปลากระเบนนกจุดขาวหรือปลากระเบนยี่สน (Spotted eagle ray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) มีผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง 1–4 เงี่ยง พบมากที่สุด 6 เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว หางเรียวยาวมาก มีส่วนหัวที่แยกออกจากครีบเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน มีขนาดกว้างได้ถึง 1.5 เมตร เคยพบสูงสุดถึง 3 เมตร น้ำหนัก 230 กิโลกรัม หากินจำพวกสัตว์น้ำหน้าดิน เช่น หอย, กุ้ง, กั้ง, ปู บริเวณใต้พื้นน้ำเป็นอาหาร โดยใช้ปากคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหา บางครั้งอาจเข้ามาหากินถึงบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ บางครั้งจะรวมตัวกันเป็นฝูงหลายตัว และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 80 เมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ฮาวาย, อ่าวเม็กซิโก, ชายฝั่งทะเลของแอฟริกาตะวันตก, ชายฝั่งทะเลของสหรัฐอเมริกา และโอเชียเนีย ปลากระเบนค้างคาวออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมีถุงไข่แดงติดตัวมาด้วย ปลากระเบนค้างคาวสนนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจากปลาฉลาม โดยเฉพาะปลาฉลามหัวค้อน สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็นปลาแห้ง และทำเป็นปลาหย็อง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนค้างคาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนปากแหลม

ปลากระเบนปากแหลม หรือ ปลากระเบนตุ๊กตา (Scaly whipray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างคล้ายว่าว ลำตัวแบนลงมาก ส่วนหน้าตาจะยื่นยาวแหลม ขอบจมูกมีขนาดใหญ่เท่ากับความยาว ช่องเปิดเหงือกมี 5 คู่อยู่ด้านท้อง ส่วนหางแยกออกจากส่วนลำตัวอย่างเห็นได้ชัด หางมีลักษณะแบน มีหนามแหลม 2 อัน ขอบหนาหยักเป็นจักร ความยาวของหางใกล้เคียงกับความยาวลำตัว ซึ่งนับว่าไม่ยาวมากเมื่อเทียบกับปลากระเบนชนิดอื่นในสกุล Himantura ด้วยกัน ด้านบนของลำตัวสีน้ำตาลอ่อน มีจุดสีน้ำตาลม่วงกระจายอยู่ทั่วไป ใต้ท้องมีสีขาว พบอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลอยู่ตามหน้าดินในชายฝั่งทะเลตั้งแต่ทะเลแดง, ชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออก, มอริเชียส, อินโด-แปซิฟิก, ไปจนถึงอินโดนีเซีย ในบางครั้งเข้ามาหากินในแหล่งน้ำกร่อยหรือปากแม่น้ำได้ จัดเป็นปลากระเบนขนาดเล็กชนิดหนึ่ง โดยมีความกว้างเฉลี่ยของลำตัวประมาณ 25 เซนติเมตรเท่านั้น ในประเทศไทยใช้เนื้อเพื่อการบร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนปากแหลม · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนปีศาจ

ปลากระเบนปีศาจ (Devil rays) เป็นปลากระเบนสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Mobula ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) มีลักษณะใกล้เคียงกับปลากระเบนราหู หรือปลากระเบนแมนตา ที่อยู่ในสกุล Manta ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า "ปลากระเบนบิน" จากความสามารถที่สามารถกระโดดขึ้นเหนือผิวน้ำได้อย่างสวยงาม มีความกว้างของลำตัวจากปลายครีบอีกข้างหนึ่งจรดอีกข้างหนึ่งได้ถึง 5.2 เมตร (17 ฟุต) และมีน้ำหนักมากกว่าหนึ่งตัน ปลากระเบนปีศาจในอ่าวแคลิฟอร์เนีย (ทะเลคอร์เตส) มีรายงานว่ากระโดดได้สูงกว่า 2 เมตร ซึ่งพฤติกรรมในการกระโดดนี้ยังไม่ทราบถึงสาเหตุ แต่สันนิษฐานว่า อาจเป็นการกระโดดเพื่อต้อนอาหารซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็ก หรือเคย ให้ตกใจ และรวมกลุ่มอยู่ในฝูงของปลากระเบนปีศาจที่อยู่ตรงกลาง เพื่อง่ายต่อการกินเป็นอาหาร เพราะการกระโดดจะเป็นการกระโดดของปลาที่อยู่ด้านข้างฝูง หรืออาจเป็นไปได้ว่าเป็นการแสดงออกซึ่งความสนุกเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนแมลงวัน

ปลากระเบนแมลงวัน หรือ ปลากระเบนจุดขาว (Whitespotted whipray, Banded whip-tail stingray) เป็นปลากระเบนที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Himantura gerrardi ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ ส่วนหัวไม่แยกออกจากครีบหู แผ่นปีกของลำตัวค่อนข้างกลมมน ความกว้างของปีกเกือบเท่าความยาวของลำตัว มีหางยาวคล้ายแส้และมีตุ่มแข็งอยู่กึ่งกลางหลัง พื้นลำตัวสีน้ำตาลเขียวอมทอง มีจุดกลมสีขาวกระจายอยู่ทั่ว โคนหางมีเงี่ยงที่มีปลายแหลม 1 หรือ 2 อัน มีรอยคาดสีขาวเป็นปล้องสลับกันไปตามความยาวของหาง ซึ่งเมื่อปลายังเล็กอยู่จุดบนลำตัวดังและปล้องที่ข้อหางจะไม่ปรากฏ ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 24-120 เซนติเมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 2 เมตร จัดเป็นปลาทะเลที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังหรือชายฝั่ง พบได้ในทะเลตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทะเลแดง, แถบอินโด-แปซิฟิก ไปจนถึงภาคใต้ของญี่ปุ่นจาก fishbase.org บางครั้งอาจว่ายเข้ามาหากินในแถบน้ำกร่อยหรือน้ำจืดตามปากแม่น้ำได้ โดยมีรายงานว่าเคยพบที่แม่น้ำคงคาด้วย สำหรับในประเทศไทยพบมากที่จังหวัดจันทบุรี เป็นปลาที่ใช้เนื้อในการบริโภคและทำเป็นปลาแห้ง และมีการจับขายเป็นปลาสวยงามด้วย แต่โดยมากมักจะเลี้ยงไม่รอด เพราะปลาไม่สามารถที่จะปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดสนิทหรือในสภาพที่เลี้ยงได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนแมลงวัน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนแมนตา

ปลากระเบนแมนตา หรือ ปลากระเบนราหู (Manta rays) เป็นปลากระดูกอ่อนจำพวกหนึ่ง จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจมีความกว้างช่วงปีก (ครีบหู) ได้ถึง 6.7 เมตร หรือ 22 ฟุต มีน้ำหนักได้ถึง 1,350 กิโลกรัม หรือ 3,000 ปอนด์ อาศัยอยู่ในน่านน้ำเขตร้อนทั่วโลก โดยเฉพาะรอบ ๆ แนวปะการัง จัดอยู่ในสกุล Manta (เป็นภาษาสเปนแปลว่า "ผ้าห่ม") ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) เดิมทีแล้ว ปลากระเบนแมนตาถูกจัดอยู่ในวงศ์ Mobulidae แต่ในปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก โดยทั่วไปปลากระเบนแมนตาจะมีหลังสีดำและท้องสีขาว แต่อาจพบตัวที่มีหลังสีฟ้าได้บ้าง ตาอยู่บริเวณข้างหัว และต่างจากปลากระเบนทั่วไป ปากอยู่ทางด้านหน้าของหัว มีช่องเหงือก 5 คู่ เหมือนปลากระเบนทั่วไป ครีบหูพัฒนาเป็น ติ่งลักษณะคล้ายเขา หรือที่เรียกว่าครีบหัว อยู่บริเวณด้านหน้าของหัวแบน ๆ ครีบดังกล่าวเจริญขึ้นในช่วงตัวอ่อน เลื่อนมาอยู่รอบปาก ทำให้เป็นหนึ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลังมีขากรรไกร ที่มีรยางค์พิเศษอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดชนิดหนึ่ง (อีกชนิดคือ เต่าหก ((Manouria emys)) โดยเขาที่อ่อนนุ่มนี้มีไว้สำหรับโบกพัดเอาน้ำเข้าปาก เพื่อกินแพลงก์ตอน และเพื่อจะฮุบน้ำจำนวนมากต้องว่ายอ้าปากและพัดอาหารเข้าปากอยู่เสมอ ปลากระเบนแมนตาเคยหาอาหารตามพื้นท้องทะเลมาก่อน ก่อนที่จะวิวัฒนาการมาเป็นกรองกินแพลงก์ตอนตามทะเลเปิดในปัจจุบัน ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้จนมีขนาดใหญ่มากกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ลักษณะการกรองกินทำให้ฟันลดขนาดลงเป็นซี่เล็ก ๆ ส่วนใหญ่แอบอยู่ใต้ผิว คล้ายกับปลากระเบนทั่วไป มีหางเป็นเส้นยาว แต่หากปราศจากเงี่ยงที่ส่วนหาง และเกล็ดแหลมหุ้มลำตัวก็มีขนาดเล็กลง แทนที่ด้วยเมือกหนาหุ้มร่างกาย ส่วนท่อน้ำออกมีขนาดเล็กและไม่ทำหน้าที่ น้ำทั้งหมดไหลเข้าสู่ปากแทน เพื่อการว่ายน้ำที่ดี ปลากระเบนแมนตาวิวัฒนาการรูปร่างร่างกายให้เป็นสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด และมีการพัฒนาครีบให้คล้ายปีกสำหรับโบยบินในท้องทะเล ขนาดตัวยักษ์ใหญ่และความเร็วชนิดใกล้เคียงจรวด ทำให้ปลากระเบนแมนตามีศัตรูตามธรรมชาติน้อยมาก โดยที่ศัตรูของปลากระเบนแมนตาในน่านน้ำไทยกลุ่มเดียว คือวาฬเพชรฆาต (Orcinus orca) และวาฬเพชรฆาตเทียม (Pseudorca crassidens) แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานแน่นอน โดยปกติแล้วกินแพลงก์ตอน, ตัวอ่อนปลา และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ทั่วไปโดยการกรองน้ำที่ไหลเข้าสู่ปากโดยใช้ซี่เหงือก ซึ่งเรียกว่า แรม-เจ็ต (Ram-jet) ปลากระเบนแมนตา เดิมถูกจัดเป็นเพียงปลาชนิดเดียว และปัจจุบันถูกจำแนกออกเป็น 2 ชนิด เมื่อไม่นานมานี้ ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนแมนตา · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนแมนตามหาสมุทร

ปลากระเบนแมนตามหาสมุทร หรือ ปลากระเบนราหูมหาสมุทร (Giant oceanic manta ray, Oceanic manta) เป็นปลากระเบนแมนตาชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) ที่จะงอยปากมีหงอนหนังขนาดใหญ่ ปากอยู่ทางด้านหน้าสุด ครีบอกโค้งเรียวแหลม ด้านหลังมีเกล็ดที่เป็นตุ่มสากละเอียด หางมีความสั้นไม่มีเงี่ยงแหลม ครีบหลังมีขนาดเล็ก ด้านหลังมีสีดำเข้ม ขณะที่บางตัวจะไม่เป็นสีดำทั้งหมด แต่จะมีระยะห่างระหว่างแถบด้านซ้ายและด้านขวา ส่วนใต้ท้องสีท้องมีแถบสีเข้มบริเวณครีบอก ท่อนหลังทั้งด้านซ้ายและขวายาวตั้งแต่ปลายครีบถึงกึ่งกลางลำตัว มีพฤติกรรมรวมตัวเป็นฝูงขนาดเล็กจนถึงใหญ่ ตั้งแต่ 100-600 ตัว ขณะว่ายน้ำกินแพลงก์ตอนอาจมีการว่ายตีลังกาหรือหงายท้องได้ มีพฤติกรรมในการว่ายน้ำตีโค้งกว่าปลากระเบนแมนตาแนวปะการัง (M. alfredi) ซึ่งเป็นปลากระเบนแมนตาอีกชนิดหนึ่ง และมักจะพบกลางน้ำหรือนอกแนวปะการังมากกว่าจะอยู่ในแนวปะการัง มีการเคลื่อนย้ายที่อยู่อาศัยไปตามฤดูกาล โดยอยู่เป็นฝูงขนาดเล็กไม่กี่ตัว ขนาดความกว้างที่พบมีตั้งแต่ 3-7 เมตร น้ำหนักประมาณ 2.4 ตัน (ตัวอย่างใหญ่สุดที่พบคือ 7.6 เมตร) และโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่จะมีขนาดประมาณ 4 เมตร ซึ่งคิดโดยเฉลี่ยแล้วมีขนาดเล็กกว่าปลากระเบนแมนตาแนวปะการัง แต่ทั้ง 2 ชนิดนี้ก็สามารถพบได้ในทะเลเปิดและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนแมนตามหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนแมนตาแนวปะการัง

ปลากระเบนแมนตาแนวปะการัง หรือ ปลากระเบนราหูแนวปะการัง (Reef manta ray) เป็นปลากระเบนแมนตาชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลากระเบนแมนตามหาสมุทร (M. birostris) ที่เป็นปลากระเบนแมนตาอีกชนิดหนึ่ง มีความแตกต่างกันที่ด้านหลังของปลากระเบนแมนตาแนวปะการังตัวไหนที่มีสีดำไม่หมด จะเป็นแถบร่องที่เล็กกว่าของปลากระแบนแมนตามหาสมุทร อีกทั้งสีดำที่ใต้ท้องก็มีแถบแคบ ๆ ใกล้กับบริเวณปลายครีบอกเท่านั้น อีกทั้งยังมีพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากปลากระเบนแมนตามหาสมุทร ตรงที่จะกระจายพันธุ์อยู่รวมเป็นฝูงกันตามแนวปะการัง ไม่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ ไม่ได้อยู่ในทะเลลึกหรือทะเลเปิด ไม่มีพฤติกรรมการอพยพย้ายถิ่นที่อยู่ และมีลักษณะการว่ายน้ำที่ตีโค้งเป็นวงแคบกว่า มีขนาดความกว้างโดยเฉลี่ย 3-4 เมตร โดยตัวอย่างใหญ่สุดที่พบคือ 5.5 เมตร โดยเฉลี่ยนับว่าใหญ่กว่าปลากระเบนแมนตามหาสมุทร แต่อย่างไรก็ตาม ปลากระเบนทั้ง 2 ชนิด โดยเฉพาะปลากระเบนแมนตาแนวปะการังจะพบได้ตามทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก หลายพื้นที่พบได้ทั้ง 2 ชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งแถบอินโด-แปซิฟิก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนแมนตาแนวปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนโปลกาด๊อท

ปลากระเบนโปลกาด๊อท (Xingu river ray) เป็นปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Potamotrygon leopoldi ในวงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Potamotrygonidae) มีลำตัวรูปร่างทรงกลม พื้นลำตัวสีดำสนิท มีจุดกลมสีขาวกระจายไปทั่วลำตัวด้านบน ด้านล่างสีขาว ปลายหางมีริ้วหนังบาง ๆ ซึ่งจุดกลมเหล่านี้มีจำนวนและขนาดแตกต่างกันออกไปในปลาแต่ละตัว มีขนาดลำตัวโตเต็มที่ราว 43 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่เฉพาะแม่น้ำซิงกู ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำอเมซอน ในประเทศบราซิลเท่านั้น ได้รับความนิยมในฐานะเป็นปลาสวยงาม โดยมีรหัสทางการค้าว่า P13 ซึ่งผู้เลี้ยงมักนิยมเลี้ยงในบ่อขนาดใหญ่และเลี้ยงรวมกันหลายตัว และสามารถผสมพันธุ์กันออกลูกในที่เลี้ยงได้ อายุเมื่อปลาพร้อมที่จะผสมพันธุ์คือ 5 ปี และยังสามารถผสมข้ามสายพันธุ์กับปลากระเบนชนิดอื่นในสกุลเดียวกันได้ด้วย เช่น ปลากระเบนโมโตโร่ (P. motoro) ทำให้เกิดลูกปลาสายพันธุ์ใหม่ที่จะได้จุดและสีสันลำตัวแปลกออกไป ส่วนสถานะปลาในธรรมชาตินั้นใกล้สูญพันธุ์แล้ว เนื่องจากสูญเสียที่อยู่อาศัย สำหรับในวงการปลาสวยงาม ปลาในตัวที่มีจุดสีขาวมากกว่าปกติ โดยมีจุดรอบขอบครีบถึง 3 แถว เรียกว่า "แบล็คไดมอนด์" เป็นปลาที่ในธรรมชาติ จะพบได้ที่แม่น้ำเซาเฟลิก ในเขตประเทศบราซิล มีราคาซื้อขายแพงกว่าปลากระเบนโปลกาด็อทธรรมดามาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนโปลกาด๊อท · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนไฟฟ้า

ปลากระเบนไฟฟ้า (Electric rays, Numbfishes, Coffin rays, Sleeper rays, Crampfishes) เป็นปลากระเบนที่มีรูปร่างกลม จัดอยู่ในอันดับ Torpediniformes และมีอวัยวะคู่หนึ่งที่สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์รูปหกเหลี่ยมเรียงซ้อนกันเป็นกลุ่ม ตั้งอยู่ทางด้านข้างของตาถัดไปถึงครีบอก ภายในมีสารเป็นเมือกคล้ายวุ้น ทำหน้าที่ในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยความแรงมีตั้งแต่ระดับต่ำเพียง 8 โวลต์ไปจนถึง 220 โวลต์ ขึ้นอยู่กับชนิด กระแสไฟฟ้านี้ใช้เพื่อทำให้เหยื่อสลบหรือฆ่าเหยื่อ ปลากระเบนไฟฟ้าทั้งหมดมีรูปร่างแบนกลม ตามีขนาดเล็กมาก (มีอยู่ 4 ชนิดที่ตาบอด) ส่วนหางพัฒนาอย่างสมบูรณ์แข็งแรง และไม่มีเงี่ยงหางแหลมคมเหมือนปลากระเบนในอันดับอื่น มีลำตัวหนาและอ่อนนุ่ม มีครีบหลัง 2 ตอน หรือไม่มีเลย ปลากระเบนไฟฟ้ามีทั้งหมด 4 วงศ์ (ดูในตาราง) ประกอบด้วย 69 ชนิด 11 สกุล โดยทั้งหมดพบในทะเล พบในบริเวณอบอุ่นในเขตร้อนของมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ปลากระเบนไฟฟ้ามักหมกตัวอยู่ใต้พื้นทราย สามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้หากเหยียบไปถูกเข้า ซึ่งอาจทำให้เกิดเกิดอาการชาและจมน้ำเสียชีวิตได้ อวัยวะสร้างกระแสไฟฟ้าคู่ ปลากระเบนไฟฟ้าในภาษาไทยมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ปลาเสียว" โดยชนิดที่พบได้ในน่านน้ำไทย เช่น ปลากระเบนไฟฟ้าหลังเรียบ (Temera hardwickii), ปลากระเบนไฟฟ้าสีน้ำตาล (Narcine brunnea), N. indica และ Narke dipterygia ส่วนชนิดที่พบได้ในต่างประเทศและเป็นที่รู้จักดีได้แก่ ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก (Torpedo californica), ปลากระเบนไฟฟ้าตาบอด (Typhlonarke aysoni) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก

ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก (Pacific electric ray; Torpedo pacific) เป็นปลากระเบนไฟฟ้าชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออก ตั้งแต่บริติชโคลัมเบีย (แคนาดา), คาบสมุทรแคลิฟอร์เนีย (เม็กซิโก) และอาจพบได้ในส่วนอื่น ๆ ของมหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 140 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 41 กิโลกรัม ลำตัวรูปร่างกลม มีสีเทา และมีจุดสีดำอยู่บนหลัง ครีบหลังทั้งสองครีบอยู่ใกล้หาง มักพบได้ในดงสาหร่ายเคลป์และก้นทะเลที่เป็นทราย บางครั้งอาจฝังตัวอยู่ในทราย กินปลากระดูกแข็งเป็นอาหาร โดยเฉพาะจำพวกปลาเฮอร์ริ่งและปลาเบน สามารถทำให้เหยื่อสลบโดยปล่อยกระแสไฟฟ้าออกจากอวัยวะพิเศษ ความแรงอาจถึง 50 โวลต์และ 1 กิโลวัตต์ มีอายุขัยค่อนข้างนาน ตั้งแต่ 4.5 ถึง 14 ปี ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิกมักถูกใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัยทางอณูชีววิทยา เพราะอวัยวะสร้างกระแสไฟฟ้ามีปริมาณโปรตีนบางชนิดอยู่สูงมาก ตัวอย่างเช่น อะซีทิลคอลีนสเตอเร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนเฮนไล

ปลากระเบนเฮนไล หรือ ปลากระเบนโปลกาด๊อทจุดเหลือง (Bigtooth river stingray, Tocantins river ray) เป็นปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Potamotrygonidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Potamotrygon henlei มีรูปร่างลักษณะคลายกับปลากระเบนโปลกาด๊อท (P. leopoldi) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันมาก แต่ปลากระเบนเฮนไลจะมีสีบนลำตัวอ่อนกว่า โดยจะเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลดำ และจุดเป็นลำตัวจะออกไปทางสีขาวปนเหลือง จึงทำให้ได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ปลากระเบนโปลกาด๊อทจุดเหลือง" และจุดดังกล่าวจะลามไปจนถึงใต้ท้อง ซึ่งปลากระเบนโปลกาด๊อทไม่มีลักษณะเช่นนี้ มีความกว้างของลำตัวประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งนับว่าเล็กกว่าปลากระเบนโปลกาด๊อทเล็กน้อย และพบในแม่น้ำริโอ โตคานทินส์ ในประเทศบราซิลเท่านั้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลากระเบนโปลกาด๊อทและปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน โดยมีรหัสทางการค้าว่า P12.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากระเบนเฮนไล · ดูเพิ่มเติม »

ปลากรายคองโก

ปลากรายคองโก เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) และเป็นหนึ่งในสองชนิดเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Papyrocranus ซึ่งพบได้ในทวีปแอฟริกา เป็นปลาที่มีรูปร่างคล้ายกับ P. afer ซึ่งพบได้กว้างขวางกว่า แต่ปลากรายคองโกนั้นมีขนาดความยาวที่เล็กกว่า กล่าวคือยาวเพียง 20 เซนติเมตรเท่านั้น และมีลวดลายเป็นลายบั้งมากกว่าจะเป็นลายจุด อีกทั้งสีลำตัวที่เข้มกว่าคือเป็นสีน้ำตาลเข้ม ซึ่งครั้งหนึ่งเคยถูกระบุว่าเป็นชนิดย่อยของชนิด P. afer.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากรายคองโก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากรายแอฟริกา

ปลากรายแอฟริกา (African brown knifefish, African knifefish, False featherbackfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenomystus nigri ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) นับเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นทีอยู่ในสกุล Xenomystus มีรูปร่างคล้ายกับปลาสลาด (Notopterus notopterus) ที่พบได้ในทวีปเอเชีย แต่ทว่ามีขนาดลำตัวที่เพรียวบางกว่า ไม่มีครีบหลัง ครีบท้องและก้นพริ้วไหวได้เร็วกว่า และมีจุดเด่นที่เห็นชัดคือ จมูกมีสองคู่ คู่หน้ายื่นออกมาคล้ายหลอดหรือหนวด ซึ่งใช้เป็นประสาทสัมผัสในการหาอาหาร ซึ่งเห็นได้ชัดเจนกว่าปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน พบกระจายทั่วไปในทวีปแอฟริกาตอนกลาง ในแถบลุ่มแม่น้ำไนล์และแอ่งน้ำในเซียร์รา ลีโอน, ชาด, ซูดาน, โตโก, เบนิน และแคเมอรูน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต แต่โดยเฉลี่ยที่พบทั่วไป คือประมาณ 8 นิ้ว โดยอาศัยในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำขึ้นหนาแน่น ปลาตัวเมียวางไข่ประมาณ 150-200 ฟอง ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 มิลลิเมตร และยังมีความสามารถพิเศษคือ สามารถเปล่งเสียงออกมาได้ด้วย เพื่อหาอาหาร เนื่องจากหากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารจำพวก แมลงน้ำและสัตว์มีเปลือกขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม มีอุปนิสัยที่ค่อนข้างก้าวร้าวในหมู่พวกเดียวกัน แต่ทว่าจะไม่แสดงพฤติกรรมเหล่านี้ต่อปลาชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากรายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลากริม

ปลากริม เป็นสกุลปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Trichopsis (/ไทร-ช็อป-ซิส/) ในวงศ์ Macropodinae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายปลาในสกุลปลากัด (Betta spp.) แต่มีรูปร่างและขนาดที่เล็กกว่า ส่วนหัวจะแหลมกว่า จะมีแถบลายพาดขวางในแนวนอนประมาณ 2-3 แถบที่ข้างลำตัว และมีสีสันไม่สดเท่า ครีบท้องมีก้านครีบเดี่ยวยื่นออกมาเป็นเส้นยาว ครีบหางปลายแหลมคล้ายใบโพ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 2-6 ก้าน และก้านครีบแขนง 19-28 ก้าน พบได้ทั่วไปในทุกแหล่งน้ำของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในนาข้าว, ท้องร่องสวน จนถึงแม่น้ำลำคลองขนาดใหญ่ มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นฝูงขนาดเล็ก มีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร มีกัดกันเองบ้างในฝูง แต่ไม่ถึงขั้นกัดกันถึงตายเหมือนเช่นปลาในสกุลปลากัดบางชนิด อาทิ Betta spendens แต่มีจุดเด่น คือ สามารถส่งเสียงดัง "แตร็ก ๆ ๆ" ได้ พร้อมกับกางครีบ เมื่อต้องการขู่ผู้รุกราน ซึ่งเป็นเสียงของการเกร็งกล้ามเนื้อที่อยู่ข้างถุงลม เป็นปลาที่จำแนกเพศได้ยากกว่าปลาในสกุลปลากัด แต่ทว่าก็มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ตัวเมียจะมีขนาดเล็กและครีบต่าง ๆ สั้นกว่า รวมถึงสีสันก็อ่อนกว่าตัวผู้ เมื่อผสมพันธุ์จะจับคู่กันเองในฝูง โดยที่ตัวผู้เป็นฝ่ายก่อหวอดและเฝ้าดูแลไข่จนฟักเป็นตัว และเลี้ยงดูในระยะแรก ปัจจุบัน พบทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากริม · ดูเพิ่มเติม »

ปลากริมอีสาน

ปลากริมอีสาน (Threestripe gourami.) เป็นปลากริมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trichopsis schalleri ในวงศ์ Osphronemidae มีรูปร่างและสีสันคล้ายกับปลากริมมุก (T. pumilus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ทว่ามีครีบหลังและครีบอกยาวกว่า ปลากริมอีสานนั้นมีแหล่งกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะลุ่มน้ำโขงทางภาคอีสานของไทยเท่านั้น ถือเป็นปลาเฉพาะถิ่นอีกชนิดหนึ่ง แรกเริ่มเคยเชื่อว่าเป็นความหลากหลายทางสีสันของปลากริมควาย (T. vitatus) ซึ่งเป็นปลากริมชนิดที่พบชุกชุมมากที่สุด เนื่องจากเป็นชนิดที่คล้ายคลึงกันและพบในแหล่งเดียวกัน แต่เมื่อได้ศึกษาไปแล้วพบว่าทั้ง 2 ชนิด นี้ไม่ได้มีการผสมข้ามสายพันธุ์กัน จึงถือว่าเป็นชนิดใหม่ มีความยาวลำตัวประมาณ 6 เซนติเมตร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากริมอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากริมแรด

ปลากริมแรด (Licorice gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กที่อยู่ในสกุล Parosphromenus ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาที่อยู่ในสกุล Trichopsis หรือปลากริม แต่มีฐานครีบหลังกว้างกว่า และมีขอบครีบสีฟ้า ตามลำตัวมีลวดลายหรือลายแถบแตกต่างกันออกไปตามแต่ชนิด ปลากริมแรด กระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย ไปตลอดแหลมมลายู จนถึงอินโดนีเซีย มักอาศัยอยู่ในพื้นที่ ๆ เป็นป่าพรุ หรือน้ำที่มีสภาพเป็นกรด มีสีชา (ค่า pH ต่ำกว่า 7) ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียวเท่านั้น จัดเป็นปลาที่หายาก และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากริมแรด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากล่อง

ปลากล่อง หรือ ปลาปักเป้ากล่อง หรือ ปลาปักเป้าเหลี่ยม (Boxfish, Trunkfish) เป็นสกุลของปลาปักเป้า ในวงศ์ปลาปักเป้ากล่อง (Ostraciidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Ostracion มีลำตัวเป็นทรงสี่เหลี่ยมเหมือนกล่อง แตกต่างจากปลาปักเป้าทั่วไปอย่างเห็นได้ชัด ลำตัวมีเกราะแข็งหุ้มเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูในแนวตัดขวาง ปากมีขนาดใหญ่และมีฟันซี่เล็ก ๆ ครีบหางใหญ่ ส่วนครีบอื่น ๆ เล็กเหมือนปลาปักเป้าทั่วไป สีและลวดลายตามลำตัวสดใสแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิด เป็นปลาที่อาศัยหากินอยู่ตามลำพัง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และอินเดีย ในแนวปะการัง กินอาหารที่อยู่ตามซอกหลีบหินปะการัง เช่น ฟองน้ำ, ครัสเตเชียน และหอย เป็นอาหาร ขนาดโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30-45 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากล่อง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงลาย

ปลากะพงลาย (Silver tiger fish, American tiger fish) เป็นปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Datnioides polota อยู่ในวงศ์ปลาเสือตอ (Datnioididae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในวงศ์นี้ทั่วไป แต่ทว่ามีช่วงปากและรูปทรงลำตัวที่เรียวยาวและแหลมกว่าปลาเสือตอลายใหญ่ (D. pulcher) หรือ ปลาเสือตอลายเล็ก (D. undecimradiatus) และมีสีของลำตัวออกขาวเหลือบเงินและเขียวแวววาว ลายแถบสีดำบนลำตัวมีขนาดเรียวเล็ก ลายแถบตรงข้อหางแถบสุดท้ายเป็นขีดขาดกันแลดูคล้ายจุดสองขีด ขนาดความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร นับว่าใกล้เคียงกับปลาเสือตอลายเล็ก พบกระจายพันธุ์บริเวณปากแม่น้ำหรือป่าโกงกางชายฝั่งทะเลที่เป็นน้ำกร่อย ตั้งแต่อินเดียจนถึงปาปัวนิวกินี และออสเตรเลีย ปลากะพงลายเป็นปลาที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ ซึ่งในบางครั้งจะมีชื่อเรียกในการค้าขายว่า "ปลาเสือตอแปดริ้ว", "ปลาเสือตอบางปะกง" หรือ "ปลาเสือตอน้ำกร่อย" นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่น อีก เช่น "ปลาลำพึง", "ปลาลำพัง", "ปลากะพงแสม" หรือ "ปลากะพงหิน" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงหน้าลาย

ปลากะพงหน้าลาย (bluespotted snapper, blubberlip snapper, Maori snapper) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีส่วนหัวค่อนข้างโต ด้านหน้าโค้งลาด ลำตัวกว้าง ครีบอกเรียวโค้ง ครีบหางเว้าตื้น หัวและตัวสีน้ำตาลแดงหรือสีคล้ำ บริเวณส่วนหน้ามีลายเส้นวนสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีจุดประเล็ก ๆ สีเดียวกันทั่วทั้งตัว ในบางตัวมีขอบครีบสีเหลือง มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เพียงลำพังตัวเดียว โดยหากินตามกองหินใต้น้ำเหรือแนวปะการัง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกจนถึงตาฮิติ, ทะเลญี่ปุ่น จนถึงตอนใต้ของออสเตรเลีย สำหรับในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย แต่ในฝั่งอ่าวไทยจะพบได้เฉพาะเป็นบางจุดเท่านั้น จัดเป็นปลาที่พบได้น้อย นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงหน้าลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงผี

ปลากะพงผี (Black beauty, Black and white snapper) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีลักษณะทั่วไปเหมือนปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันทั่วไป แต่ส่วนหัวโตกว่า ปากกว้าง ลำตัวกว้าง ครีบหางเว้าตื้น ลำตัวสีคล้ำ มีลวดลายสีเหลืองหรือสีจาง ๆ ที่หน้าและลำตัว ปลาขนาดใหญ่มักมีสีคล้ำ ปลาขนาดเล็ก มีลายสีขาว-ดำตัดกันชัดเจน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 75 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นฝูง มักพบในแนวปะการังในที่ลึก โดยปลาขนาดเล็กมักว่ายอยู่ตามหน้าหิน กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กไปเป็นอาหาร เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก ไปจนถึงออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบได้ในแถบทะเลอันดามันเท่านั้น โดยเป็นปลาที่พบได้น้อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงผี · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงขาว

ปลากะพงขาว เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ อยู่ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) มีรูปร่างลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากค่อนข้างยาวและแหลม นัยน์ตาโต ปากกว้างยืดหดได้ มุมปากอยู่เลยไปทางหลังนัยน์ตา ฟันเป็นฟันเขี้ยวอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง ขอบกระดูกแก้มเป็นหนามแหลม ขอบกระดูกกระพุ้งเหงือกแข็งและคม คอดหางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง เกล็ดใหญ่มีขอบหยักเป็นหนามเมื่อลูบจะสากมือ ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบเป็นหนามแข็ง ปลายแหลม อันที่สองเป็นครีบอ่อนมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบใหญ่ปลายกลมมน พื้นลำตัวสีขาวเงินปนน้ำตาล แนวสันท้องสีขาวเงิน มีขนาดความยาวประมาณ 20-40 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 2 เมตร หนักได้ถึง 60 กิโลกรัม โดยปลาที่พบในทะเลจะมีขนาดใหญ่กว่าปลาที่พบในน้ำจืด พบกระจายทั่วไปในชายฝั่งทะเลของทวีปเอเชียไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย โดยเป็นปลาที่อพยพไปมาระหว่างทะเลกับน้ำจืด โดยพ่อแม่ปลาจะว่ายจากชายฝั่งเข้ามาวางไข่ในป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำ จนกระทั่งลูกปลาฟักและเติบโตแข็งแรงดีแล้ว จึงจะว่ายกลับสู่ทะเล บางครั้งพบอยู่ไกลจากทะเลนับเป็นร้อย ๆ กิโลเมตร เช่นที่ แม่น้ำโขง ก็มีเป็นปลากินเนื้อ อาหารได้แก่ สัตว์น้ำ, ปลา, กุ้ง ที่มีขนาดเล็กกว่า เป็นปลาเศรษฐกิจที่กรมประมงส่งเสริมให้เลี้ยง เกษตรกรนิยมผลิตลูกปลาชนิดนี้ส่งไปจำหน่ายยังประเทศมาเลเซียและไต้หวัน เนื้อมีรสชาติดี นำมาประกอบอาหารได้หลายประเภท เช่น แปะซะ, นึ่งบ๊วย เป็นต้น และนิยมตกเป็นเกมกีฬา อีกทั้งยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย ปลากะพงขาวยังมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ปลากะพงน้ำจืด" ขณะที่ชื่อท้องถิ่นในลุ่มแม่น้ำบางปะกงเรียก "ปลาโจ้โล้".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงขาว (สกุล)

ปลากะพงขาว สกุลของปลาน้ำจืด, น้ำกร่อย และปลาทะเลจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Lates (/ลา-ติส/) มีรูปร่างโดยรวม คือ รูปร่างลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากค่อนข้างยาวและแหลม นัยน์ตาโต ปากกว้างยืดหดได้ มุมปากอยู่เลยไปทางหลังนัยน์ตา ฟันเป็นฟันเขี้ยวอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง ขอบกระดูกแก้มเป็นหนามแหลม ขอบกระดูกกระพุ้งเหงือกแข็งและคม คอดหางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง เกล็ดใหญ่มีขอบหยักเป็นหนามเมื่อลูบจะสากมือ ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบเป็นหนามแข็ง ปลายแหลม อันที่สองเป็นครีบอ่อนมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบใหญ่ปลายกลมมน มีขนาดตั้งแต่ประมาณ 1 ฟุต ไปจนถึงเกือบ 2 เมตร และมีน้ำหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม ในปลากะพงแม่น้ำไนล์ (L. niloticus) ซึ่งจัดว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลนี้และวงศ์นี้ ที่พบได้ในแหล่งน้ำจืดของทวีปแอฟริกา ปลากะพงขาวมีทั้งหมด 9 สปีชีส์ ซึ่งจัดว่ามีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ ทั้งหมดนิยมใช้ตกเป็นปลาเกมกีฬา และนิยมบริโภคเนื้อเป็นอาหาร พบตั้งแต่ทะเลสาบน้ำจืดหลายแห่งในทวีปแอฟริกาไปจนถึงชายฝั่งทะเลในทวีปเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย โดยมี 2 ชนิดเท่านั้นที่พบในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ซึ่งคำว่า Lates นั้นมาจากภาษาละตินคำว่า latēre หมายถึง "ถูกซ่อนไว้".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงขาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงข้างปาน

ปลากะพงข้างปาน (Russell's snapper, Moses perch) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์เดียวกันทั่วไป ครีบหลังมีฐานยาว ครีบหางมีขนาดใหญ่และปลายเว้าเล็กน้อย มีพื้นลำตัวสีเหลืองหรือสีทอง หรือสีน้ำตาลแดงหรือสีขาวเงิน มีเส้นสีแดงปนน้ำตาลจำนวน 8 เส้น พาดผ่านและโค้งไปตามแนวลำตัว บริเวณก่อนถึงโคนหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร เมื่อยังเป็นลูกปลาจะมีลายพาดแนวนอนตามลำตัวตั้งแต่หัวจรดหาง 3-4 ขีด และเมื่อโตขึ้นลายขีดจะหายไป ครีบและหางกลายเป็นสีเหลือง อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลใกล้ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน พบในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ในประเทศไทยพบได้ทั้งชายฝั่งอันดามันและอ่าวไทย นิยมอยู่เป็นฝูง นิยมตกเป็นเกมกีฬา เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลากะพงปานข้างลาย", "ปลาเหลืองลีซี" หรือ "ปลากะพงทอง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงข้างปาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงดำ

ปลากะพงดำ (Tripletail, Atlantic tripletail) ปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในอันดับปลากะพง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lobotes surinamensis อยู่ในวงศ์ปลากะพงดำ (Lobotidae) มีลักษณะลำตัวแบนค่อนข้างลึก ความยาวหัวจะสั้นกว่าความลึกลำตัว ปากกว้างเฉียงขึ้น มุมปากจะอยู่แนวเดียวกับปุ่มกลางนัยน์ตา ครีบหลังจะเป็นก้านครีบเดี่ยวเป็นซี่ปลายแหลมประมาณ 11-13 ก้าน และก้านครีบแขนง 13-16 ก้าน ส่วนครีบหลัง ครีบก้น ครีบหางขนาดใกล้เคียงกันดูเหมือนจะมีครีบหาง 3 ครีบ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ ขนาดค่อนข้างใหญ่สีน้ำตาลเข้มทั้งตัวหรือสีเหลืองอมเขียวมะกอก มีความยาวเต็มที่ได้ 110 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์บริเวณน้ำกร่อยตามปากแม่น้ำ พบได้ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และแถบอินโด-แปซิฟิก ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีพฤติกรรมอำพรางตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อล่าเหยื่อและอำพรางสัตว์ผู้ล่าที่ใหญ่กว่า โดยปรับเปลี่ยนสีได้ ปกติมักจะลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ กับที่โดยทิ่มส่วนหัวลง กินสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ลูกปลาวัยอ่อนมักอาศัยอยู่ตามปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน โดยมักจะตะแคงข้างหรือลอยตัวนิ่ง ๆ ทำให้แลดูคล้ายใบไม้ นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา และรับประทานเนื้อเป็นอาหาร แต่หากนำไปปรุงด้วยการทำแกงหรือต้มยำ รสชาติจะจืดชืดไม่อร่อย จนต้องโยนหม้อที่ใช้ต้มทิ้งไปพร้อมปลา จนได้อีกชื่อเรียกหนึ่งว่า "ปลาหม้อแตก" และมีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "กะพงขี้เซา", "กะพงแสม", "อีโป้", "ใบไม้" "ตะกรับทะเล" หรือ "กูกู" (มอแกน) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงแดง

ปลากะพงแดง เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งที่อยู่ในสกุล Lutjanus ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) คำว่า Latjanus รวมถึง Lutjanidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ด้วย มาจากคำว่า ikan lutjan (อีกันลุตจัน) ซึ่งเป็นชื่อเรียกปลาจำพวกนี้ในภาษามลายู ปลากะพงแดงเป็นปลากินเนื้อ อาศัยอยู่ในทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแอตแลนติก บางชนิดอาจปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ และมีอยู่สองชนิดที่พบได้เฉพาะในน้ำจืดและน้ำกร่อยเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงแดงสั้นหางปาน

ปลากะพงแดงสั้นหางปาน (Malabar red snapper, Malabar blood snapper, scarlet sea perch) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีลำตัวค่อนข้างป้อม ด้านข้างแบน หางยาว หัวโต ตาใหญ่ จะงอยปากสั้น ปากกว้างมีฟันซี่เล็ก ๆ เรียงติดกันเป็นแผง ครีบหลังมีฐานยาว ส่วนที่เป็นก้านครีบแข็งมีขอบปลายเว้าขึ้นลงตามความสูงต่ำของก้านครีบ ครีบก้นอยู่ใกล้กับหาง ครีบอกและครีบท้องมีขนาดไล่เลี่ยกัน ครีบหางใหญ่และลำตัวตรง พื้นลำตัวด้านบนสีแดงหรือชมพูอมแดง ส่วนท้องสีเหลือง เหมือนเส้นข้างตัวมีเส้นสีเหลืองจางพาดเฉียงขึ้น เมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน จะมีลำตัวสีเหลืองอ่อน จะมีแถบสีดำพาดผ่านบริเวณส่วนหน้า และข้อหางมีปื้นสีดำคล้ายปาน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดใหญ่ที่สุดถึง 1 เมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยที่พบคือ 30-60 เซนติเมตร หากินตามแนวปะการังหรือใกล้ชายฝั่ง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อ่าวเปอร์เซีย, ทะเลอาหรับ, อินโด-แปซิฟิก, ฟิจิ, ทะเลญี่ปุ่น จนถึงออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาเศรษฐกิจที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร เนื้อมีรสชาติดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงแดงสั้นหางปาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงแดงหน้าตั้ง

ปลากะพงแดงหน้าตั้ง (Emperor red snapper) เป็นปลาน้ำเค็มกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lutjanus sebae อยู่ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างป้อมสั้น ด้านข้างแบน ส่วนของท่อนหางยาว หัวโต บริเวณหัวส่วนบนมีลักษณะลาดชัน นัยน์ตามีขนาดใหญ่ ปากกว้างมีฟันซี่เล็ก ๆ เรียงเป็นแผง ครีบหลังมีฐานยาว ปลายเรียวแหลม ครีบก้นอยู่ใกล้กับคอดหางและมีส่วนปลายแหลม ครีบหูและครีบท้องมีส่วนที่เป็นก้านครีบแข็งมีจำนวนใกล้เคียงกัน ครีบหางยาวและเว้าลึก สีจะเข้มหรือจางขึ้นอยู่กับขนาดและอายุของปลา ขณะที่เป็นปลาวัยอ่อนลำตัวจะมีสีชมพูและมีแถบสีดำเข้ม 3 แถบ พาดบริเวณส่วนหน้าผ่านนัยน์ตาไปจนบริเวณคาง ข้างลำตัวบริเวณครีบหู และข้างลำตัวโค้งจากบริเวณครีบหลังตอนที่ 2 ไปจรดท่อนหาง ดูแลสวยงามเห็นได้ชัดเจน เมื่อปลาโตขึ้น บริเวณส่วนหัวลาดชันขึ้น แถบดังกล่าวจะกลายเป็นสีแดงและเริ่มลดขนาดลง และเมื่อเจริญเติบโตเต็มวัย แถบสีดังกล่าวจะค่อย ๆ เลือนจางจนหายไปเมื่อปลาโตเต็มที่ เหลือแต่เพียงเป็นจุดสีแดงเรื่อ ๆ บนพื้นลำตัวสีขาวอมแดงเท่านั้น มีความยาวประมาณ 30-60 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดขนาด 1 เมตร น้ำหนักราว 20-30 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อยู่ในบริเวณแนวปะการังและชายฝั่งของอ่าวไทย และฝั่งทะเลอันดามัน ในวัยเล็กมักอาศัยอยู่คู่กับเม่นทะเล โดยว่ายผ่านไปมาระหว่างขนของเม่นทะเล เพื่อป้องตัวกันจากนักล่า เป็นปลาที่นิยมรับมาบริโภคโดยการปรุงสุดเช่นเดียวกับปลากะพงแดงชนิดอื่น ๆ รวมทั้งเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ซึ่งพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงนั้น ปลากะพงแดงหน้าตั้งเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายมาก ทรหดอดทน ทนทานต่อโรค และกินอาหารง่ายแบบตะกละไม่เลือกทั้งอาหารสดหรืออาหารเม็.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงแดงหน้าตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงเหลืองห้าเส้น

ปลากะพงเหลืองห้าเส้น หรือ ปลากะพงเหลืองแถบฟ้า (five-lined snapper, blue-striped snapper, blue-banded sea perch) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน แต่มีลักษณะเด่น คือ มีแถบข้างลำตัวเป็นสีฟ้าบนพื้นสีเหลืองสด และมีแต้มสีดำระหว่างเส้นสองแถบบน ลูกปลาขนาดเล็กมีลำตัวใสจนมองเห็นกระดูกภายในได้ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 35 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแถบชายฝั่งและแนวปะการังของอินโด-แปซิฟิกตะวันออก ไปจนถึงออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีการบริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจบ้าง แต่รสชาติไม่อร่อย จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมากกว่า เนื่องจากความสวยงามที่โดดเด่น นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่น อีก เช่น "ปลากะพงข้างปาน", "ปลากะพงทอง" หรือ "ปลาเหลืองลีซี".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงเหลืองห้าเส้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงเขียว

ปลากะพงเขียว (Blue-gray snapper, Green jobfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างยาวเรียว ลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากยาวปลายมน นัยน์ตาโตและอยู่ใกล้ช่องเปิดเหงือก ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย มีฟันเป็นเขี้ยวที่แหลมคมท่อนหางยาวเรียว มีเกล็ดขนาดเล็กที่หัวและลำตัว ครีบหลังยาว ส่วนของก้านครีบแข็งและอ่อนติดเป็นแผ่นเดียวกัน ครีบหางเว้าเป็นแฉกกว้าง ปลายแฉกเรียวแหลม พื้นลำตัวมีสีเขียวปนน้ำเงิน ส่วนท้องเป็นสีขาวปนเทาจาง ๆ จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Aprion (มาจากภาษากรีกคำว่า "Aprion" หมายถึง "ปราศจาก" กับคำว่า "prion" หมายถึง "เลื่อย") มีความยาวประมาณ 60-80 เซนติเมตร ใหญ่ที่สุดพบยาวถึง 112 เซนติเมตร น้ำหนัก 15.4 กิโลกรัม เป็นปลาที่แพร่กระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่เกาะฮาวาย, แอฟริกาตะวันออก, ญี่ปุ่น จนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบมากที่ทะเลอันดามัน มักพบในหน้าดิน บริเวณเกาะ, แนวปะการัง ในระดับความลึกไม่เกิน 100 เมตร เป็นปลาเศรษฐกิจ ที่มีรสชาติดี มีความสำคัญในการทำประมง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะพงเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะมงพร้าว

ปลากะมงพร้าว หรือ ปลากะมงยักษ์ หรือ ปลาตะคองยักษ์ (Giant trevally, Lowly trevally, Giant kingfish; ชื่อย่อ: GT) ปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีส่วนหัวโค้งลาด ปากกว้าง ลำตัวแบนข้าง ครีบหางเว้าลึก ข้างลำตัวและโคนหางมีเส้นแข็งสีคล้ำ ลำตัวสีเทาเงินหรืออมเหลือง ครีบอกสีเหลือง ครีบอื่นสีคล้ำ ในปลาขนาดใหญ่อาจมีจุดประสีคล้ำที่ข้างลำตัว มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 170 เซนติเมตร น้ำหนัก 80 กิโลกรัม ปลาขนาดเล็กจะอยู่รวมเป็นฝูง เมื่อโตขึ้นจะแยกอยู่ตามลำพังหรือเป็นฝูงเล็ก ๆ มักว่ายคู่กับปลาขนาดใหญ่ เช่น ปลาฉลามวาฬหรือปลากระเบนแมนตา เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร โดยไล่ล่าปลาขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้ง หมึก, กุ้ง และปู เป็นอาหาร ในปลาขนาดเล็กอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืด เช่น ท่าเรือ, ชายฝั่ง และปากแม่น้ำ ปลาขนาดใหญ่อยู่นอกแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ ในทะเลเปิด ที่แอฟริกาตะวันออก ปลากะมงพร้าวขนาดโตเต็มวัยจะว่ายเป็นฝูงเข้ามาในแม่น้ำที่เป็นน้ำจืด อย่างช้า ๆ และว่ายเป็นวงกลมรอบ ๆ ไปมา โดยที่ยังไม่ทราบสาเหตุถึงพฤติกรรมเช่นนี้ เป็นปลาที่แพร่กระจายไปในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ฮาวาย, ญี่ปุ่น, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก จนถึงออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยสามารถพบได้ทั้ง 2 ฟากฝั่งทะเล จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อย เป็นปลาขนาดใหญ่ที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา โดยถือเป็นปลาเกมที่เป็นปลาทะเล 1 ใน 3 ชนิดที่นิยมตกกัน และเป็นปลาเศรษฐกิจ และนิยมเลี้ยงกันในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปลากะมงพร้าวมีพฤติกรรมพุ่งเข้าชาร์จอาหารด้วยความรุนแรง ทำให้หลายครั้งสร้างความบาดเจ็บแก่ผู้ให้อาหารแบบที่สวมชุดประดาน้ำลงไปให้ถึงในที่เลี้ยง อีกทั้ง ยังมีผู้ที่นิยมเลี้ยงปลาสวยงามประเภทปลาใหญ่ หรือปลากินเนื้อ เลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย เช่นเดียวกับปลากะมงตาแดง (C. sexfasciatus) โดยจะนำมาเลี้ยงในน้ำจืดตั้งแต่ยังเล็ก ๆ ทั้งนี้มีรายงานระบุอย่างไม่เป็นทางการว่า ในหลายพื้นที่ได้พบปลากะมงพร้าวขนาดกลางหรือค่อนไปทางใหญ่ในแหล่งน้ำจืด เช่น ในเหมืองร้างแห่งหนึ่ง ในอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา และที่จังหวัดชุมพร สันนิษฐานว่าคงเป็นปลาที่ผลัดหลงมาจากเหตุการณ์สึนามิเมื่อปลายปี ค.ศ. 2004 ซึ่งปลามีน้ำหนักประมาณ 2-10 กิโลกรัม นอกจากนี้แล้วที่ประเทศอินโดนีเซีย ยังมีผู้เลี้ยงปลากะมงพร้าวในน้ำจืดได้ในบ่อปลาคาร์ป จนมีขนาดใหญ่ราว 60 เซนติเมตรได้ โดยเลี้ยงมาตั้งแต่ตัวประมาณ 5 เซนติเมตร ซึ่งการจะเลี้ยงปลาให้เติบโตและแข็งแรงจนโตได้ ต้องเลี้ยงในสถานที่ ๆ มีความกว้างขวางพอสมควร และต้องผสมเกลือลงไปในน้ำในปริมาณที่มากพอควร แม้จะมีปริมาณความเค็มไม่เท่ากับน้ำทะเลก็ตามหน้า 123-128, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ คอลัมน์ Wild Ambition โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์, กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะมงพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะรังลายจุด

ปลากะรังลายจุด หรือ ปลากะรังน้ำกร่อย (Brown spotted grouper, Estuary grouper, Malabar grouper, Greasy cod, Spotted river cod, Estuary rock cod) ปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลากะรังทั่วไป พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในบริเวณชายฝั่งหรือปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อย ตั้งแต่ทะเลแดง, อินโด-แปซิฟิก จนถึงทะเลญี่ปุ่น และออสเตรเลีย กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร มีขนาดโตเต็มที่ได้มากกว่า 120 เซนติเมตร และมีน้ำหนักมากกว่า 150 กิโลกรัม นับเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ โดยลูกปลาขนาดเล็กจะเลี้ยงตัวเองในบริเวณที่เป็นปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน โดยปลาที่โตเต็มวัยจะผสมพันธุ์และวางไข่ในทะเล และที่สำคัญยังสามารถเปลี่ยนเพศได้อีกตามวัย โดยลูกปลาที่อยู่ในวัยไม่เกิน 3 ปี น้ำหนักตัวประมาณ 3 กิโลกรัม จะเป็นเพศเมียทั้งหมด และเมื่อเติบโตขึ้นมาจนน้ำหนักเกิน 7 กิโลกรัมขึ้นไป จะกลายเป็นเพศผู้ การผสมพันธุ์จะเกิดจากปลาเพศผู้ที่มีขนาดใหญ่กว่าปลาเพศเมีย เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่ง ที่มีการนิยมเพาะเลี้ยงกันอย่างกว้างขวางในกระชังหรือบ่อดินริมทะเบหรือบริเวณน้ำกร่อยในหลายพื้นที.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะรังลายจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะรังหน้างอน

ปลากะรังหน้างอน หรือ ปลากะรังหงส์ หรือ ปลาเก๋าหงส์ (Humpback grouper, Barramundi cod, Panther grouper) อยู่ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) มีรูปร่างหัวเรียวแหลม ปากเล็ก ตาเล็ก ครีบหลังต่อเป็นแผ่นเดียว ลำตัวสีเทาอ่อน แต้มด้วยจุดสีดำกระจายทั่วทั้งตัวและครีบ จัดเป็นปลาชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Cromileptes มีความยาวเต็มที่ 70 เซนติเมตร ใช้เวลาโตเต็มที่ประมาณ 2 ปี น้ำหนักกว่า 2.5 กิโลกรัม พบกระจายอยู่ตามชายฝั่งทะเลบริเวณแนวปะการังหรือกองหินที่มีน้ำขุ่น ความลึกตั้งแต่ 2–40 เมตร พบกระจายอยู่ทั่วไปในทะเลจีน, ญี่ปุ่น, ปาปัวนิวกินี, มหาสมุทรอินเดีย, หมู่เกาะนิโคบาร์, ออสเตรเลียตอนเหนือ, ไทย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย ปลากะรังหน้างอนเป็นปลาที่มีความโดดเด่นที่สีสันที่มีความสวยงาม โดยเฉพาะเมื่อยังเล็ก พื้นลำตัวจะเป็นสีขาวตัดกับจุดกลมสีดำเห็นชัดเจน จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม ประกอบกับเนื้อมีรสชาติอร่อย จึงนิยมจับเพื่อรับประทานเป็นอาหารอีกด้วย ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาตัวที่ถูกจับได้ในธรรมชาติจะมีราคาสูงถึงตัวละ 2,400–2,800 บาท ดังนั้น สถานะในธรรมชาติของปลากะรังหน้างอนจึงอยู่ในสภาพใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยถูกคุกคาม แต่ในปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะรังหน้างอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะรังปากแม่น้ำ

ปลากะรังปากแม่น้ำ (Arabian grouper, Greasy grouper; ชื่อวิทยาศาสตร์: Epinephelus tauvina) ปลาทะเลชนิดหนึ่งในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) วงศ์ย่อย Epinephelinae มีชื่ออื่น ๆ อีก เช่น "ปลาเก๋าลายจุด", "ปลาเก๋าจุดน้ำตาล" มีพื้นลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อน มีจุดดำและลายปื้นสีเขียวกระจายไปทั่วตัว จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ โดยสามารถยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร มีพฤติกรรมกินเหยื่อโดยการฮุบกินไปทั้งตัว พบกระจายอยู่ตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาใต้ ในทวีปเอเชียพบได้จนถึงประเทศญี่ปุ่น โดยอาศัยอยู่ในทะเลที่มีความลึกตั้งแต่ 1–300 เมตร อีกทั้งยังสามารถพบได้ในบริเวณปากแม่น้ำหรือป่าชายเลนที่มีสภาพเป็นน้ำกร่อยด้วย สำหรับในประเทศไทยพบชุกชุมที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา นิยมบริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจ มีการเพาะเลี้ยงในกระชัง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะรังปากแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะทิ

ปลากะทิ เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyclocheilichthys heteronema ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาชนิดหนึ่งที่อยู่ในสกุล Cyclocheilichthys.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะทิ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะตัก

ำหรับปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ดูที่: ปลาซิวข้าวสาร ปลาข้าวสาร ปลากะตัก หรือ ปลาไส้ตัน (Anchovy) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Stolephorus จัดอยู่ในวงศ์ปลาแมว (Engraulidae) ลักษณะโดยทั่วไปเป็นปลาผิวน้ำขนาดเล็ก อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ลำตัวเรียวยาว แบนข้างมีสันหนามที่ท้อง ขากรรไกรบนยาวเลยหลังตา ครีบหลังตอนเดียว ครีบหางเว้าลึก มีแถบสีเงินพาดตามแนวความยาวของลำตัว ปลากะตัก ในประเทศไทยเป็นพันธุ์ปลาขนาดเล็กกว่าปลากะตักประเทศอื่นๆ ซึ่งมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 2-5 เซนติเมตร มีอายุขัยโดยเฉลี่ยไม่เกิน 3 ปี เป็นปลาที่หากินตามผิวน้ำ มักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ โดยอยู่ห่างจากชายฝั่งประมาณ 0.5-1.5 ไมล์ทะเล ตามบริเวณชายฝั่งและหมู่เกาะต่าง ๆ กินแพลงก์ตอนต่าง ๆ เป็นอาหาร ทั้งแพลงก์ตอนพืช เช่น ไดอะตอม และแพลงก์ตอนสัตว์เช่น ตัวอ่อนของครัสเตเชียน, โคพีพอด หรือไข่ของหอยสองฝา เป็นต้น และสำหรับห่วงโซ่อาหารในทะเล ปลากะตักก็เป็นอาหารสำคัญของปลาและสัตว์น้ำขนาดใหญ่กว่า เช่น แมวน้ำ, สิงโตทะเล, โลมา, วาฬ และปลาฉลาม ปลากะตัก พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตน่านน้ำของอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบ 11 ชนิด จากการศึกษาของ ทศพร วงศ์รัตน์ ในปี ค.ศ. 1985 จากทั้งหมด 20 ชนิด (เดิมมีอยู่ 18 ชนิด) เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญต่อมนุษย์ โดยสามารถนำไปแปรรูปต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น น้ำปลา, ปลาป่น, ปลาแห้ง, บูดู รวมทั้งการบริโภคสด ปลากะตัก นอกจากปลาไส้ตันแล้ว ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ปลากล้วย, ปลาหัวอ่อน, ปลาจิ้งจั๊ง, ปลามะลิ, ปลาหัวไม้ขีด, ปลาเส้นขนมจีน, ปลายู่เกี้ย, ปลาเก๋ย เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ปลากะตักตากแห้งมีชื่อเรียกว่า ปลาข้าวสาร นิยมรับประทานเป็นกับแกล้มกับอาหารชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะตัก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะตักใหญ่

ปลากะตักใหญ่ หรือ ปลากะตักควาย (Indian anchovy) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stolephorus indicus ในวงศ์ปลากะตัก (Engraulidae) มีลำตัวยาวเรียวด้านข้างแบน ท้องเป็นสันคม เกล็ดบริเวณหน้าครีบท้องแข็งเป็นหนาม หัวโต จะงอยปากสั้น ปากกว้างและเฉียงขึ้นข้างบน ครีบหลังและครีบก้นมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบหางลึกเป็นแฉก ครีบหูและครีบท้องมีขนาดเล็ก มีแถบสีขาวคาดที่ข้างลำตัวและมีจะงอยปากใหญ่กว่าปลากะตักชนิดอื่น ๆ ไม่มีเส้นดำบนด้านหลังระหว่างหัวถึงครีบหลัง ลำตัวเป็นสีเทาโปร่งแสง มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ หากินตามผิวน้ำ โดยมีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 10 เซนติเมตร กินอาหารขนาดเล็ก จำพวก แพลงก์ตอน, เคยหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลที่ห่างจากชายฝั่งประมาณ 0.5-1.5 ไมล์ทะเล สามารถเข้าไปหากินถึงในแหล่งน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำได้ ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นอกจากนั้นแล้วยังพบได้ไกลถึงชายฝั่งของแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ซามัว, ตาฮิติ, มาดากัสการ์, ทะเลจีนตะวันออก และออสเตรเลีย มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ในแง่ของการทำเป็นน้ำปลา, ปลาแห้ง, ปลาป่น และแกงกะหรี่ ในอินเดีย ปลากะตักใหญ่ ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลามะลิ", "ปลากล้วย" หรือ "ปลาไส้ตัน".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากะตักใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากัด (สกุล)

ปลากัด (Fighting fishes) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Betta (/เบ็ท-ทา/) ในวงศ์ย่อย Macropodinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากัด (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากัดอัลบิ

ปลากัดอัลบิ เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จัดเป็นปลากัดประเภทอมไข่ มีรูปร่างยาว หัวมีขนาดใหญ่ มีจุดเด่น คือ สีตลอดทั้งลำตัวเป็นสีแดงเข้ม มีลักษณะคล้ายกับปลากัดชานอยเดส (B. channoides) ที่มีลักษณะคล้ายกันมาก แต่ปลากัดอัลบิ จะมีครีบหางที่มีแถบสีดำเต็มขอบหาง และครีบหลังจะมีแถบสีดำเป็นแต้มอยู่ด้านล่างขอบครีบหลังที่เป็นสีขาว อีกทั้งยังมีลำตัวสีแดงเข้มทึบกว่า มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30-35 มิลลิเมตร พบในแหล่งน้ำที่เป็นลำธารที่มีใบไม้ร่วงลงพื้นในป่าของจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก ในอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ที่มีราคาซื้อขายแพง เนื่องจากเป็นปลากัดประเภทอมไข่ จึงสามารถเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงได้ แต่ปลากัดอัลบิมีอุปนิสัยที่ดุร้ายกว่าปลากัดอมไข่ชนิดอื่น ๆ พอสมควร โดยตัวผู้มักจะไล่กัดตัวเมีย ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในที่เลี้ยง โดยปรับสภาพน้ำให้มีสภาพความเป็นกรดต่ำกว่าค่าความเป็นกลาง (pH ต่ำกว่า 7) ตัวผู้จะเป็นฝ่ายอมไข่ไว้ในปาก เป็นเวลาประมาณ 12-14 วัน ลูกปลาจะเริ่มว่ายน้ำได้เองภายใน 15-20 วัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากัดอัลบิ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากากาตา

ปลากากาตา เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืดในสกุล Gagata (/กา-กา-ตา/) ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) จัดเป็นปลาในวงศ์นี้ที่มีขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ 5.8 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 30 เซนติเมตร มีลำตัวแบนข้างกว่าปลาในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ โดยชื่อ Gagata เป็นการออกเสียงในภาษาถิ่นในรัฐเบงกอลที่เรียกปลาในสกุลนี้Bleeker, P. 1858: De visschen van den Indischen Archipel.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากากาตา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูน

ปลาการ์ตูน เป็นปลากระดูกแข็งขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในทะเล จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Amphiprioninae ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศ

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (Tomato clownfish, Bridled clownfish, Red clownfish, Tomato anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง ในปลาขนาดเล็กจะมีลายสีขาวพาดลำตัวด้านละ 3 ลาย แต่เมื่อโตขึ้นลายดังกล่าวจะหายไป เหลือเพียงลายบริเวณหน้าด้านตรงแผ่นปิดเหงือกเท่านั้น มีขนาดโตเต็มที่ 14 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณหมู่เกาะริวกิว, ทะเลญี่ปุ่น, มาเลเซีย และอินโดนีเซีย โดยปกติแล้วไม่พบในน่านน้ำไทย แต่ก็มีรายงานและภาพถ่ายหลายครั้งที่ภาคใต้ฝั่งอันดามัน โดยปกติแล้วจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเล ชนิด ดอกไม้ทะเลนมสาว (Entacmaea quadricolor) เป็นปลาทะเลที่ได้รับความนิยมในการเป็นปลาสวยงาม จัดเป็นปลาที่สวยงามและเลี้ยงง่ายกว่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น เช่น ปลาการ์ตูนส้มขาว (A. ocellaris) หรือปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า (A. percula) ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำ

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำ (Fire clownfish, Red and black anemonefish, Cinnamon clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (A. frenatus) มาก แต่มีความแตกต่างกันที่ปลามะเขือเทศแดงดำมีครีบก้น และครีบท้องเป็นสีดำ และลายสีดำบนลำตัวจะมีลักษณะแตกต่างออกไป ขณะที่ปลาที่พบในบางที่ เช่น ฟิจิหรือวานูอาตู ครีบเหล่านี้จะไม่มีสีดำ แต่ทว่าปลาที่มีลักษณะเช่นนี้มีพบไม่บ่อยนัก มีขนาดโตเต็มที่ 11 เซนติเมตร พบในมหาสมุทรแปซิฟิกทางแถบฟิจิ, วานูอาตู, มัลดีฟส์, อินโดนีเซีย ไปจนถึงเกรทแบร์ริเออร์รีฟ โดยไม่พบในน่านน้ำไทย นับเป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่งที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง แต่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามนัก เนื่องจากมีสีสันที่ไม่สวยงามเท่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนลายปล้อง

ปลาการ์ตูนลายปล้อง หรือ ปลาการ์ตูนลายปล้องหน้าทอง (Clark's anemonefish, Yellowtail clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีสีสันบนลำตัวเมื่อยังเล็ก ด้านล่างจะเป็นสีเหลืองหรือสีส้ม และด้านบนบริเวณหลังจะเป็นสีน้ำตาลเข้มไปจนถึงดำ เมื่อโตขึ้นสีดำนี้จะค่อย ๆ ลามลงมาเรื่อย ๆ ทางด้านท้องจนดำสนิททั้งตัว ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5.5 นิ้ว พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่อ่าวเปอร์เซียจนถึง เมลานีเซีย, ไมโครนีเซีย, เกาะไต้หวัน, ตอนใต้ของญี่ปุ่น, หมู่เกาะริวกิว และออสเตรเลีย ทางน่านน้ำไทย ไม่พบทางฝั่งอ่าวไทย แต่จะพบทางฝั่งอันดามัน เป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง แต่ปลาที่มีขายในตลาดปลาสวยงามส่วนใหญ่ในประเทศไทย ยังเป็นปลาที่จับมาจากแหล่งธรรมชาติจากต่างประเทศอยู่ เนื่องจากมีสีสันที่สวยและได้มาตรฐานกว่า อีกประการ คือ ปลาที่จับได้ในน่านน้ำไทยมักจะตายในระยะเวลาอันสั้น เนื่องจากการกระบวนการจับที่ผิดวิธี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนลายปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง

ปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง (Sebae clownfish, Sebae anemonefish) ปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาการ์ตูนลายปล้อง (A. clarkii) แต่มีครีบหางและครีบก้นสีเหลืองเข้มกว่า อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดโตเต็มที่ 14 เซนติเมตร ในธรรมชาติจะกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดีย, อินเดีย, ศรีลังกา และมัลดีฟส์ โดยปกติแล้วจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด พรมทะเล (Stichodactyla haddoni) เป็นปลาที่มีความหลากหลายทางสีสันมากในธรรมชาติ โดยปล่าที่พบในแต่ละแหล่งจะมีสีสันและลวดลายที่ไม่เหมือนกัน โดยปลาที่พบในน่านน้ำไทยเมื่อโตเต็มที่ มักมีลำตัวสีดำสนิท มีเพียงส่วนปาก, หาง, ครีบอก, ครีบท้อง และบริเวณส่วนท้องตั้งแต่โคนครีบไปจนถึงปลายปากล่างเป็นสีส้มสด เป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์ในสถานที่เลี้ยงได้แล้ว แต่ได้รับความนิยมน้อยกว่าปลาการ์ตูนลายปล้อง เนื่องจากมีความสวยน้อยกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนส้มขาว

ปลาการ์ตูนส้มขาว (ocellaris clownfish, clown anemonefish, clownfish, false percula clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง ที่ลำตัวตัวมีสีส้มเข้ม มีแถบสีขาว 3 แถบ พาดบริเวณส่วนหัว ลำตัวและบริเวณหาง ขอบของแถบสีขาวเป็นสีดำ ขอบนอกของครีบเป็นสีขาวและขอบในเป็นสีดำ อาศัยในที่ลึก ตั้งแต่ 1-15 เมตร ขนาดตัวโตที่สุดประมาณ 10 เซนติเมตร อาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Heteractis magnifica และ Stichodactyla gigantea เป็นต้น ในดอกไม้ทะเลแต่ละกออาจพบอยู่ด้วยกัน 6-8 ตัว มีการกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย, หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์, ทะเลฟิลิปปิน, อินโดนีเซีย หายากที่เกาะโอะกินะวะและเกาะไต้หวัน ส่วนในน่านน้ำไทยจะไม่พบในด้านอ่าวไทย แต่จะพบได้ในฝั่งทะเลอันดามัน โดยอาศัยอยู่เป็นครอบครัวใหญ่ ปลาการ์ตูนส้มขาวนับเป็นปลาการ์ตูนชนิดที่รู้จักกันดีและคุ้นเคยเป็นอย่างดี และถือเป็นตัวละครเอกในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง Finding Nemo ของพิกซาร์ ในปี ค.ศ. 2003 จนได้รับการเรียกขานเล่น ๆ ว่า "ปลานีโม" เป็นปลาที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างยิ่งในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง โดยสถานที่แรกที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้สำเร็จ คือ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ในประเทศไทย และยังสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้อีกจากภาคเอกชนต่าง ๆ จนในปัจจุบัน ปลาการ์ตูนส้มขาวที่มีจำหน่ายในตลาดปลาสวยงามในประเทศไทย เกิดจากการเพาะขยายพันธุ์ทั้งสิ้น แต่ก็ยังมีความต้องการปลาจากธรรมชาติอยู่อีก โดยถูกจับมาจากทะเลฟิลิปปิน และอินโดนีเซีย เนื่องจากมีสีสันที่สวยงามกว่านั่นเอง นอกจากนี้แล้ว ยังมีชนิดย่อยของปลาการ์ตูนส้มขาวอีกชนิดหนึ่ง คือ "ปลาการ์ตูนดำ" ซึ่งจะพบได้ในถิ่นเฉพาะคือทางเหนือของออสเตรเลียเท่านั้น และพบได้น้อยมาก ซึ่งมีขนาดและลวดลายเหมือนเช่นปลาการ์ตูนส้มขาวชนิดธรรมดา แต่ส่วนที่เป็นสีส้มนั้นจะเป็นสีดำ ซึ่งในช่วงแรกนั้นมีราคาซื้อขายที่สูงมากถึงคู่ละ 5,000-6,000 บาท โดยเป็นปลาที่นำจากประเทศอังกฤษ แต่ต่อมาไม่นานก็ได้มีการเพาะขยายพันธุ์ได้มากขึ้น จนในปัจจุบันราคาขายปลาการ์ตูนดำอยู่ที่คู่ละ 600-700 บาท เท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนส้มขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนอานม้า

ปลาการ์ตูนอานม้า (Saddleback anemonefish, Saddleback clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง ได้ชื่อมาจากการที่มีลายสีขาวพาดตั้งแต่บริเวณปลายครีบหลังมายังบริเวณกลางลำตัว เหมือนอานม้า พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในมหาสมุทรอินเดีย เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง (A. sebae) มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 12 เซนติเมตร จะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด พรมทะเล (Stichodactyla haddoni) ซึ่งจะฝังตัวอยู่ในทรายพื้นทะเล ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ปลาการ์ตูนอานม้า นับว่าเป็นปลาการ์ตูนที่มีความหลากหลายทางสีสันและลวดลายมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยบางตัวอาจมีลายสองแถบ หรือสามแถบ สีสันมีตั้งแต่สีดำตลอดทั้งลำตัว หรือบางตัว มีเฉพาะส่วนปากเท่านั้นที่มีสีส้ม ลำตัวสีดำ ส่วนปากและท้องเป็นสีส้ม ไปจนถึงบางตัวที่มีสีส้มตั้งแต่ปาก, ท้อง และลำตัว มากกว่าพื้นที่สีดำบนลำตัว และขณะที่บางตัวอาจมีลายอานม้าเพียงไม่ถึงครึ่งหนึ่งของลำตัว แต่บางตัวมีลายอานม้าพาดยาวไปจนสุดด้านล่างของลำตัว เป็นต้น ส่วนปลาที่พบในเขตน่านน้ำไทยมักมีลายแถบสามแถบครึ่งลำตัว และมีลำตัวสีดำตลอดทั้งลำตัว เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนอานม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพู

ปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพู หรือ ปลาการ์ตูนชมพู (Pink skunk clownfish, Pink anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับปลาการ์ตูนอินเดียนแดง (A. akallopisos) มาก แต่มีความแตกต่างตรงที่จะมีลายสีขาวคาดบริเวณแผ่นปิดเหงือก พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออก, หมู่เกาะโคโคส และหมู่เกาะคริสต์มาส ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีขนาดโตเต็มที่ 10 เซนติเมตร เป็นปลาที่เลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ แต่ไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากสีสันไม่สวยงามเหมือนกับปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนอินเดียนแดง แม้ปัจจุบันจะเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนแดง

ปลาการ์ตูนแดง หรือ ปลาการ์ตูนแก้มหนาม (Maroon clownfish, Spine-cheeked clownfish) เป็นปลาน้ำเค็มขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Premnas biaculeatus จัดอยู่ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) วงศ์ย่อยปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) จัดเป็นปลาการ์ตูนเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Premnas ซึ่งแตกต่างไปจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ ที่อยู่ในสกุล Amphiprion สิ่งที่ทำให้ปลาการ์ตูนแดงมีความแตกต่างจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ คือ บริเวณแก้มหรือแผ่นปิดเหงือกมีหนามยื่นออกมาจากตรงกลาง อยู่เหนือริมฝีปากเล็กน้อยขึ้นไปจนถึงบริเวณใต้ดวงตา ซึ่งสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า มีลักษณะลำตัวแบนกว้าง มีโครงสร้างที่ค่อนข้างใหญ่กว่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ โดยเฉพาะปลาเพศเมียที่โดยปกติจะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้อยู่แล้ว และมีสีที่คล้ำกว่า ครีบอกมีขนาดใหญ่ ลำตัวมีสีแดงก่ำ บริเวณแผ่นปิดเหงือก กึ่งกลางลำตัว และโคนหาง มีแถบสีขาวพาด สีของปลาการ์ตูนแดงค่อนข้างหลากหลาย ในปลาขนาดเล็กจะมีตั้งแต่สีแดงสดจนถึงแดงก่ำ และจะค่อย ๆ เข้มขึ้นจนปลาเจริญเติบโตเต็มที่ ขณะที่บางตัวในขนาดเล็กจะมีแต้มสีดำบริเวณตามครีบต่าง ๆ และจะจางหายไปเมื่อปลาโตขึ้น จัดเป็นปลาการ์ตูนที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง โดยมีความยาวเต็มที่ประมาณ 17 เซนติเมตร มีอุปนิสัยก้าวร้าวห่วงถิ่นค่อนข้างมาก พบแพร่กระจายพันธุ์ในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิกจนถึงเกาะไต้หวัน เช่น เกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในออสเตรเลีย เป็นต้น โดยจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Entacmaea quadricolor เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ซึ่งปลาการ์ตูนแดงในเริ่มแรกที่มีการค้นพบและทำการอนุกรมวิธาน ถูกเข้าใจว่าเป็นปลาในวงศ์เดียวกับปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) โดยถูกจับได้ในปี ค.ศ. 1790 ที่อินดีสตะวันออก ซึ่งก็คือ ประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน หลังจากนั้นเมื่อมีการศึกษาเพิ่มเติมขึ้น ก็ถูกเปลี่ยนไปใช้สกุลใหม่และชื่อชนิดใหม่ไปมา จนกระทั่งมาใช้ชื่อสกุลอย่างในปัจจุบัน เมื่อปี ค.ศ. 1817 และชื่อเก่าก็กลายเป็นชื่อพ้องหรือยกเลิกใช้ไป นอกจากนี้แล้ว ปลาการ์ตูนแดงที่อาศัยอยู่บริเวณเกาะสุมาตรา จะมีอยู่กลุ่มหนึ่ง ที่มีลายสีเหลืองเจือด้วยสีฟ้าอ่อนแทนด้วยแถบสีขาว และแถบสีเหลืองนี้จะไม่จางหายไปเมื่อปลาที่พบในแหล่งอื่น ตรงกันข้าม เมื่อปลามีอายุมากขึ้นแถบดังกล่าวจะมีสีเข้มขึ้นด้วย ซึ่งปลาในลักษณะนี้ถูกเรียกกันในแวดวงปลาสวยงามว่า "ปลาการ์ตูนทอง" ซึ่งในปี ค.ศ. 1904 ปลาการ์ตูนทองเคยถูกแยกออกเป็นชนิดใหม่ในชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Premnas epigrammata ด้วย นอกจากนี้แล้วในธรรมชาติ ยังพบปลาการ์ตูนบางตัวที่คาดว่าเป็นลูกผสมระหว่างปลาการ์ตูนแดงกับปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (Amphiprion frenatus) ด้วยในบริเวณทะเลฟิลิปปิน โดยมีสีสันเหมือนปลาการ์ตูนแดงทุกประการ แต่มีครีบต่าง ๆ สั้นกว่ารวมถึงหนามบริเวณแก้มด้วย อนึ่ง ปลาการ์ตูนแดงในตู้เลี้ยงจะมีพฤติกรรมที่แตกต่างจากธรรมชาติ คือ ยอมรับดอกไม้ทะเลได้มากชนิดขึ้น เช่น Macrodactyla doreensis, Heteractis malu, H. magnifica, Crytodendrum adhaesivum แต่กระนั้นก็ขึ้นอยู่กับนิสัยปลาแต่ละตัวด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนแดงดำ

ปลาการ์ตูนแดงดำ หรือ ปลาสลิดหินส้ม (Red saddleback anemonefish, Saddle clownfish, Black-backed anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะและสีสันคล้ายกับปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (A. frenatus) มาก จนอาจทำให้เกิดความสับสนกันได้ เนื่องจากมีสีดำบริเวณลำตัวเหมือนกัน แต่ต่างกันคือ ปลาการ์ตูนแดงดำจะไม่มีสีขาวขาดบริเวณหัวเหมือนปลาการ์ตูนมะเขือเทศเลย ตั้งแต่เล็กจนโต มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10-12 เซนติเมตร พบขนาดใหญ่ที่สุด 14 เซนติเมตร มีรายงานพบว่ามีอายุขัยสูงสุดถึง 16 ปี พบกระจายพันธุ์ในทะเลอันดามันและอ่าวไทย จัดเป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่งที่พบได้ในน่านน้ำไทย และพบได้จนถึงทะเลชวา, เกาะสุมาตรา, หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ เป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่งที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง มีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามบ้าง แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม เนื่องจากสีสันไม่สวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาการ์ตูนแดงดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากาแดง

ปลากาแดง ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Epalzeorhynchos frenatum อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากินยุง

ปลากินยุง (Mosquitofish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gambusia affinis อยู่ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายปลาหางนกยูง ซึ่งเป็นปลาที่มีความใกล้เคียงกันและอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ทว่าปลาแกมบูเซียมีขนาดรูปร่างที่ใหญ่กว่า ปากแหลมกว่าและปลายปากจะเชิดขึ้นด้านบน ที่ตามีเส้นสีเข้มพาดในแนวดิ่งผ่านรูม่านตาลงมาถึงใต้ตา มีครีบหลัง ลำตัวกลมมีโครง 7 ซี่ ครีบก้นและครีบท้อง มีโครง 6 ซี่ ที่เส้นข้างลำตัวมีเกล็ด 27-30 อัน ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ เมื่อโตเต็มที่อาจจะมีขนาดยาวได้ถึง 3 นิ้ว ในขณะที่ตัวผู้มีขนาดยาวเพียง 1.5 นิ้ว ทั้งนี้ปลาตัวเมียและตัวผู้มีจุดสีเข้ม ซึ่งมักเห็นได้ชัดเจนเมื่อยังเล็ก ต่อเมื่อโตขึ้นจุดดังกล่าวมักจางลง หากดูด้านข้างของปลาตัวเมียในที่สว่างจ้าจะเห็นสีเหลือบของสีเขียว, สีฟ้า และสีเหลือง โดยรวมแล้วสีสันจะสวยสดกว่าปลาหางนกยูง ปลาแกมบูเซียเป็นปลาที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ แถบรัฐเทกซัส โดยมีพฤติกรรมเหมือนเช่นปลาในวงศ์ปลาสอดชนิดอื่น ๆ กล่าวคือ เป็นปลาที่หากินอยู่บริเวณผิวน้ำ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง สามารถปรับตัวอยู่ได้ทุกสภาพแหล่งน้ำ ทั้งห้วย, หนอง, คลอง, บึง หรือในที่ ๆ ที่แหล่งน้ำไม่สะอาด มีออกซิเจนต่ำ ปลาแกมบูเซีย มีอายุขัยตลอดชีวิตอยู่ได้ราว 12 เดือน หรือ 1 ปี ในบางตัวอาจอยู่ได้ยาวถึง 15 เดือน กินจำพวก ตัวอ่อนของแมลงเช่น ลูกน้ำเป็นอาหาร รวมถึงแพลงก์ตอนพืช, แพลงก์ตอนสัตว์, ตะไคร่น้ำ และไดอะตอมได้ด้วย ลูกปลาที่เกิดใหม่มีขนาดยาวประมาณ 7-10 มิลลิเมตร และสามารถกินลูกน้ำได้ทันที เฉลี่ยแล้วในวันหนึ่ง ปลาแกมบูเซียตัวหนึ่งอาจกินลูกน้ำได้เป็นร้อยตัว ซึ่งนับได้ว่ากินเก่งกว่าปลาหางนกยูงมาก ปลาตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 6-8 สัปดาห์ ปลาตัวเมียมีถุงพิเศษใช้เก็บน้ำเชื้อของตัวผู้ ซึ่งการผสมพันธุ์หนึ่งครั้งจะมีน้ำเชื้อมากพอ สำหรับใช้ผสมกับไข่ได้หลายท้อง ปลาแกมบูเซียออกลูกเป็นตัวโดยจะออกลูกท้องละ 40-100 ตัว (ใช้เวลาออกลูก 21-28 วันต่อหนึ่งท้อง) แต่ละท้องห่างกันประมาณ 6 สัปดาห์ และตลอดชีวิตของจะตั้งท้องได้ 3-4 ครั้ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากินยุง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากุดสลาด

ปลากุดสลาด, ปลากุดสลาก หรือ ปลาอุณรุท (coral grouper, coral trout) เป็นปลาทะเลในสกุล Plectropomus ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากุดสลาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากุแล

ปลากุแล หรือ ปลาหลังเขียว เป็นสกุลของปลาทะเลขนาดเล็กสกุล Sardinella (/ซาร์ดิแน็ลลา/) ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นปลาซาร์ดีนหรือปลาเฮร์ริงอีกจำพวกหนึ่ง มีลักษณะสัณฐานทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Herklotsichthys คือ ลำตัวแบนข้างมาก สันท้องแหลม เกล็ดบางหลุดง่าย เกล็ดในแนวสันท้องเป็นเหลี่ยมคมเรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย ปากเล็กเชิดขึ้นเล็กน้อย ฟันเล็กมาก ซี่เหงือกมีจำนวนมาก ไม่มีก้านครีบแข็งหรือเงี่ยง ลำตัวสีเงิน เฉพาะด้านหลังสีน้ำเงินเข้ม บนลำตัวที่ใกล้มุมแผ่นปิดเหงือกมักมีแต้มสีดำคล้ำหนึ่งจุด ครีบหลัง และครีบหางสีดำคล้ำอมเหลือง แต่ทว่ามีรูปร่างที่ยาวกว่า นอกจากนี้แล้ว ปลากุแลยังเป็นปลาที่มีวิวัฒนาการมาจากปลาในสกุล Harengula ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน โดยมีลักษณะแทบจะแยกกันไม่ออก โดยมีความต่างกันที่เกล็ดเท่านั้น จัดเป็นปลาผิวน้ำ ที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ลูกปลาขนาดเล็กอาจอยู่รวมใกล้ชายฝั่งทะเล, ปากแม่น้ำ หรือลากูนได้ พบกระจายพันธุ์ในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่น ทั้งมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลเมดิเตอเรเนียน และมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ และในธรรมชาติยังเป็นปลาที่เป็นอาหารสำคัญของวาฬบาลีน เช่น วาฬบรูดาอีกด้วย เหมือนปลาในสกุลอื่นในวงศ์เดียวกันหรือใกล้เคียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากุแล · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดหมู

ปลากดหมู (Rita catfishes) เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืด ในสกุล Rita (/ริ-ต้า/) ในวงศ์ปลากด (Bagridae) ปลากดหมู เป็นปลาหนังที่มีลำตัวอ้วนป้อม มีหนวดสั้น ๆ 4 คู่ 2 คู่ใต้คางเพื่อใช้เป็นอวัยวะสัมผัส และมีลักษณะเด่น คือ มีแผ่นกระดูกบริเวณท้ายทอยและบริเวณเหนือครีบอก เป็นแผ่นหนาและแข็งมาก มีขนาดเฉลี่ยยาวประมาณ 19–30 เซนติเมตร ยกเว้นในชนิด R. rita ที่ยาวได้ 150 เซนติเมตร และชนิด R. sacerdotum ที่ยาวได้ถึง 200 เซนติเมตร ซึ่งนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามทั้งคู่ เป็นปลาที่หากินตามพื้นน้ำ โดยกินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร พบกระจายพันธฺ์ในแม่น้ำสายใหญ่ในประเทศอินเดีย และบางส่วนในประเทศพม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากดหมู · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดหัวลิง

ปลากดหัวลิง หรือ ปลากดหัวโต (Bigmouth sea-catfish) เป็นปลาหนังขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae) จัดเป็นปลาขนาดเล็กในวงศ์นี้ชนิดหนึ่ง และเป็นเพียงชนิดเดียวในสกุล Ketengus มีส่วนหัวที่ใหญ่และปากที่กว้าง มีขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 25 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์บริเวณปากแม่น้ำหรือใกล้ชายฝั่งที่เป็นน้ำกร่อยในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น อินเดีย, หมู่เกาะอันดามัน, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย และไทย เป็นปลาที่กินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและปลาขนาดเล็ก รวมถึงเกล็ดปลาชนิดอื่นเป็นอาหารอีกด้วย ในประเทศไทยถือว่าเป็นปลาที่หายาก อยู่ในเครือข่ายใกล้สูญพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากดหัวลิง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดหัวเสียม

ปลากดหัวเสียม (Shovelhead catfishes; เบงกาลี: আইড়) เป็นชื่อสกุลของปลาหนังน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลากด (Bagridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Sperata (/สะ-เพอร์-อา-ทา/) มีทั้งหมดด้วยกัน 4 ชนิด (ดูในตาราง) รูปร่างโดยรวม ส่วนหัวและจะงอยปากยื่นยาวมากที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ หัวแบนราบเล็กน้อย ลำตัวทรงกระบอก แต่ด้านหลังยกสูง และเรียวไปทางด้านท้าย ตาเล็กอยู่ด้านบนของหัว ริมฝีปากตัดตรงอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก หนวดที่ริมฝีปากยาวมาก ครีบหลังไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบไขมันยาวมาก ครีบหางใหญ่เว้าลึก ด้านท้องสีจาง ครีบสีจาง ที่สำคัญคือ ปลาในสกุลนี้ในครีบไขมันจะมีจุดสีดำเห็นเด่นชัด มีขอบขาวที่ตอนปลายท้ายสุด มีการกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย, อัฟกานิสถานและพม่า มีแหล่งที่พบคือ แม่น้ำสายใหญ่ในประเทศเหล่านี้ ได้แก่ แม่น้ำคงคา, แม่น้ำอิระวดี และพบได้จนถึงแม่น้ำสาละวินซึ่งเป็นพรมแดนของพม่าติดกับไทย โดยมีชื่อเรียกในภาษากะเหรี่ยงว่า "ปลาแก๊ด" มีขนาดลำตัวโดยเฉลี่ย 50 เซนติเมตร ใหญ่ที่สุดพบได้ถึง 180 เซนติเมตร ในชนิด S. aor ขยายพันธุ์ทำรังโดยการขุดพื้นแม่น้ำเป็นแอ่งกว้าง ในความลึกประมาณ 2 เมตร มีความสำคัญต่อมนุษย์ของการใช้เนื้อเพื่อการบริโภค และใช้ตกเป็นเกมกีฬา อีกทั้งยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย สำหรับในประเทศไทย โดยเฉพาะที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ชนิด S. acicularis ถือเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันเป็นอย่างมากในท้องถิ่น เนื่องจากเนื้อมีรสชาติดี โดยในขณะนี้ กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ลูกปลาชนิดนี้ได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากดหัวเสียม · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดอเมริกัน

ปลากดอเมริกัน (Channel catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในอันดับปลาหนัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ictalurus punctatus อยู่ในวงศ์ปลากดอเมริกัน (Ictaluridae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากดอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดทะเลหัวแข็ง

ปลากดทะเลหัวแข็ง (Hardhead catfishes) เป็นสกุลของปลาน้ำเค็มและน้ำกร่อย ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arius (/อา-เรียส/) ลักษณะสำคัญของปลาในสกุลนี้ ได้แก่ มีฟันที่เพดานปากอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม และมีจำนวนหนวดซึ่งมีอยู่ 3 คู่ ที่ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ รูจมูกอยู่ใกล้กัน ปลาในสกุลนี้ แม้จะเป็นปลาทะเล แต่ก็มีหลายชนิดที่เข้ามาหากินและอาศัยอยู่ในพื้นที่น้ำจืดที่ห่างไกลทะเลมาก เช่น แม่น้ำสาละวิน ตัวผู้จะทำหน้าที่อมไข่ที่ผ่านการปฏิสนธิแล้ว จนกระทั่งฟักเป็นตัว การจำแนกชนิดกระทำได้จากการสังเกตจากรูปร่างและขนาดของหัว ตำแหน่งและรูปร่างของครีบบางครีบ และครีบท้องเปลี่ยนรูปเป็นอวัยวะพิเศษผิดไปจากเดิม พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงเอเชียอาคเน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากดทะเลหัวแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดขาว

ปลากดขาว หรือ ปลากดชงโลง หรือ ปลากดนา เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hemibagrus nemurus อยู่ในวงศ์ปลากด (Bagridae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลากดเหลือง (H. filamentus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ปลากดขาวหลังจะไม่โค้ง ขอบก้านครีบแข็งของครีบหลังเรียบ ครีบหลังยาวไม่ถึงจุดเริ่มต้นของครีบไขมัน ครีบไขมันมีสีเข้มกว่าลำตัวและมีขอบครีบสีขาว มีก้านครีบเดี่ยวของครีบหลัง 2 ก้าน และก้านครีบแขนง 7 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 1–2 ก้าน มีก้านครีบแขนง 7–8 ก้าน พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำนิ่งและแม่น้ำสายใหญ่ทั่วประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ มีขนาดโตเต็มที่ 72–80 เซนติเมตร ปลากดขาวเป็นปลากดที่พบได้มากกว่าปลากดเหลืองที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ซึ่งในบางครั้งยังอาจเรียกชื่อซ้ำกันได้ว่า "ปลากดเหลือง" แต่เมื่อนำมาเลี้ยงเปรียบเทียบกันแล้ว ปรากฏว่าปลากดขาวมีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้ากว่า นิยมนำมาบริโภคเหมือนกันและเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ซึ่งจะได้รับความนิยมอย่างมากในชนิดที่เป็นปลาเผือก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดเกราะ

ปลากดเกราะ (Atipa, Brown hoplo) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาหนัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hoplosternum littorale ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) มีลำตัวป้อม ค่อนข้างแบนข้าง ส่วนหัวกลมมน มีหนวดสองคู่ ลำตัวปกคลุมด้วยแผ่นกระดูกสองแถวเรียงสานกัน ลำตัวด้านบนสีเทาอมเขียว ด้านหลังสีเทาอมสีเหลืองทอง ครีบทั้งหมดเป็นสีเทาดำ ครีบอกสีเหลืองทองโดยส่วนเงี่ยงจะมีสีเหลืองเข้มกว่าก้านครีบ มีความยาวสูงสุดราว 24 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางมากในทวีปอเมริกาใต้ โดยสามารถพบได้ในลุ่มแม่น้ำในกรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ภาคเหนือของเวเนซุเอลา ตลอดจนพบเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในรัฐฟลอริดา ของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย เป็นปลาที่หากินบริเวณพื้นน้ำ อาหารได้แก่ หนอนแดงและซากอินทรีย์สาร แต่จะเปลี่ยนไปกินแมลงและสัตว์มีกระดองขนาดเล็กในช่วงฤดูแล้ง ปลาจะเริ่มผสมพันธุ์ในช่วงต้นฤดูฝน โดยจะสร้างหวอดคล้ายกับปลากัด ซึ่งทั้งเพศผู้และเพศเมียจะร่วมกันสร้างขึ้นมา ด้วยการเสียดสีร่างกายของกันและกัน หลังจากวางไข่แล้ว ปลาเพศผู้จะทำหน้าที่ดูแลปกป้องไข่ จนกระทั่งฟักออกเป็นตัวแล้วประมาณสองวันถัดมา จึงปล่อยให้หากินตามลำพัง เป็นปลาที่มักพบในแหล่งน้ำที่มีอุณหภูมิประมาณ 18-26 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรด-ด่างประมาณ 5.9-7.2 (pH) ที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำและบึง ที่เป็นแหล่งน้ำนิ่งซึ่งมีปริมาณออกซิเจนละลายอยู่ค่อนข้างต่ำ หรือในป่าที่มีน้ำท่วมเกือบทั้งปี ปลากดเกราะ ถือเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่งในทวีปอเมริกาใต้ นิยมบริโภคกันทั่วไป ในตรินิแดดและเฟรนช์เกียนา มีการเพาะเลี้ยงกันด้วย อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Camboatám และ Tamboatá.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลากดเกราะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฝักพร้า

วามหมายอื่น: สำหรับปลาชนิดอื่นที่เป็นปลาน้ำเค็ม ดูได้ที่ ปลาดาบลาว ปลาฝักพร้า (Freshwater wolf herring, Sword minnow, Long pectoral-fin minnow; カショーロバルブ) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะลำตัวยาวและแบนข้างคล้ายมีดดาบ ท้องเป็นสันแคบ ตาโต ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน ปลายปากล่างโค้งเข้าเล็กน้อยคล้ายตะขอ ลำตัวสีเงินวาว ครีบใส ครีบอกใหญ่และยาวแหลม ครีบท้องและครีบหลังเล็ก แต่ครีบก้นมีฐานครีบยาว ครีบหางเว้าลึกและปลายมน โคนครีบหางมีแต้มสีคล้ำ ขนาดประมาณ 20-60 เซนติเมตร จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Macrochirichthys เป็นปลาล่าเหยื่อ มักหากินบริเวณใกล้ผิวน้ำ เป็นปลาที่ว่ายน้ำเร็วมาก อาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กจำพวกปลาซิวและแมลง พบในแหล่งน้ำหลากและแม่น้ำขนาดใหญ่ในภาคกลาง, ภาคอีสาน เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำโขง ในภาคใต้พบเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันออกเท่านั้น และพบได้จนถึงประเทศอินโดนีเซีย เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำสะอาด ปัจจุบันอยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ เพราะสภาพแวดล้อมที่อยู่ถูกทำลายไปประกอบกับปริมาณปลาที่พบในธรรมชาติมีน้อยมาก จึงไม่ทำให้เป็นที่นิยมในการประมง ปลาฝักพร้า ยังมีชื่อเรียกอื่นที่เรียกต่างออกไป เช่น "ปลาท้องพลุ", "ปลาดาบลาว", "ปลาดาบญวน", "ปลาโกร๋ม" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฝักพร้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลามอลลี่

ปลามอลลี่ หรือ ปลาสอด (Livebearer, Molly) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในอันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Cyprinodontiformes) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Poecilia ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) เป็นสกุลของปลาในวงศ์นี้ ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ในแง่ของการเป็นปลาสวยงามที่เลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย มีลักษณะเด่น คือ เป็นปลาที่ว่ายหากินเป็นฝูง บริเวณผิวน้ำ กินแมลงขนาดเล็ก, ไรแดง, ลูกน้ำ รวมทั้งตะไคร่น้ำหรือสาหร่ายเป็นอาหาร มีความแตกต่างระหว่างเพศสูง กล่าวคือ ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่ามาก แต่มีสีสันรวมทั้งครีบต่าง ๆ สวยงามกว่า ขณะที่ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า แต่ครีบต่าง ๆ สั้นและสีไม่สวยเท่า เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของทวีปอเมริกา พบได้ตั้งแต่ตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา, อเมริกากลาง, แคริบเบียน จนถึงอเมริกาใต้ เป็นปลาที่พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย รวมถึงในทะเล หลายชนิดมีครีบหลังที่สูงเหมือนใบเรือ มีขนาดที่หลากหลายตั้งแต่ 4-5 เซนติเมตร จนถึงใหญ่เต็มที่ได้ถึง 20 เซนติเมตร และมีสีสันต่าง ๆ หลากหลายมาก ทั้งสีขาว, สีเหลือง, สีส้ม, สีดำ หรือลายจุด อาศัยอยู่ในอุณหภูมิของน้ำประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส (77-82 องศาฟาเรนไฮต์) โดยที่ชื่อสกุลนั้นมาจากภาษากรีกคำว่า ποικίλος หมายถึง "สีสันที่หลากหลาย".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลามอลลี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลามาคูลาตาไพค์

ปลามาคูลาตาไพค์ (Spotted pike characin, False gar) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไพค์คาราซิน (Ctenoluciidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) มีรูปร่างเรียวยาวเหมือนปลาเข็ม ลำตัวยาวทรงกระบอก ปากแหลมยาวเหมือนปากปลาเข็ม พื้นลำตัวเป็นสีเทาขาว สีด้านใต้ลำตัวเป็นสีขาวอมเหลือง ตำแหน่งของครีบกระโดงหลังและมีครีบทวารสั้นเล็กค่อนไปทางส่วนท้ายของลำตัว ครีบทุกครีบของร่างกายจะมีจุดสีดำกระจายไปทั่ว ครีบหางเว้าเป็นรูปส้อมสีชมพู รูจมูกอยู่ทางด้านหน้าของดวงตา ตามีขนาดกลมโต กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น โอรีโนโก, โทแคนตินส์ และอเมซอน เป็นต้น มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร มักอยู่รวมกันเป็นฝูง ในระดับผิวน้ำเพื่อล่าปลาขนาดเล็กหรือลูกปลาชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลามาคูลาตาไพค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลามาเบิลแคทฟิช

ปลามาเบิลแคทฟิช (Leopard catfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ (Pimelodidae) นับเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Perrunichthys โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นมาจากภาษาสเปนคำว่า "perruno" หมายถึง "สุนัข" และ "ichthys" เป็นภาษากรีก หมายถึง "ปลา" มีลักษณะเด่น คือ มีสีพื้นเป็นสีน้ำตาลเข้ม มีสีขาวสลับดำตลอดทั้งตัว ครีบกระโดงหลังเป็นแผ่นยกสูง หนวดคู่หน้าจะยาวกว่าปลาในวงศ์เดียวกันหลายชนิด คือ ยาวจนเลยครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 80 เซนติเมตร จัดเป็นปลาขนาดกลางค่อนไปทางใหญ่ในวงศ์นี้ พบกระจายพันธุ์ในประเทศโคลัมเบีย, เวเนซุเอลา และทะเลสาบมาราไกโบ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลามาเบิลแคทฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลามีดโกน

ปลามีดโกน หรือ ปลาใบมีดโกน หรือ ปลาข้างใส (Razorfish, Shrimpfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาใบมีดโกน (Centriscidae) มีรูปร่างเหมือนใบมีดโกน จะงอยปากยาวมากและงอนขึ้นเล็กน้อย ท้องบาง ผิวเป็นแผ่นกระดูกบาง ด้านท้ายยื่นแหลม ครีบหลัง, ครีบหาง และครีบก้นอยู่ชิดกัน ลำตัวใสเป็นสีชมพูหรือสีเนื้อเหลือบ มีแถบสีดำพาดจากปลายปากจนถึงส่วนท้ายลำตัว มีความยาวโดยเฉลี่ย 10 เซนติเมตร และสามารถโตเต็มที่ได้ 15 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิก โดยอาศัยอยู่กับปะการัง, กัลปังหา และหนามของเม่นทะเล เพื่อหลบหลีกจากศัตรูผู้ล่า เนื่องจากไม่มีอาวุธอะไรที่จะป้องกันตัวได้ มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง จะเอาหัวทิ่มลงพื้นเสมอ และตั้งฉากกับพื้นทะเล แม้แต่จะว่ายน้ำไปไหนมาไหนก็จะไปด้วยลักษณะเช่นนี้เสมอ ในน่านน้ำไทยจัดเป็นปลาที่พบได้บ่อยในบางพื้นที่ กินแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร นิยมเลี้ยงกันในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ และเป็นปลาสวยงาม "Eyewitness handbooks Aquarium Fish: The visual guide to more than 500 marine and freshwater fish varieties" By Dick Mills.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลามีดโกน · ดูเพิ่มเติม »

ปลามง

ปลามง หรือ ปลากะมง หรือ ปลาม่ง (Jacks, Trevallies, Kingfishes) เป็นสกุลของปลาทะเลกระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Caranx (/คา-แรงก์/) จัดเป็นปลาที่มีขนาดกลางและใหญ่ในวงศ์นี้ มีลักษณะโดยรวม คือ ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หน้าครีบก้นมีหนามแข็ง 2 อันพับได้ คอดหางแคบ เกล็ดบนเส้นข้างตัวมีขนาดใหญ่ เป็นเหลี่ยมแข็งโดยเฉพาะที่บริเวณคอดหาง ส่วนหัวสั้นทู่ มีสีลำตัวเป็นสีขาวและสีเงิน อยู่รวมกันเป็นฝูง เป็นปลาที่กินเนื้อ ได้แก่ ปลาชนิดอื่น ๆ และสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร มีทั้งหมด 18 ชนิด (ดูในตาราง) โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลากะมงพร้าว (C. ignobilis) ที่มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 1.4 เมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่น บางครั้งอาจเข้าหามากินในแหล่งน้ำกร่อย นิยมตกเป็นเกมกีฬา และใช้เนื้อในการบริโภคเป็นอาหาร ซึ่งปลาในสกุลนี้ ยังมีชื่อเรียกอื่น อีก เช่น "ปลากะม่ง", "ปลาสีกุน" หรือ "ปลาหางกิ่ว" ซึ่งเป็นการเรียกทับซ้อนกับปลาสกุลอื่นที่อยู่ในวงศ์เดียวกันนี้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลามง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาม่อน

ปลาม่อน หรือ ปลามอน หรือ ปลาม่ำ เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Scaphiodonichthys ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะที่สำคัญ คือ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่ขอบจักเป็นฟันเลื่อย และมีก้านครีบแขนง 7-12 ก้าน ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ปากล่างบางคล้ายเล็บมือมนุษย์ จะงอยปากทู่ ปากเล็ก มุมปากอยู่ด้านหน้านัยน์ตา โดยคำว่า Scaphiodonichthys (/สะ-แค-ฟิ-โอ-ดอน-ทิค-ทีส/) เป็นภาษากรีก skaphe (σκάφος) หมายถึง "เรือ" odous (οδούς) หมายถึง "ฟัน" และ ichthys (Ιχθύς) หมายถึง "ปลา" จำแนกออกได้เป็น 3 ชนิด พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และจีนตอนล่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาม่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาม้า

ปลาม้า (Boeseman croaker) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Boesemania microlepis (/บี-ซี-มา-เนีย/ ไม-โคร-เล็พ-อิส/) ในวงศ์ปลาจวด (Sciaenidae) มีรูปร่างเพรียวเล็กไปทางด้านท้ายลำตัว หัวค่อนข้างเล็ก หน้าผากเว้าลึก ตาอยู่สูงไปทางด้านบนของหัว ปากกว้างอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก ใต้คางมีรูเล็ก ๆ 5 รู ครีบหลังยาวตลอดส่วนหลัง ตอนหน้าเป็นก้านแข็ง ตอนท้ายเป็นก้านอ่อน โคนหางเรียวเล็ก ครีบก้นมีก้าสนแข็งอันใหญ่หนา ครีบอกยาว ครีบท้องมีปลายเป็นเส้นยาวเช่นเดียวกับครีบหาง เกล็ดมีความเล็กมาก ลำตัวสีเทาอ่อนอ่อนเหลือบเงิน ด้านหลังมีสีคล้ำ ด้านข้างลำตัวมีแถบสีคล้ำจาง ๆ เป็นแนวเฉียงหลายแถบ ด้านท้องสีจาง ครีบใส จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Boesemania มีความประมาณ 25–30 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร อาศัยอยู่ในแม่น้ำขนาดใหญ่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบในแหล่งน้ำนิ่งบ้าง บ่อปลา หรือบ่อกุ้งที่อยู่ใกล้ทะเล พบมากในแม่น้ำตอนล่าง แต่ก็พบในแหล่งน้ำที่ไกลจากปากแม่น้ำมากเช่นกัน พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และในแม่น้ำโขงในภาคอีสานของไทย โดยพบสูงสุดถึงที่จังหวัดเลย ชื่อปลาม้ามาจากการที่มีครีบหลังยาวเหมือนแผงคอของม้า ขณะที่ชื่อในภาษาอีสานเรียกว่า "ปลากวง" พฤติกรรมมักกบดานอยู่นิ่งใต้พื้นน้ำ เมื่อว่ายน้ำจะเชื่องช้า แต่จะรวดเร็วมากเวลาไล่จับเหยื่อ ในธรรมชาติชอบอาศัยในเขตน้ำลึก กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า ปลาม้าเป็นปลาที่มีชื่อเสียงมากของจังหวัดสุพรรณบุรี จนถึงมีอำเภอชื่อ อำเภอบางปลาม้า เพราะความที่ในอดีตเคยชุกชุม เนื่องจากเป็นปลาที่มีรสชาติอร่อย เป็นที่นิยมมาก มีราคาขายที่สูง และเคยพบมากในบึงบอระเพ็ด แต่สถานภาพในปัจจุบันลดลงมาก อันเนื่องจากสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป และการจับในปริมาณที่มาก ปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว ด้วยการฟักไข่ที่ได้จากพ่อแม่ปลาที่เลี้ยงรวมกันในบ่อเลี้ยง และนำลูกปลาที่ได้หลังจากเลี้ยงดูจนโตได้ที่แล้วไปปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ โดยเฉพาะที่เขื่อนกระเสียว ปลาม้ามีฤดูผสมพันธุ์ตลอดปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูหนาวในช่วงต้นปี สามารถส่งเสียงร้องได้ดังระงมเหมือนอึ่งอ่าง เพื่อดึงดูดปลาตัวเมียให้มาผสมพันธุ์ มักจะร้องในช่วงกลางคืนเริ่มตั้งแต่พลบค่ำ กระเพาะของปลาม้า ขึ้นชื่อมากในการทำกระเพาะปลา เพราะมีกระเพาะขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถพองลมทำให้เกิดเสียงได้ นอกจากนี้แล้วกระเพาะปลาม้ายังใช้ทำเป็นยางในของรถจักรยานและทำกาวในอดีตอีกด้วย แต่ปลาม้าเป็นปลาที่ตายง่ายมากเมื่อจับพ้นจากน้ำ นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาม้ามังกร

ปลาม้ามังกร หรือ ปลาจระเข้หิน หรือ ปลาผีเสื้อกลางคืน (Seamoth, Dragonfish) เป็นสกุลของปลาทะเลกระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Eurypegasus (/ยู-รี-เพ-กา-ซัส/) อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืน (Pegasidae) แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด กระจายพันธุ์ตามท้องทะเลตามแนวปะการังแถบอินโด-แปซิฟิก และฮาวาย เป็นปลาที่เคลื่อนไหวช้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาม้ามังกร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาม้าลาย

ปลาม้าลาย (Zebra danio, Zebrafish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวเรียวยาว มีสีที่ลำตัวเป็นสีเหลือบน้ำเงิน สลับด้วยสีเขียวมะกอกดำจำนวน 3 เส้น เป็นแนวยาวตลอดลำตัวจนถึงส่วนหางทำให้มองเห็นลักษณะลวดลายคล้ายม้าลาย อันเป็นลักษณะเด่น อันเป็นที่มาของชื่อเรียก บริเวณใต้ปากมีหนวดอยู่จำนวน 2 เส้น มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศอินเดียทางทิศตะวันออก มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูง ว่ายหากินและอาศัยอยู่บริเวณผิวน้ำ มีความว่องไว ปราดเปรียวมาก มักจะว่ายน้ำอยู่ตลอดเวลา ตัวเมียมีลำตัวป้อมและสั้นกว่าตัวผู้ เป็นปลาที่สวยงามชนิดหนึ่ง จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำเช่นเดียวกับปลาซิวชนิดอื่น ๆ มีการเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว โดยไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 2-3 วัน ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์อย่างหลากหลาย มีการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีเครื่องครีบยาวกว่าปกติ และมีการศึกษาด้านพันธุกรรมของปลา จนสามารถผลิตออกมาเป็นปลาเรืองแสงได้ โดยใช้เป็นต้นแบบในการศึกษาพัฒนาการของตัวอ่อนสัตว์มีกระดูกสันหลังและลักษณะต่าง ๆ อีกทั้งยังใช้เป็นดัชนีชี้วัดมลพิษต่าง ๆ ในแหล่งน้ำอีกด้วย นอกจากนี้แล้ว ปลาม้าลายยังมีความสำคัญในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวคือ ด้วยความที่ขณะที่เป็นตัวอ่อนหรือเอมบริโอ ปลาม้าลายจะมีลำตัวใส นักวิทยาศาสตร์ทางด้านชีววิทยาเซลล์จึงใช้ในการศึกษาและทดลองแทนมนุษย์ เนื่องจากจากการศึกษาพบว่า ปลาม้าลายมีระบบอวัยวะภายในต่าง ๆ คล้ายกับมนุษย์ เช่น สมอง, หัวใจ, ตับและไต และลำดับจีโนมแสดงให้เห็นว่าภายในลำตัวมียีนที่ก่อให้เกิดในมนุษย์มากถึงร้อยละ 84 โดยนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ในออสเตรเลีย ได้ทำการศึกษาวิจัยมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาม้าลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลายอดม่วงลาย

ปลายอดม่วงลาย (River tonguesole) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynoglossus fledmanni ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีรูปร่างคล้ายปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C. microlepis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่มีสีลำตัวมีสีเหลืองอ่อนหรือเขียวอ่อน ตามตัวมีลายเส้นสีดำคล้ายลายเสือพาดตามตัว ขนาดที่พบโดยเฉลี่ยประมาณ 25 เซนติเมตร ถิ่นอาศัยอยู่ที่เดียวกับปลายอดม่วงเกล็ดถี่ แต่พบน้อยกว่า พบได้ในแม่น้ำโขง และปากแม่น้ำใกล้ทะเล ในประเทศไทยพบได้ที่ลุ่มน้ำโขง, ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจนถึงเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลายอดม่วงลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลายอดม่วงเกล็ดถี่

ปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (Smallscale tonguesole) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynoglossus microlepis อยู่ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีรูปร่างคล้ายใบมะม่วง ตาเล็กอยู่ชิดกัน ปลายจะงอยปากงุ้ม เฉพาะด้านบนท้องเล็กมาก ครีบหลัง ครีบหาง และครีบก้นยาวตลอดลำตัว ครีบหางมีปลายแหลม เกล็ดเล็กมีขอบหยัก มีเส้นข้างลำตัว 3 เส้นบนลำตัวด้านบนและต่อเนื่องกันบริเวณหัว ตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมแดงโดยไม่มีลวดลายใด ๆ ครีบค่อนข้างใส ลำตัวด้านล่างมีสีขาว ขนาดที่พบเฉลี่ยประมาณ 25 เซนติเมตร ใหญ่สุดประมาณ 1 ฟุต อาศัยตามชายฝั่งแม่น้ำที่เป็นพื้นทราย พบในตอนล่างของแม่น้ำแม่กลอง, เจ้าพระยา, บางปะกง และภาคใต้ พบมากในแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่จังหวัดชัยนาทจนถึงพิษณุโลก บริโภคโดยทำปลาแห้ง มีราคาขายค่อนข้างสูง และพบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย มีชื่อเรียกอื่นว่า "ปลายอดม่วง", "ปลายอดม่วงแม่น้ำ" หรือ "ปลายอดม่วงน้ำจืด" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลายอดม่วงเกล็ดถี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลายอนหอย

ปลายอนหอย หรือ ปลาสวายหนู เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งน้ำจืดในอันดับปลาหนังในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) จำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Helicophagus (/เฮ-ลิ-โช-ฟา-กัส/) มีรูปร่างโดยรวม คือ เหมือนปลาในสกุล Pangasius แต่ว่ามีรูปร่างที่เล็กและเพรียวบางกว่าอย่างเห็นได้ชัด ปากมีความกว้างน้อยกว่า หัวเล็ก ตามีขนาดเล็ก หนวดทั้ง 2 คู่ยาวถึงช่องเปิดเหงือก มีความยาวลำตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ฟุต มีพฤติกรรมจะกินอหารแต่เฉพาะสัตว์จำพวกหอย ทั้งหอยฝาเดียวและหอยสองฝา โดยจะกินเข้าไปทั้งตัว และถ่ายออกมาเป็นเศษซากของเปลือกหอย พบเพียง 3 ชนิดเท่านั้น โดยพบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะในเขตซุนดา มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบได้ในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลายอนหอย · ดูเพิ่มเติม »

ปลายาด

ปลายาด หรือ ปลาเวียน (Mahseers, Brook carps) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดที่มีขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Tor (/ทอร์/) มีลำตัวยาวและแบนข้างไม่มากนัก หัวค่อนข้างเล็ก มีหนวดที่ยาว 2 คู่ คู่แรกอยู่ที่ริมปากบน และคู่ที่สองอยู่ที่มุมปาก ปากโค้งเป็นรูปเกือกม้า ริมปากบนและล่างหนาเชื่อมติดต่อกัน ริมปากล่างมีร่องคั่นระหว่างริมปากกับกระดูกขากรรไกรล่าง บางชนิดอาจมีกล้ามเนื้อแบ่งเป็นพู ๆ บนริมปากล่าง และบางชนิดไม่มีพูของกล้ามเนื้อดังกล่าว เกล็ดมีขนาดใหญ่ เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ เยื่อขอบกระดูกแก้มเชื่อมติดกับเอ็นคาง ฟันที่ลำคอรูปร่างเหมือนช้อน มี 3แถว โคนครีบหลังหุ้มด้วยเนื้อที่เป็นเกล็ด มีก้านครีบแขนง 8 หรือ 9 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งและขอบเรียบ ต้นแบบของสกุลนี้มาจาก Cyprinus tor ซึ่ง จอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ ได้ยกขึ้นเป็นชื่อสกุล โดยตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tor hamiltonii ก่อนหน้าสกุล Labeobarbus ของเอ็ดดวร์ด รุพเพิล ซึ่งนักมีนวิทยาหลายท่านได้นำเอาสกุล Labeobarbus ไปตั้งชื่อปลาที่พบในแถบคาบสมุทรอินโดออสเตรเลีย แต่ก็มีบางส่วนที่ใช้สกุลอื่น ปลาในกลุ่มนี้จึงมีชื่อพ้องด้วยกันหลากหลาย พบทั้งหมดประมาณ 20 ชนิด ในทวีปเอเชีย ตามแม่น้ำสายใหญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลายาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลายี่สกเทศ

ปลายี่สกเทศ หรือ ปลาโรหู้ (রুই) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Labeo rohita ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างลำตัวยาวทรงกระบอก ส่วนหัวสั้น ปากเล็ก มีหนวดสั้น 2 คู่ ริมฝีปากเป็นชายครุยเล็กน้อย และมีแผ่นขอบแข็งที่ริมฝีปากบนและล่าง มีเกล็ดขนาดเล็กตามแนวเส้นข้างลำตัว ครีบหลังและครีบก้นมีขนาดเล็ก ครีบหางเว้าลึก ลำตัวด้านบนสีคล้ำ ปลาขนาดใหญ่จะมีจุดสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลอ่อนแต้มที่เกล็ดแต่ละเกล็ด ท้องมีสีจาง ครีบสีคล้ำมีขอบสีชมพูอ่อนหรือแดง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60–80 เซนติเมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 1 เมตร เป็นปลาพื้นถิ่นของภูมิภาคเอเชียใต้ตอนบน พบในรัฐโอริศา, รัฐพิหาร และรัฐอุตตรประเทศในอินเดีย, แม่น้ำคงคา, ปากีสถาน จนถึงพม่าทิศตะวันตก มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในระดับกลางของแม่น้ำจนถึงท้องน้ำ ใช้ปากแทะเล็มพืชและสัตว์น้ำขนาดเล็กและอินทรียสารเป็นอาหาร สามารถปรับตัวได้ดีในแหล่งน้ำนิ่งแต่จะไม่วางไข่ ปลายี่สกเทศทอดในบังกลาเทศ เป็นปลาเศรษฐกิจที่นิยมใช้บริโภคในภูมิภาคแถบนี้ โดยปรุงสด เช่น แกงกะหรี่ ในประเทศไทยถูกนำเข้ามาในปี พ.ศ. 2511 เช่นเดียวกับปลากระโห้เทศ (Catla catla) และปลานวลจันทร์เทศ (Cirrhinus cirrhosus) เพื่อเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์เป็นปลาเศรษฐกิจในประเทศ ปราฏฏว่าได้ผลสำเร็จเป็นอย่างดี และได้รับความนิยมมาก โดยมีการเลี้ยงอย่างแพร่หลายในหลายโครงการของกรมประมงทั้งในภาคเหนือและภาคอีสาน อีกทั้งยังเป็นที่นิยมของบ่อตกปลาต่าง ๆ อีกด้วย จนสามารถขยายพันธุ์ได้เองในแหล่งน้ำของประเทศไทย เช่น ที่แม่น้ำโขง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลายี่สกเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาย่าดุก

ปลาย่าดุก (Freshwater lionfish, Three-spined frogfish) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่ง ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Batrachomoeus trispinosus อยู่ในวงศ์ปลาคางคก (Batrachoididae) มีรูปร่างหัวโต ปากกว้าง มีติ่งเนื้อสั้น ๆ อยู่รอบมุมปาก ตาโต ครีบอกเป็นวงกลมและแผ่กางได้ ครีบหลังและครีบท้องยาวไปจรดหาง ครีบหางเป็นวงกลม ลำตัวอ่อนนุ่ม ไม่มีเกล็ด พื้นสีลำตัวสีน้ำตาลมีแถบดำเป็นลายเลอะพาดตลอดทั้งตัว ขนาดโตได้เต็มที่ราว 30 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก และยังพบในปากแม่น้ำ หรือในเขตน้ำกร่อยในภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศไทย ในต่างประเทศพบตั้งแต่อินโด-แปซิฟิก, ปาปัวนิวกินี จนถึงออสเตรเลีย มีพฤติกรรมมักกบดานอยู่นิ่ง ๆ ตามพื้นน้ำเพื่อดักรอเหยื่อ โดยสีของลำตัวกลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม สามารถกินปลาที่ใหญ่กว่าตัวได้ โดยปลาในวงศ์นี้จะมีพิษอยู่ที่เงี่ยงครีบหลังและครีบอก เมื่อถูกจับพ้นน้ำจะส่งเสียงร้องว่า "อุบ อุบ" เป็นปลาที่เมื่อกินเบ็ดแล้ว กินลึกลงถึงในคอ ในบางพื้นที่มีการบริโภค โดยเนื้อนุ่ม มีรสชาติอร่อย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยต้องทำการปรับสภาพน้ำให้อยู่ในน้ำจืดให้ได้เสียก่อน หน้า 110-129, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาย่าดุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาย่าดุก (สกุล)

ปลาย่าดุก (Frogfishes) เป็นสกุลของปลาน้ำเค็มสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาคางคก (Batrachoididae) ใช้ชื่อสกุลว่า Batrachomoeus มีลำตัวทรงกระบอก อ้วนป้อม หัวโต ปลายหัวมนกลม ลำตัวลู่ไปทางข้างหางจนถึงคอดหางซึ่งสั้นมาก ส่วนท้องกลม ปากกว้างมากเป็นรูปโค้ง ตามีขนาดเล็กหรือปานกลาง มีติ่งเนื้อสั้น ลักษณะเป็นเส้นหรือแบนเรียงเป็นแถวอยู่รอบขากรรไกรทั้งบนและล่าง มีติ่งเนื้อในแนวขอบกระดูกฝาเหงือกแผ่นหน้าและกระจายอยู่ทางด้านบนของหัวโดยเฉพาะที่ใกล้บริเวณขอบบนของตา แผ่นปิดเหงือกมีหนามแหลมและแข็งมาก บริเวณโคนครีบอกมีตุ่มเนื้อประปราย มีเส้นข้างตัว 1–2 เส้น ครีบหลังมี 2 ตอนแยกกัน ครีบก้นสั้น ครีบหางมีขอบกลมเป็นรูปพัด ครีบอกมีฐานกว้างตั้งอยู่ในแนวดิ่ง ครีบท้องตั้งอยู่ใต้ส่วนท้ายของหัวในแนวห่างจากหน้าครีบอก ตลอดหัวและลำตัว และครีบมีสีน้ำตาลอมเหลืองหรือสีคล้ำขะมุกขะมอมเป็นด่างเป็นดวงหรือลวดลายขวางไม่เป็นระเบียบ หนามและกระดูกแหลมบนหัวและครีบมีพิษ เป็นปลาที่อาศัยอยู่เพียงลำพังตัวเดียว เป็นปลาที่อาศัยและมักอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นทะเลบริเวณใกล้ชายฝั่งหรือในพื้นที่น้ำจืดที่ไม่ไกลจากทะเลมากนัก เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยซ่อนตัวอยู่ในรูหรือในวัสดุต่าง ๆ เพื่อดักรอเหยื่อ ที่ได้แก่ ปลาหรือสัตว์น้ำต่าง ๆ โดยการฮุบกินไปทั้งตัว เป็นปลาที่เมื่อถูกจับพ้นน้ำแล้ว สามารถส่งเสียงร้องว่า "อุบ ๆ ๆ" ได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาย่าดุก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลารากกล้วย

ปลารากกล้วย หรือ ปลาซ่อนทราย (horseface loach) เป็นชื่อสามัญของปลาน้ำจืดทุกชนิดในสกุล Acantopsis ของวงศ์ปลาหมูแท้ (Cobitidae)ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลารากกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาริชาร์ด ดอว์กินส์

ปลาริชาร์ด ดอว์กินส์ (Richard Dawkins fish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Dawkinsia (/ดอว์-กิน-เซีย-อา/) โดยเป็นสกุลที่ได้รับการอนุกรมวิธานขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 2012 โดยแยกออกมาจากสกุล Puntius อนุกรมวิธานโดย โรฮัน เพธิยาโกดา นักวิทยาศาสตร์ชาวศรีลังกา และตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ ริชาร์ด ดอว์กินส์ นักชีววิทยาด้านทฤษฎีวิวัฒนาการชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เนื่องจากปลาสกุลนี้เป็นตัวอย่างที่ดีที่แสดงให้เห็นถึงการวิวัฒนาการอย่างง่าย เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กที่พบในประเทศอินเดียและศรีลังกา มีครีบต่าง ๆ ยาวและมีสีสันสวยงาม โดยเฉพาะในตัวผู้ เพื่อที่จะดึงดูดตัวเมีย แต่ขณะเดียวกันก็เป็นจุดอ่อนให้ถูกไล่ล่าได้ง่ายเช่นกัน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาริชาร์ด ดอว์กินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลารีดฟิช

ปลารีดฟิช หรือ ปลาโรปฟิช หรือ ปลางู (Reedfish, Ropefish, Snakefish) เป็นปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Erpetoichthys calabaricus อยู่ในวงศ์ปลาไบเคอร์ (Polypteridae) ปลารีดฟิชจัดเป็นปลาไบเคอร์เพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Erpetoichthys มีรูปร่างที่เรียวยาวคล้ายเชือกหรืองูมากกว่าปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ โดยไม่มีครีบท้อง ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ครีบหูมีจุดสีดำที่ฐานครีบ ครีบหลังมีสีน้ำตาลจนถึงสีเขียวมะกอก ลำตัวสีเขียวมะกอก ขณะที่ส่วนท้องเป็นสีเหลืองอมส้ม มีขนาดความเต็มที่ประมาณ 37 เซนติเมตร และพบได้ยาวที่สุดถึง 90 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำนิ่งและน้ำกร่อยในแอฟริกาตะวันตก แถบสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, แองโกลา, ไนจีเรีย, แคเมอรูน, อิเควทอเรียล กินี และเบนิน อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย (ค่า pH ต่ำกว่า 7 เล็กน้อย) และมีพืชพรรณไม้น้ำขึ้นรกครึ้ม หากินในเวลากลางคืน เช่น ปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ ปลารีดฟิชนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบันยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ซึ่งชื่อสกุลของปลารีดฟิช คือ Erpetoichthys นั้นดัดแปลงมาจากภาษากรีกคำว่า erpeton ที่หมายถึง "สิ่งที่คลานได้" และ ichthys ที่หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลารีดฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาลัง

ปลาลัง, ปลาทูลัง หรือ ปลาทูโม่ง เป็นปลาชนิดหนึ่งในสกุลปลาทู อีกสองชนิดได้แก่ ปลาทู (R. brachysoma) และปลาทูปากจิ้งจก (R. faughni) ปลาลังมีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาทูชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน จนชาวประมงในอดีตเคยเชื่อว่าปลาลังเป็นปลาทูตัวผู้ แต่ปัจจุบันได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นปลาคนละชนิดกัน ความแตกต่างระหว่างปลาลังกับปลาทูชนิดอื่นคือ ปลาลังตัวโตกว่า ตัวเรียวยาวกว่า ปลายจมูกยื่นแหลมกว่า มีจุดสีดำใต้ฐานครีบหลัง 16 จุดซึ่งมีมากกว่าปลาทูชนิดอื่น ชอบอยู่ในบริเวณห่างไกลจากฝั่ง นิยมกินอาหารที่เป็นแพลงก์ตอนสัตว์เรื่องจากปก: วิกฤตอาหารโลก ระเบิดสงครามชิงน่านน้ำ ตามรอยปลาทูสู่โครงการฟื้นฟูทะเลไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาลัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาลีโปรินัส

ปลาลีโปรินัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในสกุล Leporinus ในวงศ์ปลาปล้องอ้อย (Anostomidae) มีรูปร่างกลมเรียวยาวเหมือนแท่งดินสอ มีลวดลายหรือจุดแตกต่างกันออกไป อาศัยอยู่เป็นฝูงในทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันมีเจ็ดชนิดได้ถูกแยกออกเป็นสกุล Hypomasticus แต่ส่วนใหญ่ก็ยังอยู่ในสกุลนี้ ซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดของสกุลนี้ คือ Leporinus scalabrinii (Ameghino, 1898) ถูกค้นพบในยุคไมโอซีนยุคสุดท้าย ที่เอนเตรรีโอ ในอาร์เจนตินา หลังจากถูกอนุกรมวิธานผิดว่าเป็นไพรเมทภายใต้ชื่อ Arrhinolemur scalabrinii มานานมากกว่า 100 ปี โดยคำว่า Leporinus มาจากภาษาละตินคำว่า lepus หมายถึง "กระต่ายป่า" และ inus ต่อท้าย หมายถึง "ส่วนที่เกี่ยวข้อง" โดยหมายถึง การที่ปลาในสกุลนี้มีฟันคู่หน้าที่เหมือนกับกระต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาลีโปรินัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวลายส้ม

ปลาวัวลายส้ม หรือ ปลาวัวหางเหลือง (Orange-lined triggerfish, Orange-striped triggerfish, Undulated triggerfish, Green trigger, Redlined triggerfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Balistapus undulatus อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) เป็นเพียงชนิดเดียวนั้นที่อยู่ในสกุล Balistapus ลักษณะลำตัวแบนทางด้านข้างตาเล็กอยู่เยื้องขึ้นไปใกล้ส่วนหลัง ปากมีขนาดเล็ก ครีบหลังมี 2 ตอนแยกออกจากกัน ตอนหน้ามีก้านครีบแข็งตอนหลังเป็นครีบอ่อนโค้งไปตามแนวลำตัว เช่นเดียวกับครีบก้น ครีบหูเล็กครีบท้องสั้นครีบหางปลายตัดและเว้าตรงกลางเพียงเล็กน้อย โดยที่ครีบหลังอันหน้าสุดได้ลดรูปไปเหลือเป็นเพียงก้านครีบแข็งอันเดียวมองเห็นได้ชัด มีลักษณะคล้ายกับเขาสัตว์ ซึ่งเป็นเอกลักษณะเฉพาะ มีขนาดความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร พื้นผิวลำตัวเป็นสีเขียวไพรและมีลายคาดสีส้มตามแนวเฉียงจากปากและหลังลงมายังครีบก้นและหางจำนวนประมาณ18-20 เส้นครีบหลังตอนท้ายและครีบก้นมีก้านครีบอ่อนสีส้ม ครีบหางสีส้มสลับลายเส้นสีน้ำเงินตรงโคนหางก่อนถึงครีบหางมีปานสีดำ พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการังและกองหินใต้น้ำทางของมหาสมุทรอินเดีย โดยไม่พบในอ่าวไทย พบได้ตั้งแต่ความลึกประมาณ 2-50 เมตร เป็นปลาวัวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวัวลายส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวสามเขา

ปลาวัวสามเขา (Tripod fish) เป็นสกุลของปลาทะเล ในวงศ์ปลาวัวจมูกสั้น (Triacanthidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Triacanthus แบ่งออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวัวสามเขา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวจมูกยาว

ปลาวัวจมูกยาว หรือ ปลาวัวจุดส้ม (Long-nose filefish, Orangespotted filefish, Harlequin filefish, Beaked leatherjacket) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oxymonacanthus longirostris อยู่ในวงศ์ปลาวัวจมูกยาว (Monacanthidae) มีรูปร่างเรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด มีจะงอยปากยื่นยาวคล้ายหลอดหรือท่อ ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนแรกมีเงี่ยงแข็งซึ่งสามารถตั้งชี้หรือกระดกได้เพื่อใช้ข่มขู่ผู้รุกรานหรือป้องกันตัวจากปลาที่ใหญ่กว่า เมื่อเวลาถูกกินเข้าปากจะถูกเงี่ยงนี้ทิ่มเอา ครีบท้องลดรูปลงไปทำให้เล็กและมีก้านครีบแข็งเช่นเดียวกับครีบหลัง สามารถพับเก็บได้ ครีบท้องยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีจุดกลมสีส้มกระจายอยู่ทั่วบนพื้นลำตัวสีเขียวอมฟ้า โดยที่ส่วนหน้าจะเป็นรอยขีดยาวตามดวงตา ที่ปลายครีบหางจะมีจุดสีดำขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ชายฝั่งของทวีปแอฟริกาฝั่งตะวันออกและใต้, โมซัมบิก, ทะเลแดง, ซามัว, หมู่เกาะริวกิวในทะเลจีนตะวันออก, นิวแคลิโดเนีย, ตองกา และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มักอยู่เป็นคู่ โดยจะพบมากที่สุดในแนวปะการัง เพราะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นหลัก พบได้ในความลึกตั้งแต่ 4-30 เมตร หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในเวลากลางคืนในแนวปะการังหรือกองหิน เป็นปลาที่เป็นที่ชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำเนื่องจากเป็นปลาที่สวยงามและไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวดำ

ปลาวัวดำ (Black trigger, Niger trigger, Redtoothed triggerfish, Redtoothed filefish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Odonus niger อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Odonus.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวัวดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวปิกัสโซ

ปลาวัวปิกัสโซ (Lagoon triggerfish, Blackbar triggerfish, Picasso triggerfish, Jamal, White-banded triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinecanthus aculeatus อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) มีรูปร่างกลมรีคล้ายรูปไข่ ปากมีขนาดเล็กแต่มีฟันแหลมคม ส่วนหน้าและจะงอยปากยาว มีลักษณะเฉพาะ คือ ลวดลายบนลำตัวที่จะเป็นแถบสีสดขีดไปมาเหมือนไม่ได้ตั้งใจจะให้เป็นหรือตั้งใจวาด ทั้งสีเขียวมะกอก, สีดำ, ฟ้า, เหลือง บนพื้นสีขาว แต่แลดูแล้วสวยงาม เหมือนกับภาพวาดของปาโบล ปิกัสโซ จิตรกรชื่อดังระดับโลก อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทย พบได้ทางฝั่งทะเลอันดามันทางภาคใต้แต่ก็พบในปริมาณที่น้อยมาก กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังชนิดต่าง ๆ เช่น มอลลัสคา, ครัสตาเชียน รวมทั้งปะการังและสาหร่ายด้วย โดยออกหากินในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนตามโขดหินหรือแนวปะการังในเวลากลางคืน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นที่มีขนาดและพฤติกรรมใกล้เคียงกันได้เป็นอย่างดี เนื่องจากแม้จะเป็นปลาก้าวร้าว แต่ก็ไม่ถึงกับดุร้ายเกินไปนัก ซึ่งผู้เลี้ยงสามารถฝึกให้กินอาหารจากมือได้ด้วย แต่ก็ต้องระวังเพราะมีฟันที่แหลมคมมาก ซึ่งปลาที่ถูกขายกันในตลาดปลาสวยงามนั้น โดยมากเป็นปลาขนาดเล็ก และนำเข้ามาจากประเทศอินโดนีเซียและทะเลฟิลิปปิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวัวปิกัสโซ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวปิกัสโซเรดซี

ปลาวัวปิกัสโซเรดซี (Arabian picasso triggerfish, Picasso triggerfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาวัวปิกัสโซ (R. aculeatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ว่าจะไม่มีลวดลายที่ลำตัว จะมีลวดลายที่บริเวณหน้า ดวงตาสีส้ม ข้อหางมีขีดสีดำพาดตรงจำนวน 3 ขีด บนพื้นสีเงิน มีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลอาหรับและทะเลแดง โดยที่ไม่พบในน่านน้ำไทย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าในประเทศไทย ถือเป็นปลาหาที่ยาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวัวปิกัสโซเรดซี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวาฮู

ปลาวาฮู หรือ ปลาอินทรีน้ำลึก (Wahoo) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acanthocybium solandri อยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในสกุลปลาอินทรี (Scomberomorus spp.) อย่างมาก โดยมีความแตกต่างกันคือ ครีบหลังของปลาวาฮูในตอนแรกจะมีความสูงกว่า และมีที่ว่างของครีบหลังตอนแรกและตอนหลังมากกว่าปลาในสกุลปลาอินทรี ครีบหางมีลักษณะเว้าที่ตื้นกว่า มีส่วนของจะงอยปากแลดูแหลมคมกว่า และรูปร่างที่เพรียวบางกว่า จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acanthocybium มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 2.5 เมตร และมีน้ำหนักถึง 83 กิโลกรัม เป็นปลาที่อาศัยอยู่เป็นฝูงในเขตน้ำลึกได้ถึง 80 เมตร ในทะเลเปิดเขตอบอุ่นและกึ่งอบอุ่นทั่วโลก โดยในฮาวายจะเรียกว่า "Ono" ขณะที่แถบทะเลแคริบเบียนและอเมริกากลางจะเรียกว่า "Peto" ว่ายน้ำได้รวดเร็วมาก เป็นปลาที่นิยมตกเป็นเกมกีฬา ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวาฮู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวีคส์ไบเคอร์

ปลาวีคส์ไบเคอร์ หรือ ปลาวีคส์บิเชียร์ (Mottled bichir, Weeks' bichir, Fat-headed bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิด Polypterus weeksii มีลักษณะคล้ายกับปลาไบเคอร์ไทเกอร์ (P. endlicherii endlicherii) และปลาไบเคอร์ยักษ์ (P. e. congicus) แต่ทว่ามีขากรรไกรบนที่ยื่นยาวกว่าขากรรไกรล่าง และมีลวดลายที่ต่างกัน มีครีบหลัง 9-11 ครีบ หัวมีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาปลาไบเคอร์ทั้งหมด มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 54 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำคองโก ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาวีคส์ไบเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อย

ปลาสร้อยน้ำเงิน (''C. caudimaculatus'') ปลาสร้อยขาว (''H. siamensis'') ปลาสร้อยนกเขา (''O. vittatus'') ปลาสร้อย หรือ กระสร้อย เป็นชื่อสามัญในภาษาไทยที่ใช้เรียกปลาน้ำจืดขนาดเล็กหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) อันดับปลากินพืช (Cypriniformes) ส่วนใหญ่มีลำตัวสีขาวเงินและมีจุดคลํ้าบนเกล็ดจนเห็นเป็นเส้นสายหลายแถบพาดตามความยาวของลำตัว มีพฤติกรรมรวมกันเป็นฝูงในลำน้ำใหญ่ในฤดูนํ้า และว่ายทวนนํ้าขึ้นไปหากินหรือสืบพันธุ์ในแหล่งน้ำที่ไหลเอ่อหรือท่วมขังในตอนกลางและปลายฤดูน้ำหลาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสร้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อย (สกุล)

ปลาสร้อย (Henicorhynchus) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวเพรียวยาวแบนข้าง หัวโตและปากกลมมน จะงอยปากล่างยื่นออกมาคลุมริมฝีปากบน แต่ไม่ปิดด้านข้างทำให้เห็นมุมปาก ริมปากบนและล่างติดต่อถึงกัน ริมฝีปากล่างยาวและติดกับขากรรไกร ในปากล่างมีปุ่มกระดูก มีหนวดสั้นมากหนึ่งคู่ที่มุมปากซึ่งซ่อนอยู่ในร่อง จะงอยปากมีรูเล็กกระจายอยู่ทั่วไป ตามีขอบเยื่อไขมัน ซี่กรองเหงือกยาวเรียวและมีจำนวนมาก ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่ไม่เป็นหนามแข็ง มีครบแขนง 8 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน บางชนิดมีจุดสีดำที่บริเวณโคนหางเห็นชัดเจน มีความยาวเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไป 8–10 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ทั่วไป ในประเทศไทยและกัมพูชา รวมถึงลาว ในช่วงฤดูน้ำหลากมีการย้ายถิ่นขึ้นบริเวณต้นน้ำเพื่อวางไข่และหากิน รวมถึงในนาข้าว เป็นปลาที่ถูกจับได้ทีละมาก มักนิยมนำไปปรุงเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ รวมทั้งหมักทำน้ำปลาด้วย พบทั้งหมด 4 ชนิด ซึ่งแต่ละชนิดนั้นมีความแตกต่างกันเล็กน้อย และมักอยู่ปะปนรวมกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสร้อย (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยนกเขา

ปลาสร้อยนกเขา (hard-lipped barb, lipped barb, nilem carp, orange shark) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวค่อนข้างแบน ปากเล็ก มีหนวด 2 คู่คือที่บริเวณ ขากรรไกรบน และใต้คางอย่างละ 1 คู่ บริเวณท้องมีสีเขียวสด ด้านล่างสีขาวนวล ใต้ท้องสีขาว มีจุดสีดำบนเกล็ดติดต่อกันจนดูเป็นลายสีดำ 6-8 ลายด้านข้างลำตัว ครีบท้อง ครีบก้น และครีบท้องเป็นสีแดง ครีบอกมีลายเป็นสีเขียวอ่อน ที่โคนครีบหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน จัดเป็นปลาที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงในแหล่งน้ำทุกภาคของประเทศไทยและยังพบได้ในหลายประเทศในภูมิภาคอินโดจีนอีกด้วย และพบไปจนถึงแหลมมลายูและเกาะต่าง ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย กินอาหารจำพวกสาหร่ายและตะไคร่น้ำใต้พื้นน้ำ จัดเป็นปลาที่หาได้ง่าย และนิยมจับมาบริโภคกัน โดยมักจะจับได้ทีละครั้งละมาก ๆ นอกจากนี้แล้วยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีก โดยยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ขี้ขม", "ซ่า", "นกเขา" หรือ "ขาวอีไท" ในภาษาเหนือ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสร้อยนกเขา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยนกเขาลายขวาง

ปลาสร้อยนกเขาลายขวาง หรือ ปลาตะเภาม้าลาย หรือ ปลาแตงโม (Oriental sweetlips, Indian Ocean oriental sweetlips) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแสม (Haemulidae) มีส่วนหัวลาดโค้งเหมือนมีดอีโต้ ริมฝีปากหนาและอยู่ต่ำ ครีบอกและครีบหางมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับขนาดลำตัว ครีบหางมีขนาดใหญ่และเป็นแบบเว้าตื้น ครีบต่าง ๆ เป็นสีเหลือง มีความยาวประมาณ 40 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 86 เซนติเมตร ปลาสร้อยนกเขาลายขวาง มีจุดเด่น คือ มีลายเส้นสีดำพาดขวางลำตัวบนพื้นสีขาว ซึ่งเป็นจุดเด่น พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในภาคพื้นอินโด-แปซิฟิก ในแนวปะการัง อาศัยอยู่เป็นฝูง หากินโดย กินสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ ตามหน้าดินเป็นอาหาร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสร้อยนกเขาลายขวาง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยนกเขาจุดทอง

ปลาสร้อยนกเขาจุดทอง (Painted sweetlips) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแสม (Haemulidae) มีลำตัวค่อนข้างยาว ด้านบนแบนข้าง สันหลังโค้งนูน ท้องแบนเรียบ ปากเล็กมีริมปากหนา มีฟันขนาดเล็กบนขากรรไกรทั้งสองข้าง ใต้คางมีรูพรุน 6 รู เกล็ดมีขนาดเล็กปกคลุมตลอดลำตัวและหัว สีลำตัวจะเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดอายุของปลา คือ ปลาขนาดเล็กจะมีสัสันสวยงาม โดยลำตัวเป็นสีขาว ส่วนหัวด้านบนสีเหลือง และมีแถบสีน้ำตาลปนดำ 5 แถบพาดไปตามความยาวลำตัว เมื่อมีขนาดใหญ่ขึ้นแถบสีจะจางหายไป และมีจุดสีน้ำตาลปนดำปรากฏขึ้นมาแทน และจุดสีจะจางหายไปเมื่อปลาอายุมากขึ้น กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตามหน้าดินหรือแนวปะการัง พบทั่วไปบริเวณชายฝั่งทะเลทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน โดยหากินปลาและสัตว์น้ำต่าง ๆ ตามบริเวณที่อยู่อาศัยเป็นอาหาร มีความยาวประมาณ 35-45 เซนติเมตร แต่เคยพบว่าบางตัวมีความยาวถึง 60 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ โดยนิยมบริโภค ตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในลูกปลาขนาดเล็กที่ยังมีลายแถบ ปลาสร้อยนกเขาจุดทอง เพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ได้สำเร็จในที่เลี้ยงเป็นครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2555 โดย สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งสงขลา โดยรวบรวมพ่อแม่ปลา 4-5 ตัวจากธรรมชาติ หลังจากที่เลี้ยงมาประมาณ 1 ปี ปลาก็วางไข่โดยธรรมชาติ ประมาณ 10,000-20,000 ฟอง จากนั้นได้รวบรวมไข่ขึ้นมาฟักและอนุบาลได้จำนวน 3,000 ตัว เมื่อลูกปลาอายุ 40 วัน มีขนาดความยาวประมาณ 4 เซนติเมตร เหลือจำนวน 400 ตัว ให้อาหารเป็นโรติเฟอร์และไรทะเล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสร้อยนกเขาจุดทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยนกเขาทะเล

ปลาสร้อยนกเขาทะเล หรือ ปลาสร้อยนกเขา เป็นสกุลของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแสม (Haemulidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Plectorhinchus มีลำตัวป้อม แบนด้านข้าง สันหัวโค้งลาดลง รอบปากมีเนื้อนุ่ม ๆ ใต้คางมีรู 1-3 คู่ เกล็ดมีขนาดเล็กและเป็นแบบสาก พื้นลำตัวและอกมักมีสีฉูดฉาด ในปลาขนาดเล็กมักมีลายสีทึบพาดตามยาวหลายเส้นและมักแตกเป็นจุดเมื่อปลามีขนาดใหญ่ขึ้น ขอบแผ่นปิดเหงือกและในโพรงปากมักมีสีแดงส้ม ส่วนใหญ่พบ อาศัยอยู่ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง ในแถบอินโด-แปซิฟิก มีขนาดลำตัวตั้งแต่ 30-80 เซนติเมตร ปลาสร้อยนกเขาลายขวางเมื่อเป็นปลาวัยโต เมื่อยังเป็นปลาขนาดเล็กจะมีพฤติกรรมการว่ายน้ำที่ไม่เหมือนปลาขนาดใหญ่ จะว่ายดีดดิ้น พริ้วไปมา เหมือนหนอนตัวแบน เชื่อว่าเป็นการเลียนแบบเพื่อเอาตัวรอดจากสัตว์นักล่าขนาดใหญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสร้อยนกเขาทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยนกเขาน้ำจืด

ปลาสร้อยนกเขาน้ำจืด หรือ ปลาสร้อยนกเขา เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดยใช้ชื่อสกุลว่า Osteochilus (/อ็อสแตโอคิลุส/).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสร้อยนกเขาน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลาด

ปลาสลาด หรือ ปลาฉลาด เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Notopterus notopterus อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีปากกว้างไม่เกินลูกตาเหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ พื้นลำตัวมีสีเรียบ ยกเว้นปลาวัยอ่อนจะมีลายบั้งเหมือนปลากราย (Chitala ornata) วัยอ่อน จมูกมีสองคู่ คู่หน้ายื่นออกมาคล้ายหลอดหรือหนวด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20-30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาที่เล็กที่สุดชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Notopterus พบในแม่น้ำและแหล่งน้ำนิ่งทั่วประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ที่ภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะสุมาตราและชวาหรือบอร์เนียว เป็นปลาที่หาง่าย มักอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ อาหารได้แก่ ลูกกุ้ง ลูกปลา สัตว์น้ำขนาดเล็ก เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และนิยมนำเนื้อไปทำทอดมันแทนเนื้อปลากรายซึ่งมีราคาแพงกว่าได้ นอกจากนี้ยังแปรรูปเป็นอาหารอื่น ๆ ได้อีก เช่น ลูกชิ้นสับนก หรือรมควัน เป็นต้น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีก โดยเฉพาะปลาที่กลายสีเป็นสีเผือก ปลาสลาด ยังมีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น "ปลาตอง" หรือ "ปลาตองนา".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินฟ้าหางส้ม

ปลาสลิดหินฟ้าหางส้ม หรือ ปลาแดมเซลฟ้าหางส้ม (Blue devil damsel, Cornflower sargeantmajor, Sapphire devil) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีรูปร่างและลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ ต่างกัน คือ ลักษณะแตกต่างทางเพศของปลาทั้ง 2 เพศ คือ ปลาตัวผู้จะมีการพัฒนาสีส้มขึ้นตามครีบต่าง ๆ เช่น ครีบหาง, ครีบท้อง ส่วนปลาตัวเมียจะไม่มีพัฒนาการดังกล่าว แต่ในบางแหล่งอาศัย ปลาตัวเมียจะมีจุดสีดำขึ้นบริเวณด้านหลังของครีบหาง เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 8.5 เซนติเมตร มีพฤติกรรมในธรรมชาติ คืออยู่แบบฮาเร็ม โดยมีตัวผู้หนึ่งตัวอาศัยอยู่รวมกับตัวเมียหลายตัว พบทั่วไปในเขตอินโด-แปซิฟิก จัดเป็นปลาที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว แต่ปลาในตลาดปลาสวยงามส่วนใหญ่ ยังถูกนำเข้ามาจากทะเลฟิลิปปินและอินโดนีเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินฟ้าหางส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง

ปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง หรือ ปลาแดมเซลฟ้าหางเหลือง (Yellow-tail damsel, Smith's damsel) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาสลิดหินหางเหลืองนอก (Chrysiptera parasema) ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน คือ มีลำตัวและครีบทุกครีบสีน้ำเงินเข้ม ยกเว้นครีบหางและโคนครีบหางที่เป็นสีเหลือง และมีรูปร่างที่ยาวกว่า มีขนาดลำตัวโตเต็มที่ประมาณ 7 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลอันดามัน และพบได้จนถึงทะเลฟิลิปปิน และทะเลอินโดนีเซีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุได้แล้ว แต่ปลาส่วนใหญ่ที่มีการซื้อขายกันในตลาดปลาสวยงามในประเทศไทยนั้นจะเป็นปลาที่จับมาจากแหล่งธรรมชาติในอินโดนีเซีย โดยมีชื่อเรียกในวงการว่า "ปลาแดมเซลหางเหลืองไทย".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินมะนาว

ปลาสลิดหินมะนาว (Lemon damsel) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์นี้ทั่วไป มีสีลำตัวเป็นสีเหลืองสดตลอดทั้งลำตัวเหมือนสีของมะนาวหรือเลมอน มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 9 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลอันดามันจนถึงทะเลญี่ปุ่น บริเวณหมู่เกาะริวกิว และตองกา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนักเพราะมีอุปนิสัยดุร้าย ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วเหมือนปลาในวงศ์เดียวกันชนิดอื่นอีกหลายชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินมะนาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินม้าลาย

ปลาสลิดหินม้าลาย หรือ ปลาสลิดหินอานม้า (หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปลาม้าลาย หรือ ปลาอานม้า; Whitetail dascyllus, Hambug dascyllus, Three stripe damsel, Threebar dascyllus) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dascyllus aruanus อยู่ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินม้าลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินหางเหลืองนอก

ปลาสลิดหินหางเหลืองนอก หรือ ปลาแดมเซลหางเหลืองนอก (Yellowtail damsel, Goldtail demoiselle) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีขนาดโตเต็มที่ได้ 7 เซนติเมตร มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาสลิดหินหางเหลือง (Pomacentrus smithi) ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ว่าปลาสลิดหินหางเหลืองนอกมีรูปร่างที่ป้อมสั้นกว่า และมีสีสันที่สวยสดกว่า โดยเฉพาะเมื่อกระทบถูกแสงไฟ ไม่พบในน่านน้ำไทย แต่พบในหมู่เกาะโซโลมอน, หมู่เกาะริวกิวในทะเลญี่ปุ่น, ทะเลฟิลิปปิน จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟในออสเตรเลีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เพราะมีความสวย ประกอบกับการเลี้ยงง่าย นิสัยไม่ก้าวร้าว อีกทั้งยังสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว แต่ส่วนใหญ่ปลาที่มีขยายกันในตลาดค้าปลาสวยงามในประเทศไทย จะถูกนำเข้ามาจากประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินหางเหลืองนอก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินจุดแดง

ปลาสลิดหินจุดแดง หรือ ปลาใบขนุนจุดเหลือง (Golden spinefoot, Orange-spotted spinefoot) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดทะเล (Siganidae) มีรูปร่างแบนเป็นรูปไข่ ช่องปากมีขนาดเล็กอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็งหลายชิ้น ครีบท้องมีก้านครีบแข็งทั้งด้านหน้าและด้านหลังรวมสองชิ้น ผิวเรียบ ครีบหางมีปลายตัดตรง ลำตัวมีสีเทา มีจุดประสีเหลืองหรือสีส้มแดงกระจายอยู่ทั่วตัว รวมทั้งที่เป็นลายที่หน้าฐานครีบหลังส่วนปลายมีแต้มสีเหลือง มีความยาวเต็มที่ประมาณ 35 เซนติเมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15-20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิก บริเวณชายฝั่ง มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงขนาดเล็ก ๆ ใกล้กองหินและแนวปะการัง หากินสาหร่ายและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร จัดเป็นปลาที่พบได้ชุกชุม ปัจจุบัน สามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วด้วยวิธีการผสมเทียม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และสามารถรับประทานเนื้อได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินจุดแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินนีออน

ปลาสลิดหินนีออน หรือ ปลานีออนแดมเซล (Neon velvet damsel, Bluebanded damsel, Bluestreak damsel, Japanese damsel) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อยังเป็นปลาขนาดเล็กลำตัวจะมีสีดำ และมีลวดลายสีน้ำเงินสะท้อนแสงคล้ายสายฟ้าพาดบนลำตัว แต่เมื่อโตขึ้นแล้วลายและสีสันดังกล่าวจะค่อย ๆ เลือนหายไป ปกติไม่พบในน่านน้ำไทย แต่พบในทะเลฟิลิปปิน, อินโดนีเซีย และทะเลติมอร์ เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนดหนึ่ง ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ในตลาดปลาสวยงาม จัดว่าเป็นปลาในวงศ์ปลาสลิดหินอีกชนิดหนึ่งที่มีการนำเข้ามาขายในประเทศไทยสูงเป็นอันดับต้น ๆ แต่ทว่าปลาสลิดหินนีออนนั้นเมื่อโตขึ้นจะเป็นปลาที่มีความก้าวร้าวขึ้นเรื่อย ๆ ด้วยความหวงถิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินนีออน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินแขก

ปลาสลิดหินแขก หรือ ปลาใบขนุนลายแถบ (Java rabbitfish, Bluespotted spinefish, Streaked spinefoot) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดทะเล (Siganidae) มีรูปร่างแบนข้างเป็นรูปไข่ ช่องปากมีขนาดเล็กอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็งหลายชิ้น ครีบท้องมีก้านครีบแข็งรวมด้านหน้าและด้านหลังเป็นสองชิ้น ผิวเรียบ ครีบหางแบบเว้าตื้น ด้านหลังมีสีกากีอมเหลือง ด้านข้างลำตัวและด้านท้องมีสีเหลือง มีลายเส้นสีจางตามทางยาวหลายเส้นตลอดทั้งลำตัว หัวและด้านหน้าเป็นลายจุด ครีบมีสีคล้ำ หรือมีสีเหลือสดที่ครีบก้น ครีบหางมีคล้ำ ไม่มีลาย มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร โดยเฉลี่ยประมาณ 15-20 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงและอาศัยหากินสาหร่ายและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ ตามกองหินและแนวปะการัง พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตน่านน้ำอินโด-แปซิฟิก อ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มีพิษที่ก้านครีบแข็ง แต่สามารถใช้เนื้อในการรับประทานได้ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดหินแขก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดทะเลเหลืองทอง

ปลาสลิดทะเลเหลืองทอง (Blue-spotted spinefoot, Coral rabbitfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดทะเล (Siganidae) มีลำตัวป้อม จะงอยปากแหลม ก้านครีบแข็งของครีบหลังมีขนาดใหญ่ แข็งแรง ก้านครีบแข็งอันแรกของครีบหลังสั้นกว่าก้านครีบแข็งอันสุดท้าย เยื่อยึดระหว่างก้านครีบเว้าเล็กน้อย ปลายของครีบหลังและครีบก้นโค้งมน ครีบหางเว้าชัดเจน ปลายครีบหางแหลม ครีบอกขนาดค่อนข้างใหญ่ มีสันบริเวณหน้าตา ลำตัวและครีบทุกครีบสีเหลืองสด อาจมีแถบหรือแต้มสีเข้มเล็กน้อย มีจุดสีน้ำเงินขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วตัว ตั้งแต่หัวถึงโคนครีบหาง ในตัวที่ยังไม่โตเต็มที่ มีลำตัวสีเหลืองแต่ไม่มีจุดสีน้ำเงิน มีขนาดโตเต็มที่ได้ 11 นิ้ว พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแนวปะการัง ในเขตอินโด-แปซิฟิก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสลิดทะเลเหลืองทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสอด

ปลาสอด (Molly, Moonfish) เป็นปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliida) ปลาสอดเป็นปลาพื้นเมืองดั้งเดิมมาจากเม็กซิโกจนถึงเวเนซุเอลา ที่สีสันในธรรมชาติจะเป็นสีน้ำเงินทึม ๆ หรือสีเขียววาว ๆ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 10-15 เซนติเมตร โดยที่ตัวผู้จะมีสีที่สวยกว่าตัวเมีย รวมทั้งครีบต่าง ๆ ที่ใหญ่ยาวกว่า ขณะที่ลำตัวของตัวเมียนั้นจะใหญ่กว่า ท้องอูมป่องกว่าอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นปลาที่อาศัยและหากินอยู่บริเวณผิวน้ำเป็นฝูง โดยกินตะไคร่น้ำ, สาหร่าย, พืชน้ำขนาดเล็ก รวมทั้งตัวอ่อนของแมลงต่าง ๆ เช่น ลูกน้ำ เป็นต้น โดยบางครั้งอาจพบได้จนถึงแหล่งน้ำกร่อย จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1907 ได้มีการนำเข้าปลาสอดจากเม็กซิโกเข้าไปในเลี้ยงในฐานะปลาสวยงามที่ประเทศเยอรมนี จากนั้นจึงแพร่ต่อไปยังสหรัฐอเมริกา มีการเพาะขยายพันธุ์โดยฝีมือมนุษย์จนได้สายพันธุ์ใหม่ ที่สวยงามและมีลักษณะต่างจากปลาในธรรมชาติอย่างน้อย สายพันธุ์ เช่น "เพลตี้" ใช้สำหรับเรียกปลาสายพันธุ์ที่มีสีทองทั้งตัว ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1960-ค.ศ. 1965 ปลาสอดได้รับการผสมเพื่อให้ได้สายพันธุ์แปลก ๆ จากเดิมที่มีลักษณะ โดยเฉพาะได้สายพันธุ์ที่มีครีบหลังสูงใหญ่คล้ายใบเรือ เรียกว่า "เซลฟิน" ถือเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายมาก แต่ลูกที่ออกมานั้นจะไม่ค่อยเหมือนพ่อแม่ กลับไปเหมือนบรรพบุรุษดั้งเดิมของคือ มีกระโดงครีบหลังสั้นและเล็กเป็นส่วนมาก ทั้งนี้เพราะปลาสอดเซลฟินไม่ใช่สายพันธุ์แท้ แต่เป็นพันธุ์ผสมหรือพันทาง อย่างไรก็ตามปลาสอดเซลฟินคู่ที่ดี อาจจะให้ลูกสายพันธุ์แท้คือมีกระโดงใหญ่เหมือนพ่อแม่ ได้ประมาณร้อยละ 50 ถึงร้อยละ 90 และก็ยังมีสายพันธุ์ที่มีสีดำทั้งตัว เรียกว่า "มิดไนต์" เป็นต้น ในปัจจุบันยังมีปลาสายพันธุ์ที่พิการ โดยที่มีลำตัวสั้นอ้วนกลมคล้ายลูกบอล แต่นิยมเลี้ยงกันเรียกว่า "ปลาบอลลูน" ปลาสอดจะเติบโตได้ดีและให้ลูกได้ดีที่สุดเมื่ออยู่ในระดับอุณหภูมิอย่างต่ำที่สุด 22 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิที่ 24 องศาเซลเซียส โดยปลาจะให้ลูกได้ดีที่สุด เมื่ออยู่ในอุณหภูมิ 23 องศาเซลเซียส ปลาตัวเมียที่มีสุขภาพสมบูรณ์จะออกลูกทุก ๆ 4 สัปดาห์ ปกติจะออกลูกคราวละ 2-200 ตัว แต่โดยเฉลี่ยแล้วจะออกลูกคราวละ 20 ตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสอด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสอดหางดาบ

ปลาสอดหางดาบ (Swordtail) สกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในอันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Cyprinodontiformes) ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Xiphophorus จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Poeciliinae นับเป็นปลาสกุลหนึ่งเช่นเดียวกับสกุล Poecilia ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยชนิดที่นิยมได้แก่ ปลาสอดหางดาบเขียว (X. hellerii), ปลาพลาตี้ (X. maculatus) และปลาวาเรียตัส (X. variatus) เป็นต้น โดยที่ชื่อสกุลนั้นมาจากภาษากรีกคำว่า ξίφος (ดาบ, มีดสั้น) และ φόρος (ผู้แบก, ผู้ถือ) หมายถึง "ลักษณะของหางตัวผู้ที่มีโกโนโพเดียม" มีขนาดตั้งแต่ 2.5-14 เซนติเมตร เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ตั้งแต่เม็กซิโก, กัวเตมาลา และเบลิซ เช่นเดียวกับปลาสกุล Poecilia หรือสกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน คือ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันและครีบต่าง ๆ ที่หลากหลายสวยงามกว่าปลาดั้งเดิมในธรรมชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสอดหางดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสอดหางดาบเขียว

ปลาสอดหางดาบเขียว (Swordtail fish, Green swordtail) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) มีลำตัวยาวเรียว และหัวแหลม มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับปลาวงศ์นี้ คือ มีความแตกต่างระหว่างเพศสูง ตัวผู้มีขนาดเล็กและผอมเพรียวกว่าตัวเมีย แต่มีครีบและสีสันต่าง ๆ สวยงามกว่า มีลักษณะที่เด่น คือ ในตัวผู้มีก้านครีบหางตอนล่างยาวเลยขอบหาง มีลักษณะเรียวแหลมคล้ายดาบ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์ที่เป็นชื่อชนิดถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแด่นักพฤกษศาสตร์ เวียนเนียส เฮลเลอร์ มีถิ่นกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำปกคลุมหนาแน่น ในสภาพแหล่งน้ำที่หลากหลาย ในเม็กซิโก, เบลิซ และฮอนดูรัส กินอาหารจำพวกพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก รวมถึงตัวอ่อนของแมลง มีความยาวลำตัวโดยเฉลี่ย 12.5 เซนติเมตร และส่วนปลายหางที่คล้ายดาบมีความยาวประมาณ 4-8 เซนติเมตร ทำให้ตัวผู้มีความยาวประมาณ 14 เซนติเมตร ขณะที่ตัวเมียมีความยาวประมาณ 16 เซนติเมตร แต่บางตัวอาจมีความยาวแค่ 5-6 เซนติเมตร บวกความยาวของดาบประมาณ 3 เซนติเมตร ทำให้มีบางตัวยาว 8-10 เซนติเมตร ขณะที่สีตามลำตัวมีความหลากหลายมากตามสภาพของแหล่งที่อยู่อาศัย โดยทั่วไปแล้วจะมีสีเขียวและมีแถบตรงกลางลำตัวสีแดงเข้มหรือสีน้ำตาลพาดตามลำตัว และบางทีอาจพบแถบสีเพิ่มอีก 4 แถบ เป็นด้านบน 2 แถบ และด้านล่างแถบกลางลำตัวอีก 2 แถบ ช่วงท้องจะมีสีขาว และที่ครีบหลังจะมีจุดแดง ตัวผู้ที่ขอบครีบหางตอนล่างมีลักษณะคล้ายดาบจะมีสีเหลืองและดำ บางครั้งอาจพบจุดสีดำบนลำตัว เป็นต้น เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์ด้วยฝีมือมนุษย์จนกลายเป็นสีแดงสดทั้งลำตัว จึงได้ชื่อเรียกชื่อหนึ่งว่า "ปลาสอดแดง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสอดหางดาบเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะกาง

ปลาสะกาง หรือ ปลากระมัง เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดและปลาน้ำกร่อย ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) 4 ชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Puntioplites (/พุน-ทิ-อ็อพ-ลิ-ทีส/) มีรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวแบนข้างมากกว่าปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หัวมีขนาดเล็ก ไม่มีหนวด ตาโต มีจุดเด่นคือ สันหลังยกสูงและครีบหลังก้านสุดท้ายแข็งและมีขนาดใหญ่ ยกสูง ด้านหลังของก้านครีบนี้มีทั้งรอยยักและไม่มีรอยยัก ซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด มีก้านครีบแขนง 8 ก้าน พบกระจายพันธุ์อยู่ในที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย, แม่น้ำโขง และคาบสมุทรมลายูไปจนถึงเกาะบอร์เนียว, เกาะชวา และเกาะซูลาเวซี มีชนิดด้วยกันทั้งหมด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสะกาง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะตือ

ำหรับ "สะตือ" ในความหมายอื่น ดูที่ สะตือ ปลาสะตือ (Giant featherback) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chitala lopis (/ไค-ตา-ลา-โล-ปิส/) อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีรูปร่างคล้ายปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ทั่วไป แต่มีท้ายทอยเว้าลึกและลำตัวมีเกล็ดละเอียดกว่า โคนครีบอกมีแต้มคล้ำ และข้างลำตัวมีจุดประสีคล้ำเล็ก ๆ มีขนาดลำตัวประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 1.5 เมตร นับเป็นปลาชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้เป็นอันดับสองรองจากปลากรายอินเดีย (C. chitala) โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ กรุงจาการ์ตา บนเกาะชวา ในอินโดนีเซีย และชื่อวิทยาศาสตร์ lopis เป็นชื่อสามัญที่เรียกกันในท้องถิ่นของเมืองเซอมารัง อินโดนีเซีย นับเป็นปลาที่หายากอีกชนิดหนึ่ง ในประเทศไทยพบอาศัยเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้น คือ แม่น้ำสาละวิน, แม่น้ำโขง พบน้อยที่แม่น้ำเจ้าพระยาและสาขา และแม่น้ำตาปี ในต่างประเทศพบที่พม่า, มาเลเซีย และบนเกาะบอร์เนียว โดยอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็ก ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น "ปลาตองแหล่" ในภาษาอีสาน "ปลาสือ" ในภาษาใต้ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ปลาตือ" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสะตือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะนากยักษ์

ปลาสะนากยักษ์ (Giant salmon carp, Mekong giant salmon carp) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aaptosyax grypus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Danioninae.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสะนากยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสังกะวาด

ปลาสังกะวาด หรือ ปลายอน เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) ที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุด โดยพบแล้วประมาณ 26 ชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Pangasius มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวลื่นไม่มีเกล็ด หัวโต ตามีขนาดเล็ก ปากกว้าง รูจมูกคู่หลังอยู่ใกล้รูจมูกคู่หน้ามากกว่านัยน์ตา และอยู่เหนือระดับขอบบนของลูกนัยน์ตา มีหนวด 2 คู่สั้นหรือยาวแล้วแต่ชนิด (ริมปากบน 1 คู่ และคาง 1 คู่) มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลางและชิ้นข้าง แต่ในบางชนิดอาจหดหายไปเมื่อปลามีอายุมากขึ้น รูปร่างอ้วนป้อม ครีบทั้งหมดโดยเฉพาะครีบหลังและครีบอกตั้งชี้ตรง และมีก้านแข็ง นัยน์ตาอยู่เหนือระดับมุมปากเล็กน้อย ท้องไม่เป็นสันคม ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 6 ก้าน มีขนาดรูปร่างที่แตกต่างออกไปตั้งแต่ 1 ฟุต ไปจนถึงเกือบ 3 เมตร แต่โดยทั่วไปจะมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 1-1.5 เมตร เป็นปลาที่กินได้ทั้งเนื้อและพืชเป็นอาหาร รวมถึงซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยด้วย มีพฤติกรรมชอบอยู่เป็นฝูง ในแม่น้ำและลำคลองสายใหญ่ พบตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะ เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเป็นปลาเศรษฐกิจ ใช้บริโภค ซึ่งมีการวิจัยพบว่าเนื้อปลาในสกุลนี้ มีสารโอเมกา 3 สูงกว่าปลาทะเลเสียอีก นอกจากนี้ยังใช้ตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงามในบางชนิด ในภาษาไทยจะเรียกปลาในสกุลนี้โดยรวมว่า "สวาย" ในปลาที่มีขนาดใหญ่ และในปลาที่มีขนาดเล็กมักจะเรียกรวม ๆ กันว่า "สังกะวาด" หรือ "สังกะวัง" ซึ่งซ้ำซ้อนกับปลาในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) สำหรับในภาษาอีสานจะเรียกว่า "ยอน" หรือ "ซวย" ในปัจจุบัน มีการผสมพันธุ์ข้ามชนิดและข้ามสกุลกัน จนได้เป็นลูกปลาพันธุ์ผสมชนิดใหม่ที่ให้ผลผลิตดี โดยใช้ชื่อในทางการค้าว่า "ปลามรกต" หรือ "เขียวมรกต" นิยมเลี้ยงกันมากโดยเฉพาะในภาคอีสานของไทย และในปัจจุบันนิยมทำเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อปลาสำเร็จรูป ในชื่อ "แพนกาเชียส ดอรี่" ปลาสวาย (''P. hypophthalmus'') เป็นชนิดที่นิยมเลี้ยงเพื่อการบริโภค และเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสังกะวาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสากหางเหลือง

ระวังสับสนกับ ปลาน้ำดอกไม้เหลือง ปลาสากหางเหลือง (Yellowstripe barracuda, Yellowtail barracuada) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสาก (Sphyraenidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสากหางเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสากเหลือง

ระวังสับสนกับ ปลาสากหางเหลือง ปลาสากเหลือง หรือ ปลาน้ำดอกไม้เหลือง (Obtuse barracuda) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสาก (Sphyraenidae) มีรูปร่างเรียวยาว ปากกว้าง จะงอยปากแหลม ขากรรไกรล่างยื่นยาวกว่าขากรรไกรบนมีฟันเขี้ยว ช่องปากสีเหลือง กระดูกแก้มอันแรกมีเหลี่ยมรูปมุมฉาก ครีบหลังอันแรกมีเทาปนกับสีเหลือง ครีบอก, ครีบก้น, ครีบหลังอันที่ 2 และครีบหางมีสีเหลืองแต่ครีบท้องมีสีขาว ลำตัวสีเหลืองอ่อน ท้องสีขาวเงิน ตามลำตัวไม่มีแถบสีหรือลวดลายใด ๆ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 20-30 เซนติเมตร พบยาวที่สุด 55 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนต่าง ๆ ทั่วโลก ในน่านน้ำไทยพบชุกชุมทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน มักจะสับสนกับปลาสากหางเหลือง (S. flavicauda) เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็กทั่วไป บางครั้งอาจพบรวมฝูงกันเล็กตามชายฝั่งหรือปากแม่น้ำ นิยมตกเป็นเกมกีฬา และบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจ นิยมนำเนื้อไปทำข้าวต้มหรือปลาเค็ม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสากเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสายยู

ปลาสายยู (Club-barbel sheatfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) เป็นปลาไม่มีเกล็ด หัวเล็กมีสีแดงเรื่อ ๆ ปากเล็กอยู่ด้านล่าง มีหนวดสั้นเป็นติ่งขอใกล้จมูก คล้ายสายยูแม่กุญแจ อันเป็นที่มาของชื่อ ตาเล็กมาก ลำตัวแบนข้างมีสีชมพูหรือสีนวล ครีบมีขอบสีคล้ำ ครีบก้นยาวมาก มีลำตัวประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 40 เซนติเมตร มีพฤติกรรมกระดิกหนวดอย่างรวดเร็วขณะว่ายน้ำ โดยภายในเวลา 1 นาที สามารถกระดิกหนวดได้ถึง 125 ครั้ง สันนิษฐานว่าเป็นการส่งสัญญาณหาอาหารตามท้องน้ำ โดยอาหารได้แก่ สัตว์หน้าดินต่าง ๆ กุ้ง, แมลงน้ำ เป็นต้น พบเพียงที่เดียวในโลกเท่านั้น คือ บริเวณลุ่มแม่น้ำบางปะกง ปัจจุบันมีสถานะเป็นปลาใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตในธรรมชาติ แต่ก็เป็นที่เสาะแสวงหาของนักเลี้ยงปลาด้วย โดยเป็นปลาที่มีราคาสูงมาก มีชื่อเรียกอื่นว่า "เกด" อนึ่ง ชื่อสายยู นี้เป็นชื่อที่เรียกซ้ำซ้อนกับปลาในหลายชนิด หลายสกุล เช่น ปลาในสกุล (Pangasius spp.) ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) หรือปลาหวีเกศ (Platytropius siamensis) ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbedae) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสายยู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสายยู (สกุล)

ปลาสายยู (Barbel sheatfish) ชื่อสกุลของปลาหนัง 2 ชนิด ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Ceratoglanis (/ซี-รา-โต-กลาน-อิส/) มีรูปร่างโดยรวม คือ หัวมีขนาดเล็ก ตามีขนาดเล็ก ปากเล็กอยู่ด้านล่าง มีลักษณะสำคัญ คือ มีหนวดสั้นเป็นติ่งขอใกล้จมูก ลำตัวแบนข้างมีสีชมพูหรือสีนวล ครีบมีขอบสีคล้ำ ครีบก้นยาวมาก มีลำตัวประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 40 เซนติเมตร มีพฤติกรรมกระดิกหนวดอย่างรวดเร็วขณะว่ายน้ำ โดยภายในเวลา 1 นาที สามารถกระดิกหนวดได้ถึง 125 ครั้ง สันนิษฐานว่าเป็นการส่งสัญญาณหาอาหารตามท้องน้ำ โดยอาหารได้แก่ สัตว์หน้าดินต่าง ๆ กุ้ง, แมลงน้ำ เป็นต้น พบเพียง 2 ชนิด เท่านั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสายยู (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโต

ำหรับปลาสิงโตจำพวกอื่น ดูที่: ปลาย่าดุก และปลาคางคก ปลาสิงโต (Lionfishes, Turkeyfishes, Firefishes, Butterfly-cods) เป็นสกุลของปลาน้ำเค็มทะเลสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาแมงป่อง (Scorpaenidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pterois (/เท-โร-อิส/; มาจากภาษากรีกคำว่า "πτερον" (pteron) หมายถึง "ปีก" หรือ "ครีบ").

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโตธรรมดา

ปลาสิงโตธรรมดา (Common lionfish, Miles' firefish, Devil firefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสิงโต (Scorpaenidae) มีลักษณะเด่น คือ มีครีบอกยาวเป็นเส้นแลดูสวยงาม ครีบหลังมีก้านครีบแข็งยาวมาก ในปลาขนาดเล็กตาจะมีติ่งแหลม ซึ่งเมื่อโตขึ้นจะค่อย ๆ หดสั้นลงจนหายไปในที่สุด ลำตัวมีสีสันหลากหลาย ตั้งแต่ สีแดง, สีส้ม, สีน้ำตาลเข้ม เป็นลายบั้งเล็ก ๆ สลับกับบั้งสีจาง ๆ หรือสีชมพู ครีบหลังตอนท้ายหรือครีบก้นจะเป็นครีบใสโปร่งแสง มีจุดประสีดำ มีพฤติกรรมล่าปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร โดยใช้ครีบอกที่แผ่ยาวเป็นเส้นไล่ต้อนให้จนมุม แล้วใช้ปากฮุบกินไปทั้งตัว มีขนาดใหญ่ประมาณ 15 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 35 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการังและกองหินใต้น้ำ ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก, อินโดนีเซีย ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อยในบางพื้นที่ เป็นปลาที่มีพิษ ไม่มีการรับประทานกันเป็นอาหาร นิยมเลี้ยงกันตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำและตู้ปลาตามบ้านในฐานะปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสิงโตธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโตปีกเข็ม

ปลาสิงโตปีกเข็ม หรือ ปลาสิงโตครีบขาว (White-lined lionfish, Clearfin turkeyfish, Radiata lionfish, Radial firefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแมงป่อง (Scorpaenidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาสิงโตชนิดอื่น แต่มีครีบอกที่ส่วนปลายเป็นเส้นเรียวเล็กคล้ายปลายเข็ม ครีบหลังมีก้านครีบสั้นกว่า มีติ่งที่ตายาว ลายบนลำตัวเป็นบั้งขนาดใหญ่และมีจำนวนน้อยกว่าปลาสิงโตชนิดอื่น และเป็นสีแดงเข้มหรือสีคล้ำสลับกับลายสีจาง ครีบต่าง ๆ เป็นสีใสปนแดง ปลายครีบอกสีขาว มีขนาดความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ขนาดใหญ่ที่สุด 23 เซนติเมตร เป็นปลากินเนื้อ กินกุ้งและปลาขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยอยู่ตามแนวปะการัง ของเขตอินโด-แปซิฟิก, แอฟริกาใต้, หมู่เกาะริวกิว, นิวแคลิโดเนีย ในน่านน้ำไทยจัดเป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อย โดยพบได้ที่ฝั่งทะเลอันดามันเท่านั้น เช่น หมู่เกาะสุรินทร์, หมู่เกาะสิมิลัน, หมู่เกาะอาดัง-ราวี เป็นต้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสิงโตปีกเข็ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรบั้งเหลือง

ปลาสินสมุทรบั้งเหลือง หรือ ปลาสินสมุทรบั้ง หรือ ปลาพีค็อก (Royal angelfish, Regal angelfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pygoplites ตอนบนของหัวจะมีสีฟ้าอมเทา จมูก คางและอกเป็นสีเหลืองอ่อน ลำตัวมีสีส้มสดเป็นสีพื้นและมีแนวสีฟ้าอ่อน ขอบเข้มอีก 5-9 เส้นแนวพาดตรงจากหลังจรดบริเวณท้อง ครีบหางสีเหลืองสด ขณะที่ยังเป็นลูกปลาอยู่จะมีแถบสีอ่อนซึ่งมีขอบสีเข้ม 4 แถบพาดผ่านสีข้างช่วงตอนท้ายของครีบหลังจะมีปื้นสีเข้มขนาดใหญ่ ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร มักพบเป็นคู่หรืออยู่ลำพังเพียงตัวเดียว กินฟองน้ำและเพรียงหัวหอมเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในเขตร้อน แถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทย พบได้ในฝั่งทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามมาก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และแสดงตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสินสมุทรบั้งเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรลายบั้ง

ปลาสินสมุทรลายบั้ง (Sixbanded angelfish, Sixbar angelfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มีรูปร่างสี่เหลี่ยมมน หัวและลำตัวตอนหน้ามีสีคล้ำอมน้ำเงิน มีแถบสีขาวพาดตรงหลังตา ลำตัวสีขาว มีจุดสีน้ำเงินในเกล็ดแต่ละเกล็ด และมีบั้งพาดผ่านลำตัวสีดำทั้งหมด 6 แถบ ครีบมีลายจุดประสีฟ้าสด ขณะยังเป็นปลาวัยอ่อนอยู่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำเงิน มีลายโค้ง 9-11 เส้น มีขนาดความยาวประมาณ 38 เซนติเมตร พบใหญ่ที่ได้ถึง 45 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแนวปะการังของแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ออสเตรเลีย, หมู่เกาะโซโลมอน, ทะเลฟิลิปปิน, อินโดนีเซีย, ศรีลังกา และสิงคโปร์ ในเขตน่านน้ำไทยพบบ่อยที่อ่าวไทย เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เพียงลำพังหรืออยู่เป็นคู่ โดยมีอาณาบริเวณของตัวเอง กินสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร เป็นปลาสินสมุทรอีกชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสินสมุทรลายบั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรหางเส้น

ปลาสินสมุทรหางเส้น หรือ ปลาสินสมุทรโคราน หรือ ปลาสินสมุทรลายโค้ง หรือที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า โครานแองเจิล หรือ บลูโคราน (Koran angel, Sixbanded angel, Semicircle angel, Half-circle angel, Blue koran angel, Zebra angel) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus semicirculatus อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มีลำตัวแบน ครีบหลังมี 2 ตอนเชื่อมต่อกัน โดยที่ครีบหลังยื่นยาวออกไปทางหาง ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อปลามีอายุเพิ่มมากขึ้น ครีบหูบางใส ครีบอกยาวแหลม ส่วนปลายครีบทวารยื่นยาวออกไปเช่นเดียวกับครีบหลัง ครีบหางโค้งเป็นรูปพัด พื้นผิวลำตัวของตัวอายุน้อยมีสีเหลืองอมน้ำตาล มีเส้นคาดตามขวางในแนวโค้งสีขาวและสีน้ำเงินมากกว่า 12 เส้น ลายเหล่านี้จะค่อย ๆ จางหายไปหมดเมื่อเจริญเต็มวัย โดยจะมีพื้นสีเหลืองอมเขียว แต้มด้วยจุดสีดำและสีน้ำเงินทั่วลำตัว ขอบแก้มและขอบครีบต่าง ๆ เป็นเส้นสีน้ำเงิน ซึ่งลวดลายและสีสันของปลาสินสมุทรหางเส้นวัยอ่อนนั้นจะคล้ายกับปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) มาก หากแต่ลูกปลาสินสมุทรวงฟ้านั้น มีลวดลายบนตัวเป็นไปในลักษณะค่อนข้างตรง และครีบหางเป็นสีขาวหรือใสไม่มีสี ขณะที่ครีบหางของลูกปลาสินสมุทรหางเส้นจะมีลาย โดยลูกปลาจะเริ่มเปลี่ยนสีสันและลวดลายไปเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีขนาดประมาณ 7-8 นิ้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 36-40 เซนติเมตร นับเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ที่มีขนาดใหญ่ กระจายพันธุ์อยู่ตามเกาะแก่งและแนวปะการังใต้น้ำของมหาสมุทรอินเดีย และอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ทะเลอันดามัน แต่ไม่พบในฝั่งอ่าวไทย ลูกปลาวัยอ่อนจะกินสาหร่ายในแนวปะการังเป็นหลัก เมื่อเป็นปลาเต็มวัยจะกินฟองน้ำ, ปะการัง และสาหร่ายเป็นหลัก รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างอื่น อาทิ หนอนท่อ, กระดุมทะเล, ปะการังอ่อน และหอยสองฝา เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถือเป็นปลาสินสมุทรที่เลี้ยงง่ายมากชนิดหนึ่ง เป็นปลาที่กินอาหารได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป ประกอบกับมีราคาไม่แพง เหมาะสำหรับผู้เลี้ยงปลาทะเลมือใหม่ แต่ควรเลี้ยงในตู้ขนาดใหญ่ที่มีความจุน้ำไม่ต่ำกว่า 400 ลิตร เนื่องจากเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ และเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมาก โดยเฉพาะต่อปลาในสกุลเดียวกัน โดยปลาที่มีการซื้อขายกันในตลาดปลาสวยงามนั้น เป็นปลาที่ต้องจับรวบรวมจากทะเลทั้งนั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสินสมุทรหางเส้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ

ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ (Emperor angelfish) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus imperator อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ กล่าวคือ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 40 เซนติเมตร มีลายสีเหลืองสลับสีน้ำเงินตามความยาวลำตัว ลำตัวเป็นรูปสี่เหลี่ยม และมีเงี่ยงที่บริเวณแผ่นปิดเหงือก มีแถบสีดำตัดด้วยเส้นสีน้ำเงินบาง ๆ ตั้งแต่บริเวณหน้าผากผ่านดวงตาลงมาและย้อนขึ้นไปตัดกับลายเส้นบนลำตัว ครีบและแก้มเป็นสีน้ำเงิน และปลายปากเป็นสีขาว มักพบในแหล่งที่น้ำใสของแนวปะการังที่สมบูรณ์ ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน แต่จะพบได้ในทะเลอันดามันมากกว่า เป็นปลาที่มักอยู่ลำพังตัวเดียวหรืออยู่เป็นคู่ ในความลึกตั้งแต่ 3-100 เมตร ในช่วงที่เป็นปลาวัยอ่อนนั้น จะมีสีน้ำเงิน มีเส้นลายสีขาวและมีลายก้นหอยบริเวณส่วนปลายของลำตัวใกล้โคนหาง และไม่มีสีเหลืองมาปะปน กระทั่งเติบโตขึ้น ครีบหางและครีบใต้ท้องด้านใกล้โคนหางก็จะเริ่มมีสีเหลืองและลวดลายของลำตัวก็จะเริ่มเปลี่ยนไป จนกระทั่งมีลวดลายและสีสันคล้ายกับปลาที่โตเต็มที่ขึ้นมาเรื่อย ๆ ตามวัย สันนิษฐานว่าเป็นไปเพื่อป้องกันตัวจากนักล่า เนื่องจากเป็นปลาที่ไม่ดูแลลูกอ่อน ปลาสินสมุทรจักรพรรดิเป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยจะต้องจับปลามาจากแหล่งกำเนิดในทะเล จัดว่าเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายชนิดหนึ่ง สามารถฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ไม่ยาก โดยต้องทำการเลี้ยงในตู้ที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 นิ้วขึ้นไป เนื่องจากเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งพฤติกรรมในที่เลี้ยง ปลาสินสมุทรจักรพรรดิเป็นปลาที่มีความก้าวร้าวต่อปลาชนิดเดียวกันหรือวงศ์เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน แต่มีความสุภาพต่อปลาในวงศ์อื่น ๆ ปลาสินสมุทรจักรพรรดิที่พบในอ่าวไทยหรือด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีความแตกต่างปลาสินสมุทรจักรพรรดิที่พบในทะเลอันดามัน หรือ มหาสมุทรอินเดีย คือ ไม่มี "เปีย" หรือชายครีบบนที่ยื่นยาวออกมาเป็นเส้นคล้ายกับปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน โดยปลาที่มีเปียยื่นยาวออกมาจะมีราคาซื้อขายที่แพงกว่าพวกที่ไม่มี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสินสมุทรจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสุดสาครจิ๋ว

ปลาสุดสาครจิ๋ว หรือ ปลาสินสมุทรแคระ (Dwarf angelfish, Pygmy angelfish) เป็นสกุลของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Centropyge ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) เป็นปลาในวงศ์นี้ที่มีขนาดเล็ก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร (6 นิ้ว) เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันในแนวปะการัง จำแนกความแตกต่างระหว่างตัวผู้และตัวเมียได้ยาก แต่ตัวเมียจะมีครีบที่สั้นและกลมกว่า ซึ่งจะจำแนกได้ชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับปลาฝูงอื่น เหมือนกับปลาในแนวปะการังจำพวกอื่น ๆ หรือปลาในวงศ์เดียวกันนี้สกุลอื่น ๆ คือ สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงเพศตัวเองได้ โดยเมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน จะเป็นปลาตัวเมีย และจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นปลาตัวผู้ได้ในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม ความผกผันของการเปลี่ยนแปลงทางเพศนี้เป็นไปตามสถานะทางสังคมของการเปลี่ยนแปลงของแต่ละปลาแต่ละตัว แต่กระบวนการนี้จะต้องใช้เวลานานเป็นสัปดาห์หรือเดือน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสุดสาครจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้ม

ปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้ม (Blacktail angelfish) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มีรูปทรงลำตัวเป็นรูปไข่ ลำตัวมีสีเทา มีลายบั้งเป็นสีส้มพาดขวางทั้งลำตัว ปาก, ท้อง และครีบท้องสีเหลืองอมส้ม ด้านท้ายครีบหลังและครีบหางเป็นสีดำ ปลายครีบหางมีขลิบสีฟ้า มีความยาวโดยเฉลี่ย 10 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 15 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามลำพังหรือเป็นฝูงขนาดเล็ก กินอาหารจำพวก ฟองน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบอาศัยอยู่ในตอนลึกในแนวปะการัง ตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียตะวันออก, อินโดนีเซีย จนถึงตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยเป็นปลาที่พบได้เฉพาะทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาที่พบได้น้อย นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาหมอส้ม".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสีกุนทอง

ปลาสีกุนทอง (Bigeyed scads, Goggle-eyes, Gogglers) ปลาทะเลในสกุล Selar ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีลำตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย มีลักษณะเด่น คือ มีดวงตาโต มีแถบสีเหลืองพาด จากตาถึงคอดหาง หรือมีสีเหลือบเหลืองพาดข้างตัว จำแนกออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสีกุนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสีขน

ปลาสีขน หรือ ปลาหางกิ่วหม้อ หรือ ปลากะมงตาแดง หรือ ปลากะมงตาโต (Bigeye trevally, Dusky jack, Great trevally) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีลำตัวค่อนข้างอ้วน ยาวเรียว หัวมีขนาดใหญ่และป้อม ปากกว้าง เกล็ดมีขนาดปานกลางบริเวณเส้นข้างลำตัวมีเกล็ดขนาดใหญ่แข็งคม โดยเฉพาะบริเวณโคนหาง ตามีขนาดใหญ่อยู่เกือบสุดปลายจะงอยปาก ครีบอกยาวเรียวแหลม ครีบหลังยาวแยกเป็นสองอัน อันที่เป็นก้านครีบแข็งสั้น อันอ่อนส่วนหน้ายกสูงขึ้นและมีขนาดใกล้เคียงกับครีบก้น ครีบท้องมีขนาดเล็กอยู่ใต้ครีบอก ครีบหางปลายเป็นแฉกลึก พื้นลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำเงินปนเขียว จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่อีกชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 120 เซนติเมตร หนัก 18 กิโลกรัม แต่ขนาดโดยเฉลี่ยราว 40-60 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรเขตร้อน ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย อย่างกว้างขวาง ตั้งแต่แคลิฟอร์เนีย, เอกวาดอร์, แอฟริกาใต้, ญี่ปุ่นทางตอนเหนือ จนถึงออสเตรเลียด้วย สำหรับในน่านน้ำไทยจะพบชุกชุมบริเวณช่องเกาะคราม, แสมสาร, เกาะเต่า ในฝั่งอ่าวไทย และฝั่งทะเลอันดามัน โดยมักจะอยู่รวมกันบางครั้งอาจพบได้ใต้โป๊ะ เป็นต้น และพบได้ถึงแหล่งน้ำจืด เป็นปลาที่มีรสชาติดี จึงนิยมบริโภคเป็นอาหาร และตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงามในน้ำจืด หรือน้ำกร่อย โดยเลี้ยงกันตั้งแต่ยังเล็ก ๆ เหมือนเช่นปลากะมงพร้าว (C. ignobilis) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า หน้า 123-128, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ คอลัมน์ Wild Ambition โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์, กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสีขน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสีนวล

ปลาสีนวล หรือ ปลากะพงสลิดลายน้ำเงิน หรือ ปลาสลิดทะเลน้ำเงิน (Bluefish, Topsail drummer) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงสลิด (Kyphosidae) มีลำตัวหนาแบนข้าง รูปร่างเป็นทรงรูปไข่ ครีบหลังและครีบก้นตอนท้ายปลายเรียว ครีบหางเว้าลึก ครีบหลังแบ่งออกเป็นสองตอนชัดเจน เกล็ดมีขนาดเล็ก ปากมีขนาดเล็ก มีฟันซี่เล็ก ๆ เป็นขน ลำตัวสีเทาคล้ำ มีแถบสีน้ำตาลตามแนวเกล็ดหลายแถบ ครีบต่าง ๆ มีสีคล้ำ มีขนาดความยาวเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 45 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, ฮาวาย, ทะเลญี่ปุ่น และตอนเหนือของออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบได้ชุกชุมทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ ว่ายไปไหนมาไหนด้วยกันทั้งฝูง มักรวมตัวกันบริเวณกองหินหรือแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง กินสาหร่ายเป็นอาหารหลัก เป็นปลาที่มีความสำคัญทางการประมงเพียงเล็กน้อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสีนวล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสี่ตา

ปลาสี่ตา (Four-eyed fishes) สกุลของปลาน้ำจืดในสกุล Anableps ในวงศ์ปลาสี่ตา (Anablepidae) ในอันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Cyprinidontiformes) เช่นเดียวกับปลาหางนกยูง, ปลากินยุง หรือปลาสอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสี่ตา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสีเสียด

ปลาสีเสียดราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสีเสียด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสคอมบิรอยด์

ปลาสคอมบิรอยด์ หรือ ปลาพารายา (อังกฤษ: Scomberoides; สเปน: Paraya) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrolycus scomberoides ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) อันดับปลาคาราซิน มีรูปร่างแบนข้าง ตัวเพรียวยาว ปากกว้าง มีจุดวงกลมสีดำอยู่หลังครีบอก ในส่วนที่เป็นสันหลังจะมีสีดำเข้ม บริเวณครีบก้นมากกว่าครึ่งก้านครีบที่มีสีดำ ในครีบหางจะมีสีดำตั้งแต่ฐานก้านครีบถึงกึ่งกลางก้านครีบ และจะลดความเข้มข้นของสีไปจนถึงปลายก้านครีบหาง ครีบไขมันมีจุดดำเห็นชัดเจน มีจุดเด่นคือ มีเขี้ยวคู่หนึ่งยาวยื่นออกมาจากขากรรไกรล่าง ซึ่งเขี้ยวเหล่านี้สามารถ 4-6 นิ้ว จนได้รับฉายาว่า "ปลาแวมไพร์" ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 45 เซนติเมตร (แต่ในข้อมูลทั่วไปมักจะระบุว่ายาวได้ถึง 117 เซนติเมตร ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผิด) กินปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร ในบางครั้งอาจกินปลาที่มีขนาดเท่าตัวหรือใหญ่กว่าได้อีกด้วย พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำริโอทาปาโฮส ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำอเมซอน โดยแหล่งที่พบมากที่สุดแห่งหนึ่ง คือน้ำตกอูไรมา ในเวเนซุเอลา เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองในอเมริกาใต้ใช้เป็นอาหาร และนิยมตกเป็นเกมกีฬา และก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย นับเป็นปลาในสกุล Hydrolycus ชนิดแรกที่ถูกนำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม สำหรับในประเทศไทยเป็นปลานำเข้าที่มีราคาแพง ซึ่งพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงจะมีนิสัยขี้ตกใจพอสมควร และโตช้ากว่าชนิดอื่น ๆ ในสกุลเดียวกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสคอมบิรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสแปรตแม่น้ำ

ปลาสแปรตแม่น้ำ (River sprat) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในสกุล Clupeichthys ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นปลาสแปรตหรือปลาเฮร์ริงจำพวกหนึ่ง เป็นปลามีขนาดเล็กพบในแม่น้ำหรือแหล่งน้ำจืดต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญในท้องถิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสแปรตแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาส่อ

ปลาส่อ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Crossocheilus (/ครอส-โซ-ไคล-อัส/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ในวงศ์ย่อย Garrinae มีรูปร่างโดยทั่วไป คือ เป็นปลาขนาดเล็ก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร มีลำตัวเรียวยาวทรงกลม หัวสั้นเป็นรูปกระสวย ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย ท้องกลม มีหนวดอยู่ 1 คู่ ลักษณะสำคัญ คือ มีหนังที่จะงอยปากเชื่อมติดกับริมฝีปากบน ริมฝีปากบนและล่างไม่ติดกัน บนจะงอยปากมีรูเล็ก ๆ และตุ่มเล็ก ๆ เรียงกันเป็นแถว ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน และก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายไม่แข็ง ขอบเรียบ ครีบหลังยกสูง อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง มักอาศัยอยู่ในลำธารและแหล่งน้ำเชี่ยว รวมถึงแม่น้ำสายใหญ่ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ กินอาหารจำพวก ตะไคร่น้ำหรือสาหร่ายบนโขดหิน หรือแมลงน้ำและแพลงก์ตอนขนาดเล็กต่าง ๆ หลายชนิดจะมีแถบสีดำพาดลำตัวในแนวนอน โดยปลาในสกุลนี้ มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาเล็บมือนาง" หรือ "ปลาสร้อยดอกยาง" เป็นต้น เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่นและเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีประโยชน์ในการเก็บกินเศษอาหารหรือตะไคร่น้ำภายในตู้เลี้ยง และยังนำไปในกิจการฟิชสปาหรือสปาปลาแทนที่ปลาเลียหินที่มีลักษณะและพฤติกรรมคล้ายคลึงกันได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาส่อ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียน

ปลาสเตอร์เจียน (Sturgeon, Oсетр, 鱘) ปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่ในวงศ์ Acipenseridae ในอันดับ Acipenseriformes อาศัยได้อยู่ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เมื่อยังเล็กจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ทะเลสาบหรือตามปากแม่น้ำ แต่เมื่อโตขึ้นจะว่ายอพยพสลงสู่ทะเลใหญ่ และเมื่อถึงฤดูวางไข่ก็จะว่ายกลับมาวางไข่ในแหล่งน้ำจืด ปลาสเตอร์เจียน เป็นปลาที่มนุษย์ใช้เป็นอาหารมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งไข่ปลา ที่เรียกว่า คาเวียร์ ซึ่งนับเป็นอาหารราคาแพงที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ปลาสเตอร์เจียน มีรูปร่างคล้ายปลาฉลาม มีหนามแหลมสั้น ๆ บริเวณหลัง หัว และเส้นข้างลำตัวไว้เพื่อป้องกันตัว มีหนวดทั้งหมด 2 คู่อยู่บริเวณปลายจมูก ปลายหัวแหลม ปากอยู่ใต้ลำตัว ลำตัวไม่มีเกล็ด ภายในปากไม่มีฟัน ตามีขนาดเล็ก ซึ่งหนวดของปลาสเตอร์เจียนนี้มีหน้าที่สัมผัสและรับคลื่นกระแสไฟฟ้าขณะที่ว่ายน้ำ เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่ด้านใต้ของลำตัว เพราะฉะนั้นหนวดเหล่านี้มีหน้าที่เหมือนมือที่คอยสัมผัสกับสิ่งของที่อยู่ข้างใต้ของตัวเอง หากินตามพื้นน้ำโดยอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ สเตอร์เจียนจะพบแต่เฉพาะซีกโลกทางเหนือซึ่งเป็นเขตหนาวเท่านั้น ได้แก่ ทวีปเอเชียตอนเหนือและตะวันออก, ทวีปยุโรปตอนเหนือ และทวีปอเมริกาเหนือตอนบน เช่น อะแลสกา, แคนาดา และบางส่วนในสหรัฐอเมริกา สถานะปัจจุบันของปลาชนิดนี้ในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์เต็มที แต่ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในบางชนิด ปลาสเตอร์เจียน มีทั้งหมด 27 ชนิด ใน 3 สกุล โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลาฮูโซ่ (Huso huso) พบในรัสเซีย สามารถโตเต็มที่ได้ถึง 5 เมตร หนักกว่า 900 กิโลกรัม และมีอายุยืนยาวถึง 210 ปี นับเป็นปลาที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลก เท่าที่มีการบันทึกมา และเป็นชนิดที่ให้ไข่รสชาติดีที่สุดและแพงที่สุดด้วย ส่วนชนิดที่เล็กที่สุดคือ ปลาสเตอร์เจียนแคระ (Pseudoscaphirhynchus hermanni) ที่โตเต็มที่มีขนาดไม่ถึง 1 ฟุตเสียด้วยซ้ำ นอกจากนี้แล้ว ปลาสเตอร์เจียนยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ในประเทศไทย ปลาสเตอร์เจียนชนิด ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย (Acipenser baerii) ได้มีการทดลองเลี้ยงในโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ดอยคำ อันเป็นโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่อำเภอเวียงแหง ที่หน่วยวิจัยประมงบนพื้นที่สูงดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผลการทดลองเป็นไปได้อย่างดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสเตอร์เจียน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนยุโรป

ปลาสเตอร์เจียนยุโรป หรือ ปลาสเตอร์เจียนธรรมดา (Baltic sturgeon, Common sturgeon, European sturgeon) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสเตอร์เจียน (Acipenseridae) มีรูปร่างหนาตัวยาวเรียว มีเกล็ดซึ่งเรียงกันเป็นหนามอยู่ 5 แถวทำให้ลำตัวเป็นเหลี่ยม ส่วนหัวขนาดใหญ่ค่อนข้างยาวแบนลง ส่วนปลายสุดค่อน ข้างแหลมงอนขึ้นเล็กน้อย มีลักษณะคล้ายพลั่วตักดิน ตามีขนาดเล็กสีดำกลมกลืนกับ สีลำตัวที่ด้านหน้าตอนใต้ของตามีช่องเปิด 2 ช่อง ช่วยในการหายใจ และดมกลิ่น ปาก อยู่ด้านใต้ที่ส่วนหน้าของปากมีหนวด 4 เส้น ซึ่งเป็นประสาทสัมผัสที่ไวมาก ปากสามารถ ยืดหดออกมาเพื่อดูดอาหาร มีครีบ 7 ครีบ ครีบหลังอยู่ค่อนไปทางโคนหางมีขนาดเล็ก หน้าครีบหลังมีแถวหนามเรียงกัน โดยเริ่มตั้งแต่ด้านหลังส่วนหัวเป็นต้นไป ครีบหางเป็นแฉกเว้ายาวไม่เท่ากัน ครีบหางตอนบนจะยื่นยาวออกไปมากกว่าครีบหางตอนล่าง ซึ่งสั้นมากลักษณะคล้ายหางของปลาฉลาม ครีบท้องและครีบก้นอยู่ค่อนมาทางตอน ท้ายของลำตัว สีลำตัวเป็นสีเทาเข้ม หรือสีดำ ส่วนใต้ท้องมีสีขาวจาง มีความยาวโดยเฉลี่ย 1–2 เมตร พบใหญ่ที่สุดถึง 3.5 เมตร น้ำหนักโดยเฉลี่ย 150 กิโลกรัม พบหนักที่สุดถึง 315 กิโลกรัม อายุเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ในตัวเมียอยู่ที่ 16–18 ปี ขณะที่ตัวผู้อยู่ที่ 12–14 ปี มีอายุยืนได้ถึง 40 ปี พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น ทะเลสาบ, แม่น้ำ ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ยกเว้นทะเลดำ ปลาสเตอร์เจียนยุโรป เป็นปลาสเตอร์เจียนชนิดที่นิยมบริโภคและนำไข่ทำคาเวียร์ มากที่สุด อีกทั้งลูกปลาขนาดเล็กยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสเตอร์เจียนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนขาว

ปลาสเตอร์เจียนขาว (Beluga, European sturgeon, Giant sturgeon, Great sturgeon; Белуга-แปลว่า สีขาว) ปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Acipenseridae มีลักษณะลำตัวยาว ส่วนของหางเหมือนปลาฉลาม มีเกล็ดเป็นหนามแหลม ๆ เรียงเป็นแถวอยู่บนลำตัว ปลายปากเรียวแหลม ช่องปากอยู่ด้านล่างของลำตัวมีหนวดขนาดเล็กหลายเส้นรอบ ๆ ปากไว้รับสัมผัส ส่วนหลังมีสีดำอมเทา ส่วนท้องและขอบครีบต่าง ๆ มีสีขาว เมื่อยังเล็กส่วนท้องจะมีสีขาว ส่วนขอบของครีบมีสีขาว พื้นลำตัวมีสีเทาและหนามบนหลังมีสีขาว จึงเป็นที่มาของชื่อ ปลาสเตอร์เจียนขาว นับเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มาก เมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 5 เมตร น้ำหนักถึง 900 กิโลกรัม และมีบันทึกว่าพบใหญ่ที่สุดถึง 9 เมตร นับเป็น 2 เท่าตัวของความยาวปลาฉลามขาว ด้วยซ้ำจึงจัดว่าเป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ในธรรมชาติพบการแพร่กระจายในเขตหนาวของทวีปยุโรป เช่น ทะเลดำ, ทะเลสาบแคสเปียน และทะเลเอเดรียติก หากินอยู่ตามพื้นน้ำโดยใช้หนวดสัมผัส อาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ใน..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสเตอร์เจียนขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิก

ปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาสเตอร์เจียนขาว (Pacific sturgeon, White sturgeon; หมายถึง "ปลาสเตอร์เจียนที่ใหญ่กว่าภูเขา") เป็นปลาสเตอร์เจียนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาสเตอร์เจียนชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ในเขตน้ำเย็นของชายฝั่งอ่าวมอนเทอเรย์ของทวีปอเมริกาเหนือ หมู่เกาะอาลิวเชียน ทะเลสาบอิลลิแอมนาในรัฐอะแลสกา แม่น้ำโคลอมเบียในแคนาดา ไปจนถึงแคลิฟอร์เนียตอนกลาง ใต้ส่วนหัวมีหนวดใช้สำหรับสัมผัสหาอาหารใต้น้ำเป็นอาหาร 4 เส้น กินอาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กทั่วไป และสัตว์น้ำมีกระดอง เช่น ปู กุ้ง และหอย ส่วนหัวมีเส้นประสาทเป็นจำนวนมาก ข้างลำตัว ส่วนหัว และส่วนหลังมีกระดูกยื่นออกมาโดยรอบใช้สำหรับป้องกันตัว จัดเป็นปลาสองน้ำจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ทะเลสาบ หรือบริเวณปากแม่น้ำในวัยอ่อน แต่เมื่อโตขึ้นจะว่ายอพยพลงสู่ทะเลบริเวณชายฝั่ง และเมื่อถึงฤดูวางไข่ก็จะว่ายกลับมาวางไข่ในแหล่งน้ำจืดอีกครั้ง ปลาสเตอร์เจียนขาวนับเป็นปลาสเตอร์เจียนที่มีความใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับ ปลาสเตอร์เจียนฮูโซ่ (Huso huso) และนับเป็นปลาสเตอร์เจียนที่มีความใหญ่ที่สุดที่อยู่ในสกุล Acipenser ด้วย โดยเคยมีบันทึกไว้ว่าตัวที่ใหญ่ที่สุดยาวถึง 20 ฟุต และน้ำหนักถึง 816 กิโลกรัม เชื่อว่ามีอายุยืนยาวได้นานถึง 200 ปี จัดเป็นปลาเศรษฐกิจและนิยมตกกันเป็นเกมกีฬา นอกจากนี้แล้ว ปลาสเตอร์เจียนขาวยังสามารถกระโดดขึ้นเหนือน้ำได้ด้วยเมื่อตกใจ ทั้ง ๆ ที่มีขนาดใหญ่เช่นนี้ เป็นสาเหตุที่ทำให้เรือของชาวประมงและชาวพื้นเมืองอับปาง และมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ จึงทำให้ได้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสัตว์ประหลาดแห่งทะเลสาบอิลลิแอมนา โดยที่ชาวพื้นเมืองมีความเชื่อหากได้พบเจอกับสัตว์ประหลาดตัวนี้แล้วจะพบกับความหายน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนใหญ่

ปลาสเตอร์เจียนใหญ่ (Greater sturgeons) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ จำพวกปลาสเตอร์เจียน (Acipenseridae) ในสกุล Acipenser (/อะ-ซิ-เพน-เซอร์/).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสเตอร์เจียนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย

ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย (อังกฤษ: Siberian sturgeon) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acipenser baerii ในวงศ์ Acipenseridae มีรูปร่างเหมือนปลาสเตอร์เจียนทั่วไป มีจะงอยปากขาว มีหนวด 4 เส้น ที่หน้าปากด้านหลังมีสีน้ำตาลเทาจนถึงดำ สีท้องมีสีขาวจนถึงเหลือง พบในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ในลุ่มแม่น้ำของไซบีเรีย ในรัสเซีย, คาซัคสถาน และจีน ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 200 เซนติเมตร น้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม สามารถมีอายุยืนได้ถึง 60 ปี มีชนิดย่อยทั้งหมด 2 ชนิด คือ A. b. baicalensis พบในทะเลสาบไบคาล (มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า สเตอร์เจียนไบคาล) และ A. b. stenorrhynchus ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย นับเป็นปลาสเตอร์เจียนชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมจับเพื่อการพาณิชย์เพื่อการบริโภคมาก โดยนิยมรับประทาน ไข่ปลาคาเวียร์ และนำไข่ปลาคาเวียร์นี้ไปทำเป็นเครื่องสำอาง สำหรับในประเทศไทย ปลาสเตอร์เจียนชนิดนี้มีการทดลองเลี้ยงในโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ดอยคำ อันเป็นโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่อำเภอเวียงแหง ที่หน่วยวิจัยประมงบนพื้นที่สูงดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผลการทดลองเป็นไปได้อย่างดี โดยทำการเพาะฟักจากไข่ปลาที่นำเข้ามาจากรัสเซีย เริ่มตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอ (สกุล)

ปลาหมอ (Climbing perch) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอ (Anabantidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Anabas (/อะ-นา-เบส/) ลักษณะที่สำคัญของปลาในสกุลนี้คือ จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่ด้านหน้าจุดเริ่มต้นของครีบอก และฐานของครีบหลังยาวกว่าฐานของครีบก้น มีฟันเป็นทรงกรวยลักษณะแหลมคม ไม่มีฟันที่เพดานปาก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และฟิลิปปินส์ พบเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอบัตเตอร์

ปลาหมอบัตเตอร์ (Zebra tilapia, Zebra cichlid) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างคล้ายปลานิล (Oreochromis niloticus) หรือปลาทิลอาเพียชนิดอื่น ซึ่งเคยอยู่ร่วมกันในสกุล Tilapia มาก่อน ซึ่งปัจจุบันเป็นชื่อพ้องDunz, A. R. & Schliewen, U. K.; (2013): Molecular phylogeny and revised classification of the haplotilapiine cichlid fishes formerly referred to as “Tilapia”.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอบัตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอช้างเหยียบ

ำหรับปลาตะกรับอย่างอื่น ดูที่: ปลาตะกรับ ปลาหมอช้างเหยียบ (Striped tiger leaffish, Banded leaffish, Malayan leaffish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pristolepis fasciata ในวงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ (Pristolepididae) มีรูปร่างป้อม ลำตัวด้านข้างแบนพื้นลำตัวสีเขียวหรือสีน้ำตาลปนเหลือง มีเกล็ดแบบสากและขอบหยักปกคลุมทั่วตัวมีแถบสีดำพาดขวางลำตัวประมาณ 8-12 แถบ หัวเล็กจะงอยปากสั้นทู่ ปากเล็กยืดหดได้เล็กน้อย มีฟันซี่เล็ก ๆ เป็นแถวอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง รูจมูกแยกจากกันอย่างเด่นชัดและอยู่ชิดกับตา ครีบหลังมีสองส่วนเชื่อมติดกันเป็นแนวยาว ส่วนหน้าเป็นด้านเดียวเป็นหนามแหลมคม ส่วนหลังเป็นครีบอ่อน ครีบก้นใหญ่มีก้านครีบแข็งและแหลมคม ครีบหางใหญ่ปลายหางมนกลม มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 5-10 เซนติเมตร พบได้ใหญ่ที่สุด 20 เซนติเมตร จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ เป็นปลาที่พบได้ทุกสภาพของแหล่งน้ำทั้งแหล่งน้ำนิ่งและแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค รวมถึงในแหล่งที่เป็นน้ำกร่อยด้วย ในต่างประเทศพบได้ทุกประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีฤดูวางไข่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนสิงหาคม ไข่มีลักษณะเม็ดกลมสีเหลืองเข้มเป็นไข่ลอย เป็นปลาที่กินสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร นิยมตกกันเป็นเกมกีฬาและรับประทานเป็นอาหาร มีการเพาะเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจ ปลาหมอช้างเหยียบยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น ปลาหมอโค้ว, ปลาปาตอง, ปลาหมอน้ำ, ปลาตะกรับ, ปลากระตรับ, ปลาหน้านวล, ปลาก๋า หรือ ปลาอีก๋า เป็นต้น ในขณะที่ภาษาใต้เรียกว่า ปลาหมอโพรก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอช้างเหยียบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอฟรอนโตซ่า (สกุล)

ปลาหมอฟรอนโตซ่า (Frontosa cichilds, Humphead cichlids) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyphotilapia เป็นปลาหมอสีที่พบอาศัยอยู่ในทะเลสาบแทนกันยีกาในทวีปแอฟริกาเท่านั้น โดยกระจายพันธุ์ไปทั่วทะเลสาบ ในความลึกตั้งแต่ 10-50 เมตร ซึ่งตามแนวความลึกนั้นจะมีภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่ได้ราว 14 นิ้ว มีอายุยืนยาวถึง 25 ปี ลำตัวมีแถบสีดำ 6 แถบ หรือ 7 แถบ (ในบางสายพันธุ์) ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามแหล่งอาศัย บ้างก็เป็นขีดเส้นตัดตรงพาดจากหน้าผากผ่านมาที่แก้ม บ้างก็มีลักษณะเป็นหน้ากากสามเหลี่ยมครอบบริเวณดวงตา บ้างก็เป็นปื้นสีดำเหมือนเคราของมนุษย์ เป็นต้น เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง ล่าปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังตามพื้นน้ำด้วย มีพฤติกรรมเมื่อว่ายน้ำจะกางครีบ ทำตัวอยู่นิ่ง ๆ ในแนวหินในระดับความลึกตั้งแต่ 10 เมตรลงไป โดยมักไม่ค่อยเคลื่อนไหวเพื่อเป็นการออมการเผาผลาญพลังงาน ซึ่งในบางครั้งทำให้สามารถอดอาหารได้เป็นเดือน แต่เมื่อเวลากินหรือล่าเหยื่อนั้นจะว่องไวมาก มีตัวผู้ตัวใหญ่สุดเป็นจ่าฝูง ซึ่งในฝูงจะประกอบด้วยปลาตัวเมีย และปลาตัวผู้ที่เล็กกว่าตัวอื่น ปลาที่เป็นจ่าฝูงมักจะขับสีตัวเองให้เป็นสีเข้มเหมือนสีดำเพื่อเป็นการข่มปลาตัวอื่น เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 4 ปี โดยปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายต้อนปลาตัวเมียมายังรังที่สร้างไว้เพื่อวางไข่ พร้อมกับขับไล่ปลาตัวอื่น ไม่ให้เข้าใกล้ เมื่อตัวเมียวางไข่จะอมไข่ไว้ในปาก ปลาตัวผู้จะฉีดน้ำเชื้อ เพื่อให้ตัวเมียเก็บน้ำเชื้อเข้าปากเพื่อปฏิสนธิ และหลังจากนั้นปลาตัวเมียจะไม่กินอาหารเลย เป็นระยะเวลาราว 21 วัน ซึ่งปลาจะฟักเป็นตัว จึงคายลูกปลาออกมา ได้รับความนิยมอย่างมากในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยแบ่งเป็นสายพันธุ์ต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่เป็นหลักในการอนุกรมวิธาน โดยเรียกชื่อกันตามลักษณะภายนอกของปลาและถิ่นที่อยู่อาศัยตามพื้นที่ต่าง ๆ ของทะเลสาบ แต่โดยหลักของการอนุกรมวิธานแล้ว จะแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอฟรอนโตซ่า (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอมาคูลิคัวด้า

ปลาหมอมาคูลิคัวด้า หรือ ปลาหมอเวียจา (Spotted cichlid, Blackbalt cichild) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นลำตัวสีน้ำตาลจางแกมเหลือง แต่อาจมีสีม่วงแซมอยู่บ้าง มีจุดเล็ก ๆ สีดำกระจายทั่วไปตั้งแต่กลางลำตัวไปจนถึงบริเวณหาง และมีแถบเส้นสีดำขนาดใหญ่พาดกลางลำตัวในแนวตั้งคล้ายคาดเข็มขัดเป็นจุดเด่น แลเห็นชัดเจน หัวมีลักษณะค่อนข้างกลม ปากใหญ่ ริมฝีปากค่อนข้างหนา แก้มและท้องมีสีแดงเรื่อ ๆ นัยน์ตามีสีเขียว ครีบอกใส ครีบกระโดงหลังแผ่กว้างบริเวณส่วนปลายครีบเรียวแหลม เช่นเดียวกับครีบทวารแต่สั้นกว่า ครีบหางมีขนาดใหญ่ ปลายมนกลม ทุกครีบ ยกเว้นครีบอกมีจุดสีดำกระจายทุกครีบโดยมีพื้นสีม่วงจาง ๆ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 35-40 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในภาคพื้นอเมริกากลางตั้งแต่ตอนใต้ของเม็กซิโก, นิคารากัว, ปานามา จนถึงทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปลาหมอมาคูลิคัวด้า จัดเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีนิสัย ก้าวร้าว หวงถิ่น เมื่อเทียบกับปลาหมอสีขนาดใหญ่ชนิดอื่น ๆ และมีนิสัยชอบขุดคุ้ยกรวดทรายบริเวณพื้นตู้ และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในตู้เลี้ยงได้ เมื่อปลาจับคู่ได้แล้ว โดยปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายเลือกมุมหนึ่งของตู้เพื่อสร้างรัง ด้วยการใช้ปากคาบกรวดไปทิ้งรอบ ๆ เป็นวงกลม และเชิญชวนปลาตัวเมียมาวางไข่ โดยที่จะปล่อยไข่ออกมาด้วยการใช้ท้องถูกับวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าปฏิสนธิ เมื่อปลาตัวเมียปล่อยไข่หมดแล้ว ก็จะเสร็จสิ้นการผสมพันธุ์ จากนั้นปลาทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่ โดยที่ไข่ใช้เวลาฟักประมาณ 2-3 วัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอมาคูลิคัวด้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอริวูเลตัส

ปลาหมอริวูเลตัส (Green terror) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะเด่น คือ มีลวดลายสีฟ้าสะท้อนแสงที่หน้า เมื่อปลาโตเต็มที่ลวดลายดังกล่าวจะยิ่งแตกเป็นลายพร้อยมากขึ้น รวมถึงบริเวณริมฝีปากด้วย ขอบครีบหลังและครีบก้นมีขลิบสีแดงพาดยาวไปจนถึงความยาวสุดของครีบหลัง บริเวณลำตัวมีลายเหมือนตาข่ายและมีจุดสีดำขนาดใหญ่ที่กลางลำตัว ในบางตัวอาจจะเป็นลายยาว และบริเวณแผ่นปิดเหงือกจะมีแถบสีดำยาวตั้งแต่ตาไปจนถึงแก้ม แต่สีดังกล่าวจะซีดลงได้เมื่อปลาตกใจหรืออยู่ในภาวะเครียด ปลาหมอริวูเลตัส มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ราว 25-30 เซนติเมตร โดยเฉพาะในปลาตัวผู้จะมีสีสันและลำตัวขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก และมีส่วนหัวที่โหนก ขณะที่ตัวเมียมีความยาวได้แค่ครึ่งของตัวผู้ คือ ราว ๆ 12 เซนติเมตร และไม่มีโหนกที่ส่วนหัว แพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำต่าง ๆ บริเวณภาคตะวันตกของประเทศเอกวาดอร์ และทางตอนเหนือของเปรู ซึ่งปลาหมอริวูเลตัสในแต่ละแหล่งอาจมีสีและลักษณะต่าง ๆ แตกต่างกันได้ตามภูมิประเทศที่อาศัย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวมากนักเมื่อเทียบกับปลาหมอสีชนิดอื่น สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้จะมีสีสันและลวดลายต่าง ๆ สวยกว่าปกติ ช่องเพศจะขยายใหญ่ขึ้น รวมถึงปลาตัวเมียก็จะมีสีเข้มขึ้น และจะมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมากขึ้น โดยตัวเมียจะเป็นฝ่ายขุดหลุมและวางไข่ ซึ่งบางครั้งอาจวางไข่ติดกับวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ จากนั้นตัวผู้จะเข้าไปฉีดน้ำเชื้อปฏิสนธิ และทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่ ตัวเมียจะวางไข่ได้ครั้งละ 200-300 ฟอง ลูกปลาจะฟักเป็นตัวในวันที่ 3 และวันที่ 4 ก็จะเริ่มว่ายน้ำได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอริวูเลตัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอลายตารางหมากรุก

ปลาหมอลายตารางหมากรุก หรือ ปลาหมอแคระไดครอสซัส เป็นสกุลของปลาจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาขนาดเล็กจำพวกปลาหมอแคระ ใช้ชื่อสกุลว่า Dicrossus (/ได-ครอส-ซัส/) เป็นปลาที่มีลำตัวเพรียวบาง ปากแหลมเล็ก พื้นลำตัวสีขาวหรือเทา มีลายจุดสี่เหลี่ยมไขว้เรียงกันเป็นระเบียบจนดูคล้ายตารางหมากรุกในแนวนอนอย่างมีระเบียบสองแถว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีความยาวเฉลี่ยไม่เกิน 4 นิ้ว สำหรับปลาตัวผู้ และ 2 นิ้วสำหรับปลาตัวเมีย พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำอเมซอน, โอริโนโค, เนโกร, ทาปาโฆส และมาไดรา ในประเทศบราซิลและใกล้เคียง ทั้งในบริเวณที่เป็นแหล่งน้ำสีชาและแหล่งน้ำใส มีทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอลายตารางหมากรุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอลายเมฆ

ปลาหมอลายเมฆ หรือ ปลาหมอนิมโบโครมิส (Sleeper cichlid) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Nimbochromis (/นิม-โบ-โคร-มิส/) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอสีที่พบได้เฉพาะในทะเลสาบมาลาวี รวมถึงแหล่งน้ำอื่นใกล้เคียงเท่านั้น ปลาหมอลายเมฆ มีลักษณะเฉพาะ คือ ตามลำตัวมีลวดลายที่ดูแปลก เป็นจ้ำ ๆ มีสีน้ำตาลอยู่บนพื้นสีเหลือง ดูคล้ายกากบาทหรือตัวอักษร X หรือลายพรางของทหาร สีบริเวณส่วนหัวเป็นสีน้ำเงิน มีขนาดประมาณ 25-30 เซนติเมตร โดยที่คำว่า Nimbochromis ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้นมาจากภาษาละติน 2 คำ คือ Nimbo ที่หมายถึง "เมฆในฤดูฝน" และ chromis ที่หมายถึง "ปลาหมอสี" อันหมายถึง ลวดลายบนตัวปล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอสีไซไพรโครมิส

ปลาหมอสีไซไพรโครมิส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cyprichromis (/ไซ-ไพร-โคร-มิส/) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 5-6 นิ้ว โดยเฉลี่ยประมาณ 3.5 นิ้ว จัดเป็นปลาที่มีนิสัยรักสงบ มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ตั้งแต่หลักร้อยจนถึงหลักพัน มีรูปร่างเรียวยาว ตากลมโต ปลายปากยาว ตัวผู้มีสีสันที่สดใสสวยงาม มักมีสีต่าง ๆ เช่น ฟ้า, เหลือง, ดำ, ม่วง หรือมีเหลือบสีขาว และมีการพัฒนาการของสีตามช่วงวัย มักอาศัยอยู่ตามโขดหินหรือตามหลีบซอกของวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ หากินบริเวณกลางน้ำและผิวน้ำ กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอนและสัตว์น้ำขนาดเล็กที่ลอยตามกระแสน้ำ ขณะที่ปลาตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า พฤติกรรมเมื่อผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้ที่มีขนาดใหญ่สุดจะเป็นจ่าฝูง จะคอยกางครีบและขับสีออกมาเรียกร้องความสนใจจากตัวเมียภายในฝูง และข่มตัวผู้ตัวอื่น ๆ เมื่อผสมพันธุ์กัน ตัวผู้จะงอตัวและทำปากห่อ เพื่อกระตุ้นให้ตัวเมียปล่อยไข่ออกมา เมื่อไข่ถูกปล่อยออกมา ตัวเมียจะงับน้ำเชื้อจากตัวผู้ที่ปล่อยออกมา ให้ผสมกับไข่ที่อยู่ในปาก จำนวนของไข่ขึ้นอยู่กับขนาดของปลาตัวเมีย โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.3 เซนติเมตร จำนวนไข่ในแต่ละครั้งประมาณ 5-25 ฟอง โดยตัวเมียจะอมไข่จนกว่าไข่จะฟักเป็นตัวใช้เวลาประมาณ 18-20 วัน โดยไม่กินอะไรเลย ปลาในสกุลไซไพรโครมิสนี้พบกระจายพันธุ์ในส่วนต่าง ๆ ของทะเลสาบแทนกันยีกา ในตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมกันมาอย่างยาวนานแล้ว โดยมีชนิดที่ค้นพบใหม่ ๆ ขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีชนิดที่รู้จักกันดีที่สุด คือ ปลาหมอสีเลบโตโซม่า (C. leptosoma).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอสีไซไพรโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอหอย

''Lamprologus ocellatus'' กับเปลือกหอยว่างเปล่า จัดเป็นปลาหมอหอยชนิดที่ได้รับความนิยมที่สุด ปลาหมอหอย (Shell dweller, Shelldweller, Shell-breeding, Ostracophil) เป็นชื่อสามัญเรียกปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) กลุ่มหนึ่ง ที่มีพฤติกรรมการอาศัยตลอดจนผสมพันธุ์และวางไข่ไว้ในเปลือกหอย ปลาหมอหอย โดยมากเป็นปลาหมอสีขนาดเล็ก ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 2 นิ้ว (พบใหญ่ที่สุด 6 นิ้ว) จะพบอาศัยอยู่ในทะเลสาบแทนกันยีกาและทะเลสาบมาลาวี ในทวีปแอฟริกา จะอาศัยและผสมพันธุ์วางไข่และเลี้ยงดูลูกปลาในเปลือกหอยที่ว่างเปล่าเสมือนรัง โดยจะเป็นเปลือกหอยที่เป็นหอยเปลือกเดี่ยว ชนิด Neothauma tanganyicense และสกุล Lanistes ของปลาที่พบในทะเลสาบมาลาวี ปลาหมอหอย มีอุปนิสัยซื่อสัตย์และจงรักภักดีกับคู่ของตัว มีพฤติกรรมหวงที่อยู่อาศัย เมื่อมีอันตรายเข้ามาใกล้ปลาหมอหอยจะเข้าไปหลบชั้นในสุดของเปลือกหอย และเมื่อปลาหมอหอยทั้งเพศผู้และเพศเมียพร้อมที่จะผสมพันธุ์ จะจับคู่กันและช่วยกันทำความสะอาดเปลือกหอยและรอบ ๆ บริเวณเปลือกหอย เมื่อถึงเวลาวางไข่จะเข้าไปวางไข่อยู่ในเปลือกหอยและคอยเลี้ยงลูกอยู่ในเปลือกหอยจนลูกอายุได้ประมาณ 1 เดือนจึงออกจากเปลือกหอย ในระหว่างที่เฝ้าไข่หรือเลี้ยงลูก ปลาหมอหอยจะคอยว่ายวนเวียนอยู่บริเวณหอยที่อาศัยอยู่ ไม่ให้ปลาตัวอื่นมาใกล้ ถ้าปลาตัวไหนว่ายมาใกล้ ๆ จะทำการขับไล่ไปทันที พฤติกรรมดังกล่าวจึงเสมือนกับว่าหวงเปลือกหอยของตัวเองมาก ปลาหมอหอย มีประมาณ 15 ชนิด ล้วนแต่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ด้วยความที่มีสีสันและพฤติกรรมที่แปลก น่าสนใจ ในประเทศไทยมีการนำเข้าและเลี้ยงกันประมาณ 10 ชนิด เช่น Lamprologus ocellatus ที่ได้ชื่อว่าเป็นปลาหมอหอยชนิดที่ได้รับความนิยมที่สุด โดยเฉพาะในตัวที่มีสีเหลืองสดหรือสีทอง, L. meleagris และหลายชนิดในสกุล Neolamprologus เช่น N. brevis, N. similis, N. boulengeri, N. cauodopuntatus, Altolamprologus compressiceps และA. calvus สามารถเลี้ยงและเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้กระจก โดยวิธีการเลี้ยงทำไปโดยง่าย โดยพื้นตู้ควรปูด้วยทรายละเอียดและโปรยเปลือกหอยประเภทหอยเปลือกเดี่ยวลงไปให้ทั่ว เช่น หอยเชอรี่, หอยโข่ง หรือหอยหวาน เพราะเมื่อถึงเวลาผสมพันธุ์ ปลาทั้งตัวผู้และตัวเมียจะทำการคัดเลือกเปลือกหอย และทำความสะอาดรอบ ๆ บริเวณที่วางเปลือก และจะขุดดึงเปลือกหอยให้ฝังลึกลงไปในพื้นทรายให้เห็นโผล่มาเฉพาะบริเวณรูเปลือกเท่านั้น ส่วนเปลือกหอยอันอื่นที่ไม่ได้ใช้ จะอมทรายมาเทกลบเพื่อไม่ให้ปลาตัวอื่นมาใช้ได้ เมื่อรังถูกสร้างเสร็จแล้ว ปลาทั้งคู่จะอาศัยหากิน ตลอดจนว่ายเข้าออกบริเวณาปากเปลือกหอยของตนเท่านั้น จนกระทั่งมีลูกปลาตัวเล็ก ๆ ลูกปลาก็จะว่ายอยู่บริเวณปากเปลือกหอยที่เป็นรังของตน พร้อมด้วยปลาพ่อแม่เป็นผู้ดูแล และจะผลุบหลบเข้าไปในเปลือกหอยเมื่อเห็นว่ามีภัยอันตรายเข้ามาคุกคาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอหอย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอออสเซลาริส

ปลาหมอออสเซลาริส (Peacock cichlid, Butterfly peacock bass) ปลาน้ำจืดขนาดกลางค่อนไปทางใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างยาวปานกลาง ลำตัวแบนข้างเหมือนปลากะพง ริมฝีปากหนา มีกรามแข็งแรง ดวงตากลมโต เมื่อขนาดโตเต็มที่แล้วจะมีโหนกขึ้นบริเวณส่วนหัวด้านบน พื้นลำตัวมีสีเหลืองเขียวอมส้ม มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีดำที่ลำตัวและโคนหาง และมีจุดสีดำเหนือแผ่นปิดเหงือก และที่บริเวณครีบอก มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ถึง 75 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในหลายประเทศในทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลาที่กินปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร รวมถึงแมลงด้วย เป็นปลาที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา ใช้บริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปัจจุบันได้เพาะขยายพันธุ์ได้เป็นที่สำเร็จแล้ว จนกลายเป็นปัญหาทางสิ่งแวดล้อมในเรื่องชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเช่น สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น, สิงคโปร์, มาเลเซีย และประเทศไทย ซึ่งปลาสามารถที่จะปรับตัวและแพร่ขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ โดยตัวเมียสามารถวางไข่ได้ครั้งละ 5,000 ถึง 15,000 ฟอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอออสเซลาริส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอทะเล

ปลาหมอทะเล หรือ ปลาเก๋ามังกร มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Epinephelus lanceolatus ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) มีลักษณะโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับปลาชนิดอื่นที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน มีหัวค่อนข้างโต ปากกว้าง ตาเล็ก ครีบหลังมีก้านครีบแข็งอยู่ตอนหน้าตามด้วยก้านครีบแข็งและต่อด้วยครีบอ่อนเช่นเดียวกัน ครีบหางค่อนข้างใหญ่เป็นรูปกลมมน ลำตัวสีเทาอมดำ เมื่อยังเล็กอยู่ ตามลำตัวมีลายสีเหลืองสลับทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณครีบต่าง ๆ ปลาหมอทะเลเป็นปลาในวงศ์ปลากะรังที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 2.5 เมตร น้ำหนักหนักถึง 400 กิโลกรัม ถือเป็นปลาที่พบได้ในแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นปลากินเนื้อ มีพฤติกรรมกินอาหารโดยการฮุบกลืนเข้าไปทั้งตัว อาจจะกินปลาฉลามขนาดเล็กหรือเต่าทะเลวัยอ่อนได้ ฟันในปากมีขนาดเล็ก เป็นปลาที่สายตาไม่ดี ออกหากินในเวลากลางคืน แม้จะเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่แต่มีนิสัยไม่ดุร้าย เวลาขู่จะแสดงออกด้วยการพองครีบพองเหงือกคล้ายปลากัด ในธรรมชาติมักอาศัยอยู่ตามซากโป๊ะ หรือกองหินใต้น้ำ โดยว่ายน้ำไปมาอย่างเชื่องช้า หรือลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ พบในระดับความลึกตั้งแต่ 4–100 เมตร และยังชอบที่จะขุดหลุมคล้ายปลานิล พื้นหลุมแข็งบริเวณข้างหลุมเป็นเลนค่อนข้างหนา ปากหลุมกว้างประมาณ 50–100 เซนติเมตร สีเมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน พบอาศัยอยู่ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นในแถบอินโด-แปซิฟิก, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ จนถึงอ่าวเปอร์เซีย นิยมบริโภคด้วยการปรุงสดเหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ เป็นปลาที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และด้วยความใหญ่โตของร่างกาย ปลาหมอทะเลจึงมักนิยมเลี้ยงในตู้ขนาดใหญ่หรือในอุโมงค์ของพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี เป็นต้น และนิยมเลี้ยงลูกปลาขนาดเล็กในน้ำจืดเหมือนปลาสวยงามทั่วไปด้วย แต่ทว่าก็จะเลี้ยงได้เพียงระยะหนึ่งเท่านั้น เมื่อโตขึ้น หากยังเลี้ยงในน้ำจืดอยู่ ปลาก็จะตายในที่สุด นอกจากนี้แล้ว ทางกรมประมงยังได้เพาะขยายพันธุ์ลูกผสมระหว่างปลาหมอทะเลกับปลากะรังดอกแดง ซึ่งเป็นปลาในวงศ์เดียวกัน ได้เป็นผลสำเร็จ โดยลูกปลาขนาดเล็กจะมีลวดลายคล้ายกับปลาเสือตอ ซึ่งเป็นปลาสวยงามน้ำจืดที่มีชื่อเสียง ที่อยู่ต่างวงศ์กัน จนได้รับการเรียกชื่อว่า "ปลาเสือตอทะเล" โดยปลาเสือตอทะเลนั้นได้นำมาเปิดตัวครั้งแรกในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 25 ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน–8 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอทะเล (สกุล)

ปลาหมอทะเล (Epinephelus) เป็นสกุลของปลาทะเลจำพวกหนึ่งในวงศ์ Serranidae นับเป็นปลาขนาดใหญ่ มีรูปร่างโดยรวม คือ ร่างยาวอ้วนป้อม แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็ก สีตามตัวและครีบเป็นดอกดวง แต้ม หรือบั้ง ฉูดฉาดหรือคล้ำทึบแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาด พบอาศัยอยู่ตามบริเวณแนวปะการัง โขดหินใกล้ชายฝั่งหรือเกาะ บางครั้งอาจพบว่ายเข้ามาหากินบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ด้วย ปลาหมอทะเลกระจายพันธุ์ในทะเลและมหาสมุทรเขตอบอุ่นทั่วโลก ทั้ง มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย มีจำนวนสมาชิกในสกุลนี้ราว 99 ชนิด นับว่ามากที่สุดในวงศ์นี้ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาหมอทะเล (E. lanceolatus) ที่ใหญ่ที่สุดได้เกือบ 3 เมตร และหนักได้ราว 200 กิโลกรัม สำหรับในภาษาไทยจะคุ้นเคยเรียกชื่อปลาในสกุลนี้เป็นอย่างดีในชื่อ "ปลาเก๋า" หรือ "ปลากะรัง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอทะเล (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอคิวปิโด

ปลาหมอคิวปิโด หรือ ปลาหมอคิวปิด (Greenstreaked eartheater, Cupid cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Biotodoma cupido จัดอยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะแบนข้าง ส่วนหัวโค้งมน ปลายปากแหลมเล็กน้อย ดวงตาใหญ่มีเส้นสีดำพาดผ่านในแนวตั้ง ปากมีขนาดเล็กอยู่ในตำแหน่งกลางของหน้า บริเวณแก้มมีเส้นสีเขียวสะท้อนแสง ซึ่งเมื่อปลาโตขึ้นจะเพิ่มขึ้นด้วย ลำตัวเป็นสีเหลืองน้ำผึ้งฉาบด้วยสีฟ้าเขียว ครีบอกเรียวยาวที่ก้านครีบแรกเป็นสีเหลือบเขียวฟ้าเหมือนลายที่บริเวณหน้า ขอบครีบหลังมีสีฟ้าอมเขียว ครีบก้นมีขนาดใหญ่เป็นสีชมพูอ่อน ขอบบนล่างของครีบเป็นก้านครีบแข็งใหญ่สีเหลือบฟ้าขาว ที่ลำตัวเหนือเส้นข้างลำตัวมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นชัดเจน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 14 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไม่แรงนัก พื้นท้องน้ำมีเศษซากใบไม้และอินทรียวัตถุทับถมกัน ทำให้มีสภาพน้ำเป็นกรดอ่อน ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรูจนถึงชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของประเทศบราซิล เช่น แม่น้ำอเมซอน, โอริโนโค และกายอานา ซึ่งปลาในแต่ละแหล่งน้ำอาจมีความแตกต่างกันบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ในลักษณะและสีสัน มีพฤติกรรมการหากินโดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็กและแพลงก์ตอนตามพื้นน้ำ พฤติกรรรมเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาเพศเมียจะมีขนาดและครีบต่าง ๆ ใหญ่กว่าเพศผู้ โดยปลาทั้งคู่จะขุดหลุมตื้น ๆ เพื่อวางไข่ และมีพฤติกรรมขับไล่ปลาหรือสัตว์อื่นที่ผ่านเข้ามาใกล้ ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 3 วัน เมื่อฟักเป็นตัวแล้ว ปลาเพศเมียจะนำลูกไปเลี้ยงไว้ในหลุมที่ขุดไว้ ส่วนเพศผู้จะทำหน้าที่เสมือนยามรักษาความปลอดภัยภายนอก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับได้ว่าเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามและไม่ดุร้าย และจะยิ่งเพิ่มความสวยงามของสีสันขึ้นเมื่อต้องกับแสงแดด อีกทั้งสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง แต่สำหรับในประเทศไทย เป็นปลาที่ค่อนข้างหายากเนื่องจากมีการนำเข้ามาจำหน่ายเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น ซึ่งในชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Biotos มาจากภาษากรีกหมายถึง "ชีวิต" ผสมกับคำว่า domos หมายถึง "ม้า" และคำว่า cupio มาจากภาษาละตินซึ่งหมายถึง "Cupidus" หรือคิวปิด ซึ่งเป็นกามเทพ ในความหมายซึ่งผู้อนุกรมวิธาน (โยฮานน์ ยาค็อบ เฮ็กเคล) ต้องการสื่อความหมายว่า ตกหลุมรักปลาชนิดนี้ตั้งแต่แรก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอคิวปิโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอตาล

ปลาหมอตาล หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาจูบ (Kissing gourami) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Helostomatidae จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวและสกุลเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ มีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนมากกว่าปลาหมอไทย หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ ปากเล็กยืดหดได้ ริมฝีปากหนา นัยน์ตาอยู่ในระดับเดียวกันกับมุมปาก มีเกล็ดขนาดปานกลางปกคลุมส่วนหัวและลำตัว ฟันละเอียด ตาอยู่เหนือมุมปาก ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็งและอ่อน ครีบท้องมีก้านครีบแข็ง 5 ซี่ เกล็ดเล็กมีอยู่ที่เส้นข้างตัว 44-48 เกล็ด เส้นข้างลำตัวขาดตอนตรงบริเวณใต้ก้านครีบอ่อนของครีบหลัง ครีบท้องและครีบก้นยาว ลำตัวเป็นสีเขียวปนเทา หลังมีสีเทาปนดำ ท้องสีขาว มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจเช่นเดียวกับปลาในวงศ์ Osphronemidae จึงสามารถอาศัยในแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนละลายในปริมาณที่ต่ำได้ ปลาหมอตาล มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง และมีพฤติกรรมที่แปลกไปกว่าปลาชนิดอื่น คือ เมื่อจะต่อสู้หรือข่มขู่กัน จะใช้ปากตอดกันคล้ายกับการจูบที่แสดงออกถึงความรักของมนุษย์จึงเป็นที่มาของชื่อ "ปลาจูบ" วางไข่แบบไข่ลอยบนผิวน้ำ พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำทั่วไปรวมถึงนาข้าวหรือท้องร่องสวนในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 12-20 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 30 เซนติเมตร สำหรับในประเทศไทยพบเฉพาะลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน่าน และพบบางส่วนในป่าพรุทางภาคใต้ กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์น้ำตลอดจนถึงแมลงและแพลงก์ตอน โดยใช้ปากที่ยืดหดได้นี้ตอดกิน จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามเพื่อความเพลิดเพลินและทำความสะอาดภายในตู้ปลา โดยนิยมเลี้ยงกันในตัวที่มีสีพื้นลำตัวเป็นสีขาวนวลหรือสีชมพู ในขณะที่ปลาที่มีสีตามธรรมชาติจะนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจเพื่อการบริโภค นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น ใบตาล, อีตาล, ตาล, ปากง่าม, อีโก๊ะ หรือ วี ในภาษาใต้ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอตาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอซินสไปลุ่ม

ปลาหมอซินสไปลุ่ม (Quetzel cichlid, Redhead cichlid, Firehead cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีถิ่นกำเนิดเดิมที่ภูมิภาคอเมริกากลาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร ปลาตัวผู้เมื่อโตเต็มวัย มีโหนกใหญ่บนหัวและมีสีสันสวยงาม มีสีแดงเข้มบริเวณส่วนหัว และมีปื้นสีดำยาว 3 แถบที่ลำตัว ปลาหมอซินสไปลุ่มมักถูกนำมาผสมพันธุ์กับปลาหมอสีชนิดอื่น ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งปลาชนิดผสมที่มีลักษณะสวยงาม เช่น ปลาหมอนกแก้ว และ ปลาหมอฟลาวเวอร์ฮอร์น เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอซินสไปลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแรม

ปลาหมอแรม หรือ ปลาหมอไมโครจีโอฟากัส (Ram cichlid) เป็นปลาสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Mikrogeophagus หรือ Microgeophagus (ชื่อพ้อง-/ไม-โคร-จี-โอ-ฟา-กัส/) เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามทั้งตัวผู้และตัวเมีย มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 8 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำอเมซอนและโอริโนโค ในทวีปอเมริกาใต้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์จนมีความหลากหลายไปจากดั้งเดิมในธรรมชาติ เช่น ปลาบอลลูน ที่มีลำตัวอ้วนกลมและสั้นเหมือนลูกบอล ปลาหางยาวที่ดูคล้ายปลาทอง หรือที่มีสีฟ้าแวววาวทั้งตัว มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแรม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแรมแดง

ปลาหมอแรมแดง หรือ ปลาหมอจีเวล (Jewel fish, Jewel cichild) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Hemichromis ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาซันฟิช (Lepomis spp.) ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์กัน เป็นปลาขนาดเล็ก ความยาวเต็มที่เฉลี่ยไม่เกิน 10-12 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำต่าง ๆ ของทวีปแอฟริกา บริเวณชายฝั่งตะวันตกถึงแอฟริกากลาง ส่วนใหญ่มีสีลำตัวเป็นสีแดงสด หรือสดใสเป็นสีรุ้งสวยงาม มีทั้งตัวผู้สวยงามกว่าตัวเมีย และตัวเมียสวยงามกว่าตัวผู้ เป็นปลาอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง มีอุปนิสัยก้าวร้าว มีพฤติกรรมในการเลี้ยงดูลูกปลา ซึ่งในช่วงนี้จะมีนิสัยดุร้ายกว่าปกติสกุล Hemichromis และ สกุล Rocio โดย Jens Kühne คอลัมน์ Mini Atlas, หน้า 34-35 นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 2 ฉบับที่ 28: ตุลาคม 2012.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแรมแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแจ็กเดมป์ซีย์

ำหรับนักมวย ดูที่ แจ็ค เดมป์ซีย์ ปลาหมอแจ็คเดมป์ซีย์ (Jack Dempsey Cichlid) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะลำตัว มีลายขวางตามลำตัวจาง ๆ มีลายทั้งหมด 8 ลาย ซึ่งเมื่อโตขึ้นจะเลือนหายไป มีจุดสีเขียวเล็กละเอียดกระจัดกระจายเต็มตามลำตัว ดูแลสวยงาม ตลอดจนส่วนหัวและครีบต่าง ๆ ยกเว้นครีบอกและครีบหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20-25 เซนติเมตร ปลาตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมที่อเมริกากลาง คือ เม็กซิโก จนถึงฮอนดูรัส เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมาก จนได้รับการตั้งชื่อว่า "แจ็ค เดมป์ซีย์" ซึ่งเป็นนักมวยประเภทไฟเตอร์ชาวอเมริกันชื่อดังในอดีต ปลาหมอแจ็คเดมป์ซีย์ เป็นปลาหมอสีอีกชนิดหนึ่ง ที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว และแพร่ขยายพันธุ์ได้ง่าย โดยในประเทศไทย ปลาหมอแจ็คเดมป์ซีย์ ถือได้ว่าเป็นปลาหมอสีชนิดแรกที่มีการเข้ามาจากต่างประเทศ ในราวปี พ.ศ. 2505 โดยไม่ปรากฏชื่อผู้นำเข้า ปัจจุบัน ปลาหมอแจ็คเดมป์ซีย์ ได้มีการเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันต่าง ๆ หลากหลายจากปลาดั้งเดิมในธรรมชาติมาก เช่น "บลูแจ็คเดมป์ซีย์" ที่มีสีฟ้าแวววาวแบบบลูเมทัลลิกตลอดทั้งตัว ซึ่งมีราคาขายที่ค่อนข้างแพง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแจ็กเดมป์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระ

ปลาหมอแคระฮองสลอย (''Apistogramma hongsloi'') ในสกุล ''Apistogramma'' พบในทวีปอเมริกาใต้ ชนิดเดียวในสกุล ''Anomalochromis''http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt จาก ITIS.gov พบในทวีปแอฟริกา สำหรับปลาในวงศ์อื่น ดูที่: วงศ์ปลาหมอแคระ ปลาหมอแคระ (Dwarf cichlid) เป็นชื่อเรียกปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) กลุ่มหนึ่ง ที่มีขนาดลำตัวเล็กกว่าปลาในวงศ์เดียวกันสกุลอื่น ๆ ทั่วไป โดยจะมีความยาวลำตัวจรดหางเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 2 นิ้ว หรือ 12-15 เซนติเมตร โดยมากแล้วนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามในตู้กระจก ที่มีการปลูกพืชจำพวกไม้น้ำควบคู่ไปด้วย ซึ่งปลาหมอแคระหลายสกุล หลายชนิดสามารถเพาะขยายพันธุ์กันได้ในที่เลี้ยง เป็นปลาที่มีประวัติการเลี้ยงมายาวนาน และจากการเพาะขยายพันธุ์เอง ที่ทำให้มีสายพันธุ์ที่หลากหลาย มีสีสันและลวดลายที่แตกต่างไปจากปลาที่พบในธรรมชาติ ปลาหมอแคระสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ปลากลุ่มที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ และปลาที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา มักอาศัยในน้ำที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างระหว่าง 4-7 (pH) แตกต่างออกไปตามถิ่นที่อยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมา

ปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมา เป็นปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Apistogramma (/อะ-พิส-โต-แกรม-มา/) จัดเป็นปลาขนาดเล็กในวงศ์นี้ จัดได้เป็นว่าปลาหมอแคระสกุลหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ แพร่กระจายพันธุ์และอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีค่าความเป็นกรดของน้ำค่อนข้างต่ำ (ต่ำกว่า 6.5 pH) จัดเป็นปลาที่มีความหลากหลายทางพันธุกรรมอย่างมาก สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายชนิด มีลักษณะรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวเพรียวยาว สีสันสดใสมากโดยเฉพาะในปลาเพศผู้ ครีบอกเรียวยาวปลายแหลม รวมทั้งครีบหลังที่ดูโดดเด่น ปลายหางแหลม มีความแตกต่างอย่างมากระหว่างเพศผู้กับเพศเมีย กล่าวคือ เพศผู้มีสีสันที่สดสวยกว่าและมีขนาดลำตัวที่สวยกว่า แต่เมื่อตกใจสีจะซีดได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 2 นิ้ว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ มีอุปนิสัยเรียบร้อย ไม่ก้าวร้าว และไม่ทำลายต้นไม้ในตู้ มีพฤติกรรมในการขยายพันธุ์ โดยวางไข่ติดกับผนังถ้ำหรือโขดหินในแบบกลับหัว ซึ่งรูปแบบการวางไข่อาจจะแตกต่างไปตามชนิด ซึ่งในฤดูผสมพันธุ์ ปลาเพศผู้จะอวดสีและครีบแข่งกันเพื่อดึงดูดความสนใจจากปลาเพศเมีย ปลาเพศเมียอายุน้อยอาจวางไข่ได้ประมาณ 20 ฟอง ขณะที่ตัวที่มีอายุมากและสมบูรณ์พร้อมจะวางไข่ได้ถึง 100 ฟอง เมื่อฟักออกเป็นตัวแล้ว เพศเมียจะเป็นฝ่ายดูแลลูก โดยไม่ให้ปลาเพศผู้เข้ามายุ่งเกี่ยว ถึงแม้ว่าอาจมีเพศผู้บางตัวสามารถเลี้ยงลูกได้เช่นกัน ในหลายชนิดสามารถผสมพันธุ์แบบหมู่ คือ เพศผู้หนึ่งตัวต่อเพศเมียหลายตัวได้ ในขณะที่บางชนิดจะผสมพันธุ์กันแบบคู่ต่อคู่ ปลาในสกุลนี้ชนิดที่นิยมเลี้ยงได้แก่ชนิด A. agassizii, A. hongsloi และ A. viejita เป็นต้น ปลาหมอสีในสกุลนี้ จัดเป็นปลาที่มีวงจรชีวิตสั้น หลายชนิดสามารถผสมพันธุ์ได้ตั้งแต่มีอายุเพียง 3-4 เดือน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระอะโดเกตา

ปลาหมอแคระอะโดเกตา (Zebra acara) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง มีลวดลายส่วนหน้าคล้ายหน้ากากคาบูกิของประเทศญี่ปุ่น ปลาตัวผู้ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 4 นิ้ว ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดเฉลี่ยเล็กกว่า ราว ๆ 3 นิ้ว โดยที่โดยตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่า สีสันจัดกว่า ครีบกระโดงจะมีขนาดยาวกว่าอย่างชัดเจน เป็นปลาที่แพร่กระจายพันธุ์ที่แม่น้ำวาดาเปส และ แม่น้ำเปรโต ในประเทศบราซิล ปลาหมอแคระอะโดเกตา แม้มิได้มีสีสันที่ฉูดฉาดหรือสวยมากไปกว่าปลาหมอแคระชนิดอื่น ๆ แต่ก็เป็นที่นิยมอย่างมากของผู้ที่นิยมเลี้ยงปลาสวยงาม ด้วยความที่หายากและเพาะขยายพันธุ์ได้ยาก ทำให้เป็นปลาที่มีราคาซื้อขายแพงมากชนิดหนึ่ง การเพาะพันธุ์ในที่เลี้ยงสามารถกระทำได้ แต่ยากมาก ด้วยการปรับค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ (pH) ให้เหมาะสม โดยปลาจะอาศัยอยู่ในน้ำที่มีสารแทนนินละลายในน้ำสูง (ประมาณ pH 4-5) ซึ่งน้ำมีสีชาหรือน้ำตาลเข้ม แต่การเพาะพันธุ์นั้นส่วนใหญ่กระทำกันได้ที่ฮ่องกง ส่วนในประเทศไทยมีเพียงไม่กี่รายเท่านั้นที่สามารถกระทำได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระอะโดเกตา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระฮองสโลอาย

ปลาหมอแคระฮองสโลอาย หรือ ปลาหมอแคระฮองสลอย (Red streak cichlid) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปเหมือนปลาในสกุลเดียวกันชนิดอื่น แต่มีลำตัวที่หนากว่า โดยถูกค้นพบครั้งแรกบริเวณแม่น้ำวิชาดาและแม่น้ำโอรีโนโก ในโคลอมเบียและเวเนซุเอลา โดยถูกตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ ธอร์นบอน ฮองสลอย นักสะสมชาวสวีเดนและเป็นผู้ที่ค้นพบปลาชนิดนี้เป็นคนแรก โดยปลาในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีต้นไม้ค่อนข้างหนาทึบ และมีเศษใบไม้ร่วงหล่นยังพื้นน้ำ สภาพน้ำมีค่าความเป็นกรดด่างประมาณ 5.4 pH มีขนาดโตเต็มที่ได้ราว 2 นิ้ว โดยปลาที่อาศัยอยู่ในแม่น้ำคาตาเนียโป มีสีสันที่เหลืองสดตัดกับเหลือบสีแดงที่เข้มกว่าปลาที่พบในเวเนซุเอลา แต่ปลาที่พบในโคลอมเบียกลับมีรูปร่างที่สวยกว่าปลาที่พบในเวเนซุเอลาอย่างมาก ปลาหมอแคระฮองสโลอาย ถูกนำออกสู่วงการปลาสวยงามครั้งแรกในปี ค.ศ. 1975 จากโคลอมเบียไปยังเยอรมนีตะวันออก จากนั้นได้กระจายไปยังเชกโกสโลวาเกีย และได้มีการพัฒนาสายพันธุ์เพื่อให้สวยยิ่งขึ้น จนถึงปัจจุบัน ที่เป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงในหมู่นักเลี้ยงปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระฮองสโลอาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระคาเคทอยเดส

ปลาหมอแคระคาเคทอยเดส หรือ ปลาหมอแคระคาเคทอย (Cockatoo cichlid, Cockatoo dwarf cichlid) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง ในสกุลอพิสโตแกรมมา มีลักษณะเหมือนกับปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ มีครีบกระโดงหลังที่ตั้งชูงอนเหมือนนกกระตั้ว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ และมีสีลำตัวและครีบต่าง ๆ เป็นโทนเข้ม เช่น สีส้มหรือสีแดง โดยมีลวดลายบนครีบต่าง ๆ สดเข้มตลอดเวลาไม่ว่าปลาจะอยู่ในอารมณ์หรือสภาพแวดล้อมใด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ ในสาขาของแม่น้ำอเมซอน ที่มีกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ มีใบไม้หล่นร่วงมาพื้นท้องน้ำ โดยปลาจะใช้เป็นที่หลบซ่อน โดยน้ำจะมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่ำ (ต่ำกว่า 6.5 pH) กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นปลาที่นิยมอย่างมากในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ โดยถือเป็นชนิดที่นิยมเป็นอันดับต้น ๆ ของสกุลนี้ เนื่องจากคุณสมบัติที่ว่า จะมีสีสันสดสวยตลอดรวมทั้งครีบหลังที่ตั้งสูง และนิยมที่จะเพาะขยายพันธุ์กันในตู้เลี้ยง โดยปลาตัวเมียจะวางไข่ไว้กับซอกหลีบหรือเพดานของวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และเป็นฝ่ายดูแลลูก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระคาเคทอยเดส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระนันนาคารา

ปลาหมอแคระนันนาคารา เป็นสกุลปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Nannacara (/นัน-นา-คา-รา/) จัดเป็นปลาหมอแคระสกุลหนึ่ง มีรูปร่างที่บึกบึน แลดูแข็งแรง มีส่วนหัวกลม ถือได้ว่ามีความอดทนกว่าปลาหมอแคระสกุลอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่ใกล้กับชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในทวีปอเมริกาใต้ มีพฤติกรรมวางไข่บนวัสดุที่มีความแข็งแรงและมิดชิด มีพฤติกรรมเลี้ยงดูลูกปลาวัยอ่อนที่แตกต่างออกไปในแต่ละชนิด ทั้งช่วยกันดูแลลูกปลา และตัวเมียเท่านั้นที่เลี้ยงดูลูก แต่หากน้ำมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างสูงกว่า 6 (pH) ไข่จะฝ่อไม่ฟักเป็นตัว ได้รักการอนุกรมวิธานทั้งหมด 6 ชนิด แต่ก็มีหลายชนิดที่ยังมิได้ระบุสายพันธุ์อย่างเป็นทางการ แต่ก็คาดว่าน่าจะจัดให้อยู่ในสกุลนี้อีก 3 ชนิด และมีอยู่ชนิดหนึ่งที่ถูกจัดให้เป็นสกุลใหม่ คือ Ivanacara.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระนันนาคารา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย

ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย หรือ ปลาหมอแรมโบลิเวีย (Bolivian butterfly cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mikrogeophagus altispinosus อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichildae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี (M. ramirezi) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่ทว่าปลาหมอแคระแรมโบลิเวียมีขนาดที่ใหญ่กว่า โดยมีความยาวได้ 8 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ มีพื้นลำตัวเป็นสีกากีอมเทาเล็กน้อย ช่วงแก้มและแผ่นปิดเหงือกจะมีสีเหลือบฟ้าและเขียวสะท้อนแสง ตรงช่วงหน้าจนถึงกลางลำตัวเป็นสีเหลืองหรือเหลืองเกือบเข้ม มีสีดำพาดผ่านดวงตาทั้งสองข้าง ตรงกลางลำตัวมีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่แลดูเด่น มีครีบอกที่แหลมยาวเป็นสีชมพู และในช่วงผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้จะมีสีที่เข้มและสวยกว่านี้ พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำมาโมเรและแม่น้ำกัวโปเร ในประเทศบราซิลและโบลิเวีย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาหมอแคระจำพวกอื่น ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย เมื่อถูกค้นพบครั้งแรกได้ถูกตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crenicara altispinosa ซึ่งคำว่า "altispinosa" เป็นภาษาละติน แยกออกเป็น 2 คำคือ "Altus" แปลว่าสูง และ "Spinosus" แปลว่าลักษณะที่เป็นหนาม รวมสองคำแล้วแปลว่า "ปลาที่มีครีบกระโดงสูง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี

ปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี หรือ ปลาหมอแรมเจ็ดสี (Ram, Blue ram, German blue ram, Asian ram, Butterfly cichlid, Ramirez's dwarf cichlid, Dwarf butterfly cichlid, Ram cichlid, Ramirezi) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mikrogeophagus ramirezi อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง ปลาตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวประมาณ 7 เซนติเมตร ส่วนตัวเมีย 4-5 เซนติเมตร ลักษณะรูปร่างแบนข้าง ลำตัวกว้าง ส่วนหัวค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบสัดส่วนกับลำตัว ครีบหางสั้นเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบหลังเชื่อมยาวต่อกันตั้งสูงชันคล้ายกำแพง ก้านครีบแข็ง 3-4 ก้านแรกของครีบหลังมีสีดำตั้งสูงชันขึ้นมาคล้ายหงอนของนกกระตั้ว ดวงตามีสีแดง มีเส้นสีดำพาดตาจากบนหัวลงมาเกือบถึงใต้คอ มีจุดดำขนาดค่อนข้างใหญ่อยู่บริเวณปลายตัวเห็นเด่นชัด สีของปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี มีสีสันที่สวยสด โดยเป็นสีเหลือบเขียวและเหลือง มีจุดฟ้าแวววาว และจะยิ่งสดสวยขึ้นเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ซึ่งปลาตัวผู้จะขับสีออกมาเพื่อเรียกร้องความสนใจจากปลาตัวเมีย อันเป็นที่มาของชื่อเรียก พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำโอรีโนโก ในเขตประเทศเวเนซุเอลาและโคลัมเบีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม กันมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ แต่เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าวกว่าปลาหมอแคระจำพวกอื่น ๆ มักจะข่มขู่และกัดกันเองอยู่ในฝูงอยู่เสมอ ปัจจุบัน เป็นปลาที่ได้รับการเพาะขยายพันธุ์จากมนุษย์จนมีความหลากหลายทางสายพันธุ์มากกว่าปลาที่พบในธรรมชาติ เช่น ปลาที่มีลำตัวสั้นกว่าปกติ หรือ ปลาบอลลูน และปลาที่มีหางยาวเหมือนปลาทอง หรือ ปลาที่มีสีฟ้าแวววาวตลอดทั้งตัว หรือสีเหลืองตลอดทั้งตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระไตรฟาสเซียตา

ปลาหมอแคระไตรฟาสเซียตา ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จัดเป็นปลาหมอแคระ ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะคล้ายกับปลาหมอสีในสกุลอพิสโตแกรมมาชนิดอื่น ๆ ทั่วไป แต่มีลักษณะที่แตกต่างออกไป คือ มีครีบกระโดงหลังที่สูง มีอุปนิสัยที่ชอบกางครีบต่าง ๆ อวดใส่หรือข่มขู่กัน มีสีสันลำตัวทั่วไปเป็นสีฟ้าแวววาว และเห็นเส้นแถบดำกลางลำตัวชัดเจน 3 แถบ ตัวผู้ขนาดโตเต็มที่ 6 เซนติเมตร ตัวเมียประมาณ 4.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำเล็ก ๆ ที่เป็นสาขาของแม่น้ำอเมซอน บริเวณประเทศปารากวัย, บราซิล, อาร์เจนตินา และตอนกลางของแม่น้ำปารานา โดยหลบซ่อนตัวอยู่ใต้ใบไม้ จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามในอันดับต้น ๆ ของสกุลนี้ และถือว่าเป็นปลาชนิดที่ปรับตัวได้ดีในที่เลี้ยงได้ดีกว่าปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน และสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยงอย่างไม่ยากนัก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแคระไตรฟาสเซียตา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแตงไทย

ปลาหมอแตงไทย (Auratus cichlid, Golden mbuna, Malawi golden cichlid, Turquoise-gold cichlid) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลำตัวลักษณะเรียวยาวค่อนข้างกลม มีสีสันสวยงามเมื่อมีขนาดโตปานกลาง เมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 13 เซนติเมตร ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีสีคล้ำค่อนข้างดำ ลำตัวมีสีดำบริเวณใต้ท้อง และกลางลำตัววิ่งเป็นทางยาวตั้งแต่ปลายลูกตาไปจรดโคนหาง มีสีขาวคั่นกลางระหว่างสีดำวิ่งเป็นแนวเช่นเดียวกัน คล้ายกับสีของแตงไทยอันเป็นที่มาของชื่อเรียก ด้านหลังมีสีน้ำตาลอมเหลืองตลอดทั้งสองข้าง ครีบกระโดงหลังมีสีเหลืองอ่อน ๆ ปลายครีบมน และมีสีดำวิ่งเป็นริ้วไปตามเส้นครีบ หางแผ่ปลายหางมน ทั้งสองข้างมีสีดำวิ่งสลับกับสีฟ้าอ่อน ตามีสีดำขอบตามีสีเหลืองวิ่งโดยรอบ ปลายครีบใต้ท้องมีสีฟ้าอมขาว บริเวณปลายครีบส่วนล่างที่ติดโคนหางมีสีเหลือง และสีฟ้าอ่อนแต้มเป็นจุด ๆ ปากของปลาหมอแตงไทยค่อนข้างสั้น ริมฝีปากมีขอบสีดำ ตัวเมียมีความสดสวยกว่าตัวผู้ เกล็ดเล็กมีสีเหลืองสด ตามแนวยาวของลำตัวมีสีดำวิ่งเป็นแนวตั้งแต่กลางลำตัวจรดโคนหาง แนวสีดำนี้วิ่งตั้งแต่บริเวณหน้าผ่านตา และวิ่งทั้งสองข้างของลำตัว เหนือจากแนวเส้นดำก็มีแนวสีเหลืองสดคั่นแนวสีดำอีกแนวหนึ่ง ใต้ท้อง และบริเวณเหนือท้องที่ชนเส้น แนวสีดำมีสีเหลืองสดมองดูมีเงาเล็กน้อย ครีบกระโดงหลังสูงน้อยกว่าตัวผู้ และมีสีดำขอบครีบกระโดงมีสีเหลืองสดตลอดแนวขอบริมฝีปากบนมีสีน้ำตาลอมดำ ขอบริมฝีปากล่างมีสีเหลือง หางมีสีเหลืองสดมีแต้มสีดำเข้มเป็นจุด ๆ ครีบคู่ใต้ท้องมีสีเหลือง มีสีดำแซมเล็กน้อย บริเวณปลายครีบล่างใต้ท้องที่ติดกับโคนหางครีบมน และช่วงปลายมีสีเหลืองสด พบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลสาบมาลาวี ในทวีปแอฟริกา ปลาหมอแตงไทย เป็นปลาที่ขยายพันธุ์ด้วยการอมไข่ไว้ในปากปลาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ซึ่งในช่วงผสมพันธุ์นี้ทั้งปลาตัวผู้และตัวเมียจะมีสีคล้ำขึ้นกว่าเดิม โดยตัวผู้เข้าไปเคล้าเคลียตัวเมียที่มีไข่พร้อมที่ผสม ว่ายวนไปมาต้อนปลาตัวเมียให้เข้ามาวางไข่ โดยตัวเมียวางไข่ครั้งละ 1 ฟอง ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อ ตัวเมียอมไข่ที่ผสมน้ำเชื้อแล้วเข้าไปในปาก ตัวเมียไข่ออกมาให้ตัวผู้ผสมให้หมดและอมไว้ ปากที่อมไข่สามารถมองได้ชัดเจนแก้มทั้งสองข้าง ไข่ใช้เวลาฟักประมาณ 8-10 วัน ลูกปลาแรกฟักมีความยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ปลาที่สมบูรณ์พร้อมจะให้ลูกครอกละประมาณ 50-60 ตัว ปลาหมอแตงไทย เป็นปลาหมอสีอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ด้วยมีสีสันลวดลายที่สดใส และพฤติกรรมที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงไม่อยู่นิ่ง มักจะว่ายน้ำไปมาตลอด โดยผู้เลี้ยงมักจะเลี้ยงรวมกับปลาหมอสีขนาดไล่เลี่ยกันชนิดอื่น ๆ ร่วมกัน จัดเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายมากและมีราคาซื้อขายที่ถูก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอแตงไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอโครมายด์เขียว

ปลาหมอโครมายด์เขียว (Green chromide, Pearlspot cichild; มาลายาลัม:, เบงกาลี: കരിമീന്‍‌) ปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Etroplus suratensis ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาพื้นเมืองที่พบได้ในอินเดียตอนใต้จนถึงศรีลังกา เช่น เมืองสุรัต ในรัฐเกรละ หรือปุทุจเจรี โดยพบได้ในพื้นที่ที่เป็นน้ำกร่อยที่ซึ่งน้ำจืดบรรจบกับน้ำเค็ม เช่น ปากแม่น้ำ เป็นต้น มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 30 เซนติเมตร พบขนาดใหญ่สุดถึง 50 เซนติเมตร ปากมีขนาดเล็กแต่มีฟันแหลมคม กินอาหารหลักได้แก่ ตะไคร่น้ำ โดยมักจะเลาะเล็มกินตามโขดหินหรือวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และกินแมลงหรือลูกปลาขนาดเล็กบ้างเป็นอาหารเสริม ปลาตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้กว่ามาก มีรูปร่างแบนข้างและกลม พื้นลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อนอมเขียว มีลายเส้นสีดำพาดตั้งแต่ท้องจนถึงกลางลำตัวประมาณ 5-6 เส้น ไปสิ้นสุดที่ข้อหาง บริเวณช่วงอกเป็นสีดำ บนลำตัวในบางตัวมีจุดสีขาวกระจาย สีบริเวณส่วนหัวเป็นสีเขียวอมเหลือง โดยเฉพาะในตัวผู้ที่เป็นจ่าฝูงจะมีสีดังกล่าวนี้สวยสดกว่าตัวอื่น ๆ วางไข่ได้มากถึงครั้งละ 1,000 ฟอง โดยในช่วงนี้ปลาตัวผู้จะเปลี่ยนสีให้สวยสดกว่าเดิม เช่นบริเวณส่วนหน้าและครีบต่าง ๆ จะชัดเจนที่สุด ปลาทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่อย่างใกล้ชิด ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 36-48 ชั่วโมง โดยที่ปลาตัวอ่อนในช่วงแรกจะรับอาหารจากถุงไข่แดงที่มีติดตัวมา จนประมาณถึงวันที่ 7 เมื่อถุงดังกล่าวยุบลง และว่ายน้ำได้แข็งแรงแล้ว ลูกปลาจะกินเมือกที่เกาะตามตัวพ่อแม่เป็นอาหารแทน ปลาหมอโครมายด์เขียว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ด้วยความเป็นปลาที่มีอุปนิสัยไม่ก้าวร้าว จึงสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่น ๆ หรือปลาหมอสีด้วยกันเองได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่นอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอโครมายด์เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอไฟร์เมาท์

ปลาหมอไฟร์เมาท์ (Firemouth, Firemouth cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thorichthys meeki อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง บริเวณปากไปจนถึงแก้มจนถึงท้องจะเป็นสีแดงสดอมน้ำตาลเขียว ตากลมมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับส่วนหัวที่มีขนาดใหญ่ รอบ ๆ ลูกตาดำจะมีจุดสีฟ้าอ่อนใส บริเวณปลายครีบหลังและครีบหางเมื่อโตเต็มที่จะยื่นยาวออกมาแลดูสวยงาม มีขนาดใหญ่เต็มที่ยาวประมาณ 15 เซนติเมตร โดยตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมียค่อนข้างมากพอควร พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคอเมริกากลาง เช่น กัวเตมาลา, เบลิซ และคาบสมุทรยูคาทานในเม็กซิโก และสามารถอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ด้วย เป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าว เมื่อต้องการจะข่มขู่ จะใช้วิธีการพองเหงือกและทำปากพอง และเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ โดยเฉพาะในปลาตัวผู้จะข่มขู่ไล่กัดทุกอย่างไม่เว้นแม้กระทั่งปลาตัวเมียคู่ผสมพันธุ์ด้วย พฤติกรรมการผสมพันธุ์ คือ ตัวผู้จะเข้าไปคลอเคลียปลาตัวเมียเพื่อให้วางไข่ เมื่อไข่หลุดร่วงออกมาแล้วปลาตัวผู้จะเข้าไปฉีดน้ำเชื้อใส่ โดยวางไข่บนหินซึ่งปลาทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันทำความสะอาดและปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้เหมาะกับการวางไข่ การวางไข่ในแต่ละครั้งจะได้จำนวนเฉลี่ยราว 300-500 ฟอง และทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่จนกระทั่งฟักออกเป็นตัว เป็นปลาที่สวยงามชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในตู้กระจกได้ โดยใช้ตู้ขนาดเล็กเพียง 24 นิ้วก็เพียงพอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอไฟร์เมาท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอไพค์

ปลาหมอไพค์ (Pike cichild) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crenicichla มีรูปร่างโดยรวม เหมือนปลาเข็มหรือปลาไพค์ ซึ่งเป็นปลาต่างอันดับกัน คือ มีรูปร่างทรงกระบอกยาว หรือทรงกระสวย ลำตัวหนา ไม่มีเหมือนกับปลาหมอสีทั่วไป และปากสามารถยืดหดได้เวลาฮุบอาหารคล้ายกับปลาช่อน กระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำของทวีปอเมริกาใต้ มีขนาดความยาวตั้งแต่ 3 นิ้ว จนถึงมากกว่า 30 เซนติเมตร ทุกชนิดเป็นปลากินเนื้อ ไล่ล่าปลาขนาดเล็กและลูกปลาต่าง ๆ รวมถึงกุ้งบริเวณผิวน้ำเป็นอาหาร เมื่อยังเป็นปลาขนาดเล็กจะมีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูง ปัจจุบัน อนุกรมวิธานไปแล้วกว่า 88 ชนิด และมีอีกกว่า 47 ชนิดที่เพิ่งค้นพบใหม่ และไม่ได้บรรยายทางวิทยาศาสตร์ โดยมีการค้นพบชนิดใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นทุกปี นอกจากนี้แล้วยังพบมีการผสมข้ามพันธุ์กันด้วยในธรรมชาติ นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งสามารถเพาะขยายพันธุ์กันได้ในที่เลี้ยง และกินอาหารสำเร็จรูปได้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอไพค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอไตรมาคู

ปลาหมอไตรมาคู หรือ ปลาหมอตาแดง (Three-spot cichlid, Trimac cichild) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ปลาหมอไตรมาคู เป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่เมื่อโตเต็มที่แล้วมีขนาดใหญ่ ถือเป็นต้นสายพันธุ์ของปลาหมอฟลาวเวอร์ฮอร์น ซึ่งเป็นปลาหมอลูกผสมหรือครอสบรีดในปัจจุบัน และถือเป็นปลาหมอสีชนิดที่มีลักษณะใกล้เคียงกับปลาหมอฟลาวเวอร์ฮอร์นมากที่สุด ปลาหมอไตรมาคู ถูกค้นพบและตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ โดย อัลเบิร์ต กึนเธอร์ นักมีนวิทยาชาวเยอรมัน ในปี ค.ศ. 1896 มีถิ่นกระจายพันธุ์ในแถบอเมริกากลาง ในประเทศเม็กซิโกและเอลซัลวาดอร์ มีลักษณะเด่น คือ หัวมีความโหนกนูน ซึ่งจะเริ่มปรากฏเมื่อปลามีความยาวได้ 9-10 นิ้ว ซึ่งเป็นช่วงที่ปลาจะเจริญเติบโตเร็วมาก จนกระทั่งถึง 14 นิ้ว จึงจะชะลอลง สีลำตัวมี 2 สี สีเหลืองออกส้มอ่อน ๆ โดยบริเวณลำคอเป็นสีแดงเล็กน้อย และอีกสีหนึ่ง คือ เหลือบสีเขียวออกดำ และบริเวณคอจะเป็นสีแดงเข้ม มีจุดสีดำคาดกลางลำตัว และมีจุดลักษณะคล้ายมุกอยู่รอบ ๆ จุดดำนั้น ดวงตาสีแดงสดใส มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 35 เซนติเมตร ปลาตัวเมียจะมีครีบกระโดงหลังเป็นจุดสีดำ 2 จุด ขณะที่ปลาตัวผู้จะไม่มีจุดดังกล่าว เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 6 เดือน โดยปลาจะวางไข่ติดไว้กับพื้นหรือวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ ซึ่งการวางไข่แต่ละครั้งจะออกโดยเฉลี่ยครั้งละ 1,000 ฟอง มากน้อยขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของตัวแม่ปลา ซึ่งสัมพันธ์กับอายุแล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอไตรมาคู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเฮโรส

ปลาหมอเฮโรส (Severum, Banded cichlid) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ในวงศ์ย่อย Cichlasomatinae ใช้ชื่อสกุลว่า Heros (/เฮ-โรส/) ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἥρως) หมายถึง "วีรบุรุษ" หรือ "ฮีโร่" ในภาษาอังกฤษ ตั้งชื่อสกุลโดย โยฮานน์ ยาค็อบ แฮ็คเคล นักสัตววิทยาชาวออสเตรีย ปลาหมอสีในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวม คือ กลมรี ลำตัวแบนข้างมาก หน้าผากลาดโค้งลงมากถึงปาก ปากมีขนาดเล็ก ภายในปากมีฟันเรียงรายอยู่มากมาย ในตัวเต็มวัยหน้าผากจะมีลักษณะโหนกนูนเล็กน้อย ดวงตามีขนาดใหญ่อยู่ด้านข้างของส่วนหน้า หากมองด้านตรงจะเห็นดวงตาปูดออกมาเล็กน้อย มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10-12 นิ้ว แพร่กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำโอรีโนโก, แม่น้ำอเมซอน ในแหล่งน้ำสภาพที่นิ่ง ลึก และมีวัสดุต่าง ๆ ให้หลบซ่อนตัว เช่น ตอไม้หรือโขดหิน เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีการเพาะขยายพันธุ์ต่าง ๆ มากมาย จนได้สีที่สวยกว่าปลาที่มีอยู่ดั้งเดิมในธรรมชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอเฮโรส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเทศ

ปลาหมอเทศ (Mozambique tilapia, Three spotted tilapia) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะรูปร่างทั่วไปคล้ายปลานิล (O. niloticus) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในวงศ์เดียวกันและสกุลเดียวกัน แต่ว่า ปลาหมอเทศมีรูปร่างที่เล็กกว่า มีลำตัวแบนข้าง หัวสั้น ปากกว้าง มีฟันซี่เล็กละเอียด ครีบอกยาวแหลม ครีบก้นมีก้านแข็ง 3 ชิ้น ปลายครีบหางตัดตรง มีเกล็ดตั้งแต่บริเวณแก้ม, หัว ถึงโคนหาง เกล็ดเป็นแบบเกล็ดสาก เส้นข้างลำตัวขาดช่วง ด้านบนลำตัวมีสีคล้ำอมเขียวหรือน้ำเงิน แก้มมีสีจางเป็นปื้น ลำตัวมีแถบสีคล้ำ 8–9 แถบ พาดตามแนวตั้ง ท้องสีจางหรือเหลืองอ่อน ขอบครีบมีสีแดงหรือน้ำตาลรวมถึงครีบอก ปลาขนาดเล็กมีสีคล้ำหรือสีเทา มีความแตกต่างจากปลานิล คือ ปากยาวกว่า และไม่มีแถบหรือลายบนครีบ แต่มีปื้นสีจางบนแก้มของปลาตัวผู้ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร โดยเฉลี่ยประมาณ 20–30 เซนติเมตร เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ รวมถึงตะกอนอินทรียสาร ขยายพันธุ์โดยปลาตัวผู้ขุดหลุมบนพื้นท้องน้ำเหมือนหลุมขนมครก ปลาตัวเมียอมไข่ในปากไว้ประมาณ 10–15 วัน ก่อนจะปล่อยลูกปลาให้ออกมาว่ายวนรอบ ๆ ตัวแม่ปลา มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา แถบแอฟริกาตะวันออกเฉียงใต้ ในแหล่งน้ำต่าง ๆ และถูกนำเข้าไปในประเทศใกล้เคียง ก่อนจะกลายเป็นปลาเศรษฐกิจที่ถูกนำเข้าไปในหลายประเทศในหลายทวีปทั่วโลก ในประเทศไทยถูกนำเข้ามาในปี พ.ศ. 2492.(พิเศษ) บุญ อินทรัมพรรย์ แห่งคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยนำผ่านมาจากปีนัง เพื่อส่งเสริมเกษตรกรเลี้ยงเป็นอาชีพ แต่ทว่า ความนิยมในการบริโภคสู้ปลานิลไม่ได้ เนื่องจากเนื้อค่อนข้างแข็งและมีขนาดตัวเล็ก ดังนั้น จึงมีราคาจำหน่ายที่ต่ำกว่าปลานิล และถูกปล่อยลงตามแหล่งน้ำต่าง ๆ ทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย กลายเป็นผลพลอยได้จากการเลี้ยงกุ้ง ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเท็กซัส

ปลาหมอเท็กซัส (Texas cichlid, Rio Grande cichlid) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะลำตัวสีเขียวอมเทา มีจุดกลมกลมเล็กเล็กละะเอียดคล้ายไข่มุกทั่วตัว เมื่อโตเต็มที่แล้ว ตัวผู้จะมีโหนกขึ้นเหนือหัว ขนาดโตเต็มที่ได้ 12 นิ้ว ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่า พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำรีโอแกรนด์ ในรัฐเท็กซัส ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา จนถึงตอนเหนือของเม็กซิโก ปลาหมอเท็กซัส นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และถือเป็นต้นสายพันธุ์ให้แก่ปลาหมอสีลูกผสมหรือครอสบรีดสายพันธุ์ ปลาหมอเท็กซัสแดง เช่นเดียวกับปลาหมอเท็กซัสเขียว (H. carpintis) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน ซึ่งบางครั้งอาจใช้ปลาทั้ง 2 ชนิดนี้ผสมข้ามสายพันธุ์กัน เป็นปลาที่เพาะขยายพันธุ์ได้ง่ายมาก จนมีคำกล่าวกันว่าเพียงแค่พ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ปลาหมอเท็กซัสแค่คู่เดียว ก็สามารถเพาะให้ลูกแก่ผู้นิยมเลี้ยงปลาสวยงามได้ทั้งรัฐเท็กซัส ซึ่งเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอเท็กซัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเท็กซัส (สกุล)

ปลาหมอเท็กซัส (Texas cichlid) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดกระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Herichthys (มาจากภาษากรีกคำว่า "eri" หมายถึง "มาก" และคำว่า "ichthys" หมายถึง "ปลา") อยู่ในวงศ์ Cichlasomatinae ในวงศ์ใหญ่ Cichlidae หรือปลาหมอสี มีลักษณะโดยรวม มีพื้นลำตัวสีเขียว ตามตัวมีจุดกลมเล็ก ๆ สีคล้ายไข่มุกกระจายอยู่ทั่วตัว เมื่อโตเต็มที่โดยเฉพาะตัวผู้ส่วนหัวจะมีโหนกเนื้อนูนขึ้นมา มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10-12 นิ้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา เช่น รัฐเท็กซัสและฟลอริดา จนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก เป็นปลาสกุลที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมักจะนำมาผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน หรือแม้แต่ต่างสกุลกัน จนกลายมาเป็นปลาสายพันธุ์ใหม่ที่มีความสวยกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมในธรรมชาติ คือ ปลาหมอเท็กซัสแดง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอเท็กซัส (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเท็กซัสเขียว

ปลาหมอเท็กซัสเขียว (Pearlscale cichlid, Lowland cichlid, Green texas cichlid) ปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ปลาหมอเท็กซัสเขียว ลักษณะคือ มีลักษณะเด่นเป็นปื้นสีดำหรือมาร์คกิ้ง ที่ลำตัวประมาณ 1-3 จุด และมีจุดกลมเล็ก ๆ คล้ายมุกกระจายทั่วตัว สีลำตัวออกเขียวหรือสีฟ้า ตัวผู้มีส่วนหัวที่โหนกนูน เป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีนิสัยก้าวร้าวหวงถิ่น มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6-10 นิ้ว พบกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศเม็กซิโก ในแม่น้ำเวอร์เต้ตามปากแม่น้ำพีนูโกที่ลาดลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก ปลาหมอเท็กซัสเขียว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามทั่วไป ในประเทศไทยมีการเลี้ยงกันมาไม่ต่ำกว่า 20 ปี และเป็นปลาที่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์หรือผสมข้ามพันธุ์กับปลาหมอเท็กซัสในสกุลเดียวกัน เช่น ปลาหมอเท็กซัส (H. cyanoguttatus) หรือผสมกับปลาหมอสีในสกุล Amphilophus ซึ่งต่างสกุลกัน เป็นปลาสายพันธุ์ใหม่ที่มีความสวยงามขึ้นและมีพื้นลำตัวสีแดงสด คือ ปลาหมอเท็กซัสแดง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอเท็กซัสเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเซวารุ่ม

ปลาหมอเซวารุ่ม หรือ ปลาหมอเซวาลุ่ม (Severum, Banded cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heros severus อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างป้อมแบนข้างข้างปานกลาง หน้าผากมีความลาดชั้นมาก ปากอยู่ด้านล่าง มีริมฝีปากที่หนา ปลายครีบหลังและครีบก้นยาวแหลม ลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมเขียวมีสีส้มปน บริเวณใบหน้ามีลายประสีแดงกระจายอยู่ทั่ว ลำตัวมีสีดำพาดตามขวางประมาณ 6-8 แถบ ซึ่งลายนี้จะจางลงเมื่อปลาโตขึ้น มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในแม่น้ำโอริโนโคและแม่น้ำอเมซอน ในประเทศโคลัมเบียและเวเนซุเอลา โดยจะพบได้ในแหล่งน้ำที่มีความหลากหลายของสภาพ ทั้งน้ำใส น้ำขุ่น หรือน้ำที่มีสีเหมือนสีกาแฟ โดยทั่วไปปลาที่มีขนาดเล็กจะพบมากในบริเวณแหล่งน้ำที่ไหลช้า และมีพื้นเป็นกรวดทราย หรือทรายปนโคลน ส่วนปลาที่โตเต็มวัยจะพบในบริเวณที่น้ำไหลแรงและมีพรรณไม้น้ำขึ้นหนาแน่น อุณหภูมิของน้ำประมาณ 23-29 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ (pH) 5.0-6.5 เป็นปลาที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ ทั้งสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ รวมทั้งแมลง ปลาหมอเซลารุ่ม เป็นปลาที่นิยมเพาะเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามมาอย่างยาวนานแล้ว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นปลาที่มีนิสัยเรียบร้อย ไม่ดุร้ายก้าวร้าวเหมือนปลาในวงศ์ปลาหมอสีชนิดอื่น ๆ อีกทั้งสามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้ปลาด้วย ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์ได้มีสีสันที่หลากหลายไปจากปลาสายพันธุ์เดิมในธรรมชาติมาก เช่น สีทองหรือสีแดง เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่นของทวีปอเมริกาใต้ โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Acará-peba.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมอเซวารุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมู

ปลาหมู (Botia) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่งในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ ป้อมสั้น เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด นัยน์ตาไม่มีหนังปกคลุม ใต้นัยน์ตามีเงี่ยงแข็งปลายสองแฉกอยู่หนึ่งชิ้น ซึ่งเมื่อกางออกมาแล้วจะตั้งฉากกับแก้ม จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่หน้าหรือตรงข้ามกับจุดเริ่มต้นของครีบท้อง มีหนวดที่ปลายจะงอยปากสองคู่ และหนวดที่มุมปากบนอีกหนึ่งคู่รวมเป็นสามคู่ ครีบหางเว้าลึกเป็นแฉก พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย์และทางตอนใต้ของจีน หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยอยู่รวมเป็นฝูงในแหล่งน้ำที่มีคุณภาพน้ำค่อนข้างดี มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง ได้แก่ อินทรียสาร ซากพืช ซากสัตว์ ตลอดจนแมลงน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เดิมปลาในสกุลนี้เคยถูกรวมกันเป็นสกุลใหญ่ แต่ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 21 นักมีนวิทยาได้ทำการอนุกรมวิธานใหม่ จนได้มีการแยกสกุลออกไปเป็นสกุลใหม่อีกสามสกุล คือ Chromobotia (มีเพียงชนิดเดียว คือ ปลาหมูอินโด), Syncrossus (ปลาหมูลายเสือ) และ Yasuhikotakia (ปลาหมูขนาดเล็กที่พบได้ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำโขง) ส่วนสกุล Botia นี้จะเหลือเพียงแต่ปลาที่พบในอนุทวีปอินเดียจนถึงพม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูกระโดงสูง

ปลาหมูกระโดงสูง (Chinese sucker, Chinese loach, Chinese high fin sucker, Chinese high fin banded shark; 胭脂魚; พินอิน: yānzhiyú) ปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมูกระโดงสูง (Catostomidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Myxocyprinus (มาจากภาษากรีก "myxos" หมายถึง "น้ำมูกหรือเสมหะ" และภาษาละติน "cyprinus" หมายถึง ปลาตะเพียน) มีพื้นลำตัวสีขาวอมชมพู มีแถบสีดำหนา 3 เส้นเป็นแนวตั้ง มีจุดเด่น คือ มีครีบหลังที่ปลายแหลมสูงและมีขนาดใหญ่ ในปลาที่มีขนาดเล็กกว่า 4 นิ้วจะมีสีสันสดใสและลำตัวทรงสั้นมีครีบหลังใหญ่มองดูคล้ายใบเรือ แต่เมื่อมีขนาดใหญ่ขึ้นสีขาวบนลำตัวจะเริ่มหายไป สีจะซีดจาง ขนาดของครีบหลังจะมีขนาดเล็กลงและความยาวลำตัวจะออกไปทางทรงยาวมากกว่าทรงสูง มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์เฉพาะในแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีนเท่านั้น มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาหมูกระโดงสูง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ด้วยเป็นปลาที่มีความสวย ซ้ำยังมีอุปนิสัยเรียบร้อย ไม่ดุร้ายก้าวร้าวเลย และสามารถทำความสะอาดตู้ที่ใช้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี ด้วยเป็นปลาที่หากินกับพื้นท้องน้ำ แต่เป็นปลาที่มีอัตราการเจริญเติบโตได้ช้ามาก เพียงแค่ 1–2 นิ้วต่อปีเท่านั้น เป็นปลาที่ยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ต้องรวบรวมพันธุ์ปลาจากแหล่งน้ำธรรมชาติเท่านั้น การจำแนกเพศ สามารถดูได้ที่เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะมีตุ่มขาว ๆ คล้ายสิวบริเวณส่วนหัวและโคนครีบอก เช่นเดียวกับปลาหลายชนิดในวงศ์ Cyprinidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมูกระโดงสูง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูลาย

ปลาหมูลาย ปลาน้ำจืดในสกุล Syncrossus (/ซิน-ครอส-ซัส/) ในวงศ์ปลาหมู (Botidae) เป็นปลาสกุลที่แยกออกมาจากสกุล Botia เป็นปลาหมูที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่มีบางชนิดที่พบได้ในตอนเหนือของประเทศอินเดียด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมูลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูอารีย์

ปลาหมูอารีย์ ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) มีรูปร่างแบนข้าง ลำตัวเรียวยาวเล็กน้อย ลำตัวมีสีเหลืองสด หลังและกลางลำตัวมีแถบสีดำพาด และมีบั้งสีดำพาดลงมาจากสันหลังถึงด้านท้อง ปากค่อนข้างเรียว มีหนวด 3 คู่ ใต้ตามีกระดูกแข็งอยู่ข้างละคู่ซึ่งสามารถพับเก็บได้ ครีบมีแถบสีดำบนพื้นสีจาง ๆ เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 10 เซนติเมตร โดยเฉลี่ยจะพบแค่ 2-3 เซนติเมตรเท่านั้น เป็นปลาที่ถูกค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยนายดำริ สุขอร่าม ที่ลุ่มแม่น้ำแม่กลอง ในเขตจังหวัดราชบุรีติดต่อกับเขตจังหวัดกาญจนบุรี โดยปะปนมากับปลาทรงเครื่อง (Epalzeorhynchos bicolor) ต่อมา นายสมพงษ์ เล็กอารีย์ (ผู้ค้นพบปลาปักเป้าสมพงษ์ (Carinotetraodon lorteti), ปลาซิวสมพงษ์ (Trigonostigma somphongsi) และปลาตะเพียนสมพงษ์ (Poropuntius melanogrammus)) ได้ส่งตัวอย่างปลาให้แก่ ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมูอารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูฮ่องเต้

ปลาหมูฮ่องเต้ หรือ ปลาหมูกำพล (Emperor loach) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) ปลาหมูฮ่องเต้มีสีพื้นผิวของลำตัวจะเป็นสีเหลืองคล้ายกับชุดของฮ่องเต้หรือจักรพรรดิจีนในสมัยโบราณ อันเป็นที่มาของชื่อ สลับลายคู่สีดำขนาดใหญ่ตลอดทั้งลำตัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 นิ้ว จัดเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามมาก จึงเป็นที่นิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม พบกระจายพันธุ์เฉพาะลุ่มแม่น้ำตะนาวศรีบริเวณชายแดนของไทยกับพม่า ในเขตตะนาวศรีของพม่าเท่านั้น เป็นปลาที่เพิ่งถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2550 และถูกตั้งทั้งชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ นายกำพล อุดมฤทธิรุจ นักธุรกิจด้านส่งออกปลาสวยงามชาวไทย ปลาหมูฮ่องเต้ กลายเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญสำหรับเศรษฐกิจท้องถิ่น เมื่อเป็นปลาที่มีความต้องการของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม สร้างรายได้ให้แก่ชาวท้องถิ่นที่จับปลาชนิดนี้ส่งขาย และถูกเปิดตัวอย่างเป็นการครั้งแรกในงานประมงน้อมเกล้า ครั้งที่ 19 ที่ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลลาดพร้าว เมื่อปีเดียวกันกับที่มีการค้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมูฮ่องเต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูโยโย่

ปลาหมูโยโย่ หรือ ปลาหมูปากีสถาน (Pakistani loach, Reticulate loach) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) มีรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวแบนข้าง หัวรูปทรงกรวย จะงอยปากแหลม ครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัว ครีบหางเป็นแฉกลึก ลำตัวสีเหลืองอมส้มมีลายดำ ครีบหลังและครีบหางมีลายดำพาดขวาง ครีบอื่น ๆ ไม่มีสี มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 18 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศปากีสถาน, อินเดีย และเนปาล กินสัตว์น้ำขนาดเล็กและแมลงน้ำต่าง ๆ บริเวณพื้นน้ำเป็นอาหาร เป็นปลาหมูอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหมูโยโย่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหลด

ปลาหลด (spiny eel) เป็นชื่อปลานํ้าจืดทุกชนิดในสกุลปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Macrognathus จัดอยู่ในอันดับปลาไหลนา (Synbranchiformes) วงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) ปลาหลดมีรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวแบนข้าง หัวและตามีขนาดเล็ก มีจุดเด่นคือ ปากเล็กและมีจะงอยปากแหลมยาว มีลักษณะทั่วไปคล้ายปลาในสกุล Mastacembelus หรือปลากระทิง แต่ทว่ามีขนาดและรูปร่างเล็กกว่ากันมาก มีสีสันและลวดลายน้อยกว่า โดยเฉลี่ยแล้วจะมีความยาวประมาณไม่เกิน 1 ฟุต และมีครีบหางแยกออกจากครีบหลังและครีบท้องชัดเจน ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังเป็นหนามสั้น ๆ ปลายแหลมประมาณ 12-31 ก้าน ปลายจะงอยปากที่จมูกคู่หน้าแยกออกเป็นติ่งเนื้อเล็ก ๆ 4 หรือ 6 ติ่ง เกล็ดมีขนาดเล็กมากมีพฤติกรรมความเป็นอยู่และการหากินคล้าย ๆ กัน โดยอาจจะพบได้ในลำธารน้ำตกบนภูเขาหรือในป่าดิบชื้นด้วย พบกระจายพันธุ์ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเป็นอาหาร ตกปลา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหลด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหลดหลังจุด

ปลาหลดหลังจุด หรือ ปลาหลดลายจุด เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในสกุลปลาหลด (Macrognathus) วงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) มีรูปร่างเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ที่อยู่ในสกุลปลาหลด โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิด M. siamensis แต่มีรูปร่างเรียวกว่า มีลายที่ลำตัวบนพื้นลำตัวสีน้ำตาลเขียวตัดกันไปตลอดทั้งลำตัว และมีจุดครึ่งวงกลมสีดำที่บริเวณใต้ครีบหลังประมาณ 7-8 จุด มีครีบก้นที่เชื่อมต่อเป็นอันเดียวกันกับครีบหลังและครีบท้อง เหมือนปลาในสกุลปลากระทิง (Mastacembelus) มีขนาดความยาวประมาณ 19 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์เฉพาะในลุ่มแม่น้ำโขงและสาขาเท่านั้น จัดว่าเป็นปลาที่พบได้บ่อยและชุกชุมในท้องถิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหลดหลังจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหลดหิน

ปลาหลดหิน หรือ ปลาไหลมอเรย์ธรรมดา (Common morays) เป็นสกุลของปลาทะเลจำพวกปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) จัดอยู่ในสกุล Gymnothorax (/จิม-โน-โท-แร็ก/) จัดเป็นปลาไหลแท้ที่อาศัยอยู่ในทะเล โดยหลบซ่อนอยู่ตามโพรงหินปะการัง กินอาหารจำพวกปลา, กุ้ง หรือปู มีฟันและกรามที่แข็งแรง มีขนาดความยาวตั้งแต่ 1.5 เมตร จนถึงขนาดเล็กเพียง 1–2 ฟุต มีเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้นที่พบได้ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดสนิทหน้า 110-129, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ คอลัมน์ Wild Ambition โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์, กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหลดหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหวีเกศ

ปลาหวีเกศ (Siamese schilbeid catfish, Siamese flat-barbelled catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) เป็นปลาไม่มีเกล็ด มีรูปร่างคล้ายปลาสังกะวาดและปลาเนื้ออ่อนผสมรวมกัน ตัวเรียวยาว มีครีบหลัง 2 ตอน ตอนหลังเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กมาก มีลักษณะเด่นคือ มีหนวดยาว 4 คู่ แต่หนวดจะแบนไม่เป็นเส้น คล้ายกับเส้นผมของผู้หญิง จึงเป็นที่มาของชื่อ พบอาศัยอยู่เฉพาะแม่น้ำเจ้าพระยาเท่านั้น กินแมลงเป็นอาหาร ขนาดโตเต็มที่ราว 20 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีรายชื่ออยู่ในกาพย์แห่ชมปลาของเจ้าฟ้ากุ้งนับตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายที่ว่า ปัจจุบันนี้ไม่มีรายงานพบในธรรมชาติมานานแล้ว จึงเชื่อว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้ว เหลือแต่เพียงซากที่ถูกดองเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยากรมประมงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยฮิว แมคคอร์มิค สมิธ ที่เก็บตัวอย่างได้จากตลาดปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 และสถาบันสมิธโซเนียนเท่านั้น มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ปลาสายยู" หรือ "ปลาเกด".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหวีเกศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหวีเกศพรุ

ปลาหวีเกศพรุ เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในอันดับปลาหนัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudeutropius indigens อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) ปลาหวีเกศพรุนับเป็นปลาน้ำจืดชนิดใหม่ของโลก ที่เพิ่งจะได้รับการค้นพบเมื่อปี ค.ศ. 2011 มีลักษณะไปทั่วคล้ายกับปลาแขยงทอง หรือปลาอิแกลาเอ๊ะ (P. moolenburghae) มาก โดยตั้งชื่อชนิดเป็นภาษาละตินมีความหมายว่า "มีน้อยกว่า" จากลักษณะของจำนวนซี่กรองเหงือกและก้านครีบเมื่อเทียบกับปลาอีแกลาเอ๊ะ โดยลักษณะเด่นที่ใช้สำหรับการจำแนก คือ มีส่วนหัวที่มีความกว้างมากกว่าปลาอิแกลาเอ๊ะ ประมาณ 10.5-11.0 % ของความยาวมาตรฐาน ซี่กรองเหงือกมีจำนวน 33-35 อันที่โครงแรก มีก้านครีบก้น 37-41 ก้าน ขากรรไกรบนและล่างเท่ากัน มีฟันเป็นซี่เล็กแหลม จำนวนมาก หนวดเส้นยาวเรียวทั้งหมด 4 คู่ ยาวอย่างน้อยที่สุดยาวไปจนถึงครีบท้อง มีขนาดใหญ่สุดที่พบความยาวลำตัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 7 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำรอบ ๆ ป่าพรุโต๊ะแดง ของจังหวัดนราธิวาส และในแม่น้ำสุโหง-โกลก และยังพบบริเวณต้นน้ำของแม่น้ำตาปี ปลาหวีเกศพรุเป็นปลาที่พบน้อย แต่ก็ถูกจับไปขายเป็นปลาสวยงามเป็นครั้งคราวรวมกับปลาที่พบในป่าพรุชนิดอื่น ๆ หรือถูกจับปนไปกับปลาที่กินได้ขนาดเล็กต่าง ๆ โดยมักจะถูกเรียกรวม ๆ กันกับปลาก้างพระร่วง (Kryptopterus macrocephalus) ซึ่งเป็นปลาต่างวงศ์กัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหวีเกศพรุ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหว่าชะอี

ปลาหว่าชะอี หรือ ปลาชะอี ปลาน้ำจืดในสกุล Mekongina (/แม่-โขง-จิ-น่า/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำโขงตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศจีนและหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่แม่น้ำโขงไหลผ่าน โดยชื่อ Mekongina ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่สถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ แม่น้ำโขงที่อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหว่าชะอี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหว้า

ปลาหว้า เป็นสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Bangana (/แบน-กา-นา/) เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เดิมถูกจัดเป็นสกุลย่อยของสกุล Cyprinus แต่ฟรานซิส บะแคนัน-แฮมิลตัน นักอนุกรมวิธานชาวสกอตได้แยกออกเป็นสกุลใหม่ในปี ค.ศ. 1822 โดยมีลักษณะสำคัญดังนี้ คือ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่ไม่เป็นหนามแข็ง และมีก้านครีบแขนง 10-13 ก้าน มีหนวด 2 คู่ ขนาดใกล้เคียงกัน ริมฝีปากบนเรียบและมีร่องลึกระหว่างริมฝีปากบนกับขากรรไกรบน ปากล่างเล็ก ที่มุมปากเป็นร่องกว้าง บางชนิดในเพศผู้เมื่อโตเต็มที่ จะมีส่วนหัวโหนกนูนขึ้นมาอย่างเห็นได้ชัด และมีตุ่มคล้ายเม็ดสิวขึ้นบริเวณริมฝีปากบนด้วย และสมาชิกหลายตัวในสกุลนี้ เคยถูกจัดให้อยู่ในสกุล Sinilabeo มาก่อน จัดเป็นปลาขนาดใหญ่สกุลหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน เพราะมีขนาดโตเต็มอาจยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหว้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหัวงอน

ปลาหัวงอน หรือ ปลาหัวตะกั่ว (Panchax) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Aplocheilus (/แอ็พ-โล-โคล-อัส/; มาจากภาษากรีก "Aploe" หมายถึง "เดี่ยว" และ "cheilos" หมายถึง "ริมฝีปาก") จัดอยู่ในวงศ์ปลาคิลลี่ (Aplocheilidae) มีลักษณะสำคัญคือ ปากยืดหดได้ มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลาง ฐานของครีบอกอยู่ต่ำกว่าระดับกึ่งกลางลำตัว ครีบหางมนกลม เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วในทุกแหล่งน้ำอย่างกว้างขวางในอนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคซุนดา มีขนาดทั่วไปไม่เกิน 10 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าและสีสันสวยงามและหลากหลายกว่าตัวเมีย เป็นปลาที่ออกลูกเป็นไข่ โดยจะวางไข่ไว้กับไม้น้ำ ไข่จะฟักเป็นตัวใช้เวลาประมาณ 12-14 วัน การที่มีถิ่นการแพร่ขยายพันธุ์อย่างกว้างขวางเช่นนี้ มีการสันนิษฐานจากนักวิทยาศาสตร์ว่า มิได้เกิดจากธรรมชาติ แต่เป็นด้วยมนุษย์ซึ่งได้เลี้ยงปลาสกุลนี้เป็นปลาสวยงามอยู่แล้ว อีกทั้งไข่ยังมีคุณลักษณะพิเศษ คือ ทนร้อน และทนแห้งได้เป็นอย่างดีเช่นเดียวกับปลาคิลลี่ฟิช (สามารถส่งไปในซองจดหมายได้ด้วย) จึงประมาณกันว่าการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางนั้นเกิดจากการ่มีไข่ปลาติดไปกับการขนส่งต้นข้าว หรือพืชน้ำต่าง ๆ แต่ตัวผู้มีอุปนิสัยก้าวร้าว มักชอบกัดกันเองคล้ายกับปลากัดหรือปลาเข็ม ซึ่งเป็นปลาต่างวงศ์กัน ซึ่งคนไทยในสมัยโบราณมักจะจับมากัดกันเพื่อการพนัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหัวงอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหัวตะกั่ว

ระวังสับสนกับ ปลาซิวหัวตะกั่ว ปลาหัวตะกั่ว หรือ ปลาหัวเงิน หรือ ปลาหัวงอน (Blue panchax, Whitespot panchax) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aplocheilus panchax อยู่ในวงศ์ปลาหัวตะกั่ว (Aplocheilidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาซิวข้าวสาร (Adrianichthyidae) ซึ่งเป็นปลาต่างวงศ์กัน มีลำตัวกลมยาว หัวโตกว้าง มองด้านข้างเห็นปลายแหลม สันหัวแบน ปากซึ่งอยู่ปลายสุดเชิดขึ้น ตาโต และอยู่ชิดแนวสันหัว เกล็ดใหญ่ ครีบต่าง ๆ มีขอบกลม ครีบหลังมีขนาดเล็กอยู่ใกล้ครีบหาง พื้นลำตัวมีสีเทาอมเหลือง ครีบต่าง ๆ สีออกเหลือง โคนครีบหลังสีดำ มีจุดเด่น คือ มีจุดกลมสีเงินเหมือนสีของตะกั่วขนาดใหญ่โดดเด่นอยู่บนสันหัวระหว่างนัยน์ตา อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดยาวประมาณ 8 เซนติเมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 3-6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำจืดและน้ำกร่อยตั้งแต่อนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยพบกระจายอยู่ทุกภาค จัดเป็นปลาที่หาได้ง่าย และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในวงศ์นี้ที่พบได้ในประเทศ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินตัวอ่อนของแมลงน้ำ เช่น ลูกน้ำและแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร ตัวผู้มีขนาดตัวที่ใหญ่กว่าตัวเมีย ครีบใหญ่กว่าและสีสันต่าง ๆ ก็สดกว่า และมีนิสัยก้าวร้าวชอบกัดกันเองในฝูง ผู้คนในสมัยโบราณจึงนักนิยมจับมาเลี้ยงดูเพื่อการกัดกันเป็นการพนันเหมือนปลากัดหรือปลาเข็ม หลวงมัศยจิตรการและโชติ สุวัตถิ ได้กล่าวถึงปลาหัวตะกั่วเมื่อปี พ.ศ. 2503 ไว้ว่า ปลาหัวตะกั่วมีชื่อเรียกในภาษาใต้ว่า "หัวกั่ว" ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์กันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหัวตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางแข็ง

ปลาหางแข็ง หรือ ปลาแข้งไก่ (Torpedo scad, Hardtail scad, Finny scad, Finletted mackerel scad, Cordyla scad) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Megalaspis มีลำตัวเรียวยาวคล้ายกระสวย หัวค่อนข้างแหลมตากลมโต ปากกว้าง หางยาวเรียวและคอด บริเวณโคนหางมีเกล็ดแข็งที่มีลักษณะคล้ายขาไก่ หรือแข้งไก่ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ครีบหลังและครีบก้นมีครีบฝอย ครีบหูเรียวโค้งคล้ายเคียว ลำตัวสีน้ำเงินปนเขียว ด้านหลังมีสีเขียวเข้ม มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 80 เซนติเมตร และหนักได้ถึง 40.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหางแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางแข็งบั้ง

ปลาหางแข็งบั้ง หรือ ปลาสีกุนกบ (Yellowtail scad, Banded crevalle, Deep trevally) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Atule มีลำตัวยาว แบนข้าง หัวโต จะงอยปากยาวและแหลม นัยน์ตาโตมีเยื่อไขมันหุ้มอยู่ ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย มีฟันเล็ก บนขากรรไกร เกล็ดบริเวณเส้นข้างลำตัวแข็ง โดยเฉพาะส่วนหางดูเป็นสันแข็งกว่าส่วนอื่น ๆ ครีบหลังมีสองอัน แยกเป็นอิสระจากกัน อันแรกเป็นรูปสามเหลี่ยม อันที่สองตอนหน้าสูงแหลม ตอนท้ายสุดจรดโคนหาง ครีบก้นยาวปลายจรดโคนหาง เช่นกัน ลำตัวด้านบนสีน้ำเงินแกมเขียว ช่วงท้องสีขาว มีแถบสีเทาจาง ๆ พาดตัวลายใหญ่บ้างเล็กบ้างสลับกัน ครีบต่าง ๆ มีสีเหลือง มีความยาวเต็มที่ 30 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ยที่พบ คือ 15-26 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งและน้ำกร่อยอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ทะเลแดง, หมู่เกาะฮาวาย, แอฟริกา, ซามัว, ตอนเหนือของญี่ปุ่น และออสเตรเลีย เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญชนิดหนึ่ง เนื้อมีรสชาติดี จึงนิยมแปรรูปเป็นปลาเค็ม, ปลากระป๋อง เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหางแข็งบั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางไหม้

ปลาหางไหม้ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาฉลามหางไหม้ (Bala shark, Burn tail shark, Silver shark, Black tailed shark) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Balantiocheilos (/บา-แลน-ทิ-โอ-ไคล-ออส/) มีรูปร่างคล้ายปลาตามิน (Amblyrhynchichthys truncatus) มีรูปร่างและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา ใต้คางมีแผ่นหนังเป็นถุงเปิดออกด้านท้าย ก้านครีบแข็งก้านสุดท้ายของครีบหลังมีขนาดใหญ่ และมีขอบจักเป็นฟันเลื่อย จะงอยปากแหลม มีเยื่อไขมันเป็นวุ้นรอบนัยน์ตา ครีบท้องมีก้านครีบแขนงทั้งหมด 9 ก้าน ไม่มีหนวด มีลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลำตัว โดยเฉพาะครีบหางซึ่งเว้าเป็นแฉกลึก สีของลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ด้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นและครีบหางสีส้มแดงหรือสีเหลืองอมขาว และมีขอบเป็นแถบดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ว่ายน้ำได้ปราดเปรียวมาก และกระโดดขึ้นได้สูงจากน้ำมาก มีขนาดโตเต็มราว 20–30 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหางไหม้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหิน

ปลาหิน (Stonefishes) เป็นสกุลของปลาทะเลในสกุล Synanceia ในวงศ์ปลาหิน (Synanceiidae) อันดับปลาแมงป่อง (Scorpaeniformes) มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวป้อมเกือบกลม หัวขนาดใหญ่ส่วนหัวมีหนามจำนวนมาก สีลำตัวคล้ำมีลายเลอะ ทำให้แลดูคล้ายก้อนหิน ลำตัวสากและมีหนามเล็ก ๆ หนังหนาและเป็นปุ่ม เกล็ดละเอียด บางชนิดไม่มีเกล็ด ครีบหลังยาว ครีบอกกว้าง มีก้านครีบแข็งขนาดใหญ่ที่ครีบหลัง ครีบอก และครีบท้อง ก้านครีบแข็งมีลักษณะเป็นหนาม ซึ่งก้านครีบนี้มีพิษร้ายแรงมาก โดยต่อมพิษของก้านครีบแข็งอยู่ใต้ชั้นผิวโดยอยู่รอบส่วนกลาง ส่วนปลายของก้านหนามหุ้มห่อด้วยเนื้อเยื่อ พิษจะถูกปล่อยออกเมื่อเยื่อหุ้มหนามฉีกขาด อันตรายเกิดจากการไปสัมผัสถูกก้านครีบแข็งบริเวณต่าง ๆ และหนามบริเวณหัว เนื่องจากปลาหินชอบอยู่นิ่ง ๆ ทำให้ดูคล้ายก้อนหิน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ หากไปสัมผัสหรือเหยียบได้ พิษมีความรุนแรงมากเมื่อถูกตำหรือบาดจะปวดและบวมทันที ความเจ็บปวดอาจอยู่นานหลายชั่วโมงหรือหลายวัน ในกรณีที่รับพิษจำนวนมากหรือแพ้ ผู้ได้รับพิษอาจมีอาการคอแห้ง ปวดเมื่อยตามข้อต่าง ๆ ซึม เพ้อ ไม่ได้สติ จนกระทั่งเสียชีวิตได้ในที่สุด โดยปลาหินถือว่าเป็นปลาจำพวกหนึ่งที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก ปลาหิน เป็นปลาที่หากินอยู่ตามพื้นทะเล โดยกบดานอยู่กับพื้นนิ่ง ๆ เพื่อรอฮุบเหยื่อซึ่งเป็นอาหารไปทั้งคำ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภาคพื้นอินโด-แปซิฟิก โดยอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำ หรือตามชายหาดเมื่อน้ำล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหูช้าง

ปลาหูช้าง หรือ ปลาค้างคาว (Batfishes) เป็นสกุลของปลาทะเลในสกุล Platax จัดอยู่ในวงศ์ Ephippidae หรือวงศ์ปลาหูช้าง คำว่า Platax มาจากคำว่า "Platys" ซึ่งเป็นภาษากรีก มีความหมายว่า "แบน" หมายถึงรูปร่างที่แบนข้างโดยทั่วไปของปลาสกุลนี้ โดยมีชื่อสามัญที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า "ปลาค้างคาว" อันเนื่องจากรูปร่างที่แลดูคล้ายค้างคาวมาก โดยเฉพาะเมื่อยามเป็นปลาวัยอ่อน ปลาหูช้าง กระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการังและซากเรือจมหรือเศษวัสดุต่าง ๆ ในท้องทะเล พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง จนถึงภาคตะวันออกของออสเตรเลีย, ทางเหนือของเกาะริวกิว และพบได้ในมหาสมุทรแอตแลนติก และทะเลแคริบเบียน ปลาหูช้าง ขยายพันธุ์ด้วยการออกไข่แบบปล่อยลอยตามน้ำ เมื่อฟักเป็นตัวอ่อน จะใช้ชีวิตล่องลอยแบบแพลงก์ตอน จนเจริญเติบโตขึ้นมาอีกระดับลงสู่พื้น โดยมากจะอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลในเขตที่เป็นรอยต่อระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม มีรูปร่างลักษณะคล้ายค้างคาวหรือใบไม้สีน้ำตาลแก่มาก บางชนิดเข้ามาอยู่ในแนวปะการัง มีครีบหลังและครีบท้องยาวมาก ลูกปลาหูช้างมักอยู่ตามพื้นด้านนอกแนวปะการังตอนกลางวัน กลางคืนถึงเข้ามาในแนวปะการัง อยู่ตามชายขอบแนวในที่ลึก อยู่นิ่ง ๆ ตามพื้นเพื่อหลบผู้ล่าตอนกลางคืน เนื่องจากเป็นปลาที่หากินในเวลากลางวัน ลูกปลาหูช้างที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายค้างคาว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามและเลี้ยงเพื่อแสดงตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ และนิยมบริโภคกันในท้องถิ่น ทำให้ในปัจจุบัน ปลาหูช้างพบได้น้อยลง แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหูช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนวดพราหมณ์

ปลาหนวดพราหมณ์ หรือ ปลาหนวดตาแป๊ะ (Threadfins) เป็นสกุลของปลาน้ำกร่อยและน้ำจืดจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลากุเรา (Polynemidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Polynemus (/โพ-ลี-นี-มัส/) เป็นปลาที่พบได้ในน้ำกร่อยและน้ำจืดเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน มีลักษณะโดยรวม คือ ครีบอกแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนบนเหมือนครีบปลาทั่วไป แต่ส่วนล่างแบ่งเป็นเส้น ๆ มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่ชนิด ตั้งแต่ 3-14 เส้น เป็นปลาที่ผสมพันธุ์และวางไข่ ฟักเป็นตัวในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ อาจพบได้บ้างตามแหล่งน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำหรือชายฝั่ง พบแพร่กระจายพันธุ์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศอินโดนีเซีย มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร สำหรับในชนิดที่พบในประเทศไทย ได้แก่ ปลาหนวดพราหมณ์เหนือ (P. aquilonaris), ปลาหนวดพราหมณ์ตะวันออก (P. dubius), ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 7 เส้น (P. paradiseus), ปลาหนวดพราหมณ์ทอง (P. melanochir) และ ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 14 เส้น (P. multifilis) นิยมรับประทานเป็นอาหาร และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหนวดพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนามหลังสาละวิน

ปลาหนามหลังสาละวิน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mystacoleucus argenteus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างแบนข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยม หัวและปากมีขนาดเล็ก มีหนวด 2 คู่ ที่มุมปากและจะงอยปาก เกล็ดมีขนาดเล็กมีแถวประมาณ 31-33 แถว ตามแนวเส้นข้างลำตัว ครีบหลังมีสีส้มขอบมีสีคล้ำ ครีบหางมีสีเหลืองสดมีขอบสีคล้ำ ครีบอื่น ๆ มีสีเหลืองใส ตามีแต้มสีแดงที่ด้านบน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร พบชุกชุม มีถิ่นกระจายพันธุ์เฉพาะลุ่มแม่น้ำสาละวินที่พรมแดนไทย-พม่า เท่านั้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกเฉพาะในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาตะเพียนพม่า" นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ปลาหางเหลือง" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหนามหลังสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนามหลังขาว

ปลาหนามหลังขาว เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mystacoleucus ectypus ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวแบนข้าง หัวและปากเล็ก ไม่มีหนวด ลำตัวสีเงินวาวอมเหลืองอ่อน มีเกล็ดตามแนวเส้นข้างลำตัว 42-46 แถว ครีบสีจางใส ครีบหลังตั้งอยู่ราวกึ่งกลางของความยาวตัว มีแต้มสีดำที่ตอนปลาย ครีบหางเว้าลึก มีความยาวประมาณ 8 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์เฉพาะลุ่มน้ำโขงในประเทศไทย, ลาว และกัมพูชาเท่านั้น เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอพยพย้ายถิ่นในฤดูกาลน้ำหลาก มีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า "เกก๋อ".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาหนามหลังขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอกแล

ปลาอกแล หรือ ปลาอกรา หรือ ปลาอกกะแล้ (Herrings) เป็นปลาทะเลสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นปลาเฮร์ริงจำพวกหนึ่ง ที่จัดอยู่ในสกุล Herklotsichthys มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ ลำตัวแบนข้างมาก สันท้องแหลม เกล็ดบางหลุดง่าย เกล็ดในแนวสันท้องเป็นเหลี่ยมคมเรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย ปากเล็กเชิดขึ้นเล็กน้อย ฟันเล็กมาก ซี่เหงือกมีจำนวนมาก ไม่มีก้านครีบแข็งหรือเงี่ยง ลำตัวสีเงิน เฉพาะด้านหลังสีน้ำเงินเข้ม บนลำตัวที่ใกล้มุมแผ่นปิดเหงือกมักมีแต้มสีดำคล้ำหนึ่งจุด ครีบหลัง และครีบหางสีดำคล้ำอมเหลือง ขนาดยาวได้ถึง 18 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยเป็นปลาผิวน้ำ ปลาขนาดเล็กอาจเข้ามาอยู่ใกล้ฝั่งหรือในน้ำกร่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอกแล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอมไข่ครีบยาว

ปลาอมไข่ครีบยาว (Banggai cardinalfish, Longfin cardinalfish, Kaudern's cardinal) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาอมไข่ (Apogonidae) ถือเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pterapogon มีครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ส่วนจากกันชัดเจนและมีครีบที่ยาวมาก มีก้านครีบแข็ง 8 ก้าน ก้านครีบอ่อน 14 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 2 ก้าน และก้านครีบอ่อน 13 ก้าน ครีบหางยาวเป็นรูปส้อมชัดเจน ลำตัวมีสีขาวเงิน มีแถบสีดำพาดขวางผ่านลำตัว 3 แถบ คือ ที่ตา, ที่ครีบหลังอันที่ 1 และครีบหลังอันที่ 2 มีแถบดำตามความยาวของครีบหลัง ครีบก้น และครีบหางทั้งด้านบนและด้านล่าง มีจุดสีขาวกระจายทั่วลำตัวและครีบต่าง ๆ ยกเว้นครีบอก ที่มีลักษณะโปร่งแสง การเกิดจุดสีขาวของปลานี้จะแตกต่างกันไปเป็นเอกลักษณะเฉพาะตัว จัดเป็นปลาขนาดเล็กมีขนาดความยาวเต็มที่ 8 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไป คือ 4-5 เซนติเมตร เป็นปลาที่อยู่รวมกันเป็นฝูงตั้งแต่ไม่กี่ตัวจนถึงหลายร้อยตัวในแนวปะการังร่วมกับสิ่งมีชีวิตอย่างอื่น ปลาในวัยรุ่นมักหลบซ่อนอยู่ตามหญ้าทะเล, สาหร่าย, เม่นทะเล, ดาวขนนก, ปะการัง, ปะการังอ่อน โดยใช้เป็นที่ซ่อนภัยจากผู้ล่า อาศัยอยู่ในความลึกตั้งแต่ 0.5-6 เมตร แต่มักพบในความลึกประมาณ 1.5-2.5 เมตร ออกหากินในเวลากลางวัน โดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น แพลงก์ตอน, ครัสเตเชียนขนาดเล็ก เป็นต้น พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลแถบอินโด-แปซิฟิก แต่ไม่พบในน่านน้ำไทย แต่จะพบชุกชุมที่เกาะบังไก ประเทศอินโดนีเซีย ปลาอมไข่ครีบยาว เป็นปลาที่แพร่ขยายพันธุ์ได้ง่ายและไวมาก โดยการสำรวจเมื่อปี ค.ศ. 2005 พบมีประชากรอยู่ประมาณ 2.4 ล้านตัว แต่ถูกจับไปเลี้ยงเป็นปลาสวยงามถึงปีละ 700,000-900,000 ตัวต่อปี โดยอายุขัยโดยเฉลี่ยอยู่ได้ราว 2.5 ปี โดยพบที่อายุยืนสูงสุดถึง 4-5 ปี เป็นปลาที่ปัจจุบันเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยปลาตัวผู้จะอมใข่และกระทั่งลูกปลาฟักเป็นตัว และพัฒนากลายมาเป็นลูกปลา ซึ่งพ่อปลาจะดูแลลูกปลาจนกว่าจะเติบโตอย่างแข็งแรงที่จะเอาตัวรอด จึงปล่อยไป แต่ปลาที่มีขายกันในตลาดปลาสวยงามส่วนใหญ่ ยังเป็นปลาที่จับมาจากแหล่งน้ำในธรรมชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอมไข่ครีบยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอมไข่ตาแดง

ปลาอมไข่ตาแดง (Spotted cardinalfish, Pajama cardinalfish, Pyjama cardinalfish) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอมไข่ (Apogonidae) เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยปกติแล้วจะพบในทะเลอันดามัน แต่ไม่พบในน่านน้ำไทย พบได้ตั้งแต่ฟิจิ, ฟิลิปปิน, หมู่เกาะริวกิว จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟ เป็นปลาที่ไม่สามารถแยกเพศได้เมื่อมองจากลักษณะภายนอก นอกจากตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้เล็กน้อย เป็นปลาที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว แต่ปลาที่มีขายกันอยู่มักเป็นปลาที่ถูกจับมาจากแหล่งธรรมชาติในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย เป็นปลาที่เมื่อเทียบกับปลาอมไข่ครีบยาว (Pterapogon kauderni) แล้ว ถือว่าเลี้ยงง่ายกว่ามาก เพราะราคาถูก และสามารถกินอาหารสำเร็จรูปได้แทบทุกตัว โดยเมื่อลูกปลาฟักออกจากไข่แล้ว พ่อปลาจะคายลูกออกจากปากทันที ลูกปลาแรกฟักจะมีชีวิตเหมือนแพลงก์ตอน และจะเริ่มกินอาหารได้เมื่อมีอายุเข้าวันที่ 2-3 วัน โดยกินโรติเฟอร์ในช่วงแรก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอมไข่ตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาออร์

ปลาออร์ หรือ ปลาริบบิ้น (Oarfish, King of herrings; 皇帶魚; พินอิน: huángdài yú) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Regalecus glesne อยู่ในวงศ์ Regalecidae มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับพญานาคตามความเชื่อของไทย หรือมังกรทะเลในความเชื่อในยุคกลางของชาวตะวันตก โดยมีความยาวได้สูงสุดยาวถึง 9 เมตร และหนัก 300 กิโลกรัม แต่ก็มีบันทึกไว้ในบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ด้วยว่า ปลาชนิดนี้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ยาวที่สุดในโลก โดยอาจยาวได้ถึง 11 เมตร ในขณะที่รายงานไม่ยืนยันอีกบางกระแสระบุว่าอาจยาวถึง 15 เมตร หรือกว่านั้น มีส่วนหัวที่ใหญ่ ลำตัวแบนสีเงิน มีจุดสีฟ้าและดำประปราย มีครีบหลังสีชมพูแดง บนหัวที่อวัยวะแลดูคล้ายหงอนเป็นจุดเด่น เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในท้องทะเลลึกระหว่าง 50–250 เมตร จึงพบเห็นได้ยากมาก แต่มีผู้พบเห็นกันเป็นระยะ ๆ ในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของออสเตรเลีย เรื่อยไปจนถึงทะเลนอกชายฝั่งเม็กซิโก และแถบหมู่เกาะเบอร์มิวดา ส่วนใหญ่มักถูกคลื่นซัดออกมาเกยหาด หรือไม่ก็เกิดอาการผิดปกติขึ้นกับปลา เช่น ป่วย หรือใกล้ตาย น้อยครั้งที่จะมีการพบเห็นขณะมีชีวิตอยู่ ภาพถ่ายของปลาออร์ ที่เคยเชื่อกันว่าเป็นพญานาคที่ประเทศลาว เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ไม่เป็นอันตรายและไม่ทำร้ายมนุษย์ แม้จะมีรายงานไม่ยืนยันจากนักวิจัยในนิวซีแลนด์ที่ระบุว่าถ้าหากแตะไปที่ตัวของมันขณะยังมีชีวิตอยู่จะปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมาช็อตได้ ปลาออร์เมื่อปรากฏตัวขึ้นมามักจะปรากฏเป็นข่าวครึกโครมอยู่เป็นระยะ ๆ ว่าเป็นพญานาคหรือสัตว์ประหลาด อาทิ ในกลางปี ค.ศ. 1996 ได้ปรากฏภาพถ่ายใบหนึ่งของกลุ่มทหารชาวอเมริกันอุ้มปลาชนิดนี้ แพร่กระจายกันทั่วไปในสังคมไทย ทำให้เกิดความเชื่อว่า นั่นเป็นพญานาคที่จับได้จากแม่น้ำโขง และเชื่อว่า ภาพถ่ายนั้นถ่ายที่ค่ายทหารแห่งหนึ่งในประเทศลาวและถ่ายมานานแล้วกว่า 30 ปี ในยุคสงครามเวียดนาม แต่แท้จริงแล้วเป็นภาพที่ถ่ายในค่ายทหารที่เกาะโคโรนาโด รัฐแคลิฟอร์เนีย ในปีเดียวกันนั้นเอง และเป็นปลาที่อยู่จับได้ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาออสการ์

ปลาออสการ์ (Oscar fish, Red belvet, Velvet cichlid, Marbled cichlid, Peacock-eyed cichilld, Tiger oscar, Peacock cichilld) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาพันธุ์พื้นเมืองของลุ่มแม่น้ำโอริโนโก, แม่น้ำอะเมซอน และแม่น้ำลา พลาตา ในทวีปอเมริกาใต้อย่างกว้างขวาง เช่น ประเทศบราซิล, โคลอมเบีย, เปรู, เฟรนช์เกียนา, อุรุกวัย, เวเนซุเอลา และอาร์เจนตินา เป็นปลาที่หากินในบริเวณแหล่งน้ำที่เป็นน้ำตื้นทีมีพื้นท้องน้ำเป็นโคลนปนทรายหรือกรวดทราย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 45.7 เซนติเมตร คุณภาพของน้ำในแหล่งที่พบอาศัยมีอุณหภูมิระหว่าง 22-25 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ประมาณ 6.0-8.0 มีรูปร่างแบนข้างและลำตัวป้อม ส่วนหัวค่อนข้างใหญ่ ตาโต ปากกว้าง ริมฝีปากหนา ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเขียว ที่ขอบของแผ่นกระดูกปิดเหงือกและด้านล่างของลำตัวมีสีส้มอมแดงหรือส้มจาง ๆ ที่ด้านบนของคอดหางมีจุดกลมสีดำคล้ายลูกตาดำและมีวงสีส้มอมแดงล้อมรอบ เป็นปลาที่ว่ายน้ำช้า กินสัตว์อื่นเป็นอาหารได้หลากหลาย ทั้งสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ และแมลงด้วย ปลาออสการ์ เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในพื้นถิ่น โดยจะพบวางขายกันในตลาดสด มีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Acará-acu และเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะการเป็นปลาสวยงาม ซึ่งนิยมเลี้ยงกันมาอย่างยาวนาน จัดเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่เลี้ยงดูลูกอ่อน ทั้งเพศผู้และเพศเมีย ในราวต้นพุทธทศวรรษ 2500 ถือเป็นปลาหมอสีชนิดแรก ๆ ที่นำเข้ามาสู่ประเทศไทย ในฐานะปลาสวยงาม ซึ่งมีราคาซื้อขายแพงมาก โดยตกคู่ละ 500 บาท (ราคาทองคำแท่งในขณะนั้นบาทละ 400 บาท) ปัจจุบัน มีการเพาะเลี้ยงกันจนมีสีสันที่สวยงามกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมมาก เช่น ปลาเผือก, สีเหลืองสดหรือสีทองหรือสีแดงสดทั้งตัว รวมทั้งมีแบบที่มีครีบยาวกว่าปกติด้วย โดยชื่อ "ออสการ์" นั้นมาจากชื่อกลางของนักมีนวิทยาชาวสวีเดน สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ ที่ศึกษาโดยเฉพาะกับปลาในวงศ์ปลาหมอสี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาออสเตรเลียจุด

ปลาอะโรวาน่าออสเตรเลียจุด หรือ ปลาตะพัดออสเตรเลียจุด (Spotted arowana, Dawson river salmon) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) มีรูปร่างใกล้เคียงปลาตะพัด (S. formosus) ที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากที่สุด แต่มีเกล็ดขนาดเล็กกว่า ลักษณะลำตัวยาวเรียวกว่าปลาตะพัดชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด บริเวณสันหลังตรง ลำตัวบริเวณด้านหลังและด้านข้างลำตัวเป็นสีน้ำตาล หรือน้ำตาลอมเขียว หรือเหลืองอมเขียว บริเวณส่วนท้องสีจางกว่าลำตัว มีเกล็ดตามเส้นข้างตัว 35 เกล็ด มีจุดสีส้มอมแดงหรือชมพู สะท้อนแสงบนเกล็ดแต่ละเกล็ดจำนวน 1-2 จุด ยิ่งโดยเฉพาะในปลาที่โตเต็มที่จะเห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ ครีบมีขนาดเล็กกว่าปลาตะพัด ครีบหลังและครีบก้นสีส้ม ขอบครีบทั้งสองมีแถบสีน้ำตาลดำ ครีบก้นยาวกว่าครีบหลังเล็กน้อยมีก้านครีบ 31 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบ 20 ก้าน หัวมีลักษณะกลมป้านและสั้นกว่าปลาตะพัด หนวดทั้งคู่ม้วนงอเข้าหาหัว ปลาในวัยเล็กไม่มีจุดสีแดงดังกล่าวและมีสีลำตัวออกเงินแวววาว โตเต็มที่ประมาณ 90 เซนติเมตร พบในภาคตะวันออกและเหนือของประเทศออสเตรเลีย บริเวณรัฐควีนส์แลนด์และนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี นอกจากนี้ยังพบในประเทศอินโดนีเซียบริเวณอิเรียนจายาและเกาะนิวกินี ด้วย โดยชื่อวิทยาศาสตร์ leichardti ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ลูดวิก ลิชฮาร์ท นักสำรวจธรรมชาติชาวปรัสเซีย ที่ค้นพบปลาชนิดนี้ โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ แม่น้ำเบอดีกิน ปัจจุบันมีสถานภาพเป็นปลาที่ขึ้นบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) ตามอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (CITES) เป็นปลาที่พบได้ยากในธรรมชาติ แต่สามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก จึงจัดเป็นปลาหายากในแวดวงปลาตู้ ทำให้มีราคาซื้อขายค่อนข้างสูง ซึ่งปลาตะพัดชนิดนี้มีนิสัยขี้ตกใจมากที่สุดในบรรดาปลาตะพัดทั้งหมด มีชื่อเรียกในภาษาพื้นถิ่นว่า บารามุนดี (Barramundi) หรือ ซาราโตก้า (Saratoga).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอะโรวานาออสเตรเลียจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาอเมริกาใต้

ปลาอะโรวาน่าอเมริกาใต้ หรือ ปลาตะพัดอเมริกาใต้ (Arowana, Amazon arowana) สกุลปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) ในอันดับ Osteoglossiformes ใช้ชื่อสกุลว่า Osteoglossum (/ออส-ที-โอ-กลอส-ซั่ม/) มีรูปร่างเพรียวยาวกว่าปลาอะโรวาน่าในสกุล Scleropages ที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และออสเตรเลีย โดยมีส่วนต่างกันที่เห็นได้ชัดที่สุด คือ ส่วนหางที่เรียวเล็กกว่าโดยเฉพาะครีบหาง ปากมีความกว้างกว่า และหนวด 1 คู่ที่ใต้คางนั้นเรียวยาวกว่า ครีบหลังเรียวเล็กกว่าและเป็นทางยาวไปแทบตลอดส่วนหลัง มีสีสันลำตัวเป็นสีเดียวทั้งตัว โดยไม่มีเหลือบสีแบบปลาในสกุล Scleropages มีก้านครีบหลัง 43-48 ก้าน ครีบก้นยาวกว่าครีบหลัง มีก้านครีบ 53-57 ก้าน มีการแพร่กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ มีเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอะโรวานาอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาดำ

ปลาอะโรวานาดำ หรือ ปลาตะพัดอเมริกาใต้สีดำ (Black Arowana) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) เป็นปลาที่ทำการอนุกรมวิธานและประกาศชื่อไปเมื่อปี ค.ศ. 1966 ซึ่งเป็นปลาที่ค้นพบใหม่ล่าสุดในวงศ์นี้ โดยแหล่งที่ค้นพบครั้งแรกอยู่ในแม่น้ำริโอเนโกร บรานโก ที่ประเทศบราซิล โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ที่ว่า ferreirai ตั้งเพื่อเกียรติแก่ อเล็กซานเดร รอดดิเกซ เฟอร์ไรรา นักสำรวจธรรมชาติชาวโปรตุเกสที่บันทึกเกี่ยวกับปลาชนิดนี้เป็นครั้งแรกในโลก ระหว่างปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอะโรวานาดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวาน่าเอเชีย

ปลาอะโรวาน่าเอเชีย หรือ ปลาตะพัดเอเชีย (Asian arowana) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในสกุล Scleropages (/สะ-เคอ-โอ-พา-กิส/) ในวงศ์ Osteoglossidae ถือเป็นปลาโบราณที่สืบเผ่าพันธุ์มาจากปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีลักษณะรูปร่างไม่ต่างจากบรรพบุรุษในยุคก่อนประวัติศาสตร์มากนัก เป็นปลาที่มีวิวัฒนาการแยกออกจากปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน เมื่อกว่า 140 ล้านปีก่อน ในยุคครีเตเชียสตอนต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอะโรวาน่าเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอามาทัส

ปลาอามาทัส (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hydrolycus armatus) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน รูปร่างคล้ายกับ ปลาสคอมบิรอยด์ (H. scomberoides) มาก ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกันมาก ต่างกันที่ปลาอามาทัสมีครีบทุกครีบเล็กกว่า และมีสีแดง ครีบไขมันสีส้มเข้ม หัวมีขนาดใหญ่กว่าและหักลง ไม่ชี้ขึ้นเหมือนปลาสคอมบีรอยด์ และลำตัวเป็นสีเหลืองทองในปลาขนาดเล็ก แต่จะเปลี่ยนเป็นสีเงินวาวเมื่อปลามีขนาดใหญ่ขึ้น นอกจากนี้แล้ว จุดเด่นที่สำคัญคืออีกประการหนึ่งคือ เมื่อปลาโตเต็มที่ เขี้ยวคู่ล่างที่กรามล่างจะยาวแหลมออกมาจากปากอย่างเห็นได้ชัดนับว่าเป็นปลาที่มีฟันเขี้ยวใหญ่และแหลมคมที่สุดสำหรับปลาในวงศ์นี้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60-80 เซนติเมตร ซึ่งก็นับได้อีกว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นฝูงในระดับกลางน้ำในปลาวัยเล็ก หากินโดยล่าปลาและกุ้งต่าง ๆ เป็นอาหาร และถึงแม้ว่าจะเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่กว่าก็ตาม ก็สามารถใช้ปากและเขี้ยวที่แหลมคมนี้จับและกลืนกินได้ รวมถึงมีพฤติกรรมกินพวกเดียวกันเองด้วย พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำอเมซอนและสาขา, ลุ่มแม่น้ำโอริโนโค รวมถึงแม่น้ำกายอานา นิยมตกเป็นเกมกีฬา และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่ต้องนำเข้าจากอเมริกาใต้ จัดเป็นปลาที่มีราคาสูงชนิดหนึ่ง ในประเทศไทยมีชื่อเรียกปลาอามาทัสในแวดวงปลาสวยงามว่า "อามาทัสหางดำ" ทั้งนี้เพื่อมิให้สับสนกับปลาทาทูเอีย (H. tatauaia) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกันอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความใกล้เคียงกันมาก ยิ่งโดยเฉพาะในปลาขนาดเล็ก ซึ่งปลาทาทูเอียจะถูกเรียกว่า "อามาทัสหางแดง" ทั้งนี้ เมื่อปลาทั้ง 2 ชนิดนี้เมื่อโตขึ้นจึงจะเห็นความแตกต่างได้ชัดเจน กล่าวคือ ปลาอามาทัสจะมีครีบหางเป็นสีดำ ขณะที่ปลาทาทูเอียจะเป็นสีแดง อีกทั้ง การนำเข้าปลาในวงศ์นี้ในระยะแรกเริ่มจะสับสนจะปะปนกันมา ปลาอามาทัสจะถูกปะปนเข้ามาพร้อมกับปลาสคอมบิรอยด์และปลาทาทูเอีย แม้แต่ในต่างประเทศก็พบกรณีเช่นนี้ แต่เมื่อเลี้ยงในที่เลี้ยงแล้ว พบว่า ปลาอามาทัสมีนิสัยไม่ขี้ตกใจเหมือนปลาในวงศ์เดียวกันนี้ชนิดอื่น ๆ มีนิสัยที่ดุกว่า และเติบโตได้เร็วกว่า และมีราคาที่แพงกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอามาทัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอายุ

ปลาอายุ (アユ, 鮎, 年魚, 香魚) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในสกุล Plecoglossus และวงศ์ Plecoglossidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอายุ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินทรี

วามหมายอื่น อินทรี ปลาอินทรี (Indo-Pacific king mackerels, Spotted mackerels, Seerfishes) เป็นปลาทะเลจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Scomberomorus (/สะ-คอม-บี-โร-โม-รัส/) ในวงศ์ Scombridae ปลาอินทรีมีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวแบนข้างเรียวยาว คอดหางกิ่ว ปลายหางเว้าเป็นแฉกลึก ส่วนหัวและปลายปากแหลม ภายในปากในบางชนิดและปลาขนาดใหญ่จะเห็นฟันแหลมคมอย่างชัดเจน อาศัยอยู่เป็นฝูงใกล้ผิวน้ำ มีลวดลายเป็นจุดหรือบั้งตามแต่ชนิด จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่สกุลหนึ่งในวงศ์ คือ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1 เมตร หาอาหารโดยไล่กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า อาศัยอยู่ในทะเลเปิดทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่น เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง โดยในประเทศไทยนิยมนำมาทอดหรือทำเป็นปลาเค็ม ซึ่งในภาษาแต้จิ๋วจะเรียกว่า "เบกาฮื้อ" (馬鮫魚; พินอิน: Mǎ jiāo yú) และนิยมตกเป็นเกมกีฬาด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ต

ปลาอินซีเน็ต หรือ ปลาอินซิกนิส (Flagtail characins, Flannel-mouth characins.; Jaraqui.) เป็นปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Semaprochilodus (/ซี-มา-โพร-ชิ-โล-ดัส/) ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มาก ดวงตากลมโต ริมฝีปากหนาและใหญ่ และปากขยับไปมาตลอดเวลา เกล็ดมีขนาดเล็กมีสีเงินแวววาว เมื่อยังเล็กจะมีลายแถบและจุดสีดำกระจายอยู่บริเวณลำตัวค่อนไปทางโคนหาง โคนหางคอดเล็ก ครีบหลังมีขนาดใหญ่และตั้งชี้ขึ้น ครีบหางเป็น 2 แฉก เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยจะนิยมเลี้ยงไว้เพื่อทำความสะอาดภายในตู้เลี้ยง เพราะเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารกินทำให้ตู้เลี้ยงสะอาดได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกว่า เมื่อเลี้ยงคู่กับปลาอะโรวาน่าหรือปลามังกรด้วยแล้ว จะถือเป็นมงคล เหมือนหงส์คู่มังกร เพราะปลาสกุลนี้มีชื่อสามัญเรียกในภาษาจีนว่า "เฟยหง" (จีนตัวเต็ม: 飛鳳) แปลว่า "ปลาหงส์".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอินซีเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตยักษ์

ปลาอินซีเน็ตยักษ์ หรือ ปลาอินซีเน็ตลาย (Streaked prochilodus, Curimbatá, Sábalo) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prochilodus lineatus อยู่ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในสกุล Prochilodus ทั่วไป แต่มีลายขวางเป็นบั้ง ๆ ตลอดทั้งตัว ในปลาที่มีขนาดเล็ก ลำตัวมีเกล็ดขนาดเล็กสีเทาอมเขียว ส่วนท้องมีสีขาว เป็นปลาที่จัดได้ว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลและวงศ์นี้ โดยโตเต็มที่ยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร แต่มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 50-60 เซนติเมตร น้ำหนักหนักได้ถึง 6 กิโลกรัม และแสดงลักษณะเด่นชัดของปลาที่โตเต็มวัยเมื่อมีความยาวได้ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำปารานาในประเทศบราซิล มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่ในน้ำลึกโดยดูดกินอินทรียวัตถุบริเวณพื้นน้ำเป็นอาหาร อพยพเข้าสู่แหล่งน้ำที่มีอุณหภูมิอบอุ่นเพื่อผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ตัวผู้มีรูปร่างผอมบางกว่าตัวเมีย นับเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมากชนิดหนึ่งในภูมิภาคนี้ เพราะใช้บริโภคเป็นจำนวนมากในปี ๆ หนึ่ง เป็นน้ำหนักหลายพันตัน นอกจากนี้แล้วยังนิยมตกกันเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามด้วย ซึ่งนับได้ว่าเป็นปลาที่มีราคาค่อนข้างสูง เนื่องจากหาได้ยาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอินซีเน็ตยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตหางเหลือง

ปลาอินซีเน็ตหางเหลือง หรือ ปลาหงส์หางเหลือง ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Semaprochilodus kneri ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Semaprochilodus ชนิดอื่น ๆ หรือชนิด S. taeniurus แต่ว่ามีรูปร่างที่เรียวยาวกว่า ขอบตาเป็นวงกลมสีแดง ครีบหางมีแถบสีดำที่หนาและเป็นเส้นตรงกว่าบนพื้นสีเหลือง มีขนาดโตเต็มที่ได้ 28 เซนติเมตร อาศัยอยู่เป็นฝูงในแม่น้ำริโอเนโกรและแม่น้ำโอริโนโค ในประเทศโคลัมเบีย ปลาอินซีเน็ตหางเหลืองเป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาชนิดอื่นในวงศ์นี้อีกหลายชนิด แต่ทว่าในประเทศไทยจัดว่าเป็นปลาที่หาได้ยาก และมีราคาแพง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอินซีเน็ตหางเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตขาว

ปลาอินซีเน็ตขาว หรือ ปลาอินซิกนิสขาว (โปรตุกิส: Bocachico) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Curimata cyprinoides อยู่ในวงศ์ปลาคาราซินไม่มีฟัน (Curimatidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาอินซีเน็ต (Semaprochilodus spp.) ที่อยู่ต่างวงศ์กัน แต่อยู่ในอันดับเดียวกัน คือ Characiformes แต่ว่ามีข้อแตกต่างกันที่ปลาอินซีเน็ทขาวมีเกล็ดเป็นสีเงินหรือสีขาวแวววาวตลอดทั้งตัวตลอดทั้งครีบต่าง ๆ ด้วย มีปากที่ขยับไปมาได้ตลอดใช้สำหรับคุ้ยเขี่ยหาอาหารตามพื้นน้ำกินเป็นอาหารเหมือนปลาอินซีเน็ท ยกเว้นแต่แผงฟันในขากรรไกรและในคอหอยไม่มีหรือขาดตอนไป อันเป็นลักษณะเฉพาะของปลาในวงศ์นี้ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำหลัก ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ อาทิ อเมซอน, โอรีโนโกและโทแคนตินส์ เมื่อปลามีขนาดโตเต็มที่ สีตามลำตัวจะเปลี่ยนไปเป็นคล้ำลง และทรวดทรงลำตัวจะออกไปในทรงป้านมากกว่าทรงยาว เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่นเป็นปกติ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งนับได้ว่าเป็นปลาที่หาได้ยากในแวดวงปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอินซีเน็ตขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตดำ

ปลาอินซีเน็ตดำ (Black Prochilodus, Boquichico) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prochilodus nigricans อยู่ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างยาวและลำตัวกลมกว่าปลาในสกุล Semaprochilodus ริมฝีปากหนาและขยับไปมาตลอดเวลาได้ เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมีสีเงินและมีสีดำคล้ำเป็นแถบยาวตามแนวนอนลำตัว ยิ่งปลาที่มีขนาดเล็กจะเห็นได้ชัดเจน ขอบเกล็ดมีสีดำ ครีบหลังและครีบหางมีขนาดเล็ก ส่วนท้องป่องออก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 31 เซนติเมตร พบใหญ่สุดประมาณ 37 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโทแคนตินส์ ในบราซิลและอาร์เจนตินา เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยมักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำ และหากินโดยใช้ปากที่ขยับไปมาตลอดนั้นตอดหากินบริเวณท้องน้ำ ผสมพันธุ์และวางไข่ในฤดูน้ำหลาก โดยมีอัตราการวางไข่เฉลี่ยครั้งละ 100,000 ฟอง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย นับเป็นปลาที่หาได้ยากและมีราคาแพงชนิดหนึ่งของวงศ์นี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอินซีเน็ตดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอิแกลาเอ๊ะ

ปลาอิแกลาเอ๊ะ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pseudeutropius (/ซู-ดิว-โทร-เพียส/) เป็นปลาหนังขนาดเล็ก พบอาศัยครั้งแรกบนเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ลำตัวเรียวยาวและแบนข้าง แต่หัวเป็นรูปกระสวย มีหนวด 4 คู่ ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ นัยน์ตาโตมีบางส่วนอยู่ใต้มุมปาก ครีบหลังสั้นมีเงี่ยงปลายแหลมขอบจักเป็นฟันเลื่อย 1 อัน และมีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน ครีบไขมันเล็ก ครีบก้นมีฐานยาว ครีบอกมีเงี่ยงแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก มีการจำแนกไว้ทั้งหมด 6 ชนิด กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอิแกลาเอ๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอุก

ปลาอุก ปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cephalocassis borneensis อยู่ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae) มีรูปร่างเพรียว หางคอดเล็ก หลังยกสูงเล็กน้อย จะงอยปากยื่นยาว หัวโตแบนราบเล็กน้อย ปากเล็ก ตาเล็กอยู่กลางหัว ครีบหลังมีก้านแข็งหนาและยาว ครีบไขมันเล็กมีสีคล้ำเล็กน้อย ครีบท้องใหญ่ ครีบหางเว้าลึก ตัวมีสีเทาอมเหลืองอ่อน ด้านท้องสีจาง ครีบสีจาง มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 20 เซนติเมตร อาศัยในแม่น้ำตอนล่าง พบในแม่น้ำแม่กลองถึงแม่น้ำบางปะกง ในแม่น้ำเจ้าพระยาพบขึ้นไปสูงสุดจนถึง จังหวัดชัยนาท นิยมบริโภคตัวผู้ที่มีไข่ในปากเรียก "ไข่ปลาอุก" โดยนิยมนำมาทำแกงส้ม พบจับขึ้นมาขายเป็นครั้งคราวในตลาดของชัยนาท อยุธยา และ อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และพบได้ในภาคใต้จนถึงเกาะบอร์เนียว และพบมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "อุกแดง", "อุกชมพู" หรือ "กดโป๊ะ".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอีกอง

ปลาอีกอง หรือ ปลาที-บาร์บ หรือ ปลาโสร่ง (T-barb, Spanner barb) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาเสือข้างลาย (Puntigrus partipentazona) และปลาเสือสุมาตรา (P. tetrazona) ซึ่งเป็นปลาในวงศ์เดียวกัน แต่ปลาอีกองมีรูปร่างป้อมสั้นกว่า มีสีลำตัวขาวอมเหลืองหรือชมพู มีแถบสีดำในแนวตั้ง 2 แถบดูแลคล้ายตัวที (T) ในภาษาอังกฤษ แถบแรกอยู่ใกล้ช่องเปิดเหงือกและอีกแถบอยู่บริเวณฐานครีบหลัง ลำตัวตอนท้ายจะมีแถบสีดำในแนวนอนยาวไปถึงโคนครีบหาง มีจุดสีดำเป็นวงกลมขนาด 2 จุดอยู่บริเวณเหนือฐานครีบก้น ครีบทุกครีบมีสีส้มปนแดง ยกเว้นครีบอกมีสีเหลือง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร แต่พบใหญ่ที่สุดถึง 20 เซนติเมตร แต่ที่พบโดยเฉลี่ยยาวประมาณ 5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในเขตต้นน้ำลำธารหรือน้ำตกบนภูเขา ในประเทศไทยพบได้ในภาคใต้ตั้งแต่ จังหวัดตรัง เป็นต้นไป และพบเรื่อยไปจนถึงมาเลเซีย, สิงคโปร์และอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม ร่วมกับปลาชนิดอื่นที่มีความใกล้เคียงกัน เช่น ปลาเสือข้างลาย และปลาเสือสุมาตรา หรือปลามะไฟ (Pethia stoliczkana) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอีกอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอีโต้มอญ

ปลาอีโต้มอญ (Common dolphinfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Percifoemes) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coryphaena hippurus จัดอยู่ในวงศ์ปลาอีโต้ (Coryphaenidae) ซึ่งมีอยู่ด้วยกันเพียง 2 ชนิดเท่านั้น ปลาอีโต้มอญ มีลำตัวยาวเรียว แต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นลำตัวจะกว้างขึ้นและแบนข้างเล็กน้อย หัวงุ้มลง ทำให้มีรูปร่างคล้ายมีดโต้ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีเกล็ดเล็กละเอียด ปากกว้างและเฉียงขึ้น ฟันเล็กละเอียด ครีบหลังยาวเริ่มตั้งแต่บริเวณโหนกหัวไปจนถึงโคนหาง ครีบหางใหญ่เว้าลึกรูปส้อม ตัวผู้มีโหนกหัวนูนออกไปข้างหน้าเป็นแนวตั้งฉากกับปากคล้ายกับโลมา อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ ส่วนตัวเมียจะมีโหนกหัวลาดลง ปลาขนาดโตเต็มวัยลำตัวมีสีน้ำเงินปนเขียว ข้างตัวมีจุดดำเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วลำตัว มีความยาวตั้งแต่ 40-100 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุดมีความยาวถึง 150 เซนติเมตร เป็นปลาที่อยู่รวมตัวกันเป็นฝูงขนาดไม่ใหญ่ อาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก และมักขึ้นมาหากินและหาอาหารบริเวณผิวน้ำ มักพบอยู่บริเวณข้างเกาะแก่ง ตามต้นไม้หรือกิ่งไม้หรือซากอวนที่ลอยมาตามน้ำ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่ปราดเปรียวว่องไว ว่ายน้ำได้เร็วมาก กินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร เป็นปลาที่เป็นที่นิยมอย่างยิ่งในการตกปลาเป็นเกมกีฬา เช่นเดียวกับปลากระโทง (Istiophoridae) หรือปลาทูน่า (Scombridae) เนื่องจากเป็นปลาที่สู้เบ็ดและมีความสวยงามเมื่อเวลาตก และนิยมจับเพื่อการประมงเชิงพาณิชย์ด้วย ซึ่งประเทศในแถบแคริบเบียนเป็นกลุ่มผู้บริโภคผลิตภัณฑ์จากปลาอีโต้มอญกลุ่มใหญ่ของโลก ส่วนหลาย ๆ ประเทศที่พัฒนาแล้วในยุโรปมีปริมาณการบริโภคเพิ่มมากขึ้นทุกปี และญี่ปุ่นก็เป็นประเทศที่บริโภคปลาชนิดนี้เป็นปริมาณมากเช่นกัน ปลาอีโต้มอญ ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก ในภาษาไทย เช่น "หน้ามอม", "อีโต้", "มงเจ้าเลือด", "โต้มอญ" หรือ "สีเสียดอินเดีย" เป็นต้น ในขณะที่ภาษาฮาวายจะเรียกว่า "Mahi-mahi" ซึ่งเป็นชื่อที่เพิ่งใช้ไม่นานมานี้ โดยจะปรากฏบนเฉพาะบนเมนูอาหาร ในขณะที่ภาษาสเปนจะเรียกว่า "Dorado" ที่หมายถึง ทองคำ สถานะของปลาอีโต้มอญ ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN Red List) ได้จัดให้อยู่สถานะสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ (LC).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอีโต้มอญ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอ้ายอ้าว

ปลาอ้ายอ้าว หรือ ปลาซิวอ้าว หรือ ปลาซิวควาย (Apollo sharks) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Luciosoma (/ลิว-ซิ-โอ-โซ-มา/) มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาวคล้ายแท่งดินสอ ไม่มีเข็มก้านครีบแรก มีก้านครีบอ่อน 7 ก้าน ก้านครีบก้นมี 6 ก้านครีบ ปากกว้างโดยที่มุมปากยื่นยาวไปจนอยู่ในระดับใต้ตา ครีบหลังอยู่ในส่วนครึ่งหลังของลำตัว มีจุดเด่นคือ มีลายแถบสีดำข้างลำตัว ซึ่งแตกต่างออกไปตามชนิด ขนาดโดยเฉลี่ย โตเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงบริเวณผิวน้ำ กินอาหารโดยล่าปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมถึงแมลงด้วย พบกระจายพันธุ์ในประเทศไทย, ลาว, กัมพูชา จนถึงเกาะบอร์เนียวและเกาะชวา พบด้วยกันทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอ้ายอ้าว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอเล็กซานดรี่

ปลาอเล็กซานดรี่ (パカモン) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Pseudopimelodidae จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Lophiosilurus มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ Chacidae โดยเฉพาะในปลาวัยอ่อน กล่าวคือ มีส่วนหัวที่แบนราบมาก ตาเล็ก ปากกว้างมาก มีหนวด 2 เส้นตรงมุมปากคนละข้าง และอีก 2 เส้นตรงใต้คาง ลำตัวเป็นสีเขียวอมส้ม มีจุดกระน้ำตาล ครีบทุกครีบมีขนาดเล็ก กระจายพันธุ์ในแม่น้ำเซาฟรังซีสกูในบราซิล โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า "ปาคาม่า" (Pacamã) มีพฤติกรรมมักจะอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นน้ำหรือฝังตัวใต้ทรายเพื่อรออาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำทั่วไป ขนาดความยาวโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร น้ำหนักราว 5,000 กรัม ด้วยมีหน้าตาประหลาด จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งจัดว่าเป็นปลาที่มีราคาแพงชนิดหนึ่ง โดยมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า "ปลากดหน้ากบ" (Frog-faced catfish) หรือ "ปลากดแพ็ค-แมน" (Pac-man catfish).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาอเล็กซานดรี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฮูโช

ปลาฮูโช เป็นสกุลของปลาแซลมอนขนาดใหญ่ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hucho ในวงศ์ปลาแซลมอน (Salmonidae) เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ในอนุทวีปยูเรเชีย และพบบางส่วนอาศัยอยู่ในแม่น้ำหรือแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในทวีปเอเชีย เช่น มองโกเลีย, จีน, รัสเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฮูโช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฮูโซ

ปลาฮูโซ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ ใช้ชื่อสกุลว่า Huso เป็นปลาสเตอร์เจียนขนาดใหญ่ที่พบในภูมิภาคยูเรเชีย อยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต จำแนกออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฮูโซ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผมนาง

ำหรับปลาผมนางอีกสกุลหนึ่ง ดูที่: ปลาจุยจินขาว และปลาสีกุนครีบยาว ปลาผมนาง หรือ ปลาโฉมนาง หรือ ปลาโฉมงาม (Cobblerfishes, Cockfishes, Threadfishes, Diamond trevallies, Pompanos) เป็นปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Alectis จัดอยู่ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีรูปร่างทั่วไป คือ ลำตัวสั้น กว้าง แบนข้างมาก คอดหางเล็ก เว้นแต่ที่ส่วนท้ายของเส้นข้างตัว โดยเฉพาะ บริเวณคอดหางเกล็ดอ่อนจะขยายใหญ่เป็นสันแข็งที่ปลายหาง มีกระดูกอ่อนลักษณะเป็นเกล็ดแข็ง 2 อัน โผล่อยู่หน้าครีบก้น ที่สำคัญคือ ต่างก็มีก้านครีบหลังตอนที่ 2 และครีบก้นที่เป็นเส้นยาวมาก ลำตัวผิวหนังสีเงิน เฉพาะใกล้สันหลัง เป็นสีฟ้าอมเทา ในระยะที่เป็นปลาขนาดเล็กจะมีลายพาดขวางเป็นบั้งสีเทาอยู่หลายแถบ เส้นครีบที่เป็นลายยาวมีสีคลํ้าหรือดำคล้ายเส้นผม เรียกว่า "ไอ้เปี๊ยะ" อันเป็นที่มาของชื่อ สันนิษฐานว่าคงเป็นการทำตัวเลียนแบบแมงกะพรุนหน้า ๐๙๖–๐๙๗, ปลาโฉมงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผมนาง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีตุ่น

ปลาผีตุ่น (White knifefish, Oddball knifefish, White trumpet knifefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแบล็คโกสต์ (Apteronotidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Orthosternarchus โดยที่ปลาชนิดนี้ถูกค้นพบโดย จอร์จ อัลเบิร์ต บุลเลเยอร์ ในปี ค.ศ. 1880 โดยใช้ชื่อครั้งแรกว่า Sternarchus tamandu ซึ่งคำว่า tamandua ซึ่งเป็นชื่อชนิดนั้นมาจากภาษาตูเปียนคำว่า tamanduá ซึ่งหมายถึง "ตัวกินมด" เนื่องจากมีจมูกและปากที่ยาวเป็นท่อเหมือนกัน มีรูปร่างเหมือนกับปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน แต่มีจุดเด่นคือ มีลำตัวสีขาวซีดตลอดทั้งตัว โดยไม่มีสีอื่นแซม เหมือนภาวะผิวเผือก และตาได้ลดรูปลงจนมีขนาดเล็กมาก เป็นจุดเล็ก ๆ เหมือนปลาถ้ำ เนื่องจากไม่ได้ใช้ประโยชน์ และมีช่วงจมูกและปากที่ยาวเหมือนท่อหรือทรัมเป็ต ช่องปากเป็นเพียงช่องเล็ก ๆ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 44 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในส่วนลึกของแม่น้ำที่ขุ่นและเชี่ยวมากในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรู แต่จะไม่พบในป่าที่น้ำท่วม มีพฤติกรรมชอบว่ายน้ำลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ กินอาหารที่เป็นสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่ลอยอยู่ในกระแสน้ำเท่านั้น โดยใช้กระแสไฟฟ้าที่สร้างขึ้นเป็นเครื่องหาอาหารและนำทาง จัดเป็นปลาที่ไม่อาจทำอันตรายต่อปลาตัวอื่นหรือสัตว์อื่นใดได้ และค่อนข้างจะบอบบาง อ่อนแอ และว่ายน้ำได้ช้ามาก นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ด้วยความแปลกตา ซึ่งมีราคาซื้อขายกันที่แพงมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผีตุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อ (น้ำจืด)

ปลาผีเสื้อ (อังกฤษ: Freshwater butterflyfish, African butterflyfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เป็นปลาเพียงชนิดเดียวในวงศ์ Pantodontidae ซึ่งอยู่ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) อันเป็นอันดับเดียวกับปลาตะพัดหรือปลาอะโรวาน่า และปลาอะราไพม่าหรือปลาช่อนอเมซอน ปลาผีเสื้อมีลักษณะ ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน มีจุดเด่นคือ ครีบอกแผ่กว้างในแนวราบขนาดใหญ่ กินปลาขนาดเล็กรวมทั้งแมลงน้ำ และแพลงก์ตอนสัตว์ต่าง ๆ เป็นอาหาร มีความสามารถคือ กระโดดได้สูงและไกลมาก มีขนาดใหญ่เต็มที่ไม่เกิน 15 เซนติเมตร มักลอบตัวอยู่นิ่ง ๆ บริเวณผิวน้ำ พบในทวีปแอฟริกา บริเวณทะเลสาบชาด และประเทศไนเจอร์, แคเมอรูน, ที่ลุ่มแม่น้ำคองโก เป็นต้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผีเสื้อ (น้ำจืด) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อกลางคืน

ปลาผีเสื้อกลางคืน (Little dragonfish, Common dragonfish, Short dragonfish, Pegasus sea moth) เป็นปลาทะเลปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืน (Pegasidae) เป็นปลาขนาดเล็กขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 10 เซนติเมตร มีผิวลำตัวด้านบนมีลายรูปคล้ายตาข่ายสีน้ำตาลอ่อน จนถึงสีน้ำตาลเข้ม มีปากยาวและหางสั้น มีข้อหาง 8-9 ข้อ หรืออาจมากกว่าแต่พบได้น้อยมาก มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่เป็นคู่บริเวณพื้นทะเลที่เป็นกรวดหิน หรือทรายปนโคลน โดยเฉพาะบริเวณแนวหญ้าทะเลและสาหร่ายทะเล หาอาหารกินได้แก่ สัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นทะเลขนาดเล็ก เช่น หนอนทะเล เคลื่อนที่ช้า ๆ โดยใช้ก้านครีบท้องที่พัฒนาไปคล้ายขา พบกระจายพันธุ์กว้างขวางในทะเลและน้ำกร่อยเขตร้อนและเขตอบอุ่น ตั้งแต่ แอฟริกาใต้, มาดากัสการ์, ทะเลแดง, อินโด-แปซิฟิก, ทะเลญี่ปุ่น, ไมโครนีเซีย และน่านน้ำไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผีเสื้อกลางคืน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว

ปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว (Longtail seamoth, Slender seamoth) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืน (Pegasidae) เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก มีขนาดยาวไม่เกิน 4-6 เซนติเมตร มีลำตัวเป็นเกราะแข็ง ครีบหางมีเกราะรูปวงแหวนต่อกัน เป็นข้อ ๆ ปากยื่นยาวออกไป ลำตัวแบนลง ครีบหูมีขนาดใหญ่แผ่ออกด้านข้างคล้ายปีกของผีเสื้อ ครีบท้องมีก้านแข็งหนึ่งคู่ ที่เหลือเป็นก้านครีบอ่อนที่พัฒนาไปคล้ายขาเดิน มีผิวตัวด้านบนมีลายรูปตาข่าย อาจมีสีน้ำตาลอ่อน จนถึงสีน้ำตาลเข้ม คล้ายกับปลาผีเสื้อกลางคืน (Eurypegasus draconis) ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว จะมีส่วนปากที่ยื่นยาวกว่า เป็นปลาที่หากินตามพื้นทะเล ที่เป็นพื้นทรายหรือทรายปนโคลน ด้วยการใช้ครีบคืบคลานไปกับพื้นคล้ายกับการเดิน โดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ ต่าง ๆ เป็นอาหาร พบแพร่กระจายพันธุ์กว้างไกล ตั้งแต่ ออสเตรเลีย, บาห์เรน, จีน, อินเดีย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, โมซัมบิก, พม่า, ฟิลิปปินส์, ซาอุดิอาระเบีย, สิงคโปร์, เกาะไต้หวัน, แทนซาเนีย และไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อจมูกยาว

ปลาผีเสื้อจมูกยาว หรือ ปลาผีเสื้อลองโนส (Longnose butterflyfish) เป็นสกุลของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Forcipiger (/ฟอร์-ซิ-พิ-เกอร์/) ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีลักษณะเด่นต่างจากปลาผีเสื้อสกุลอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด คือ ส่วนปากและจมูกยื่นแหลมยาวออกมาอย่างเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้กินได้แต่อาหารขนาดเล็ก ๆ เท่านั้น เช่น แพลงก์ตอนสัตว์ หรือโพลิปของปะการัง เป็นปลาที่มีลำตัวสีเหลืองสดใส กระจายพันธุ์ตามแนวปะการังในน่านน้ำแถบอินโด-แปซิฟิก กระนั้น ก็ยังมีรายงานพบ ปลาบางตัวที่มีสีผิดเพี้ยนไปจากปกติ คือ มีสีขาวตลอดทั้งตัวหรือสีดำสนิทก็มี ซึ่งอาจจะเป็นความผิดปกติของเม็ดสี แต่ทว่าหาได้ยากมาก และมีราคาซื้อขายที่แพงในวงการปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผีเสื้อจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อติดหินน่าน

ปลาผีเสื้อติดหินน่าน ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hemimyzon nanensis อยู่ในวงศ์ปลาค้อ (Balitoridae) มีส่วนหัวและลำตัวตอนบนแบนราบ ปากเล็กมากอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก ครีบอกและครีบท้องกว้าง ด้านหลังมีสีกากีหรือน้ำตาลอ่อนและมีแต้มกลมสีคล้ำ ท้องสีจาง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 4-7 เซนติเมตร ปลาผีเสื้อติดหินน่าน สามารถใช้ครีบอกที่กว้างแกะแนบติดกับแก่งหินที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว โดยกินอาหารจำพวกตัวอ่อนของแมลงน้ำและสัตว์หน้าดินขนาดเล็ก โดยการกระจายพันธุ์พบเฉพาะแหล่งน้ำที่เป็นลำธารน้ำตกบนภูเขาหรือในป่าดิบชื้นที่เป็นแหล่งต้นน้ำของแม่น้ำน่านแห่งเดียวเท่านั้น เป็นปลาที่เพิ่งได้รับการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์และอนุกรมวิธานเมื่อปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผีเสื้อติดหินน่าน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Copperband butterflyfish, Beak coralfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelmon rostratus ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีลำตัวแบนข้าง ลบลำตัวมีสีขาวคาดด้วยแถบสีส้มจำนวน 4 แถบ โดย 2 แถบแรกมีขอบสีดำตัดบาง ๆ ทั้งด้านหน้าและหลัง ปลายครีบบนและครีบล่างเจือด้วยปื้นสีส้ม โคนหางมีจุดสีดำเล็ก ๆ และมีจุดสีดำขนาดใหญ่บริเวณโคนครีบบนหนึ่งจุด คล้ายตา เพื่อใช้หลอกล่อศัตรูให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นดวงตาจริง ๆ ในขณะที่ดวงตาแท้ ๆ มีแถบสีส้มคาดเพื่ออำพรางไม่ให้ดูเด่นกว่าจุดวงกลมสีดำนั้น ปากยื่นยาวและมีขนาดเล็กคล้ายหลอด ใช้สำหรับดูดกินหรือแทะกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังต่าง ๆ ที่อาศัยตามแนวปะการังที่หลบตามซอกหลีบได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินดอกไม้ทะเลแก้ว (Aiptasia spp.) ซึ่งเป็นดอกไม้ทะเลขนาดเล็กที่หนวดพิษสามารถทำร้ายปะการังได้ด้วย นับเป็นปลาที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศในทะเลชนิดหนึ่ง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแนวปะการังของมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก เช่น ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, หมู่เกาะริวกิว จนถึงออสเตรเลีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จัดเป็นปลาที่ราคาไม่แพง เลี้ยงง่าย แต่ไม่อาจจะฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้เหมือนปลาผีเสื้อชนิดอื่น ๆ ซึ่งผู้เลี้ยงต้องให้กินอาหารสด เช่น ไรทะเลหรือเนื้อหอยชนิดต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นปลาที่ต้องรวบรวมมาจากแหล่งน้ำรรมชาติ ซึ่งในปลาขนาดกลางที่ไม่เล็กไปหรือใหญ่ไป ราว ๆ 2.5-3.5 นิ้ว เป็นขนาดที่กำลังพอดีที่จะนำมาเลี้ยง เพราะปลาจะปรับตัวให้เข้ากับตู้เลี้ยงได้ไม่ยากนัก ไม่ตื่นกลัวเหมือนปลาใหญ่หรืออ่อนแอเกินไปเหมือนปลาขนาดเล็ก อนึ่ง ปลาผีเสื้อนกกระจิบนั้น ในแวดวงของการดำน้ำยังมีการเรียกปนกับปลาผีเสื้อจมูกยาวในสกุลปลาผีเสื้อจมูกยาว ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ปลาผีเสื้อจมูกยาวใหญ่ (Forcipiger longirostris) และปลาผีเสื้อจมูกยาวเหลือง (F. flavissimus) ซึ่งปลาทั้ง 2 ชนิดนั้นมีสีสันที่แตกต่างออกจากปลาผีเสื้อนกกระจิบพอสมควร โดยมีสีเหลืองสดเป็นสีพื้นเป็นหลัก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาผีเสื้อนกกระจิบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจะละเม็ด

วามหมายอื่นดูที่: จะละเม็ด ปลาจะละเม็ด (Pomfrets) เป็นสกุลของปลาทะเลในสกุล Pampus (/แพม-พัส/) ในวงศ์ปลาจะละเม็ด (Stromatidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ รูปร่างป้อม ค่อนข้างสั้น ลำตัวแบนข้างมาก หัวเล็กมน ปากเล็ก เกล็ดเล็ก บริเวณคอดหางไม่มีสันคม เป็นปลาที่นิยมบริโภค เนื้อมีรสชาติดี จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญจำพวกหนึ่ง มีประเทศไทยพบ 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจะละเม็ด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจะละเม็ดขาว

ปลาจะละเม็ดขาว (White pomfret, Silver pomfret) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจะละเม็ด (Stromateidae) มีรูปร่างป้อมสั้น เกือบเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ลำตัวแบนข้างมาก ส่วนหัวป้อมสั้น ตาค่อนข้างเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ ปากเล็กและเฉียงขึ้น ครีบหลังและครีบก้นมีความยาวของฐานเกือบเท่ากัน ครีบหางเว้า และปลายทั้งสองเรียวยาวเป็นรยางค์ ครีบอกยาว ปลาที่โตเต็มวัยจะไม่มีครีบท้อง เกล็ดมีลักษณะเล็กบางและหลุดง่าย สันหลังสีเทาปนสีขาวเงิน ส่วนที่อยู่ใต้ลงมาจะมีสีจางลง บริเวณท้องจะเป็นสีขาวเงิน ปลายของครีบท้องมีแถบสีดำ ครีบอื่น ๆ สีเหลือง มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 60 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไปจะอยู่ที่ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคตะวันออกกลาง, เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงทะเลญี่ปุ่น มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง มักหากินอยู่ตามพื้นหน้าดินที่มีน้ำใส พื้นเป็นทรายปนโคลน บางครั้งเข้าไปหากินในบริเวณแหล่งน้ำกร่อย ในน่านน้ำไทย พบได้ทั้งในฝั่งอ่าวไทย และบริเวณหมู่เกาะอ่างทองมีอยู่ชุกชุม รวมถึงฝั่งทะเลอันดามันด้วย โดยอาหารที่ชื่นชอบ คือ แมงกะพรุนขนาดเล็ก มีชื่ออื่น ๆ เรียกอีก เช่น "ปลาแปะเชีย" (银鲳) ในภาษาแต้จิ๋ว เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง สามารถนำไปประกอบอาหารได้หลากหลาย เช่น นึ่ง, นึ่งบ๊วย, นึ่งซีอิ๊ว หรือทอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจะละเม็ดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจะละเม็ดดำ

ปลาจะละเม็ดดำ (Black pomfret) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Parastromateus มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาจะละเม็ดขาว (Pampus argenteus) ซึ่งอยู่ในวงศ์ปลาจะละเม็ด (Stromateidae) ต่างกันที่มีสีและคอดหางของปลาจะละเม็ดดำจะเป็นสันแข็ง ครีบหางใหญ่และเว้าเล็กน้อย ครีบอกยาวเรียวคล้ายขนของหางไก่ตัวผู้ ลำตัวมีสีเทาปนน้ำตาล ของครีบหลัง เมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีครีบท้อง และครีบหางมีสีดำ มีขนาดโตเต็มที่ได้ 75 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไปประมาณ 30 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่เป็นฝูง อาศัยอยู่ในชายฝั่ง, แนวปะการัง และปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อย ในเขตอินโด-แปซิฟิก, แอฟริกาตะวันออก, ทะเลญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ปลาขนาดเล็กซึ่งยังปรากฏครีบท้องชัดเจน มีชื่อเรียกอื่น อีก เช่น "ปลาโอวเชีย" (黑色鲳) ในภาษาแต้จิ๋ว เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ที่รสชาติสู้ปลาจะละเม็ดขาวไม่ได้ จึงมีราคาขายที่ถูกกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจะละเม็ดดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจาด

ปลาจาด เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Poropuntius (/พอร์-โอ-พุน-ชัส/) ความเป็นมาของปลาในสกุลนี้เริ่มจากแม็กซ์ วีลเฮม คาร์ล เวบเบอร์ และลีฟาน เฟอดินานด์ เดอ โบฟอร์ต ได้ตั้งสกุล Lissocheilus (ปัจจุบันถูกยกเลิกไปแล้ว) ขึ้นในปี ค.ศ. 1916 เพื่อใช้กับปลาในวงศ์ปลาตะเพียนที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยอธิบายว่า ต่อมาในปี ค.ศ. 1919 มะสึมิสึ โอชิมะ นักมีนวิทยาชาวญี่ปุ่น ได้พบว่าปลาบางส่วนของสกุล Lissocheilus มีริมฝีปากล่างแยกออกมาเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นแผ่นหนังใหญ่ ทำให้มีปัญหาในการจำแนกชนิด จึงได้ตั้งสกุล Acrossocheilus ขึ้น (ซึ่งปัจจุบันสกุลนี้ใช้ระบุปลาที่พบในประเทศเวียดนามและจีนตอนใต้ เป็นหลัก) โดยจำแนกปลาที่อยู่ในสกุล Lissocheilus เดิมที่มีลักษณะของริมฝีปากล่างตามที่กล่าวมาให้อยู่ในสกุลนี้ ต่อมา ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ได้ตั้งสกุล Poropuntius นี้ขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 โดยแยกออกจากสกุล Lissocheilus ซึ่งครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ชื่อสกุล Lissocheilus ต้องถูกยกเลิก เพราะพบว่าตั้งซ้ำซ้อนกับสกุลของหอยที่เป็นซากฟอสซิลซึ่งมีผู้ตั้งไว้ในปี ค.ศ. 1882 ดังนั้น จึงต้องหันกลับไปพิจารณาระหว่างสกุล Poropuntius กับสกุล Acrossocheilus ก็พบว่าลักษณะทางอนุกรมวิธานของสกุล Poropuntius นั้นเด่นกว่าสกุล Acrossocheilus ในปี ค.ศ. 1996 วอลเตอร์ เรนโบธ เสนอให้ใช้สกุล Poropuntius กับปลาที่แมลคัม อาร์เธอร์ สมิธ อนุกรมวิธานไว้ในปี ค.ศ. 1945 คือ ปลาจาดบ้านถ้ำ (P. bantamensis) และปลาเขยา (P. deauratus) ที่เดิมเคยใช้ชื่อสกุล Acrossocheilus เปลี่ยนมาใช้ชื่อสกุลนี้ แต่อย่างไรก็ดี ยังมีความสับสนอย่างมากในการใช้ชื่อสกุลของสกุลนี้ เรนโบธจึงเสนอขึ้นมาในปี ค.ศ. 1985 ให้ใช้สกุล Neolissocheilus ขึ้น ซึ่งปัจจุบันนี้ใช้ในกลุ่มปลาพลวง อย่างไรก็ตาม สกุล Poropuntius นี้ มีความคล้ายคลึงกับสกุล Hypsibarbus ซึ่งเป็นสกุลที่เรนโบธตั้งขึ้นเองในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้

ปลาจิ้มฟันจระเข้ (Pipefish) คือ ปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ย่อย Syngnathinae ในวงศ์ Syngnathidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับม้าน้ำและมังกรทะเล ปลาจิ้มฟันจระเข้ มีลักษณะและพฤติกรรมโดยรวมคล้ายกับปลาชนิดอื่นและสกุลอื่นที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน กล่าวคือ มีปากที่ยื่นเป็นท่อ ลำตัวหน้าตัดเป็นเหลี่ยม แต่ยาวเรียวมากดูคล้ายกิ่งไม้ ผิวหนังเป็นแผ่นแข็งเรียงต่อกันเป็นเหลี่ยมเป็นข้อ ครีบต่าง ๆ มีขนาดเล็ก ไม่มีครีบท้อง ตัวผู้ทำหน้าที่ฟักไข่โดยเก็บไว้บริเวณหน้าท้อง ลำตัวมักมีสีน้ำตาล อาจมีลายสีเข้มพาดขวางในบางชนิด หากแต่ปลาจิ้มฟันจระเข้ จะพบได้แม้ในน้ำจืดและน้ำกร่อยด้วย ซึ่งผิดไปจากปลาในวงศ์เดียวกันนี้ส่วนใหญ่ มีขนาดแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตรจนถึงฟุตกว่า ๆ ในชนิด ปลาจิ้มฟันจระเข้ยักษ์ (Doryichthys boaja) ที่พบในน้ำจืด เป็นต้น มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการนำไปทำเป็นยาจีนเช่นเดียวกับม้าน้ำ และนิยมเลี้ยงไว้ในตู้ปลาเพื่อความเพลิดเพลิน อีกทั้งยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำอีกด้วย ในการถ่ายภาพใต้น้ำในแนวปะการัง เช่น ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง (Corythoichthys haematopterus)เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้มฟันจระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง

ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง (Scribbled pipefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathidae) เป็นปลาจิ้มฟันจระเข้ชนิดหนึ่ง มีลำตัวเรียวยาว จะงอยปากสั้น ตาโต ครีบหลังอยู่ตอนกลางลำตัว ครีบหางเล็กปลายมน ครีบอกเล็ก ตามลำตัวเป็นสันเล็ก ๆ เป็นปล้องตลอดลำตัวไปจนโคนหาง มีลำตัวสีเทาอมเขียวหรือสีฟ้า และมีลายเส้นเป็นสีคล้ำหรือดำ ครีบต่าง ๆ ใสโปร่งแสง ครีบหางสีแดงเรื่อ ๆ มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร พบยาวเต็มที่ได้ถึง 19.8 เซนติเมตร ในตัวผู้ อาศัยอยู่ตามกอสาหร่ายหรือกองหินใต้น้ำ หรือแนวปะการัง ในแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่แอฟริกาตะวันออก จนถึงวานูอาตู ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อยนัก เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร ตัวผู้จะเป็นฝ่ายฟักไข่โดยติดไว้ที่หน้าท้องเป็นแพ โดยทุก ๆ เช้า ตัวเมียที่มีไข่เต็มท้องจะออกมาจากที่อาศัยเพื่อว่ายคลอเคลียกับตัวผู้เพื่อทำความคุ้นเคย ทั้งคู่จะว่ายพันกันไปมา และตัวผู้จะใช้โอกาสนี้ย้ายไข่ของตัวเมียมาไว้ที่หน้าท้องของตัวเอง โดยไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัว 10 ตัว ซึ่งตัวเมียสามารถผลิตไข่ชุดใหม่ได้เลยภายใน 20 วัน ดังนั้นปีหนึ่ง ๆ ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่างจึงสามารถผลิตลูกได้เยอะมาก นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (Shortbodied pipefish, Ghost pipefish, Harlequin ghost pipefish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (Solenostomidae) มีจะงอยปากยาว ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย มีติ่งสั้น ๆ ทั่วทั้งตัว ครีบมีขนาดใหญ่ และมีขอบเป็นเส้นสั้น ๆ ลำตัวค่อนข้างใส มีสีสันหลากหลาย ทั้งสีแดง, ขาวสลับดำหรือเหลือบสีอื่น ๆ โดยปรับเปลี่ยนสีให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัย มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 8 เซนติเมตร มักพบในแนวปะการังหรือกัลปังหาที่เขตน้ำลึก ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก มักลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ เพื่อแฝงตัวให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยกิน แพลงก์ตอนสัตว์และครัสเตเชียนขนาดเล็ก เป็นอาหาร โดยเอาส่วนหัวทิ่มลงพื้น ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ มีพฤติกรรมการวางไข่ที่แตกต่างไปจากปลาชนิดอื่นในอันดับเดียวกัน คือ ตัวเมียจะเป็นฝ่ายอุ้มท้อง โดยใช้ครีบหน้าท้องขนาดใหญ่สองครีบไว้สำหรับโอบอุ้มไข่ที่ได้รับการผสม และอุ้มท้องพาไข่ติดตัวไปด้วยตลอดเวลาจนกว่าจะฟักออกเป็นตัว โดยมีปลาตัวผู้ที่มีขนาดเล็กกว่า คอยดูแลอยู่ตลอด ซึ่งถุงครีบใต้ท้องของแม่ปลานั้นจะคอยกระพือเปิดปิดเป็นระยะ ๆ เพื่อให้น้ำทะเลและออกซิเจนที่ผสมอยู่ในน้ำไหลเวียนถ่ายเท เพื่อให้ตัวอ่อนในไข่เจริญเติบโต ซึ่งสามารถมองเห็นเป็นไข่ลูกกลม ๆ ใส ๆ หรือบางครั้งก็สามารถมองเห็นดวงตาจุดดำ ๆ คู่โตในไข่ได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า ปลาจิ้มฟันจระเจ้ปีศาจ เป็นปลาที่พบได้น้อยมาก ในน่านน้ำไทยอาจพบได้ที่หมู่เกาะสิมิลัน ไม่จัดว่าเป็นปลามีความสำคัญทางเศรษฐกิจ และปัจจุบันได้มีการจับมาจากแหล่งธรรมชาติเพื่อขายเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้ (Green ghost pipefish, Bluefinned ghost pipefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (Solenostomidae) มีจะงอยปากยาว ลำตัวแบนข้างเล็กน้อยคล้ายปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (S. paradoxus) แต่ตามตัวไม่มีติ่งเนื้อสั้น ๆ สามารถปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมได้ ทั้งสีน้ำตาล, น้ำตาลแดง หรือสีเขียว มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร โตเต็มที่ได้ถึง 15 เซนติเมตร พบว่าเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดของวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ พบกระจายพันธุ์ตามแนวปะการัง, กอหญ้าทะเล, ปะการังอ่อน หรือกัลปังหา กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก พบได้จนถึงอินโดนีเซียและออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยจัดเป็นปลาที่พบได้น้อยมาก โดยพบได้เฉพาะทะเลอันดามันเท่านั้น มีพฤติกรรมลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ อาศัยอยู่รวมกันเป็นคู่ กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนสัตว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้แคระ

ปลาจิ้มฟันจระเข้แคระ หรือ ปลาจิ้มฟันจระเข้ลำธาร (Longsnouted pipefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathidae) วงศ์ย่อย Syngnathinae มีลักษณะคล้ายปลาจิ้มฟันจระเข้ยักษ์ (D. boaja) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีลำตัวที่สั้นกว่า จะงอยปากสั้นกว่ามาก หัวเล็ก ลำตัวมีปล้อง 15-17 ปล้อง หางยาวกว่าลำตัวมาก ซึ่งแตกต่างจากปลาจิ้มฟันจระเข้ยักษ์ ลำตัวสีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลแดง และมีจุดดำเล็ก ๆ ระหว่างปล้อง ครีบใส ครีบหางสีน้ำตาลและขอบสีจาง มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ใหญ่สุด 15 เซนติเมตร อาหารได้แก่ แพลงก์ตอนสัตว์ และสัตว์น้ำขนาดเล็ก อาศัยอยู่ตามลำธารหรือแม่น้ำในภาคตะวันออกและภาคใต้ของไทยไปจนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซีย พบมากในบางแหล่งน้ำ โดยมักหลบซ่อนอยู่ตามพื้นท้องน้ำใต้ใบไม้ที่ร่วง หากินโดยคืบคลานไปกับพื้นน้ำ ตัวผู้และตัวเมียต่างกันชัดเจนในขณะที่ปลาตัวเมียโตเต็มที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้เล็กน้อย และไม่มีถุงช่องหน้าท้องที่มีไว้เพื่อเก็บไข่และลูก ๆ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้มฟันจระเข้แคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้ใบสาหร่าย

ปลาจิ้มฟันจระเข้ใบสาหร่าย หรือ ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบสาหร่าย (Halimeda ghost pipefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (Solenostomidae) มีรูปร่างคล้ายปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้ (S. cyanopterus‎) แต่มีครีบอกที่กลมมนกว่า มีลำตัวสีเขียวอมเทาคล้ายสีของสาหร่าย มีลายด่างและจุดสีเทากระจายอยู่ทั่วตัว จะงอยปากมีติ่งเป็นกระจุกสีน้ำตาล มีความยาวโดยประมาณ 6 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่ตามลำพัง โดยลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ เหนือกอสาหร่ายหรือหญ้าทะเลในพื้นทราย ในแนวปะการังที่มีหญ้าทะเลขึ้น กินแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในอินโด-แปซิฟิกตะวันตก ในน่านน้ำไทย ถือว่าเป็นปลาที่หาได้ยากมาก พบเพียงทะเลในภาคใต้ตอนล่างเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้มฟันจระเข้ใบสาหร่าย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้เขียว

ปลาจิ้มฟันจระเข้เขียว หรือ ปลาจิ้มฟันจระเข้ท้องคม (Alligator pipefish, Horned pipefish, Twobarbel pipefish, Spiraltail pipefish) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง จำพวกปลาจิ้มฟันจระเข้ (Syngnathinae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Syngnathoides ลำตัวเป็นปล้อง 15-18 ปล้อง มีปล้องส่วนหาง 40-45 ปล้อง ทั้งสันส่วนบนและส่วนล่างต่อเนื่องกับสันของส่วนหางที่อยู่ในแนวเดียวกัน ส่วนท้ายของสันด้านข้างลำตัวโค้งขึ้นสู่ด้านหลังและสิ้นสุดใกล้กับฐานครีบหลัง ลำตัวแบนจากบนลงล่าง ส่วนกลางของลำตัวกว้างที่สุด ปลายหัวตามแนวกลางมีสันแข็งไม่สูงและขอบเรียบ สันแข็งบริเวณท้ายทอยมักมีหนามแหลม ๆ เล็ก ๆ บนขอบ จุดกำเนิดของครีบหลังอยู่ตรงปล้องลำตัว ไม่มีครีบหาง ปลายหางสามารถม้วนงอได้ มีสีลำตัวสีเขียวจนถึงสีน้ำตาลหรือสีเทา และมีแต้มสีเข้มที่ไม่แน่นอนตางกันไปตามแต่ละตัว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร อาศัยอยู่ตามกอสาหร่ายและหญ้าทะเล โดยมักจะเอาส่วนหางเกาะเกี่ยวกับใบของพืชเหล่านี้ไม่ให้ไหลไปกับกระแสน้ำ แล้วตั้งตัวเป็นมุมฉากเพื่อหลีกเลี่ยงศัตรูผู้ล่าและดักจับแพลงก์ตอนสัตว์กินเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ปัจจุบัน เป็นปลาที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามตามตู้ปลาหรือในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้มฟันจระเข้เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้งจก

ปลาจิ้งจก (Gecko fish, Lizard fish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ย่อย Balitorinae ในวงศ์ใหญ่ Balitoridae ใช้ชื่อสกุลว่า Homaloptera (/โฮ-มา-ล็อพ-เทอ-รา/) มาจากภาษากรีกคำว่า "Homalos" หมายถึง "แบน" กับคำว่า "pteron" หมายถึง "ปีก, ครีบ" มีลักษณะสำคัญ คือ มีเกล็ดเล็กสามารถมองด้วยตาเปล่าเห็น อาศัยอยู่ตามลำธารบนภูเขาที่มีกระแสน้ำเชี่ยว ลำตัวเรียวยาว ใต้หัวและลำตัวตอนหน้าแบนราบ จะงอยปากกลมมน นัยน์ตาอยู่สูง จมูกมีข้างละ 2 คู่ จมูกแต่ละคู่มีแผ่นเนื้อเยื่อคั่น ปากโค้งเป็นรูปวงเดือน มุมปากแคบ ริมฝีปากหนา ขากรรไกรหนาและมีขอบแข็ง หน้าจะงอยปากมีหนวด 2 คู่ และที่มุมปาก 1 คู่ รวมเป็น 3 คู่ ครีบหลังสั้นอยู่ตรงข้ามกับครีบท้อง ครีบอกและครีบท้องอยู่ในแนวเดียวกัน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยว 2-5 ก้าน และก้านครีบแขนง 8-12 ก้าน ครีบท้องมีก้านครีบ 8-12 ก้าน ครีบหางเว้าลึก มีเส้นข้างลำตัวปรากฏให้เห็น ช่องเหงือกแคบและอยู่หน้าครีบอก สามารถแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจิ้งจก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจุมพรวด

ปลาจุมพรวด หรือ ปลาตีนจุดฟ้า (Blue-spotted mudskipper, Boddart's goggle-eyed goby) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ในวงศ์ย่อยปลาตีน (Oxudercinae) มีรูปร่างเหมือนปลาตีนทั่วไป โดยมีจุดเด่น คือ มีลำตัวสีเข้มจนเกือบดำ และมีจุดสีฟ้ากระจายอยู่ทั่วตัว ซึ่งเชื่อว่าแถบสีข้างลำตัวนี้ สามารถบ่งบอกถึงอารมณ์ของปลาในตอนนั้นได้อีกด้วย หากช่วงเวลาไหนอารมณ์ดีรู้สึกปลอดภัย แถบสีก็จะเห็นเด่นชัด แต่ถ้าหากอยู่ในอารมณ์ตื่นตกใจ แถบสีข้างลำตัวก็จะจางจนบางครั้งแทบมองไม่เห็น เป็นปลาตีนขนาดเล็ก มีขนาดความยาวประมาณ 6-8 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 22 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในป่าชายเลนที่เป็นพื้นโคลนเลนตั้งแต่อ่าวเปอร์เซีย, อินโด-แปซิฟิก, อินเดีย, จีนตอนเหนือ จนถึงนิวกินี เป็นปลาตีนอีกชนิดหนึ่ง ที่ถูกจับมากินโดยคนพื้นถิ่น และจับเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจุมพรวด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจีด

ปลาจีด หรือ ปลาเมง ในภาษาใต้(Stinger catfish, Heteropneustid catfish, Airsac catfish) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Heteropneustidae (/เฮท-แอร์-โอ-นิวส์-ทิ-ดี้/) มีเพียงสกุลเดียว คือ Heteropneustes (/เฮท-แอร์-โอ-นิวส์-ทิส/) มีรูปร่างคล้ายปลาใน วงศ์ปลาดุก (Clariidae) แต่มีลำตัวยาวเรียวและแบนข้างกว่ามาก ส่วนหัวแบนลาดลงข้างล่าง ปากเล็ก ตาเล็ก มีหนวดค่อนข้างยาว 4 คู่รอบปาก ครีบหลังมีขนาดเล็ก อยู่ตรงกับครีบท้อง ครีบหูมีก้านครีบที่เป็นหนามแหลมหนึ่งอัน มีพิษแรงกว่าปลาดุกมาก ครีบก้นเป็นแผง ครีบหางกลมมน ไม่มีครีบไขมัน ครีบก้นเล็ก ตัวมีสีดำคล้ำหรือสีน้ำตาลอมแดง และอาจมีแถบสีขาวจางบนข้างลำตัวข้างละ 1-2 แถบตามความยาวลำตัว นอกจากนี้แล้วปลาจีดยังมีอวัยวะช่วยหายใจที่แตกต่างไปจากปลาในวงศ์ Clariidae ชนิดและสกุลอื่น คือ มีท่อยื่นยาวจากช่องเหงือกไปทางด้านท้ายของลำตัว 1 คู่ Nelson, J. S.: Fishes of the World, John Wiley & Sons, Inc., p, 2006 ISBN 0-471-25031-7 ปลาจีดพบได้ในทุกแหล่งน้ำทั่วประเทศไทย รวมทั้งพบในประเทศใกล้เคียง ตั้งแต่ อินเดีย, ปากีสถาน, ศรีลังกา, พม่า จนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซียด้วย สำหรับในประเทศไทย ใกล้สูญพันธุ์แล้วในภาคกลาง แต่ในภาคใต้ยังพบมากอยู่ และมีการนิยมเพาะเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจด้วยการผสมเทียมในบ่อเลี้ยง ปลาจีดจะแพร่พันธุ์วางไข่ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน โดยแม่ปลาที่มีน้ำหนักตัว 70-100 กรัม สามารถวางไข่ได้ประมาณ 2,500-4,000 ฟอง โดยไข่มีลักษณะเป็นไข่จมน้ำและมีสภาพเกาะตัวติดกัน นอกจากนี้แล้ว ปลาจีดยังถูกนิยมรวบรวมปลาวัยอ่อนที่พบในธรรมชาติ เลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจีด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจีดอินเดีย

ปลาจีดอินเดีย หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ปลาจีด (Stinger catfish, Airsac catfish) ปลาน้ำจืดในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heteropneustes fossilis ในวงศ์ Heteropneustidae จัดเป็นหนึ่งในชนิดที่อยู่ในสกุล Heteropneustes ซึ่งมีพบขณะนี้เพียง 2 ชนิดเท่านั้น (อีกชนิดหนึ่งนั้นคือ H. kemratensis) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาจีดชนิด H. kemratensis เพียงแต่ปลาจีดชนิดนี้ จะมีแถบสีขาวจางบนข้างลำตัวข้างละ 1-2 แถบตามความยาวลำตัว ซึ่งดูแล้วจะมีสีคล้ำกว่า ซึ่งทั้ง 2 ชนิดนี้มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต และมีน้ำหนักประมาณ 60-120 กรัม นอกจากนี้แล้วยังสามารถพบได้กว้างขวางกว่า กล่าวคือ พบได้แต่ตั้งแต่อินเดีย, พม่า, ศรีลังกา จนถึงกลุ่มประเทศอินโดจีน รวมถึงในลุ่มน้ำเจ้าพระยา, ลุ่มน้ำน่าน และลุ่มน้ำโขง ในประเทศไทย ปลาจีด นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจในภาคใต้ของไทย โดยมีชื่อเรียกในภาษาใต้ว่า "ปลาเมง" และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาจีดอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาถ้ำ

ำพวกปลาคาราซิน (Characidae) พบในตอนใต้ของสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปลาถ้ำ (Cave fish) คือปลาที่อาศัยอยู่ในถ้ำที่มืดมิด โดยมากจะเป็นปลาที่มีผิวหนังสีขาวซีดเผือกและตาบอดหรือตาเล็กมากเนื่องจากไม่ได้ใช้สายตาให้เป็นประโยชน์เลย เพราะแสงสว่างส่องเข้าไปไม่ถึง ปลาถ้ำจะมีระบบนิเวศน์และพฤติกรรมของตัวเองโดยเฉพาะ แตกต่างจากปลาที่พบทั่วไป ซึ่ง ปลาถ้ำสามารถพบได้ในถ้ำทุกภูมิภาคของโลก ในส่วนของทวีปยุโรป เพิ่งจะมีการค้นพบปลาถ้ำเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาถ้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทรงเครื่อง (สกุล)

ปลาทรงเครื่อง (Epalzeorhynchos) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ เป็นปลาขนาดเล็ก รูปร่างเพรียวทรงกระบอก แบนข้างเล็กน้อย หัวเป็นทรงกรวย จะงอยปากมีติ่งเนื้อยื่นออกมาสองข้าง ปลายติ่งเนื้อนี้สามารถกระดิกได้ หนังที่จะงอยปากติดเป็นแผ่นเดียวกับริมฝีปากบน มีขอบหยักเป็นชายครุย และคลุมช่องปากในขณะที่หุบปาก มีหนวด 1-2 คู่ ช่องเหงือกแคบอยู่ค่อนไปทางท้อง เยื่อขอบกระดูกแก้มติดต่อกับกล้ามเนื้อคาง มีฟันที่คอ 3 แถว ครีบหลังสั้นไม่มีก้านครีบแข็ง จุดเริ่มของครีบหลังอยู่ล้ำหน้ากึ่งกลางลำตัว และมีก้านครีบแขงประมาณ 10-13 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน เป็นปลาที่มักหากินอยู่ตามพื้นท้องน้ำ โดยแทะเล็มกินตะไคร่น้ำ, สาหร่าย หรืออินทรียสารต่าง ๆ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจ ปลาในสกุลนี้มีความคล้ายคลึงกับปลาในสกุล Crossocheilus, Garra และ Labeo มาก โดยถือว่าอยู่วงศ์ย่อยหรือเผ่าเดียวกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทรงเครื่อง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทอง (สกุล)

ปลาทอง (Goldfish, Common carp, Crucian carp) เป็นสกุลของปลาน้ำจืด ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Carassius (/คา-ราส-สิ-อัส/) ในวงศ์ย่อย Cyprininae เป็นปลาที่มนุษย์คุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เหมือนกับปลาในสกุล Cyprinus ที่เดิมอยู่รวมอยู่ด้วยกันมาก่อน ในฐานะของปลาที่เป็นปลาใช้ในการบริโภค และต่อมาได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีรูปร่าง และสีสันสวยงามมากขึ้น เพื่อเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยชาวจีนเมื่อกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างทั่วไปเหมือนกับปลาในสกุล Cyprinus จุดที่แตกต่างกันคือ ไม่มีหนวดที่ริมฝีปาก และมีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่เฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออก และบางส่วนในรัสเซียเท่านั้น ขณะที่บางชนิดเป็นปลาเฉพาะถิ่นพบได้เฉพาะทะเลสาบบิวะ ที่ประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทอง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทองทะเล

ำหรับปลาน้ำจืดดูที่ ปลาทอง ปลาทองทะเล หรือ ปลากะรังจิ๋วสีทอง (Lyretail basslet, Sea goldie) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) จัดเป็นปลากะรังจิ๋วชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายปลาการ์ตูน มีครีบหลังต่อเนื่องกัน ครีบหางเว้าตื้นเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวตื้น ครีบอกเล็ก ลำตัวมีสีแดงหรือสีชมพู มีแถบสีแดงพาดตั้งแต่ปลายปากผ่านตาถึงข้างแก้ม ครีบมีขลิบสีฟ้า และครีบอกมีแต้มสีแดง เป็นปลาที่มีความแตกต่างระหว่างเพศสูง โดย ตัวผู้ ที่ครีบหลังตอนหน้ามีก้านครีบยาวเป็นเส้น มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 8 เซนติเมตร และสามารถโตเต็มที่ได้ถึง 15 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่ใกล้กองหินหรือแนวปะการังก้อนใหญ่ หรือตามกิ่งก้านของกัลปังหา ในความลึกตั้งแต่ 2-20 เมตร โดยที่มีตัวผู้เป็นจ่าฝูง โดยจะมีตัวเมียนับร้อย และมีปลาเพศผู้อยู่ 1-2 ตัวเท่านั้น และเมื่อปลาตัวผู้มีอันเป็นไป ปลาตัวเมียในฝูงจะเปลี่ยนเพศกลายเป็นปลาตัวผู้ทันที ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนแปลงจะเกิดภายในเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร และมีอัตราการเผาพลาญพลังงานสูงมาก เป็นปลาที่มักอยู่ไม่นิ่ง จะว่ายน้ำไปมาตลอด นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทองทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทาทูเอีย

ปลาทาทูเอีย หรือชื่อที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า ปลาอามาทัสหางแดง (Tatauaia, Red-tailed payara) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrolycus tatauaia จัดอยู่ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาในสกุลเดียวกันคือ Hydrolycus ชนิดอื่น ๆ มาก เช่น ปลาสคอมบิรอยด์ (H. scomberoides) หรือ ปลาอามาทัส (H. armatus) แต่ทว่า ปลาทาทูเอียจะมีส่วนหัวหรือปากที่เชิดขึ้นน้อยกว่าปลาสคอมบิรอยด์ แต่มากกว่าปลาอามาทัส ลำตัวเพรียวยาวกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็ไม่เท่าปลาอามาทัส ส่วนท้องโย้ลงมาด้านล่างเป็นสันน้อยกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็มากกว่าปลาอามาทัส การทรงตัวในน้ำส่วนหัวจะทิ่มลงน้อยกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็มากกว่าปลาอมาทัสซึ่งมักจะทรงตัวเป็นแนวราบมากกว่า อีกทั้งมีดวงตาที่กลมโตกว่า อีกทั้งปลาในสกุลนี้ เมื่อยังเล็ก จะมีสีสันและลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ยากแก่การแยกแยะ โดยที่ปลาทาทูเอียจะคงสีครีบและหางเป็นสีส้มแดงจนถึงวัยเติบโตเต็มที่ ขณะที่ยังเป็นปลาวัยรุ่นครีบต่าง ๆ จะเป็นสีทอง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 45.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำอเมซอน ตอนบนของแม่น้ำโอรีโนโกแถบประเทศบราซิล, โคลอมเบีย และกายอานา นิยมตกกันเป็นเกมกีฬาและเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในบางครั้งอาจพบปะปนกันมาพร้อมกันทั้ง 3 ชนิด และขายในชื่อและราคาเดียวกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทาทูเอีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทู (สกุล)

ปลาทู (Rastrelliger) เป็นสกุลปลาทะเลสกุลหนึ่งในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับปลาอินทรี, ปลาโอ และปลาทูน่า มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงบริเวณกลางน้ำถึงผิวน้ำ ตั้งแต่บริเวณชายฝั่งจนถึงระดับความลึก 200 เมตร ในน่านน้ำไทยพบทั้งหมด 3 ชนิด ปลาในสกุลนี้เป็นปลาที่ผูกพันกับวิถีชีวิตคนไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาหารทะเลหลักของคนไทยมาช้านาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทู (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ

ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ หรือ ปลาทูน่ายักษ์ (Northern bluefin tuna, Atlantic bluefin tuna, Giant blufin tuna; タイセイヨウクロマグロ) ปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอหรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรเขตอบอุ่นระหว่างละติจูดที่ 5-50 องศาเหนือ สามารถอยู่อาศัยบริเวณผิวน้ำในระยะอุณหภูมิกว้างมากพบการแพร่กระจายบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกฝั่งตะวันตกและมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออก มีลักษณะพิเศษที่เห็นได้เด่นชัดคือ ความกว้างที่สุดของลำตัวปลาอยู่ทางตอนต้นของครีบหลังอันที่หนึ่ง ตัวค่อนข้างอ้วนสั้น หัวโต ตาโต ครีบหลังแยกออกเป็นสองส่วนอย่างชัดเจน ที่คอดหางมีสีดำ มีขนาดความยาวที่สุดมากกว่า 300 เซนติเมตร แต่ที่พบทั่วไปมีขนาด 200 เซนติเมตร โดยตัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่บันทึกได้ คือ ยาว 458 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 684 กิโลกรัม มีอายุยืนยาวกว่า 30 ปี และเป็นสัตว์เลือดอุ่น เพราะร่างกายมีระบบปรับอุณหภูมิอย่างยอดเยี่ยม สามารถดูดซึมออกซิเจนไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงสูง มีกลไกการทำงานของหัวใจที่ยอดเยี่ยม จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ นั้นเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญเช่นเดียวกับปลาทูน่าชนิดอื่น ๆ โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น เป็นปลาที่ชาวญี่ปุ่นทำการประมงมานานกว่า 5,000 ปี โดยชาวพื้นเมืองชาวไฮดาในแถบแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือหน้า 18 เรื่องเล่าจากต่างแดน, ราชาแห่งมัจฉ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าครีบเหลือง

ปลาทูน่าครีบเหลือง (Yellowfin tuna, Allison's tuna, Pacific long-tailed tuna, Yellowfinned albacore) ปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาทูน่าหรือปลาโอที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง แต่เล็กกว่าปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ (T. thynnus) และปลาทูน่าครีบน้ำเงินแปซิฟิค (T. orientalis) พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่น ระหว่างละติจูดที่ 40 องศาเหนือ ถึง 40 องศาใต้ มักชอบว่ายน้ำตั้งแต่ผิวน้ำจนถึงความลึกประมาณ 300 เมตร ในระดับอุณหภูมิ 18-31 องศาเซลเซียส มีลักษณะพิเศษที่เห็นได้ชัดคือ ความกว้างที่สุดของลำตัวปลาอยู่บริเวณกึ่งกลางของครีบหลังอันแรก ครีบหลังอันแรกแยกออกจากครีบหลังอันที่สองอย่างชัดเจน ครีบหูมีความยาวถึงกึ่งกลางของฐานครีบหลังอันที่สองในปลาทูน่าขนาดใหญ่ ครีบหลังอันที่สองและครีบก้นมีขนาดยาวมาก (ยาวกว่าความยาวของครีบหลังร้อยละ 20) เมื่อผ่าท้องออกดูจะพบว่าด้านล่างของตับจะไม่ลาย ด้านหลังเป็นสีน้ำเงินดำ แล้วค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง และสีน้ำเงินด้านล่างของลำตัว ปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดใหญ่ขนาดใหญ่จะพบจุดสีเข้มเป็นแถวตามแนวดิ่งประมาณ 20 แถว ครีบหลังและครีบก้นมีสีเหลืองสด มีครีบเล็กสีเหลืองจำนวน 7-10 คู่ และที่ปลายของครีบเล็กจะเป็นสีดำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีความยาวมากกว่า 2 เมตร (วัดจากปากถึงเว้าครีบหาง) และมีหน้ำหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม แต่ที่พบทั่วไปมีขนาด ประมาณ 0.5-1.5 เมตร เริ่มเข้าสู่ภาวะโตเต็มวัยเมื่อมีความยาว 50-60 เซนติเมตร และร้อยละของปลาที่โตเต็มวัยจะสูงขึ้นเมื่อมีความยาวมากกว่า 70 เซนติเมตร ปลาทูน่าครีบเหลืองทุกตัวจะอยู่ในภาวะโตเต็มวัยเมื่อมีความยาว มากกว่า 120 เซนติเมตร มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 9 ปี ไข่เป็นลักษณะไข่ลอยไปตามกระแสบนผิวน้ำ เมื่อฟักเป็นตัวใช้เวลา 2 ปี จึงจะมีสภาพโตเต็มที่ ลูกปลาแรกฟักมีความยาว 3 มิลลิเมตร ถึงแม้จะว่ายน้ำได้ แต่ก็ไม่คล่องแคล่ว จนกระทั่งอีกหลายปสัดาห์ต่อมาจึงสามารถว่ายน้ำได้อย่างคล่องแคล่ว แต่ลูกปลาวัยอ่อนไม่สามารถที่จะปกป้องตัวเองได้ จึงตกเป็นอาหารของสัตว์นักล่าต่าง ๆ เสมอ ปลาทูน่าครีบเหลืองเป็นปลาที่นิยมรับประทานสด และเป็นวัตถุดิบในการทำปลากระป๋อง จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมากอีกชนิดหนึ่ง อุปกรณ์ในการประมงที่ใช้ในการจับ คือ อ้วนล้อม, เบ็ดตวัด, อวนลอย และเบ็ดราว มีราคาซื้อขายสูงถึงกิโลกรัมละ 2,000 บาท เป็นปลาที่มีส่วนที่เป็นเนื้อแดงเยอะ ที่เรียกกันในภาษาญี่ปุ่นว่า "ชูโทะโระ" (中とろ).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทูน่าครีบเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าแท้

ปลาทูน่าแท้ (true tuna, real tuna) เป็นสกุลของปลาทะเลขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง จำพวกปลาทูน่า ใช้ชื่อสกุลว่า Thunnus จัดอยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) ปลาทูน่าแท้เป็นปลาที่มีวิวัฒนาการชั้นสูง ทำให้มีรูปร่างปราดเปรียวเพรียวยาวเหมือนตอร์ปิโด ลำตัวสีเงินแวววาว ถือเป็นปลาที่เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีเหงือกมีขนาดใหญ่ ร่างกายมีระบบปรับอุณหภูมิที่ดีเยี่ยม สามารถดูดซึมออกซิเจนไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงสูง และมีกลไกการทำงานของหัวใจที่ดีเยี่ยม มีครีบแข็งทรงโค้งทั้งครีบทวารและครีบหลังอันที่สอง ส่วนครีบหางที่ใช้แหวกว่ายหักเลี้ยวได้อย่างว่องไวเป็นตัวขับเคลื่อนไปข้างหน้า ด้วยสรีระดังกล่าว จึงทำให้ปลาทูน่าแท้เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้เร็วมากกลุ่มหนึ่งในมหาสมุทร โดยสามารถทำความเร็วไปข้างหน้าได้ราว 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และสูงถึงเกือบ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และทำความเร็วสูงสุดได้ถึง 70-74 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นรองเพียงปลากระโทงแทง ซึ่งเป็นปลาที่ว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลกเท่านั้นซึ่งคำว่า Thunnus นั้นมาจากคำ 2 คำในภาษาละตินหรือภาษากรีกโบราณคำว่า θύννος (thýnnos) แปลว่า “ปลาทูน่า” และ θύνω (thynō) แปลว่า "ที่พุ่ง; ที่โผ" ทั้งหมดเป็นปลาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการเป็นปลาเศรษฐกิจ ทั้งในการประมงและตกเป็นเกมกีฬา มีราคาซื้อขายกันที่สูงมาก และสามารถปรุงเป็นอาหารต่าง ๆ ได้หลากหลายทั้งรับประทานเนื้อสด ๆ แบบปลาดิบของญี่ปุ่น และปรุงเป็นเมนูอาหารต่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทูน่าแท้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าเขี้ยวหมา

ปลาทูน่าเขี้ยวหมา หรือ ปลาโอฟันหมา (Dogtooth tuna, Scaleless tuna) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอ หรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง ที่มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Gymnosarda มีรูปร่างเพรียวยาวเป็นทรงกระสวยหรือตอร์ปิโดป้อม ครีบหลังตอนท้ายคล้ายกับของปลาทู ครีบหางเว้าลึก โคนครีบมีสันเล็ก ๆ ผิวเรียบ บริเวณครีบอกมีแถบเกล็ดหนา ครีบอกมีขนาดเล็ก ลำตัวสีเงินอมฟ้า มีลายเส้นสีคล้ำที่ด้านท้าย ด้านท้องสีจาง ครีบสีคล้ำ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 100 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร โตเต็มที่ได้ถึง 160 เซนติเมตร หรือ 1.6 เมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่ลำพังเพียงตัวเดียวหรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ในระดับกลางน้ำในทะเลเปิดในแนวปะการังที่ค่อนข้างลึก หรือข้างเกาะ พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาที่พบได้น้อย นิยมตกเป็นเกมกีฬา และบริโภคเป็นปลาเศรษฐก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทูน่าเขี้ยวหมา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูแขก

ปลาทูแขก (mackerel scad, round scad, horse mackerel) เป็นปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Decapterus (/ดี-แคป-เท-รัส/) จัดอยู่ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีรูปร่างเรียวยาว แต่ตัวกลมเนื้อหนาแน่น มีเกล็ดหนามแข็งที่โคนหางอันเป็นเอกลักษณะเฉพาะตัวของปลาในวงศ์ปลาหางแข็ง ดูเผิน ๆ คล้ายกับปลาลัง (Rastrelliger kanagurta) หรือปลาทูปากจิ้งจก (R. faughni) ที่อยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ทั่วโลก เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ แต่รับประทานสดจะไม่อร่อย จึงนิยมใช้ทำปลากระป๋องแทนปลาซาร์ดีนหรือปลาทู.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาทูแขก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน คือ ชนิดของปลาที่พบได้ในลุ่มแม่น้ำสาละวิน ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยและประเทศพม่า แม่น้ำสาละวิน นับเป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่มีความยาว 2,800 กิโลเมตร มีจุดกำเนิดที่เทือกเขาหิมาลัยไหลผ่านประเทศจีน, พม่า, ไทย และไหลลงมหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ มีความหลากหลายของชนิดปลาที่พบได้ในแม่น้ำแห่งนี้ ซึ่งรวมถึงแควสาขาของแม่น้ำด้วย เช่น แม่น้ำปาย, แม่น้ำเมย, แม่น้ำยวม, แม่น้ำกษัตริย์, แม่น้ำสุริยะ และรวมไปถึงแม่น้ำอื่นที่อยู่ใกล้เคียงกัน เช่น แม่น้ำบีคลี, แม่น้ำซองกาเลีย, แม่น้ำรันตี โดยหลายชนิดเป็นปลาในสกุลที่พบได้มากในประเทศอินเดียและอนุทวีปอินเดีย ซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงกัน หลายชนิด หลายสกุลก็เป็นปลาที่พบเฉพาะลุ่มแม่น้ำสาละวินที่เดียวด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำแม่กลอง

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำแม่กลอง มีชนิดปลามากกว่า 200 ชนิด และเป็นปลาเฉพาะถิ่นและปลาท้องถิ่นประมาณ 20 ชนิด โดยปลาในลุ่มแม่น้ำนี้หลายชนิดซ้ำซ้อนกับปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน ที่เป็นลุ่มแม่น้ำใกล้เคียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา

้เฉพาะแม่น้ำเจ้าพระยาที่เดียวเท่านั้น ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นปลาที่พบได้ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา อันเป็นแม่น้ำหลักของประเทศอีกลุ่มแม่น้ำหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันมีการค้นพบปลาในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยานี้แล้วไม่ต่ำกว่า 350 ชนิด นับเป็นอันดับ 2 รองจากลุ่มแม่น้ำโขงหนังสือปลาไทยคืนถิ่น ลุ่มน้ำเจ้าพระยา กรมประมง มีนาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขาไก่

ปลาขาไก่ (blue sheatfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) มีรูปร่างเพรียว ลำตัวแบนข้าง ส่วนหัวสั้น ปากเล็ก ตาโตอยู่ต่ำกว่ามุมปาก ส่วนหลังไม่ยกสูง มีหนวดยาว 2 คู่ หนวดที่ริมฝีปากยาวถึงบริเวณขอบฝาปิดเหงือก หนวดใต้คางสั้น ครีบหลังเล็กมากเห็นเป็นเส้นสั้น ๆ ครีบอกใหญ่มีก้านแข็งที่ยาวเกือบเท่าความยาวของครีบ ครีบก้นยาว มีหางเว้าตื้น ตัวมีสีเหลืองอ่อนเหลือบเขียว ตัวค่อนข้างใส ครีบสีจาง ขอบครีบก้นมีสีคล้ำเช่นเดียวกับครีบหาง ครีบอกในตัวผู้ที่โตเต็มวัยมีสีคล้ำ มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 20 เซนติเมตร อาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่ มักย้ายถิ่นขึ้นมาในบริเวณน้ำหลากในฤดูฝน โดยกินอาหารได้แก่ แมลงและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในแม่น้ำของทุกภาค ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน บริโภคโดยการปรุงสด หรือนำมาทำเป็นปลาแห้ง ปลารมควัน นอกจากนี้ยังมีการรวบรวมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย แค่ค่อนข้างเลี้ยงยาก เนื่องจากเป็นปลาขี้ตกใจ ตายง่าย ปลาขาไก่ มีชื่อเรียกที่เรียกกันหลากหลายแตกต่างกันออกไป เช่น "ปลาเพียว" ที่ภาคอีสาน "ปลากะปิ๋ว" ที่ จังหวัดปราจีนบุรี "ปลาปีกไก่" หรือ "ปลานาง" หรือ "ปลาดอกบัว" ในแถบแม่น้ำโขงและแม่น้ำมูล หรือบางครั้งเรียก "ปลาหางไก่" หรือ "ปลาไส้ไก่" เป็นต้น ซึ่งนอกจากปลาชนิดนี้แล้ว ชื่อเหล่านี้ยังเป็นชื่อที่เรียกปลาชนิดอื่น ๆ ในสกุลเดียวกันที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาขาไก่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขิ้ง (สกุล)

ปลาขิ้ง (Chagunius) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เดิมที ปลาในสกุลนี้ ฮิว แมคคอร์มิค สมิธได้ตั้งสกุลนี้ขึ้นมาโดยใช้ Cyprinus chagunio ที่พบในประเทศอินเดีย เป็นตัวแทนของสกุล มีลักษณะเด่น คือ หัวแบนข้าง มีหนวดยาว 2 คู่ ที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และมุมปาก 1 คู่ โดนหนวดที่จมูกมีกล้ามเนื้อเป็นพู ซี่กรองเหงือกคู่แรกเป็นรูปสามเหลี่ยมมี 9 อัน ที่จะงอยปากและแก้มมีติ่งเนื้อขนาดเล็กลักษณะคล้ายหนวดสั้น ๆ ตัวผู้จะมีติ่งเนื้อมากกว่าตัวเมีย ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ปัจจุบัน มีทั้งหมด 3 ชนิด พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอินเดียและพม่า สำหรับประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียวในลุ่มแม่น้ำสาละวิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาขิ้ง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขี้ยอก

ปลาขี้ยอก หรือ ปลาหนามไผ่ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ที่ใช้ชื่อสกุลว่า Mystacoleucus (/มีส-ทา-โค-ลิว-คัส/) เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างโดยรวมเหมือนปลาในวงศ์นี้ส่วนใหญ่ โดยมีรูปร่าวยาวปานกลาง ลำตัวค่อนข้างแบนมาก ท้องกลม หัวมีขนาดเล็ก นัยน์ตามีขนาดโต บนจะงอยปากมีรูพรุนเล็ก ๆ เรียงเป็นแถว ๆ ปากอยู่เกือบปลายสุด ริมฝีปากบาง บางชนิดมีหนวด 2 คู่ (จะงอยปาก 1 คู่ และมุมปาก 1 คู่) บางชนิดมีหนวด 1 คู่ (มุมปาก) บางชนิดไม่มีหนวด มีฟันที่ลำคอ 3 แถว เกล็ดมีขนาดปานกลาง เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์และส่วนปลายไปสิ้นสุดที่กึ่งกลางของฐานครีบหาง หน้าครีบหลังมีก้านกระดูกเป็นหนามแหลม 1 ก้าน ครีบหลังอยู่ตรงข้ามฐานครีบท้อง ก้านครีบเดี่ยวก้านก้านสุดท้ายของครีบหลังเป็นหนามแข็ง และมีขอบจักเป็นฟันเลื่อย ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของสกุล อันเป็นที่มาของชื่อเรียก หรือในบางชนิดก็มีก้านครีบเดี่ยวนี้ไม่เป็นหนามแข็งและขอบเรียบ ก้านครีบแขนงของครีบหลังมี 8 หรือ 9 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 6-10 ก้าน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาขี้ยอก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขี้ควาย

ปลาขี้ควาย หรือ ปลาขี้ขุย (Star-gazing stonefish, Stareye goblinfish.) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหิน (Synanceiidae) จัดว่าเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Trachicephalus มีตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวสั้น ปากกว้างเชิดขึ้น ลำตัวมีรอยด่างสีนํ้าตาล มักมีจุดขาวประปราย ขอบครีบเป็นสีดำคลํ้า เงี่ยงมีพิษ ซ่อนตัวอยู่ตาม ซอกหินหรือพื้นท้องทะเล มีขนาดความยาวเต็มที่ 8 เซนติเมตร (3.1 นิ้ว) พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก มักอาศัยอยู่กับพื้นน้ำที่เป็นโคลนหรือเลน และอาจพบได้ตามปากแม่น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาขี้ควาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขี้ตัง

ปลาขี้ตัง หรือ ปลาตะกรับ (Scats) เป็นปลาน้ำเค็มสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะกรับ (Scatophagidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Scatophagus (/สะ-แคท-โท-ฟา-กัส/) มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) คือ รูปร่างกลมและแบนข้างมาก แต่จะงอยปากไม่ยื่นยาว ปากเล็ก ครีบหลังมีก้านครีบแข็งแหลมคม รวมถึงก้านครีบก้น ซึ่งก้านครีบดังกล่าวมีสารพิษ ที่อาจตำหรือแทงถูกมือของผู้ที่จับต้องได้ แต่ทว่าก็ก่อให้เกิดพิษน้อยมาก จำแนกออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาขี้ตัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขี้ตังเบ็ด

ปลาขี้ตังเบ็ด หรือ ปลาเซอร์เจี้ยน (Lancetfish, Surgeonfish, Tang) เป็นปลาทะเลกลุ่มหนึ่ง ในสกุล Acanthurus (/อะ-แคน-ทู-รัส/) ในวงศ์ปลาขี้ตังเบ็ด (Acanthuridae) เป็นปลาที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ จัดเป็นสกุลต้นแบบของวงศ์นี้ โดยรวมแล้วมีขนาดกว่าสกุลอื่น ๆ มักกินสาหร่ายเส้นใยเป็นอาหาร มักอาศัยรวมกันเป็นฝูงใหญ่ บางครั้งจะว่ายรวมตัวกันกับปลาในวงศ์อื่น เช่น วงศ์ปลานกแก้ว (Scaridae) พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแนวปะการัง ของทะเลและมหาสมุทรแถบอินโด-แปซิฟิก มีขนาดตั้งแต่ 15-50 เซนติเมตร (5.9-19.7 นิ้ว) เป็นปลาที่มีสีสันหรือลวดลายสดใสสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกเฉพาะในวงการว่า "ปลาแทงค์" นอกจากนี้แล้ว ปลาในสกุลนี้ บริเวณโคนหางยังมีหนามแหลมที่เมื่อสัมผัสกับมือเปล่า ๆ ทำให้เกิดบาดแผลได้ และหนามดังกล่าวยังมีพิษ พิษของปลาขี้ตังเบ็ดมีฤทธิ์คล้ายกับพิษของกลุ่มปลากะรังหัวโขนหรือปลาสิงโต แต่มีความรุนแรงน้อยกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาขี้ตังเบ็ด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า

ปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า หรือชื่อที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า ปลาบลูแทง (blue tang, regal tang, palette surgeonfish, royal blue tang, hippo tang, flagtail surgeonfish, blue surgeonfish, Pacific regal blue tang) เป็นปลาทะเลที่อาศัยตามแนวปะการังที่มีสีสันสดใส จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จัดอยู่ในวงศ์ปลาขี้ตังเบ็ด (Acanthuridae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล ParacanthurusFroese, Rainer, and Daniel Pauly, eds.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาข้าวเม่า

ำหรับปลาข้าวเม่าที่เป็นปลาซิวหรือปลาแปบ ดูที่: ปลาข้าวเม่า (ปลาซิว) ปลาข้าวเม่า (Asian glassfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาแป้นแก้ว (Ambassidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Parambassis (/พา-แรม-บาส-ซิส/) ปลาในสกุลนี้มีเกล็ดค่อนข้างเล็ก มีเกล็ดบนเส้นข้างลำตัวประมาณ 40-60 แถว บนกระดูกแก้มมีเกล็ด 4-7 แถว ไม่มีฟันที่ปลายลิ้น กระดูกแก้ม 2 ชิ้นที่อยู่ใกล้ตามีขอบจักเป็นฟันเลื่อย ลำตัวบางใส ครีบทุกครีบใส ในบางชนิดอาจมีตัวเป็นสีสันต่าง ๆ ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง กิน แมลงและแพลงก์ตอนสัตว์ และสัตว์น้ำขนาดเล็กรวมทั้งตะไคร่น้ำเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงอินโดนีเซีย และออสเตรเลีย มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 2-7 เซนติเมตร โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด พบในออสเตรเลีย คือ P. gulliveri ที่มีขนาดใหญ่ได้ถึงเกือบ 30 เซนติเมตร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น ซึ่งชาวประมงจะนิยมจับกันในเวลากลางคืน โดยใช้แสงไฟจากนีออนล่อให้ขึ้นมากินแมลงที่มาเล่นไฟเหนือน้ำ โดยจะจับได้ทีละมาก ๆ โดยในภาษาไทยจะเรียกปลาในสกุลนี้รวม ๆ กันว่า "แป้น", "แป้นแก้ว", "แว่น", "คับข้อง" หรือ "ขี้ร่วง" ในบางท้องถิ่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาข้าวเม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาข้าวเม่า (ปลาซิว)

ำหรับปลาข้าวเม่าที่มีลำตัวใส ดูที่: ปลาข้าวเม่า ปลาข้าวเม่า เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กที่อยู่ในสกุล Chela (/เคล-อา/) ในวงศ์ปลาตะเพียน จัดเป็นปลาซิวหรือปลาแปบจำพวกหนึ่ง มีลำตัวยาวไม่เกิน 10 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในลำธารและบ่อน้ำขนาดเล็ก ๆ ลำตัวแบนข้างมาก ส่วนท้องที่อยู่ระหว่างคางจนถึงครีบท้องแบนเป็นสัน ปากเล็กและเฉียงขึ้นบน เส้นข้างลำตัวอยู่ต่ำและโค้งขนานไปกับแนวท้อง ปลายเส้นข้างลำตัวไปสิ้นสุดลงที่ครึ่งล่างของโคนหาง ครีบก้นมีฐานครีบยาวกว่าฐานของครีบหลัง ครีบอกใหญ่ ยาวและปลายครีบแหลม ครีบท้องมีก้านครีบยื่นออกเป็นเส้นเดี่ยวและครีบหางมีขนาดค่อนข้างใหญ่ ปลายแยกเป็นแฉกลึก เดิมทีปลาในสกุลนี้เคยมีประชากรมากกว่านี้ แต่ปัจจุบันได้แยกออกไปเป็นสกุลต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะในสกุล Laubuka หรือปลาซิวหัวตะกั่ว จึงเหลือเพียง 2 ชนิดเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาข้าวเม่า (ปลาซิว) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาข้างตะเภา

ำหรับปลาวงศ์อื่น ดูที่: ปลาสร้อยนกเขา (ทะเล) ปลาข้างตะเภา (Trumpeter, Grunter) สกุลของปลากระดูกแข็ง 3 ชนิด ที่อยู่ในวงศ์ Terapontidae ใช้ชื่อสกุลว่า Tetrapon เป็นปลาขนาดเล็ก ที่หากินบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็นน้ำกร่อยและบริเวณป่าชายเลน ลำตัวค่อนข้างสั้น ปากเล็ก ลำตัวสีขาว และมีแถบสีดำพาดตามลำตัวตั้งแต่ 3-6 แถบตามแนวนอน ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างไปกันตามแต่ละชนิด มีความสามารถพิเศษ คือ สามารถทำเสียงได้ จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ครืดคราด" หรือ "ออดแอด" จัดเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่นเนื่องจากเป็นปลาขนาดเล็ก และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม พบกระจายพันธุ์ในเขตอบอุ่น ตั้งแต่ทะเลแดงจนถึงอินโด-แปซิฟิก มีทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาข้างตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดัก

ปลาดัก (Blackskin catfish) ปลาดุกชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Clarias meladerma อยู่ในวงศ์ปลาดุก (Clariidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายปลาดุกด้าน (C. batrachus) เว้นแต่ที่ครีบอกด้านหน้ามีลักษณะขอบหยักคล้ายฟันเลื่อย และมีผิวเนื้อสีดำ จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ปลาดุกเนื้อเลน" (ภาษาใต้) โตเต็มที่ขนาดความยาวประมาณ 35 เซนติเมตร ในประเทศไทยพบได้แถบภาคกลางตอนบนและภาคอีสาน ในต่างประเทศพบได้ที่ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรกคือ ปัตตาเวีย (ปัจจุบัน คือ จาการ์ตา) บนเกาะชวา ในอินโดนีเซีย ไม่มีการเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดัก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดัง

ปลาดัง ชื่อสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Hemisilurus (/เฮม-อิ-ซิ-ลู-รัส/) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Ceratoglanis ซึ่งเคยถูกจัดให้อยู่ในสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่าปลาในสกุลปลาดังนั้น จะมีความลาดที่ส่วนหลังหลังจากหัวสูงกว่า หนวดมีขนาดยาวกว่าและมีพฤติกรรมกระดิกหนวดเพื่อช่วยในการหาอาหารได้เร็วน้อยกว่าปลาสกุล Ceratoglanis มีความยาวตั้งแต่ 50–80 เซนติเมตร โดยที่คำว่า Hemisilurus นั้นมาจากภาษากรีก ที่หมายถึง "ครึ่ง" (ημι) ของ "ปลาเนื้ออ่อน" (silurus) พบทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดาบเงินใหญ่

ปลาดาบเงินใหญ่ (Atlantic cutlassfish, Australian hairtail, Largehead hairtail, タチウオ) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาดาบเงิน (Trichiuridae) เป็นปลาที่มีลำตัวแบนเรียวยาว มีลักษณะคล้ายแถบริบบิ้น ไม่มีเกล็ด ปากล่างยื่นย่าวล้ำปากบน หางเรียวยาวปลายแหลม แผ่นปิดเหงือกมีปลายเป็นมุมแหลม ๆ อยู่แนวเดียวกับครีบอก ไม่มีครีบท้องและครีบหาง มีฟันแหลมคมเป็นเขี้ยวยาวโค้งออกมานอกปาก มีขนาดความยาวได้ถึง 2 เมตร น้ำหนักเต็มที่ได้ถึง 5 กิโลกรัม แต่ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไปประมาณ 40-50 เซนติเมตร มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 15 ปี แพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในหลายพื้นที่ของโลก ในอ่าวไทยอยู่รวมกันเป็นฝูงตามชายฝั่งทะเลน้ำตื้นและปากแม่น้ำ กินอาหาร โดยไล่ล่าปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เป็นปลาที่นำมาแปรรูป เช่น ทำลูกชิ้น, ทำปลาเค็มและปลาแห้งเป็นอาหาร ในอาหารญี่ปุ่น ปลาดาบเงินใหญ่ยังนิยมนำมาทำซาชิม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดาบเงินใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดินสอ (สกุล)

ปลาที่มีขนาดใหญ่กว่า ดูที่: ปลาดินสอ ปลาดินสอ (Pencil fishes) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาดินสอ (Lebiasinidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Nannostomus (/นัน-โน-สะ-โต-มัส/; nannus มาจากภาษาละติน หมายถึง "เล็ก" และภาษากรีก stoma (στόμιο) หมายถึง "ปาก" ซึ่งหมายถึงปากที่มีขนาดเล็กของปลาสกุลนี้) รูปร่างและลักษณะโดยรวมของปลาดินสอ คือ เป็นปลาขนาดเล็ก มีขนาดโตเต็มที่ราว 5 เซนติเมตร มีลักษณะลำตัวเรียวยาวเป็นแท่งคล้ายดินสออันเป็นที่มาของชื่อ มีปากที่แหลมเล็กสำหรับใช้จิกอาหารขนาดเล็ก มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยว่ายน้ำช้า ๆ และมักอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่น้ำไหลเอื่อย ๆ บางชนิดจะลอยตัวในน้ำ โดยยกหัวตั้งขึ้น ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่แลดูแปลก พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดินสอ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุก

ปลาดุก (Walking catfishes) เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืดในสกุล Clarias (/คลา-เรียส/) ในวงศ์ Clariidae โดยคำว่า Clarias มาจากภาษากรีกคำว่า chlaros หมายถึง "มีชีวิต" มีความหมายถึง การที่ปลาสกุลนี้สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้บนบกหรือสภาพที่ขาดน้ำ มีการแพร่กระจายพันธุ์ในน้ำจืดและน้ำกร่อยตามแหล่งน้ำของทวีปเอเชียและแอฟริกา เป็นปลาไม่มีเกล็ด ลำตัวยาว มีหัวที่แบนและแข็ง มีหนวดยาวแปดนิ้ว มีครีบหลังและครีบก้นยาวเกินครึ่งของความยาวลำตัว จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่ล้ำหน้าจุดเริ่มต้นของครีบท้อง ครีบหลังไม่มีเงี่ยงแข็ง ไม่มีครีบไขมัน ครีบหางมนกลม ครีบทั้งหมดเป็นอิสระจากกัน สามารถหายใจและครีบคลานบนบกได้เมื่อถึงฤดูแล้ง เป็นปลาวางไข่ เป็นปลากินเนื้อโดยเฉพาะเมื่อตัวโตเต็มที่ชอบกินปลาอื่นที่ตัวเล็กกว่าเป็นอาหาร รวมถึงกินซากพืชและซากสัตว์อีกด้วย เป็นปลาที่รู้จักกันดีในแง่ของการเป็นปลาเศรษฐกิจ ที่นิยมบริโภคกันโดยเฉพาะในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกบอน

ำหรับปลาดักชนิดอื่น ดูที่: ปลาดุกดัก สำหรับปลาวงศ์อื่น ดูที่: วงศ์ปลาดัก ปลาดุกบอน หรือ ปลาดัก เป็นปลาหนังน้ำจืดขนาดเล็กในสกุล Olyra อยู่ในวงศ์ปลากด (Bagridae) เป็นปลาขนาดเล็กที่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ตั้งแต่ภาคตะวันออกของอินเดีย, พม่า, ภาคตะวันตกของไทย ตลอดจนภูมิภาคอินโดจีน โดยในภูมิภาคเอเชีย ปลาดุกบอนจะรู้จักกันในฐานะของปลานักสู้เหมือนกับปลากัด และถูกเลี้ยงเพื่อกัดกันเอาเงินเดิมพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุกบอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกมูน

ปลาดุกมูน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bagrichthys obscurus อยู่ในวงศ์ปลากด (Bagridae) มีส่วนหัวสั้น จะงอยปากเล็ก ตาเล็กมาก มีหนวดสั้น 4 คู่ คู่ที่อยู่ด้านล่างจะเป็นเส้นแบนบิดเป็นเกลียว ริมฝีปากเล็กเป็นจีบ ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย ส่วนหลังยกสูง ครีบหลังสูง ครีบไขมันยาวมาก ครีบหางเว้าลึก ครีบหลังยกสูงและครีบอกแข็งเป็นก้านแข็งปลายคม ตัวมีสีคล้ำหรือน้ำตาลอ่อน ด้านท้องสีจาง ปลาวัยอ่อนมีแถบเฉียงสีจางพาดขวางลำตัว ครีบสีจาง หางใส มีขนาดประมาณ 15 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 30 เซนติเมตร พบชุกชุมในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำบางปะกง, แม่น้ำโขง มีพฤติกรรมมักหากินบริเวณท้องน้ำที่มีน้ำขุ่น วางไข่ในฤดูฝน นิยมบริโภคด้วยการปรุงสด เนื้อมีรสชาติดี อร่อย มีราคาสูง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ปลาดุกมูน ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกว่า "ปลาแขยงหนู", "ปลาแขยงหมู", "ปลากดหมู" หรือ "ปลาแขยงดาน" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุกมูน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะ

ปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะ (Giant Lake Biwa catfish; ビワコオオナマズ; โรมะจิ: Biwako-o'namazu) ปลาน้ำจืดขนาดใหญ่จำพวกปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะ มีลักษณะคล้ายกับปลาเวลส์ (S. glanis) ซึ่งเป็นปลาขนาดใหญ่กว่า แต่อยู่ในสกุลเดียวกัน ซึ่งพบในภาคพื้นยุโรป โดยมีความยาวได้ถึง 1.18 เมตร (3 ฟุต 10 นิ้ว) และน้ำหนักมากกว่า 17 กิโลกรัม (37 ปอนด์) โดยมีส่วนหัวที่แบน ตาเล็ก ปากกว้าง ลำตัวด้านบนสีคล้ำและด้านล่างสีขาวกว่า เป็นปลาที่พบอาศัยอยู่เฉพาะในทะเลสาบบิวะ ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำจืดโบราณที่มีอายุกว่า 4 ล้านปี และเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น และถือเป็นปลาในสกุลนี้ 1 ใน 3 ชนิด ที่พบได้ในทะเลสาบบิวะ ปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะ เป็นปลากินเนื้อ ล่าปลาและกบตลอดจนสัตว์น้ำประเภทต่าง ๆ กินเป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน โดยใช้เส้นข้างลำตัวเป็นเสมือนเส้นประสาทตรวจสอบความเคลื่อนไหวเช่นเดียวกับปลาหนังชนิดอื่น และเป็นปลาที่อายุยืนได้มากกว่า 50 ปี และยังเพิ่มขนาดขึ้นเรื่อย ๆ ตามอายุด้วย ในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำบิวะ ซึ่งตั้งอยู่ริมทะเลสาบบิวะ มีการแสดงปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะขนาดใหญ่หลายตัวซึ่งจับได้ตั้งแต่ยังเป็นปลาเล็ก ๆ ในทะเลสาบไว้ด้วย นอกจากนี้แล้ว ปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะ ยังเชื่อว่าเป็นที่มาของตำนานความเชื่อเรื่อง "นะมะสุ" (鯰) ซึ่งเป็นปลาดุกขนาดใหญ่ที่ชาวญี่ปุ่นเชื่อว่า มีก้อนหินขนาดใหญ่ที่เทพเจ้าแห่งลม คะชิมะ (鹿島) นำมาถ่วงไว้ที่หัว เมื่อนะมะสุขยับตัวก็ทำให้เกิดแผ่นดินไหว ซึ่งเรื่องนี้เป็นไปได้ว่า อาจเกิดจากชาวประมงในสมัยโบราณได้พบเห็นการเคลื่อนไหวของปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะพร้อม ๆ กันครั้งใหญ่ ก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวไม่นาน ทั้งนี้ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์พบว่า ปลาจำพวกปลาดุกหรือปลาหนังจะมีประสาทสัมผัสหรือสัญชาตญาณรับรู้ว่าจะมีแผ่นดินไหวก่อนได้ โดยปลาจะเคลื่อนไหวในท่าทางที่ผิดปกติCold Blooded Horror, "River Monsters".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุกยักษ์ทะเลสาบบิวะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกหนามไนเจอร์

ปลาดุกหนามไนเจอร์ (Ripsaw catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudodoras niger ในวงศ์ปลาทอล์คกิ้งแคทฟิช (Doradidae) มีรูปร่างค่อนข้างยาว มีส่วนหัวเป็นทรงกรวย มีกระดูกแข็ง ครีบอกมีเงี่ยงแข็ง ด้านข้างลำตัวมีชุดของแผ่นกระดูกแข็งคล้ายเกราะมีปลายแหลม เรียงตัวไปทางท้ายของลำตัวจนสุดปลายหาง ลำตัวมีสีเทาอมดำ ปลายแหลมของเกล็ดแข็งเป็นสีขาว ครีบหลัง ครีบหาง และครีบอกมีสีเข้ม มีขนาดใหญ่เต็มที่ 1 เมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยคือ 59 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่เป็นฝูง หากินบริเวณพื้นน้ำ โดยกินอาหารจำพวก ซากพืช ซากสัตว์ อินทรียสารต่าง ๆ รวมทั้งไส้เดือนน้ำ, แมลง และสัตว์มีกระดองด้วย พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำหลักทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ เช่น ประเทศโบลิเวีย, บราซิล, เวเนซุเอลา, เอกวาดอร์, เฟรนช์เกียนา, เปรู โดยอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่เป็นแม่น้ำหรือบึงขนาดใหญ่ ที่มีสภาพน้ำค่อนข้างขุ่นหรือมีโคลนตมขุ่นตลอดทั้งปี มีอุณหภูมิประมาณ 21-29.8 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ (pH) ประมาณ 5.0-9.0 เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Cuyú-cuyú และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุกหนามไนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกอุย

ปลาดุกอุย หรือ ปลาดุกนา หรือ ปลาอั้วะชื้อ(劃鼠) ในภาษาแต้จิ๋ว (-zh 大頭鬍鯰; อังกฤษ: Broadhead catfish, Günther's walking catfish; ชื่อวิทยาศาสตร์: Clarias macrocephalus) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ Clariidae มีกระดูกท้ายทอยยื่นแหลมออกไปลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยม ลำตัวสั้นป้อมกว่าปลาดุกด้าน (C. batrachus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน ลำตัวมีสีดำปนเหลือง มีจุดขาวเล็ก ๆ เรียงเป็นแถวขวางลำตัวหลายแถว มีครีบหลังสูงกว่าปลาทั่วไปมาก สามารถเคลื่อนที่บนบกได้เป็นระยะทางสั้น ๆ โดยใช้ครีบช่วย พบได้ในพื้นที่แถบประเทศไทยไปจนถึงเวียดนาม และมีการนำไปเลี้ยงในประเทศจีน, มาเลเซีย, เกาะกวม และฟิลิปปินส์ ปลาดุกอุยย่าง บางครั้งมีความเข้าใจผิดกันว่าปลาดุกอุยคือปลาดุกด้านตัวเมีย แต่ที่จริงเป็นปลาคนละชนิดกัน ปลาดุกอุยเป็นที่นิยมของผู้บริโภคชาวไทยและชาวลาวมากกว่าปลาดุกด้าน เนื่องจากเนื้อมีรสชาติมัน อร่อย มีราคาที่สูงกว่าปลาดุกด้าน จึงได้มีการเพาะเลี้ยงและผสมเทียมในบ่อ แต่ปัจจุบันได้นำมาผสมกับปลาดุกเทศ (C. gariepinus) เป็นปลาลูกผสม เรียกว่า "ปลาดุกบิ๊กอุย" ทำให้โตเร็วและเลี้ยงง่ายกว่าปลาดุกอุยแท้ ๆ ซึ่งได้มีการเพาะเลี้ยงอย่างแพร่หลาย ในภาษาใต้ เรียกปลาดุกอุยว่า "ปลาดุกเนื้ออ่อน".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุกอุย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกทะเลลาย

ปลาดุกทะเลลาย หรือ ปลาดุกทะเลแถบ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ปลาดุกทะเล (Striped eel catfish) เป็นปลาหนังชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plotosus lineatus (มาจากภาษากรีก Plotos หมายถึง "ว่ายน้ำ" และ lineatus หมายถึง "ลายแถบ") อยู่ในวงศ์ปลาดุกทะเล (Plotosidae) มีรูปร่างเรียวยาวด้านข้างแบน ส่วนหัวแบนลงมีหนวด คู่ครีบหลังและครีบหูมีก้านครีบแข็งเป็นเงี่ยง มีลักษณะเป็นฟันเลื่อย ไม่มีครีบไขมัน ส่วนหัวแบนยาวเรียวแหลมครีบหลังอันที่สอง ครีบก้นและครีบหางติดต่อกัน นอกจากนี้ยังมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจอยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำตัวมีสำดำปนน้ำตาล ด้านท้องมีสีขาว ปลาขนาดเล็กจะมีลายแถบสีขาวปนเหลือง 3 แถบพาดไปตามยาวลำตัว เมื่อโตขึ้นแถบเหล่านี้จะเลือนหายไปกลายเป็นสีน้ำตาลอ่อนแทน โดยที่ปลาดุกทะเลชนิดนี้ ตามเงี่ยงแข็งในแต่ละครีบนั้นมีพิษร้ายแรงมาก ถึงขนาดมีรายงานแทงมนุษย์จนถึงขั้นเสียชีวิตมาแล้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร แต่ขนาดที่พบทั่วไปคือ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่ทะเลแดง, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย และพบในทะเลสาบน้ำจืดของทวีปแอฟริกา เช่น ทะเลสาบมาลาวี และมาดากัสการ์ด้วย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รวมถึงในปากแม่น้ำเจ้าพระยา ปลาวัยอ่อนจะอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในทะเลใกล้ชายฝั่ง ในแนวปะการังหรือตามกอสาหร่าย เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยมักจะขุดรูอยู่ในดินหรือเลนใกล้ชายฝั่ง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และนิยมนำมาบริโภคกันโดยปรุงสุด แต่เนื้อมีกลิ่นคาวจึงมักจะนำไปปรุงประเภทรสจัดเช่น ผัดฉ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุกทะเลลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกไฟฟ้า

ปลาดุกไฟฟ้า (Electric catfish) เป็นสกุลปลาหนังน้ำจืดในวงศ์ปลาดุกไฟฟ้า (Malapteruridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Malapterurus (/มา-แลป-เทอ-รู-รัส/) โดยมาจากภาษากรีกคำว่า μαλακός (malakos) หมายถึง "อ่อนนุ่ม", πτερων (pteron) หมายถึง "ครีบ" และ ουρά (oura) หมายถึง "หาง" โดยมีความหมายถึง ครีบไขมันที่แลดูโดดเด่น เนื่องจากปลาในสกุลนี้ไม่มีครีบหลัง โดยรวมมีรูปร่างกลมยาวอวบอ้วนทรงกระบอกคล้ายไส้กรอก ตามีขนาดเล็ก ริมปากหนาและรูจมูกกลมและมีความห่างจากกันพอสมควร ช่องเหงือกแคบและบีบตัว มีหนวดสามคู่ ไม่มีครีบหลัง มีครีบไขมันขนาดใหญ่อยู่ค่อนไปทางส่วนท้ายของลำตัวติดกับครีบหาง ครีบทุกครีบปลายครีบมนกลม ถุงลมแบ่งเป็นสองห้องยาว มีลำตัวทั่วไปสีน้ำตาลหรือเทา และมีลายจุดหรือกระสีคล้ำกระจายอยู่บนหลังและด้านข้างลำตัว ใต้ท้องเป็นสีขาวไม่มีลาย คอดหางมีลายแถบสีคล้ำสลับขาว และครีบหางมีลายสีขาวคล้ายรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวอยู่กลางครีบ เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่ เช่น แม่น้ำไนล์, แม่น้ำคองโก, แม่น้ำแซมเบซี, แม่น้ำไนเจอร์ และแม่น้ำหลายสาย ในทวีปแอฟริกา รวมถึงทะเลสาบต่าง ๆ เช่น ทะเลสาบแทนกันยีกา หรือทะเลสาบชาด มีอวัยวะที่ปล่อยกระแสไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อด้านข้างลำตัว ซึ่งสามารถปล่อยได้มากถึง 350 โวลต์ ในขนาดลำตัว 50 เซนติเมตร (19 นิ้ว) โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ยาวได้ถึง 122 เซนติเมตร (48 นิ้ว) และน้ำหนัก 20 กิโลกรัม (44 ปอนด์) อาศัยอยู่ในน้ำขุ่นและมีวัสดุต่าง ๆ เช่น ตอไม้หรือโพรงหินสำหรับหลบซ่อนตัว โดยใช้ไฟฟ้าในการป้องกันตัวและช็อตเหยื่อสำหรับเป็นอาหาร เป็นปลาที่เคลื่อนไหวได้เชื่องช้า เมื่อช็อตเหยื่อจนสลบแล้วจึงค่อยกลืนกิน มีการจับคู่ผสมพันธุ์ด้วยการขุดโพรงยาวถึง 3 เมตร (10 ฟุต) ที่ริมตลิ่งในระดับความลึกประมาณ 1-3 เมตร (3.3-9.8 ฟุต) เป็นปลาที่มนุษย์ใช้รับประทานเป็นอาหารมาตั้งแต่อดีต ตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาดุกไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคลุด

ปลาคลุด (Orbfish, Spadefish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหูช้าง (Ephippidae) เป็นปลาที่มีส่วนลำตัวลึกแบน ส่วนโค้งของหัวลาดชันมาก มีปากเล็ก ตาโต จะงอยปากสั้นก้านครีบแข็งแยกจากครีบอ่อนได้ชัดเจน จะมีส่วนก้านครีบยื่นออกไป 2-4 ก้าน ครีบอกเล็กสั้นและกลมมีแถบสีดำ 4-5 เส้น พาดจากส่วนหลังไปทางด้านท้อง มีพื้นลำตัวออกสีเงิน ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นมีรอยแต้มสีดำ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไปคือ 15 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยและหากินตามพื้นดินที่มีสภาพเป็นโคลนเลน พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิค, แอฟริกาใต้, อินเดีย, อ่าวไทย พบจนถึงออสเตรเลียตอนเหนือ, เกาะไต้หวัน, ทะเลญี่ปุ่น เป็นปลาที่ใช้บริโภคได้ โดยเนื้อใช้ปรุงอาหารและแปรรูปทำเป็นปลาเค็ม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคลุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคาร์ป

ปลาคาร์ป (Carp) เป็นสกุลของปลาน้ำจืด ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Cyprinus (/ไซ-พริน-อัส/) เป็นปลาที่มีลำตัวป้อมยาวและแบนข้าง มีจุดเด่น คือ มีหนวดที่ริมฝีปาก อันเป็นลักษณะสำคัญของสกุล เป็นปลาที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี โดยเชื่อว่าเป็นปลาชนิดแรกที่ได้มีการเลี้ยง เป็นระยะเวลานานกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ในฐานะการเลี้ยงเพื่อการบริโภคเป็นอาหาร ต่อมาชาวจีนก็ได้ ปรับปรุงสายพันธุ์ให้มีสีสันสวยงามขึ้นกว่าเดิม จนกลายเป็นปลาสวยงามเช่นในปัจจุบัน เป็นปลาที่กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ เอเชียเหนือ, เอเชียตะวันออก, เอเชียกลาง ไปจนถึงอิหร่าน ในภูมิภาคตะวันออกกลาง หลายชนิดเป็นปลาเฉพาะถิ่นที่พบได้แต่เฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น และบางชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคาร์ปเลต

ปลาคาร์ปเลต (Carplet) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในสกุล Amblypharyngodon จัดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาซิวจำพวกหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดียและเมียนมา ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว โดยที่ชื่อสกุลนั้นมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า ἀμβλύς (amblús) หมายถึง "ทื่อ", φάρυξ (pháruks) หมายถึง "ลำคอ" และ ὀδών (odṓn) หมายถึง "ฟัน" โดยมีความหมายถึง รูปร่างที่แบนหรือเว้าของฟันในปลาสกุลนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคาร์ปเลต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคิลลี่ฟิช

ปลาคิลลี่ฟิช (Killifish) เป็นชื่อสามัญของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยขนาดเล็กหลายชนิด ในอันดับ Cyprinodontiformes ซึ่งเป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว นับ 1,000 กว่าชนิด ในแทบทุกทวีปทั่วโลก แต่ปลาคิลลี่ฟิชจะเป็นปลาที่แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยปลาคิลลี่ฟิช มีลักษณะโดยทั่วไป จะเป็นปลาขนาดเล็กที่มีสีสันสวยงาม โดยเฉพาะในตัวผู้ ในหลากหลายพฤติกรรม ในบางชนิดจะหากินและดำรงชีวิตอยู่บนผิวน้ำ, บางชนิดหากินและดำรงชีวิตอยู่ระดับพื้นน้ำ และบางชนิดจะรวมตัวกันเป็นฝูง และบางชนิดจะว่ายน้ำอย่างกระจัดกระจาย ปลาคิลลี่ฟิช เป็นปลาที่มักพบในแหล่งน้ำต่าง ๆ ตั้งแต่ ต้นน้ำตลอดจนไปถึง คลอง, บึง และแม่น้ำต่าง ๆ ทั้งที่เป็นแหล่งน้ำถาวรและแหล่งน้ำชั่วคราวที่เหือดแห้งหายไปได้ตามฤดูกาล แม้กระทั่งแอ่งน้ำในรอยเท้าสัตว์ ซึ่งคำว่า "คิลลี่" (Killi) มาจากภาษาดัตช์คำว่า "kilde" หมายถึง "แหล่งน้ำขนาดเล็ก" โดยมีลักษณะการวางไข่หลากหลายแตกต่างออกไป เช่น วางไข่ทิ้งไว้ในพื้นดินและมีวงจรชีวิตที่สั้น หรือวางไข่ไว้กับใบของไม้น้ำ สำหรับในประเทศไทย มีปลาเพียงชนิดเดียวที่เข้าข่ายปลาคิลลี่ฟิช คือ ปลาหัวตะกั่ว (Aplocheilus panchax) ซึ่งอยู่ในวงศ์ Aplocheilidae ที่พบได้ทุกแหล่งน้ำทั่วทุกภาค ปลาคิลลี่ฟิช เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมักจะนิยมเลี้ยงรวมเป็นฝูงหรือปะปนกับปลาชนิดอื่น ในตู้ไม้น้ำ และเลี้ยงเพื่อฟักลูกปลาให้ออกจากไข่ที่วางไว้ในดิน ซึ่งสามารถห่อส่งขายทางไปรษณีย์ได้ นับว่าเป็นความสนุกอย่างหนึ่งของผู้เลี้ยง โดยสกุลที่นิยมเลี้ยงได้แก่ Nothobranchius ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา และปลาหัวตะกั่วทองคำ (Aplocheilus lineatus) ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคิลลี่ฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อาย

ปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อาย (Bluefin notho, Rainbow killifish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาคิลลี่ฟิช ในวงศ์ปลาหัวตะกั่ว (Aplocheilidae) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก ตัวผู้ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร ตัวเมียขนาด 4 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมาก โดยมีลำตัวสีส้มแดง เกล็ดมีสีฟ้าสะท้อนแสง ครีบหางเป็นสีส้ม ขอบหางสีดำ กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาตะวันออกจนถึงแอฟริกาใต้ เช่น อุทยานแห่งชาติครูเกอร์ในแอฟริกาใต้ โดยมักพบในแหล่งน้ำตื้น ๆ ที่จะแห้งเหือดลงในฤดูร้อน แพร่กระจายพันธุ์โดยการวางไข่ฝังไว้ในพื้นดิน ในขณะที่ปลาตัวพ่อและแม่จะตายไป จึงเป็นปลาที่มีวงจรชีวิตสั้น ซึ่งไข่สามารถที่จะผ่านพ้นช่วงน้ำแห้งไปได้จนกระทั่งฝนตกลงมาใหม่ ทำให้แหล่งน้ำเต็มอีกครั้ง ลูกปลาจึงฟักเป็นตัว โดยไข่สามารถเก็บไว้ได้นานถึง 1-8 เดือน เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง จึงนิยมที่จะเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ ซึ่งสามารถเก็บไข่ปลาในลักษณะแห้งซื้อขายส่งต่อเพื่อที่จะนำมาฟักต่อกันเองได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคู้

ปลาคู้ หรือ ปลาเปคู (Pacu ปากู) หรือที่นิยมเรียกกันในเชิงการเกษตรว่า ปลาจะละเม็ดน้ำจืด เป็นชื่อสามัญที่เรียกปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) ในวงศ์ย่อย Serrasalminae หรือวงศ์ย่อยของปลาปิรันยา ปลาคู้มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับปลาปิรันยาซึ่งอยู่ในวงศ์ย่อยเดียวกัน หากแต่อยู่ต่างสกุลกัน โดยปลาคู้นั้นจะมีรูปร่างที่ใหญ่โตกว่าปลาปิรันยามาก โดยอาจยาวได้ถึง 80-110 เซนติเมตร และอาจหนักได้เกือบ 40 กิโลกรัม และมีพฤติกรรมที่ต่างกัน คือ ปลาคู้จะกินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยบางครั้งอาจจะขึ้นไปบนผิวน้ำเพื่อรอกินผลไม้หรือลูกไม้ที่ร่วงหล่นจากต้นได้เลย ขณะที่ปลาปิรันยาจะกินแต่เนื้อเพียงอย่างเดียว อีกประการหนึ่งที่แตกต่างกัน คือ ฟันและกรามของปลาคู้แม้จะแข็งแรงและแหลมคม แต่ก็ไม่เป็นซี่แหลมเหมือนปลาปิรันยา และกรามล่างจะไม่ยื่นยาวออกมาจนเห็นได้ชัด ปลาคู้มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้เช่น อเมซอน, โอรีโนโก เป็นต้น รูปแสดงให้เห็นถึงฟันของปลาคู้ ปลาที่ได้ชื่อว่าเป็น ปลาคู้ จะเป็นปลาที่อยู่ในสกุล Acnodon, Colossoma, Metynnis, Mylesinus, Mylossoma, Ossubtus, Piaractus, Tometes และUtiaritichthys เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจในหลายส่วนของโลกรวมถึงในประเทศไทยด้วย เนื่องจากเป็นปลาที่โตได้เร็วมาก กินเก่ง กินอาหารได้ไม่เลือก อีกทั้งยังพบว่าเป็นปลาที่ช่วยในการกำจัดหอยเชอรี่อันเป็นศัตรูข้าวที่สำคัญได้อีกด้วย ประกอบกับเนื้อมีรสชาติอร่อยสามารถปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย อีกทั้งนิยมตกกันเป็นเกมกีฬาด้วย แต่ด้วยความแพร่หลายนี้ ทำให้กลายเป็นปัญหาของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในบางพื้นที่ สำหรับในประเทศไทย ชนิดของปลาคู้ที่นำเข้ามาและนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย คือ ปลาคู้แดง (Piaractus brachypomus) และปลาคู้ดำ (Colossoma macropomum) ซึ่งเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งทั้งสองชนิดนี้ยังนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามด้วย ปลาคู้ แม้จะได้ชื่อว่าไม่เป็นปลาอันตรายต่อมนุษย์เท่ากับปลาปิรันยา แต่ที่ปาปัวนิวกินีและสหรัฐอเมริกา กลับมีปลาคู้ที่มีพฤติกรรมกัดอัณฑะของผู้ที่ตกปลาหรือลงไปว่ายน้ำในแม่น้ำถึงขั้นเสียชีวิตมาแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคู้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคู้ดำ

ปลาคู้ดำ หรือ ปลาเปคูดำ (Blackfin pacu, Black pacu) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Colossoma macropomum อยู่ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาปิรันยา ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน หากแต่ปลาคู้ดำจะมีส่วนเว้าของหน้าผากเว้าเข้ามากกว่า โคนหางจะคอดเล็ก ฟันภายในปากมีสภาพเป็นหน้าตัดคล้ายฟันมนุษย์ไม่แหลมคม เมื่อเทียบกับส่วนของลำตัว ลำตัวและปลายหางจะมีสีเงินปนดำ และเมื่อปลาโตยิ่งขึ้นในส่วนของสีดำนี้ก็จะเห็นชัดขึ้นด้วย มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร หนักได้ถึง 40 กิโลกรัม มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโอริโนโคซึ่งเป็นแม่น้ำสาขา มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง กินได้ทั้งพืชและสัตว์ ซึ่งแตกต่างไปจากปลาปิรันยาที่จะกินเพียงสัตว์อย่างเดียว และยังสามารถกินเมล็ดพืชที่ตกลงน้ำได้อีกด้วย โดยมักไปรอกินบริเวณผิวน้ำ ปลาคู้ดำ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ย่อย Serrasalminae อันเป็นวงศ์ย่อยเดียวกับปลาปิรันยา แต่ไม่มีนิสัยดุร้ายเท่า มีชื่อเป็นภาษาพื้นเมืองเรียกว่า Tambaqui หรือ Cachama หรือ Gamitana และเป็นปลาเพียงชนิดเดียวด้วยที่อยู่ในสกุล Colossoma เป็นปลาที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่น สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่นเดียวกับปลาปิรันยาชนิดอื่น ๆ สำหรับในประเทศไทย ปลาคู้ดำได้เข้ามาสู่ประเทศไทยในฐานะเป็นปลาเศรษฐกิจที่กรมประมงส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยง โดยมีชื่อเรียกกันในแวดวงเกษตรว่า "ปลาจะละเม็ดน้ำจืด" เช่นเดียวกับ ปลาคู้แดง (Piaractus brachypomus) ด้วย นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ซึ่งจากการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามนี้ เมื่อปลาโตขึ้นผู้เลี้ยงไม่สามารถเลี้ยงต่อไปได้ไหว จึงนิยมนำไปปล่อยตามแหล่งน้ำธรรมชาติต่าง ๆ ทำให้ในปัจจุบัน มีปลาคู้ดำในแหล่งน้ำธรรมชาติตามที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ เช่น เขื่อนศรีนครินทร์ เป็นต้น จัดเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในจำพวกชนิดพันธุ์ต่างถิ่นอีกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคู้ดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคู้แดง (สกุล)

ปลาคู้แดง (Pacu) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในสกุล Piaractus (/พิ-อา-แร็ค-ตัส/) ในวงศ์ปลาปิรันยา (Serrasalmidae) (ในบางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ Characidae) จำแนกได้ 2 ชนิด เป็นปลากินพืชทั้งคู่ พบกระจายพันธุ์ได้ในทวีปอเมริกาใต้ มีการเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจในประเทศต่าง ๆ ทั้งคู.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาคู้แดง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้อมาเนิร์ท

ปลาค้อมาเนิร์ท หรือปลาค้อซี่กรง (Burmese border loach, Burmese-border sand loach, Red-tail sand loach) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาค้อ (Balitoridae) มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับปลาในสกุลเดียวกัน มีความพิเศษที่โคนครีบหลังไม่มีจุดสีแดง ลำตัวไม่เพรียวยาวมาก ครีบหางเป็นแบบส้อม มีลายขวางครึ่งลำตัวหน้ามักแตกเป็นซี่เหมือนซี่กรง บางตัวหลังมีแต้มสีทองเล็กน้อย มีความยาวเต็มที่ประมาณ 6-10 เซนติเมตร พบการกระจายพันธุ์เฉพาะในลำธารและน้ำตกที่มีคุณภาพน้ำดี ในแนวป่าภาคตะวันตกในลุ่มแม่น้ำสาละวิน, แม่น้ำแม่กลอง เช่น อุทยานแห่งชาติน้ำตกพาเจริญ ในเขตอำเภอพบพระ จังหวัดตาก ต่อเนื่องลงถึงลุ่มแม่น้ำในเขตภาคใต้ฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นชายแดนระหว่างไทยกับพม่าเท่านั้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาค้อมาเนิร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้าวขาว (สกุล)

ปลาค้าวขาว หรือ ปลาเค้าขาว เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในอันดับปลาหนังของวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินว่า Wallago มีรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวยาว ลำตัวที่อยู่ค่อนไปทางหางมีลักษณะแบนข้างมาก ส่วนหัวมีขนาดใหญ่และแบน ปากกว้าง ภายในมีฟันซี่เล็ก ๆ อยู่ในขากรรไกรทั้ง 2 ข้าง มีหนวด 2 คู่ โดยคู่ที่อยู่มุมปากมีลักษณะเรียวยาว ส่วนคู่ที่ใต้คางจะสั้นและเล็กมาก มีครีบทั้งหมด 7 ครีบ ครีบก้นใหญ่และยาวจรดครีบหาง ขอบปลายหางด้านบนจะใหญ่กว่าด้านล่าง พบกระจายพันธุ์โดยทั่วไปตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงแหลมมลายู มีอุปนิสัยคือมักอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นน้ำ กินอาหารจำพวกปลาขนาดเล็กกว่า และออกหากินในเวลากลางคืน ปลาค้าวขาวจัดเป็นปลาขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ ที่พบได้ในทวีปเอเชีย และถือว่าใหญ่เป็นอันดับสองรองจากสกุล Silurus ที่พบได้ในทวีปยุโรป โดยมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 1 เมตร ปัจจุบันพบว่ามีปลาทั้งหมด 2 ชนิดในสกุลนี้ ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาค้าวขาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้างคาว (น้ำจืด)

ปลาค้างคาว หรือ ปลาติดหิน (Freshwater batfish, Bat catfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในชั้นปลากระดูกแข็งสกุลหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Oreoglanis (/ออ-รี-โอ-แกลน-อิส/) ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาค้างคาว (น้ำจืด) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ (Siamese freshwater batfish, Siamese bat catfish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในอันดับปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตอง

ปลาตอง (Clown knifefishes, Featherbackfishes) เป็นสกุลปลากระดูกแข็งที่อยู่ใน วงศ์ปลากราย (Notoperidae) อันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Chitala (/ไค-ตา-ลา/).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตองลาย

ปลาตองลาย (Royal knifefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีรูปร่างเหมือนปลาทั่วไปในวงศ์นี้ แต่มีส่วนหลังและหน้าผากลาดชันน้อยกว่าปลากราย (C. ornata) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน สีลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ลำตัวด้านท้ายมีลายจุดและขีดจำนวนไม่แน่นอนคาดเฉียงค่อนข้างเป็นระเบียบ มีขนาดประมาณ 60 เซนติเมตร ใหญ่สุด 1 เมตร เป็นปลาที่พบได้เฉพาะแม่น้ำโขงและลำน้ำสาขาที่ไหลสู่แม่น้ำโขง โดยมีรายงานพบเมื่อปี พ.ศ. 2510 และมีรายงานพบที่แม่น้ำน่านด้วยเมื่อไม่นานมานี้ ซึ่งถือว่าเป็นมีแค่เพียงสองแหล่งนี้ในโลกเท่านั้น เป็นปลาที่หายากชนิดหนึ่ง โดยมีชื่อติดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN Red List) เมื่อปี พ.ศ. 2537 ด้วย โดยอยู่ในระดับหายาก (R)แต่ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยการเพาะขยายพันธุ์สำเร็จเป็นครั้งแรกที่สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดชัยนาท โดยพ่อแม่ปลาเป็นปลาที่จับมาจากแม่น้ำโขง เมื่ออายุประมาณ 1 ปี น้ำหนักประมาณ 100-120 กรัม ใช้เวลาในการเลี้ยงประมาณ 3 ปี ในตู้กระจก จนปลามีความสมบูรณ์เต็มที่เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์พบว่าตัวผู้มีน้ำหนัก 1.8 กิโลกรัม ตัวเมียหนัก 2.1 กิโลกรัม โดยตัวผู้มีความยาวครีบท้องมากกว่าตัวเมียถึงสองเท่า เมื่อจับคู่ผสมพันธุ์วางไข่ ปลาจะมีนิสัยดุร้ายก้าวร้าว จะมีพฤติกรรมไล่กัดปลาตัวอื่นที่มาข้องแวะหรือมาอยู่ใกล้ ๆ ฤดูวางไข่ของปลาตองลายอยู่ที่เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม แม่ปลาวางไข่ครั้งทั้งหมด 5 ครั้ง ครั้งละประมาณ 200-400 ฟอง การวางไข่แต่ละครั้งห่างกันราว 2-8 วัน ไข่มีลักษณะเป็นไข่จมเกาะติดกับวัสดุใต้น้ำ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 มิลลิเมตร ฟักเป็นตัวใช้เวลาประมาณ 3-4 วัน ที่อุณหภูมิ 23-26 องศาเซลเซียส ลูกปลาจะเจริญเติบโตได้ดีและมีอัตราการรอดตายสูงที่อุณหภูมิประมาณ 29-31 องศาเซลเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตองลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตองลายแอฟริกา

ปลาตองลายแอฟริกา (Marbled knifefish, Reticulate knifefish, Arowana knifefish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papyrocranus afer ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีส่วนหัวมนกลม ตากลมโต มุมปากกว้างเลยดวงตา รูปร่างเพรียวยาวและแบนข้างมาก มีจุดเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดกลมสีเหลืองกระจายไปทั้งตัว ที่โคนครีบหูไม่มีจุดกลมสีดำเหมือนปลากรายในสกุล Chitala ที่พบในทวีปเอเชีย มีขนาดลำตัวโตเต็มที่ได้ถึง 80 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของทวีปแอฟริกาแถบตะวันตกบริเวณประเทศไนเจอร์, แกมเบีย, เซเนกัล และกานา โดยมักหากินและอาศัยอยู่บริเวณพื้นน้ำ ซึ่งยังไม่สามารถที่จะแยกเพศระหว่างปลาตัวผู้และตัวเมียได้ชัดเจน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับ Notopterus notopterus ซึ่งเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์เดียวกันที่พบในทวีปแอฟริกา แต่อยู่คนละสกุล โดยมีอายุสูงสุดในที่เลี้ยงถึง 15 ปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตองลายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตองแอฟริกา

ปลาตองแอฟริกา เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งน้ำจืดในวงศ์ปลากราย (Notopridae) ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชืิ่อสกุลว่า Papyrocranus เป็นปลาที่พบได้เฉพาะทวีปแอฟริกาเท่านั้น มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวเพรียวยาวและแบนข้างมาก ส่วนหัวกลมมน ตาโต ปากกว้าง มีครีบหลังเช่นเดียวกับปลากรายในสกุล Chitala ที่พบในทวีปเอเชีย พบเพียงแค่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตองแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพัดพม่า

ปลาตะพัดพม่า หรือ ปลาตะพัดลายงู (Blue arowana, Myanmar arowana, Batik myanmar arowana) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะพัดพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพาก

ปลาตะพาก เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ในสกุล Hypsibarbus (/ฮีป-ซี-บาร์-บัส/) จัดเป็นปลาขนาดกลางในวงศ์นี้ มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายปลาตะเพียนในสกุล Barbonymus ซึ่งอยู่วงศ์เดียวกัน แต่ปลาตะพากจะมีลำตัวที่ยาวกว่า และขนาดจะใหญ่ได้มากกว่า แพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และทางตอนใต้ของประเทศจีน พบอาศัยในแม่น้ำสายใหญ่รวมถึงลำธารน้ำตกบนภูเขาหรือป่าดิบชื้น โดยมีขนาดลำตัวประมาณ 60-80 เซนติเมตร มีทั้งหมด 11 ชนิด (สูญพันธุ์ไปแล้ว 1 ชนิด ดูในตาราง) โดยมีชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดคือ ปลาตะพากเหลือง (H. wetmorei) โดยปลาในสกุลนี้ถูกแยกออกมาจากสกุล Puntius ในปี ค.ศ. 1996 โดยวอลเตอร์ เรนโบธ โดยมีลักษณะสำคัญที่แตกต่างจากปลาในสกุลอื่น คือ มีก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังมีขอบจักเป็นฟันเลื่อย ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ใต้คางมีร่องแยกระหว่างขากรรไกรล่างและคาง ฐานครีบก้นยาวคิดเป็นร้อยละ 60 ของความยาวหัว ขอบเกล็ดแต่ละเกล็ดมีลายสีดำติดต่อกันเป็นร่างแห ปลาตะพากมีชื่อเรียกรวมกันแบบอื่นอีก อาทิ "ปลากระพาก" (ประพาสไทรโยค), "ปลาปากหนวด", "ปลาปีก" (ภาษาอีสาน), "ปลาปากคำ" หรือ "ปลาสะป๊าก" (ภาษาเหนือ) เป็นต้น โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ Hypsibarbus มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า "ὕψι" (ฮิปซี) และ barbus (บาร์บัส) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ทั่วไปของปลาในวงศ์ปลาตะเพียน โดยมีความหมายถึง สันฐานที่มีความแบนข้าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะพาก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพากส้ม

ปลาตะพากส้ม, ปลาจาด หรือ ปลาจาดแมลคัม (Goldfin tinfoil barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus malcolmi ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาที่มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงปลาตะพากเหลือง (H. wetmorei) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ต่างกันตรงที่ครีบก้นมีลักษณะโค้งเหมือนเคียว ครีบและหางเป็นสีแดงหรือสีส้ม รูปร่างอ้วนป้อมกว่า แต่ขนาดและรูปร่างใกล้เคียงกัน มีลำตัวกว้างและแบนข้าง เกล็ดค่อนข้างใหญ่ จำนวนแถวของเกล็ดตามแนวเส้นข้างลำตัวมี 26 แถว ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย มีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ครีบหางเป็นแฉกลึกและยาวมากกว่าความยาวหัว ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 3 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน ลำตัวมีสีขาวเงินสะท้อนแสง และมีลายดำเชื่อมต่อกันระหว่างเกล็ดดูคล้ายตาข่าย ปลาตะพากส้มแพร่ขยายพันธุ์โดยมนุษย์ เป็นครั้งแรกจากการผสมเทียมจากสถานีประมงน้ำจืด จังหวัดเพชรบุรี พบว่าวางไข่ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ไข่เป็นประเภทไข่ติด มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 50 เซนติเมตร พบได้ที่แม่น้ำเพชร ที่จังหวัดเพชรบุรี และแม่น้ำปิง ที่จังหวัดตาก และแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ทั่วประเทศไทย ที่พบบ่อยคือ แม่น้ำแม่กลองและแม่น้ำโขง ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน ปลาตะพากส้มได้รับการอนุกรมวิธานจาก ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ นักวิชาการประมงชาวอเมริกัน ได้เก็บตัวอย่างต้นแบบจากแม่น้ำปิง เมืองระแหง ซึ่งปัจจุบันคือ จังหวัดตาก เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1924 เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นปลาชนิดใหม่ จึงส่งตัวอย่างไปยังพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ แห่งกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร และตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ แมลคัม อาเธอร์ สมิธ นักมีนวิทยาและวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวอังกฤษที่เข้ามาศึกษาสัตว์ทั้งสองประเภทนี้ในประเทศไทย มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาปีกแดง" นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะพากส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะกรับ

ำหรับปลาตะกรับอย่างอื่น ดูที่: ปลาตะกรับ ปลาตะกรับ (Spotted scats, Green scats, Common scats, Argusfishes) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะกรับ (Scatophagidae) มีรูปร่างสั้น ด้านข้างแบนและกว้างมาก หัวทู่ ปากเล็ก หางมน เกล็ดเป็นแบบสากขนาดเล็ก สีพื้นลำตัวมีสีแตกต่างกันมากอาจเป็นสีเขียว, สีเทาหรือสีน้ำตาล ครึ่งบนของลำตัวสีเข้มกว่าและมีแถบสีเทาเข้มหรือดำพาดขวางหลายแนวและแตกเป็นจุดที่ด้านล่างหรือเป็นแต้มเป็นจุดทั่วตัวดูล้ายเสือดาว ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอ่อนอมเทา ปลาตัวผู้จะมีหน้าผากโหนกนูนกว่าตัวเมียแต่ขนาดลำตัวจะเล็กกว่าเล็กน้อย เส้นก้านครีบหลังชิ้นที่ 4 จะยาวที่สุด ขณะที่ตัวเมียเส้นก้านครีบหลังเส้นที่ 3 จะยาวที่สุด ก้านครีบแข็งที่หลังรวมถึงที่ท้องมีความแข็งและมีพิษแบบอ่อน ๆ เป็นอันตรายได้เมื่อไปสัมผัสถูกก่อให้เกิดความเจ็บปวด บริเวณส่วนหัวของตัวเมียบางตัวจะเป็นสีแดง โดยลักษณะดังกล่าวจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อปลามีความยาวมากกว่า 4 นิ้วขึ้นไป ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 38 เซนติเมตร ปลาตะกรับเป็นปลาทะเลที่สามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดสนิทได้ โดยปกติจะอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลใกล้ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน มีการกระจายพันธุ์กว้างขวางตั้งแต่ตะวันออกกลาง, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียตะวันออกไปจนถึงเขตโอเชียเนีย สำหรับปลาในบางพื้นที่มีความหลากหลายทางสีมาก เช่น ปลาบางกลุ่มจะมีลายพาดสีดำเห็นชัดเจนตั้งแต่ส่วนหัว และลำตัวมีสีแดงเข้มจนเห็นได้ชัด ถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยที่มีชื่อเรียกว่า "ปลาตะกรับหน้าแดง" (S. a. var. rubifrons) เป็นปลาที่อาศัยอยู่เป็นกลุ่ม กินอาหารได้ทั้งพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก นิยมตกเป็นเกมกีฬาและใช้รับประทานเป็นอาหารเป็นที่นิยมอย่างมากโดยเฉพาะในภาคใต้ สามารถนำไปปรุงเป็นแกงส้มแต่เมื่อรับประทานต้องระวังก้านครีบ นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามอีกด้วย โดยในที่เลี้ยง ปลาตะกรับเป็นปลาที่สามารถทำความสะอาดตู้ได้เป็นอย่างดี เพราะสามารถกินตะไคร่น้ำและสาหร่ายบางชนิดได้ แต่เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าวพอสมควร ปัจจุบันกรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วด้วยวิธีการผสมเทียม โดยฤดูผสมพันธุ์มีตั้งแต่เดือนสิงหาคม-พฤษภาคม ของอีกปีหนึ่ง ชื่ออื่น ๆ เรียกว่า "ปลากระทะ" หรือ "ปลาแปบลาย" ในภาษาใต้เรียกว่า "ปลาขี้ตัง" และชื่อในแวดวงปลาสวยงามจะเรียกว่า "ปลาเสือดาว" ตามลักษณะลวดลายบนลำตัว แต่ปลาตะกรับมีครีบหลังและครีบก้นที่มีหนามแหลม ซึ่งอาจแทงถูกมือมนุษย์ได้ โดยมักจะเกิดขึ้นเมื่อปลดปลาออกจากเครื่องมือประมง แต่ก่อให้เกิดพิษน้อยมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะกรับ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะลุมพุก

ทความนี้หมายถึงปลา ส่วนตะลุมพุกในความหมายอื่นดูที่: ตะลุมพุก ปลาตะลุมพุก หรือ ปลากระลุมพุก หรือ ปลาหลุมพุก (ใต้) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่เข้ามาวางไข่ในน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tenualosa toli ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะลุมพุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะลุมพุก (สกุล)

ปลาตะลุมพุก (Shads; 托氏鰣; แต้จิ๋ว: ชิกคั่กฮื้อ) เป็นสกุลของปลาทะเลและปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Tenualosa (/เท-นู-อะ-โล-ซา/) ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะลุมพุก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะลุมพุกฮิลซา

ปลาตะลุมพุกฮิลซา (Hilsa shad, Ilisha, โอริยา: ଇଲିଶି, Ilishii, เบงกาลี: ইলিশ, Ilish, เตลูกู: పులస, Pulasa หรือ Polasa, สินธี: پلو مڇي, Pallu Machhi) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tenualosa ilisha อยู่ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) ปลาตะลุมพุกฮิลซา เป็นปลาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งโดยเฉพาะประเทศในแถบอ่าวเบงกอล เช่น บังกลาเทศ, อินเดียและพม่าเนื่องจากใช้เป็นอาหารบริโภคกันมาอย่างยาวนาน จนเสมือนเป็นสมบัติของชาติชิ้นหนึ่งของบังกลาเทศ มีลักษณะคล้ายกับปลาตะลุมพุก (T. toli) มีเกล็ดบริเวณสันท้อง 30-33 เกล็ด ครีบใสและมีจุดสีดำที่ช่องปิดเหงือก เมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีจุดตามลำตัวสีต่าง ๆ เช่น สีเงิน, สีทอง และสีม่วง มีซี่กรองเหงือก 30-40 ซี่ ขณะที่ปลาตะลุมพุกจะมีมากกว่าคือ 60-100 ซี่ ความยาวเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร โดยปกติแล้วเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในทะเลใกล้ชายฝั่ง กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร เมื่อจะวางไข่จะอพยพเข้ามาสู่แหล่งน้ำจืด ได้แก่ แม่น้ำและปากแม่น้ำ เพื่อวางไข่ ลูกปลาจะฟักและเลี้ยงดูตัวเองในน้ำจืด พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในมหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ อ่าวเปอร์เซีย, ภาคตะวันตกและตะวันออกของพม่า, อินเดีย และมีรายงานจากอ่าวตังเกี๋ยและแม่น้ำไทกริสในอิหร่าน ซึ่งอยู่ในภูมิภาคตะวันออกกลางด้วย ปลาตะลุมพุกฮิลซา ปัจจุบันเป็นปลาที่พบได้มากและหลากหลายกว่าปลาตะลุมพุก ซึ่งปลาตะลุมพุกที่นำมารับประทานและมีการซื้อขายกันในตลาดในประเทศไทย เชื่อว่าน่าจะเป็นปลาชนิดนี้มากกว่าและกล่าวกันว่าเป็นปลาระดับสูงกว่าปลาตะลุมพุก โดยเนื้ออุดมไปด้วยกรดไขมันที่มีความสำคัญ อาทิ โอเมกา 3.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะลุมพุกฮิลซา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะโกกหน้าสั้น

ปลาตะโกกหน้าสั้น เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Albulichthys มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาตะโกก (Cyclocheilichthys spp.) แต่มีส่วนหน้าที่สั้น หัวเล็ก ตาโต ปากเล็กสั้นมน ลำตัวสีเงินวาวอมเหลือง ครีบสีเหลือง ครีบหลังสั้น ครีบอก ครีบท้อง และครีบก้นเล็ก ครีบหางเว้าลึกสีส้มหรือสีแดง และมีขอบสีคล้ำ กินอาหารได้แก่ อินทรียสารหรือสัตว์หน้าดินขนาดเล็ก มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 15-35 เซนติเมตร ปัจจุบันเป็นปลาที่มีสถานะภาพใกล้สูญพันธุ์แล้ว เนื่องจากเป็นปลาที่พบได้เฉพาะลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะโกกหน้าสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนลาย

ปลาตะเพียนลาย หรือ ปลาตะเพียนม้าลาย (Striped barb, Zebra barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเรียวยาว มีลายสีดำทั้งหมด 4 แถบ ยาวตามแนวนอนตามลำตัว ลายแต่ละเส้นขนานกัน ลำตัวสีเหลืองจาง ๆ เกล็ดเป็นเงามันสะท้อนแสงแวววาว เม่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อน ลายตามลำตัวจะเป็นแนวขวาง และค่อย ๆ กลายเป็นแนวนอนเมื่อปลาโตขึ้นหน้า 70, ตะเพียน Update, "คุยเฟื่องเรื่องปลาไทย" โดย อ.ชัยวุฒิ กรุดพันธุ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะเพียนลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนสาละวิน

ปลาตะเพียนสาละวิน หรือ ปลาตะพากสาละวิน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus salweenensis ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาตะพากชนิดหนึ่ง มีขนาดความยาวประมาณ 20–40 เซนติเมตรเท่านั้น จัดเป็นปลาที่เล็กกว่าปลาตะพากชนิดอื่น มีลักษณะคือ ครีบหลังยกสูงตอนปลายมีสีดำ มีก้านครีบแข็งที่อันที่ 2 หยักที่ขอบด้านท้าย ครีบก้นสูงและมีฐานครีบสั้น เกล็ดไม่มีสีเหลืองหรือสีส้มหรือสีแดงเช่นปลาตะพากชนิดอื่น ๆ และมีรูปร่างที่ยาวกว่าปลาตะพากชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด มีพฤติกรรมที่ไม่ทราบแน่นอนและพบเฉพาะลุ่มน้ำสาละวินในภาคตะวันตกของไทยที่ติดกับชายแดนพม่าเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะเพียนสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนหยดน้ำ

ปลาตะเพียนหยดน้ำ (Snakeskin barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาเสือสุมาตรา (Puntigrus tetrazona) หรือปลาเสือข้างลาย (P. partipentazona) ซึ่งเดิมเคยอยู่ร่วมสกุลเดียวกัน แต่ปลาตะเพียนหยดน้ำมีรูปร่างที่ยาวกว่าอย่างเห็นได้ชัดเจน มีสีลำตัวน้ำตาลออกส้ม มีสีดำเป็นรูปหยดน้ำ 4-5 แถบ เป็นลักษณะเด่น มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงเหมือนปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน โดยแพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ติดกับใบของไม้น้ำ ไข่ฟักเป็นตัวภายใน 24-36 ชั่วโมง พบเฉพาะในแหล่งน้ำที่มีสีชา ด้วยมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (Ph) ของน้ำต่ำกว่า 7 เช่น น้ำในป่าพรุ บนเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ รวมกับปลาชนิดอื่น ๆ จัดเป็นปลาที่เลี้ยงได้ง่ายมาก สามารถกินได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะเพียนหยดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนอินเดีย

ปลาตะเพียนอินเดีย หรือ ปลาตะเพียนจุด (Blackspot barb, Filamented barb, Mahecola barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวเรียวยาวแบนข้าง พื้นลำตัวมีสีเหลืองอมชมพู ครีบหลัง ครีบอกและครีบหางมีสีแดงจาง ๆ ขอบหางด้านล่างและด้านบนมีสีดำ ที่โคนครีบหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน ปลาตัวผู้มีรูปร่างเพรียวบางกว่าตัวเมีย และมีครีบต่าง ๆ พริ้วยาวแลดูสวยงามกว่ามาก มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 13-15 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหาร จำพวกสัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 4 ปี พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่น้ำจืดและน้ำกร่อยในอินเดียตอนใต้ เช่น รัฐเกรละ, ทมิฬนาดู และกรณาฏกะ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะเพียนอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนจุด

ปลาตะเพียนจุด (Spotted barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่าง คือ ลำตัวแบนข้าง สันหลังโค้งเล็กน้อย หัวมีขนาดปานกลาง ปากแคบ มีหนวดยาว 2 คู่ โดยอยู่ที่จะงอยปาก 1 คู่ มุมปาก 1 คู่ ลำตัวมีสีเงินแวววาว มีจุดสีดำเป็นทรงกลมที่ครีบหลังและคอดหางแห่งละ 1 จุด เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบทั่วไปได้ที่ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ตั้งแต่ พม่า, ไทย, มาเลเซีย ไปจนถึงอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ง่ายบริเวณแหล่งน้ำที่เป็นลำธารหรือน้ำตกในป่าดิบ เช่น จังหวัดเชียงใหม่, นครศรีธรรมราช, จันทบุรี, ตราด, ชุมพร, เกาะช้าง และเกาะสมุย เป็นต้น มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินตะไคร่น้ำและอินทรียสารตามโขดหินและพื้นน้ำ รวมทั้งแมลงน้ำขนาดเล็ก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่ออยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN Red List) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ หรือ LC.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะเพียนจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนปากหนวด

ำหรับปลาปากหนวดชนิดอื่น ดูที่ Hypsibarbus vernayi ปลาตะเพียนปากหนวด หรือ ปลาปากคีบแดง (ชื่อท้องถิ่น) (Yellow eyed silver barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาในสกุลปลาตะพากชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในประเทศไทย มีลักษณะเหมือนปลาตะพากทั่วไป มีลำตัวกว้าง 9.5 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร พบยาวเต็มที่ 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำโขงในประเทศไทย ในต่างประเทศพบที่เวียดนามและมาเลเซีย เป็นปลาที่กินพืชน้ำ, ไส้เดือนน้ำ และแมลงน้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำโขงนั้น พบชุกชุมในช่วงปลายปี คือ เดือนกันยายน-พฤศจิกายน เป็นปลาเศรษฐกิจในชุมชน ที่ชนพื้นถิ่นจับมารับประทานและขายกันในท้องถิ่นเป็นวิถีชีวิต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะเพียนปากหนวด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนแคระ

ปลาตะเพียนแคระ (Pygmy barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายคล้ายกับปลาตะเพียน แต่ลำตัวเรียวยาวกว่า ตาโต ปากมีขนาดเล็ก ไม่มีหนวด เกล็ดมีขนาดใหญ่ ลำตัวใสมีสีเหลืองหรือสีน้ำตาลอ่อน ครีบใส ปลายครีบมีสีดำคล้ำ ตัวผู้มีครีบหลังใหญ่กว่าตัวเมีย ครีบก้นมีแต้มสีดำ ด้านหลังมีสีจาง ๆ มีขนาดความยาว 3-4 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำขึ้นอย่างหนาแน่นในป่าที่ราบต่ำหรือป่าพรุ พบในภาคตะวันออกและภาคใต้ไทย โดยพบได้ตั้งแต่ตอนเหนือของแหลมมลายู จัดเป็นปลาที่พบได้น้อย กินอหารจำพวก สัตว์น้ำหน้าดินและอินทรียสารต่าง ๆ เป็นอาหาร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตะเพียนแคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้ม

ปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้ม (Midas blenny, Persian blenny) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตั๊กแตนหิน (Blenniidae) เป็นปลาจำพวกปลาตั๊กแตนหิน หรือปลาเบลนนี่ มีลักษณะคล้ายปลาบู่ แต่ปากมีขนาดเล็ก เหนือตามีเส้นเป็นติ่งสั้น ๆ ไม่มีเกล็ด ครีบท้องเป็นเส้น ครีบหลังตอนเดียว ครีบหางมีลักษณะเหมือนพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว ตามีสีน้ำเงินอมฟ้า ครีบหลังเป็นสีเหลืองทองขอบฟ้า ตอนหลังสีเหลืองทอง ส่วนท้องสีชมพู มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 12 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการัง อาศัยอยู่ตามซอกหิน กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนสัตว์ และสัตว์น้ำขนาดเล็ก กระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ทะเลแดงจนถึงโพลีนีเซีย ในน่านน้ำไทยเป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อย พบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตามิน (สกุล)

ปลาตามิน เป็นสกุลของปลาน้ำจืด ในสกุล Amblyrhynchichthys (/แอม-ไบล-รีนค์-อิค-ธีส/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดยมีลักษณะทางอนุกรมวิธานที่สำคัญ คือ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่ค่อนข้างใหญ่ แข็ง และขอบจักเป็นฟันเลื่อย ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 9 ก้าน ปลายจมูกตัดตรงมีเยื่อเหมือนวุ้นรอบนัยน์ตา ระหว่างรูทวารจนถึงต้นครีบก้นมีเกล็ด 3 แถว เป็นปลาที่พบได้ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ จำแนกออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตามิน (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาดำ

ปลาตาดำ หรือ ปลาเปี่ยน หรือ ปลาปากเปี่ยน (Sharp-mouth barb) เป็นปลาน้ำจืดสกุล Scaphognathops (/สแค-โฟ-แน็ธ-ออฟส์/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มี 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตาดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาเหลือกยาวซอรัส

ปลาตาเหลือกยาวซอรัส (Ladyfish) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Elopidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาตาเหลือกยาวชนิดอื่น ๆ แต่ปลาตาเหลือกยาวซอรัสมีจำนวนซี่กรองเหงือก 12-15 ซี่ ที่ซี่กรองบนส่วนล่างด้านหน้าของกระดูกเหงือก มีลำตัวสีเงินหรือสีขาวแวววาว ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองจาง ๆ ปลายครีบหางเว้าลึกเป็นสองแฉก มีกระจายพันธุ์ทั่วไปในชายฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติก, เบอร์มิวดา, อ่าวเม็กซิโก จนถึงอเมริกาใต้ เป็นต้น มีขนาดโตเต็มที่ได้ 100 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไป 60 เซนติเมตร นิยมตกเป็นเกมกีฬา ซึ่งปลาตาเหลือกยาวซอรัส ครั้งหนึ่งเคยถูกระบุว่าเป็นชนิดของปลาตาเหลือกยาวที่พบได้ในน่านน้ำไทย แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปเป็นชนิด E. machnata.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตาเหลือกยาวซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตูหนา

ปลาตูหนา หรือ ปลาไหลหูดำ (Shortfin eel, Level-finned eel) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตูหนา (Anguilidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม ลักษณะโดยทั่วไปเหมือนปลาสะแงะ (A. bengalensis) ซึ่งอยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกัน แต่ปลาตูหนามีรูปร่างที่เล็กกว่า ครีบอกของปลาตูหนามีสีคล้ำ ในปลาโตเต็มวัยครีบหลังและครีบก้นมีสีคล้ำด้วยเช่นกัน จึงเป็นที่มาของชื่อว่า "ปลาไหลหูดำ" ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนไม่มีลวดลาย ใต้ท้องสีขาว ขนาดโตเต็มที่ได้ 1.5 เมตร ในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ภาคใต้ฝั่งตะวันตกแถบริมชายฝั่งอันดามัน เรื่อยไปจนถึงประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย และในภาคตะวันตกในชายแดนที่ติดกับประเทศพม่า เช่น จังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน เป็นต้น โดยชาวกะเหรี่ยงเรียกปลาชนิดนี้ว่า "หย่าที" ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกพบได้ตั้งแต่พม่า บังกลาเทศ จนถึงอินเดีย โดยปลาที่พบในประเทศแถบนี้จะเป็นสายพันธุ์ย่อยที่เรียกว่า A. b. pacifica ส่วนปลาที่พบในแถบเอเชียตะวันออกมีชื่อเรียกว่า A. b. bicolor ปลาตูหนามีพฤติกรรมจะกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่แถบป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำ ลูกปลาแรกเกิดมีลำตัวใสเหมือนวุ้นเส้น มีสีแดงเรื่อ จากนั้นเมื่อโตขึ้นจะค่อยอพยพว่ายทวนน้ำมาสู่แหล่งน้ำจืด ซึ่งบางครั้งอาจพบได้ไกลถึงลำธารน้ำตกบนภูเขา ปลาชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างมากโดยเฉพาะชาวไทยเชื้อสายจีนในแถบจังหวัดระนองหรือตรัง ถือเป็นเมนูราคาแพง สามารถนำไปปรุงได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ ย่าง หรือทำน้ำแดง ในต่างประเทศที่นิยมบริโภคได้แก่จีนและญี่ปุ่น โดยหน่วยงานประมงของประเทศเหล่านี้ได้มีการส่งเสริมให้เป็นปลาเศรษฐกิจ มีการทำฟาร์มเพาะขยายพันธุ์ แต่ว่าเนื้อมีกลิ่นคาวมาก จึงนิยมปลาตูหนาญี่ปุ่น (A. japonica) มากกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตูหนา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตูหนายุโรป

ปลาตูหนายุโรป หรือ ปลาไหลยุโรป (European eel, Common eel) ปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตูหนา (Anguillidae) มีรูปร่างเหมือนปลาตูหนาชนิดอื่น ๆ ทั่วไป โดยที่ปลาตูหนายุโรปมีข้อกระดูกสันหลังประมาณ 114 ข้อ เมื่อโตเต็มที่แล้วมีความยาวได้มากกว่า 1 เมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยจะอยู่ที่ 60-80 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ตามแถบชายฝั่งแม่น้ำในทวีปยุโรปและใกล้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยที่ปลาพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์จะว่ายน้ำไปวางไข่ในทะเลลึก โดยจะใช้เวลานานถึง 1-2 เดือน ลูกปลาเมื่อฟักเป็นตัวอ่อน จะมีลักษณะใส โปร่งแสง เหมือนวุ้นเส้น เมื่อปลาวางไข่แล้วจะตาย ขณะที่ลูกปลาขนาดเล็กจะเดินทางกลับสู่แม่น้ำทางทวีปยุโรป โดยลอยไปตามกระแสน้ำอุ่นกัลฟ์สตรีม และถูกกินระหว่างทางเป็นจำนวนมาก ตัวอ่อนใช้เวลาถึง 2 ปี ในการเดินทางถึงมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง จนกระทั่งถึงปลายปีที่ 3 จึงถึงชายฝั่งแม่น้ำในทวีปยุโรป โดยจะใช้เวลา 8-15 ปี ในการเจริญเติบโต จนเป็นตัวเต็มวัย ก่อนที่จะหวนกลับไปวางไข่ในทะเลตามวงจรชีวิต จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างหนึ่งชนิดหนึ่ง ของทวีปยุโรป โดยใช้บริโภคกันมาอย่างยาวนาน สามารถปรุงได้หลายวิธีและจัดเป็นอาหารราคาแพง จนกระทั่งในกลางปี ค.ศ. 2009 รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ได้ออกกฎหมายห้ามล่าปลาตูหนายุโรปเพื่อการค้าระหว่างเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน เพราะเกรงว่าจะสูญพันธุ์ ทั้งนี้มีจำนวนประชากรปลาตูหนายุโรปลดลงกว่าร้อยละ 95 ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา คาดว่าเกิดจากการจับในปริมาณที่มากเกิน รวมถึงมลภาวะน้ำเป็นพิษจากการปล่อยสารเคมีลงในแม่น้ำและการติดเชื้อร้ายแรง ผู้ใดละเมิดจะถูกปรับเป็นเงิน 3,000 ยูโร (เกือบ 150,000 บาท) และจะขยายเป็นตลอด 3 เดือนในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ส่งผลกระทบชาวประมงที่ยึดอาชีพจับปลา ทางรัฐบาลจะจ่ายค่าชดเชยจำนวนทั้งสิ้น 700,000 ยูโร (ราว 23.8 ล้านบาท) จากการคำนวณของกลุ่มชาวประมงที่คาดว่าจะขาดรายได้เดือนละ 1,000 ยูโร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาตูหนายุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลาม

ปลาฉลาม (ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Selachimorpha) เป็นปลาในชั้นปลากระดูกอ่อนจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างโดยรวมเพรียวยาว ส่วนใหญ่มีซี่กรองเหงือก 5 ซี่ ครีบทุกครีบแหลมคม ครีบหางเป็นแฉกเว้าลึก มีจุดเด่นคือ ส่วนหัวและจะงอยปากแหลมยาว ปากเว้าคล้ายพระจันทร์เสี้ยวภายในมีฟันแหลมคม ปลาฉลามทุกชนิดเป็นปลากินเนื้อ มักล่าสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหาร แต่ก็มีฉลามบางจำพวกที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร เช่น ปลาฉลามในอันดับ Orectolobiformes ได้แก่ ปลาฉลามวาฬ, ปลาฉลามในอันดับ Lamniformes เช่น ปลาฉลามเมกาเมาท์ (Megachasma pelagios) และปลาฉลามอาบแดด (Cetorhinus maximus) แต่ปลาฉลามบางสกุลในอันดับ Lamniformes เช่น ปลาฉลามมาโก (Isurus spp.) และปลาฉลามในอันดับ Carcharhiniformes มีรูปร่างเพรียวยาว ว่ายน้ำได้ปราดเปรียว โดยอาจทำความเร็วได้ถึง 35 กิโลเมตร/ชั่วโมง เช่น ซึ่งฉลามในอันดับนี้ หลายชนิดเป็นปลาที่ดุร้าย อาจทำร้ายมนุษย์หรือกินสิ่งต่าง ๆ ถึงแม้จะไม่ใช่อาหารได้ด้วย ฉลามในอันดับนี้ได้แก่ ปลาฉลามขาว (Carcharodon carcharias), ปลาฉลามเสือ (Galeocerdo cuvier), ปลาฉลามหัวบาตร (Carcharhinus leucas) เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังมีปลาฉลามที่มีรูปร่างประหลาดและพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากปลาฉลามส่วนใหญ่ อาทิ ปลาฉลามเสือดาว (Stegostoma fasciatum), ปลาฉลามกบ (Chiloscyllium spp.) ที่อยู่ในอันดับ Orectolobiformes ซึ่งเป็นปลาฉลามที่ไม่ดุร้าย มักหากินและอาศัยอยู่ตามพื้นทะเล มีครีบหางโดยเฉพาะครีบหางตอนบนแหลมยาวและมีขนาดใหญ่ และมักมีสีพื้นลำตัวเป็นลวดลายหรือจุดต่าง ๆ เพื่อพรางตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม หรือ ปลาฉลามโบราณ (Chlamydoselachus anguineus) ที่อยู่ในอันดับ Hexanchiformes ที่มีรูปร่างยาวคล้ายปลาไหล เป็นปลาน้ำลึกที่หาได้ยากมาก ๆ และเดิมเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว ปลาฉลามโดยมากเป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว ในตัวผู้จะมีอวัยวะเพศเป็นติ่งยื่นยาวออกมาหนึ่งคู่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "เดือย" หรือ "Clasper" ในภาษาอังกฤษ แต่ก็มีเพียงบางชนิดเท่านั้นที่ออกลูกเป็นไข่ โดยมากแล้วเป็นปลาทะเล อาศัยอยู่ในทะเลทั้งเขตอบอุ่นและขั้วโลก มีเพียงบางสกุลและบางชนิดเท่านั้น ที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ อาทิ ปลาฉลามแม่น้ำ (Glyphis spp.) ที่เป็นปลาฉลามน้ำจืดแท้ โดยมีวงจรชีวิตอยู่ในน้ำจืดตลอดทั้งชีวิต และปลาฉลามหัวบาตร หรือ ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinus melanopterus) ที่มักหากินตามชายฝั่งและปากแม่น้ำ ซึ่งอาจปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดสนิทได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลาม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามพยาบาล

ปลาฉลามพยาบาล หรือ ปลาฉลามขี้เซา (nurse shark, sleepy shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ginglymostoma cirratum อยู่ในวงศ์ Ginglymostomatidae เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ginglymostoma โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นคำว่า Ginglymostoma หรือ Ginglymostomatidae มาจากภาษากรีกคำว่า γίγγλυμος (ginglymos) หมายถึง "บานพับ" หรือ "สายยู" และ στόμα (stoma) หมายถึง "ปาก" และคำว่า cirratum มาจากภาษากรีก หมายถึง "ขด" หรือ "ว่ายน้ำ" จัดเป็นปลาฉลามในอันดับ Orectolobiformes หรือปลาฉลามหน้าดินขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายกับปลาฉลามพยาบาลสีน้ำตาล (Nebrius ferrugineus) ที่พบได้ในทวีปเอเชียและแอฟริกา ซึ่งในอดีตได้สร้างความสับสนให้แก่แวดวงวิชาการมาแล้ว โดยปลาฉลามพยาบาลจะพบได้ตามแถบหมู่เกาะแคริบเบียน, แถบชายฝั่งของรัฐฟลอริดาตอนใต้และฟลอริดาคียส์, ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา, ทะเลคอร์เตสไปจนถึงชายฝั่งเปรูในทวีปอเมริกาใต้ มีขากรรไกรที่แข็งแรง ในปากมีฟันที่แบนและงุ้มเข้าภายใน ใช้สำหรับงับอาหารซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็กกว่าตามหน้าดินและสัตว์มีกระดองและมอลลัสคาต่าง ๆ รวมถึงหอยเม่นให้อยู่และกัดให้แตก โดยใช้อวัยวะที่คล้ายหนวดเป็นเครื่องนำทางและเป็นประสาทสัมผัส จะใช้วิธีการกินด้วยการดูดเข้าปาก มีครีบหางที่ยาวถึงร้อยละ 25 ของความยาวลำตัว ลำตัวเป็นสีเหลืองน้ำตาลจนถึงสีน้ำตาลเข้ม ขณะที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีจุดเข้มเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่ว ขณะกินอาหาร เป็นปลาที่อาศัยและหากินตามพื้นน้ำในความลึกไม่เกิน 70 เมตร บางครั้งพบได้ใกล้ชายฝั่งหรือป่าชายเลน เนื่องจากเข้ามาหาอาหารกิน ใช้เวลาหากินในเวลากลางคืน และนอนหลับตามโพรงถ้ำหรือกองหินในเวลากลางวัน เป็นปลาที่มักจะอยู่นิ่ง ๆ ซึ่งบางครั้งอาจพบรวมตัวกันได้นับสิบตัวVacation Nightmares, "Dangerous Encounters".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามพยาบาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามพยาบาลสีน้ำตาล

ปลาฉลามพยาบาลสีน้ำตาล หรือ ปลาฉลามขี้เซาสีน้ำตาล (Tawny nurse shark, Nurse shark, Sleepy shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nebrius ferrugineus (นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ปลาฉลามพยาบาล หรือ ปลาฉลามขี้เซา) อยู่ในวงศ์ Ginglymostomatidae เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Nebrius จัดเป็นปลาฉลามในอันดับ Orectolobiformes หรือปลาฉลามหน้าดินขนาดใหญ่ จะงอยปากยื่นยาว ตาเล็กมาก มีรูหายใจเล็ก ๆ อยู่หลังตา ครีบใหญ่ ปลายครีบแหลม ครีบอกโค้งยาว ครีบหางยาว มีครีบก้น ลำตัวสีน้ำตาลเข้มหรือสีเทาอมน้ำตาลอ่อน และอาจมีจุดกระสีดำเล็ก ๆ กระจายไปทั่ว ซึ่งในครั้งหนึ่งเคยสร้างความสับสนให้แก่แวดวงวิชาการว่ามี 2 ชนิดหรือไม่ แต่ในปัจจุบันได้จัดแบ่งออกมาเป็นอีกชนิด คือ ปลาฉลามพยาบาล (Ginglymostoma cirratum) ซึ่งเป็นปลาฉลามพยาบาลชนิดที่พบได้ในทวีปอเมริกา มีขากรรไกรที่แข็งแรง ในปากมีฟันที่แบนและงุ้มเข้าภายใน ใช้สำหรับงับอาหารซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็กกว่าตามหน้าดินและสัตว์มีกระดองและมอลลัสคาต่าง ๆ รวมถึงหอยเม่นให้อยู่และกัดให้แตก โดยใช้อวัยวะที่คล้ายหนวดเป็นเครื่องนำทางและเป็นประสาทสัมผัส จะใช้วิธีการกินด้วยการดูดเข้าปาก เป็นปลาที่อาศัยและหากินตามพื้นน้ำในความลึกไม่เกิน 70 เมตร ตามกองหินหรือแนวปะการังใต้น้ำ บางครั้งพบได้ใกล้ชายฝั่งหรือป่าชายเลน เนื่องจากเข้ามาหาอาหารกินVacation Nightmares, "Dangerous Encounters".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามพยาบาลสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามมาโก

ปลาฉลามมาโก (Mako shark) ปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาฉลามในสกุล Isurus (/อิ-ซัว-รัส/) ในวงศ์ Lamnidae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาฉลามขาว ซึ่งเป็นปลากินเนื้อและสัตว์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ปลาฉลามมาโก จัดเป็นปลาฉลามที่มีความปราดเปรียวว่องไว เป็นปลาฉลามที่ว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลก โดยทำความเร็วได้ถึง 50-70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้เป็นผลมาจากการขยับหางที่เว้าเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถเพิ่มความเร็วได้ในช่วงระยะเวลาเสี้ยววินาที เพื่อใช้ในการล่าเหยื่อประเภทต่าง ๆ เช่น โลมา, แมวน้ำ หรือเต่าทะล จากการจู่โจมจากด้านล่าง อีกทั้งยังสามารถกระโดดได้พ้นน้ำได้สูงถึง 9 เมตรอีกด้วย เป็นปลาที่มีดวงตากลมโตสีดำสนิท ภายในปากมีฟันแหลมคมจำนวนมากจนล้นออกนอกปาก จัดเป็นปลาฉลามอีกจำพวกหนึ่งที่ทำอันตรายมนุษย์ได้ เป็นปลาที่ถือกำเนิดมาจากตั้งแต่ยุคครีเตเชียสจนถึงควอเทอนารี (ประมาณ: 99.7 ถึง 0.781 ล้านปีก่อน) จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน มีความยาวประมาณ 2.5 ถึง 4.5 เมตร (8.2 ถึง 14.8 ฟุต) และน้ำหนักมากที่สุดถึง 800 กิโลกรัม (1,800 ปอนด์) โดยคำว่า "มาโก" มาจากภาษามาวรี หมายถึง ปลาฉลามหรือฟันปลาฉลาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามมาโก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามวาฬ

ปลาฉลามวาฬ (Whale shark) เป็นปลาฉลามเคลื่อนที่ช้าที่กินอาหารแบบกรองกิน เป็นปลาขนาดใหญ่ที่สุด ยาวถึง 12.65 ม. หนัก 21.5 ตัน แต่มีรายงานที่ไม่ได้รับยืนยันว่ายังมีปลาฉลามวาฬที่ใหญ่กว่านี้ เป็นปลาชนิดเดียวในสกุล Rhincodon และวงศ์ Rhincodontidae (ก่อนปี ค.ศ. 1984 ถูกเรียกว่า Rhinodontes) ซึ่งเป็นสมาชิกในชั้นย่อย Elasmobranchii ในชั้นปลากระดูกอ่อน ปลาฉลามวาฬพบได้ในทะเลเขตร้อนและอบอุ่น อาศัยอยู่ในทะเลเปิด มีช่วงอายุประมาณ 70 ปี ปลาฉลามชนิดนี้กำเนิดเมื่อประมาณ 60 ล้านปีมาแล้ว อาหารหลักของปลาฉลามวาฬคือแพลงก์ตอน ถึงแม้ว่ารายการแพลนเน็ตเอิร์ธของบีบีซีจะถ่ายภาพยนตร์ขณะที่ปลาฉลามวาฬกำลังกินฝูงปลาขนาดเล็กไว้ได้Jurassic Shark (2000) documentary by Jacinth O'Donnell; broadcast on Discovery Channel, August 5, 2006.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามวาฬ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหลังหนาม

ปลาฉลามหลังหนาม (Spurdog) เป็นสกุลของปลาฉลามสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Squalus ในวงศ์ปลาฉลามน้ำลึก (Squalidae) โดยที่คำว่า Squalus นั้นมาจากภาษาละตินหมายถึง "ปลาฉลาม" ซึ่งคำนี้ยังเป็นรากศัพท์ของปลาฉลามอีกจำนวนมาก มีลักษณะเด่นคือ ครีบหลังบริเวณก้านครีบที่เป็นหนามแหลม อันเป็นที่มาของชื่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหลังหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น

ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น (Shortspine spurdog, Green-eye spurdog) เป็นปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาฉลามชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาฉลามน้ำลึก (Squalidae) ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้นเป็นปลาฉลามที่มีขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่มีขนาดไม่เกิน 1 เมตร มีลักษณะเด่น คือ ครีบหลังมีก้านครีบที่เป็นหนามแหลม อันเป็นที่มาของชื่อ ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น เป็นปลาที่หาอาศัยและหากินบริเวณหน้าดินที่เป็นโขดหินในจุดที่ลึกมากถึง 950 เมตร แต่ส่วนใหญ่จะพบในความลึกประมาณ 100-700 เมตร เช่น ไหล่ทวีป แต่บางครั้งอาจพบได้ที่บริเวณชายฝั่ง แพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย จนถึงตอนใต้ของออสเตรเลีย ในเขตน่านน้ำไทยจะพบได้ในทะเลอันดามัน ในบริเวณไหล่ทวีปที่ลึกประมาณ 90 เมตร เป็นปลาที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร สามารถจับได้ด้วยอุปกรณ์ประมงแบบน้ำลึก และใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้ เช่น ทำน้ำมันปลา และผิวหนังนำไปทำเป็นกระดาษทร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหัวบาตร

ปลาฉลามหัวบาตร (Bull shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหัวบาตร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหัวค้อน

ปลาฉลามหัวค้อน (Hammerhead shark) เป็นปลาฉลามในวงศ์ Sphyrnidae มีเพียงสกุลเท่านั้น คือ Sphyrna.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหัวค้อนยาว

ปลาฉลามหัวค้อนยาว (Winghead shark ชื่อวิทยาศาสตร์ Eusphyra blochii) คือสปีชีส์ในกลุ่มปลาฉลามหัวค้อนและเป็นส่วนหนึ่งในวงศ์ปลาฉลามหัวค้อน มีความยาวของลำตัวได้ถึง 1.9 เมตร มีสีน้ำตาลหรือสีดำ มีรูปร่างเพรียวบางและมีครีบหลังในรูปเคียวด้ามยาว ชื่อของฉลามชนิดนี้มาจากลักษณะส่วนหัวรูปค้อนที่มีขนาดใหญ่มากเรียกว่า cephalofoil ซึ่งมีความกว้างได้มากถึงครึ่งหนึ่งของความยาวลำตัว การใช้งานจากโครงสร้างลำตัวเช่นนี้ไม่ปรากฏชัดเจนแต่อาจเกี่ยวกับระบบประสาทสัมผัสของฉลาม ช่องว่างระหว่างตาทั้งสองข้างช่วยให้ฉลามมองด้วยระบบการเห็นภาพจากสองตาได้ดีเยี่ยม ส่วนรูจมูกที่ยาวมากนั้นอาจช่วยให้ฉลามตรวจจับและติดตามกลิ่นในน้ำได้ดียิ่งขึ้น ส่วนหัว cephalofoil ยังมีพื้นสัมผัสที่มีขนาดใหญ่สำหรับรูเปิดที่มีชื่อว่าampullae of Lorenziniและเส้นข้างลำตัวซึ่งส่งผลดีต่อความสามารถในการตรวจจับกระแสไฟฟ้าและการตรวจจับพลังงาน ปลาฉลามหัวค้อนยาวอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งน้ำตื้นของทะเลอินโด-แปซิฟิกตะวันตก โดยออกหาอาหารกลุ่มปลากระดูกแข็ง สัตว์พวกกุ้งกั้งปูและสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ฉลามหัวค้อนยาวออกลูกเป็นตัวโดยตัวอ่อนจะได้รับอาหารผ่านทางสายที่เชื่อมรก ตัวเมียจะตกลูกคราวละ 6-25 ตัว ขึ้นอยู่กับพื้นที่อาศัย ช่วงเวลาตกลูกมักเกิดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงมิถุนายนหลังจากระยะเวลาตั้งครรภ์นาน 8-11 เดือน ฉลามที่มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์นี้ มักจะถูกล่าเพื่อเป็นอาหาร สำหรับเนื้อปลา ครีบ น้ำมันตับปลาและปลาป่น สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติได้ประเมินสถานะเป็นสิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เนื่องจากจำนวนของฉลามที่ลดลงเนื่องมาจากการถูกล่าหาประโยชน์ที่มากเกินไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหัวค้อนยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหางไหม้ (อินโดนีเซีย)

ปลาฉลามหางไหม้ (Bala shark, Silver shark, Tricolor sharkminnow) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา ใต้คางมีแผ่นหนังเป็นถุงเปิดออกด้านท้าย ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลำตัว โดยเฉพาะครีบหางซึ่งเว้าเป็นแฉกลึก สีของลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ด้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นและครีบหาง สีเหลืองหรือสีเหลืองอมขาว และมีขอบเป็นแถบดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ว่ายน้ำได้ปราดเปรียวมาก และกระโดดขึ้นได้สูงจากน้ำมาก มีขนาดโตเต็มราว 20–30 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบแพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำของประเทศอินโดนีเซีย มีความว่องไวปราดเปรียวมาก โดยสามารถที่จะกระโดดได้สูงถึง 2 เมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปัจจุบันมีสถานะในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์แล้ว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยใช้วิธีการผสมเทียมด้วยการฉีดฮอร์โมน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหางไหม้ (อินโดนีเซีย) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหางไหม้ (ไทย)

ปลาหางไหม้ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาฉลามหางไหม้ (Burnt-tailed barb, Siamese bala-shark) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ปลาหางไหม้ มีรูปร่างและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา ใต้คางมีแผ่นหนังเป็นถุงเปิดออกด้านท้าย ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลำตัว โดยเฉพาะครีบหางซึ่งเว้าเป็นแฉกลึก สีของลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ด้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นและครีบหาง สีส้มแดงและขอบเป็นแถบดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ว่ายน้ำได้ปราดเปรียวมาก และกระโดดขึ้นได้สูงจากน้ำมาก มีขนาดโตเต็มราว 20–30 เซนติเมตร นิยมอยู่เป็นฝูง หากินตามใต้พื้นน้ำ ในอดีตพบชุกชุมในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ในประเทศไทย แต่ปัจจุบันไม่พบแล้ว เชื่อว่าได้สูญพันธุ์ไปจนหมดแล้ว สันนิษฐานว่าเป็นผลมาจากการจับจากธรรมชาติเพื่อจำหน่ายเป็นปลาสวยงาม แต่ก็เพียงข้อสันนิษฐาน โดยถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตถิ่นเดียว แม้จะมีรายงานพบในลุ่มแม่น้ำโขง ในเวียดนาม, กัมพูชา และลาว แต่ทว่าก็ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน และไม่เป็นที่ยอมรับจาก IUCN ซึ่งในอดีตปลาหางไหม้ได้ถูกใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ร่วมกับปลาฉลามหางไหม้ชนิดที่พบในประเทศอินโดนีเซีย (B. melanopterus) และถูกใช้ชื่อวิทยาศาสตร์และข้อมูลนี้มาโดยตลอด จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2007 มีการจัดอนุกรมวิธานกันขึ้นมาใหม่ Ng, Heok Hee; Kottelat, Maurice (2007).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหางไหม้ (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหนูใหญ่

ปลาฉลามหนูใหญ่ หรือ ปลาฉลามหนูหัวแหลม (Spadenose shark, Walbeehm's sharp-nosed shark) เป็นปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง จำพวกปลาฉลาม อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) เป็นปลาฉลามเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในสกุล Scoliodon ปลาฉลามหนูใหญ่ จัดเป็นปลาฉลามขนาดเล็ก มีอุปนิสัยไม่ค่อยดุร้าย มีรูปร่างยาวเพรียวคล้ายกระสวย ความยาวของลำตัวมาก หัวแบนลาดลงไปทางด้านหน้า จะงอยปากยาว ฟันที่ตาค่อนข้างโต มีเยื่อหุ้มตา ปากอยู่ด้านล่าง รูปร่างโค้งคล้ายรูปพระจันทร์เสี้ยว มีฟันคม ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ขอบเรียบ ครีบหลังมี 2 อัน อันแรกมีขนาดใหญ่รูปสามเหลี่ยม อันที่สองมีขนาดเล็กเกล็ดมีฐานรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนฝังอยู่ใต้ผิวหนัง โผล่เฉพาะปลายที่เป็นหนามแข็งและคม เมื่อลูบจะสากมือ ครีบหูมีขนาดใกล้เคียงกับกระโดงหลัง ครีบหางมีขนาดใหญ่ และแยกเป็น 2 ส่วน อันบนมีขนาดใหญ่กว่าอันล่างมาก พื้นลำตัวสีเทาเข้ม ท้องสีขาว ครีบต่าง ๆ สีดำ มีความยาวตั้งแต่ 35-95 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในพื้นทะเลที่เป็นทราย หรือเป็นโคลนแถบชายฝั่งตื้น ๆ อาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยและน้ำจืดได้ด้วย พบตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทวีปเอเชีย จนถึงญี่ปุ่น ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ฝั่งอ่าวไทย เป็นปลาฉลามอีกชนิดหนึ่ง ที่ใช้บริโภคได้ โดยเนื้อมีราคาถูก นิยมทำเป็นลูกชิ้น ขณะที่ครีบต่าง ๆ นำไปทำเป็นหูฉลาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามหนูใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามจ้าวมัน

ปลาฉลามจ้าวมัน หรือ ปลาฉลามสีเทา (Grey reef shark, Gray reef shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายกับปลาฉลามในสกุลนี้ทั่วไป เช่น ปลาฉลามครีบดำ (C. melanopterus) แต่ทว่ามีรูปร่างที่หนาและบึกบึนกว่า ครีบหลังทำมุมเป็นรูปสามเหลี่ยม ลำตัวเป็นสีเทาอมฟ้า ส่วนท้องเป็นสีขาว มีขนาดลำตัวใหญ่เต็มที่ประมาณ 1.9 เมตร พบใหญ่ที่สุดถึง 2.6 เมตร และน้ำหนักเต็มที่ 33.7 กิโลกรัม อายุขัยโดยเฉลี่ย 25 ปี พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการังและกองหินในแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ จนถึงออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยมักพบติดมากับอวนหรือเครื่องมือประมง หายากกว่าปลาฉลามครีบดำ และหายากที่พบตัวที่มีชีวิตอยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามจ้าวมัน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามขาว

ปลาฉลามขาว (Great white shark) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง มีขนาดตัวที่ค่อนข้างใหญ่ พบได้ตามเขตชายฝั่งแถบทะเลใหญ่ มีความยาวประมาณ 6 เมตร น้ำหนักประมาณ 2250 กิโลกรัม ทำให้ปลาฉลามขาวเป็นปลากินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก รวมถึงเป็นสัตว์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชี่ส์เดียวในสกุล Carcharodon ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์อยู่ในปัจจุบัน โดยเป็นปลาที่ถือกำเนิดมาแล้วนานกว่า 16 ล้านปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครุย

ปลาฉลามครุย (Frilled shark; ラブカ) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างประหลาดมากคล้ายปลาไหล อาศัยอยู่ในน้ำลึก 1,968 – 3,280 ฟุต มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chlamydoselachus anguineus ในอยู่ในวงศ์ Chlamydoselachidae เดิมเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มีรายงานพบในหลายพื้นที่ รวมถึงในเขตน่านน้ำของญี่ปุ่น ทำให้ปลาฉลามครุยกลายเป็น "ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต" อีกชนิดหนึ่งของโลก เพราะเชื่อว่ามันไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเลยมาตั้งแต่ยุคครีเทเชียส จนกระทั่งถึงปัจจุบัน บริเวณส่วนหัว ลักษณะฟันและปาก ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2007 ปลาฉลามชนิดนี้ได้สร้างความฮือฮากลายเป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก เมื่อชาวประมงชาวญี่ปุ่นสามารถจับตัวอย่างที่ยังมีชีวิตได้ตัวหนึ่งในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งใกล้สวนน้ำอะวาชิมา ในเมืองชิซุโอะกะทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงโตเกียว ซึ่งเชื่อว่าปลาตัวนี้ลอยขึ้นมาเพราะร่างกายอ่อนแอเนื่องจากความร้อนที่ขึ้นสูงของอุณหภูมิของน้ำ ซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานก็ตายไป เชื่อว่าปลาฉลามชนิดนี้ กระจายพันธุ์อยู่ในเขตน้ำลึกใกล้นอร์เวย์, แอฟริกาใต้, นิวซีแลนด์, ชิลี และญี่ปุ่น มีรูปร่างเรียวยาวคลายปลาไหลหรืองูทะเล เป็นไปได้ว่าตำนานงูทะเลขนาดใหญ่ที่เป็นเรื่องเล่าขานของนักเดินเรือในสมัยอดีตอาจมีที่มาจากปลาฉลามชนิดนี้ มีผิวสีน้ำตาลหรือเทาเข้ม มีซี่กรองเหงือก 6 คู่ สีแดงสด และฟูกางออกเหมือนซาลาแมนเดอร์บางชนิด ทำให้ดูแลเหมือนครุย ซึ่งมีไว้สำหรับดูดซับออกซิเจนโดยเฉพาะ เนื่องจากในทะเลลึกมีปริมาณออกซิเจนน้อยกว่าด้านบนถึงกว่าครึ่ง ปากกว้างเลยตำแหน่งของตา ภายในปากมีฟันที่แตกเป็นดอกแหลม ๆ 3 แฉก ทำให้สันนิษฐานว่าเป็นปลาที่ล่าปลาเล็กเป็นอาหารที่เก่งฉกาจชนิดหนึ่ง ความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 ฟุต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามครุย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครีบขาว

ปลาฉลามครีบขาว (Whitetip reef shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Triaenodon มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายกับปลาฉลามในวงศ์เดียวกันนี้ รูปร่างเพรียวยาว แต่มีส่วนหัวที่แบนราบกว่า ตาโต มีจุดเด่นอยู่ที่ปลายครีบมีแต้มสีขาวที่ครีบหลังและครีบหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1.6 เมตร น้ำหนักราว 18 กิโลกรัม ถือเป็นปลาฉลามขนาดเล็ก มีพฤติกรรมชอบอยู่ลำพังตัวเดียว หรือบางครั้งจะพบได้เป็นฝูง โดยอาจพบได้มากกว่า 30-40 ตัว โดยมากมักจะอาศัยและหากินบริเวณพื้นน้ำในเวลากลางคืน ในช่วงกลางวันจะพักผ่อน อาหารโดยมาก ได้แก่ กุ้ง, หอย, ปู, หมึกยักษ์ และปลาขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ โดยปลาฉลามครีบขาวมีความพิเศษต่างจากปลาจำพวกอื่น ๆ คือ การที่มีส่วนหัวที่แบนราบและลำตัวที่เพรียวยาวคล้ายปลาไหล ทำให้สามารถซอกซอนไปในโขดหินหรือแนวปะการังเพื่อหาอาหารได้ ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 3-5 ตัว ตั้งท้องราว 1 ปี มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 25 ปี เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 5 ปี พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟ ในน่านน้ำไทยจะพบได้ที่บริเวณหมู่เกาะสิมิลัน จัดเป็นปลาฉลามที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ และครีบสามารถนำไปทำเป็นหูฉลามได้เหมือนกับปลาฉลามชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามครีบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครีบดำ

ปลาฉลามครีบดำ หรือ ปลาฉลามหูดำ (Blacktip reef shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเพรียวยาว ปากกว้าง มีแถบดำที่ครีบหลัง ครีบไขมัน ครีบก้น และครีบหางตอนล่าง เป็นที่มาของชื่อ กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร มีนิสัยไม่ดุร้ายเมื่อเทียบกับปลาฉลามชนิดอื่น ๆ นิยมอยู่รวมเป็นฝูงบริเวณใกล้ชายฝั่ง และอาจเข้ามาในบริเวณน้ำกร่อย หรือปากแม่น้ำ โดยสามารถเข้ามาหากินใกล้ชายฝั่ง แม้กระทั่งในพื้นที่ ๆ มีน้ำสูงเพียง 1 ฟุต เป็นปลาหากินในเวลากลางคืน ในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวพักผ่อนตามแนวปะการัง โดยจะหากินอยู่ในระดับน้ำความลึกไม่เกิน 100 เมตร ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ตัวเมียตั้งท้องนาน 18 เดือน ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 2-4 ตัว เมื่อโตขึ้นมาแล้วสีดำตรงที่ครีบหลังจะหายไป คงเหลือไว้แต่ตรงครีบอกและครีบส่วนอื่น ปลาฉลามครีบดำ นับเป็นปลาฉลามชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดในทะเล และเป็นต้นแบบของปลาฉลามในสกุลปลาฉลามปะการัง มีนิสัยเชื่องคน สามารถว่ายเข้ามาขออาหารได้จากมือ เป็นที่ชื่นชอบของบรรดาผู้ที่นิยมการดำน้ำ พบทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นิยมใช้บริโภคโดยเฉพาะปรุงเป็นหูฉลาม เมนูอาหารจีนราคาแพง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามครีบดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามปากเป็ดจีน

ปลาฉลามปากเป็ดจีน (จีนตัวย่อ: 白鲟; จีนตัวเต็ม: 白鱘; พินอิน: báixún) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Psephurus gladius อยู่ในวงศ์ปลาฉลามปากเป็ด (Polyodontidae) ในอันดับปลาสเตอร์เจียน (Acipenseriformes) ซึ่งมีอยู่ด้วยกันเพียง 2 ชนิด (อีกชนิดหนึ่งคือ ปลาฉลามปากเป็ด (Polyodon spathula) พบในทวีปอเมริกาเหนือบริเวณลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปี) ปลาฉลามปากเป็ดจีนเป็นปลาที่พบเฉพาะแม่น้ำ, ทะเลสาบ และสาขาของแม่น้ำแยงซี และตัวโตเต็มวัยมักจะอพยพลงสู่ทะเล และบ่อยครั้งที่จะถูกพบในทะเลเหลือง ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของประเทศจีน หากจะกล่าวว่ามีการพบเห็นบางตัวได้โดยบังเอิญโดยการเดินทางเนื่องจากกระแสน้ำในฤดูใบไม้ผลิ ปลาชนิดนี้เป็นปลาที่อยู่ตัวเดียว แต่ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ กลับพบเห็นตัวเต็มวัยขนาดต่าง ๆ มารวมตัวกันในแหล่งน้ำตื้น ปลาฉลามปากเป็ดจีนเป็นปลากินปลา ซึ่งต่างจากอีกชนิดที่พบในทวีปอเมริกาเหนือที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหารหลัก การหาอาหารจะอยู่ในระดับความลึกจากกลางน้ำลงไป ขากรรไกรของปลาชนิดนี้สามารถยื่นออกมาได้ในขณะที่ขากรรไกรปลาฉลามปากเป็ดอเมริกาเหนือไม่สามารถยื่นยาวออกไปคว้าเหยื่อได้ ปลาฉลามปากเป็ดจีนสามารถโตเต็มที่ได้ถึง 7 เมตร ซึ่งใหญ่กว่าปลาฉลามปากเป็ดอเมริกาเหนือมาก น้ำหนักถึง 300 กิโลกรัม ฤดูผสมพันธุ์ของปลาฉลามปากเป็ดจีนจะเกิดขึ้นประมาณกลางเดือนมีนาคมไปจนถึงต้นเดือนเมษายน ปลาที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 25 กิโลกรัมขึ้นไป มารวมตัวกันบริเวณพื้นที่กลางแม่น้ำที่มีท้องน้ำเป็นดินโคลนหรือทราย ที่มีความเร็วของกระแสน้ำ 0.72–0.94 m/s ปริมาณอ็อกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำ 8–10 มิลลิกรัม/l ค่า pH 8.2 อุณหภูมิประมาณ 18.3–20.0 องศาเซลเซียส ช่วงที่ตัวผู้ปล่อยน้ำเชื้อน้ำบริเวณนั้นจะขุ่นราวกับสีน้ำนม ในขณะที่ตัวเมียสามารถผลิตไข่ได้ถึง 100,000 ฟอง มีเส้นผ่าศูนย์กลางราว 2.7 มิลลิเมตร มีสีเทาอมน้ำตาล ปัจจุบัน ปลาฉลามปากเป็ดจีนเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่อยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญพันธุ์เป็นอย่างยิ่ง เป็นปลาที่หาได้ยากมาก น้อยครั้งที่จะพบตัวแม้จะเป็นเพียงซากก็ตาม ในปัจจุบัน ทางการจีนได้ให้การอนุรักษ์และศึกษาเป็นการด่วน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามปากเป็ดจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามนางฟ้า

ปลาฉลามนางฟ้า (Angel shark) ปลากระดูกอ่อนทะเลจำพวกปลาฉลาม จัดอยู่ในอันดับ Squatiniformes วงศ์ Squatinidae ปลาฉลามนางฟ้า เป็นปลาฉลามที่มีลำตัวแบนราบคล้ายกับปลากระเบน แต่ไม่มีครีบก้น เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลเขตร้อน สามารถพบได้ในทะเลลึกถึง 1,300 เมตร (4,300 ฟุต) ปลาฉลามนางฟ้า เป็นปลาที่หากินตามพื้นทะเลทั้งพื้นทรายหรือพื้นโคลน โดยหาอาหารกินคล้ายกับปลากระเบน หรือปลาฉนาก ซึ่งเป็นปลากระดูกอ่อนเช่นเดียวกัน แต่ต่างอันดับและวงศ์กันออกไป อาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็ก, หอย หรือครัสเตเชียน ปลาฉลามนางฟ้า มีความยาวประมาณ 1.5-2 เมตร เป็นปลาที่ออกลูกเป็นไข่ซึ่งไข่นั้นจะพัฒนาในช่องท้องของปลาตัวเมียจนคลอดออกมาเป็นตัวคราวละ 13 ตัว ลูกปลาจะได้รับอาหารจากไข่แดงที่อยู่ในฟอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามนางฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามน้ำจืด

ำหรับปลาฉลามน้ำจืดอย่างอื่นดูที่: ปลาฉลามน้ำจืด (แก้ความกำกวม) ปลาฉลามน้ำจืด หรือ ปลาฉลามแม่น้ำ (River sharks, Freshwater sharks) เป็นปลาฉลามที่หายากจำนวน 6 ชนิด ในสกุล Glyphis (/กลาย-ฟิส/) เป็นสมาชิกในวงศ์ Carcharhinidae ซึ่งเป็นปลาฉลามเพียงประเภทเดียวเท่านั้นที่สามารถอาศัยอยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดสนิทได้ตลอดทั้งชีวิต ปัจจุบันยังไม่มีองค์ความรู้เพียงพอเกี่ยวกับปลาฉลามสกุลนี้มากนัก และอาจมีชนิดอื่น ๆ ที่ยังไม่ถูกค้นพบ หรืออาจจะเป็นไปได้ว่าในบางชนิดเป็นชนิดเดียวกันด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตาม ปลาฉลามในสกุลนี้ มีลักษณะคล้ายกับปลาฉลามสีน้ำเงิน (Prionace glauca) ซึ่งเป็นปลาฉลามที่พบในทะเลด้วย ซึ่งสำหรับปลาฉลามบางชนิดที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดสนิทได้ เช่น ปลาฉลามหัวบาตร (Carcharhinus leucas) หรือ ปลาฉลามครีบดำ (C. melanopterus) ไม่จัดว่าเป็นปลาฉลามแม่น้ำ เพราะปลาฉลามแม่น้ำแท้ ๆ นั้นต้องอยู่ในสกุล Glyphis เท่านั้น แม้จะได้รับการเรียกขานบางครั้งว่าเป็นปลาฉลามแม่น้ำก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามน้ำจืด (แก้ความกำกวม)

ปลาฉลามน้ำจืด (freshwater shark) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามน้ำจืด (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามแนวปะการัง

ปลาฉลามแนวปะการัง หรือ ปลาฉลามปะการัง (Reef sharks, Requiem sharks) เป็นสกุลของปลาฉลามสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Carcharhinus (/คา-คา-ไร-นัส/) เป็นปลาฉลามที่ว่ายหากินอยู่บริเวณผิวน้ำและตามแนวปะการังเป็นหลัก จึงมักเป็นปลาฉลามที่เป็นที่รู้จักดีและพบเห็นได้บ่อยที่สุดในทะเล จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ที่ออสเตรเลียพบว่า ปลาฉลามกลุ่มนี้มีประโยชน์ในเชิงนิเวศวิทยา คือ ช่วยรักษาแนวปะการังและปะการังให้ดำรงยั่งยืนอยู่ได้ เนื่องจากเป็นสัตว์นักล่าที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหาร จึงเป็นตัวควบคุมนักล่าระดับกลางที่กินปลาขนาดเล็กที่มีประโยชน์ต่อปะการัง และดูแลปะการังให้เจริญเติบโต โดยพบจากการศึกษาว่า น่านน้ำแถบเกรตแบร์ริเออร์รีฟ คือ แถบตะวันตกเฉียงเหนือมีจำนวนปลาฉลามกลุ่มนี้มากกว่าน่านน้ำแถบตะวันออกเฉียงเหนือ ปะการังในแถบที่พบปลาฉลามกลุ่มนี้มากจะเจริญเติบโตมากขึ้นรวมถึงการฟื้นตัวจากภาวะปะการังฟอกขาวก็เร็วกว่าด้วย เป็นปลาฉลามที่ใช้เวลาอุ้มท้องนานประมาณ 8–12 เดือน มีลูกครั้งละ 10–40 ตัว ออกลูกเป็นตัว โดยอาจจะมีการกินกันเองตั้งแต่อยู่ในท้องแม่ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ด้วยอายุอย่างน้อยที่สุด 4–5 ปี พบทั้งหมด 32 ชนิด โดยมี ปลาฉลามครีบดำ (C. melanopterus) เป็นชนิดต้นแ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามแนวปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามเมกาเมาท์

ปลาฉลามเมกาเมาท์ (Megamouth shark) เป็นปลาฉลามน้ำลึกขนาดใหญ่ที่พบได้ยากมาก หลังจากพบครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1976 จากการติดกับสมอของเรือรบ AFB 14 ของกองทัพเรือสหรัฐ เมื่อกว้านขึ้นมา พบเป็นซากปลาฉลามขนาดใหญ่ที่ไม่มีใครรู้จักเหมือนสัตว์ประหลาดขนาดความยาวประมาณ 4.5 เมตร น้ำหนักราว 3-4 ตัน มีจุดเด่น คือ ปากที่กว้างใหญ่มากและฟันซี่แหลม ๆ เหมือนเข็มอยู่ทั้งหมด 7 แถว ซึ่งมีความยาวไม่เกิน 5 มิลลิเมตร นักวิทยาศาสตร์เมื่อได้ศึกษาแล้วพบว่าเป็นปลาชนิดใหม่ และมีจุดที่แตกต่างไปจากปลาฉลามทั่วไป จึงจัดให้อยู่ในสกุล Megachasma และวงศ์ Megachasmidae ซึ่งยังมีเพียงชนิดนี้ชนิดเดียวเท่านั้น ปัจจุบัน เป็นปลาที่ยังพบได้น้อย โดยมีรายงานการพบเห็นและเก็บตัวอย่าง 39 ครั้ง และมีการบันทึกภาพไว้ได้ 3 ครั้ง (ตามข้อมูลเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2007) โดย 1 ใน 3 ของการพบตัวอย่างปรากฏในเขตน่านน้ำญี่ปุ่น ปลาฉลามชนิดนี้กินแพลงก์ตอนเป็นอาหารเหมือนปลาฉลามบาสกิ้น และปลาฉลามวาฬ โดยมีปากกว้างใหญ่เพื่อกลืนเอาน้ำเข้าไปมาก ๆ แล้วกรองน้ำออกให้เหลือแต่แพลงก์ตอนและแมงกะพรุน ส่วนหัวขนาดใหญ่และริมฝีปากเป็นผิวหนังเหนียวจัดเป็นลักษณะเด่นของปลาฉลามชนิดนี้ นอกจากนี้แล้ว จากการสังเกตของนักวิทยาศาสตร์ ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามเมกาเมาท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามเสือ

ปลาฉลามเสือ (Tiger shark) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกฉลาม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galeocerdo cuvier ในวงศ์ Carcharhinidae เป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล Galeocerdo.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉลามเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนาก

ปลาฉนาก (Sawfishes) เป็นปลาจำพวกหนึ่งของปลาในชั้นปลากระดูกอ่อน ใช้ชื่ออันดับว่า Pristiformes และวงศ์ Pristidae (โดยมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า πρίστης, prístēs หมายถึง "เลื่อย" หรือ "ใบเลื่อย").

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาฉนาก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซักเกอร์

ปลาซักเกอร์ (Orinoco sailfin catfish, butterfly pleco; 多輻翼甲鯰) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pterygoplichthys multiradiatus ในวงศ์ปลาซักเกอร์ (Loricariidae) มีลำตัวยาว ปากเป็นรูปถ้วยเพื่อใช้ในการดูดอาหารและยึดติดกับก้อนหินหรือวัสดุแข็ง ๆ ต่าง ๆ ในน้ำ ครีบหลังสูงใหญ่ มีก้านครีบเดี่ยวหนึ่งคู่ และมีก้านครีบแข็ง 12-14 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยวหนึ่งก้าน และก้านครีบแขนงสี่ก้าน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยวหนึ่งก้าน และก้านครีบแขนงห้าก้าน ครีบท้องมีก้านครีบเดี่ยวหนึ่งก้าน และก้านครีบแขนงสี่ก้าน ครีบไขมันมีเงี่ยงแหลมหนึ่งก้าน ลำตัวปกคลุมด้วยแผ่นกระดูกแข็งด้านละ 23-24 แผ่นทั่วลำตัวเหมือนสวมใส่เสื้อเกราะ ลำตัว ครีบหลัง ครีบอก ครีบท้องและครีบหางมีจุดสีน้ำตาลหรือดำกระจายไปทั่ว มีการกระจายพันธุ์ในแม่น้ำโอรีโนโก แถบประเทศอาร์เจนตินา, เวเนซุเอลา และตรินิแดด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 50-60 เซนติเมตร ปลาซักเกอร์ชนิดนี้นับเป็นปลาซักเกอร์อีกชนิดหนึ่ง ที่มีการแพร่กระจายไปในหลายพื้นที่เหมือนเช่นปลาซักเกอร์ชนิด Hypostomus plecostomus ซึ่งอยู่ต่างสกุลกัน ด้วยการนำเข้าเป็นปลาสวยงามเพื่อทำความสะอาดในตู้ปลาเหมือนกับปลาซักเกอร์ชนิดอื่น ๆ ทำให้บางคนเรียกปลาชนิดนี้ว่า "ปลาดูดกระจก" ปัจจุบันนี้ได้กลายเป็นปัญหาชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแหล่งน้ำรวมถึงสัตว์น้ำของประเทศอื่นที่ได้ไปแพร่กระจายพันธุ์ รวมถึงในประเทศไทย รวมถึงยังมีผู้นำไปหลอกขายเป็นปลาปล่อย โดยเรียกว่า "ปลาราหู".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซักเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซักเกอร์ครีบสูง

ปลาซักเกอร์ครีบสูง หรือ ปลาซักเกอร์กระโดงสูง (Amazon sailfin catfish, Common pleco, Janitor fish, Hifin pleco) เป็นปลาหนังชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pterygoplichthys pardalis อยู่ในวงศ์ปลาซักเกอร์ (Loricariidae) มีลักษณะคล้ายปลาซักเกอร์ (P. multiradiatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ทว่ามีความแตกต่างกันที่จำนวนก้านครีบหลังที่ปลาซักเกอร์ครีบสูงนั้นจะมีประมาณ 11-13 ชิ้น ขณะที่ปลาซักเกอร์จะมีประมาณ 5-8 ชิ้น ซึ่งน้อยกว่า ขณะที่ครีบก้นจะมีประมาณ 4-5 ชิ้น เกล็ดบริเวณเส้นข้างลำตัวราว 29-30 ชิ้น มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 45 เซนติเมตร จึงจัดเป็นปลาขนาดใหญ่ มีถิ่นกระจายพันธุ์ดั้งเดิมอยู่ในแม่น้ำอเมซอนและสาขาในทวีปอเมริกาใต้ นิยมเลี้ยงกันอยู่ในตู้ปลาสวยงาม เพื่อให้กำจัดตะไคร่น้ำและเศษอาหารที่ตกหล่น และสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ด้วยในที่เลี้ยงโดยมนุษย์ ซึ่งในปัจจุบัน ปลาซักเกอร์ชนิดนี้ได้กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่สร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมให้เกิดแก่หลายพื้นที่ รวมถึงในประเทศไทยด้วย ด้วยการปล่อยขนาดใหญ่แล้วลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ ซึ่งปลาสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมของไทยได้เป็นอย่างดี อีกทั้งนังสามารถสืบเผ่าพันธุ์ได้ด้วย พบในหลายพื้นที่ อาทิ เขื่อนลำตะคอง ในจังหวัดนครราชสีมา เป็นต้น ปลาซักเกอร์ครีบสูงมีรหัสทางการค้าว่า L021 หรือ L023.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซักเกอร์ครีบสูง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซักเกอร์ไฮฟิน

ปลาซักเกอร์ไฮฟิน (Sailfin catfish, Janitor fish) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในอันดับปลาหนัง ในวงศ์ปลาซักเกอร์ (Loricariidae) ซึ่งถือว่าได้เป็นวงศ์ใหญ่ ใช้ชื่อสกุลว่า Pterygoplichthys (/เทอ-รี-โก-พลิค-ธีส/) โดยมาจากภาษากรีก คำว่า πτέρυγ- (pteryg-) หมายถึง "ปีก", (hoplon) - อาวุธ และ ἰχθύς (ichthys) หมายถึง "ปลา" มีลำตัวสั้น ท่อนหางค่อนข้างยาว หัวและลำตัวปกคลุมด้วยเกล็ดที่เปลี่ยนเป็นแผ่นกระดูก ลำตัวแต่ละข้างมีเกล็ดเป็นสันแข็งสี่หรือห้าแถว พาดยาวตามลำตัว ท่อนหางค่อนข้างกลม จะงอยปากยาวและปลายทู่ ปากอยู่ใต้จะงอยปาก มีฟันเล็กละเอียดเป็นซี่โค้งเรียงเป็นแถวที่ขากรรไกรบนและล่างแห่งละหนึ่งแถว ช่องเหงือกแคบมาก ครีบหลังสูงมีก้านครีบแขนง 12-14 แถว ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังค่อนข้างใหญ่และยืดหยุ่นได้ ครีบก้นสั้น ครีบท้องมีก้านครีบแขนงหกก้าน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยวเป็นเงี่ยงแข็งหนึ่งก้าน ครีบไขมันเล็กมีเงี่ยงแข็งอยู่ด้านหน้าหนึ่งก้าน พบกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปอเมริกาใต้ ในระบบแม่น้ำสายใหญ่ ๆ เช่น แอมะซอน, โอรีโนโก, เซาฟรังซีสกู, มักดาเลนา, ปารานา มีขนาดใหญ่สุดราว 2 ฟุต แต่ขนาดโดยเฉลี่ยคือหนึ่งฟุต เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น โดยเฉพาะปลาตัวเมียที่มีไข่เต็มท้อง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เพื่อทำความสะอาดตู้เลี้ยง แต่ก็กลายมาเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในเรื่องชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในหลายพื้นที.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซักเกอร์ไฮฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซันฟิช

ปลาซันฟิช (common sunfish, eared sunfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กถึงกลางสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Lepomis (/เลป-โพ-มิส/) เป็นปลาที่มีขนาดกลาง มีขนาดทั่วไปประมาณ 20 เซนติเมตร มีจุดเด่น คือ มีลำตัวแบนข้างไม่มาก ข้อหางเรียวยาว ใช้สำหรับในการว่ายน้ำและเปลี่ยนทิศทางด้วยความรวดเร็ว ตัวผู้จะเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำตื้น ๆ ของหลายพื้นที่ในทวีปอเมริกาเหนือ โดยที่คำว่า Lepomis นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า επίς หมายถึง "เกล็ด" และ πώμα หมายถึง "ปกปิด" หมายถึง แผ่นปิดเหงือก อันหมายถึง แผ่นปิดเหงือกที่ลดรูปลง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซันฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซันฟิชหูยาว

ปลาซันฟิชหูยาว (Sunfish, Long-eared sunfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาหมอสี (Cichlidae) ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์กัน โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Lepomis มาจากภาษากรีก หมายถึง "แผ่นเหงือกที่ลดรูปลงมา" และคำว่า megalotis หมายถึง "หูขนาดใหญ่" ซึ่งหมายถึงแผ่นปิดเหงือกที่ยื่นออกมา และมีจุดสีดำแต้มอยู่ มีลักษณะลำตัวแบนข้างไม่มาก ลำตัวมีสีออกน้ำตาลอมเหลือง มีจุดสีน้ำตาลอมแดงกระจายเป็นลวดลายอยู่ทั่วตัว บริเวณแก้ม จุดดังกล่าวจะเชื่อมต่อกันดูเหมือนลายเส้น ครีบต่าง ๆ มีลวดลายสีแดงกระจายอยู่ ข้อหางยาว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำตื้น เช่น ลำธาร หรือตลิ่งอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ หรือแม่น้ำ ของภาคตะวันออกของเทือกเขาร็อกกี้ จากชายฝั่งรัฐเวอร์จิเนียจรดรัฐฟลอริดา, ทางทิศตะวันตกของรัฐเท็กซัส จนถึงทางตอนเหนือของเม็กซิโก โดยมักจะอาศัยหากินโดยว่ายลัดเลาะไปตามกอพืชน้ำ หรือวัสดุใต้น้ำต่าง ๆ ในที่ ๆ ท้องน้ำเป็นหินกรวดและหินหลาย ๆ ขนาดคละเคล้ากันไป กินอาหารได้หลากหลาย ทั้ง กุ้ง, สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง, หอย หรือตัวอ่อนของแมลง เป็นต้น การแยกเพศสามารถทำได้จาก ปลาตัวผู้จะมีสีสดสวยและขนาดตัวใหญ่กว่า โดยเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์ มีขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิของน้ำอุ่นขึ้น ปลาตัวเมียจะเลือกตัวผู้จากขนาด และจุดสีดำบริเวณแผ่นปิดเหงือก โดยปลาตัวเมียจะใช้เวลาและความพิถีพิถันในการเลือก ขณะที่ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายขุดหลุมสร้างรัง ขนาดกว้างประมาณ 6-12 นิ้วในบริเวณน้ำตื้น ปลาตัวผู้จะเกี้ยวพาราสีโดยการว่ายน้ำตีคู่พร้อมทำตัวสั่น ๆ ขณะที่ปลาตัวเมียปล่อยไข่ ปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสมทันที จากนั้นเมื่อไข่ได้รับการปฏิสนธิหมดแล้ว ปลาตัวผู้จะไล่ปลาตัวเมียออกไป และดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว จนกว่าลูกปลาจะเริ่มหากินเองได้ จึงจะแยกทางไป ซึ่งการวางไข่ครั้งหนึ่งจะมีปริมาณราว 1,000-100,000 ฟอง โดยลูกปลาจะเจริญเติบโตไวมากในช่วงขวบปีแรก จากนั้นจะค่อย ๆ ลดลง เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 1 ปี มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 5-8 ปี พบมากที่สุดถึง 11 ปี ปลาซันฟิชหูยาว เป็นปลาที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบัน ได้มีการนำไปปล่อยในแหล่งน้ำธรรมชาติของหลายประเทศ ที่ไม่ใช่ต้นกำเนิด เช่น ญี่ปุ่น, เยอรมนี, หลายประเทศในทวีปยุโรป, แอฟริกาใต้ และเอเชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซันฟิชหูยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซาบะ

ปลาซาบะ (さば Saba) เป็นชื่อของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Scomber จัดอยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาแมคเคอเรลจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายกระสวยหรือจรวด เป็นปลาผิวน้ำ อาศัยอยู่เป็นฝูง ว่ายน้ำได้รวดเร็ว กินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร รวมถึงแพลงก์ตอนสัตว์ เช่น โคพีพอด ด้วย โดยมากเป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรและน่านน้ำเขตหนาว เช่น มหาสมุทรแอตแลนติกทางตอนเหนือ แถบส่วนเหนือของทวีปแอฟริกา ไล่เรียงขึ้นไปทางทวีปยุโรป จนถึงแถบสแกนดิเนเวีย แต่ก็มีประชากรบางส่วนพบที่มหาสมุทรแปซิฟิก เช่น ญี่ปุ่น หรือจีน และสหรัฐอเมริกา หรือซีกโลกทางใต้ เช่น นิวซีแลนด์ ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซาบะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซาร์ดีนยุโรป

ปลาซาร์ดีนยุโรป หรือ ปลาซาร์ดีนแท้ (Sardine, European pilchard, True sardine) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sardina pilchardus อยู่ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Sardina มีรูปร่างเพรียวยาวทรงกระบอก ลำตัวกลม แต่ในขณะที่เป็นปลาวัยอ่อน ลำตัวจะแบนเป็นสันบริเวณส่วนท้องมากกว่านี้ ตาโต ครีบหลังมีเพียงตอนเดียว ไม่มีก้านครีบแข็ง มีก้านครีบอ่อนประมาณ 13–21 ก้าน ครีบก้นมี 2 ครีบขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเงิน ลำตัวด้านข้างช่วงบนมีแต้มวงกลมสีน้ำเงินอมม่วง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 27 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงใหญ่ กินแพลงก์ตอนสัตว์และครัสเตเชียนชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยและหากินใกล้ชายฝั่งในมหาสมุทรแอตแลนติก เฉพาะในทวีปยุโรป ตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงทะเลดำ และแอฟริกาเหนือ โดยหากินในเวลากลางคืน ในระดับความลึกตั้งแต่ 55–100 เมตร และอาจเพิ่มขึ้นในระดับ 10–35 เมตรได้ในแต่ละวัน เป็นปลาที่วางไข่และตัวอ่อนพัฒนาในแหล่งน้ำจืดหรือใกล้ชายฝั่ง โดยไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ย 1.5 มิลลิเมตร วางไข่ได้มากถึงครั้งละ 50,000–60,000 ฟอง ผลการทดลองในที่เลี้ยง พบว่าจะวางไข่ในเวลากลางคืนในช่วงเวลา 19.00–21.00 น. (ตามเวลามาตรฐานกรีนิช) โดยอุณหภูมิของน้ำสัมพันธ์กับการฟักเป็นตัว และความแข็งแรงของลูกปลาที่เกิดมาด้วย ปลาซาร์ดีนยุโรป ถือเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างมากของยุโรปและทั่วโลก นับเป็นปลาซาร์ดีนชนิดที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เป็นที่นิยมในการแปรรูปทำเป็นปลากระป๋อง หรือการปรุงสด เช่น การย่างหรือรมควัน ซึ่งเนื้อปลาซาร์ดีนให้คุณค่าทางอาหารมากกว่านมถึง 3 เท่า โดยเนื้อปลาจำนวน 100 กรัม ให้สารอาหารต่าง ๆ เช่น โอเมกา 3 ถึง 200 มิลลิกรัม ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายมนุษย์ในแต่ละสัปดาห์ นอกจากนี้แล้วยังมี ฟอสฟอรัส, ทองแดง, แม็กนีเซียม, เหล็ก, แมงกานีส, ไลโคปีน และวิตามินบี ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซาร์ดีนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิว

ปลาซิวข้างขวานเล็ก (''Trigonostigma espei'') ปลาซิว (Minnow; ในไอร์แลนด์เรียก Pinkeens) เป็นชื่อสามัญในภาษาไทยที่เรียกปลาน้ำจืดขนาดเล็กหลายชนิด ในหลายสกุล ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) อันดับปลากินพืช เช่น สกุล Rasbora ที่มีลำตัวยาว ตัวใส, สกุล Danio, สกุล Esomus ที่มีหนวดยาวเห็นชัดเจน, สกุล Laubuca ที่มีรูปร่างอ้วนป้อม โดยมากแล้วเป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ ขนาดลำตัวไม่เกิน 5 เซนติเมตร หากินบริเวณผิวน้ำ แต่ก็ยังมีหลายสกุล หลายชนิดที่กินเนื้อหรือกินลูกปลาเล็กเป็นอาหาร และมีขนาดลำตัวใหญ่กว่านั้น เช่น ปลาซิวอ้าว (Luciosoma bleekeri) หรือ ปลาสะนาก (Raiamas guttatus) เป็นต้น โดยปลาจำพวกปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาบ้า (Leptobarbus hoevenii) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดได้ถึง 80 เซนติเมตร นอกจากนี้แล้ว ปลาซิว ยังอาจจะเรียกรวมถึงปลาในวงศ์อื่นหรืออันดับอื่นได้อีกด้วยที่มีรูปร่าง ลักษณะคล้ายเคียงกัน เช่น ปลาซิวแก้ว (Clupeichthys aesarnensis) ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) อันดับปลาหลังเขียว หรือ ปลานีออน (Paracheirodon innesi) ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) อันดับปลาคาราซิน เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว คำว่า ปลาซิวในนัยทางภาษาไทยใช้เปรียบเทียบกับคนขี้ขลาดหรือใจไม่สู้ ว่า "ใจปลาซิว" เพราะปลาซิวโดยมากเป็นปลาที่ตายง่ายมากเมื่อพ้นจากน้ำ นอกจากนี้แล้วยังมักถูกหยิบยกมาเปรียบเทียบคู่กับปลาสร้อยว่า "ปลาซิว ปลาสร้อย" หมายถึง สิ่งที่เล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่มีความสำคัญนัก เพราะปลาทั้งสองจำพวกนี้เป็นปลาขนาดเล็ก พบได้ทั่วไป ซึ่งสอดคล้องกับสำนวนในภาษาอังกฤษด้วย โดยคำว่า "Minnow" นั้นก็มีความหมายว่า สิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่สำคัญ หรือสิ่งหรือบุคคลที่ถูกมองข้าม เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวกาแล็กซี

ปลาซิวกาแล็กซี (celestial pearl danio, halaxy rasbora) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง เป็นปลาจำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ปลาซิวกาแล็กซีเป็นปลาที่มีลวดลายและสีสันสวยงามมาก โดยเฉพาะในตัวผู้ โดยจะมีลำตัวสีน้ำตาลเข้มถึงดำ และมีลายจุดสีทองกระจายอยู่ทั่วตัว อีกทั้งยังมีสีส้มแดงสลับดำตามครีบหลัง ครีบหางและครีบท้อง ทำให้แลดูคล้ายท้องฟ้าและหมู่ดาวในดาราจักร (กาแล็กซี) ในเวลาค่ำคืน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ปลาซิวกาแล็กซีได้รับการค้นพบครั้งแรกในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวกาแล็กซี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวสมพงษ์

ปลาซิวสมพงษ์ เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกปลาซิวชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ได้รับการค้นพบโดยนายสมพงษ์ เล็กอารีย์ พ่อค้าปลาสวยงามชาวไทย ปลาเพศผู้รูปร่างลักษณะรูปร่างเรียวยาวและมีขนาดเล็กกว่าปลาเพศเมีย บริเวณลำตัวมีสีเหลืองส้มและลวดลายข้างลำตัวจะเข้มชัดเจนเมื่อใกล้ฤดูผสมพันธุ์ เพศเมียมีลักษณะรูปร่างป้อมมีสีซีดจางและลวดลายข้างลำตัวไม่ชัดเจน ข้อแตกต่างจะเห็นได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นช่วงที่ปลาพร้อมจะวางไข่ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 10.5 เซนติเมตร กินอาหารง่าย เป็นปลาที่ไม่ชอบอยู่นิ่ง ว่ายน้ำตลอดเวลา วางไข่โดยการแปะติดกับใบของพืชน้ำ ไข่จะฟักภายใน 30 ชั่วโมง แม่ปลาสามารถวางไข่ได้ประมาณ 8-10 ฟอง กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนสัตว์และตัวอ่อนแมลงน้ำขนาดเล็ก ปลาซิวสมพงษ์จัดเป็นปลาที่หายากมาก เนื่องจากเป็นปลาเฉพาะถิ่น พบเฉพาะลุ่มน้ำแม่กลองแถบจังหวัดกาญจนบุรีเท่านั้น มีรายงานการส่งออกไปขายยังต่างประเทศ เช่น เยอรมนี ญี่ปุ่น ในฐานะปลาสวยงาม จนทำให้ปลาซิวสมพงษ์มีสถานะในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต เคยถูกจัดให้เป็นปลาที่สูญพันธุ์ไปแล้วจากบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติเมื่อกว่า 50 ปีก่อน จนกระทั่งหลังเหตุมหาอุทกภัยในปลายปี พ.ศ. 2554 ในเหตุการณ์น้ำท่วมทุ่งที่จังหวัดนครนายกในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหัวตะกั่ว

ำหรับปลาในวงศ์อื่น ดูที่: ปลาหัวตะกั่ว ปลาซิวหัวตะกั่ว หรือ ปลาท้องพลุ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกปลาท้องพลุหรือปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Laubuka (/ลอ-บู-คา/) จัดเป็นปลาซิวขนาดกลาง มีลักษณะทั่วไปคือ ลำตัวแบนข้าง สีลำตัวทั่วไปเป็นสีเงินขาว มีลักษณะเด่น คือ มีส่วนท้องที่ลึกและกว้างเหมือนอ้วนหรือท้องป่อง เมื่อจับขึ้นมาแล้ว ส่วนท้องจะแตกได้ง่าย อีกทั้งมีจุดสีเงินเข้มที่ส่วนหัว แลดูคล้ายปลาหัวตะกั่ว จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีเส้นข้างลำตัวที่สมบูรณ์ มีก้านครีบท้องยื่นยาวลงมาเป็นเส้นเดี่ยว เดิมทีปลาในสกุลนี้ถูกจัดให้อยู่ในสกุล Chela มีพฤติกรรมรวมฝูงเป็นฝูงเล็ก ๆ กินแมลงที่ตกลงน้ำเป็นอาหารหลัก โดยมีปากที่เชิดขึ้นด้านบน นอกจากนี้แล้วเมื่อตกใจจะสามารถกระโดดขึ้นขนานไปกับผิวน้ำได้เหมือนปลาขวานบิน ซึ่งเป็นปลาในกลุ่มปลาคาราซิน พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย์จนถึงแหลมมลายูและหมู่เกาะต่าง ๆ ของอินโดนีเซียซึ่งพบได้ในทวีปอเมริกาใต้ในประเทศไทยจะพบได้ 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวหัวตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัย

ปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัย หรือ ปลาท้องพลุ หรือ ปลาข้าวเม่า (Flying minnow, Flying barb, Leaping barb, Siamese hatchetfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิวและปลาท้องพลุ ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างค่อนข้างกว้าง ลำตัวแบนข้างมาก ส่วนท้องเป็นสัน เส้นข้างลำตัวโค้งลงเห็นชัดเจน และขนานกับริมท้อง ครีบอกแหลมยาว ก้านครีบของครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้นเดี่ยว ที่หัวและบนหลังตอนหน้าครีบหลังมีจุดสีน้ำเงินเข้ม บนลำตัวหลังช่องเหงือกมีจุดสีดำขนาดใหญ่ 1 จุด และเหนือครีบอกมีจุดสีดำ 4-9 จุด สีของลำตัวทั่วไปเป็นสีขาวอมเขียวแวววาว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 7 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ย 4-5 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวหัวตะกั่ว 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนบนและแม่น้ำโขง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดเล็กในแหล่งน้ำที่มีพรรณไม้ขึ้นหนาแน่น กินอาหารบริเวณผิวน้ำ เช่น แมลง, ลูกน้ำ, ลูกไร เป็นอาหาร เป็นปลาที่เมื่อตกใจแล้วสามารถกระโดดพ้นน้ำได้สูง มีสถานะพบในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์แล้ว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะรวบรวมจากแหล่งธรรมชาติจำหน่ายยังต่างประเทศ และในปัจจุบัน ก็สามารถเพาะขยายพันธุ์ในบ่อเลี้ยงได้เป็นผลสำเร็.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหัวตะกั่วอินเดีย

ปลาซิวหัวตะกั่วอินเดีย (Indian glass barb, Indian hatchetfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิวและปลาท้องพลุ ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวรูปร่างกว้าง แบนข้างจนริมท้องเป็นสัน ช่วงท้องลึก มีครีบอกแหลมยาว ก้านครีบของครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้นเดี่ยว เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ ลำตัวมีลักษณะโปร่งแสงเป็นสีเงินแกมเขียวแววาวสะท้อนแสง มีจุดเด่นคือมีลายเส้นจุดสีน้ำเงินเข้มยาวตั้งแต่ฐานครีบอกไปจนถึงฐานของครีบหาง ด้านหลังของลำตัวจะมีสีเข้ม ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอ่อนหรือสีส้มปนน้ำตาล มีความยาวประมาณ 4 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะต่าง ๆ สำหรับในประเทศไทยจะพบได้ที่ แหล่งน้ำทางภาคตะวันออกและภาคใต้ตอนบน มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ที่มีพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ขึ้นครึ้ม กินแมลงที่ตกลงน้ำเป็นอาหารหลัก เมื่อตกใจสามารถที่จะกระโดดเหินขนานไปกับผิวน้ำได้เป็นระยะทางสั้น ๆ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาแปบ" หรือ "ปลาท้องพลุ".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวหัวตะกั่วอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหางกรรไกร

ปลาซิวหางกรรไกร หรือ ปลาซิวหางดอก (Scissor-tailed rasbora, Three-lined rasbora) เป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง ในสกุล Rasbora มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ท่อนหางยาว ส่วนหลังโค้ง หัวโต นัยน์ตาโต ท้องใหญ่ ครีบใหญ่ เกล็ดตามลำตัวมีสีขาวเงินปนน้ำตาล หลังมีสีน้ำตาลปนดำ มีแถบสีดำตามลำตัว มีลายดำบนแฉกของครีบหาง หางแฉกเว้าคล้ายกรรไกรอันเป็นที่มาของชื่อ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในสกุลนี้ เนื่องจากสามารถโตเต็มที่ได้ 15 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินพืชน้ำและแพลงก์ตอนสัตว์น้ำเป็นอาหาร รวมถึงแมลงขนาดเล็กด้วย ในประเทศไทยพบได้ที่ แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำโขง และภาคใต้ ในต่างประเทศพบได้เรื่อยไปจนถึงคาบสมุทรมลายู, เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา เป็นปลาที่สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติ นิยมนำมาบริโภคกันในท้องถิ่นที่อาศัย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ ปัจจุบัน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยการคัดเลือกพ่อแม่ปลาที่สมบูรณ์ จากนั้นจึงฉีดฮอร์โมนกระตุ้นให้แก่ปลาตัวผู้ และปล่อยทั้งคู่ผสมพันธุ์และวางไข่กันในตู้เลี้ยงหรือบ่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวหางกรรไกร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหางแดง

ปลาซิวหางแดง หรือ ปลาซิวแถบดำ หรือ ปลาซิวบอระเพ็ด (Blackline rasbora, Redline rasbora, Borapet rasbora) ปลาน้ำจืดจำพวกปลาซิวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rasbora borapetensis อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะเส้นข้างลำตัวไม่สมบูรณ์ ลำตัวแบนข้าง นัยน์ตาค่อนข้างโต ครีบหางแยกเป็นแฉก มีแถบสีดำพาดตามความยาวลำตัวจากหัวจนถึงโคนหาง และมีลายสีเขียวปนสีทองพาดตามแนวแถบสีดำ ครีบหางมีสีแดงสด มีขนาดความเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ พบครั้งแรกที่บึงบอระเพ็ด ในปี ค.ศ. 1934 จึงได้มีการตั้งชื่อสายพันธุ์ตามสถานที่พบ ซึ่งนอกจากจะพบที่บึงบอระเพ็ดแล้ว ยังพบได้ที่หนองหาน จังหวัดสกลนคร, แม่น้ำโขง, กว๊านพะเยา และป่าพรุโต๊ะแดง ที่จังหวัดนราธิวาสอีกด้วย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ได้รับความนิยมทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศมาช้านาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวหางแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหนวดยาว (สกุล)

ปลาซิวหนวดยาว (Flying barb) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กในจำพวกปลาซิวจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชิ่อสกุลว่า Esomus (/อี-โซ-มัส/) มีลำตัวโดยรวมค่อนข้างยาว แบนข้าง แนวสันหัวตั้งแต่ปลายจะงอยปากจนถึงท้ายทอยหลังเป็นเส้นตรง ถัดไปเป็นส่วนสันหลังจะโค้งนูนขึ้นไม่มากนัก ปากแคบและเฉียงขึ้น ขากรรไกรล่างไม่มีปุ่มตรงกลาง มีหนวดสองคู่ คู่ที่ริมฝีปากบนสั้น แต่คู่ที่ริมฝีปากล่างยาวมากจนเห็นได้ชัด อันเป็นที่มาขอชื่อเรียก ซึ่งบางชนิดยาวถึงฐานครีบก้น ครีบหลังสั้นอยู่ค่อนไปทางหาง มีก้านครีบแขนงห้าก้าน เกล็ดมีขนาดปานกลาง เส้นข้างลำตัวอยู่ต่ำใกล้กับท้องและยาวไปจนสิ้นสุดที่ปลายหางส่วนล่าง มีฟันที่ลำคอหนึ่งแถว มีทั้งหมดห้าซี่ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนและแมลงน้ำบริเวณผิวน้ำ มีขนาดลำตัวยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 5-7 เซนติเมตร นิยมใช้บริโภคกันในพื้นที่ และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวหนวดยาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวทอง

ปลาซิวทอง (Brilliant rasbora, Long-band rasbora, Einthoven's rasbora) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rasbora einthovenii อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปร่างลักษณะคล้ายปลาซิวพม่า (R. daniconius) ซึ่งอยู่สกุลเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกัน คือ ปลาซิวทองมีครีบอกที่ยาวกว่าความยาวหัว เกล็ดที่เส้นข้างลำตัวที่คาดหางมี 7 แถว ในขณะที่ปลาซิวพม่ามีครีบอกสั้นกว่าความยาวส่วนหัว และเกล็ดระหว่างเส้นข้างลำตัวที่คาดหางมี 9 แถว มีลักษณะตำตัวแบนข้าง เรียวยาว นัยน์ตาโต คาดหางยาว หลังมีสีเทา ลำตัวสีขาวเงินสะท้อนแสง เกล็ดมีขอบสีดำ นัยน์ตาสีแดง มีแถบสีดำพาดยาวผ่านนัยน์ตาไปสิ้นสุดที่ปลายครีบหาง มีความยาวเต็มที่ 10 เซนติเมตร นับเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งในสกุลเดียวกัน พบกระจายพันธุ์ที่แม่น้ำป่าสักที่จังหวัดเพชรบูรณ์ และปัจจุบันจะพบได้ที่ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ในต่างประเทศพบได้จนถึงที่คาบสมุทรมลายู, อินโดนีเซีย และเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้าวสารแม่น้ำสงคราม

ปลาซิวข้าวสารแม่น้ำสงคราม เป็นปลาสายพันธุ์ใหม่ล่าสุดที่เพิ่งค้นพบได้ของโลก โดยนักมีนวิทยาชาวไทย ปลาซิวข้าวสารแม่น้ำสงคราม ได้รับการเปิดเผยจาก รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวข้าวสารแม่น้ำสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้าวสารเดซี่

ปลาซิวข้าวสารเดซี่ หรือ ปลาซิวข้าวสารโวโวแรย์ (Daisy's ricefish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oryzias woworae ในวงศ์ปลาซิวข้าวสาร (Adrianichthyidae) จัดเป็นปลาซิวข้าวสารในสกุล Oryzias ชนิดใหม่ที่เพิ่งค้นพบเมื่อปี ค.ศ. 2010 จัดเป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมากชนิดหนึ่ง แตกต่างไปจากปลาในสกุลเดียวกันชนิดอื่น โดยมีสีที่พบได้ทั้งตัวผู้และตัวเมีย มีสีแดงบริเวณใต้ส่วนหัวไล่ไปตามลำตัวส่วนล่างจนถึงด้านหน้าของครีบท้อง ครีบหลัง รวมถึงคอดหางและครีบหางบางส่วนด้วย และมีสีฟ้าเป็นประกายตั้งแต่ขอบหลังบนของลูกตาลากสีไปตามแนวเกล็ดกลางลำตัวจนถึงฐานของครีบหาง นอกจากนี้สีฟ้ายังกินพื้นที่เกล็ดในตำแหน่งใต้เส้นสีกลางลำตัวไปจนถึงบริเวณหน้าครีบก้น พื้นที่บริเวณแผ่นกระดูกเปิดปิดเหงือก ไปจนถึงฐานของครีบอกเป็นสีเงินแวววาว ครีบหางมีลักษณะตัดตรงมากกว่าขอบหางที่เว้าเข้า มีขนาดประมาณ 6-7 เซนติเมตร ปลาซิวข้าวสารเดซี่ พบกระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะมูนา ที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุลาเวสี ประเทศอินโดนีเซีย ในลำธารที่สงบเงียบ โดยอยู่รวมฝูงกับปลาในวงศ์ปลาเข็ม ในระดับความลึกประมาณ 1-1.5 เมตร พื้นน้ำเป็นโคลนเลนและเศษใบไม้ร่วง ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำประมาณ 6-7 (pH 6-7) โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร.เดซี่ โวไว นักสัตววิทยาชาวอินโดนีเซียผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์น้ำจืด จำพวกปูและกุ้ง ปลาซิวข้าวสารเดซี่ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เดิมเคยใช้ชื่อวงการปลาสวยงามว่า "ปลาข้าวสารนีออน" ปัจจุบันได้มีการอนุกรมวิธานแยกออกไปเป็นชนิดต่างหาก คือ O. walasi ซึ่งมีลักษณะบางประการที่แตกต่างออกไป แต่ทั้งสองชนิดนี้ก็พบในถิ่นที่อยู่เดียวกัน หน้า 26-27, สกุล Oryzias ปลาข้าวสาร โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวข้าวสารเดซี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้างขวาน

ปลาซิวข้างขวาน หรือ ปลาซิวขวาน เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่งจำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Trigonostigma เดิมปลาในสกุลนี้เคยถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rasbora แต่ปัจจุบันนี้ได้ถูกแยกออกมาต่างหาก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 โดยมีลักษณะเด่นคือ มีแถบสีดำใต้จุดเริ่มต้นของครีบหลังถึงกลางของฐานครีบหาง และมักจะเป็นแถบกว้างด้านหน้า โดยมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมหรือเป็นรูปขวาน ในขณะที่บางชนิดจะเป็นเพียงแถบบาง ๆ และมีพฤติกรรมการวางไข่ โดยวางติดกับใบของพืชน้ำ เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก นิยมอยู่เป็นฝูง จึงมีความสำคัญต่อระบบนิเวศในน้ำในแง่ของการเป็นห่วงโซ่อาหารของสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า และมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งมักจะเลี้ยงกันในตู้ไม้น้ำ โดยมีพฤติกรรมในที่เลี้ยง คือ มักจะรวมฝูงว่ายกันอยู่ในระดับกลางน้ำ พบกระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกและภาคใต้ของไทย ไปจนถึงกัมพูชา, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว ปัจจุบันได้มีการอนุกรมวิธานไว้แล้วทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวข้างขวาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์

ปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ (glowlight rasbora, porkchop rasbora) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาซิวจำพวกปลาซิวข้างขวานชนิดหนึ่ง แตกต่างจากปลาซิวข้างขวานชนิดอื่นตรงที่มีสีบริเวณลำตัวใสสามารถมองทะลุได้ แต่ยังมีลักษณะเด่นตรงรูปขวานสีดำกลางลำตัว ขนาบไปด้วยสีน้ำตาลแดงไปจนถึงหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงในเกาะสุมาตราและบอร์เนียว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ แต่ในประเทศไทย เป็นปลาที่ค่อนข้างหายาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้างเหลือง

ปลาซิวข้างเหลือง (Red-striped rasbora, Big scale rasbora, Glowlight rasbora) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ท่อนหางยาวเรียว ท้องโต หัวเล็ก นัยน์ตาโต เกล็ดใหญ่ ครีบหลังใหญ่ ตำแหน่งของครีบหลังอยู่ระหว่างครีบื้องกับครีบก้น ครีบหางเว้าเป็นแฉก ลำตัวมีสีเขียวอ่อน มีแถบสีเหลืองทองและแถบสีดำตามยาวลำตัวตั้งแต่หัวจรดฐานครีบหาง ขอบของครีบหางมีสีดำจาง ๆ เป็นปลาที่อยู่รวมกันเป็นฝูง มีขนาดความยาวประมาณ 7.5 เซนติเมตร กินตัวอ่อนของแมลงและแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในประเทศไทยตอนล่าง แถบแม่น้ำสายบุรีและแม่น้ำปัตตานี ไปจนถึงแหลมมลายูจนถึงอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวข้างเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวคาโลโครม่า

ปลาซิวคาโลโครม่า (Clown rasbora, Big-spot rasbora) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ลำตัวเรียวยาวมีสีน้ำตาลแดง มีจุดเด่น คือ จุดวงกลมสีดำ 2 จุด โดยเฉพาะจุดหลังที่เป็นจุดขนาดใหญ่ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์บนแผ่นดินใหญ่ของคาบสมุทรมลายู เช่น รัฐเซอลาโงร์, ตรังกานู, ปะหัง, ซาราวะก์ และยะโฮร์ในมาเลเซีย และหมู่เกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซีย เช่น เกาะบอร์เนียว, สุมาตรา, จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก และกาลีมันตันใต้ เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในน้ำที่มีสภาพเป็นพรุ ที่มีเศษใบไม้และกิ่งไม้ร่วงอยู่ก้นพื้นน้ำ และปล่อยสารแทนนินออกมาทำให้สีของน้ำดูคล้ำ สภาพน้ำมีความเป็นกรดซึ่งอาจจะต่ำไปถึงขั้น 4 pH ได้ ซึ่งพื้นที่อาศัยในธรรมชาติในปัจจุบันกำลังถูกคุกคามจากการทำปาล์มน้ำมัน และสวนยางพารา นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวคาโลโครม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวตาเขียว

ปลาซิวตาเขียว หรือ ปลาซิวเขียว (Yellow neon rasbora, Green neon rasboara) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวสั้นและแบนข้างมากกว่าปลาซิวทั่ว ๆ ไป ตามีขนาดกลมโต ไม่มีหนวด เกล็ดมีขนาดเล็กสีเงินแววาวอมเหลืองอ่อน ตามีสีเหลือบเขียวอ่อน ลำตัวค่อนข้างใส ครีบใส ครีบหางมีขอบสีคล้ำ มีขนาดโดยทั่วไป 2-3 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ใกล้กับบริเวณผิวน้ำ โดยพบได้เฉพาะในลำธารในป่าดิบ ในบริเวณที่เป็นคุ้งน้ำใส เดิมทีเคยพบได้เฉพาะในพื้นที่จังหวัดระนองและตลอดจนภาคใต้ฝั่งอันดามันของไทย แต่ปัจจุบันได้มีการนำไปปล่อยในแม่น้ำแควน้อย, แม่น้ำซองกาเลีย และแม่น้ำกษัตริย์ อันเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างไทยกับพม่า ในแถบจังหวัดตากและกาญจนบุรี ซึ่งปลาสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ได้และขยายเผ่าพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวตาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวซอ-บวา

ปลาซิวซอ-บวา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sawbwa resplendens; ซอ-บวา เป็นคำภาษาพม่า แปลว่า "เจ้าฟ้า") เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และเป็นปลาชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Sawbwa ปลาซิวซอ-บวาเป็นปลาถิ่นเดียวในทะเลสาบอินเล รัฐฉาน ในประเทศพม่า ในอุณหภูมิน้ำค่อนข้างเย็น คือ ประมาณ 26-28 องศาเซลเซียส มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ส่วนหัวเล็ก ปากเล็กเป็นมุมแหลม หางคอดเรียว ใบหางรูปแฉกตัววี ครีบบางใส เมื่อโตเต็มที่ปลาซิวซอ-บวามีความยาวประมาณ 35 มิลลิเมตร เพศผู้มีสีเงินเหลือบฟ้า ส่วนหัวและปลายหางมีสีแดง เพศเมียและปลาที่ยังไม่โตเต็มวัยมีสีเทา มีจุดสีดำตรงช่องทวาร ไม่มีเกล็ด กินแพลงก์ตอน, ตัวอ่อนของแมลงน้ำและตะไคร่น้ำ เป็นอาหาร มีนิสัยรักสงบ ตื่นตกใจ ชอบอยู่รวมเป็นฝูง ในแวดวงปลาสวยงามในประเทศไทยมีผู้เพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว โดยเรียกกันว่า "ปลาซิวซับวา".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวซอ-บวา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวแคระ

ปลาซิวแคระ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Boraras (/บอรารัส/) อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุลปลาซิวแคระนั้นถูกแยกออกมาจากสกุล Rasbora ในปี ค.ศ. 1993 โดยมอริส ก็อตลา นักมีนวิทยาชาวสวิส และชวลิต วิทยานนท์ นักมีนวิทยาชาวไทย โดยมีทั้งหมด 6 ชนิดในปัจจุบัน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงหมู่เกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซีย เป็นปลาที่มีขนาดลำตัวเล็กมาก โดยมีความยาวเฉลี่ยเพียง 1.3 เซนติเมตรเท่านั้น นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูงเหมือนปลาซิวสกุลอื่น ๆ และบางครั้งอาจปะปนไปกับปลาซิวสกุลอื่นหรือสกุลเดียวกันแต่ต่างชนิดกันได้ มีลักษณะเด่น คือ ทุกชนิดจะมีสีบริเวณช่องท้อง และสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มที่มีลายจุดบนลำตัวและกลุ่มที่มีลายเส้นบนลำตัว ทุกชนิดนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวแคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่

ปลาซิวใบไผ่ หรือ ปลาจุกกี (ภาษาใต้) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Danio (/แดน-อิ-โอ/) จัดเป็นปลาซิวสกุลหนึ่ง ปลาในสกุลนี้ มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นปลาขนาดเล็กที่มักอาศัยอยู่ตามน้ำตกและลำธารที่มีกระแสน้ำไหลแรง มีลำตัวที่สั้นและแบนข้าง เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ ช่วงท้องกลม บริเวณหน้านัยน์ตามีกระดูกที่เป็นเงี่ยงแหลม 1 ชิ้น ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 11-15 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 11-18 ก้าน มีหนวดสั้นหรือบางชนิดไม่มี มีด้วยกันหลายชนิด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, ภูมิภาคอินโดจีน, แหลมมลายู จนถึงเกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวใบไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่มุก

ปลาซิวใบไผ่มุก หรือ ปลาซิวใบไผ่เล็ก หรือ ปลาซิวเจ็ดสี (Pearl danio, White-lined danio, Rearing danio) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเรียวยาวแบนข้าง หัวและจะงอยปากมน ปากกว้าง มีหนวดยาวที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และที่มุมปาก 1 คู่ เกล็ดมีขนาดใหญ่มีลักษณะบางและหลุดง่าย ครีบหลังค่อนไปทางทางด้านหาง ครีบก้นสั้น ครีบหางเว้าตื้น เส้นข้างลำตัวไม่สมบูรณ์ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 2 ก้าน และก้านครีบแขนง 7 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 3 ก้าน และก้านครีบแขนง 13 ก้าน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางทั้งในแม่น้ำสาละวิน, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำโขง และแม่น้ำต่าง ๆ ในภาคใต้ รวมถึงแหล่งน้ำในป่าพรุด้วย โดยมักซ่อนอยู่ใต้ซากใบไม้ และพบเรื่อยไปจนถึงเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซีย เป็นปลาที่กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง จึงนิยมเก็บรวบรวมจากธรรมชาติเพื่อส่งขายเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปัจจุบันสามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวใบไผ่มุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่ยักษ์

ปลาซิวใบไผ่ยักษ์ (Giant danio) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Devario (/เด-วา-ริ-โอ/) ปลาซิวในสกุลนี้ เคยถูกรวมเป็นสกุลเดียวกันกับปลาซิวสกุล Danio หรือ ปลาซิวใบไผ่ หรือ ปลาจุกกี มาก่อน แต่ปลาซิวที่อยู่ในสกุลปลาซิวใบไผ่ใหญ่นี้ จะมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า โดยจะมีความยาวลำตัวเฉลี่ย 5-15 เซนติเมตร และมีลวดลายสีสันต่าง ๆ ในบริเวณข้างลำตัว โดยก็ถูกเรียกชื่อสามัญว่า "ปลาซิวใบไผ่" หรือ "ปลาซิวใบไผ่ใหญ่" พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำโดยเฉพาะแหล่งน้ำที่เป็นลำธารหรือน้ำตกในป่าดิบ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอาจจะมีบางชนิดที่เป็นชื่อพ้องกันหน้า 28-29, Genus Devario - ปลาซิวใบไผ่ใหญ่ (Giant danio), "Mini Attlas" โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวใบไผ่ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่แม่แตง

ปลาซิวใบไผ่แม่แตง (Fire bar danio) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะลำตัวแบนข้าง ส่วนหางเรียวยาว มีหนวดสั้น ๆ ที่มุมปาก ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์มีสีสันสดใส โดยท้องและครีบก้นมีสีแดงอมส้ม แต้มบนลำตัวจะเห็นเด่นชัดขึ้น มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 4-5 เซนติเมตร โดยเป็นปลาที่ถูกค้นพบและอนุกรมวิธานไปเมื่อปี พ.ศ. 2540 จะพบแพร่กระจายพันธุ์เฉพาะในลำธารที่มีป่าปกคลุมเฉพาะลุ่มแม่น้ำแม่แตง และพื้นที่ ๆ รอบ ๆ ดอยหลวงเชียงดาว ในจังหวัดเชียงใหม่เท่านั้น จัดเป็นปลาที่พบเฉพาะถิ่นเท่านั้น โดยมีพฤติกรรมรวมกันอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ใกล้กับพื้นท้องน้ำ และแพร่กระจายพันธุ์ด้วยการวางไข่ติดกับเศษใบไม้ที่ร่วงลงพื้นน้ำ นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีราคาซื้อขายที่ค่อนข้างสูง ปัจจุบันกรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวใบไผ่แม่แตง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่ใหญ่

ปลาซิวใบไผ่ใหญ่ (Giant danio) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวแบนข้าง นัยน์ตากลมโต ปากเฉียงขึ้น ครีบหลังมีฐานยาวอยู่หน้าครีบก้น มีก้านครีบแขนง 14-15 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 15-17 ก้าน ครีบหางเว้าไม่ลึกมากนัก มีเส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ มีสีพื้นลำตัวสีเหลืองจาง ๆ มีแถบสีฟ้าพาดยาวตามลำตัวและลายสีเหลือง 2-3 ลายทับอยู่บนแถบสีฟ้า ก้านครีบหางบางส่วนมีแถบสีดำ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 12.5 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อินเดีย, เนปาล จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำตกหรือลำธารที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน, นครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวใบไผ่ใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่เขียว

ปลาซิวใบไผ่เขียว หรือ ปลาไส้ขม (Blue danio, Kerr's danio, Long-barbel danio) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะรูปร่างเรียวยาว ส่วนหัวเล็ก ปากกว้าง มีหนวดยาว 2 คู่ที่ขากรรไกรบน สีลำตัวสีเขียวเข้มถึงสีน้ำเงิน ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองสดหรือสีส้มสลับดำ มีขนาดความยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตั้งแต่พื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย พบได้ที่อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา จนถึงแหลมมลายู และเกาะลังกาวี ในประเทศมาเลเซีย มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูง ในระดับใกล้พื้นท้องน้ำ มักซ่อนตัวอยู่ใต้เศษใบไม้ โดยพบในแหล่งน้ำประเภทน้ำตกหรือลำธารบนที่สูงหรือเป็นเนินเขา เป็นปลาประเภทที่พบไม่ชุกชุม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ มีการเพาะขยายพันธุ์และรวบรวมจากแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อส่งออกไปขายยังต่างประเท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวใบไผ่เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวเจ้าฟ้า

ปลาซิวเจ้าฟ้า หรือ ปลาซิวเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Amblypharyngodon chulabhornae อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีสีโปร่งใส เห็นแกนดำของกระดูกสันหลังชัดเจน ตาโต หลังค่อม ท้องเป็นสีเงินแวววาว บริเวณส่วนหัวด้านบนมีสีเขียวเหลือบทอง มีความยาวเต็มที่ 4 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ของภาคเหนือ ภาคกลาง และพบโดยมากในภาคอีสานของประเทศไทย กินตัวอ่อนของแมลงน้ำ และพืชหรือตะไคร่น้ำ เป็นอาหาร เป็นปลาที่ใช้บริโภคในท้องถิ่น มีรสชาติไม่ขม จึงนิยมทำเป็นปลาจ่อม มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "ปลาแตบแก้ว" เป็นปลาที่เพิ่งค้นพบใหม่ในปี พ.ศ. 2533 ที่บึงบอระเพ็ด และให้ชื่อสายพันธุ์เพื่อถวายเป็นพระเกียรติแด่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี นอกจากนี้แล้วยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซิวเจ้าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซ่ง

ปลาซ่ง หรือ ปลาซ่งฮื้อ หรือ ปลาหัวโต (Bighead carp) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุล Hypophthalmichthys มีลักษณะแบบเดียวกับ ปลาลิ่น (H. molitrix) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน รวมทั้งมีขนาดและถิ่นกำเนิดในแหล่งเดียวกันอีกด้วย แต่ทว่าปลาซ่งจะมีส่วนหัวที่โตกว่าปลาลิ่น และส่วนท้องมนกลมไม่เป็นสันแคบเหมือนปลาลิ่น ถูกนำเข้ามาสู่ประเทศไทยราวปี พ.ศ. 2465-พ.ศ. 2475 โดยเรือสำเภาของชาวจีนจากเมืองซัวเถา ต่อมากรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีการฉีดฮอร์โมนและผสมเทียม ซึ่งปลาในธรรมชาติจะไม่วางไข่เอง ซึ่งจะทีชื่อเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาจีน" ปัจจุบัน ปลาในสกุล Hypophthalmichthys ทั้ง 2 ชนิด รวมทั้งปลาเฉา (Ctenopharyngodon idella) เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญของหลายประเทศในโลก รวมทั้งนิยมในการตกเป็นเกมกีฬา สำหรับในประเทศไทย เป็นที่นิยมรับประทานมากโดยเฉพาะชาวจีนหรือชาวไทยเชื้อสายจีน และนิยมเลี้ยงปลาทั้ง 3 ชนิดนี้รวมกันในบ่อเพื่อกินแพลงก์ตอนที่ทำให้น้ำเขียว และกินมูลจากปลาชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปล้องอ้อย

ปลาในทวีปอเมริกาใต้ ดูที่: ปลาปล้องอ้อย ปลาปล้องอ้อย เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมูแท้ (Cobitidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pangio (/แพน-กิ-โอ/) มีรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวยาว แบนข้าง ท้องมน คอดหางกว้าง หัวเล็กปลายทู่ ปากเล็กอยู่ต่ำ ตาเล็ก มีกระดูกเป็นหนามอยู่ใต้ตา เกล็ดเล็กมาก ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ลำตัวมีสีต่าง ๆ ต่างออกไปตามแต่ละชนิด ตั้วแต่ มีลำตัวสีเหลืองทองมีแถบสีดำ ในชนิด P. anguillaris, สีน้ำตาลตลอดทั้งตัว ในชนิด P. oblonga และเป็นสีดำสลับกับสีเหลืองเป็นปล้อง ๆ ในชนิด P. kuhlii และ P. myersi มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 10 เซนติเมตร นิยมอยู่เป็นฝูงในลำธารน้ำตกหรือป่าพรุ หรือแม้แต่แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น แม่น้ำ มีการเคลื่อนไหวที่แลดูคล้ายการเลื้อยของงู ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารจำพวก แมลงน้ำหรือแพลงก์ตอนสัตว์น้ำ จึงทำให้ได้อีกชื่อว่า "ปลางู" ซึ่งในภาษาอีสานเรียกว่า "ปลาอาด" พบกระจายพันธุ์อินเดียจนถึงพม่า, ภูมิภาคอินโดจีน จนถึงหมู่เกาะซุนดา มีความสัมพันธ์ต่อมนุษย์ในแง่ของการเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในชนิด P. kuhlii และ P. myersi และใช้บริโภคในชนิด P. anguillaris ค้นพบครั้งแรกบริเวณลุ่มน้ำทางใต้ของประเทศไทย และประเทศมาเลเซีย ในขั้นแรกพบ 10 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปล้องอ้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปล้องอ้อย (อเมริกาใต้)

ปลาน้ำจืดที่เป็นปลาไทย ดูที่: ปลาปล้องอ้อย ปลาดินสอที่มีขนาดเล็กกว่านี้ ดูที่: ปลาดินสอ ปลาปล้องอ้อย หรือ ปลาดินสอ (Banded leporinus, Black-banded leporinus) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ในวงศ์ปลาปล้องอ้อย (Anostomidae) ปลาปล้องอ้อย มีรูปร่างกลมและเรียวยาวอย่างเห็นได้ชัดเจน มีจุดเด่น คือ มีลายสีดำพาดผ่านลำตัวในแนวตั้งเป็นปล้อง ๆ ราว 10 ปล้อง อันเป็นที่มาของชื่อเรียก บนพื้นลำตัวสีเหลืองสด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15 เซนติเมตร แพร่กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและสาขา ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำลาพลาตา ในกายอานา เป็นต้น โดยเป็นปลาที่ชนพื้นเมืองใช้รับประทานเป็นอาหาร และถูกนำเข้าไปในสหรัฐอเมริกา ในรัฐฟลอริดาและฮาวาย เป็นปลาที่อยู่รวมกันเป็นฝูง จัดเป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก สามารถกินได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สาหร่าย, ตะไคร่น้ำ และสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นปลาที่มีความสวยงาม แปลกตาชนิดหนึ่ง จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถือเป็นปลาที่มีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร และมีความปราดเปรียวว่องไวมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปล้องอ้อย (อเมริกาใต้) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปล้องทองปรีดี

ปลาปล้องทองปรีดี (Mini dragon loach, Dr.) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาค้อ (Balitoridae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหล แต่ทว่าลำตัวแบนข้าง หัวทู่สั้น ตาเล็ก มีหนวด 2 คู่อยู่เหนือปาก และอีก 2 คู่อยู่ใต้ปาก ลำตัวมีสีเหลืองสลับดำเป็นปล้อง ๆ ดูแลสวยงาม มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 4 นิ้ว เป็นปลาที่เพิ่งค้นพบใหม่ของโลก พบที่ลำธารบนภูเขาสูงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ที่เดียวในโลกเท่านั้น โดยอาศัยอยู่ในลำธารน้ำที่ไหลแรงและเย็น การศึกษาทางนิเวศวิทยาของปลาชนิดนี้ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก เนื่องจากเป็นปลาชนิดใหม่และพบได้น้อย แต่เชื่อว่า ออกหากินในเวลากลางคืน เคลื่อนไหวได้ว่องไวมาก โดยกินอาหารได้แก่ แมลงน้ำ หรือ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในลำธารเหมือนปลาชนิดอื่น ในวงศ์และสกุลเดียวกัน ถูกตั้งชื่อสายพันธุ์เพื่อเป็นเกียรติแก่ นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสของไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปล้องทองปรีดี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอมปาดัวร์

ปลาปอมปาดัวร์ (Pompadour, Discus) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Symphysodon (/ซิม-ฟี-โซ-ดอน/) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ซึ่งเป็นปลาวงศ์ใหญ่ มีจำนวนสมาชิกที่หลากหลายมากกว่า 1,000 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปอมปาดัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล

ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล หรือ ปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน (Brown discus, Blue discus; หรือ Symphysodon aequifasciata haraldi) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาปอมปาดัวร์ชนิดหนึ่ง ซึ่งในข้อมูลบางแหล่งจัดให้เป็นชนิดย่อยของปลาปอมปาดัวร์เขียว (S. aequifasciata) ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลมีลักษณะที่เห็นได้เด่นชัดคือ บริเวณกลางลำตัวไม่มีลวดลาย จะมีลายเฉพาะบริเวณส่วนหัว ครีบหลังกระโดงบนและล่าง ส่วนบริเวณกลางลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อนหรือสีน้ำตาลเข้ม หรือกระทั่งเข้มไปเป็นสีแดง ขึ้นอยู่กับแหล่งน้ำที่อาศัย นอกจากนี้แล้วบางตัวยังอาจมีลายบั้งสีดำเห็นเด่นชัดเช่นเดียวกับปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล (S. discus) อีกด้วย ในอดีต ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล จะถูกแยกออกจากปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน แต่ในปัจจุบัน ได้มีนักมีนวิทยาบางคนได้เสนอให้รวมเป็นชนิดเดียวกัน (ดังนั้นจึงทำให้การจำแนกปลาปอมปาดัวร์เป็นชนิดต่าง ๆ จึงยังไม่มีข้อยุติ) โดยปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน เป็นปลาที่มีลายสีน้ำเงินหรือสีฟ้าขึ้นอยู่เกือบเต็มหรือเต็มลำตัว มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแหล่งน้ำที่อาศัย ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลนั้นเป็นต้นสายพันธุ์ของปลาปอมปาดัวร์ชนิดแรกที่ถูกนำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ต่อมาได้ถูกพัฒนาสายพันธุ์จากการที่เป็นปลาป่ามาเป็นสีสันและลวดลายที่หลากหลายในปัจจุบัน โดยปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลจะเป็นต้นสายพันธุ์ของ "ปลาปอมปาดัวร์ 5 สี" และปลาปอมปาดัวร์น้ำเงินเป็นต้นสายพันธุ์ของ "Red turquoise" หรือ "Blue turquoise" หรือในชื่อภาษาไทยว่า "ปลาปอมปาดัวร์ 7 สี" นั่นเอง ปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน นอกจากนี้แล้ว ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลยังมีชื่อเรียกอื่นในวงการปลาสวยงามในประเทศไทยว่า "ปลาป่าแดง" ซึ่งปลาในกลุ่มปลาป่าแดง จัดเป็นปลาปอมปาดัวร์ชนิดที่หาซื้อได้ง่ายที่สุด เพราะเป็นชนิดที่พบได้มากที่สุดในธรรมชาติ ปลาป่าแดงจึงมีราคาซื้อขายที่ย่อมเยาที่สุด นอกจากนี้แล้ว ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล ที่พบในแหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งมีสีสันหรือลวดลายแตกต่างออกไป จะมีชื่อเรียกทางการค้าต่างกันออกไป เช่น "อเลนคิวร์เรด" (Alenquer red) หมายถึง ปลาที่มาจากแม่น้ำอเลนคิวร์, "อิคาเรด" (Içá red) เป็นปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลที่มีเส้นข้างลำตัวเส้นที่ 5 เป็นสีดำเข้มหรือเทาเข้มชัดเจนคล้ายกับปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล แต่แถบแรกจะมีขนาดแคบกว่า แรกเริ่มปลาลักษณะนี้พบได้ในแม่น้ำอิคา ในประเทศเปรู แต่ปัจจุบันพบได้ในแหล่งน้ำอื่น ๆ ด้วย, "รอยัลบลู" (Royal blue) เป็นปลาปอมปาดัวร์น้ำเงินที่มีลวดลายขึ้นจนเต็มตัวเห็นได้ชัดเจน ลักษระเช่นนี้หาได้ยากเพราะส่วนใหญ่มักมีลายขึ้นเพียงบริเวณขอบด้านบนและด้านล่างของลำตัวเท่านั้น ทำให้ปลาปอมปาดัวร์รอยัลบลูมีราคาซื้อขายที่สูงมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอด

ปลาปอดในสวนสัตว์พาต้า ปลาปอด (Lungfish, Salamanderfish, Amphibious fish) เป็นปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งที่อยู่ในชั้นย่อย Dipnoi เป็นปลาเพียงจำพวกเดียวในโลกที่ยังมีการสืบสายพันธุ์จนปัจจุบันนี้ที่หายใจด้วยอวัยวะที่คล้ายกับปอดของสัตว์ทั่วไป โดยไม่ใช้เหงือกเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ปลาปอดได้ชื่อว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต เพราะเป็นปลาที่ไม่ได้เปลี่ยนรูปร่างมากนักจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยปลาปอดจัดอยู่ในชั้นใหญ่ Sarcopterygii ซึ่งจะมีลักษณะเด่น คือ มีพู่เนื้อหรือเนื้อเยื่อเป็นครีบ มีครีบหางเดี่ยว มีครีบ 2 คู่ มีเกล็ดแบบ Cosmoid ซึ่งแตกต่างไปจากปลาชนิดอื่น ๆ ในโลก ซึ่งปลาในกลุ่มนี้จะแยกออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ 1.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปอด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอดออสเตรเลีย

ปลาปอดออสเตรเลีย หรือ ปลาปอดควีนส์แลนด์ (Australian lungfish, Queensland lungfish) เป็นปลากระดูกแข็งในชั้นปลาปอด (Dipnoi) ที่อยู่ในวงศ์ Ceratodontidae และในอันดับ Ceratodontiformes เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ยังคงสืบสายพันธุ์มาจนถึงยุคปัจจุบันนี้ ซึ่งปลาปอดที่อยู่ในวงศ์นี้และอันดับนี้ มีความแตกต่างไปจากปลาปอดชนิดที่พบในทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้ที่อยู่ในอันดับ Lepidosireniformes พอสมควร เนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงกับปลาปอดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ราว 100 ล้านปีก่อน มากกว่า ซึ่งในอดีตมีปลาปอดที่อยู่ในวงศ์นี้มากถึง 7 ชนิด แต่ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว ซึ่งปลาปอดออสเตรเลียมีความแตกต่างจากปลาปอดในอันดับ Lepidosireniformes กล่าวคือ มีครีบอกและครีบบริเวณท้อง มีรูปทรงคล้ายใบพาย มีถุงลมที่ใช้ช่วยในว่ายน้ำและพยุงตัว 1 ถุง ซึ่งถุงลมนี้มีความสามารถที่จะแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กับออกซิเจนได้ แต่ไม่มีความสามารถที่จะสร้างเมือกมาปกคลุมลำตัวเพื่อช่วยในการจำศีลในฤดูแล้งได้ และอวัยวะที่ช่วยในการหายใจที่ทำหน้าที่คล้ายกับปอดของสัตว์บกก็มีเพียงชิ้นเดียว อีกทั้งยังมีรูปร่างที่แตกต่างออกไป กล่าวคือ มีดวงตาที่กลมโตเห็นได้ชัดเจน เกล็ดมีขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน เป็นแบบ Cosmoid คือ เกล็ดลื่น ลักษณะเรียบ และมีขนาดใหญ่ ซึ่งไม่ปรากฏแล้วในปลาชนิดอื่นในปัจจุบัน ปลาปอดออสเตรเลีย ไม่สามารถที่อาศัยอยู่ใต้น้ำได้เป็นระยะเวลานานเท่าปลาปอดจำพวกอื่น โดยจะขึ้นมาฮุบอากาศหายใจเป็นระยะ ๆ ในช่วงฤดูแล้งที่แหล่งน้ำที่อาศัยแห้งขอด ปลาปอดออสเตรเลียจะอยู่นิ่ง ๆ ขึ้นมาฮุบอากาศหายใจเพียงครั้งละ 1-2 ครั้งต่อชั่วโมงเท่านั้น พบกระจายพันธุ์อยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นพื้นที่ ๆ มีคุณภาพน้ำในเกณฑ์ดี มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง สภาพกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ พบในรัฐควีนส์แลนด์และนิวเซาท์เวลส์ในประเทศออสเตรเลียเพียงที่เดียวในโลกเท่านั้น กินอาหารจำพวกกบ, ลูกอ๊อด, ปลา, กุ้ง, ไส้เดือน, หอย, พืชน้ำ รวมถึงผลไม้ที่ตกลงมาจากต้นด้วย อีกทั้งยังสามารถสร้างกระแสไฟฟ้าแบบอ่อน ๆ เพื่อค้นหาอาหารที่ซุกซ่อนอยู่ตามซอกหินได้อีกด้วย ขนาดลำตัวเมื่อโตเต็มที่ยาวได้มากกว่า 1.2 เมตร น้ำหนักกว่า 20 กิโลกรัม และเชื่อว่ามีอายุได้มากกว่า 70 ปี สถานะปัจจุบันของปลาปอดออสเตรเลีย นับว่าใกล้สูญพันธุ์จากแหล่งธรรมชาติมากแล้ว ได้รับการอนุรักษ์ตามกฎหมายของออสเตรเลีย อีกทั้งยังบมีชื่อติดอยู่ในบัญชีรายชื่อหมายเลข 2 (Appendix II) ของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส) ที่จะมีการค้าขายหรือครอบครองต้องได้รับการอนุญาตจากทางการเสียก่อน โดยได้รับการขึ้นทะเบียนตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1975 แต่ปัจจุบัน ได้มีการเพาะขยายพันธุ์ปลาปอดออสเตรเลียในบ่อเพาะเลี้ยงได้แล้ว ทำให้ปลาปอดออสเตรเลียกลายเป็นปลาสวยงามอีกชนิดหนึ่งของผู้ที่ชื่นชอบการเลี้ยงปลาตู้ แต่ทว่ามีราคาซื้อขายที่แพงมาก อีกทั้งลูกปลาเมื่อเกิดขึ้นมาใหม่ได้ระยะหนึ่ง จะทำการฝังชิพเพื่อระบุถึงตัวปลาด้วย และเมื่อมีการซื้อขายกันก็ต้องมีหนังสืออนุญาตอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งปลาปอดออสเตรเลียมีนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวเหมือนเช่นปลาปอดที่พบในทวีปแอฟริกา ซึ่งผู้เลี้ยงสามารถให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ โดยลูกปลาปอดออสเตรเลียที่เกิดใหม่จะไม่มีพู่เหงือกพิเศษเหมือนปลาปอดจำพวกอื่น และมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมากในขวบปีแรก จากนั้นจะค่อย ๆ โตช้าลง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปอดออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอดอเมริกาใต้

ปลาปอดอเมริกาใต้ (South American lungfish, American mud-fish, Scaly salamander-fish) เป็นปลาปอดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lepidosiren paradoxa อยู่ในวงศ์ Lepidosirenidae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้และวงศ์นี้ ปลาปอดอเมริกาใต้ มีลักษณะโดยรวมแล้วคล้ายกับปลาปอดที่พบในทวีปแอฟริกา (Protopterus spp.) แต่จะมีรูปร่างที่เพรียวยาว เมื่อยังเล็ก จะมีพู่เหงือกเหมือนสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกซาลาแมนเดอร์ ซึ่งจะใช้อวัยวะส่วนนี้ช่วยในการหายใจ จนกระทั่งอายุได้ราว 7 สัปดาห์ อวัยวะส่วนนี้จะหายไป และจะมีสีเหลืองเป็นจุดเป็นแต้มกระจายไปทั่วลำตัว แลดูสวยงาม ปลาปอดอเมริกาใต้จัดเป็นปลาปอดโลกใหม่ ที่มีพัฒนาการจากปลาปอดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ไม่เหมือนปลาปอดโลกเก่าอย่าง ปลาปอดออสเตรเลีย (Neoceratodus forsteri) โดยจะมีถุงลมจำนวนหนึ่งคู่ มีอวัยวะที่ทำหน้าที่คล้ายปอดของมนุษย์หนึ่งคู่ มีครีบอกและครีบส่วนล่างเป็นเส้นยาวเห็นได้ชัดเจน โดยที่ไม่มีก้านครีบ ซึ่งครีบตรงส่วนนี้เมื่อขาดไปแล้ว สามารถงอกใหม่ได้ โตเต็มที่ประมาณ 125 เซนติเมตร มีอายุสูงสุดราว 8 ปี ตามีขนาดเล็ก ปลาตัวเต็มวัยมีลำตัวสีเทาคล้ำหรือสีดำ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ได้แก่ หอย, กุ้ง, ปลาขนาดเล็ก, แมลงน้ำ รวมถึงเห็ดรา ในขณะที่ยังเล็กจะกินอาหารจำพวกสัตว์เพียงอย่างเดียว พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำสาขาต่าง ๆ ที่เป็นสาขาของแม่น้ำอเมซอน เช่น แม่น้ำปารานา ขณะเดียวกันปลาปอดอเมริกาใต้ก็ตกเป็นอาหารของสัตว์ใหญ่กว่าชนิดอื่นด้วย สามารถดำรงชีวิตในแหล่งน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำได้เป็นอย่างดี เมื่อถึงฤดูแล้งที่น้ำแห้งขอด ปลาปอดอเมริกาใต้จะขุดหลุมลึกประมาณ 30-50 เซนติเมตร และจะใช้โคลนปิดปากหลุมไว้เพื่อการจำศีล ลดการเผาผลาญพลังงาน จนกว่าจะถึงฤดูฝนที่ปริมาณน้ำจะกลับมามากดังเดิม มีพฤติกรรมในการขยายพันธุ์ คือ พ่อแม่ปลาจะขุดหลุมลึกประมาณ 1.5 เมตร เพื่อสร้างเป็นรัง โดยที่ปลาตัวผู้จะทำหน้าที่ดูแลตัวอ่อน ตัวผู้จะเพิ่มปริมาณออกซิเจนในหลุม เพราะช่วงฤดูวางไข่ ครีบหางจะพัฒนาให้มีเส้นเลือดบริเวณนั้นเป็นจำนวนมาก เหงือกที่คล้ายโครงสร้างของขนนก ซึ่งจะทำหน้าที่ตรงข้ามกับเหงือก คือ จะทำหน้าที่ปล่อยออกซิเจนออกจากเลือด และรับคาร์บอนไดออกไซด์ และเนื้อเยื่อหายไปหลังจากช่วงสิ้นสุดฤดูกาลวางไข่ ปลาปอดอเมริกาใต้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่มีนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวเหมือนปลาปอดที่พบในทวีปแอฟริกา จึงสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นที่มีขนาดใหญ่กว่าในตู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี โดยผู้เลี้ยงสามารถให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปอดอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าฟาฮากา

ปลาปักเป้าฟาฮากา (Fahaka pufferfish, the Nile puffer, Globe fish, Lineatus puffer; อาหรับ: فهقة) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่งที่อาศัยในน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon lineatus อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) เป็นปลาปักเป้าที่มีรูปร่างอ้วนกลม ลำตัวยาว มีจุดเด่นคือ พื้นลำตัวสีเขียวเหลือบเหลืองมีลายพาดสีน้ำตาลขวางอยู่ตลอดทั้งลำตัว ซึ่งสีเหล่านี้สามารถปรับเปลี่ยนไปตามอารมณ์ปลาและสภาพแวดล้อม ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาปักเป้าที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจาก ปลาปักเป้าเอ็มบู (T. mbu) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกาทางตอนเหนือและตะวันตก แต่ทว่าลักษณะนิสัยนั้นต่างจากปลาปักเป้าเอ็มบู เพราะว่ามีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวกว่ามาก ในลูกปลานิสัยจะยังไม่ก้าวร้าวเท่าปลาโต แต่จะค่อย ๆ เพิ่มความก้าวร้าวขึ้นตามอายุ ดังนั้น การเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปลาปักเป้าฟาฮากาจะไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาอื่น ๆ ได้เลย แม้จะเป็นปลาชนิดเดียวกันก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าฟาฮากา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าสมพงษ์

ปลาปักเป้าสมพงษ์ (Redeye puffer, Sompong's puffer) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีพื้นลำตัวสีเทาอมเขียว ใต้ท้องสีขาว มีลวดลายสีเทาเข้มขนาดใหญ่พาดบนแผ่นหลังและข้างลำตัว สามารถปรับเปลี่ยนสีลำตัวให้เข้มหรือจางได้ตามสภาพแวดล้อม ตามีสีแดงสามารถกรอกกลิ้งไปมาได้ ตัวผู้และตัวเมียความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด โดยปลาตัวผู้จะมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า ตัวสีแดง ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็ก มีลำตัวสีเขียวมีลาดพาดตามลำตัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 นิ้ว พบกระจายอยู่ทั่วไปตามแม่น้ำลำคลองทั่วประเทศ โดยมักหลบอยู่ใต้กอผักตบชวา หรือในบริเวณน้ำกร่อยตามชายฝั่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบได้แม้แต่ในพื้นที่ฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าว มักกัดกันเองเสมอ ๆ ปัจจุบัน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในตู้เลี้ยง โดยจะวางไข่ในน้ำกร่อย ปลาชนิดนี้ถูกค้นพบโดยคนไทย จึงตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้ค้นพบ คือ นายสมพงษ์ เล็กอารีย์ ซึ่งเป็นนักธุรกิจส่งออกปลาสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และมีชื่อเรียกอื่น เช่น "ปลาปักเป้าตาแดง" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหางวงเดือน

ปลาปักเป้าหางวงเดือน (Ocellated pufferfish; Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No. 27: 1–663.) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) เป็นปลาปักเป้าที่มีขนาดเล็ก ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย ครีบเล็ก ลำตัวสีคล้ำหรือเขียวขี้ม้า มีจุดประสีเหลืองหรือสีจางทั่วตัว หลังมีลายพาดสีคล้ำ ข้างลำตัวมีดวงสีดำใหญ่ ตาสีแดง ครีบหางมีขอบสีแดงหรือชมพู มีขนาดประมาณ 4-5 เซนติเมตร จัดเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Leiodon พบอาศัยอยู่ตามลำธารและแม่น้ำในภาคตะวันตกตั้งแต่จังหวัดแม่ฮ่องสอนไปจนถึงภาคใต้ โดยหลบซ่อนอยู่ตามซอกหินหรือใบไม้ใต้น้ำ อาหารได้แก่ ลูกปลา, ลูกอ๊อด, ปู, หอย และกุ้งขนาดเล็ก เป็นปลาที่ไม่พบบ่อยมากนัก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาปักเป้าแคระ" หรือ "ปลาปักเป้าเขียวจุด" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าหางวงเดือน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหนามทุเรียน

ปลาปักเป้าหนามทุเรียน (Porcupinefishes, Balloonfishes) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ในวงศ์ปลาปักเป้าฟัน 2 ซี่ (Diodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Diodon (/ได-โอ-ดอน/) ปลาปักเป้าหนามทุเรียนนั้น มีรูปร่างคล้ายปลาปักเป้าทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวยาว หนังหยาบหนา และมีหนามแข็งชี้ไปข้างท้ายลำตัวตลอดทั้งตัว ซึ่งหนามนี้จะตั้งแข็งตรงเมื่อพองตัวกลมคล้ายลูกบอล เพื่อใช้ในการป้องตัวตัวเองจากนักล่าขนาดใหญ่กว่าในธรรมชาติ เช่น ปลาฉลาม ครีบหางเป็นทรงกลม มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร มีลักษณะเด่น คือ มีฟันที่แหลมคมจำนวน 2 ซี่ภายในช่องปากใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ เป็นอาหาร เช่น กุ้ง, ปู, หอยฝาเดี่ยว หรือหอยสองฝา เป็นต้น ปลาปักเป้าหนามทุเรียนมีลักษณะแตกต่างไปจากปลาปักเป้าสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน คือ ลักษณะของหนามบนลำตัว มีทั้งหมด 5 ชนิด (ดูในเนื้อหา) กระจายพันธุ์ไปในทะเลและมหาสมุทรต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามตามบ้านหรือในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ และนิยมนำมาสตัฟฟ์เป็นเครื่องประดับโดยเฉพาะเมื่อยามพองตัว แต่ถือเป็นปลาที่มีอันตราย หากได้รับประทานเข้าไป เนื่องจากมีสารพิษชนิด เตโตรโดท็อกซิน และซิกัวเตราอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าหนามทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาว

ปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาว หรือ ปลาปักเป้าสามแถบ (long-spine porcupinefish, spiny balloonfish, freckled ballonfish) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟัน 2 ซี่ (Diodontidae) มีตัวค่อนข้างกลมและแบนทางด้านบนเล็กน้อย หัวขนาดใหญ่เรียวเล็กลงไปทางหาง ตากลมโตกลอกไปมาได้และมีหนังตายื่นลงมาเป็นติ่ง ปากหนามีฟันเชื่อมต่อกัน ครีบหูมีขนาดใหญ่คลี่ออกคล้ายพัด ครีบหลังมีอันเดียวอยู่เยื้องไปทางหาง ไม่มีครีบท้อง ครีบทวารอยู่ตรงกับครีบหลัง ครีบหางโค้งกลม ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร ผิวลำตัวเป็นหนังย่นและมีหนามแข็งพับลู่ไปทางหาง ซึ่งเมื่ออยู่ในยามปกติก็เห็นได้ชัดเจน แต่จะตั้งขึ้นเมื่อตกใจหรือถูกรบกวนและพองตัวได้ พื้นลำตัวมีสีน้ำตาลเขียว มีลายจุดสีดำเป็นปื้นตามลำตัวและบนหลัง ซึ่งเมื่อปลาโตขึ้นจุดเหล่านี้จะค่อย ๆ จางไป จัดเป็นปลาปักเป้าที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในแนวปะการังเขตร้อนและเขตอบอุ่น ตั้งแต่ฟลอริดา, บาฮามาส, บราซิล, หมู่เกาะกาลาปากอส, เกาะอีสเตอร์ รอบ ๆ แอฟริกาใต้, เรอูนียง, ทะเลแดง, มาดากัสการ์, มอริเชียส, หมู่เกาะฮาวาย, อ่าวเบงกอล, อินโด-แปซิฟิก, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, อ่าวตังเกี๋ย, ทะเลเหลือง, ทะเลจีนใต้, ทะเลจีนตะวันออก พบไปจนถึงทะเลญี่ปุ่น, ทะเลฟิลิปปิน และเกรตแบร์ริเออร์รีฟ เป็นปลาที่ไม่ใช้เนื้อในการบริโภค แต่นิยมทำมาเป็นเครื่องประดับ โดยนำมาสตัฟฟ์เมื่อเวลาที่พองตัวออก และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหนามทุเรียนด่างดำ

ปลาปักเป้าหนามทุเรียนด่างดำ (Black-blotched porcupinefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสองซี่ (Diodontidae) เป็นปลาปักเป้าหนามทุเรียนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างทรงกลม มีขากรรไกรและฟันแบบไม่ผ่าซีก ผิวหนังมีหนามสั้น ที่บริเวณใต้ตามีหนามชิ้นหนึ่งชี้ลงด้านล่าง ครีบทุกครีบมีขนาดเล็กปลายมน ลำตัวสีเทาอมเหลือง มีจุดเด่น คือ มีดวงสีดำขนาดใหญ่ที่มีขอบขาวทั่วตัว ครีบทุกครีบมีสีเหลืองใสโปร่งแสง ใต้ท้องสีขาว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30-45 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 65 เซนติเมตร อาศัยอยู่ตามโพรงหินและวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ พบกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก จากแอฟริกาใต้จนถึงทะเลญี่ปุ่น จนถึงตอนใต้ของออสเตรเลีย และหมู่เกาะมาร์แชลล์ ในน่านน้ำไทยพบได้ชุกชุม ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มักพบตามชายฝั่งและแนวปะการัง กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็กที่อยู่บริเวณพื้นทะเล เป็นปลาที่มีพิษ เนื้อใช้รับประทานไม่ได้ นิยมสตั๊ฟฟ์ทำเป็นเครื่องประดับ และเลี้ยงแสดงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าหนามทุเรียนด่างดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหน้าหมา

ปลาปักเป้าหน้าหมา (Blackspotted puffer, Dog-faced puffer, Brown puffer) เป็นปลาปักเป้าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arothron nigropunctatus ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลำตัวสีน้ำตาลเทา มีจุดสีดำกระจัดกระจายอยู่ทั่วลำตัว มีแต้มสีเข้มรอบ ๆ ปาก จะงอยปากยื่นยาวออกมาดูคล้ายปากของสุนัขหรือหมา อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 33 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ได้กว้างขวาง ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงหมู่เกาะกลางมหาสมุทรแปซิฟิก จัดเป็นปลาปักเป้าที่เคลื่อนไหวได้อย่างว่องไวและไม่ค่อยจะอยู่นิ่ง อาหารหลักของปลาปักเป้าหน้าหมา มิใช่ครัสเตเชียนหรือหอยเหมือนปลาปักเป้าจำพวกอื่น แต่เป็นปะการังในสกุลปะการังเขากวาง (Acropora spp.) สาหร่ายและฟองน้ำชนิดต่าง ๆ เป็นปลาที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าว แต่กินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำอย่างอื่นเป็นอาหาร นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามตามบ้านเรือนทั่วไปหรือในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ โดยปกติแล้ว ปลาปักเป้าชนิดนี้มีสีเทา แต่บางตัวจะมีสีที่แปลกไป คือ สีเหลือง ซึ่งเรียกกันว่า "ปลาปักเป้าทอง" ซึ่งสีเหลืองนี้จะมีมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันออกไป บางตัวยังมีสีขาวปะปนอยู่เป็นปื้น ๆ อีกด้วย ลักษณะการผิดเพี้ยนของสีสันนี้เป็นลักษณะที่พบได้น้อย ทำให้ปลาปักเป้าหน้าหมาลักษณะนี้มีราคาซื้อขายกันสูงในตลาดค้าปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าหน้าหมา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าอ้วน

ปลาปักเป้าอ้วน (Fat puffer) เป็นสกุลของปลาปักเป้าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Arothorn (/อะ-โร-ทรอน/) จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลักษณะ ลำตัวป้อม หัวทู่ จมูกแต่ละข้างมีปลายแยกออกเท่ากันเป็นเส้นคล้ายหนวดหรือเป็นเส้นแบน ๆ 2 เส้น จะงอยปากค่อนข้างยาว มีช่องระหว่างตากว้าง ครีบหลัง ครีบหู และครีบก้นมีลักษณะกลม ครีบหางตัดตรง ปลายจมูกเป็นแท่งคล้ายหนวด มีเส้นข้างลำตัว 1 เส้น มีหนามขนาดเล็กทั่วตัว ยกเว้นรอบปากและคอดหาง ปลาปักเป้าในสกุลนี้ จัดเป็นปลาปักเป้าสกุลที่มีสมาชิกมากที่สุดสกุลหนึ่งในวงศ์นี้ หลายชนิดนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามหรือจัดแสดงไว้ในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ เป็นปลาปักเป้าที่อาศัยอยู่ในทะเลทั้งหมด โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ A. stellatus ที่ยาวได้ถึง 48 นิ้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าอ้วน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าจมูกแหลม

ปลาปักเป้าจมูกแหลม หรือ ปลาปักเป้าหนู (Sharpnose puffer, Toby) เป็นสกุลของปลาปักเป้าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Canthigaster (/แคน-ทิ-แกส-เตอร์/) จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลักษณะสำคัญ คือ มีลำตัวแบนข้าง จะงอยปากยาวกว่าปลาปักเป้าสกุลอื่น ปากเล็กแหลมยื่นยาว ช่องเปิดเหงือกแคบ คอดหางแผ่แบนออกเป็นแผ่นกว้าง ลำตัวมีหนามขนาดเล็ก ไม่มีเส้นข้างตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าจมูกแหลม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าทอง (สกุล)

ปลาปักเป้าทอง (Green puffer, Golden puffer) เป็นสกุลของปลาปักเป้า ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Auriglobus (/ออ-ริ-โกล-บัส/) มีรูปร่างคือ ลำตัวแบนข้างและตาโตมากกว่าสกุล Tetraodon มาก พื้นลำตัวเป็นสีเหลืองทองเหลือบเขียวแวววาว โดยที่ไม่มีลวดลายใด ๆ ทั้งสิ้น ใต้ท้องสีขาว ครีบหลังและครีบก้นใหญ่ ครีบหางปลายตัดตรง ทำให้ว่ายน้ำได้รวดเร็วกว่า อีกทั้งยังพองลมได้ใหญ่กว่าด้วย มักหากินในระดับผิวน้ำจนถึงกลางน้ำ พบอาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำ เป็นสกุลปลาที่มีขนาดเล็ก ใหญ่ที่สุดประมาณ 20 เซนติเมตร เล็กที่สุดเพียง 7 เซนติเมตร เท่านั้น เดิมเคยถูกจัดให้อยู่ในสกุล Chonerhinos แต่พบมีความแตกต่างจากหลักสัณฐานวิทยา จึงได้ย้ายมาอยู่ในสกุลปัจจุบันตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าทอง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าทองแม่น้ำโขง

ปลาปักเป้าทองแม่น้ำโขง (Greenbottle pufferfish) เป็นปลาปักเป้าชนิด ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีรูปร่างเหมือนปลาปักเป้าชนิดอื่นในวงศ์นี้ทั่วไป แต่ทว่ามีรูปร่างที่เพรียวยาวกว่าและมีสีของลำตัวออกไปทางเหลือบเขียวมากกว่า หลังมีสีเทาเงิน ท้องสีขาวและมีหนามเล็ก ๆ ฝังอยู่ใต้ผิว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ในลุ่มน้ำโขงของภาคอีสานและภาคใต้ฝั่งตะวันออกของไทย มีนิสัยดุร้ายชอบกัดกินเกล็ดปลาตัวอื่นที่ติดแหของชาวประมง นับเป็นปลาปักเป้าในสกุลนี้ 1 ใน 2 ชนิด ที่พบได้ในประเทศไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าทองแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าท้องตาข่าย

ปลาปักเป้าท้องตาข่าย (Kingkong puffer, Humpback puffer; Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No. 27: 1–663.) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาปักเป้า ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลักษณะเด่น คือ หนังหนา หนามค่อนข้างใหญ่ และมีตาโตมาก สีลำตัวออกไปทางสีน้ำตาลแดง ใต้ท้องสีขาวและมีลวดลายคล้ายตาข่ายและจุดดำปกคลุมไปทั่ว อีกทั้งเวลาพองลมและพองได้กลมใหญ่มากคล้ายลูกบอล จัดเป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ โดยขนาดใหญ่ที่สุดพบยาวถึง 19.4 เซนติเมตร ในประเทศไทยพบได้เฉพาะในพื้นที่ภาคใต้ โดยมีรายงานจากทะเลสาบสงขลา เป็นปลาที่พบชุกชุมในบางฤดูกาลบริเวณลำคลองรอบ ๆ ป่าพรุโต๊ะแดง ที่จังหวัดนราธิวาส และพบเรื่อยไปจนถึงมาเลเซียจนถึงอินโดนีเซีย โดยมีการตั้งชื่อสายพันธุ์ตามชื่อเมืองที่ค้นพบครั้งแรก คือ เมืองปาเล็มบัง ในเกาะสุมาตราใต้ ปลาปักเป้าท้องตาข่าย เป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่งที่มีนิสัยไม่ก้าวร้าวดุร้าย อีกทั้งมีสีสันและลวดลายที่สวยงาม จึงเป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าท้องตาข่าย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าขน

ปลาปักเป้าขน (Hairy puffer; Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No. 27: 1–663.) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าขน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าดำ

ปลาปักเป้าดำ ปลาปักเป้าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pao cochinchinensisKottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าควาย

ปลาปักเป้าควาย หรือ ปลาปักเป้าสุวัตถิ (Arrowhead puffer; Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No. 27: 1–663.) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาปักเป้า ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) โดยได้รับการตั้งชื่อสายพันธุ์เพื่อเป็นเกียรติแด่ ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ อดีตคณบดีคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.สืบสิน สนธิรัตน และ ทรงพรรณ สุนทรสถิตย์ โดยเก็บตัวอย่างต้นแบบแรกได้จากลุ่มแม่น้ำโขงที่จังหวัดหนองคาย มีจุดเด่นคือ มีปากที่เรียวยาวปากงอนขึ้นด้านบน และยังมีลายลักษณะคล้ายหัวลูกศรที่บริเวณด้านบนระหว่างตาทั้งสองข้าง ลำตัวมีสีส้มแดงและมีจุดดำกระจายอยู่ทั่ว จัดเป็นปลาปักเป้าที่พบในน้ำจืดชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 11 เซนติเมตร พบได้ในภาคอีสาน ในลุ่มแม่น้ำโขงและแควสาขา มีพฤติกรรมชอบฝังตัวใต้ทรายใต้พื้นน้ำเพื่อซุ่มล่าเหยื่อ ปลาปักเป้าควายจัดเป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่งที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายมากนัก จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาตู้สวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าควาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าคองโก

ปลาปักเป้าคองโก หรือ ปลาปักเป้าแดง (Congo puffer, Pooey pooer.) ปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon miurus ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม มีส่วนจะงอยปากที่ยาวยื่นออกมา คล้ายปลาปักเป้าควาย (Pao suvatti) ซึ่งเป็นปลาปักเป้าน้ำจืดเหมือนกัน แต่พบในทวีปเอเชีย ปลาปักเป้าคองโก มีจุดเด่น คือ สีลำตัวที่เป็นสีเดียวตลอดโดยไม่มีลวดลาย โดยมากจะเป็นสีแดงสด หรืออาจจะเปลี่ยนเป็น สีส้ม, น้ำตาล หรือแม้กระทั่งดำได้ตามอารมณ์ของปลา และสภาพแวดล้อม ขนดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร แพร่กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำคองโก ในทวีปแอฟริกาตอนกลาง เป็นปลาปักเป้าที่มีนิสัยดุร้ายมากอีกชนิดหนึ่ง มีการล่าเหยื่อโดยการซุ่มซ่อนตัวในพื้นทรายใต้น้ำ โดยโผล่มาเพียงแต่จะงอยปากกับดวงตาเท่านั้น คล้ายกับปลาปักเป้าควายที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง ในเอเชียอาคเนย์ นอกจากจะกินสัตว์น้ำมีเปลือกเช่น กุ้งหรือหอยแล้ว ปลาปักเป้าคองโกยังเป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความว่องไวจนสามารถฉกกัดปลาชนิดอื่น กินเป็นอาหารได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าคองโก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าตาแดง

ปลาปักเป้าตาแดง (Redeye puffers) เป็นชื่อสกุลของปลาปักเป้าจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Carinotetraodon (/คา-ริ-โน-เต-ตรา-โอ-ดอน/; โดยคำว่า carina เป็นภาษาละตินหมายถึง "กระดูกงูเรือ" และtetraodon คือ สกุล Tetraodon ซึ่งเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากของปลาปักเป้าในวงศ์นี้ ที่เคยจัดให้อยู่ในสกุลเดียวกันมาก่อน) มีรูปร่างโดยรวม เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 4 นิ้ว ซึ่งนับว่าเล็กที่สุดในบรรดาปลาปักเป้าทั้งหมด มีรูปร่างคล้ายปลาปักเป้าในสกุล Tetraodon ซึ่งเคยอยู่ร่วมสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่ามีขนาดเล็กกวากันมาก ปลาปักเป้าในสกุลนี้มีจุดเด่น คือ มีดวงตาสีแดงคล้ายทับทิม ซึ่งสามารถกลิ้งกลอกไปมาได้ ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างระหว่างเพศอย่างเห็นได้ชัด โดยตัวผู้จะมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า ลำตัวโดยมากจะเป็นสีแดงหรือสีเทาอมแดง ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็ก มีลำตัวสีเขียวมีลาดพาดตามลำตัว แต่สีพื้นของตัวผู้โดยปกติและเมื่อยังเล็กอยู่ก็เป็นสีเดียวกับตัวเมีย และสามารถปรับเปลี่ยนสีตามอารมณ์และสภาพแวดล้อมได้ด้วย ในการผสมพันธุ์ตัวผู้จะเปลี่ยนสีให้เข้มและพองผิวหนังลำตัวจนกลายเป็นเหนียงบริเวณใต้คางและใต้ท้อง พบในน้ำกร่อยและน้ำจืด ในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าตุ๊กแก

ปลาปักเป้าตุ๊กแก (Milk-spotted Puffer, Marbled toadfish) ปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelonodon patoca อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) จัดเป็นปลาปักเป้าขนาดกลาง เมื่อโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 38 เซนติเมตร แต่โดยเฉลี่ยจะพบเพียงแค่ 13-15 เซนติเมตร ลำตัวมีลวดลายสะดุดตา โดยเฉพาะมีลายพาดบริเวณหลังในแนวครีบอกและครีบก้น เป็นลายพาดคล้ายอานม้าสีดำมีขอบสีขาว หลังมีสีเขียวอมเหลือง และมีจุดกลมสีขาวขนาดแตกต่างกันกระจายทั่ว ข้างลำตัวมีสีขาวเหลือบเงิน ท้องมีสีเหลืองสด ครีบต่าง ๆ ใสไม่มีสี ยกเว้นครีบหางที่เป็นสีเหลืองสด ในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณปากแม่น้ำและชายฝั่งทะเลแถบอันดามันและอ่าวไทย นับเป็นปลาปักเป้าที่อาศัยอยู่ได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล ในต่างประเทศพบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ชายฝั่งทะเลของทวีปแอฟริกาตะวันออก ไปจนถึงชายฝั่งทะเลของจีน, สิงคโปร์, อินโด-แปซิฟิก จนถึงออสเตรเลียทางตอนเหนือและตอนใต้ และนับเป็นปลาปักเป้าเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Chelonodon ที่ปรับตัวอาศัยอยู่ได้ในน้ำจืด ปรกติจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยและน้ำเค็ม แต่เมื่อเวลาจะวางไข่จะว่ายกลับไปวางไข่ในแหล่งน้ำจืด จัดเป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมากชนิดหนึ่ง จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าตุ๊กแก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าแอมะซอน

ปลาปักเป้าแอมะซอน (South American puffers, Amazon puffers, Brazilian puffers) เป็นชื่อของปลาปักเป้า 2 ชนิดที่อยู่ในสกุล Colomesus ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ทั้ง 2 ชนิดนี้ได้แก่ C. psittacus และ C. asellus จัดเป็นปลาปักเป้าที่มีขนาดเล็ก มีนิสัยไม่ดุร้ายและชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำมีเปลือก อาทิ กุ้ง, หอย หรือปู มีการกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำแอมะซอนแถบประเทศเปรู, เวเนซุเอลา, โคลอมเบีย, กายอานา และบราซิล ความแตกต่างของทั้ง 2 ชนิดนี้ กล่าวคือ C. psittacus มีขนาดความยาวเต็มที่ได้ถึง 30 เซนติเมตร และเป็นปลาสองน้ำที่อพยพไปมาระหว่างน้ำจืด-น้ำกร่อย-ทะเล ในขณะที่ C. asellus มีขนาดเล็กกว่า โดยมีขนาดเฉลี่ยประมาณ 8 เซนติเมตร โตเต็มที่ได้ถึง 15 เซนติเมตร และมีแถบสีดำที่บริเวณหลังและเป็นวงแหวนบริเวณโคนครีบหาง และจะอาศัยอยู่เฉพาะแค่ในน้ำกร่อยกับน้ำจืดเท่านั้น ทั้ง 2 ชนิดนี้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในชนิด C. asellus มีการจำหน่ายในประเทศไทยด้วย จัดเป็นปลานำเข้าที่ราคาไม่แพง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าแอมะซอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าแคระ

ปลาปักเป้าแคระ หรือ ปลาปักเป้าปิ๊กมี่ (Dwarf pufferfish, Malabar pufferfish, Pea pufferfish, Pygmy pufferfish) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าแคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าเขียว

ปลาปักเป้าเขียว หรือ ปลาปักเป้าจุดดำยักษ์ (Green pufferfish, Ceylon puffer) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon fluviatilis อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลักษณะคล้ายกับปลาปักเป้าจุดดำ (T. nigroviridis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกันมาก เพียงแต่ปลาปักเป้าเขียวมีขนาดใหญ่กว่า กล่าวคือ อาจยาวได้ถึง 25 เซนติเมตร ขณะที่ปลาปักเป้าจุดดำยาวได้เพียงแค่ 17 เซนติเมตรเท่านั้น ในปลาขนาดเล็กจะมีส่วนท้องสีขาว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีดำ ด้านหลังเมื่อมองจากด้านบนจะเห็นจุดสีดำขนาดใหญ่ 3-4 แต้ม และในบางตัวจุดดำจะลามไปจนถึงครีบหาง พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งทะเลและปากแม่น้ำตั้งแต่อ่าวเบงกอล, ศรีลังกา, พม่า, ชายฝั่งทะเลด้านอันดามันของไทย ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว โดยอาศัยในน้ำจืดที่ค่อนข้างไปทางกร่อยเล็กน้อย มีนิสัยดุร้ายกว่าปลาปักเป้าจุดดำ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งต้องเลี้ยงเดี่ยว หากเลี้ยงรวมกับปลาอื่นหรือแม้แต่ปลาปักเป้าเช่นเดียวกันมักจะกัดกันตลอดเวล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปักเป้าเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปากหนวด

ำหรับปลาปากหนวดชนิดอื่นดูที่: Hypsibarbus pierrei ปลาปากหนวด หรือ ปลาปีกแดง ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus vernayi ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงปลาตะพากเหลือง (H. wetmorei) แต่ต่างกันตรงที่ครีบก้นไม่ยาวถึงโคนหางเหมือนปลาตะพากเหลือง ครีบและหางเป็นสีแดงเข้มหรือสีส้ม และถิ่นที่อยู่พบในภาคอีสาน, ภาคเหนือ และภาคกลางแถบ จังหวัดเพชรบุรี, ราชบุรี พบน้อยกว่าปลาตะพากเหลือง คือพบเป็นบางฤดูกาลเท่านั้น ความเป็นมาของปลาปากหนวด เริ่มจาก อาเธอร์ เอส. เวอร์เนย์ นักมีนวิทยาชาวอังกฤษได้เก็บตัวอย่างปลาปากหนวดได้ 2 ตัว จากอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก จึงได้ส่งตัวอย่างให้ จอห์น ร็อกโบโรห์ นอร์แมน เพื่อตรวจสอบว่าเป็นปลาชนิดใหม่หรือไม่ ปรากฏว่าเป็นปลาชนิดใหม่ นอร์แมนจึงตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติให้แก่เวอร์เนย์ ปลาปากหนวดมีลำตัวที่แบนข้าง หัวค่อนข้างเล็ก มีหนวดยาว 2 คู่ มีเกล็ดตามลำตัวประมาณ 26-28 แถว เกล็ดรอบคอดหาง 12 แถว ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นซี่แข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ตัวมีสีขาวเงินเจือเหลือง ขอบเกล็ดบนหลังแต่ละเกล็ดมีลายสีดำติดต่อกันเป็นร่างแห ปลาปากหนวด หรือ ปลาปีกแดง ในช่วงวันขึ้น 14 ค่ำ หรือ 15 ค่ำ ในเดือนมีนาคม ของทุกปี ในแม่น้ำมาง ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำน่าน ในตำบลภูฟ้า อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน จะมีปรากฏการณ์ที่ปลาปากหนวดนับหมื่นหรือแสนตัวว่ายทวนน้ำขึ้นไปผสมพันธุ์และวางไข่ตามลำน้ำและโขดหิน ซึ่งปลาจะมากองรวมกัน ชาวบ้านเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า "ปลากอง" ซึ่งจะเกิดขึ้นเพียง 2 วันนี้เท่านั้น และก่อนที่จะเกิดปรากฏการณ์นี้ จะมีสิ่งบอกเหตุ คือ ท้องฟ้ามืดครึ้ม อากาศเย็นกว่าปกติ และนกเค้าแมวส่งเสียงร้อง เมื่อผสมพันธุ์และวางไข่เสร็จแล้ว จะกลับไปอาศัยอยู่ยังที่เดิม หรือบางตัวก็ตายลงตามอายุขั.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปากหนวด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปากขลุ่ย

ปลาปากขลุ่ย หรือ ปลาปากแตรจุดสีฟ้า (Bluespotted cornetfish, Reef cornetfish) ปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสามรส (Fistulariidae) มีรูปร่างเรียวยาว ปากเป็นท่อยาวเหมือนแตรหรือขลุ่ย ปลายครีบหางมีเปียยื่นยาวออกมาเหมือนแส้ ไม่มีก้านครีบแข็งหน้าครีบหลัง ลำตัวด้านหลัง ด้านข้าง และจะงอยปากมีจุดสีฟ้าเรียงกันเป็นแถว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 150 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ได้กว้างไกล ทั้งทะเลแดง, ทะเลญี่ปุ่น, อินโด-แปซิฟิค และน่านน้ำไทยด้านทะเลอันดามัน โดยมีพฤติกรรมมักลอยตัวนิ่ง ๆ อยู่เหนือพื้นทราย หรือแนวปะการังเพื่อหาอาหาร อันได้แก่ ปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ โดยรวมกลุ่มกันประมาณ 2-3 ตัว อาจพบได้ในท้องน้ำลึกได้ถึง 123 เมตร ซึ่งอาจจะสังเกตได้ยากเนื่องจากมีสีลำตัวเป็นสีเขียวกลมกลืนไปกับสีของน้ำทะเล จัดว่าเป็นปลาที่พบได้บ่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปากขลุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปากแตร

ปลาปากแตร (Painted flute mouth, Chinese trumpetfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาปากแตร (Aulostomidae) มีลำตัวยาว มีปากยาวและใหญ่ ครีบหางรูปพลั่วมีจุดสีดำขนาดเล็ก 2 จุด ตอนปลายไม่มีแส้ยื่นยาวออกไป สีลำตัวมีหลากหลายทั้งสีเหลืองและสีเทาอ่อน มีความยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร แต่พบโดยเฉลี่ย 60 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบอินโด-แปซิฟิก พบตั้งแต่ฮาวาย, แอฟริกาตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น อาศัยอยู่บริเวณแนวปะการังที่มีน้ำค่อนข้างใส เช่น บริเวณหมู่เกาะที่อยู่ห่างจากชายฝั่ง กินกุ้งและปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร ล่าเหยื่อโดยการว่ายน้ำตัวแนบติดไปกับปลาอื่น เช่น ปลาเก๋า เพื่อเข้าใกล้เหยื่อ ในเวลากลางคืน พบได้ที่ระดับความลึกตั้งแต่ 3 เมตร จนถึงความลึกมากกว่า 100 เมตร ไม่ได้ใช้เป็นปลาเศรษฐกิจ แต่มีความสำคัญในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ เกาะยาง, เกาะราวี จังหวัดสตูล เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปากแตร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปากแตรเรียบ

ปลาปากแตรเรียบ หรือ ปลาปากขลุ่ยแดง (Red cornetfish, Pacific cornetfish, Smooth cornetfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสามรส (Fistulariidae) มีรูปร่างเรียวยาว ตาโต ปากยาวยื่นเหมือนแตรเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน มีด้านหลังสีแดง ด้านท้ายของเส้นข้างตัวมีลักษณะของหนามแหลม ปลายหางมีครีบยาวออกมาเส้นหนึ่งเหมือนแส้ มีความยาวได้ถึง 2 เมตร พบในมหาสมุทรแอตแลนติก และอินโด-แปซิฟิกตอนกลาง อาศัยอยู่รวมตัวกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ 2-3 ตัว หากินสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ เป็นอาหาร ในระดับความลึกตั้งแต่ 2 เมตร จนพบได้ลึกถึงเป็น 100 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปากแตรเรียบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปิรันยา

ปลาปิรันยา (piranha) เป็นชื่อสามัญเรียกปลาน้ำจืดกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอยู่ในวงศ์ Serrasalmidae (หรือในวงศ์ Characidae) โดยทั่วไป ปลาที่ได้ชื่อว่า "ปิรันยา" นั้นจะหมายถึงปลาในสกุล Pristobrycon, Pygocentrus, Pygopristis และ Serrasalmus แต่ก็อาจรวมถึงปลาในสกุล Catoprion ด้วย รวมกันแล้วประมาณ 40 ชนิดFace Ripper, "River Monsters" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาปิรันยา · ดูเพิ่มเติม »

ปลานกขุนทองปากยื่น

ปลานกขุนทองปากยื่น (Longjawed wrasse, Slingjaw wrasse) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Epibulus เป็นปลาที่มีความแปรฝันของสีสันลำตัวสูง โดยปกติแล้วตัวเมียจะมีสีเหลือง ส่วนตัวผู้มีลำตัวสีดำ บริเวณส่วนหน้าและหลังสีขาว แต้มด้วยสีแดงบริเวณหน้าผาก มีขากรรไกรที่ออกแบบมาให้ยื่นออกไปได้ยาวเป็นพิเศษเพื่อใช้จับสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร อันเป็นที่มาของชื่อ มีพฤติกรรมว่ายน้ำโดยการเอาหน้าทำมุมกับพื้นเพื่อมองหาเหยื่ออยู่ตลอดเวลา อาศัยอยู่ในบริเวณแนวปะการัง มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานกขุนทองปากยื่น · ดูเพิ่มเติม »

ปลานกแก้วหัวตัด

ปลานกแก้วหัวตัด (Steephead parrotfish, Indian ocean steephead parrotfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลานกแก้ว (Scaridae) มีตัวอ้วนกลม หัวตัดโค้ง ปลายแพนหางบนและล่างแหลมยาว ปลาเพศผู้มีสีเขียวเข้ม แก้มมีสีขาวอมเหลือง หลังตามีแถบสีเขียวเข้ม 3 แถบ ปลาเพศเมียลำตัวด้านบนมีสีเหลืองอมเขียวอกและท้องมีสีส้ม มีฟันและจะงอยปากที่เป็นแผ่นตัดแหลมคม ใช้สำหรับกัดแทะปะการังหรือสาหร่ายเป็นอาหาร มีขนาดความยาวได้ถึง 75 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่แอฟริกาตะวันออก, อินโดนีเซีย และทะเลอันดามันทางตอนเหนือ มักอาศัยอยู่ในแนวปะการัง ในระดับความลึก 2- 25 เมตร มักหากินอยู่เพียงลำพัง หรืออยู่เป็นคู่ ไม่ค่อยพบอยู่รวมกันเป็นฝูงเหมือนปลานกแก้วชนิดอื่น เวลากลางคืนนอนตามพื้นหรือซากปะการัง มีการสร้างเมือกห่อหุ้มตัว เป็นปลานกแก้วชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและใช้บริโภคเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานกแก้วหัวตัด · ดูเพิ่มเติม »

ปลานกแก้วหัวโหนก

ระวังสับสนกับ: ปลานกขุนทองหัวโหนก ปลานกแก้วหัวโหนก (Bumphead parrotfish, Green bumphed parrotfish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลานกแก้ว (Scaridae) ถือเป็นปลานกแก้วมีขนาดใหญ่ที่สุด โดยมีขนาดใหญ่ได้ถึง 1 เมตร หรือ 1.3 เมตร น้ำหนักได้ถึง 46 กิโลกรัม และมีอายุยืนยาวได้นานถึง 40 ปี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลานกขุนทองหัวโหนก (Cheilinus undulatus) ซึ่งอยู่ในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) และถือเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Bolbometopon โดยมีลักษณะเด่น คือ บริเวณหน้าผากโหนกหนาแข็งแรง ทำหน้าที่เปรียบเสมือนกันชนเวลาที่เข้ากัดกินหินหรือปะการังแข็ง ๆ เพื่อกินเป็นอาหาร ปากและฟันหน้าใหญ่แข็งแรง ติดกันเป็นพรืดเหมือนกันกับปลานกแก้วชนิดอื่นทั่วไปไม่เป็นซี่ ๆ เหมือนสัตว์ทั่วไป ลักษณะของปากและฟันเช่นนี้ทำให้ถูกเปรียบเทียบว่าคล้ายกับจะงอยปากของนกแก้ว อันเป็นที่มาของชื่อ มีลำตัวทั่วไปสีเขียว ปลานกแก้วหัวโหนกเป็นปลาที่อยู่อาศัยหากินรวมกันเป็นฝูง ตามแนวปะการัง ในฝูงหนึ่งประมาณ 13-14 ตัว ออกหากินในเวลากลางวัน และเข้านอนตามซอกหลืบถ้ำหรือตามซากเรือจมในเวลากลางคืน ในระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทะเลแดง, ซามัว จนถึงนิวแคลิโดเนียและเกรตแบร์ริเออร์รีฟ ในออสเตรเลีย สำหรับน่านน้ำไทย ถือเป็นปลาที่พบได้น้อย หายาก จึงมักเป็นที่ชื่นชอบของนักประดาน้ำเพื่อถ่ายรูปเช่นเดียวกับปลานกขุนทองหัวโหนก โดยอาจพบได้ที่เขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลันและหมู่เกาะสุรินทร์แต่ก็ไม่บ่อยนัก และจำนวนก็ไม่มาก ครั้งละ 3-4 ตัวเท่านั้น แต่สำหรับที่เกาะเซปาดัง ในมาเลเซีย และเกาะบอร์เนียว ในอินโดนีเซียจะพบได้ง่ายกว่า ปลานกแก้วหัวโหนก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานกแก้วหัวโหนก · ดูเพิ่มเติม »

ปลานวลจันทร์ทะเล

ปลานวลจันทร์ทะเล หรือ ปลานวลจันทร์ (milkfish; bangus) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถอาศัยในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chanos chanos อยู่ในวงศ์ Chanidae ซึ่งถือเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้และสกุลนี้ ปลานวลจันทร์ทะเลมีรูปร่างเพรียวยาว เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว ครีบหางเว้าลึก ครีบท้องและครีบหลังเล็ก เป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไว พบได้ตามชายฝั่งทะเลแถบอบอุ่นทั่วภูมิภาคของโลก มักอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารได้แก่ ปลาอื่น ๆ ที่มีขนาดเล็กกว่า และสัตว์น้ำชนิดอื่น ๆ รวมถึงสาหร่ายทะเลด้วย มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ถึง 1.5 เมตร ในประเทศไทยพบมากที่แถบจังหวัดเพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร และบางส่วนในจังหวัดตราด โดยมีการสำรวจพบครั้งแรกที่บ้านคลองวาฬ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์หน้า 24 เกษตร, ปลานวลจันทร์ทะเล ตลาดยังสดใส, "เกษตรนวัตกรรม".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานวลจันทร์ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลานวลจันทร์น้ำจืด (สกุล)

ปลานวลจันทร์น้ำจืด เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cirrhinus ทั้งหมด 11 ชนิด มีลักษณะสำคัญคือ มีปากเล็ก บางชนิดไม่มีริมฝีปากล่าง บางชนิดทีริมฝีปากบางมาก มีฟันที่ลำคอ 3 แถว มีหนวด 2 คู่ หนวดที่ริมฝีปากบนยาวกว่าหนวดที่มุมปากบน ความยาวของหนวดแตกต่างกันแต่ละชนิด จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่หน้าจุดเริ่มต้นของครีบท้อง มีก้านครีบแขนง 10–13 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวมีขอบเรียบ และไม่เป็นหนามแข็ง ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน ปลาในสกุลนี้เป็นปลาที่นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจ พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ตอนใต้ของจีน, เกาะไต้หวัน, อนุทวีปอินเดีย และภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยมักเรียกปลาในสกุลนี้รวม ๆ กันว่า "ปลานวลจันทร์", "ปลาพอน" หรือ "ปลาพรวน" ในภาษาเขมร หรือ "ปลาสร้อย" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานวลจันทร์น้ำจืด (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลานวลจันทร์เทศ

ปลานวลจันทร์เทศ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cirrhinus cirrhosus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเรียวยาว ลำตัวกลม หัวสั้น ปากเล็ก ริมฝีปากบางมีชายครุยเล็กน้อย ครีบหลังและครีบก้นสั้น ครีบหางเว้าลึก เกล็ดมีขนาดใหญ่ หัวและลำตัวด้านบนมีสีเงินหรือสีเงิมอมน้ำตาลอ่อน ด้านท้องสีจาง ครีบมีสีส้มหรือชมพู ขอบครีบมีสีคล้ำเล็กน้อย ตามีสีทอง มีขนาดเต็มที่โดยเฉลี่ย 50-60 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุดที่พบ คือ 1 เมตร มีพฤติกรรมชอบหากินในระดับพื้นท้องน้ำ โดยสามารถปรับตัวได้ดีในแหล่งน้ำนิ่ง และกินอาหารด้วยวิธีการแทะเล็มพืชน้ำขนาดเล็กและอินทรีย์สาร รูปร่างโดยทั่วไปคล้ายปลานวลจันทร์ (C. microlepis) ที่พบได้ในประเทศไทย ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ปลานวลจันทร์เทศเป็นปลาพื้นเมืองของทางเหนือของภูมิภาคเอเชียใต้ พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำคงคา, แม่น้ำสินธุจรดถึงแม่น้ำอิรวดีของพม่า นำเข้ามาสู่ประเทศไทยครั้งใน 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 จำนวน 100 ตัว โดยอธิบดีกรมประมงในขณะนั้น เพื่อทำการขยายพันธุ์เพาะเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจ โดยทำการเลี้ยงอยู่ที่สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดเชียงใหม่ และอีกครั้งเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2533 โดยผ่านมาจากประเทศลาว ซึ่งประสบความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงจนขยายไปสู่ฟาร์มของเอกชนต่าง ๆ ในภาคอีสานจนกระจายมาสู่ภาคกลาง เช่นเดียวกับปลายี่สกเทศ (Labeo rohita) หรือปลากระโห้เทศ (Catla catla) ปลานวลจันทร์เทศที่อาศัยในแม่น้ำโขงสามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดีจนสามารถแพร่ขยายพันธุ์เองได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานวลจันทร์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลานางอ้าว

ปลานางอ้าว หรือ ปลาน้ำหมึก เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Opsarius (/ออพ-ซา-เรียส/) จัดอยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เดิมทีปลาในสกุลนี้ ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ ได้รวมให้อยู่ในสกุล Barilius และได้ทำการอนุกรมวิธานไว้ด้วยกัน 2 ชนิด แต่ต่อมา ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ ได้ทำการปรับปรุงใหม่โดยให้กลับมาใช้สกุลเช่นในปัจจุบัน ในปี ค.ศ. 1989 โดยลักษณะสำคัญของปลาในสกุลนี้ คือ บนลำตัวมีแถบสีดำขวางเรียงกันเป็นแถว เส้นข้างลำตัวโค้งใกล้กับแนวท้อง และไปสิ้นสุดที่โคนหางส่วนล่าง หนวดมีขนาดเล็กมาก และบางชนิดไม่มีหนวด เป็นปลาขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง มีความปราดเปรียวว่องไวมาก อาศัยอยู่ตามลำธารน้ำตกในป่าดิบชื้น กินแมลงน้ำและสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางราว 2.8-2.9 เซนติเมตร มีสีเหลืองหรือเขียวอมเทา มีทั้งแบบลอยและแบบจมและกึ่งจมกึ่งลอย ปัจจุบัน พบแล้ว 3 ชนิด มีอยู่ 2 ชนิดที่พบบ่อยและนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ได้แก่ O. koratensis และ O. pulchellusสมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์, หน้า 117 สาระน่ารู้ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑ (พ.ศ. 2547) ISBN 974-00-8701-9.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานางอ้าว · ดูเพิ่มเติม »

ปลานิล (สกุล)

ปลานิล (Tilapia) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอสี (Cichilidae) พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาจนถึงภูมิภาคตะวันออกกลาง ใช้ชื่อสกุลว่า Oreochromis (/ออ-เร-โอ-โคร-มิส/) โดยที่มาของสกุลนี้ อัลเบิร์ต กึนเธอร์ นักสัตววิทยาชาวเยอรมันได้ตั้งสกุลนี้ขึ้นในปี ค.ศ. 1889 โดยมีลักษณะทางอนุกรมวิธานของสกุลนี้โดยย่อ คือ มีลำตัวป้อมสั้นและแบนข้าง เกล็ดเป็นแบบบางเรียบ มีเส้นข้างลำตัวที่ไม่สมบูรณ์ 2 เส้น มีฟัน 2 หรือหลายแถวที่ขากรรไกรบนและล่าง รูปร่างของฟันแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิด ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแหลม จำนวน 14-17 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแหลมจำนวน 3 ก้าน คอดหางมีความกว้างและความยาวใกล้เคียงกัน มีกระดูกสันหลัง 29-32 ข้อ ต่อมาในปี ค.ศ. 1915 จอร์จ อัลเบิร์ต บุนเลเยอร์ นักสัตววิทยาและนักอนุกรมวิธานชาวเบลเยี่ยมได้ตั้งสกุล Tilapia ขึ้น และได้รวมปลาหลายสกุลในวงศ์นี้เข้ามาอยู่ในสกุลนี้ รวมทั้งสกุลปลานิลนี้ด้วย ซึ่งทำให้ครั้งหนึ่งปลาที่อยู่ในสกุลนี้ใช้ได้ชื่อชื่อสกุลว่า Tilapia นำหน้าชื่อชนิดกัน และกลายเป็นชื่อพ้องในเวลาต่อมา ต่อมาในปี ค.ศ. 1983 อีเทลเวนน์ เทรวาวาส นักมีนวิทยาชาวอังกฤษได้ศึกษาลักษณะของปลาในสกุล Tilapia เห็นว่าสกุลปลานิลที่กึนเธอร์ตั้งขึ้นมานั้น มีลักษณะทางอนุกรมวิธานที่มีข้อจำกัดเฉพาะและเหมาะสมมากกว่า จึงได้ให้ใช้ชื่อสกุลนี้ตราบมาจนปัจจุบัน โดยปรากฏเป็นผลงานในหนังสือชื่อ Tilapia fishes of the genera Sarotherodon, Oreochromis and Danakilia โดยปัจจุบันพบปลาที่อยู่ในสกุลปลานิลนี้มากกว่า 30 ชนิด มีชนิดที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ปลานิล (Oreochromis miloticus), ปลาหมอเทศ (O. mossambicus), ปลาหมอเทศข้างลาย (O. aureus) เป็นต้น ซึ่งเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญของทวีปแอฟริกาและในอีกหลายภูมิภาคทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานิล (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลานีออน

ปลานีออน หรือ ปลานีออนเตตร้า (อังกฤษ: Neon, Neon tetra; ชื่อวิทยาศาสตร์: Paracheirodon innesi) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาคาราซิน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานีออน · ดูเพิ่มเติม »

ปลานีออน (สกุล)

ปลานีออน หรือ ปลาคาร์ดินัล (Neon tetras, Cardinal tetras) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Paracheirodon (/พา-รา-คี-อาย-โร-ดอน/) ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับปลาซิว ซึ่งอยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และพบเฉพาะทวีปเอเชีย, ยุโรป และแอฟริกา คือ มีรูปทรงยาวรี คล้ายเมล็ดข้าวสาร ตากลมโต มีครีบบางใสยาวพอประมาณทั้งหมด 7 ครีบ (ครีบว่าย 2, ครีบท้อง 2, ครีบกระโดง 1, ครีบทวาร 1, ครีบหาง 1) ต่างกันตรงที่มีครีบไขมันขนาดเล็ก ที่ก่อนถึงโคนหาง อันเป็นลักษณะประจำของปลาในวงศ์นี้ ลำตัวมีเกล็ดขนาดเล็กมันวาวปกคลุมทั้งตัว และมีฟันขนาดเล็กในปาก จุดเด่น คือ มีเส้นยาวเรืองแสงสีเขียวอมฟ้าพาดตั้งแต่จมูกผ่านลูกตายาวไปสุดที่ครีบไขมัน อันเป็นเอกลักษณ์ประจำสกุล ซึ่งเกิดจจากการสะท้อนแสงภายในผลึกกัวไนน์ ซึ่งพัฒนามาจากเซลล์พิเศษที่เรียกว่า อิริโดไซเตส ในชั้นใต้ผิวหนัง อันเป็นที่มาของชื่อสามัญของปลาในสกุลนี้ มีขนาดความยาวเต็มที่ 3 เซนติเมตร เป็นปลาที่หากินบริเวณกลางน้ำและผิวน้ำ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงกินแมลงน้ำ, แพลงก์ตอนสัตว์ และครัสเตเชียนขนาดเล็กเป็นอาหาร มีความปราดเปรียวว่องไว กระจายพันธุ์ทั่วไปในแม่น้ำและลำคลองหลายสายของทวีปอเมริกาใต้ โดยเฉพาะแหล่งน้ำที่มีเงาไม้ริมน้ำหรือไม้น้ำขึ้นหนาแน่น และสภาพความเป็นกรดด่าง (pH) ของน้ำค่อนข้างเป็นกรด (ต่ำกว่า 7-6.5 ลงไป) สภาพน้ำเป็นสีชาหรือสีน้ำตาล ขยายพันธุ์ด้วยการที่ตัวผู้ไล่ตัวเมียเข้าไปผสมพันธุ์และวางไข่ไว้กับไม้น้ำ แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลานีออน (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำกร่อย

ปลาชะลิน(''Chanos chanos'') ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม ปลาน้ำกร่อย หรือ ปลาสองน้ำ (Amphidromous fish) คือ ปลาที่สามารถปรับสภาพให้อาศัยอยู่ได้ทั้งน้ำเค็มหรือในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืดตามแม่น้ำลำคลอง ปลาน้ำกร่อย อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาน้ำกร่อย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำฝาย

ปลาน้ำฝาย เป็นปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Sikukia (/สี-กุก-เอีย/).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาน้ำฝาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำฝายหลังดำ

ปลาน้ำฝายหลังดำ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sikukia stejnegeri อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก พบได้ไม่บ่อยนัก มีลำตัวแบนข้าง ท่อนหางยาว นัยน์ตาโตมีเยื่อไขมันบาง ๆ เหมือนวุ้นหุ้มอยู่รอบตา ไม่มีหนวด ครีบมีก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย ลำตัวมีสีขาวเงิน ครีบหลังมีแถบสีดำที่โคนและปลายครีบ ขอบบนและล่างครีบหางมีลายสีดำ และที่ฐานครีบมีลายสีดำจาง ๆ ครีบอื่นสีจางใส มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 12 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำใหญ่ ๆ ทั่วประเทศไทย ทั้ง แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำท่าจีน, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำโขง ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน เป็นปลาที่ถูกค้นพบและอนุกรมวิธานเป็นครั้งแรก โดย ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาน้ำฝายหลังดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำหมึกยักษ์

ปลาน้ำหมึกยักษ์ หรือ ปลาชะนาก หรือ ปลาสะนาก (Trout carps) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีชื่อสกุลว่า Raiamas (/ไร-อา-มาส/) เดิมเคยจัดให้อยู่ในสกุล Barilius มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวยาวทรงกระบอก หัวและปากแหลม ปากกว้างมาก มีปุ่มในปากล่าง มุมปากยาวเลยนัยน์ตา จะงอยปากล่างงุ้มคล้ายตะขอ ไม่มีหนวด เกล็ดเล็ก ลำตัวสีเงินวาว ข้างลำตัวมีจุดสีน้ำเงินเข้มที่ใหญ่กว่าเกล็ด หางเว้าเป็นแฉกลึก ในตัวผู้มีตุ่มข้างแก้มคล้ายสิวแตกต่างจากตัวเมียโดยเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์ และสีลำตัวก็จะเปลี่ยนไปเห็นได้ชัดเจน เป็นปลาที่มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง มีความปราดเปรียวว่องไวมาก อาศัยหากินอยู่ในระดับผิวน้ำและกลางน้ำ โดยล่าปลาขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร ขนาดความยาวลำตัวสูงสุดราว 1 ฟุต จำแนกได้ทั้งหมด 17 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาน้ำหมึกยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำหมึกจีน

ปลาน้ำหมึกจีน (Freshwater minnow, Pale chub, Zacco; 平頜鱲; พินอิน: píng hé liè) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเพรียวยาว มีลำตัวสีเงินอมฟ้า มีเหลือบสีเขียว และมีลายแถบข้างลำตัว 7-8 แถบ หรือมากกว่านั้น ลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุลปลาน้ำหมึก แต่ทว่ามีขนาดใหญ่กว่ามาก ครีบต่าง ๆ ยาว โดยเฉพาะครีบก้นยาวเกือบถึงครีบหาง สีน้ำตาล มีก้านครีบ 10-13 ก้าน ม่านตาสีแดง เป็นปลาที่มีสีสันสวยงาม โดยเฉพาะตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์ สีจะสดเข้มกว่าปกติ และมีเม็ดคล้ายกับสิวขึ้นที่บริเวณใบหน้าและแผ่นปิดเหงือก มีความยาวประมาณ 8-12 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 17 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีความคล่องแคล่วว่องไวมาก พบกระจายพันธุ์อยู่ในลำธารที่น้ำมีอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ ในจีนตอนใต้ต่อกับตอนเหนือของเวียดนาม และยังพบได้จนถึงเกาหลีและญี่ปุ่น อยู่รวมกันเป็นฝูง กินแมลงและตัวอ่อนของแมลง รวมถึงสัตว์น้ำขนาดเล็กและพืชน้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร มีการจับเพื่อการบริโภค พบชุกชุมตลอดทั้งปี และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งสามารถเลี้ยงให้กินได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาน้ำหมึกจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแบมบูซ่า

ปลาแบมบูซ่า (Yellowcheek; 鳡; ชื่อวิทยาศาสตร์: Elopichthys bambusa) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Elopichthys โดยชื่อสกุล Elopichthys มาจากคำว่า Elops ซึ่งหมายถึงปลาในกลุ่มปลาตาเหลือกหรือปลาตาเหลือกยาวในภาษาอังกฤษ และภาษากรีกโบราณ ἰχθύς (ikhthús) หมายถึง "ปลา" โดยรวมหมายถึง ปลาในสกุลนี้มีรูปร่างคล้ายกับปลาตาเหลือก และชื่อชนิด bambusa หมายถึง "ไม้ไผ่" ซึ่งอ้างอิงมาจากภาษาถิ่นของจีนที่เรียกปลาชนิดนี้ว่า "ชู่ ไหน่ หยู" (พินอิน: Chǔh nuy yu) หมายถึง "ปลาไม้ไผ่นิสัยเสีย" โดย จอห์น รีฟส์ ผู้วาดภาพปลานี้ระหว่างทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบชาในจีนระหว่างปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแบมบูซ่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแบล็คบาร์เรดฮุก

ปลาแบล็คบาร์เรดฮุก (Disk tetra, Black-barred redhook) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิลเวอร์ดอลลาร์ ในวงศ์ปลาปิรันยา (Serrasalmidae) จัดเป็นปลากลุ่มซิลเวอร์ดอลลาร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีรูปร่างแบนข้างมาก มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาปิรันยาหรือปลาเปคู ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า และอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ปลาแบล็คบาร์เรดฮุกมีขนาดเล็กกว่า มีลำตัวสีเงินแวววาวตลอดทั้งตัว มีจุดเด่น คือ มีแถบสีดำขนาดใหญ่ที่ด้านข้างลำตัวข้างละขีดบริเวณกลางลำตัว และมีครีบต่าง ๆ ยาวได้มากกว่า มีส่วนปลายของครีบก้นยาวงอนเหมือนตะขอและเป็นสีแดง อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำแอมะซอน, แม่น้ำโอรีโนโก ในประเทศบราซิล, เวเนซุเอลา, เปรู และซูรินาม เป็นปลาที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์น้ำ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแบล็คบาร์เรดฮุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแบสดำ

ปลาแบสดำ (Black bass) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Micropterus ชนิดต้นแบบคือ M. dolomieu (ปลาแบสปากเล็ก) ปลาแบสดำมีการกระจายพันธุ์ในพื้นที่ส่วนใหญ่ทางตะวันออกของเทือกเขาร็อกกีในทวีปอเมริกาเหนือ จากลุ่มน้ำฮัดสันเบย์ในประเทศแคนาดาถึงทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเม็กซิโก พบในรัฐแคลิฟอร์เนียด้วยเช่นกัน 2-3 ชนิดอย่างปลาแบสปากใหญ่ (M. salmoides) และปลาแบสปากเล็กถูกนำไปเลี้ยงทั่วโลกอย่างกว้างขวาง ปัจจุบันถูกพิจารณาว่าเป็นชนิดที่พบทั่วโลก ปลาแบสดำทุกชนิดเป็นปลาเกมที่เป็นที่นิยมตกเป็นเกมกีฬา ปลาในสกุลนี้โดยมากมีสีเขียวทึม มีลายสีดำข้างลำตัว ยาวประมาณประมาณ 40-60 เซนติเมตร แต่บางชนิดอย่างปลาแบสปากใหญ่มีรายงานว่าพบตัวที่มีขนาดถึง 1 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแบสดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแบสปากใหญ่

ปลาแบสปากใหญ่ หรือ ปลากะพงปากกว้าง (Largemouth bass, Widemouth bass, Bigmouth, Black bass, Bucketmouth, Potter's fish, Florida bass, Florida largemouth, Green bass, Green trout, Gilsdorf bass, Linesides, Oswego bass, Southern largemouth, Northern largemouth) เป็นปลาแบสดำชนิดหนึ่งในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Micropterus salmoides มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ ปลาแบสปากใหญ่มีสีเขียวมะกอก มีจุดสีดำหรือสีเข้มเรียงต่อกันเป็นแนวยาวดูขรุขระในแต่ละด้านของลำตัว ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ ปลาแบสปากใหญ่เป็นปลาแบสดำชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เท่าที่มีบันทึกไว้มีขนาดยาวถึง 1 เมตร และหนักมากที่สุดถึง 11.4 กิโลกรัม มีอายุโดยเฉลี่ย 16 ปี ลูกปลาขนาดเล็ก เป็นปลาที่นิยมตกเป็นเกมกีฬาอย่างมากในทวีปอเมริกาเหนือ โดยเป็นปลาที่กระจายพันธุ์ไปตามแหล่งน้ำจืดต่าง ๆ เช่น หนอง, บึง อีกทั้งยังมีบางส่วนเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแบสปากใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแชด

ปลาแชด (Shad ITIS) เป็นวงศ์ย่อยของปลาที่อยู่ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Alosinae พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก ประมาณ 30 ชนิด พบได้ทั้งในทะเล, ชายฝั่ง, แม่น้ำ หรือในแหล่งน้ำจืด และในที่ประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง แบ่งออกเป็นสกุลต่าง ๆ เช่น Alosa (ปลาแฮร์ริ่งแม่น้ำ), Hilsa (ปลามงโกรย) หรือ Tenualosa (ปลาตะลุมพุก).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแชด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแพะลาย

ปลาแพะลาย (Mottled goatfish, Blackstriped goatfish, Freckled goatfish, Bartail goatfish) ปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Mullidae) มีลักษณะสำคัญ คือ กลางลำตัวมีแถบหนาสีน้ำตาลเข้มพาดตามยาวลำตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ท้องมีลายจุดสีแดง ปลายครีบหลังทั้งสองอันมีสีน้ำตาลเข้ม ครีบหางท่อนบนและท่อนล่างมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4-5 แถบ ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ย 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในแนวปะการังตลอดทั้งแถบอินโด-แปซิฟิก ไปจนถึงสิงคโปร์และออสเตรเลีย พบทั้งในเขตเขตน้ำตื้นจนถึงระดับลึกมากกว่า 20 เมตร บริเวณพื้นทะเลที่เป็นทรายปนโคลนและมีน้ำขุ่น ออกหากินในเวลากลางวัน โดยใช้หนวดคุ้ยเขี่ยสัตว์น้ำขนาดเล็กที่หลบอยู่ใต้พื้นเป็นอาหาร เป็นปลาที่มีการนำมาบริโภคบ้าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแพะลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแพะเหลือง

ปลาแพะเหลือง (Sunrise goatfish, Sulphur goatfish) ปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Mullidae) มีลำตัวยาวเล็กน้อย คางมีหนวดเรียวยาว 2 เส้น ปากบนและปากล่างมีแถบของฟันซี่เล็ก บนเพดานปากด้านข้างแต่ละข้างมีฟันหนึ่งแถบ และแนวกลางเพดานปากส่วนหน้ามีฟัน 2 หย่อมเล็ก ๆ ช่องระหว่างครีบหลังทั้ง 2 อันมีเกล็ดคั่นกลาง 5 1/2 เกล็ด แนวของคอดหางมีเกล็ด 12-13 เกล็ด ด้านหลังมีสีเขียวออกเงินหรือชมพู และกลายเป็นสีเงินบริเวณด้านข้างและท้อง ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองทองหรือส้ม 2 แถบ พาดตามแนวยาวลำตัว เป็นลักษณะเด่น ขอบปลายสุดของครีบหลังอันแรกเป็นสีดำ ส่วนที่เหลือเป็นสีเหลืองคล้ำ 2 แถบ ขอบท้ายของครีบหางเป็นสีคล้ำ หนวดสีขาว มีความยาวโดยเฉลี่ย 20 เซนติเมตร ยาวที่สุด 23 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่งที่เป็นพื้นโคลน และอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อย ในภูมิภาคมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิคฝั่งตะวันตก มีการประมงบ้าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแพะเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแพะเขียว

ปลาแพะเขียว (Bronze corydoras, Green corydoras) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) มีลำตัวปกคลุมด้วยเกล็ด เป็นแผ่น ๆ ซ้อนกัน ลำตัวมีลักษณะกลมป้อมเบนข้างทางด้านท้ายมีครีบ 8 ครีบ ที่ครีบอกมีเงี่ยงแข็งข้างละเงี่ยง ปากอยู่ทางด้านใต้มี หนวดเล็ก ๆ 2 คู่ ที่มุมปากสีของลำตัวปกติเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ข้างลำตัวเป็นสีเขียวเงาแวววาว หาง และครีบแต่ละครีบมีสีค่อนข้างโปร่งใส ขนาดตัวยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำลาพลาตาทางด้านทิศตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส มักพบในแหล่งน้ำตื้น ที่เป็นโคลนขุ่น อุณหภูมิประมาณ 17-30 องศาเซลเซียส บางครั้งอาจพบเป็นหมื่น ๆ ตัว โดยมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ โดยปลาสามารถขึ้นมาฮุบอากาศที่เหนือผิวน้ำได้ จึงสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำได้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะที่คล้ายกัน ความแตกต่างของทั้ง 2 เพศ สังเกตเห็นได้ชัดเมื่อตอนปลาโตได้ขนาด โดยปลาตัวเมียมีรูปร่างที่กลมป้อมหนากว่า และขนาดใหญ่กว่า ส่วนในตัวผู้มีรูปร่างที่เล็กเรียวกว่า สามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ นับเป็นปลาแพะชนิดที่เพาะขยายพันธุ์ได้ง่าย โดยตัวผู้เข้าไปสั่นร่างเป็นสัญญาณเชิญชวน หากตัวเมียพร้อมก็มีปฏิกิริยาตอบสนองด้วยการขยับเข้าหา ตัวผู้ปล่อยน้ำเชื้อออกให้ตัวเมียอมไว้ในปาก จากนั้นตัวเมียจะออกไข่มาจำนวนหนึ่งแล้วอุ้มไว้ด้วยครีบท้องที่มีลักษณะกลมกว้างคล้ายตะกร้า วางไข่ที่ใบของไม้น้ำ โดยแม่ปลาพ่นน้ำเชื้อในปากลงบนใบไม้ก่อนเอาไข่ที่อุ้มไว้แปะลงไป หลังจากนั้นก็ทำวิธีการเดียวกันซ้ำอีกเรื่อย ๆ จนกระทั่งไข่หมดท้อง แม่ปลาวางไข่ครั้งละประมาณ 150-300 ฟอง ไข่ปลาฟักออกเป็นตัวประมาณ 3-4 วัน ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำ ลูกปลาระยะแรกจะยังว่ายน้ำไม่ได้ โดยกินอาหารผ่านทางถุงไข่แดงที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด ใช้เวลา 2-3 วัน ถุงไข่แดงถึงจะยุบลงไป และลูกปลาจะว่ายน้ำหาอาหารกินเองได้ เมื่ออายุได้ 3 วัน ใช้เวลาในการเจริญเติบโตจนเต็มวัยประมาณ 2 ปี ปลาแพะเขียว นับเป็นปลาแพะชนิดที่แพร่หลายมากที่สุดในวงการปลาสวยงามของประเทศไทย จัดเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ไม่รบกวนหรือทำร้ายปลาอื่น อีกทั้งยังสามารถเพาะขยายพันธุ์จนได้เป็นปลาแพะเผือก ที่มีตาสีแดง ผิวลำตัวเป็นสีขาวอมชมพูอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแพะเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแกมบูเซีย

ปลาแกมบูเซีย (Gambusias, Topminnows) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Gambusia (/แกม-บู-เซีย-อา/) ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) จัดเป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัวจำพวกหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์นี้สกุลอื่นทั่วไปหรือคล้ายปลาหางนกยูง แต่มีขนาดใหญ่กว่า ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 นิ้วในตัวเมีย และ 1.5 นิ้ว ในตัวผู้ กระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐเท็กซัส ของสหรัฐอเมริกา ไปจนถึงแคริบเบียน และทวีปอเมริกาใต้ มีลักษณะเด่น คือ มีศักยภาพในการกินลูกน้ำ ซึ่งเป็นตัวอ่อนของยุงได้เป็นอย่างดี โดยกินในปริมาณที่มาก แม้แต่ลูกปลาที่เกิดใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปลากินยุง (G. affinis) จึงเป็นนิยมนำเข้ามาในประเทศต่าง ๆ เพื่อกำจัดยุงในแหล่งน้ำต่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแกมบูเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแกง

ปลาแกง (Chinese mud carp fish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลานวลจันทร์น้ำจืด (C. microlepis) และปลานวลจันทร์เทศ (C. cirrhosus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน มีส่วนท้องที่ป่องออก เกล็ดเล็กละเอียดมีสีเงินอมเทา ตาเล็ก ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ปากเล็กหนาอยู่สุดปลายสุดของส่วนหัว ครีบหางเว้าลึก มีจุดกลมสีดำที่โคนครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 55 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศจีนจนถึงไต้หวัน และเวียดนาม, กัมพูชา, ลาวและประเทศไทย พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และบางส่วนของภาคใต้ หากินโดยและเล็มตะไคร่น้ำและอินทรีย์สารตามพื้นท้องน้ำ โดยที่ปลาชนิดนี้นิยมรับประทานเป็นปลาเศรษฐกิจด้วยการรับประทานด้วยการปรุงสด เนื่องจากเนื้อมีรสชาติดี ในภาษาอีสานจะเรียกว่า "ปลาพอนดำ" และในภาษาเหนือจะเรียกว่า "ปลาลูกแกง" ส่วนในภาษาจีนเรียกว่า "ลิ่นฮื้อ" หรีอ "ตูลิ่นฮื้อ" (鲮).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแกง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแก้มช้ำ

ปลาแก้มช้ำ (Red cheek barb, Javaen barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาชนิดอื่นในวงศ์นี้ แต่มีรูปร่างป้อมกลมกว่า ด้านข้างแบน หัวเล็ก ปากค่อนข้างเล็กและอยู่ปลายสุด มีหนวดสั้น ๆ และเล็กจำนวน 4 เส้น มีเกล็ดค่อนข้างใหญ่ สีตามบริเวณลำตัวและหัวจะเป็นสีขาวเงิน หลังสีน้ำตาลอ่อน ฝาปิดเหงือกมีสีแดงหรือสีส้มเหมือนรอยช้ำ อันเป็นที่มาของชื่อ บริเวณหลังช่องเปิดเหงือกมีสีแถบดำ ครีบทั้งหมดมีสีแดง ครีบหางจะมีสีแถบดำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบกระจายอยู่ทั่วไปทุกภูมิภาคของไทย โดยอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ และบางครั้งอาจปะปนกับปลาตะเพียนชนิดอื่น ๆ เช่น ปลาตะเพียนเงิน (Barbonymus gonionotus), ปลาตะเพียนทอง (B. altus) หรือ ปลากระแห (B. schwanenfeldii) เป็นต้น มีชื่อเรียกต่าง ๆ มากมายตามแต่ละภูมิภาค เช่น ภาษาใต้เรียก "ปลาลาบก", ภาษาเหนือเรียก "ปลาปกส้ม", ภาษาอีสานเรียก "ปลาสมอมุก" หรือ "ปลาขาวสมอมุก" เป็นต้น เป็นปลาที่นิยมใช้บริโภคเหมือนปลาตะเพียนทั่วไป และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยปลาที่ถูกเลี้ยงในตู้กระจกสีสันจะสวยกว่าปลาที่อยู่ในธรรมชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแก้มช้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแมนดาริน

ปลาแมนดาริน (Mandarinfish, Mandarin dragonet, Common mandarin, Striped mandarin, Striped dragonet, Mandarin goby) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Synchiropus splendidus อยู่ในวงศ์ปลามังกรน้อย (Callionymidae) ซึ่งเป็นปลาทะเลขนาดเล็กที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) แต่มิได้อยู่ในวงศ์ปลาบู่ ปลาแมนดาริน เหตุที่ได้ชื่อนี้ก็เพราะด้วยลำตัวของที่แลดูเรียบลื่น เต็มไปด้วยเส้นสายสีเขียวทาบทับกันไปมาบนพื้นลำตัวสีส้มเป็นมัน เหมือนกับลายผ้าไหมหรือแพรชั้นดี จนดูละม้ายคล้ายคลึงกับชุดขุนนางจีนโบราณ ขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นก็สอดคล้องเช่นกัน โดยคำว่า "Syn" มาจากภาษากรีกโบราณหมายถึง มี และ "chiropus" มีความหมายถึง มีมือเป็นเท้า เพราะปลาชนิดนี้จะใช้ครีบท้องที่มีขนาดใหญ่คืบคลานไปมาตามท้องทะเลเพื่อหาอาหารได้แก่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กต่าง ๆ ตามพื้นทราย มากกว่าจะว่ายน้ำ และใช้ครีบหูที่ใสกระพือไปมาอยู่ตลอดเวลา ขณะที่ครีบหางใช้เสมือนหางเสือบังคับทิศทาง และ "spendidus" ที่เป็นชื่อชนิดนั้น มีความหมายว่า สีสันสดใสสวยงาม ตลอดทั้งลำตัวนั้น จะมีสีต่าง ๆ ทั้งหลายหลากสีมาก เช่น สีฟ้า, สีเขียว, สีส้ม และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีสะท้อนแสงคล้ายกับแสงหลอดนีออน สีเหล่านี้จะปรากฏให้เห็นชัดเป็นจุดและลวดลายต่าง ๆ โค้งไปมา เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ตอนใต้ของหมู่เกาะริวกิว ในประเทศญี่ปุ่น จนถึงทะเลฟิลิปปิน, ประเทศอินโดนีเซีย, หมู่เกาะไมโครนีเซีย, นิวแคลิโดเนีย จนถึงออสเตรเลีย แต่ไม่พบในน่านน้ำไทย พบอาศัยในกระแสน้ำไม่แรงนักตามกองหินและแนวปะการัง ออกหากินในเวลากลางคืน เริ่มตั้งแต่พลบค่ำ ขณะที่กลางวันจะนอนพักผ่อน มีขนาดความยาวเต็มที่ไม่เกิน 8 เซนติเมตร แต่โดยเฉลี่ยแล้วมีขนาดเล็กกว่านี้ถึงครึ่งหนึ่ง โดยสีต่าง ๆ เหล่านี้สามารถปรับให้เข้มหรืออ่อนได้ตามสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ ในปลาตัวผู้สีจะเข้มขึ้นเมื่อต่อสู้กันหรืออยู่ในช่วงผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด โดย ตัวผู้จะมีครีบหลังเป็นกระโดงยาวยืดออกมา ขณะที่ตัวเมียไม่มี และตัวผู้มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่า ปลาแมนดารินมีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร โดยเฉพาะกับปลาชนิดเดียวกัน โดยเฉพาะตัวผู้จะมีอาณาเขตที่ชัดเจน หากพบผู้บุกรุกจะกางครีบต่าง ๆ และเบ่งสีเพื่อข่มขู่ อีกทั้งยังถือเป็นปลาที่มีพิษชนิดหนึ่ง เพราะเมือกที่ปกคลุมลำตัวนั้นมีพิษ ใช้กันสำหรับเมื่อตกเป็นอาหารของสัตว์น้ำหรือปลาที่มีขนาดใหญ่กว่า พฤติกรรมเมื่อผสมพันธุ์ จะสวยงามมาก เมื่อตัวผู้เป็นฝ่ายว่ายไปรอบ ๆ ตัวเมียเพื่อเกี้ยวพาจนแลดูเหมือนกับการเต้นรำ ซึ่งถือว่าเป็นปลาที่ปล่อยไข่ให้ลอยไปตามกระแสน้ำ ก่อนที่ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าไปผสม ความที่เป็นปลาที่มีความสวยงามมาก จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมกันมาอย่างยาวนาน แต่ปลาที่มีการซื้อขายกันนั้นเป็นปลาที่ถูกจับมาจากแหล่งธรรมชาติ คือ ทะเลเท่านั้น โดยชาวประมงในบางพื้นที่เช่น ฟิลิปปินส์ จะใช้เครื่องมือจับที่ทำจากวัสดุง่าย ๆ เช่น ไม้หรือไผ่ ตัดให้คล้ายกับปืน ซึ่งตอนปลายพันด้วยเหล็กแหลมคล้ายฉมวกหรือหอก ใช้สำหรับเล็งปลาเป็นตัว ๆ ไปตามแนวปะการัง ซึ่งปลาตัวที่ถูกแทงจะได้รับบาดแผลหรือหางเป็นรู แต่สำหรับปลาแมนดารินแล้วเมื่อได้รับการพักฟื้นในสถานที่เลี้ยงไม่นาน แผลดังกล่าวก็จะหายเป็นปกติภายในเวลาไม่กี่วัน ปัจจุบัน ถือเป็นปลาที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง สำหรับในประเทศไทยเพิ่งเพาะได้สำเร็จเป็นครั้งแรกเมื่อกลางปี พ.ศ. 2552 โดย สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยตัวผู้หนึ่งตัวสามารถผสมกับตัวเมียได้ 2-3 ตัว ปลาจะทำการจับคู่กันในเวลาพลบค่ำ และวางไข่ ถือเป็นระยะเวลาที่สั้นมาก เมื่อไข่ถูกปล่อยออกมาแล้วจะลอยขึ้นสู่ผิวน้ำ ก่อนจะนำไปอนุบาลต่อไป ซึ่งลูกปลาใช้เวลาในการฟักเป็นตัวเร็วมาก คือ ใช้เวลาไม่เกิน 14 ชั่วโมง ในอุณหภูมิน้ำราว 28 เซลเซียส เมื่อฟักออกเป็นตัวนั้น ลูกปลาจะใช้ส่วนหัวดันออกมาก่อนก่อนใช้หางดันกับผนังเปลือกไข่ จนกว่าจะหลุดออกมาได้สำเร็จ โดยแรกเกิดมีขนาดความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตรเท่านั้น และมีขนาดของถุงไข่แดงเป็นครึ่งหนึ่งของขนาดลำตัว ขณะที่อวัยวะภายในและครีบต่าง ๆ ยังพัฒนาการไม่สมบูรณ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแมนดาริน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแมนดารินจุด

ปลาแมนดารินจุด (Spotted mandarin, Spotted mandarin goby, Target dragonfish, Green mandarin) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Synchiropus picturatus อยู่ในวงศ์ปลามังกรน้อย (Callionymidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาแมนดาริน (S. splendidus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันมาก หากแต่ปลาแมนดารินจุดนั้นมีลวดลายและลายจุดที่มีขนาดใหญ่กว่า ล้อมรอบด้วยเส้นตัดขอบจุดซ้อนกันเป็นวงเป็นเส้นสีส้มและสีเขียวเป็นชั้นซ้อนกันกระจายอยู่บนหัวและตลอดลำตัว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก โดยหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการังและกองหินใต้น้ำ หาจำพวกสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กกินเป็นอาหาร จากพื้นทราย จัดเป็นปลาที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาแมนดาริน ซึ่งก็สามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้วเช่นกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแมนดารินจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแรด

ปลาแรด (Giant gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแรด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแรดหกขีด

ปลาแรดหกขีด เป็นปลาแรดชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) เป็นปลาแรดที่มีลักษณะใกล้เคียงกับปลาแรดแดง (O. laticlavius) โดยพบในอินโดนีเซียเช่นเดียวกัน และมีขนาดลำตัวเมื่อโตขึ้นมาก็เท่ากันด้วย นั่นคือ ประมาณ 50 เซนติเมตร แต่ปลาแรดหกขีดนั้นจะพบได้เฉพาะในรัฐซาราวะก์ ในแถบลุ่มแม่น้ำกาปวซ, ลุ่มแม่น้ำมาฮากัม, กาลีมันตัน และติมอร์-เลสเตเท่านั้น ลักษณะเด่นของปลาชนิดนี้ คือ มีแถบข้างลำตัว 6-7 ขีด ซึ่งแถบนี้จะติดตัวไปตลอดชีวิตจึงเป็นที่มาของชื่อเรียกสามัญ แถบแต่ละแถบจะสมบูรณ์ในปลาวัยเยาว์หากเทียบกับ ปลาแรดแดงแล้วนั้น ปลาแรดแดงจะมีแถบแค่ 3-5 แถบเท่านั้นอีกทั้งแถบก็ไม่สมบูรณ์ เมื่อใหญ่ขึ้น แถบนี้จะยาวเหลือ 2 ใน 3 นอกจากนี้แล้วก้านครีบอ่อนของครีบหลังปลาแรดหกขีดจะมีทั้งหมด 11-12 ก้าน ในขณะที่ปลาแรดแดงจะมี 10 ก้าน จำนวนซี่กรองเหงือกของปลาแรดหกขีดจะมีทั้งหมด 11-13 ซี่ ในขณะที่ปลาแรดแดงจะมีราว 8-9 ซี่ นอกจากนั้นแล้วยังมีครีบอื่น ๆ เหลื่อมล้ำกันอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแรดหกขีด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแรดแม่น้ำโขง

ปลาแรดแม่น้ำโขง หรือ ปลาแรดเขี้ยว (Elephant ear gourami; ชื่อวิทยาศาสตร์: Osphronemus exodon) เป็นปลาแรดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างคล้ายปลาแรดธรรมดา (O. goramy) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ทั่วไป หากแต่ปลาแรดแม่น้ำโขงนั้น จะพบเฉพาะในแม่น้ำโขงที่เดียวเท่านั้น มีความแตกต่างคือ มีลำตัวสีน้ำตาลแดงคล้ำ ครีบก้นแคบและเล็กกว่า และริมผีปากจะไม่สามารถสบกันจนสนิท จนเผยอให้เห็นซี่ฟันในปาก โดยเฉพาะฟันที่ริมฝีปากบน อันเป็นที่มาของชื่อ สันนิษฐานว่าเพื่อใช้สำหรับในการงับลูกไม้หรือผลไม้ต่าง ๆ ที่ตกลงไปในน้ำซึ่งเป็นอาหารหลัก มีขนาดเมื่อโตเต็มที่เล็กกว่าปลาแรดธรรรมดา กล่าวคือ ประมาณ 40 เซนติเมตร เท่านั้น โดยพบใหญ่ที่สุดประมาณ 2 ฟุต โดยปลาขนาดเล็กจะมีแถบสีส้มหรือสีแดงคล้ายคลึงกับปลาแรดแดง (O. laticlavius) มาก และไม่มีแถบแนวตั้งที่ชัดเจน หรือมีก็แค่จาง ๆ มีจุดสีดำขนาดใหญ่ที่โคนหางเหนือครีบก้นชัดเจน มีส่วนหลังสีน้ำตาลเข้มและส่วนท้องสีจางกว่า นอกจากนี้แล้วปลาแรดแม่น้ำโขงยังมีกระดูกปิดเหงือก เมื่อเทียบกับขนาดตัวใหญ่กว่าปลาแรดชนิดอื่น ๆ อีกด้วย ตัวผู้มีหัวโหนกนูน ขากรรไกร และริมฝีปากหนาและใหญ่กว่าตัวเมีย ขณะที่ตัวเมียจะมีจุดสีดำบริเวณโคนครีบอก ซึ่งตัวผู้ไม่มี จากการสำรวจของ ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแรดแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแรดแดง

ปลาแรดแดง หรือ ปลาแรดแดงอินโด (Giant red tail gourami; ชื่อวิทยาศาสตร์: Osphronemus laticlavius) เป็นปลาแรดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างโดยทั่วไปเหมือนปลาแรดชนิดอื่น ๆ แต่ทว่าปลาแรดแดงจะมีรูปร่างที่ยาวกว่า และพบได้เฉพาะในประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียเท่านั้น มีลำตัวสีแดงสด ยิ่งเมื่อปลาโตขึ้นเท่าไหร่ สีดังกล่าวจะยิ่งเข้มตามด้วย จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ปลาแรดแดงจะมีการเจริญเติบโตช้ากว่าปลาแรดชนิดอื่น ๆ และขนาดเมื่อโตเต็มที่จัดว่าเป็นปลาแรดชนิดที่เล็กที่สุดด้วย กล่าวคือมีขนาดประมาณ 50 เซนติเมตรเท่านั้น และมีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวน้อยที่สุด ตัวผู้และตัวเมียมีจุดสีดำเหนือโคนครีบอกทั้งคู่ แตกต่างกันตรงที่ขนาดของลำตัว โดยแรกนั้น ปลาแรดแดง ได้ถูกนำมาสู่ประเทศไทยในฐานะปลาสวยงาม ราวปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแรดแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแลมป์เพรย์

ปลาแลมป์เพรย์ (Lamprey, Lamprey eel) เป็นปลาที่อยู่ในชั้นใหญ่ปลาไม่มีขากรรไกร จัดอยู่ในอันดับ Petromyzontiformes และวงศ์ Petromyzontidae ปลาแลมป์เพรย์มีลำตัวยาวลักษณะคล้ายปลาไหล ลำตัวด้านหลังมักจะเป็นสีดำ มีครีบหลังและครีบหาง แต่ไม่มีครีบคู่ ไม่มีเกล็ด ปากจะอยู่ค่อนลงมาทางด้านท้อง มีลักษณะเป็นวงกลมใช้สำหรับดูด มีฟันแหลมคมจำนวนมากที่เจริญดีอยู่ในอุ้งปาก รูจมูกมี 1 รูซึ่งอยู่กึ่งกลางด้านบนของหัว มีตา 1 คู่ ถุงเหงือก 7 ถุง และมีช่องเหงือก 7 ช่อง หัวใจประกอบด้วยเวนตริเคิล 1 ห้อง และเอเตรียม 1 ห้อง โครงร่างเป็นกระดูกอ่อนและเส้นใย และยังคงมีโนโตคอร์ดอยู่ เส้นประสาทหลัง มีการพัฒนาเป็นสมองซึ่งมีเส้นประสาทสมอง 8-10 คู่ ทางเดินอาหารไม่มีกระเพาะอาหาร ส่วนลำไส้บิดเป็นเกลียว มีลักษณะเพศแยกออกเป็นเพศผู้และเพศเมียชัดเจน ปลาแลมป์เพรย์พบได้ทั้งลำธารในน้ำจืด และในทะเล พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก ทั้งยุโรปตอนบน, อเมริกาเหนือ, อเมริกาใต้, แอฟริกาตะวันตก, ญี่ปุ่น, เกาหลี, ชิลี, ออสเตรเลีย และเกาะแทสมาเนีย ปลาแลมป์เพรย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 จำพวกใหญ่ ๆ คือ แบบธรรมดา จะอาศัยอยู่ตามลำธาร ช่วงชีวิตส่วนใหญ่จะเป็นระยะตัวอ่อนที่กินอาหารแบบกรอง ตัวเต็มวัยมีชิวิตอยู่ 3-4 สัปดาห์ โดยไม่กินอาหารเนื่องจากทางเดินอาหารสลายตัว เหลือเพียงสายของเนื้อเยื้อที่ไม่มีหน้าที่การทำงานและจะตายไปหลังวางไข่ ปลาแลมป์เพรย์จำพวกนี้สามารถดำรงชีวิตได้เอง โดยการกินสัตว์อื่นเป็นอาหาร มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 15-60 เซนติเมตร จะมีการวางไข่ที่ลำธารน้ำจืดที่มีพื้นเป็นทรายและก้อนกรวดเล็ก ๆ ตามพื้นท้องน้ำและวางไข่ในฤดูตัวผู้จะเริ่มสร้างแอ่งวางไข่โดยใช้ปากคาบเอาหินและกรวดจากพื้นโดยการแกว่งลำตัวทำให้ก้อนกรวดกระจายออกไปเกิดเป็นแอ่งรูปไข่ ตัวเมียจะตามมาและเกาะกับหินเหนือแอ่ง ตัวผู้เกาะทางด้านหัวของตัวเมีย ตัวเมียปล่อยไข่ลงในแอ่ง ตัวผู้ปล่อยน้ำเชื้อออกผสม ไข่ที่ปฏิสนธิแล้วจะยึดเกาะกับก้อนกรวดในแอ่ง แล้วกลบด้วยทราย ลักษณะพิเศษคือ หลังวางไข่แล้วทั้งตัวผู้และเมียก็จะตายไป จากนั้น ไข่จะฟักออกในเวลา 2 สัปดาห์ เป็นตัวอ่อนขนาดเล็กตัวยาว เรียกว่า แอมโมซีทิส (Ammocoetes) ซึ่งจะคงอยู่ในแอ่งจนตัวยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ก็จะฝังตัวเข้าไปในทรายแล้วออกมาหากินในเวลากลางคืน ระยะตัวอ่อนแอมโมซีทีสจะยาวนานประมาณ 3-7 ปี จึงจะเจริญเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ซึ่งตัวเต็มวัยจะคงอยู่ในน้ำจืดอีกประมาณ 1 ปี แล้วก็วางไข่ จากนั้นก็จะตายไป ส่วนชนิดที่เป็นปลาทะเลก็จะอพยพคืนถิ่นสู่ทะเล มีอายุยืนยาวกว่าชนิดที่เป็นปลาน้ำจืด เมื่อเข้ามาวางไข่ในน้ำจืดจะไม่กินอาหาร และ ปลาแลมป์เพรย์ที่เป็นปรสิต จะมีปากคล้ายแว่นดูดและมีอุ้งปาก คล้ายถ้วยลึกลงไปในอุ้งปาก และลิ้นมีฟันที่เจริญดีอยู่ มันจะใช้ปากเกาะเหยื่อและใช้ฟันและลิ้นครูดเอาเนื้อออก และให้เลือดของเหยื่อไหลผ่านได้สะดวก ปลาแลมป์เพรย์จะสร้างสารป้องกันการตกตะกอนของเลือดส่งไปที่ปากแผล เมื่อดูดเลือดของเหยื่อจนตัวเหยื่อแห้งก็จะปล่อยแล้วหาเหยื่อใหม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแลมป์เพรย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแสงอาทิตย์

ำหรับปลาแสงอาทิตย์ที่เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ดูที่: ปลาซันฟิช ปลาแสงอาทิตย์ หรือ ปลาโมลา โมลา (Ocean sunfish, Pacific sunfish, Sunfish, Mola mola) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ (Molidae) ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแอฟริกันไทเกอร์

ปลาแอฟริกันไทเกอร์ (African tigerfishes) เป็นสกุลของปลาน้ำจืด 5 ชนิดที่อยู่ในวงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน (Alestiidae) ในอันดับปลาคาราซิน ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrocynus (/ไฮ-โดร-ไซ-นัส/) โดยมาจากภาษากรีก คำว่า "hydro" (ὕδωρ) หมายถึง "น้ำ" บวกกับคำว่า "kyon" (κύων) ที่หมายถึง "สุนัข" เป็นปลากินเนื้อทั้งหมด มีรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวเพรียวยาวเหมือนตอร์ปิโด เกล็ดมีขนาดใหญ่ มีสีเงินแวววาว และที่ชิ้นเกล็ดจะมีจุดสีเข้ม ทำให้เห็นเป็นลายพาดตามยาวไปตามแนวข้างลำตัวเหนือเส้นข้างลำตัว ทำให้มองดูคล้ายลายของเสือลายพาดกลอน อันเป็นที่มาของชื่อ นอกจากแถบดังกล่าวแล้วส่วนที่ไม่ใช่แถบจะมีสีออกสีเงิน, สีขาว และสีเทา ขณะที่บางตัวอาจมีเหลือบสีฟ้า, สีเขียว, สีส้ม หรือสีเหลืองอ่อนผสมอยู่ด้วย ปลาในสกุลนี้จะมีลักษณะเช่นเดียวกันนี้ทั้งหมด ครีบหลังจะอยู่ในระดับเดียวกับ ครีบท้องอาจจะอยู่ข้างหน้าเล็กน้อย ภายในปากมีฟันหนึ่งชุดที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนและเป็นจุดเด่น ซึ่งฟันแต่ละซี่ตั้งอยู่ในเบ้า ระหว่างฟันซี่อื่น ๆ บนขากรรไกร และจะแลเห็นได้ตลอดเวลาแม้แต่เมื่อปิดปากสนิท ขากรรไกรมีความแข็งแรงและทรงพลังมาก อีกทั้งสามารถยืดขยายได้กว้างเพราะมีจุดยึดกับมุมปากอยู่ถึงสองจุด ตาจะถูกคลุมโดยเปลือกตาเกือบทั้งหมด ครีบหางเว้าลึกเป็นสองแฉก พบในลุ่มแม่น้ำคองโก ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลเชี่ยวมากในทวีปแอฟริกาตอนกลาง เป็นปลาล่าเหยื่อที่ล่าได้อย่างรวดเร็ว ดุดัน ไม่แพ้ปลาปิรันยาในลุ่มแม่น้ำอเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ แต่ไม่นิยมล่ารวมเป็นฝูง เป็นปลาที่กินพวกเดียวกันเองเป็นอาหารและกัดทำร้ายจระเข้ได้ รวมถึงเคยมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์ได้อีกด้วย โดยที่ชาวพื้นเมืองแอฟริกาได้เรียกปลาสกุลนี้ในภาษาลิงกาลาว่า เอ็มเบ็งกะ (Mbenga) หรือ อิงเกวส (Ndweshi) และมีความเชื่อว่าการที่มันล่าและทำร้ายมนุษย์เพราะมีวิญญาณที่ชั่วร้ายสิงสถิตอยู่ มีทั้งหมด 5 ชนิด โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ H. goliath ที่มีความยาวที่สุดได้ถึง 6 ฟุต และมีน้ำหนักถึง 100 ปอน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแอฟริกันไทเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแองหวู (สกุล)

ปลาแองหวู (เวียดนาม: Anh Vũ cá) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Semilabeo.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแองหวู (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแอตแลนติกทาร์ปอน

ปลาแอตแลนติกทาร์ปอน (Atlantic tarpon) ปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Megalops atlanticus ในวงศ์ปลาตาเหลือก (Megalopidae) จัดเป็น 1 ใน 2 ชนิดของปลาในวงศ์นี้ มีรูปร่างเหมือนปลาตาเหลือกซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน ต่างกันเพียงปลาแอตแลนติกทาร์ปอนมีดวงตาขนาดเล็กกว่าเมื่อเทียบเป็นสัดส่วนกับขนาดของหัว ส่วนหัวมีขนาดเล็กกว่าเมื่อเทียบกับสัดส่วนของลำตัว ส่วนหัวตรงบริเวณหน้าผากเหนือตา มีลักษณเป็นหยัก ทำให้ปากดูเชิดขึ้นด้านบนมากกว่าและจะชัดเจนมากเมื่อปลาโตขึ้น ลำตัวค่อนข้างเพรียวยาวกว่าชัดเจน ไม่ป้อมสั้นและไม่มีเยื่อไขมันคลุมตาเหมือนปลาตาเหลือก อีกทั้งรูปร่างเมื่อโตขึ้นมาเต็มที่อาจยาวได้ถึง 2.5 เมตร หนักถึง 161 กิโลกรัม ซึ่งใหญ่กว่าปลาตาเหลือกมาก จนได้รับฉายาในภาษาอังกฤษว่า "ราชาสีเงิน" (Silver king) มีการแพร่กระจายพันธุ์ในแถบมหาสมุทรแอตแลนติกแถบชายฝั่งทะเลตั้งแต่แอฟริกาตะวันตก, ทวีปอเมริกาเหนือจนถึงแคนาดาและจนถึงทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลากินเนื้อ กินสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร นิยมตกเป็นเกมกีฬา สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ซึ่งเป็นปลาที่มีราคาขายแพงมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแอตแลนติกทาร์ปอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแฮลิบัต

ปลาแฮลิบัตด้านบนและด้านล่าง ปลาแฮลิบัต (Halibut) เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกปลาในอันดับปลาซีกเดียว ในสกุล Hippoglossus ซึ่งอยู่ในวงศ์ Pleuronectidae รวมถึงปลาซีกเดียวชนิดอื่น ในวงศ์อื่นบางชนิดด้วย โดยคำว่า "แฮลิบัต" มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษกลางว่า haly (ศักดิ์สิทธิ์) และ butt (ปลาซีกเดียว) เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในวันสำคัญทางศาสนาคริสต์คาทอลิก ปลาแฮลิบัตเป็นปลาซีกเดียวที่มีขนาดใหญ่ นับเป็นปลาซีกเดียวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีความยาวเต็มที่ที่พบคือเกือบ 3 เมตร น้ำหนักกว่า 50 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ในซีกโลกทางเหนือที่มีอุณหภูมิหนาวเย็น ทั้งมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิก ปลาแฮลิบัตรมควัน เนื้อของปลาแฮลิบัตมีสีขาว เนื้อแน่นคล้ายปลาหิมะ ไขมันต่ำ มีราคาแพง สามารถนำไปปรุงอาหารได้หลากหลายรายการ เช่น ฟิชแอนด์ชิป นับเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง ปลาแฮลิบัตเป็นปลาที่หากินและอาศัยอยู่ตามพื้นทะเล ลักษณะเหมือนกับปลาซีกเดียวทั่วไป คือ ลำตัวด้านบนที่มีตา จะเป็นสีน้ำตาลหรือเขียว ด้านล่างจะราบแบนเป็นสีขาวสะอาด ในระยะที่เป็นปลาวัยอ่อน ตาทั้งสองข้างจะยังอยู่คนละซีกเหมือนปลาทั่วไป และว่ายน้ำเหมือนปลาแซลมอน จนกระทั่งอายุได้หกเดือนจึงจะกลับด้านมาอยู่ซีกเดียวกัน กินอาหารตามพื้นทะเล ได้แก่ สัตว์ทะเลต่าง ๆ รวมถึงปลาแฮลิบัตหรือปลาซีกเดียวตัวอื่น ๆ ด้วย และตกเป็นอาหารของสัตว์ทะเลนักล่า เช่น วาฬเพชฌฆาต, สิงโตทะเล, ปลาฉลามแซลมอน ปลาแฮลิบัตในแสตมป์ของหมู่เกาะแฟโร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแฮลิบัต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแฮลิบัต (สกุล)

ปลาแฮลิบัต (halibut) เป็นสกุลของปลาในอันดับปลาซีกเดียว ในสกุล Hippoglossus (/ฮิป-โป-กลอส-ซัส/) จัดอยู่ในวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา (Pleuronectidae) เป็นปลาซีกเดียว หรือปลาลิ้นหมา ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก อาศัยและหากินอยู่ตามพื้นทะเลในซีกโลกทางตอนเหนือ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแฮลิบัต (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแขยงจุด

ปลาแขยงจุด (Twospot catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากด (Bagridae) จัดเป็นปลาหนังขนาดเล็ก หรือปลาแขยง รูปร่างค่อนข้างสั้นมีหนวดยาว 4 คู่ ครีบอกและครีบหลังมีก้านครีบแข็ง ครีบไขมันค่อนข้างสั้น ครีบหางเว้าลึกมีจุดสีดำที่ขอดหาง อันเป็นที่มาของชื่อ ตัวมีสีเทาอมเขียวเข้ม ขนาดที่พบยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 10-20 กรัม ปลาขนาดเล็กจะมีสีเหลืองนวล มักอยู่รวมกันเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำไหล เช่นแม่น้ำ, ลำคลอง, ลำธาร พบในภาคกลาง, ภาคตะวันออกและภาคใต้ ของไทย ในต่างประเทศ พบได้ที่กัมพูชา, ลาว, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย พบในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำหรือก้อนหินใต้น้ำ เพื่อใช้เป็นที่หลบซ่อนอาศัย กินอาหารประเภท ตัวอ่อนของแมลงที่อาศัยอยู่ตามพื้นท้องน้ำ, ลูกกุ้ง, ไรน้ำ, ซากสัตว์ และพืชที่เน่าเปื่อย ปลาตัวเมียมีความกว้างลำตัวมากกว่าตัวผู้ และมีขนาดใหญ่กว่า และสามารถเห็นชัดเจนได้ในช่วงฤดูวางไข่โดยตัวเมียจะมีลำตัวกว้าง ท้องอูม เมื่อปลามีไข่ ส่วนตัวผู้จะมีลำตัวเรียวและมีขนาดเล็กกว่า ปลาแขยงจุดที่จับได้ในธรรมชาติพบว่ามีสัดส่วนตัวผู้ต่อตัวเมีย 1:1 เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ แต่มีความพยายามจากทางกรมประมงอยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแขยงจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแขยงทอง

ปลาแขยงทอง หรือ ปลาอิแกลาเอ๊ะ (ภาษาอินโดนีเซีย: Ikan nuayang) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudeutropius moolenburghae อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) มีรูปร่างเพรียวยาว นัยน์ตาโต มีหนวดทั้งหมด 4 คู่ ที่ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ มีครีบไขมันขนาดเล็กอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 42-49 ก้าน ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก ลำตัวมีสีเหลืองเหลือบทองจาง ๆ มีจุดสีดำที่บริเวณหน้าครีบหลัง มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารจำพวก แมลง, แมลงน้ำ และกุ้งขนาดเล็ก ในประเทศไทยพบได้ที่แม่น้ำสาละวินในแถบจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในต่างประเทศพบได้ที่ เกาะสุมาตราและบอร์เนียว โดยปลาชนิดนี้เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพของน้ำได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองที่จะนิยมนำมาบริโภคกันโดยจับได้ในปริมาณทีละมาก ๆ ใช้หมักเค็มกับเกลือ เป็นปลาที่ความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางนัก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแขยงทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแขยงดาน

ปลาแขยงดาน เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Bagrichthys (/บา-กริค-ทีส/) อยู่ในวงศ์ปลากด (Bagridae) อันดับปลาหนัง (Siluformes) มีลักษณะสำคัญ คือ มีส่วนหัวขนาดเล็ก จะงอยปากเป็นรูปกระสวย ลำตัวแบนข้าง ปากเล็ก รีมฝีปากบนและล่างเป็นจีบ นัยน์ตามีขนาดเล็กมาก ตามีเยื่อหุ้ม หนวดค่อนข้างเล็กสั้นมี 4 คู่ แบ่งเป็นที่จมูก 1 คู่, ริมฝีปากบน 1 คู่, ริมฝีปากล่าง 1 คู่, และคาง 1 คู่สันหลังโค้ง ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้านเป็นซี่แข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย ซึ่งตั้งตรงเห็นได้ชัดเจน ในบางชนิดจะยาวจนแลดูเด่น มีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 2-3 ก้าน และก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้านที่แข็งและหยักเป็นฟันเลื่อยปลายแหลม ครีบท้องสั้น ครีบไขมันมีฐานยาวด้านหน้าจรดฐานครีบหลังและปลายจรดโคนครีบหาง ครีบหางเว้าลึก เป็นสกุลที่มีความคล้ายคลึงกับสกุล Bagroides และทั้ง 2 สกุลนี้ก็มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับสกุล Leiocassis ซึ่งเป็นปลาแขยงหรือปลากดที่มีขนาดเล็ก จัดเป็นปลาขนาดกลาง โตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต มีสีลำตัวเป็นสีม่วงคล้ำเกือบดำ ส่วนท้องสีขาว ในปลาวัยอ่อนอาจมีสีลำตัวเป็นลวดลายเหมือนลายพรางทหาร เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน พบกระจายพันธุ์ในประเทศไทย, แม่น้ำโขง จนถึงอินโดนีเซีย แต่ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน เป็นปลาที่นิยมบริโภคกัน และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแขยงดาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้

ปลาแค้ (Devil catfish, Goonch, Bagarius catfish; বাঘাইর) เป็นปลากระดูกแข็งในสกุล Bagarius (/บา-กา-เรียส/) อยู่ในอันดับปลาหนัง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแค้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้ยักษ์

ปลาแค้ยักษ์ (Goonch) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแค้ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้ติดหิน

ปลาแค้ติดหิน หรือ ปลาแค้ห้วย (Hill-stream catfish) เป็นปลาหนังในสกุล Glyptothorax (/กลีพ-โท-ทอ-แร็กซ์/) ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวเพรียวยาว ครีบหางเว้าลึก อาจมีสีเหลืองเป็นลายพาดด้านข้างลำตัว พื้นลำตัวสีน้ำตาล มีหนวด 4 คู่ โดยหนวดที่ริมฝีปากเป็นเส้นแบนและแข็ง หนวดที่จมูกสั้น หนวดใต้คางยาว ผิวสาก และมีแผ่นหนังย่นใต้อกซึ่งใช้เกาะพื้นหินได้ ครีบหลังอยู่หน้าครีบท้อง ครีบอกและครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นเงี่ยงแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย มักพบอาศัยอยู่ในลำธารน้ำตกบนภูเขาที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว กินอาหารจำพวก แมลงน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ออกหากินในเวลากลางคืน มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 10-15 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ลุ่มน้ำของทะเลดำทางตอนเหนือของตุรกี ไปจนถึงเอเชียไมเนอร์, ตอนใต้ของจีนและลุ่มแม่น้ำแยงซี, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเกาะชวาในอินโดนีเซีย มีทั้งหมดประมาณ 93 ชนิด มีชื่อเรียกโดยรวมในภาษาไทยว่า "แค้", "แค้ห้วย" หรือ "ปลาติดหิน" ในขณะที่วงการปลาสวยงามจะนิยมเรียกว่า "ฉลามทอง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแค้ติดหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนชินูก

ปลาแซลมอนชินูก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Oncorhynchus tshawytscha) เป็นสปีชีส์ที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาสกุลปลาแซลมอนแปซิฟิก ตั้งชื่อตามชาวชินูก ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่เคยอาศัยอยู่ชายฝั่งแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ปลาแซลมอนชินูกยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก คือ คิงแซลมอน, ปลาแซลมอนควินแนต และ ปลาแซลมอนใบไม้ผลิ ปลาแซลมอนชินูกเป็นปลาน้ำกร่อยซึ่งกระจายพันธุ์อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ ตลอดจนเครือข่ายแม่น้ำในภาคตะวันตกของอเมริกาเหนือ ตั้งแต่รัฐแคลิฟอร์เนียไปจนถึงรัฐอะแลสกา และยังกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปเอเชียบริเวณตอนเหนือของญี่ปุ่นไปจนถึงบริเวณทะเลไซบีเรียตะวันออกของรัสเซีย อย่างไรก็ตาม ปลาสายพันธุ์นี้ก็ยังพบได้ในส่วนอื่น ๆ ของโลกได้เช่นกัน อาทิในนิวซีแลนด์, ภูมิภาคปาตาโกเนีย เป็นต้น ปลาแซลมอนชินูกถือเป็นปลาเศรษฐกิจอย่างหนึ่ง และมีกรดไขมันโอเมกา-3 ในปริมาณที่สูงซึ่งเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ผลิตปลาแซลมอนชินูกได้มากที่สุดโดยทำตลาดในชื่อว่า "คิงแซลมอน" ใน..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแซลมอนชินูก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนทองคำ

ปลาแซลมอนทองคำ หรือที่เรียกอีกชื่อนึงว่า ปลาโดราโด (Dorado, โดราโด ในภาษาสเปน หมายถึง "ทองคำ") ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Salminus brasiliensis ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ลักษณะภายนอก มีส่วนหัวขนาดใหญ่ ปากกว้างมีลักษณะเฉียงลง ภายในปากเต็มไปด้วยฟันซี่เล็ก ๆ ที่แหลมคม ขากรรไกรแข็งแรง ครีบหลังอยู่ถัดออกไปกว่าความยาวของครึ่งลำตัว มีครีบไขมันก่อนถึงครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 3 ฟุต หนักถึง 68 ปอนด์ เมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีสีของลำตัวเป็นสีเหลืองทองอร่าม เมื่อยังเล็กลำตัวจะเป็นสีเงินอมเทา ครีบหางเป็นสีส้มปนแดงและมีแถบสีดำพาดตั้งแต่โคนหางไปจรดสุดปลายครีบ ครีบอกเป็นสีเหลืองปนส้ม เมื่อโตขึ้นจะสีลำตัวจะค่อย ๆ กลายเป็นสีส้ม และเริ่มเข้มขึ้นเรื่อย ๆ ตามวัย จนกระทั่งกลายเป็นสีทองไปในที่สุด มีอายุยืนได้สูงสุด 9 ปี กระจายพันธุ์อยู่ในทวีปอเมริกาใต้ในแม่น้ำอเมซอนและสาขา บริเวณรอยต่อระหว่างบราซิล, อาร์เจนตินา, เปรู, ปารากวัย และโบลิเวีย เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร ล่าเหยื่อด้วยความเร็วสูงโดยใช้ขากรรไกรที่แข็งแรงและฟันอันคมกริบงับเหยื่อ ซึ่งได้แก่ ปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ รวมทั้งสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำและสัตว์เลือดอุ่นขนาดเล็ก เช่น นก หรือ หนู ด้วย โดยมีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นฝูงขนาดเล็ก บางครั้งจะล่าเหยื่อโดยการเข้าไปปะปนในฝูงปลาที่กำลังกินเมล็ดพืชที่ตกลงน้ำเพิ่อหาจังหวะโฉบงับกิน จนได้รับฉายาจากชาวพื้นเมืองว่า "Tigre del rio" (เสือแม่น้ำ) และถึงแม้นว่าจะได้ชื่อเป็นปลาแซลมอน ด้วยเหตุที่มีรูปร่างคล้ายกัน จึงถูกเรียกว่า "ปลาแซลมอนทองคำ" แต่แท้ที่จริงแล้ว ปลาชนิดนี้มิได้จัดว่าเป็นปลาจำพวกแซลมอน แต่ประการใด ปลาแซลมอนทองคำนั้นนิยมตกเป็นปลาเกม ในกีฬาตกปลาด้วยความที่เป็นปลาขนาดใหญ่ และต่อสู้กับเบ็ดได้อย่างสนุกรวมถึงมีสีสันที่สวยงามอีกด้วย และนอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงปลาขนาดใหญ่ ซึ่งพฤติกรรมของปลาแซลมอนทองคำในที่เลี้ยงนั้นดุร้ายมาก จนไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นได้เลย นอกจากพวกเดียวกันเอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแซลมอนทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนแปซิฟิก

ปลาแซลมอนแปซิฟิก (Pacific salmon) เป็นสกุลของปลาเศรษฐกิจสกุลหนึ่ง จำพวกปลาแซลมอน ใช้ชื่อสกุลว่า Oncorhynchus จัดอยู่ในวงศ์ Salmonidae อันดับ Salmoniformes โดยที่คำว่า Oncorhynchus มาจากภาษากรีกคำว่า nkos หมายถึง "ตะขอ" และ rynchos หมายถึง "จมูก" ซึ่งมาจากการที่ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้ม และมีส่วนปลายปาก (จมูก) งองุ้มเป็นดั้งขอ เป็นปลาแซลมอนที่กระจายพันธุ์อยู่ในตอนเหนือของแคลิฟอร์เนียตลอดแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอาร์กติก และมหาสมุทรแอตแลนติก พบได้ตั้งแต่อาร์กติก, อลาสกา, ทะเลเบริง, สหรัฐอเมริกา, เม็กซิโก จนถึงญี่ปุ่น เป็นปลาที่กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง แต่เป็นปลาที่ต้องการแหล่งน้ำที่สะอาด มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง น้ำมีอุณหภูมิเย็นและไหลแรงซึ่งมักพบตามปากแม่น้ำต่าง ๆ ขณะที่ปลาเมื่ออยู่ในทะเลหรือมหาสมุทรก็มักจะว่ายตามผิวน้ำ และเช่นเดียวกับปลาแซลมอนสกุลและชนิดอื่น ๆ ที่เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ จะว่ายกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่ในแหล่งน้ำจืด อันเป็นถิ่นกำเนิดดั้งเดิม แม้จะไกลแค่ไหนก็ตาม โดยแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาการวางไข่และเติบโตต่างกัน บางชนิดลูกปลาอาจใช้เวลา 5-7 เดือน ขณะที่บางชนิดอาจต้องใช้เวลานานถึง 1 ปี ในการอาศัยในแหล่งน้ำจืด จึงจะว่ายกลับไปยังทะเล และใช้ระยะเวลาการเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 2-4 ปี แต่ทั้งหมดก็ต้องอาศัยการวางไข่ในแหล่งน้ำที่สะอาดเหมือนกัน เป็นปลาแซลมอนที่นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด ที่เป็นชนิดที่สำคัญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแซลมอนแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแปบยาว

ปลาแปบยาว (Razorbelly minnow) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Salmophasia (/ซัล-โม-ฟา-เซีย-อา/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาแปบที่มีรูปร่างเรียวยาวกว่าปลาแปบสกุลอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้รวมถึงประเทศพม่า พบในประเทศไทยเพียงชนิดเดียว ในลุ่มแม่น้ำสาละวินและลุ่มแม่น้ำตะนาวศรีในแถบจังหวัดระนอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแปบยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแปบขาว

ปลาแปบขาว เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Oxygaster (/อ็อก-ซี-แกส-เตอร์/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาจำพวกปลาแปบ เดิมเคยถูกจัดให้อยู่ในสกุล Chela โดยมี โยฮัน คอนราด ฟัน ฮัสเซลต์ นักมีนวิทยาชาวดัตช์ เป็นผู้อนุกรมวิธาน โดยใช้ลักษณะของเกล็ดแถวที่อยู่หน้าครีบหลังเลยเข้ามาถึงระหว่างนัยน์ตาเป็นลักษณะสำคัญ ส่วนที่มีลักษณะรองลงมา คือ ท้องแบนเป็นสันคม ปลายปากล่างมีปุ่มกระดูก ครีบอกอยู่ในแนวระดับเดียวกับท้อง จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่ด้านหน้าจุดเริ่มต้นของครีบก้น เกล็ดตามแนวบนเส้นข้างลำตัวมีประมาณ 43-60 แถว จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแม่น้ำลำคลอง รวมถึงป่าพรุในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแปบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแปบควาย

ปลาแปบควาย เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกปลาแปบ อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Cultrinae ใช้ชื่อสกุลว่า Paralaubuca (/พา-รา-ลอ-บู-คา/) มีรูปร่างโดยรวมคือ มีรูปร่างยาว ลำตัวแบนข้างมาก ปากเล็ก ตาโต ท้องเป็นสันคม ด้านท้องค่อนข้างกว้างออก ครีบอกยาว ครีบหางเว้าลึก เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว เส้นข้างลำตัวไม่ต่อเนื่องกัน เกล็ดแถวที่อยู่หน้าครีบหลังไม่เลยเข้ามาถึงระหว่างนัยน์ตา เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมีจำนาน 50–85 แถว มีขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ย 15 เซนติเมตร มักอยู่เป็นฝูงใหญ่ มีการอพยพขึ้นล่องตามแม่น้ำเพื่อวางไข่และหากินเป็นฤดูกาล มักอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลเชี่ยว หากินใกล้ผิวน้ำ พบตั้งแต่แม่น้ำโขงถึงแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงมาเลเซีย กินแมลงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร มีทั้งหมด 5 ชนิด โดยเป็นชนิดที่พบได้ในประเทศไทย 3 หรือ 4 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแปบควาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแปบใส

ปลาแปบใส ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในสกุล Parachela (/ปาราแคลา/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เดิมปลาแปบในสกุลนี้ รวมอยู่ในสกุลเดียวกันกับสกุล Oxygaster แต่ฟรันซ์ ชไตน์ดัคเนอร์ แยกออกมาตั้งเป็นสกุลใหม่ โดยเห็นว่าปลาในสกุลนี้ไม่มีครีบท้อง แต่มีตัวอย่างปลาเพียงตัวเดียวเท่านั้น แต่ยังมิได้รับการยอมรับเท่าไหร่นัก จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแปบใส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแป้นหัวโหนก

ปลาแป้นหัวโหนก (Humpheaded glassfish, Humphead perchlet) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Parambassis pulcinella อยู่ในวงศ์ปลาแป้นแก้ว (Ambassidae) มีรูปร่างบางใส มีเกล็ดเล็กละเอียด ลำตัวแบนข้าง หัวเล็ก นัยน์ตาโต โคนหางคอดกิ่ว ครีบหลังเป็นแผงยาวแบ่งเป็นสองส่วนติดต่อกัน ส่วนหน้าเป็นก้านครีบเดี่ยวแข็งปลายแหลม 7 ก้าน ส่วนหลังประกอบด้วยก้านครีบเดี่ยวที่เป็นหนามปลายแหลม 1 ก้าน และก้านครีบแขนง 15-17 ก้าน ครีบก้นมีลักษณะเป็นแผงยาว มีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นหนามแข็งปลายแหลม 3 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 15-17 ก้าน มีจุดเด่นที่สังเกตได้ชัดเจน คือ ส่วนหัวที่โหนกนูนขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยมีทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่ตัวผู้จะมีหัวที่โหนกนูนนี้กว่า ขณะที่ตัวเมียจะมีรูปร่างที่ใหญ่กว่า ลำตัวมีสีเงินอมเขียวจาง ๆ สะท้อนแสง ครีบหลังและครีบก้นเป็นเขม่าสีดำ ครีบหางมีแถบสีดำจาง ๆ ทั้งขอบบนและขอบล่าง ขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 7 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดเล็กราว 3-5 ตัว ในลำธารน้ำตื้น พบกระจายพันธุ์เฉพาะแม่น้ำแถบชายแดนไทย-พม่าเท่านั้น เช่น ลุ่มแม่น้ำสาละวิน, แม่น้ำอัตรัน, แม่น้ำกษัตริย์, แม่น้ำสุริยะภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง เป็นต้น เป็นปลาที่ได้รับความนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยในสถานที่เลี้ยงจะนิยมกินอาหารสด เช่น ไรน้ำ, ไรทะเล, หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ และสามารถฝึกให้กินอาหารเม็ดได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแป้นหัวโหนก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแป้นแก้ว

ปลาแป้นแก้ว (Siamese glassfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแป้นแก้ว (Ambassidae) มีลำตัวตัวใสหรือสีขาวคล้ายสีข้าวเม่า มีครีบหลัง 2 อัน ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบแข็งเป็นหนานแหลมอยู่ 7 ก้าน ครีบหลังอันที่สองมีเฉพาะก้านครีบฝอย ครีบก้นมีก้านครีบที่เป็นหนานแหลมอยู่ 3 ก้าน มีเกล็ดกลมบางใสและหลุดง่าย ลักษณะเนื้อโปร่งใสจนมองเห็นอวัยวะภายใน ตามลำตัวมีจุดสีดำอยู่ทั่วไป มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 เซนติเมตร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูงในแหล่งน้ำทั่วไป พบกระจายพันธุ์ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน มักจับได้ในปริมาณทีละมาก ๆ โดยใช้แสงไฟล่อเพื่อให้ปลามากินแมลงบนผิวน้ำ นิยมใช้บริโภคกันในท้องถิ่น อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามอีกด้วย โดยการฉีดสีเข้าไปในตัวปลาเป็นสีสันต่าง ๆ เช่น สีน้ำเงิน, สีเหลือง, สีส้ม หรือสีแดง เพื่อประโยชน์ทางการค้า โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า "ปลาเรนโบว์" รือ "ปลาสายรุ้ง" ซึ่งสีเหล่านี้ก็จะจางและซีดลงไปเองตามเวลา ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "ปลาข้าวเม่า" หรือ "คับของ" หรือ "แว่น" ในภาษาเหนือ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแป้นแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแป้นแก้วรังกา

ปลาแป้นแก้วรังกา (Ranga glassfish, Indian glassfish, Indian glassy fish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแป้นแก้ว (Ambassidae) ในอันดับปลากะพง (Perciformes) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีลำตัวโปร่งแสงเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ในสกุลเดียวกัน จัดเป็นปลาล่าเหยื่อขนาดเล็ก ขนาดโดยเฉลี่ย 3-4 เซนติเมตร พบใหญ่เต็มที่ 8 เซนติเมตร กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก อาศัยหากินเป็นฝูงในบริเวณกลางน้ำ พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ จนถึงประเทศญี่ปุ่น ในประเทศไทยพบได้เฉพาะแม่น้ำสาละวิน อันเป็นพรมแดนติดกับประเทศพม่า นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยอาจมีการฉีดสีเข้าไปในตัวปลาทำให้เกิดเป็นสีสันต่าง ๆ เช่น เหลือง, แดง, น้ำเงิน, ส้ม เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแป้นแก้วรังกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแป้นเขี้ยว

ปลาแป้นเขี้ยว (Toothed ponyfish, Toothed soapy) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแป้น (Leiognathidae) มีลำตัวป้อมสั้นเป็นสีขาวเงิน ด้านข้างแบน นัยน์ตาโต ปากมีขนาดเล็ก ปากสามารถยืดหดได้คล้ายปลาแบบทั่ว ๆ ไป มีฟันเขี้ยวตรงบริเวณริมฝีปากบนและล่าง บริเวณลำตัวมีเกล็ดเล็กแต่ส่วนหัวและครีบใต้หูไม่มีเกล็ด ครีบหลังมีก้านครีบแข็งแล้วต่อด้วยก้านครีบอ่อนเช่นเดียวกับครีบก้น ครีบหางเว้าแฉกเข้าด้านใน ส่วนบนของลำตัวจะมีลายเส้นสีน้ำตาลทองและมีรอยแต้มสีแดงและสีน้ำเงิน บริเวณครีบอกครีบก้นจะมีแถบสีเหลืองอยู่ตรงบริเวณตอนส่วนหน้าของครีบ จัดเป็นปลาขนาดเล็กมีความยาวประมาณ 6-12 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 21 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแถบชายฝั่งหรือปากแม่น้ำ เป็นปลาที่กินสัตว์น้ำขนาดเล็กรวมถึงสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, หมู่เกาะริวกิว และออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เช่น บางปะกง, ชลบุรี, สมุทรปราการ, ภูเก็ต, ระนอง, พังงา เป็นต้น เป็นปลาที่มักถูกทำเป็นปลาเป็ด คือ ปลาป่นสำหรับทำอาหารสัตว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแป้นเขี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแนนดัส

ปลาแนนดัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาเสือดำ (Nandidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Nandus (/แนน-ดัส/) เป็นปลาขนาดเล็ก มีรูปร่างคล้ายใบไม้ ลำตัวแบนข้างมาก หัวโต ปากกว้างและยืดหดได้ ขากรรไกรบนยาวถึงหลังนัยน์ตา เยื่อที่ริมกระดูกแก้มแต่ละข้างแยกกันเป็นอิสระ มีกระดูกเป็นซี่แข็งปลายแหลมหนึ่งอันอยู่บนกระดูกแก้ม ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแหลม จำนวน 15-16 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 11-12 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแอหลม จำนวน 3 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน เกล็ดเป็นแบบสากขอบหยัก เส้นข้างลำตัวแยกออกเป็น 2 ตอน พบปลาขนาดเล็ก แม้จะมีสีสันไม่สวยงาม แต่ก็ยิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มักอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีไม้น้ำและพืชน้ำขึ้นหนาแน่น โดยมักจะอยู่นิ่ง ๆ จนดูคล้ายใบไม้ เพื่อรอดักเหยื่อซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงเกาะบอร์เนียว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาแนนดัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบขนุน

ปลาใบขนุน หรือที่นิยมเรียกและรู้จักกันในชื่อภาษาแต้จิ๋วว่า ปลาอังนั้ม (乳香鱼; False trevally, Milkfish, Whitefish, Butterfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lactarius lactarius อยู่ในวงศ์ Lactariidae เป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้และวงศ์นี้ มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายกับปลาทู ซึ่งอยู่ในวงศ์ Scombridae คือ มีลำตัวป้อม แบนข้าง หัวโตปากกว้างและเชิดขึ้น มีฟันซี่เล็ก ๆ เรียงกันเป็นแผงอยู่บนขากรรไกรเพดานและลิ้น เกล็ดเป็นแบบบางเรียบขนาดใหญ่และหลุดง่าย มีครีบหลัง 2 ตอน ตอนที่ 2 ยาวและมีลักษณะคล้ายครีบก้นซึ่ง อยู่ตรงข้ามและยาวกว่าเล็กน้อย มีลำตัวสีเงินตลอด ที่ขอบด้านบนของแผ่นปิดเหงือกมีจุดสีดำดูเด่น ครีบต่าง ๆ สีเหลืองอ่อน และมีสีน้ำเงินแทรกด้านหลังและท้องบริเวณหลัง เป็นปลากินเนื้อ มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง มักหากินตามชายฝั่งซึ่งบางครั้งอาจพบได้ในแถบน้ำกร่อย มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ 40 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไป คือ 15-30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ตอนใต้ทะเลญี่ปุ่น, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ และฟิจิ ในน่านน้ำไทย พบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ปลาใบขนุนที่ตลาดสดของรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง เนื้อมีรสชาติดี นิยมนำมาบริโภคด้วยการปรุงสด ปลาใบขนุนยังมีมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกเช่น "ปลาขนุน", "ปลาซับขนุน", "ปลาสาบขนุน" หรือ "ปลาญวน" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาใบขนุน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบโพ

ปลาใบโพ (หรือสะกดว่า ปลาใบโพธิ์) หรือ ปลาใบปอ หรือ ปลาแมลงปอ (Banded sicklefish, Concertina fish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาใบโพ (Drepaneidae) มีลำตัวป้อมสั้นเกือบกลม ด้านข้างแบน ดูคล้ายใบโพ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก สันหลังโค้งนูน หัวค่อนข้างใหญ่ จะงอยปากสั้น นัยน์ตาโต บริเวณระหว่างตาโค้งนูนออกมา ปากเล็กและยืดหดได้ มีฟันเล็กและแหลมคมบนขากรรไกรบนและล่าง ลำตัวด้านบนสีขาวปนเทาและมีจุดเล็ก ๆ สีส้มเรียงเป็นแถวขวางลำตัวจำนวน 4-11 แถว ซึ่งแตกต่างจากปลาใบโพจุด (D. punctata) ที่มีแถบสีเทาเรียงในลักษณะเดียวกัน ปลาวัยอ่อนจะมีแถบสีดำในบริเวณที่เป็นจุดสีส้ม มีความยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 40 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำที่เป็นกรวดทรายใกล้แนวปะการังและแหล่งน้ำกร่อย กินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงออสเตรเลียตอนเหนือ ในประเทศไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน จัดเป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาใบโพ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบโพจุด

ปลาใบโพจุด (หรือสะกด ปลาใบโพธิ์จุด) (Spotted sicklefish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาใบโพ (Drepaneidae) มีลำตัวป้อมสั้นเกือบกลม ด้านข้างแบน ดูคล้ายใบโพ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก สันหลังโค้งนูน หัวค่อนข้างใหญ่ จะงอยปากสั้น นัยน์ตาโต บริเวณระหว่างตาโค้งนูนออกมา ปากเล็กและยืดหดได้ มีฟันเล็กและแหลมคมบนขากรรไกรบนและล่าง ลำตัวด้านบนสีขาวปนเทาและมีจุดเล็ก ๆ สีส้มเรียงเป็นแถวขวางลำตัวจำนวน 4-11 แถว ปลาวัยอ่อนจะมีแถบสีดำในบริเวณที่เป็นจุดสีส้ม มีความยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 40 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำที่เป็นกรวดทรายใกล้แนวปะการังและแหล่งน้ำกร่อย กินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงออสเตรเลียตอนเหนือ ในประเทศไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน จัดเป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาใบโพจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบไม้อเมริกาใต้

ปลาใบไม้อเมริกาใต้ หรือ ปลาใบไม้อเมซอน (Amazon leaffish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monocirrhus polyacanthus ในวงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้ (Polycentridae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวกันที่อยู่ในสกุล Monocirrhus ปลาใบไม้อเมริกาใต้ เป็นปลาที่เป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีว่าสามารถพรางตัวให้กับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยได้อย่างดีเยี่ยม โดยมีรูปร่างเหมือนใบไม้ที่มีทั้งก้านและแขนงจริง ๆ ด้วยว่าที่ปลายปากมีติ่งเล็ก ๆ อยู่ด้วย มีถิ่นที่อยู่ในแม่น้ำสาขาของแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ เป็นที่รู้จักครั้งในปี ค.ศ. 1840 จากการบรรยายของ โจฮานน์ จาคอบ เฮกเคล นักชีววิทยาชาวออสเตรีย โดยได้บรรยายลักษณะทางกายภาพเกี่ยวกับปลาชนิดนี้ไว้ว่า มีสีเหลืองหรือสีแดง ส่วนหัวมีรูปทรงแบนข้าง ตอนปลายแหลม ด้านหน้ามีสัณฐานเว้า ตามีขนาดเล็ก ปากใหญ่ ก้านครีบอกทุกก้านสั้น ปรากฏแถบเล็กสีน้ำตาล 3 แถบ เริ่มต้นจากตา แถบนึงลงข้างล่าง อีก 2 แถบแตกไปทางด้านหลัง ปรากฏแถบหนากลางลำตัว และปรากฏแถบที่ตอนล่างของครีบหาง ก้านครีบอกเป็นก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 20 ก้านครีบ ครีบท้องประกอบด้วยก้านครีบแข็ง 1 ก้านครีบต่อด้วยก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 4 ก้านครีบ ครีบหลังประกอบด้วยก้านครีบแข็ง 17 ก้านครีบต่อด้วยก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 12 ก้านครีบ ก้านครีบก้นประกอบก้วยก้านครีบแข็ง 13 ก้านครีบต่อด้วยก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 12 ก้านครีบ และเป็นปลาที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว จากนั้นในปี ค.ศ. 1921 คาร์ล เอ.อีเกนแมนน์ และ วิลเลียม เรย์ อัลเลน ได้สำรวจป่าดิบชื้นในอเมริกาใต้ ได้เก็บตัวอย่างที่มีชีวิตของปลาชนิดนี้ไว้ 3 ตัว โดยพบเห็นครั้งแรกด้วยความเข้าใจผิดคิดว่าเป็นใบไม้ที่ลอยน้ำจริง ๆ ปลาใบไม้อเมริกาใต้ มีพฤติกรรมมักลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ บริเวณผิวน้ำหรือบริเวณตอนบนของผิวน้ำ เพื่อรอดักอาหาร ได้แก่ ลูกปลาหรือกุ้งขนาดเล็ก มักจะอยู่รวมกันเป็นฝูง และอาศัยอยู่ในสภาพน้ำที่มีความเป็นกรด (ประมาณ 5-6 pH) ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 8 เซนติเมตร ปลาตัวเมียวางไข่ประมาณ 300 ฟอง และไข่จะฟักเป็นตัวในเวลาประมาณ 3 วัน โดยที่ปลาตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าปลาตัวผู้ ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วยความแปลกและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาใบไม้อเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโมลา

ปลาโมลา เป็นสกุลของปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดใหญ่สกุล Mola จัดอยู่ในวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ (Molidae) โดยคำว่า Mola มาจากภาษาละติน แปลว่า "หินโม่" ปลาโมลา เป็นปลารูปร่างลักษณะประหลาด เนื่องจากมีรูปร่างเป็นทรงกลม ส่วนหัวมีขนาดใหญ่จนดูคล้ายมีแต่เพียงหัวอย่างเดียว ขณะที่ส่วนครีบต่าง ๆ ถูกหดสั้นลง โดยส่วนครีบหลังมีขนาดใหญ่ตั้งยาวขึ้นไปข้างบน และครีบก้นให้มีขนาดใหญ่ยื่นยาวลงมาด้านล่างลำตัว เมื่อว่ายน้ำจะใช้ครีบทั้ง 2 โบกไปมา ในขณะครีบข้างลำตัวทรงโค้งจะมีขนาดเล็กและบาง ๆ เท่านั้น ขณะที่ครีบหางจะหดสั้นเข้ามาติดตอนท้ายของลำตัวที่หดสั้นจนดูว่าเป็นปลาที่มีแต่ส่วนหัว ปลาโมลา เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ อาจยาวได้ถึง 3.2 เมตรหรือ 4 เมตร และมีน้ำหนักมากกว่า 2 ตัน จัดเป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้ามากด้วย มีผิวหนังที่หนาและยืดหยุ่น เป็นปลาที่มีปรสิตเกาะตามลำตัวมากถึง 40 ชนิด ดังนั้น จึงมีพฤติกรรมลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ กลางน้ำเพื่อให้ปลาขนาดเล็กต่าง ๆ มาเกาะกินปรสิตตามตัว รวมถึงกระทั่งลอยไปถึงผิวน้ำเพื่อให้นกนางนวลจิกกินปรสิตด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโมลา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรซี่บาร์บ

ปลาโรซี่บาร์บ (Rosy barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียใต้ มีลำตัวเพรียวยาวและแบนข้าง พื้นลำตัวมีสีแดงอมส้ม แผ่นหลังสีเขียวมะกอก เกล็ดมีขนาดเล็กเป็นมันแวววาวระยิบระยับ ลำตัวบริเวณใกล้โคนหางมีจุดสีดำอยู่ ข้างละ 1 จุด เพศผู้จะมีสีแดงเข้มและหางยื่นยาวกว่าเพศเมีย จัดเป็นปลาขนาดเล็ก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 14 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 3-4 เซนติเมตร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง กระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย บริเวณรัฐอัสสัมและรัฐเบงกอล นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ เช่น ปลาเสือสุมาตรา (Puntigrus tetrazona), ปลาเสือข้างลาย (P. partipentazona) เป็นต้น สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยงเช่นเดียวกับปลาวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ โดยปลาจะมีพฤติกรรมผสมพันธุ์เป็นหมู่ ไข่จะฟักเป็นตัวในเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง โดยจะวางไข่ติดกับพืชไม้น้ำหรือสาหร่าย ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันสวยงามกว่าปลาที่พบในธรรมชาติ และมีครีบต่าง ๆ ที่ยาวกว่าเพื่อเพิ่มความสวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโรซี่บาร์บ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรนันยักษ์

ปลาโรนันยักษ์ (Wedgefishes) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่จำพวกหนึ่ง ในกลุ่มปลากระเบน จัดอยู่ในวงศ์ Rhynchobatidae และสกุล Rhynchobatus โดยแยกออกจากปลาโรนันซึ่งอยู่ในวงศ์ Rhinobatidae อีกที (โดยในบางแหล่งข้อมูลยังคงจัดให้อยู่รวมกัน) พบกระจายพันธุ์ในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของอินโด-แปซิฟิก โดยมีเป็นบางชนิดที่พบในมหาสมุทรแอตแลนติกแถบตะวันออก โดยเป็นปลาที่ถูกประเมินไว้จากสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) แล้วว่าทุกชนิดตกอยู่ในสภานะของการเสี่ยงหรือล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์หรือใกล้สูญพันธุ์ เป็นปลาขนาดใหญ่ ความยาวที่สุดที่พบคือ 3 เมตร (9.8 ฟุต) จัดว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มปลากระเบนที่มีขนาดใหญ่ที่สุด แต่ขนาดเล็กที่สุดมีความยาวเพียงครึ่งเดียว ทุกชนิดมีความคล้ายคลึงกันโดยมองอย่างผิวเผิน โดยสามารถจำแนกออกจากกันด้วยการพิจารณาลักษณะโดยรวมของส่วนปลายจมูก, การนับกระดูกสันหลัง ตลอดจนสีตามลำตัว (การกระจายตัวของจุดสีขาว และการมีหรือไม่มีฐานสีดำที่ใต้ครีบอก).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโรนันยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรนันหัวใส

ปลาโรนันหัวใส หรือ ปลาโรนันจิ้งจก เป็นสกุลของปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาโรนัน ที่อยู่ในสกุล Rhinobatos (/ไร-โน-บา-ตอส/) จัดเป็นปลาโรนันขนาดเล็ก ในประเทศไทยพบมากแถบทะเลอันดามัน เรือประมงจะสามารถจับได้ครั้งละ 4–5 ตัว ในการออกเรือแต่ละครั้ง เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีขายกันตามตลาดปลาทะเลทั่วไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโรนันหัวใส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโลมาน้อย

ปลาโลมาน้อย หรือ ปลาโลมาน้ำจืด หรือ ปลางวงช้างจมูกสั้น (Elephant-snout fish, Dolphin mormyrid, Bottlenose mormyrid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mormyrus kannume อยู่ในวงศ์ปลางวงช้าง (Mormyridae) มีรูปร่างเรียวยาว มีสีลำตัวเป็นสีน้ำตาลดำอมน้ำเงิน ตามีขนาดเล็กมาก มีลักษณะเด่น คือ บริเวณส่วนจมูกหรือจะงอยปากจะทู่สั้นกว่าปลาจำพวกเดียวกันสกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน โดยที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนส่วนจมูกจะสั้นและหนามากจนแทบมองไม่เห็น แต่จะยาวขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อปลาโตขึ้น แต่รูปร่างจะผอมเพรียว แต่ก็ยังสั้นและหนาอยู่ดี โดยที่ปากมีขนาดเล็กและอยู่สุดปลายของจะงอยปากที่งองุ้มลงด้านล่าง ครีบหลังยาวติดต่อกันจนถึงโคนครีบหาง โคนครีบหางยาว ครีบหางยาวแยกเป็น 2 แฉก มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร นับว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยใช้กระแสไฟฟ้าอ่อน ๆ ที่ปล่อยออกมาช่วยนำทางแทนตาซึ่งใช้การได้ไม่ดี กินอาหารจำพวก ไส้เดือนน้ำหรือหนอนแดงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ รวมถึงปลาหมอสีที่มีอยู่ดาษดื่นในถิ่นที่อยู่ ในเวลากลางคืน โดยอาจจะรวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ออกล่าอาหารร่วมกัน พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา เช่น ทะเลสาบวิกตอเรีย, ทะเลสาบคโยกา, ทะเลสาบมาลาวี, ทะเลสาบแทนกันยีกา, ลุ่มแม่น้ำไนล์ และแม่น้ำอติ ในประเทศเคนยา เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นที่นิยมอย่างมากเนื่องจากเป็นปลาที่ไม่ก้าวร้าวต่างกับปลาขนาดใหญ่ชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน อีกทั้งยังมีพฤติกรรมชอบเคลื่อนย้ายสิ่งของต่าง ๆ ในที่เลี้ยงด้วยการใช้ส่วนหัวดัน หรือเล่นลูกบอลที่ลอยเหนือน้ำได้ด้วย และเชื่องกับผู้เลี้ยงได้เมื่อคุ้นเคยกันดีแล้ว ซึ่งพฤติกรรมการแสดงออกที่แสนรู้เช่นนี้ประกอบกับส่วนหัวที่แลดูคล้ายโลมา ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล จึงทำให้เป็นที่มาของชื่อสามัญที่ใช้เรียกขานกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโลมาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโอรีโนโกพีค็อกแบส

ปลาโอรีโนโกพีค็อกแบส (Orinoca peacock bass; ชื่อท้องถิ่น: Tucanare) ปลาน้ำจืดขนาดกลางค่อนไปทางใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาหมอออสเซลาริส (C. ocellaris‎) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน ต่างกันที่ปลาโอรีโนโกพีค็อกแบสจะไม่มีแถบสีดำที่ลำตัว และไม่มีจุดสีดำที่เหนือแผ่นปิดเหงือก มีขนาดโตเต็มที่ได้ 61.7 เซนติเมตร แพร่กระจายพันธุ์เฉพาะแม่น้ำโอรีโนโก ในประเทศเวเนซุเอลา และโคลอมเบีย และแม่น้ำริโอเนโกร ในประเทศบราซิล โดยพบกระจายอยู่ทั้งในบริเวณที่ใกล้ชายฝั่ง และในร่องน้ำลึก รวมทั้งบึงที่มีส่วนติดต่อกับแม่น้ำสายใหญ่ด้วย ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำที่ปลาอาศัยอยู่ที่ระหว่าง 5.5-6.5 pH อุณหภูมิประมาณ 27-23 องศาเซลเซียส จากการศึกษาพบว่า ปลาโอรีโนโกพีค็อกแบสกินอาหารหลัก คือ ปลาในกลุ่มปลาคาราซิน และแมลง รวมถึงสัตว์น้ำมีกระดองแข็งด้วย เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา เป็นปลาที่ใช้บริโภค โดยพบขายในตลาดสดท้องถิ่น และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโอรีโนโกพีค็อกแบส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโอดำ

ปลาโอดำ หรือ ปลาโอหม้อ หรือ ปลาทูน่าน้ำลึก (longtail tuna, northern bluefin tuna) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอหรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง เป็นปลาผิวน้ำที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงเช่นเดียวกับปลาชนิดอื่นในวงศ์นี้ทั่วไป มีลำตัวค่อนข้างกลมและยาวเพรียวแบบกระสวย ครีบหลังที่แยกออกจากกันเป็นสองอันและอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อยเท่าขนาดความ ยาวของตา ครีบอกหลังยาวมาก ครีบท้องตั้งอยู่ในแนวเดียวกับครีบอก ครีบก้นอยู่เยื้องครีบหลังอันที่สองเล็กน้อย ครีบหางใหญ่เว้าลึกเป็นรูปวงเดือน มีเกล็กเล็กละเอียดอยู่บริเวณแนวท้อง มีจุดสีขาวเรียงกันเป็นแถวไปตามความยาวของส่วนท้อง ครีบฝอยของครีบหลังและครีบก้นมีสีเทาแกมเหลือง มีความยาวประมาณ 40-70 เซนติเมตร มีขนาดความยาวใหญ่สุดถึง 145 เซนติเมตร น้ำหนักกว่า 35.9 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทะเลแดงและแอฟริกาตะวันออกถึงนิวกินี, ทะเลญี่ปุ่นตอนเหนือ จนถึงตอนใต้ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ในน่านน้ำไทยพบทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่หากินบริเวณผิวน้ำ โดยล่าปลาหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่ง เนื้อสามารถทำไปปลาดิบในอาหารญี่ปุ่นได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโอดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโอด์ไวฟ์

ปลาโอด์ไวฟ์ (Old wife) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Enoplosidae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) จัดเป็นปลาเพียงสกุลเดียวและชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ ปลาโอล์ไวฟ์ มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) หรือวงศ์ปลาอมไข่ (Apogonidae) โดยมีลายพาดสีดำสลับขาวคล้ายม้าลายตลอดทั้งลำตัว และครีบ หากแต่มีพิษที่ก้านครีบหลัง เมื่อถูกแทงเข้าจะเจ็บปวดมาก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร เป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะคุ้งเกรทออสเตรเลีย ที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศออสเตรเลีย เท่านั้น จัดเป็นปลาเฉพาะถิ่นชนิดหนึ่ง มีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำบ้าง เป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร โดยที่มาของชื่อนั้น มาจากปลาชนิดนี้เมื่อถูกจับขึ้นมาแล้ว จะส่งเสียงร้องได้ เกิดจากเสียงของฟันที่ขบกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโอด์ไวฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโอแถบ

ปลาโอแถบ หรือ ปลาทูน่าท้องแถบ (Skipjack tuna, Arctic bonito, Striped tuna, Victor fish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอหรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Katsuwonus มีรูปร่างกลมและยาวเพรียวแบบรูปกระสวย ปากกว้าง นัยน์ตาขนาดปานกลาง ครีบหลังอันที่สองมีขนาดเล็กและไม่สูงครีบหูมีขนาดเล็ก ปลายแหลมเรียว ครีบท้องเล็ก ครีบก้นมีจุดเริ่มต้นอยู่ประมาณกลางครีบหลังอันที่สอง มีเกล็ดเฉพาะบริเวณใต้ครีบหลังอันแรกและบริเวณเส้นข้างลำตัวมีแถบสีดำ ประมาณ 4-6 แถบ อยู่ใต้เส้นข้างตัว แลดูเด่นเป็นลักษณะเฉพาะ เป็นปลาที่มีพฤติกรรมรวมฝูงขนาดใหญ่เป็นพันหรือหมื่นตัวกันหากินตามผิวน้ำ และชอบกระโดดพร้อมกันทีเดียว มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 40-80 เซนติเมตร โตเต็มที่ได้ถึง 110 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีการกระจายพันธุ์กว้างขวางมาก ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ในน่านน้ำไทยจะพบชุกชุมที่ทะเลอันดามันแถบจังหวัดระนอง, พังงา, ภูเก็ตถึงสตูล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโอแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโจก

ปลาโจก (Soldier river barb) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cyclocheilichthys (/ไซ-โคล-ไคล-อิค-ธีส/; เฉพาะชนิด C. apogon, C. armatus และ C. raspasson ใช้ชื่อสกุลว่า Anematichthys) โดยคำว่า Cyclocheilichthys มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า κύκλος (kýklos) หมายถึง "วงกลม", χείλος (cheílos) หมายถึง "ริมฝีปาก" และ ἰχθύς (ikhthús) หมายถึง "ปลา" ซึ่งมีความหมายถึง ริมฝีปากของปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวม คือ มีรูปร่างเหมือนปลาในวงศ์นี้ทั่วไป ส่วนหัวแหลม ลำตัวยาวเรียว แบนข้างเล็กน้อย บางชนิดมีหนวด 2 คู่ บางชนิดมีหนวด 1 คู่ หรือไม่มีหนวดเลย บริเวณแก้มและจะงอยปากมีตุ่มประสาทเล็ก ๆ เรียงกันเป็นแถว เกล็ดตามแนวเส้นข้างลำตัวมีไม่เกิน 50 แถว มีลักษณะเด่นคือ ครีบหลังมีก้านครีบตอนหน้าแข็งยาวคล้ายเงี่ยงเห็นได้ชัดเจน และมีขอบจักเป็นฟันเลื่อย มีก้านครีบแขนง 8 ครีบ พื้นลำตัวโดยมากด้านหลังและครีบสีเทาอมฟ้า ส่วนอื่นสีเงิน แต่ก็มีบางชนิดที่เป็นสีอื่น เช่น สีแดง และมีลวดลายตามลำตัว ขนาดลำตัวแตกต่างกันไปตามชนิด มีตั้งแต่ 15 เซนติเมตร จนถึง 2 ฟุต มีทั้งหมด 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโจก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโจกไหม

ปลาโจกไหม เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ในสกุล Cyclocheilichthys มีรูปร่างคล้ายปลาตะโกก (C. enoplos) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ทว่ามีลำตัวที่ป้อมกว้างกว่า ลำตัวสีเงิน เกล็ดบริเวณเส้นข้างลำตัวมีลายเป็นแฉก ด้านหลังมีสีจางอมชมพู ครีบมีสีเหลืองอ่อน ๆ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 80 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบได้เฉพาะลุ่มแม่น้ำโขงเท่านั้น มีพฤติกรรมหากินในระดับพื้นน้ำ และเมื่อลูกปลาตัวอ่อนฟักออกมา จะเลี้ยงตัวกันในแหล่งน้ำหลาก เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น ถูกค้นพบและอนุกรมวิธาน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโจกไหม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรี

ำหรับโนรีที่หมายถึงนก ดูที่: นกโนรี สำหรับโนรีที่หมายถึงนักมวย ดูที่: โนรี จ๊อกกี้ยิม ปลาโนรี (Bannerfishes, Pennanfishes) เป็นสกุลของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Heniochus อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวสั้นแต่กว้างมาก หัวแหลม ปากเล็กอยู่ที่ปลายสุดจะงอยปาก ครีบหลังที่มีก้านแข็งราว 11-12 อัน ก้านครีบหลังอันที่ 4 ตอนแรกยื่นยาวเป็นเส้นยาวมากดูโดดเด่น ตัวมีสีสันสดสวยหัวและลำตัวมีพื้นสีขาวเงิน มีแถบสีดำเข้มพาดขวางราว 3 แถบ มีทั้งหมด 8 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโนรี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีหน้าหัก

ปลาโนรีหน้าหัก หรือ ปลาโนรีเขา (Phantom bannerfish, Indian Ocean bannerfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus pleurotaenia ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างเหมือนปลาโนรีหลังเหลือง (H. singularius) คือ มีครีบหลังที่ไม่ยื่นยาว มีจุดเด่น คือ บริเวณหน้าผากมีอวัยวะแข็งคล้ายเขาหรือนอแหลมยื่นออกมาบริเวณเหนือดวงตา มีครีบแข็งตั้งบนหลัง ไม่มีครีบยาวยื่นออกมาเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ครีบหลังยกสูง ลำตัวมีสีออกน้ำตาลคาดขาว-ดำ เมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน ครีบหลังจะยกสูง จนดูทำให้มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรเอ (A) เป็นปลาที่พบในเขตน้ำลึกกว่าปลาโนรีชนิดอื่น ๆ พบเจอตัวได้ยากกว่า มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 17 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ มัลดีฟส์, เกาะชวา, ศรีลังกา, ทะเลอันดามันตอนเหนือ แม้เป็นปลาที่ไม่สวยงาม แต่ก็มีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโนรีหน้าหัก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีครีบยาว

ปลาโนรีครีบยาว (Pennant coralfish, Longfin bannerfish, Coachman, Black and White Heniochus, Poor mans' moorish idol, Black and White bannerfish, Featherfin bullfish) เป็นปลาทะเลจำพวกปลาโนรีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus acuminatus อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) เป็นปลาที่สังเกตและแยกแยะได้ง่าย เพราะมีครีบหลังยาวออกมาเป็นเส้น ลำตัวเป็นลายสีขาวดำ ครีบและหางมีสีเหลือง ลักษณะคล้ายกับปลาโนรีอีกชนิดหนึ่ง คือ ปลาโนรีเกล็ด (H. diphreutes) แต่ปลาโนรีเกล็ดนั้นมีลำตัวที่ค่อนข้างกลมกว่า มีความยาวเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มักหากินกระจัดกระจายตามลำพังบ้าง เป็นคู่บ้าง หรือบางทีก็พบรวมกันเป็นฝูง ตามกองหินและแนวปะการัง เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย กินอาหารได้ง่าย และมีพฤติกรรมที่ไม่ก้าวร้าว แต่ยังเป็นปลาที่ต้องจับมาจากแหล่งน้ำธรรมชาติในทะเล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโนรีครีบยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีครีบสั้น

ปลาโนรีครีบสั้น หรือ ปลาโนรีหลังเหลือง (Singular bannerfish, Philippine kabubu) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus singularius ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีรูปร่างใหญ่กว่า มีครีบบนหลังสั้นกว่ามากและบริเวณท้ายลำตัวมีสีออกเหลืองเข้มกว่า มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบในความลึกประมาณ 2-40 เมตร ชอบอยู่ในแหล่งน้ำที่ค่อนข้างขุ่นกว่าปลาโนรีชนิดอื่น กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ หมู่เกาะอันดามัน, มหาสมุทรอินเดีย, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น และนิวแคลิโดเนีย เป็นต้น เป็นปลาที่แลดูแล้วไม่สวยเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ๆ แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถูกจับปะปนมากับปลาโนรีชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโนรีครีบสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีเกล็ด

ปลาโนรีเกล็ด หรือ ปลาโนรีเทวรูปปลอม (Schooling bannerfish, False moorish idol) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus diphreutes ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) จัดเป็นปลาโนรีอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสวยงาม มีลักษณะและรูปร่างคล้ายเคียงกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) มาก แต่ปลาโนรีเกล็ดมีรูปร่างที่ป้อมกลมกว่า และมีตาที่ใหญ่และจมูกที่เล็กกว่า มีความยาวเต็มที่ประมาณ 18 เซนติเมตร มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ทำให้แลดูสวยงามบริเวณชายฝั่งหรือแนวปะการัง พบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลรอบ ๆ ทวีปแอฟริกา, ทะเลแดง, หมู่เกาะฮาวาย และออสเตรเลีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโนรีเกล็ด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีเทวรูป

ปลาโนรีเทวรูป หรือ ปลาผีเสื้อเทวรูป (Moorish idol) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zanclus cornutus จัดอยู่ในวงศ์ Zanclidae (มาจากภาษากรีกคำว่า zagkios หมายถึง ทแยง) และถือเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ และสกุล Zanclus ปลาโนรีเทวรูป มีลักษณะคล้ายคลึงกับปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มาก โดยเฉพาะกับปลาโนรี (Heniochus spp.) ซึ่งในอดีตเคยถูกจัดให้อยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ปัจจุบันได้มีการแยกออกมา แต่ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นผลมาจากการวิวัฒนาการที่มีมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปลาโนรีเทวรูปมีความใกล้เคียงกับปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) หรือปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มากกว่า มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) และปลาโนรีเกล็ด (H. diphreutes) มาก แต่มีลำตัวทางด้านท้ายเป็นสีเหลืองนวล จะงอยปากแหลมยาวกว่า ครีบหางมีสีดำ และสีครีบหางจะคล้ำและมีรอยคล้ายเขม่าที่บริเวณครีบหลัง ลักษณะเกล็ดแลดูเรียบเป็นมันเงา มีความยาวเต็มที่ประมาณ 22 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยจะได้พบในด้านทะเลอันดามัน ในต่างประเทศ พบได้กว้างขวางมาก ตั้งแต่ มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวแคลิฟอร์เนีย, อเมริกาใต้, ฮาวาย, ทะเลญี่ปุ่น, ไมโครนีเซีย, แอฟริกา หากินอยู่ตามแนวปะการังเช่นเดียวกับปลาผีเสื้อ และสามารถหากินได้ลึกถึงหน้าดินในความลึกถึง 182 เมตร ซ้ำยังมีพฤติกรรมออกหากินในเวลากลางวันเช่นเดียวกัน แต่เป็นปลาที่มักอาศัยอยู่ตามลำพังหรือไม่ก็เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ โดยกินฟองน้ำเป็นอาหารหลัก และสัตว์น้ำทั่วไปขนาดเล็ก ปลาวัยอ่อนมีขนาดค่อนข้างใหญ่ แต่ลำตัวโปร่งใส ใช้ชีวิตคล้ายกับแพลงก์ตอนคือ จะถูกกระแสน้ำพัดพาลอยไปไกลจากถิ่นกำเนิด จึงทำให้การแพร่กระจายพันธุ์เป็นไปอย่างกว้างขวาง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาผีเสื้อหรือปลาโนรี และสามารถเลี้ยงรวมกันได้ ซึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัย ปลาโนรีเทวรูปได้ถูกสร้างเป็นตัวละครตัวหนึ่งในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง Finding Nemo ของวอลต์ ดีสนีย์ ออกฉายในปี ค.ศ. 2003 โดยเป็นหัวหน้าฝูงปลาชื่อ กิลด์ (ให้เสียงพากย์โดย วิลเลม ดาโฟ) ในตู้กระจกภายในคลินิกทันตแพทย์ ปลาโนรีเทวรูป ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก ได้แก่ "ปลาผีเสื้อหนัง" หรือ "ปลาโนรีหนัง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาโนรีเทวรูป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์

ปลาไบเคอร์ หรือ ปลาบิเชียร์ (Bichir) ซึ่งเป็นชื่อที่นิยมเรียกกันในประเทศไทย เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับ Polypteriformes จัดเป็นปลาน้ำจืดที่มีโครงร่างแตกต่างไปจากปลากระดูกแข็งและปลากระดูกอ่อนทั่วไป โดยเป็นปลาที่มีพัฒนาการมาจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ คือ ในส่วนของกระดูกแข็งนั้นพบว่ามีกระดูกอ่อนเป็นจำนวนมาก มีช่องน้ำออก 1 คู่ และภายในลำไส้มีลักษณะขดเป็นเกลียว ซึ่งจะเป็นลักษณะเฉพาะของปลาในกลุ่มฉลามและกระเบน ทั้งยังมีเหงือกแบบพิเศษอยู่หลังตาแต่ละข้าง เกล็ดเป็นแบบกานอยด์ ซึ่งเป็นเกล็ดที่พบในปลามีกระดูกสันหลังในยุคแรก มีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมรูปว่าวและมีส่วนยื่นรับกับข้อต่อ ระหว่างเกล็ดแต่ละชิ้น ซึ่งปัจจุบันจะพบปลาที่มีลักษณะเช่นนี้ ได้แก่ ปลาในอันดับปลาเข็ม, ปลาฉลามปากเป็ดและปลาสเตอร์เจียน เป็นต้น หัวมีขนาดเล็กแต่กว้าง ช่วงลำตัวรวมกับส่วนอก ลำตัวมีลักษณะเรียวยาวคล้ายกับงูมากกว่าจะเหมือนปลาทั่วไป ส่วนอกนั้น มีครีบที่ค่อนข้างแข็งแรง มีลักษณะเป็นฐานพูเนื้อคลุมด้วยเกล็ด คอยช่วยยึดเส้นครีบทั้งหลายที่แผ่ออกมาเป็นแฉก ๆ เหมือนจานพังผืด ซึ่งช่วยในการเคลื่อนไหวในพื้นน้ำเหมือนกับการเดินคล้ายกับปลาซีลาแคนท์ ในส่วนท้องจะมีถุงลม 2 ถุง ช่วยในการหายใจทำหน้าที่คล้ายกับปอด ถุงลมด้านซ้ายมีการพัฒนาน้อยกว่าด้านขวา เช่นเดียวกับปลาปอด ตั้งอยู่บริเวณช่องท้องโดยยึดติดกับหลอดอาหาร โดยที่ทำงานร่วมกับเหงือก ทำให้สามารถอยู่โดยปราศจากน้ำได้เป็นเวลาหลายชั่วโมงมีท่อจมูก สำหรับดมกลิ่น 2 ท่อ เนื่องจากเป็นปลาที่สายตาไม่ดี ต้องใช้การดมกลิ่นในการหาอาหาร ส่วนหลังจะมีชุดครีบ ประกอบไปด้วย 5-18 ครีบ ซึ่งรวมกันเป็นครีบหลัง แต่ละครีบนั้นจะมีแกนครีบเดี่ยว 1 แกน รองรับด้วยพังผืดเล็ก ๆ ในแต่ละครีบ ครีบหางมีลักษณะกลมใหญ่ปลายแหลม นับได้ว่าปลาไบเคอร์เป็นรอยต่อที่สำคัญที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการจากปลาขึ้นมาจากน้ำมาใช้ชีวิตอยู่บกอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งในช่วงฤดูแล้งหรือฤดูร้อน ที่แหล่งน้ำที่อยู่อาศัยเหือดแห้ง ปลาไบเคอร์สามารถที่จะขุดรูเข้าไปจำศีลในใต้พื้นดินเพื่อรอให้ถึงฤดูฝน เช่นเดียวกับปลาปอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไบเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์ลายบั้ง

ปลาไบเคอร์ลายบั้ง หรือ ปลาบิเชียร์ลายบั้ง (Barred bichir, Armoured bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิด Polypterus delhezi มีส่วนหัวที่เล็กกลม ขากรรไกรเล็กและแคบ กรามบนยื่นยาวกว่ากรามล่าง มีก้านครีบหลัง 13 ชิ้น ลักษณะเด่น คือ ตามลำตัวจะมีลายแถบเป็นบั้ง ๆ สีดำพาดตลอดทั้งตัวขนาดใหญ่ แลดูหนาชัดเจน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำคองโกตอนกลางและตอนบน ในแถบทวีปแอฟริกาตอนกลาง ปลาไบเคอร์ลายบั้ง นับเป็นปลาไบเคอร์อีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าถือได้ว่ามีราคาสูงพอสมควร ในขณะที่บางตัวเมื่อโตขึ้นมา ลวดลายอาจจะไม่ปรากฏเป็นลายบั้ง แต่อาจเป็นลายจุดหรือลายแต้มแทนก็ได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไบเคอร์ลายบั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์จุด

ปลาไบเคอร์จุด หรือ ปลาบิเชียร์จุด (Ornate bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Polypterus ornatipinnis มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงูผสมกับปลาช่อน (Channidae) มีขากรรไกรบนยื่นยาวกว่าขากรรไกรล่าง มีส่วนหัวขนาดกลมเล็ก ขากรรไกรมีขนาดเล็กและสั้น มีรูปร่างเพรียวยาวและบอบบาง มีก้านครีบหลังทั้งหมด 11 ก้าน มีลวดลายสีดำและเหลืองตามลำตัว มีขนาดใหญ่เต็มที่ได้ราว 60 เซนติเมตร นับเป็นปลาไบเคอร์ชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุด พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำคองโกและทะเลสาบแทนกันยีกาในแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันออก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม นับว่าเป็นปลาไบเคอร์ที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงกันได้แล้ว และยังมีมีการเพาะกันเป็นปลาเผือกได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไบเคอร์จุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์เซเนกัล

ปลาไบเคอร์เซเนกัล หรือ ปลาบิเชียร์เซเนกัล หรือ ปลาไบเคอร์ธรรมดา (Senagal bichir, Gray bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิด Polypterus senegalus มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหล มีส่วนหัวที่เล็ก ขากรรไกรเล็ก กรามบนยื่นยาวกว่ากรามล่าง ตามีขนาดเล็ก โดยปลาไบเคอร์ชนิดนี้เป็นปลาไบเคอร์ชนิดที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามมากที่สุด และแพร่หลายมากที่สุด สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้เป็นสีต่าง ๆ หลากหลายออกไปจากสีดั้งเดิมที่เป็นอยู่ คือ สีเขียวมะกอก ทั้งสีทองหรือสีเผือกตาแดง หรือแม้กระทั่งสีแพลทินัม รวมถึงเป็นปลาที่มีลำตัวสั้นกว่าปกติ หรือมีครีบหลังที่ยาวกว่าปกติด้วย มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำต่าง ๆ ในแอฟริกากลาง และยังสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย อีก คือ P. s. meridionalis ซึ่งยาวเต็มที่ประมาณ 21 เซนติเมตร และ P. s. senegalus.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไบเคอร์เซเนกัล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไวท์คลาวด์

ปลาไวท์คลาวด์ (White cloud mountain minnow; 唐魚; พินอิน: táng yu) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง มีลักษณะของลำตัวสีขาวออกเงิน ๆ แวววาว เวลามองจากด้านบนจะเป็นสีเงินอมเขียว กลางลำตัวมีแถบสีทองออกเงินพาดขวางลำตัว ครีบหางมีสีแดงสด ขณะที่ครีบอื่น ๆ จะมีสีเหลืองตรงขอบของครีบ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 4 เซนติเมตร ตัวผู้จะมีสีสดกว่าตัวเมียและลำตัวจะเพรียวกว่า เป็นปลาที่อยู่อาศัยเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์อยู่ทางแถบเทือกเขาสูงที่มีอุณหภูมิต่ำ ทางตอนใต้ของจีนติดต่อกับเวียดนาม ค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1930 โดยลูกเสือชาวจีน บนเขาไป๋หยุน ใกล้กับเมืองกวางเจา ในมณฑลกวางตุ้ง ซึ่งคำว่า "ไป๋หยุน" (白雲) นั้นหมายถึง "เมฆขาว" อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว ปลาจะวางไข่ติดกับใบของพืชน้ำ ไข่ใช้เวลาราว 36 ชั่วโมงในการฟักเป็นตัว ซึ่งปัจจุบัน จากการเพาะขยายพันธุ์สามารถทำให้เลี้ยงได้ในเขตโซนร้อน อีกทั้งยังสามารถให้มีสายพันธุ์ที่แปลกไปจากธรรมชาติ อาทิ สีเผือกทอง หรือที่มีครีบและหางยาวกว่าปกต.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไวท์คลาวด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไส้ตันสนธิรัตน

ปลาไส้ตันสนธิรัตน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ในสกุล Cyclocheilichthys มีลักษณะคล้ายกับปลาไส้ตันตาขาว (C. repasson) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่ทว่าปลาไส้ตันสนธิรัตนมีลำตัวที่กว้างกว่า ไม่มีหนวดที่มุมปาก เกล็ดมีขนาดเล็ก ลำตัวสีเงินแวววาวอมสีเหลืองอ่อน ท้องสีจาง ครีบมีสีเหลืองอ่อน มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10-15 เซนติเมตร พบเฉพาะลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนบนเท่านั้น โดยมีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ หากินตามพื้นน้ำ โดยกินพวกอินทรียสารและสัตว์หน้าดินขนาดเล็กเป็นอาหาร จัดเป็นปลาที่พบเห็นได้ไม่บ่อยนัก เป็นปลาที่ถูกค้นพบและอนุกรมวิธาน โดย ศ.สืบสิน สนธิรัตน นักวิชาการด้านมีนวิทยาชาวไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไส้ตันสนธิรัตน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลช่อ

ปลาไหลช่อ (Freshwater moray, Freshwater snowflake eel, Indian mud moray) เป็นปลากระดูกแข็งขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) เป็นปลาไหลมอเรย์ขนาดเล็ก มีลำตัวสีน้ำตาลเข้ม บางตัวอาจมีจุดสีขาวหรือเหลืองเล็ก ๆ กระจายไปทั่วลำตัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 2 ฟุต อายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปี พบกระจายพันธุ์ในเขตร้อนเช่น อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงอินโดนีเซีย จัดเป็นปลาที่อาศัยในทะเลที่ใกล้กับชายฝั่ง ในบางตัวอาจเข้าไปอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดเช่น ป่าชายเลนหรือตามปากแม่น้ำได้ เป็นปลาที่กินอาหารจำพวก ลูกปลาหรือปลาขนาดเล็กรวมทั้งเคยหรือกุ้งฝอยเป็นอาหาร โดยมักจะซ่อนตัวในท่อหรือโพรงต่าง ๆ ใต้น้ำ แล้วโผล่ออกมาเฉพาะแต่ส่วนหัว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่ไม่พบบ่อยมากนัก แต่ก็มีราคาซื้อขายที่ไม่แพง แต่ปลาที่นำมาเลี้ยงนั้นจะต้องผ่านการปรับน้ำให้ดีเสียก่อน มิฉะนั้นปลาจะไม่สามารถปรับตัวได้และอ่อนแอลงเรื่อย ๆ จนกระทั่งตายในที.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลช่อ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลกัลเปอร์

ปลาไหลกัลเปอร์ (Gulper, Gulper eel) เป็นวงศ์และสกุลของปลาทะเลน้ำลึกวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Saccopharyngidae (มาจากภาษาละติน "saccus" หมายถึง "ถุง" และภาษากรีก φάρυγξ, หมายถึง "คอหอย") ปลาไหลกัลเปอร์ เป็นปลาที่มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหล ลำตัวไม่มีเกล็ด มีลักษณะเด่น คือ มีปากกว้างใหญ่ มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่า 1 ใน 4 ของลำตัว ภายในปากมีฟันที่แหลมคมเต็มไปหมด มีหางยาวและไวต่อความรู้สึก ดวงตามีขนาดเล็ก มีลำตัวทั่วไปสีดำ และยาวได้เต็มที่ประมาณ 2 เมตร (6.5 ฟุต) พบได้ในระดับความลึก 1,800 เมตร (6,000 ฟุต) เป็นปลาที่เหมือนกับปลาใต้ทะเลลึกทั่วไป คือ กินอาหารได้หลากหลายชนิดไม่เลือก เนื่องจากเป็นสถานที่ ๆ อาหารหายาก ซึ่งด้วยปากที่กว้างใหญ่เช่นนี้ทำให้สามารถกินอาหารที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลกัลเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลมอเรย์ยักษ์

ปลาไหลมอเรย์ยักษ์ หรือ ปลาหลดหินยักษ์ (Giant moray) เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) มีรูปร่างเรียวยาวเหมือนปลาไหลมอเรย์ชนิดอื่น ๆ พื้นลำตัวสีเหลืองอมน้ำตาลแต้มด้วยจุดและลายสีน้ำตาลไหม้อยู่ทั่วไป ด้านข้างลำตัวบริเวณคอมีจุดสีดำเด่นชัดหนึ่งแห่ง ปลาไหลมอเรย์ยักษ์มีความยาวโดยเฉลี่ย 1.5 เมตร ยาวเต็มที่ได้ถึง 2.5-3 เมตร น้ำหนักถึง 36 กิโลกรัม นับเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, หมู่เกาะริวกิว, ฮาวาย, นิวแคลิโดเนีย, ฟิจิ, หมู่เกาะออสเตรียล มักซุกซ่อนตัวอยู่ตามซอกหินในแนวปะการัง โดยโผล่มาแค่เฉพาะส่วนหัว กินอาหาร ได้แก่ กุ้ง, ปู, ปลา และหมึกสาย ด้วยการงับด้วยกรามที่แข็งแรงและแหลมคม ปลาไหลมอเรย์ยักษ์ แม้จะมีรูปร่างหน้าตาที่น่ากลัว แต่ที่จริงแล้วเป็นปลาที่รักสงบ ไม่ดุร้าย แต่อาจทำอันตรายนักดำน้ำได้หากไปรบกวนถูก หรือเข้าใจผิดเพราะคิดว่าเป็นอาหาร ซึ่งอาจถูกกัดเป็นแผลเหวอะหวะถึงขั้นนิ้วขาดได้ และจะมีฤดูกาลที่ดุร้าย คือ ฤดูผสมพันธุ์ นอกจากนี้แล้วในเนื้อจะมีสารพิษซิกัวเทอรา ความยาวทั้งตัวในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ เป็นปลาไหลมอเรย์อีกชนิดหนึ่ง ที่เป็นที่นิยมของนักประดาน้ำ และเลี้ยงแสดงไว้ในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลมอเรย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลมอเรย์ลายเมฆ

ปลาไหลมอเรย์ลายเมฆ หรือ ปลาหลดหินลายเมฆ (Snowflake moray, Starry moray, White moray, Clouded moray) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) มีลำตัวเรียวยาว ปลายหางแหลม ส่วนหัวสั้นทู่กว่าปลาไหลมอเรย์ชนิดอื่น จะงอยปากสีเทา ลำตัวมีสีเทาอ่อน มีลายและจุดสีน้ำตาลเข้มกระจายอยู่เป็นรอยเลอะ ๆ ทั้งตัว ส่วนหัวมีลายสีเหลืองสลับกับสีน้ำตาลดำ มีความยาวโดยเฉลี่ย 80 เซนติเมตร พบยาวที่สุดได้ถึง 100 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในซอกหินในแนวปะการังน้ำตื้น เป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อย ในเขตอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, ไมโครนีเซีย จนถึงอ่าวแคลิฟอร์เนีย, อ่าวเม็กซิโก และอเมริกาใต้ ในเขตน่านน้ำไทย จะพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลมอเรย์ลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลมอเรย์หน้าปาน

ปลาไหลมอเรย์หน้าปาน หรือ ปลาหลดหินหน้าปาน (Darkspotted moray, Fimbriated moray, Yellowhead eel) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) มีลำตัวเรียวยาวอวบ ปลายหางเรียวหัวและลำตัวมีสีเหลืองอมเทา มีด่างสีคล้ำบนใบหน้าและเป็นแต้มขนาดใหญ่บนลำตัว ครีบต่าง ๆ ไปจนถึงปลายหางมีสีดำมากขึ้น ปลาขนาดใหญ่มีสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มมากขึ้น มีความยาวเต็มที่ประมาณ 80 เซนติเมตร กินอาหารประเภท ปลา, กุ้ง, ปู และหมึกสาย มีพฤติกรรมรอเหยื่ออยู่ในเขตน้ำตื้นหรือบริเวณชายฝั่ง อาศัยอยู่ในแนวปะการังน้ำตื้นและหาดหิน กระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก และมาดากัสการ์ ไปจนถึงออสเตรเลีย และไมโครนีเซีย ในน่านน้ำไทยเป็นปลาที่พบได้ในเขตทะเลอันดามัน เป็นปลาที่พบได้บ่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลมอเรย์หน้าปาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลมอเรย์ตาขาว

ปลาไหลมอเรย์ตาขาว หรือ ปลาหลดหินตาขาว (White-eyed moray, Slender moray, Greyface moray) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลมอเรย์ยักษ์ (G. javanicus) แต่มีลำตัวเรียวกว่า ฟันเขี้ยวเล็กกว่า ผิวหนังเรียบ ลำตัวสีเหลืองอ่อนถึงเหลืองสด มีจุดด่างสีคล้ำหรือน้ำตาลเข้มกระจายทั่วลำตัว ใต้ท้องและใต้คอมีสีจาง มีม่านตาสีขาวชัดเจน ตาสีดำ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 80 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ในซอกหินตามแนวปะการังเป็นคู่ ซึ่งอาจจะอยู่รวมกับปลาไหลมอเรย์ชนิดอื่นได้ ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบอินโด-แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลมอเรย์ตาขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลริบบิ้น

ปลาไหลริบบิ้น (Ribbon eel, Black leafnosed moray eel, Black ribbon eel, Ribbon moray) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) และจัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinomuraena จัดเป็นปลาไหลมอเรย์ขนาดเล็ก มีสีสันสดใส และสามารถเปลี่ยนเพศได้ตามวัย นั้นคือเมื่อยังเล็ก ลำตัวเป็นสีดำ โดยที่ไม่สามารถรู้ได้ว่าเป็นตัวผู้หรือตัวเมีย แต่เมื่อโตขึ้นลำตัวเป็นสีน้ำเงินและเป็นตัวผู้และเมื่อมีอายุมากขึ้นอีกลำตัวเป็นสีเหลืองและกลายเป็นตัวเมีย กินสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร โดยปลาไหลจะยืดตัวออกจากรูเพื่อหาอาหาร โดยปกติจะซ่อนตัวอยู่ในรูตามพื้นทะเล ซึ่งเป็นทราย มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 1 เมตร เป็นปลาที่พบได้น้อย กระจายพันธุ์อยู่ในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยก็พบได้น้อย โดยพบได้ทั้งทางฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย เช่น เกาะเต่า, หมู่เกาะสิมิลัน เป็นต้น เป็นปลาที่สร้างสีสันให้แก่การดำน้ำ และมีบางส่วนที่ถูกจับไปขายเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลริบบิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลหลาด

ปลาไหลหลาด (Bengal swamp eel, One-gilled eel, Pygmy eel) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาไหลนา (Synbranchidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงู มีลักษณะคล้ายปลาไหลนา (Monopterus albus) มีลักษณะที่แตกต่างคือ บริเวณส่วนหัวเรียวยาวกว่า ลำตัวเพรียวกว่า ปลายหางแบนและมีก้านครีบเห็นชัดเจน สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลแดง หรือ สีเหลือง มีกระดูกเหงือก 4 คู่ มีขนาดทั่วไปประมาณ 30 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร พบอาศัยอยู่บริเวณใต้โคลมตมบริเวณปากแม่น้ำ ในประเทศไทยพบเฉพาะปากแม่น้ำในภาคกลาง เป็นปลาที่พบได้น้อย มีชื่อเรียกอย่างอื่น อีก เช่น "ปลาหลาด" หรือ "ปลาไหลงู" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลหลาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลผีอะบาอะบา

ปลาไหลผีอะบาอะบา (Aba aba, Aba knifefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gymnarchus niloticus ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) อยู่ในวงศ์ Gymnarchidae ซึ่งมีอยู่เพียงชนิดเดียวเท่านั้น เป็นปลาขนาดใหญ่ สามารถยาวได้ถึง 1-1.5 เมตร มีรูปร่างยาวเรียวคล้ายปลาไหล ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ตาเล็ก มีครีบพริ้วไหวตลอดลำตัวด้านบน พื้นลำตัวสีเทา ส่วนท้องสีขาว ปลายหางเล็กและเรียวยาว เกล็ดมีขนาดเล็กมาก มีการแพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำของทวีปแอฟริกาแถบตะวันตก ในลุ่มแม่น้ำแกมเบีย โดยอาศัยในความลึกประมาณ 1-1.5 เมตร เป็นปลาที่สามารถอาศัยในแหล่งน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำได้เป็นอย่างดี ด้วยสามารถฮุบอากาศได้เอง สายตาไม่ดี หาอาหารด้วยการนำทางโดยการสร้างกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อน ๆ กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดอื่นเป็นอาหาร เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ราคาไม่แพง จัดเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายมากชนิดหนึ่ง แต่ว่าเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายมาก ไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นได้เล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลผีอะบาอะบา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลนา

ปลาไหลนา หรือ ปลาไหลบึง เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monopterus albus อยู่ในวงศ์ปลาไหลนา (Synbranchidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงู ตามีขนาดเล็ก คอป่องออก มีอวัยวะช่วยหายใจอยู่ในคอหอยเป็นเส้นเลือดฝอย ซึ่งช่วยให้หายใจได้โดยไม่ต้องผ่านซี่กรองเหงือกเหมือนปลาทั่วไป และยังสามารถขุดรูในดินเพื่อจำศีลในช่วงฤดูร้อนได้ด้วย ไม่มีครีบใด ๆ ยกเว้นบริเวณปลายหางแบนยาวคล้ายใบพาย เมื่อยังเล็กมีครีบอก แต่โตขึ้นจะหายไป กระดูกเหงือกมีทั้งหมด 3 คู่ ลำตัวลื่นมาก สีลำตัวปกติเป็นสีเหลืองทอง ใต้ท้องสีขาว ในบางตัวอาจมีจุดกระสีน้ำตาล แต่ก็มีพบมากที่สีจะกลายไป เป็นสีเผือก สีทองทั้งตัว หรือสีด่าง มีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1.01 เมตร ปลาไหลนา จัดเป็นปลาในวงศ์ปลาไหลนาที่พบมากที่สุดในประเทศไทยและเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดด้วย โดยพบได้ทุกภาค ทุกแหล่งน้ำ พบชุกชุมทั่วไป สำหรับในต่างประเทศพบกว้างขวางมาก ตั้งแต่อเมริกากลาง, ทวีปอเมริกาใต้, ทวีปแอฟริกา, ประเทศอื่น ๆ ในทวีปเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร โดยกินได้แม้กระทั่งซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย มีพฤติกรรมชอบรวมตัวกันหาอาหาร เมื่อยังเล็กจะเป็นตัวเมีย และจะกลายเป็นตัวผู้เมื่อโตขึ้น ผสมพันธุ์ได้ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนกันยายน และมีความสมบูรณ์สูงสุดในการวางไข่ คือ เดือนสิงหาคม โดยไข่จะมีเพียง 1 ฝัก เป็นลักษณะไข่จมไม่สัมผัสกับวัสสุใด ๆ ใต้น้ำ เมื่อสัมผัส จะมีความยืดหยุ่นมาก มีลักษณะสีเหลืองสดใส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.3 เซนติเมตร ไข่ที่ได้รับการผสมมีลักษณะกลม สีเหลืองทอง ส่วนไข่ที่ไม่ได้รับการผสมจะมีสีขาวใส ไข่จะใช้เวลาในการฟักประมาณ 3 วัน ลูกปลาเมื่อฟักออกใหม่ ๆ มีความยาว 2.5 เซนติเมตร มีถุงไข่แดง 2 ใน 3 ส่วน และมีครีบอกเมื่ออายุได้ 5 - 6 วัน ถุงไข่แดงยุบพร้อมครีบอกหายไป และเริ่มกินอาหารได้ เป็นปลาที่คนไทยรู้จักกันเป็นอย่างดี เพราะนิยมบริโภคกันมาแต่โบราณ อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกว่า หากปล่อยปลาไหลนาแล้วจะช่วยให้ทุกข์โศกไหลไปตามชื่อ ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงกันในเชิงพาณิชย์ โดยนิยมเลี้ยงในบ่อปูน ในปลาที่มีสีกลายออกไป นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลนา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลนา (สกุล)

ปลาไหลนา หรือ ปลาไหลบึง เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลนา (Synbranchidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Monopterus (/โม-น็อพ-เทอ-รัส/) มีรูปร่างยาวคล้ายงู ลำตัวลื่นมาก มีเมือกอยู่ตลอดทั้งตัว มีเกล็ดขนาดเล็กฝังอยู่ใต้ผิวหนัง มีลักษณะสำคัญ คือ ฟันมีขนาดเล็ก ขากรรไกรล่างและที่กระดูกเพดานปากชิ้นข้างติดกันเป็นแผ่น ๆ ช่องเหงือกอยู่ใต้หัว หนังริมกระดูกแก้มทั้งสองข้างติดต่อรวมกัน และตรงกลางเป็นเอ็นที่ยึดติดกับเอ็นคาง ไม่มีครีบอกและครีบท้อง ตามีขนาดเล็ก เป็นปลากินเนื้อและซากสัตว์ต่าง ๆ เป็นอาหาร ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30–60 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปทั้งในทวีปอเมริกาเหนือ, อเมริกาใต้, แอฟริกา และเอเชีย โดยมีชนิดที่รู้จักเป็นอย่างดี คือ ปลาไหลนา (M. albus).

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลนา (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลแดง

ปลาไหลแดง หรือ ปลาหล่อย ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macrotrema caligans อยู่ในวงศ์ปลาไหลนา (Synbranchidae) มีรูปร่างคล้ายปลาไหลหลาด (Ophisternon bengalense) ซึ่งเป็นปลาในวงศ์เดียวกัน แต่ปลาไหลแดงจะมีปลายหางที่แผ่แบนเป็นครีบเห็นได้ชัดเจนกว่า มีตาอยู่เยื้องมาทางด้านหน้า กระดูกเหงือกมี 4 คู่ เป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในวงศ์ปลาไหลนาที่พบได้ในประเทศไทยทั้งหมด 3 ชนิด และจัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Macrotrema มีขนาดยาวที่สุดประมาณ 17–20 เซนติเมตร สีลำตัวเป็นสีแดง แต่สามารถปรับสีให้เปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมได้ มักอาศัยอยู่ใต้โคลนตมหรือแหล่งน้ำที่มีใบไม้ทับถมกันเป็นจำนวนมาก พบในปากแม่น้ำหรือลำคลองในบริเวณภาคกลาง, ภาคใต้พบได้ที่ทะเลสาบลำปำ จังหวัดพัทลุง ในต่างประเทศพบที่มาเลเซีย จัดเป็นปลาที่พบได้น้อย และหายากที่สุดในวงศ์ปลาไหลนาที่พบในประเทศไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลไฟฟ้า

ปลาไหลไฟฟ้า (Electric eel) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Electrophorus electricus จัดอยู่ในวงศ์ Electrophoridae จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไหลไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเกอร์วิเตตัส

ปลาไทเกอร์วิเตตัส (Tigerfish) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrocynus vittatus (Hydrocynus-สุนัขน้ำ, หมาน้ำ; vittatus-ลายพาด) อยู่ในวงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน (Alestidae) มีรูปร่างโดยรวมทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Hydrocynus ชนิดอื่น ๆ แต่มีความแตกต่างออกไป คือ มีขาไกรรไกรที่สั้นงุ้ม ส่วนหัวมีขนาดเล็กกว่าชนิดอื่น ๆ ลำตัวมีลายพาดตามยาว หางมีสีเหลืองไปจนถึงสีแดงในบางตัวและสภาพแวดล้อม ปลายปากล่างสีแดง เมื่อยังเล็กลำตัวมีความกลม แฉกของครีบหางแคบกว่าชนิด H. goliath มีเกล็ดประมาณ 44– 48 ชิ้น ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ 105 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 28 กิโลกรัม อายุสูงสุดที่ได้รายงานคือ 8 ปี เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปแอฟริกาทั้ง แม่น้ำไนล์, ประเทศไนเจอร์, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, แม่น้ำคองโก, แม่น้ำลูลาบา, แม่น้ำแซมเบซี, ทะเลสาบแทนกันยีกา, ทะเลสาบมาลาการาซี เป็นต้น จัดเป็นปลาแอฟริกันไทเกอร์อีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และตกกันเป็นเกมกีฬาบทความเรื่อง Hydrolycus หมาป่าวารีแห่งอเมซอน VS Hydrocynus สุนัขน้ำแห่งแอฟริกา, หน้า 42-64 นิตยสาร Aquarium Biz Vol.1 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนพฤษภาคม 2011 ปลาไทเกอร์วิเตตัส เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่สามารถทำร้ายมนุษย์ได้ มีชาวพื้นเมืองตลอดจนเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าถูกทำร้ายจนได้รับบาดเจ็บและถึงแก่ชีวิตมาแล้ว ในความเชื่อของชาวพื้นเมือง นับเป็นปลาที่นำความโชคร้ายและอัปมงคลมาให้ หากใครได้รับประทานก็จะเจ็บป่วย เมื่อจับปลาได้จะไม่มีการนำเข้ามาในบ้าน แม้แต่การพูดถึงก็เป็นสิ่งที่ไม่ควร และเป็นปลาที่ทำความเสื่อมให้แก่พลังในการรักษาผู้คนของหมอผีพื้นบ้านอีกด้วย โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า อิงเกวส (Ndweshi) ปลาไทเกอร์วิเตตัส จะออกล่าอาหารเมื่อโตเต็มที่ ในบริเวณปากแม่น้ำโอคาวังโก ในแอฟริกาใต้ ในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงที่น้ำในแม่น้ำจะใสสะอาด ฝูงปลาต่าง ๆ จะว่ายออกมาหาอาหาร รวมถึงพวกปลาหนัง ปลาหนังจะมีพฤติกรรมไล่ล่าปลาเล็ก ๆ เป็นอาหารในดงกกหรือปาริรุส นั่นคือสัญญาณเตือนให้ฝูงปลาไทเกอร์วิเตตัสออกมาไล่ล่าปลาหนัง ซึ่งบางครั้งเมื่อกัดและตระครุบเหยื่อได้ อาจฉีกเนื้อเหยื่อกระเด็นลอยขึ้นไปบนอากาศได้Pack of Teeth, "River Monsters" ทางดิสคัพเวอรีแชนแนล, สารคดีทางทรูวิชั่นส์: เสาร์ที่ 29 ธันวาคม 2555.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไทเกอร์วิเตตัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเกอร์โชวเวลโนส

ปลาไทเกอร์โชวเวลโนส (Tiger shovelnose, Tiger doncella) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudoplatystoma fasciatum เป็นปลาในอันดับปลาหนัง ที่อยู่ในวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ (Pimelodidae) มีลำตัวเรียวยาว ส่วนหัวแบน ปากยื่นออกมามากคล้ายเสียม มีหนวด 3 คู่ ใช้คลำทางหาอาหาร เนื่องจากตามีขนาดเล็กและการมองเห็นไม่ค่อยดี ครีบอกมีเงี่ยงแข็ง พื้นลำตัวสีน้ำตาลเทา มีลายสีดำคาดขวางลำตัวคล้ายลายของเสือโคร่งอันเป็นที่มาของชื่อ บริเวณครีบและหางมีจุดสีดำกระจายทั่วไป ขนาดเมื่อโตเต็มที่พบยาวสูงสุด 130 เซนติเมตร เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยมักจะหากินตามพื้นท้องน้ำ กินปลาและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและลุ่มแม่น้ำโอริโนโคในทวีปอเมริกาใต้ ตั้งแต่ประเทศโบลิเวีย, เปรู, บราซิล, โคลอมเบีย, เอกวาดอร์, เฟรนช์เกียนา และเวเนซุเอลา เป็นปลาที่จะอพยพไปมาระหว่างแม่น้ำสายต่าง ๆ โดยปลาในขนาดใหญ่มักพบในแหล่งที่เป็นร่องน้ำลึก เพราะจะอพยพตามอาหารที่เข้าไปอยู่ในร่องน้ำลึกหรือพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำในช่วงฤดูฝน และจะกลับเข้าสู่แม่น้ำในช่วงฤดูแล้ง ปลาขนาดวัยรุ่นจะพบมากในแหล่งน้ำท่วม นอกจากนี้แล้วยังทำการอพยพเพื่อผสมพันธุ์และวางไข่อีกด้วย นิยมใช้บริโภคทั่วไปในท้องถิ่น มักพบเห็นได้ทั่วไปในตลาดสดของทวีปอเมริกาใต้ โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Barred Sorubim หรือ Caparari หรือ Surubim Tigre มีทั้งหมด 5 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) นอกจากนี้แล้วยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม (ในประเทศไทยนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "ปลาไทเกอร์") โดยต้องเลี้ยงในสถานที่เลี้ยงกว้างขวางเนื่องจากเป็นปลาที่ค่อนข้างก้าวร้าวดุร้าย กินปลาอื่นเป็นอาหาร และยังมีการผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน ออกมาเป็นลูกผสมที่มีความแปลกใหม่ออกไปด้วย เช่นผสมกับ ปลาเรดเทลแคทฟิช (Phractocephalus hemioliopterus) เป็นต้น และนิยมตกเป็นเกมกีฬาด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไทเกอร์โชวเวลโนส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเกอร์โกไลแอต

ปลาไทเกอร์โกไลแอต (Goliath tigerfish, Giant tigerfish) หรือ เอ็มเบ็งกะ (Mbenga) ในภาษาลิงกาลา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrocynus goliath อยู่ในวงศ์ปลาเตเตร้าแอฟริกัน (Alestiidae) มีรูปร่างโดยรวมเหมือนปลาในสกุล Hydrocynus ทั่วไป แต่มีความแตกต่างคือ ปลาในวัยอ่อนจะไม่มีลายใด ๆ บนลำตัวทั้งสิ้น ลำตัวแลดูแบนข้างมาก ปลายหางล่างสีแดงจัด ครีบหางและครีบอื่น ๆ มีขนาดใหญ่ แฉกครีบของครีบหางมีความกว้างกว่าชนิดอื่น ในปากมีฟันแหลมคมขนาดใหญ่เรียงอยู่ทั้งหมด 36 ซี่ เท่ากับปลาฉลามขาว ขากรรไกรใหญ่และยื่นยาว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 6 ฟุต และมีน้ำหนักกว่า 100 ปอนด์ จัดเป็นปลาแอฟริกันไทเกอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และเป็นปลาประเภทคาราซินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พบกระจายพันธุ์ในกระแสน้ำเชี่ยวของลุ่มแม่น้ำคองโก ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา และแม่น้ำลูลาบา, ทะเลสาบอูเพ็มบา และทะเลสาบแทนกันยีกา อาศัยหากินอยู่บริเวณกลางน้ำและผิวน้ำ และชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง แต่เมื่อล่าเหยื่อจะออกล่าเพียงลำพัง โดยมักจะจู่โจมเหยื่อที่มีแสงสะท้อนระยิบระยับหรือมีเสียงหรือมีแรงกระเพื่อมของน้ำ โดยปลาแอฟริกันไทเกอร์ชนิดนี้เคยมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์จนถึงแก่ความตายมาแล้วด้วย ปลาขนาดเล็ก ปากและฟันอันแหลมคม เป็นปลาที่นิยมตกเป็นเกมกีฬาที่ท้าทาย เนื่องจากเป็นปลาที่ทรงพละกำลังและตกได้ยากมากชนิดหนึ่ง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไทเกอร์โกไลแอต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเมน

ปลาไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนแซลมอน (Taimen, Siberian taimen, Siberian salmon) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาแซลมอน (Salmonidae) พบในแม่น้ำวอลกาและแม่น้ำแปโชราในรัสเซีย นอกจากนี้แล้วยังพบในลุ่มแม่น้ำอามูร์, ระหว่างทะเลสาบแคสเปียนกับมหาสมุทรอาร์กติกในอนุทวีปยูเรเชีย และบางส่วนของมองโกเลีย มีสีลำตัวแตกต่างหลากหลายออกไปตามแต่ละภูมิประเทศ แต่โดยทั่วไปลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอมเขียวมะกอก หัวมีสีคล้ำกว่า ครีบและหางสีแดงเข้ม ส่วนท้องสีขาว ตามลำตัวมีรอยจุดสีคล้ำสำหรับพรางตัวซุ่มซ่อนตามธรรมชาติ ปากกว้าง ภายในปากมีฟันที่แหลมคมเหมือนเข็มที่งองุ้มเข้ามาด้านใน และแม้แต่ลิ้นก็มีส่วนประกอบที่แหลมคมคล้ายฟัน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 210 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 105 กิโลกรัม เป็นสถิติที่พบในรัสเซีย เมื่อปี ค.ศ. 1988 ซึ่งจัดได้ว่าปลาไทเมนเป็นปลาแซลมอนชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แต่ปลาไทเมนไม่ใช่ปลาสองน้ำเหมือนกับปลาแซลมอนชนิดอื่น ๆ เพราะวางไข่และเติบโตหากินอยู่เฉพาะในแหล่งน้ำจืดอย่างเดียวเท่านั้น ปลาไทเมนจัดเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมของนักตกปลาอีกด้วย ด้วยความที่เป็นปลาขนาดใหญ่และอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำเชี่ยวและเย็น จึงนิยมตกกันแบบฟลายฟิชชิ่ง ซึ่งต้องตกกันก่อนถึงฤดูหนาวที่น้ำจะกลายเป็นน้ำแข็ง ปลาไทเมนเป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าว เคยกัดทำร้ายคนตกจนเลือดอาบได้รับบาดเจ็บที่ต้นแขนมาแล้ว มักอาศัยอยู่ในกระแสน้ำเชี่ยว โดยหลบซ่อนตัวอยู่หลังก้อนหินเพื่อรอเหยื่อให้ผ่านมาและจับกินเป็นอาหาร ซึ่งปลาไทเมนสามารถจับปลาแซลมอนหรือปลาเทราต์ซึ่งเป็นปลาจำพวกเดียวกันกินได้ นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินงูพิษได้อีกด้วยMongolian Mauler, "River Monsters".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไทเมน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไข่ออง

ปลาไข่ออง เป็นชื่อเรียกสกุลปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Osteobrama (/ออส-ที-โอ-บรา-ม่า/) มีรูปร่างโดยรวมดังนี้ มีลำตัวลึกแบนข้างมากเป็นทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ด้านข้างคอด หางเรียว หัวค่อนข้างเล็กกลม ปากอยู่ปลายสุด เกล็ดมีขนาดเล็ก หลุดง่าย ครีบหลังยกสูงและสั้น ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งและมีขอบเป็นจักฟันเลื่อย และอยู่เหนือฐานครีบท้อง ฐานครีบก้นยาว ครีบหางเว้าลึก ลำตัวสีเงินหรืออาจมีสีเหลืองอ่อน ครีบใส บางชนิดมีหนวด บางชนิดไม่มีหนวด หากมีก็เป็นหนวดที่สั้นและหลุดง่ายมาก มีฟันในลำคอ 3 แถว ปลายของเส้นข้างลำตัวไปสิ้นสุดลงที่ฐานครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 15–30 เซนติเมตร อาศัยเป็นฝูงในน้ำขุ่น พบในประเทศอินเดียและพม่า 6 ชนิด และลุ่มน้ำสาละวิน 2 ชนิด บริเวณชายแดนไทย–พม่า มีทั้งหมด 8 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไข่ออง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไข่อองใหญ่

ปลาไข่อองใหญ่ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในสกุล Osteobrama อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาชนิดอื่น ๆ ในสกุลเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิด O. alfrediana แต่ต่างกันตรงที่เกล็ดมีขนาดเล็กกว่า และขอบครีบอกมีลักษณะตัดตรง ในขณะที่ของ O. alfrediana จะเว้าเข้าเล็กน้อยในช่วงกลาง อีกทั้งมีขนาดใหญ่กว่า เมื่อโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 45 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำสาละวินเช่นเดียวกัน โดยพบเป็นฝูงขนาดใหญ่หากอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการอยู่อาศัย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกในแวดวงปลาสวยงามว่า "โรตี".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไข่อองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไข่อองเล็ก

ปลาไข่อองเล็ก หรือ ปลาโรตี เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในสกุล Osteobrama ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเป็นทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน แบนข้างมาก หัวมีขนาดเล็ก นัยน์ตาโต ปากเล็ก ไม่มีหนวด โคนหางแคบและสั้น เกล็ดมีขนาดเล็กและบางกลุดง่ายมาก มีเกล็ดตามแนวเส้นข้างลำตัว 55–70 แถว ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวเป็นหนามแข็ง ครีบก้นมีฐานยาว ครีบหางเป็นแฉกแว้ลึก ครีบอกและครีบท้องมีขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเงินแวววาวปนสีเหลืองอ่อน มีแถบสีดำหลังช่องเหงือก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำที่มีสภาพขุ่นของแม่น้ำสาละวิน ในประเทศไทยพบได้แถบจังหวัดแม่ฮ่องสอน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับว่าเป็นปลาที่มีราคาซื้อขายค่อนข้างแพงเนื่องจากมีขายไม่บ่อยนักในตลาดปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไข่อองเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไซเชเดลิกา

ปลาไซเชเดลิกา (Psychedelica frogfish, Ambon frogfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Histiophryne psychedelica (/ฮิส-ทิ-โอฟ-ไรน์-ไซ-เช-เด-ลิ-กา/) อยู่ในวงศ์ปลากบ (Antennariidae) มีลักษณะทั่วไป คือ มีลายรอบตัวเหมือนม้าลายสีน้ำตาลไหม้ และสีลูกพีช ซึ่งพาดยาวจากดวงตาสีน้ำเงินไปปลายหาง มีขนาดประมาณกำปั้น ร่างกายปกคลุมด้วยผิวหนังย่น ๆ เป็นวุ้นหนา ๆ เพื่อป้องกันอันตรายจากปะการังที่แหลมคม มีใบหน้าแบนและดวงตามองตรงหน้าได้ อีกทั้งยังมีปากที่อ้าได้กว้าง ที่มีครีบทั้ง 2 ข้างของลำตัว ที่ใช้คืบคลานไปกับพื้นทะเล หรือกระแทกหรือกระเด้งเหมือนลูกบอลไปกับพื้นทะเล จะกางครีบออกแล้วพ่นน้ำออกจากเหงือก เพื่อส่งตัวเองให้พุ่งไปข้างหน้า ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่แปลกประหลาด พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการังบริเวณเกาะอัมบนของอินโดนีเซีย จัดเป็นปลาชนิดใหม่ที่เพิ่งมีการค้นพบและถูกตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 2009 ถูกจำแนกชนิดออกจากปลาชนิดอื่นในสกุล Histiophryne ด้วยความแตกต่างทางดีเอ็นเอ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาไซเชเดลิกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเบี้ยว

ปลาเบี้ยว หรือ ปลาคางเบือน (Twisted-jaw catfish, Twisted-jaw sheatfish) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืด 2 ชนิดในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ซึ่งอยู่ในอันดับปลาหนัง ใช้ชื่อสกุลว่า Belodontichthy (/เบล-โอ-ดอนท์-อิค-ธีส/; "Belo" เป็นภาษากรีกหมายถึง "ทุกทิศทาง", "odon" หมายถึง "ฟัน" และ "ichthyos" หมายถึง "ปลา" มีความหมายรวมหมายถึง "ปลาที่มีฟันทุกทิศทาง") มีรูปร่างโดยรวมคือ ปากกว้างและเชิดขึ้นอันเป็นที่มาของชื่อ ภายในมีฟันแหลมคม ตาโตอยู่ตอนกลางของหัว ใกล้มุมปากมีหนวด 1 คู่ยาวจนถึงครีบอก ครีบหลังเล็กมาก มีก้านครีบแขนง 3 หรือ 4 ก้าน ครีบอกใหญ่ปลายแหลม ครีบท้องเล็ก ครีบหางเล็กเว้าตื้น ตัวมีสีเงินวาวหรือเหลือบสีเขียวอ่อน ด้านท้องสีจาง นัยน์ตามีเยื่อไขมันบาง ๆ คลุม อาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ กินอาหาร จำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์อยุ่เฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น พบเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเบี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเพียว

ปลาเพียว (Asian glassfishes, Asian glass catfishes) สกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) โดยที่ชื่อสกุล Kryptopterus นั้นมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า kryptós (κρυπτός, "ซ่อน") กับ ptéryx (πτέρυξ, "ครีบ") อันเนื่องจากปลาในสกุลนี้มีครีบหลังที่เล็กมาก ซึ่งแตกต่างจากปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีลำตัวยาวแบนข้าง ลำตัวบางใสมีสีเดียวจนในบางชนิดสามารถมองทะลุเห็นกระดูกภายในได้เหมือนเอกซเรย์ มีหนวด 2 คู่ หนวดคู่แรกบนขากรรไกรบน ส่วนคู่ที่ 2 อยู่บนขากรรไกรล่าง สั้นหรือยาวแล้วแต่ละชนิด โดยหนวดที่มุมปากยาวเลยช่องเหงือก หนวดที่คางเล็กและสั้น ปากแคบ มุมปากยื่นไม่ถึงนัยน์ตา มีก้านครีบ 1-2 ก้าน ครีบหลังเล็ก หรือบางชนิดก็ไม่มี ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 4-8 ก้าน นิยมอยู่กันเป็นฝูง โดยมีพฤติกรรมรวมกัน คือ มักอยู่รวมกันเป็นฝูงโดยหันหน้าไปทางเดียวกันในระดับกลางน้ำ เมื่อแตกตื่นตกใจมักจะแตกหนีไปคนละทิศละทาง จนหายตกใจแล้วค่อยกลับมารวมตัวกันอีก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเพียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเกล็ดถี่ (สกุล)

ปลาเกล็ดถี่ หรือ ปลานางเกล็ด (Thynnichthys) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะสำคัญก็คือ มีส่วนหัวที่โตจนดูคล้ายปลาลิ่น (Hypophthalmichthys molitrix) ขนาดเล็ก ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่ขอบเรียบ มีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ไม่มีริมฝีปากบน ปากอยู่สุดปลายจะงอย ไม่มีหนวด และไม่มีซี่กรองเหงือก เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมาก เป็นสีเงินแวววาวและหลุดร่วงง่าย มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินแพลงก์ตอนหรือตะไคร่น้ำเป็นอาหาร โดยอาจปะปนอยู่กับปลาในวงศ์ปลาตะเพียนด้วยกันสกุลอื่น เช่น ปลาสร้อย เป็นต้น พบทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเกล็ดถี่ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเก๋าแดง

ปลาเก๋าแดง (Blacktip grouper, Red-banded grouper) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) มีรูปร่างค่อนข้างยาวเรียว แบนข้าง หัวโต จะงอยปากสั้น นัยน์ตาโต ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย ฟันซึ่งมีอยู่ตรงขากรรไกรบนและล่างมีลักษณะเป็นเขี้ยวยาวและคม ครีบหลังยาว ส่วนที่เป็นก้านครีบแข็งยาวกว่าส่วนที่เป็นก้านครีบฝอย ส่วนหน้าของครีบก้นมีก้านแข็งเป็นหนามแหลม ครีบหางมนกลม มีจุดเด่น คือ มีทั้งสีแดงสด, สีชมพูอ่อน และน้ำตาลปนแดง ขึ้นอยู่สภาพแวดล้อมและขนาดของปลา ข้างตัวมีแถบสีแดงปนน้ำตาล 5 แถบ ขอบครีบหลังที่เป็นก้านครีบแข็งมีสีแดงปนน้ำตาล เกล็ดเล็กละเอียด มีขนาดตั้งแต่ 15-40 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ตามแนวปะการังและกองหินใต้น้ำ ตั้งแต่แอฟริกาใต้, ทะเลแดง จนถึงทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, คาบสมุทรเกาหลี และออสเตรเลีย เป็นปลาที่มีรสชาติดี นิยมใช้ในการบร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเก๋าแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเม็ดขนุน

ปลาเม็ดขนุน (Yellow goatfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Mullidae) มีรูปร่างทรงกระสวย บริเวณเหนือเส้นข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองพาดผ่าน แนวยาวของลำตัวตั้งแต่บริเวณหลังขอบตาไปจนถึงปลายหาง มีเกล็ดขนาดใหญ่ลักษณะเป็นแบบสากเล็กน้อย ส่วนหัวมีเกล็ด ใต้คางมีหนวด 1 คู่ ที่ไวต่อความรู้สึก ใช้สำหรับคุ้ยเขี่ยหาอาหารตามหน้าดิน เช่น พื้นทราย ซึ่งดูแล้วเหมือนหนวดเคราของแพะ ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอ่อน ประกอบไปด้วย ครีบหลังแยกเป็น 2 ตอน ครีบอก ครีบท้อง ครีบก้น และมีครีบหางแบบเว้าลึก มีขนาดความยาวโตเต็มที่ประมาณ 28 เซนติเมตร มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง อาศัยบริเวณเหนือพื้นทรายและแนวปะการัง บริเวณมหาสมุทรอินเดียและ มหาสมุทรแอตแลนติก จัดเป็นปลาเศรษฐกิจ ที่มีการจับเพื่อการประมง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเม็ดขนุน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเรดฮุก

ปลาเรดฮุก (Redhook silverdollar, Redhook myleus) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิลเวอร์ดอลลาร์ ในวงศ์ปลาปิรันยา (Serrasalmidae) จัดเป็นปลาซิลเวอร์ดอลลาร์ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาปิรันยาหรือปลาเปคู ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า แต่มีลำตัวสีเงินแวววาว ในขณะที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีจุดสีแดงกระจายไปทั่วตัว ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอมส้มหรือสีเหลืองและมีความยาวกว่า โดยเฉพาะครีบก้นที่มีปลายครีบงอนงอเหมือนตะขอและมีสีแดงสดขลิบดำ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ตัวผู้มีครีบยาวกว่าตัวเมีย ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 39 เซนติเมตร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์น้ำขนาดเล็ก กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในแม่น้ำสายหลัก ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำแอมะซอน, แม่น้ำโอรีโนโก ในเอกวาดอร์, เปรู, เวเนซุเอลา, โคลอมเบีย, กายอานา, ซูรินาม, เฟรนช์เกียนา และบราซิล เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีการรวบรวมจากแหล่งน้ำธรรมชาติส่งออกไปขายทั่วโลก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเรดฮุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเรดเทลแคทฟิช

ปลาเรดเทลแคทฟิช (Redtail catfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาหนัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Phractocephalus hemioliopterus ในวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ (Pimelodidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Phractocephalus ทั้งนี้เนื่องจากชนิดอื่นที่อยู่ร่วมสกุลกันได้สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคไมโอซีนตอนต้นแล้ว (ราว 13.5 ล้านปีก่อน) คือ P. nassi ซึ่งค้นพบซากดึกดำบรรพ์ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเรดเทลแคทฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเลียหิน

ปลาเลียหิน (Stone-lapping fishes, Garras, Doctor fishes) คือชื่อสามัญเรียกโดยรวมของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Garra (/การ์-รา/) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และอยู่ในวงศ์ย่อย Labeoninae เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก ลำตัวยาว หลังโค้งเล็กน้อย สันท้องแบนราบ จะงอยปากยาว ปลายทู่ และมีตุ่มเหมือนเม็ดสิวเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตัวผู้ริมฝีปากหนาและมีตุ่มเม็ดสิวที่อ่อนนุ่มอยู่เป็นจำนวนมาก ไม่มีร่องระหว่างริมฝีปากกับกระดูกขากรรไกร ริมฝีปากล่างแผ่ออกกว้างเป็นแผ่น ขอบหน้าเรียบ ใช้ในการยึดเกาะกับของแข็ง มีหนวด 1-2 คู่ ครีบอกและครีบครีบท้องอยู่ในแนวระดับสันท้อง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน และก้านครีบเดี่ยวไม่แข็ง ครีบก้นสั้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน เส้นข้างลำตัวตรง มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่เป็นฝูง ในแหล่งน้ำไหลเชี่ยวบริเวณน้ำตกหรือลำธารในป่า เพื่อดูดกินตะไคร่น้ำหรือสาหร่ายหรืออินทรีย์วัตถุต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายอยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย พบมากกว่า 90 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบด้วยหลายชนิด เช่น G. fuliginosa, G. notata, G. cambodgiensis, G. fasciacauda เป็นต้น นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เพื่อให้ดูดกินเศษอาหารที่ปลาใหญ่กินเหลือและทำความสะอาดตู้เลี้ยง นอกจากนี้แล้วในปัจจุบัน ปลาเลียหินยังนิยมใช้ในธุรกิจสปา แบบที่เรียกว่า "ฟิชสปา" โดยให้ผู้ใช้บริการแช่เท้าและขาลงในอ่างน้ำ และให้ปลาเลียหินมาดูดกินผิวหนังชั้นผิวกำพร้าเพื่อกำจัดเซลล์ผิวที่ตายแล้ว เพื่อเป็นการสร้างเซลล์ผิวใหม่อีกด้วย โดยในน้ำลายของปลาเลียหินจะมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งที่กระตุ้นในการสร้างเซลล์ผิวใหม่ซึ่งปลาเลียหินที่นิยมใช้กันคือ ชนิด G. rufa และ G. sp.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเลียหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเลียหินกัมพูชา

ปลาเลียหินกัมพูชา หรือ ปลามูดกัมพูชา หรือ ปลาเลียหินแม่น้ำโขง (Cambodian logsucker, Stone-lapping fish, Stonelapping minnow, False Siamese algae eater) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง เป็นปลาเลียหินชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวเรียวยาวเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว อาศัยอยู่ตามบริเวณพื้นที่เป็นกรวดและหิน มีหนวดที่ปลายจะงอยปากหนึ่งคู่ ลำตัวด้านหลังเป็นสีเขียว เกล็ดมีสีขาวเงินสะท้อนแสง มีแถบสีดำพาดตามตัวจากหลังช่องเหงือกถึงโคนหาง ลำตัวด้านล่างเป็นสีขาว ครีบหลังมีขอบสีดำจาง ๆ ขอบครีบหางมีแถบสีดำจาง ๆ และมีเส้นสีดำตอนกลางครีบ มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 11 เซนติเมตร พบตามแหล่งน้ำที่เป็นลำธารต้นน้ำและน้ำตกของลุ่มน้ำโขง หากินโดยดูดตะไคร่น้ำ, แพลงก์ตอน และแมลงน้ำเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ลงมาถึงประเทศไทย นอกจากนี้ยังพบกระจายอยู่ในระบบแม่น้ำเจ้าพระยารวมถึงภาคใต้ในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช แต่พบมากที่สุดในลุ่มน้ำน่านในเขตอำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน โดยเฉพาะในแม่น้ำว้าและแม่น้ำมาง โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า "ปลาขึ้นนา" จากพฤติกรรมที่เมื่อวางไข่ขยายพันธุ์จะอพยพกันจากลำธารลงไปวางไข่กันในทุ่งนา จึงมักถูกจับมารับประทานบ่อย ๆ ด้วยเป็นปลาขนาดเล็กจึงสามารถบริโภคได้ทั้งตัว มีราคาซื้อขายสูงถึงกิโลกรัมละ 200 บาท ปัจจุบันภาควิชาการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แม้จะเป็นปลาที่มีสีสันไม่สวยงาม แต่ก็มักเลี้ยงไว้กินตะไคร่และเศษอาหารที่ปลาอื่นกินเหลือ เพื่อทำความสะอาดตู้ รวมถึงยังนำไปในกิจการฟิชสปาหรือสปาปลาแทนที่ปลาเลียหินชนิด G. rufa ที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเลียหินกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเล็บมือนางแม่โขง

ปลาเล็บมือนางแม่โขง หรือ ปลาข้างลาย (Mekong algae eater) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาในสกุลปลาส่อหรือปลาเล็บมือนางชนิดหนึ่ง มีความยาวเต็มที่ 10-12 เซนติเมตร แต่ขนาดที่พบโดยเฉลี่ย 6 เซนติเมตร พบชุกชุมในหาดในช่วงฤดูแล้ง ราวเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม เป็นปลาที่นิยมบริโภคและขายกันในท้องถิ่น และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเล็บมือนางแม่โขง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเวียนทอง

ปลาเวียนทอง, ปลาเวียนยักษ์, ปลาเวียนหิมาลัย หรือในชื่อพื้นเมืองของลุ่มแม่น้ำสาละวินเรียกว่า ปลาคม (Putitor mahseer, Himalayan mahseer, Golden mahseer.) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาที่อยู่ในสกุลปลาพลวง (Neolissochilus spp.) และปลาเวียน (Tor spp.) ชนิดอื่น เพียงแต่ขนาดเมื่อโตเต็มที่สามารถยาวได้ถึง 275 เซนติเมตร น้ำหนักถึง 54 กิโลกรัม ซึ่งนับว่าใหญ่ที่สุดสำหรับปลาในสกุลนี้ และนับว่าเป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งที่ใหญ่ติดอันดับโลก มีลายแถบสีน้ำเงินนอนขวางลำตัวหนึ่งคู่ เกล็ดตลอดทั้งลำตัวมีสีเหลืองหรือสีทอง ครีบและหางมีสีเหลืองเข้ม พบในอินเดียทางตอนเหนือและตอนใต้ ในตอนเหนือพบที่เชิงเทือกเขาหิมาลัยแถบรัฐปัญจาบ และในแม่น้ำพรหมบุตร, แคว้นแคชเมียร์ในปากีสถาน, อัฟกานิสถาน, ภูฏาน และพบในแม่น้ำสาละวินแถบชายแดนพม่าติดกับไทยด้วย แต่พบน้อยมาก มีรายงานการพบเพียงแค่ 3 ครั้งเท่านั้น ในรอบ 28 ปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเวียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือพ่นน้ำ

ปลาเสือพ่นน้ำ (Archer fish, Blowpipe fish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) มีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยม ปากกว้างมีขนาดใหญ่เฉียงลงด้านล่างและจะงอยปากยืดหดได้ มีตากลมโต เกล็ดสาก ครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นครีบแข็ง ตอนหลังเป็นครีบอ่อนมีลักษณะใสโปร่งแสง พื้นลำตัวสีขาวอมเหลือง มีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่ ประมาณ 3-4 จุด ซึ่งนับว่าปลาเสือพ่นน้ำชนิดนี้เป็นปลาเสือพ่นน้ำชนิดที่มีจุดวงกลมนี้มากที่สุด และเป็นปลาเสือพ่นน้ำที่พบได้มากและแพร่หลายที่สุด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30-40 เซนติเมตร นิยมว่ายหากินอยู่ตามผิวน้ำเป็นฝูงเล็ก ๆ ไม่เกิน 20 ตัว พบได้ตามแม่น้ำลำคลองทั่วไปจนถึงเขตน้ำกร่อยเช่น ป่าชายเลน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงประเทศไทยด้วย สามารถฉีดพ่นน้ำจากปากใส่แมลงที่อยู่เหนือน้ำได้เหมือนปืนฉีดน้ำ นอกจากนี้แล้วยังกินสัตว์ขนาดเล็กกว่า เช่น ปลาขนาดเล็ก, กุ้งฝอย เป็นต้น มีความสำคัญต่อมนุษย์ในฐานะของการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเสือพ่นน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือพ่นน้ำพม่า

ปลาเสือพ่นน้ำพม่า (Clouded archerfish, Zebra archerfish) เป็นปลาในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนปลาเสือพ่นน้ำชนิดอื่น ๆ ในวงศ์ แต่มีสิ่งหนึ่งที่แตกต่างกันไปอย่างเห็นได้ชัด คือ ลวดลายที่เป็นลายขวางตามแนวยาวของลำตัว ไม่เป็นลายจุด ในปลาวัยอ่อนลายดังกล่าวจะเป็นลายจุดกระจัดกระจายไปทั่ว และจะค่อย ๆ มารวมตัวกันเมื่อโตขึ้น มีความยาวเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร จัดเป็นปลาท้องถิ่นที่พบได้เฉพาะในประเทศพม่าที่เดียวเท่านั้น โดยพบอาศัยในแหล่งน้ำจืดหรือปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อย เช่น แม่น้ำในเมืองมะละแหม่ง หรือแม่น้ำสะโตงในเมืองตองอู เป็นต้น เป็นปลาที่มิได้มีความสำคัญในแง่การเป็นปลาเศรษฐกิจ และเพิ่งเข้าสู่แวดวงปลาสวยงามเมื่อไม่นานมานี้ (พ.ศ. 2553) โดยมีราคาซื้อขายที่ค่อนข้างแพง แม้จะได้รับการอนุกรมวิธานไว้นานแล้วก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเสือพ่นน้ำพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ (Smallscale archerfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) มีลักษณะลำตัวแบนลึกข้างค่อนข้างมาก ตากลมโต ขอบหลังไล่ตั้งแต่ช่วงครีบไปจนถึงหางมีลักษณะเกือบเป็นเส้นตรง ปากมีขนาดใหญ่และมีลักษณะเฉียงลงลึก ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางด้านท้ายลำตัว พื้นลำตัวทางตอนบนสีเหลือง ช่วงท้องสีขาว ข้างลำตัวจะมีจุดสีดำแต้มอยู่ประมาณ 4-5 แต้ม เกล็ดเป็นแบบสาก โดยปลาใช้กลุ่มนี้มีความสามารถพิเศษ คือ สามารถพ่นน้ำขึ้นไปในอากาศได้สูงถึง 1 เมตร เพื่อล่าเหยื่อ อันได้แก่ แมลงต่าง ๆ ที่อยู่เหนือผิวน้ำ หรือกระโดดตัวขึ้นงับเหยื่อในบางที ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่มีขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 15 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทุกประเทศ ไปจนถึงออสเตรเลีย โดยอาศัยอยู่เป็นฝูง ๆ ตามแม่น้ำสายใหญ่ ๆ หรือ ปากแม่น้ำ ในประเทศไทยพบตั้งแต่ภาคกลางและภาคอีสาน ไม่พบในภาคใต้ วางไข่และเลี้ยงดูตัวอ่อนในน้ำกร่อย โดยปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่เป็นปลาที่พบไม่บ่อยนักในธรรมชาติ ไม่นิยมบริโภค ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมากกว่า ซึ่งปลาที่นิยมจับมาเป็นปลาสวยงามนั้นมักจับมาจากบึงบอระเพ็ดหรือสถานที่ใกล้เคียงในจังหวัดนครสวรรค์ จึงมีชื่อเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาเสือพ่นน้ำนครสวรรค์" หรือ "ปลาเสือพ่นน้ำเหลือง" ทั้งนี้ปลาเสือพ่นน้ำชนิดนี้จะมีสีเหลืองตามลำตัวสดและเห็นได้ชัดเจนกว่าปลาเสือพ่นน้ำชนิดอื่น มีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "หม่อง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือหกขีด

ปลาเสือหกขีด หรือ ปลาเสือป่าพรุ (Six-band barb) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะและรูปร่างคล้ายกับปลาเสือห้าขีด (D. pentazona) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวแบนข้าง ส่วนหลังโค้ง หัวมีขนาดเล็ก ตาโต ปากมีขนาดเล็ก มีหนวดที่มุมปาก 1 คู่ จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่กลางตัว และอยู่หลังครีบท้อง ครีบหางแฉกเว้าลึก สีพื้นของลำตัวเป็นสีขาวเงิน มีแถบสีดำบนลำตัว 6 แถบ โดยมีที่ลำตัว 5 แถบ และที่ส่วนหัวอีก 1 แถบ พาดผ่านตา เกล็ดบางเกล็ดมีสีขาวเงินสะท้อนแสง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศไทยในป่าพรุต่าง ๆ เช่น ป่าพรุโต๊ะแดง และพบเรื่อยไปจนถึงแหลมมลายู, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเป็นปลาที่เลี้ยงได้ง่ายมาก นิยมเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงหรือรวมกับปลาขนาดใกล้เคียงกันในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเสือหกขีด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือตอปาปัวนิวกินี

ปลาเสือตอปาปัวนิวกินี หรือ ปลาเสือตอนิวกินี (New Guinea tigerfish, Campbell's tigerfish) เป็นปลาน้ำกร่อยในวงศ์ปลาเสือตอ (Datnioididae) ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเสือตอปาปัวนิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเอิน

ปลาเอิน หรือ ปลายี่สก (Striped barbs) เป็นชื่อสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุล Probarbus (/โพร-บาร์-บัส/) อองรี เอมิล โซวาค นักมีนวิทยาชาวฝรั่งเศสเป็นผู้บรรยายลักษณะทางอนุกรมวิธานของปลาสกุลนี้ในปี ค.ศ. 1880 และในปีถัดมาได้กลับมาบรรยายเพิ่มเติมอีกครั้งหนึ่ง โดยปลาที่เป็นต้นแบบมีความยาว 34 และ 53 เซนติเมตร ตามลำดับ ลักษณะที่สำคัญอีกประการ คือ มีฟันที่ลำคอหนึ่งแถว จำนวนทั้งหมดสี่ซี่ มีหนวดที่ริมฝีปากบนหนึ่งคู่ ครีบหลังมีก้านครีบแขนงเก้าก้าน ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังสั้น แข็ง และมีขอบเรียบ ตามลำตัวมีเส้นขีดตามแนวนอนแตกต่างกันออกตามแต่ละชนิด จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่อีกจำพวกหนึ่งในวงศ์นี้ โดยขนาดเมื่อโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 135 เซนติเมตร ปลาตัวเมียเมื่อถึงฤดูวางไข่อาจมีน้ำหนักตัวถึง 36 กิโลกรัม โดยช่วงที่ไข่สุกพร้อมที่จะถูกปล่อยออกมาผสมกับน้ำเชื้อของตัวผู้อยู่ในช่วงปลายปีจนถึงต้นฤดูร้อนของปีถัดมา มีการกระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขงและที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย และมีพบได้ที่แม่น้ำปะหัง ในมาเลเซียอีกด้วย เป็นปลาที่มีรสชาติอร่อยมาก จึงถูกจับจนใกล้จะสูญพันธุ์แล้วในธรรมชาติ แต่ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วด้วยวิธีการผสมเทียม มีชื่อที่สามเหลี่ยมทองคำ จังหวัดเชียงราย เรียกว่า "ปลาเสือ".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเอิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเอ็กโซดอน

ปลาเอ็กโซดอน (Bucktooth tetra) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) ในอันดับปลาคาราซิน เป็นปลาขนาดเล็ก มีครีบก้นสีเหลือง ครีบอื่นเป็นสีแดง ลำตัวเป็นสีเงินสะท้อนแสงสีเหลืองวาว ดวงตากลมโตมีขอบตาเหลือง และมีจุดสีดำขนาดใหญ่ 2 จุด จุดแรกอยู่ที่โคนหาง อีกจุดอยู่ตรงกลางตัวบริเวณโคนครีบหลัง หากอยู่ในที่มืดจะสะท้อนแสงแวววาวมาก ในปากไม่พบฟัน จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Exodon ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6-8 นิ้ว อายุเต็มที่ประมาณ 8 ปี ตัวผู้จะมีลักษณะผอมกว่าตัวเมียและมีครีบก้นกับครีบหลังยาวกว่า กระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ที่มีกระแสน้ำไหลตลอดในอเมริกาใต้ เช่น ริโอบรานโก, ริโอเนโกรในบราซิลและกายอานา มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่เป็นฝูง เป็นปลาที่นิสัยดุร้ายก้าวร้าว มักที่จะชอบรุมกัดครีบหรือเกล็ดปลาชนิดอื่น เนื่องจากในกระเพาะมีกรดที่สามารถย่อยเกล็ดปลาชนิดอื่นได้ และถึงแม้จะเป็นปลาที่มีตัวใหญ่กว่าก็ตาม เช่น ปลาปิรันยา ก็ยังโดนรุมกัด นอกจากนี้แล้วยังสามารถกัดกินต้นไม้น้ำได้อีกด้วย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ในสถานที่เลี้ยงสามารถฝึกให้กินอาหารเม็ดได้โดยง่าย แต่ไม่ควรเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นจากพฤติกรรมที่กล่าวม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเอ็กโซดอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทพา

ปลาเทพา หรือที่ในภาษาอีสานเรียกว่า ปลาเลิม (Chao Phraya giant catfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pangasius sanitwongsei อยู่ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) ชื่อวิทยาศาสตร์ของปลาชนิดนี้ตั้งโดย ดร.ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ อธิบดีกรมประมงคนแรก เพื่อเป็นเกียรติแด่ ม.ร.ว.สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ ในฐานะที่เป็นผู้ผลักดันและบุกเบิกให้มีหน่วยงานทางด้านการศึกษาและจัดการสัตว์น้ำในประเทศ ซึ่งก็คือกรมประมงในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเทพา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทวดา

ปลาเทวดา (Angelfish) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Pterophyllum (/เทอ-โร-ฟิล-ลั่ม/; เป็นภาษาละตินแปลว่า "ครีบใบไม้" ซึ่งหมายถึง ลักษณะรูปร่างลำตัวที่คม) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกันอย่างหลากหล.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเขียวพระอินทร์

ำหรับเขียวพระอินทร์อย่างอื่น ดูที่: งูเขียวพระอินทร์ ปลาเขียวพระอินทร์ (Moon wrasse, Cressent wrasse) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) มีลำตัวยาวรี แบนข้าง พื้นลำตัวสีเขียวตลอดทั้งตัว มีริ้วสีน้ำเงินพาดขวางตลอดตัว บริเวณส่วนหัวมีแถบลวดลายสีม่วงแดง ครีบหางใหญ่สีเหลือง ปลายขอบบนและล่างเป็นสีแดง อาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ประมาณ 2-10 ตัว ตามแนวปะการังในแถบอินโด-แปซิฟิก เมื่อขนาดยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีพื้นสีน้ำตาลแดงที่บริเวณกลางครีบหลังและโคนครีบหางมีจุดกลมใหญ่สีดำ มีขนาดโตเต็มที่ 30 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 25 เซนติเมตร หากินสัตว์น้ำขนาดเล็กตามพื้นทะเล รวมทั้งไข่ของปลาชนิดอื่น เป็นปลาที่สามารถเปลี่ยนแปลงสีและเพศได้ใน​ช่วงการเจริญเติบโต​ โดยมากจะมีการเปลี่ยนเพศระหว่างการเจริญเติบโต​จาก​ปลา​เพศเมีย​เป็น​ปลา​เพศ​ผู้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเขียวพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเข็ม

ปลาเข็ม (Wrestling halfbeak) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดและปลาน้ำกร่อยขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dermogenys อยู่ในวงศ์ปลาเข็ม (Hemiramphidae) มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธานคือ ครีบหางตัดตรงหรือเป็นทรงกลม จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่หลังจุดเริ่มต้นของครีบก้น จำนวนก้านครีบแขนงของครีบหลังน้อยกว่าก้านครีบแขนงของครีบก้น ในปลาตัวผู้ครีบก้นส่วนหน้าจะเปลี่ยนเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินแมลงเป็นอาหารหลัก ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ แต่ตัวผู้จะทำหน้าที่เป็นจ่าฝูง ออกลูกเป็นตัว ในตัวผู้มีพฤติกรรมก้าวร้าวมักใช้ปลายปากที่แหลมคมนี้ทิ่มแทงใส่กันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งจากพฤติกรรมนี้ได้มีผู้นำเอามาเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ต่อสู้กันเป็นการพนันและการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่ง ซึ่งเรียกกันว่า "ปลาเข็มหม้อ" เช่นเดียวกับปลากัด พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำต่าง ๆ ของทวีปเอเชีย ทั้ง เอเชียอาคเนย์ไปจนถึงแหลมมลายู และเกาะสุมาตรา พบทั้งหมด 12 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเข็ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเข็มหม้อ

ปลาเข็มหม้อ (Wrestling halfbeak, Malayan halfbeak, Pygmy halfbeak) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dermogenys pusilla ในวงศ์ปลาเข็ม (Hemiramphidae) มีรูปร่างเรียวยาว ริมฝีปากล่างคือส่วนที่ยื่นยาวออกมาเหมือนปลายเข็ม อันเป็นที่มาของชื่อ ส่วนริมฝีปากบนมีขนาดเล็กเป็นรูปสามเหลี่ยมใช้สำหรับจับเหยื่อและต่อสู้ป้องกันตัวระหว่างปลาพวกกันเดียวเอง โดยมักจะพุ่งแทงกัน มีครีบอกขนาดใหญ่และแข็งแรง ทำให้สามารถกระโดดจับแมลงที่อยู่เหนือผิวน้ำเป็นอาหารได้ นอกจากนี้แล้วยังมีสายตาที่แหลมคม สามารถมองเห็นวัตถุที่เหนือน้ำได้ดีกว่าปลาชนิดอื่น ๆ นิยมอยู่กันเป็นฝูง ๆ ประมาณ 8-10 ตัว โดยมีตัวผู้เป็นจ่าฝูงเพียงตัวเดียว ปลาตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้อย่างเห็นได้ชัด เป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละไม่เกิน 30 ตัว เป็นปลาขนาดเล็ก ความยาวเต็มที่ประมาณ 8 เซนติเมตร พบได้ตามแหล่งน้ำนิ่งเช่น ท้องร่วงสวนผลไม้ทั่วประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ตั้งแต่บังกลาเทศจนถึงคาบสมุทรมลายูและอินโดนีเซีย ปลาเข็มชนิดนี้ คนไทยนิยมเพาะเลี้ยงกันมานานแล้วเพื่อใช้สำหรับต่อสู้กันเพื่อการพนัน คล้ายกับปลากัด โดยจะเพาะเลี้ยงกันในหม้อดินจึงเรียกกันว่า "ปลาเข็มหม้อ" โดยจะมีรูปร่างและขนาดที่ใหญ่กว่าปลาที่พบในธรรมชาติ สำหรับปลาที่ออกสีขาวจะเรียกว่า "ปลาเข็มเผือก" หรือ "ปลาเข็มเงิน" และปลาที่มีสีออกสีทองจะเรียกว่า "ปลาเข็มทอง".

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเข็มหม้อ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเข็มป่า

ปลาเข็มป่า หรือ ปลาเข็มช้าง (Forest halfbeak) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อว่า Hemirhamphodon (/เฮม-อิ-แรม-โฟ-ดอน/) อยู่ในวงศ์ปลาเข็ม (Hemiramphidae) มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ ลำตัวยาวปานกลาง ครีบหลังอยู่ด้านหน้าครีบก้น ฐานของครีบหลังยาวเป็นสองเท่าของครีบก้น ครีบหางมนกลม ฟันเป็นทรงกรวยปลายแหลม มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 10 เซนติเมตร พบได้ตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทยในป่าพรุ ไปตลอดจนถึงแหลมมลายู มีทั้งหมด 9 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเข็มป่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเฉา

ปลาเฉา (Grass Carp) หรือ เฉาฮื้อ หรือ ปลากินหญ้า เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ctenopharyngodon มีรูปร่างยาวทรงกระบอก ส่วนหัวเล็กและกลมมน ในช่องคอมีฟันที่แข็งแรง ไม่มีหนวด ครีบหลังและครีบก้นค่อนข้างเล็กไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหางเว้าลึก เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ลำตัวด้านบนมีสีคล้ำหรือสีน้ำตาลอมทอง ครีบสีคล้ำ ด้านท้องสีจาง บริเวณฐานของเกล็ดบนของลำตัวส่วนมากมีสีคล้ำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 1 เมตร แต่โดยเฉลี่ยจะยาวประมาณ 50-70 เซนติเมตร ตัวผู้ในช่วงเจริญพันธุ์จะปรากฏตุ่มคล้ายสิวขึ้นมาที่ครีบอก และก้านครีบด้านในที่เป็นหยัก หัวและหน้าผาก มีการกระจายพันธุ์ในบริเวณแม่น้ำอามูร์ทางภาคตะวันออกของจีนและรัสเซีย กินอาหารจำพวกหญ้าและพืชน้ำทุกชนิด โดยมักจะหากินตามก้นแม่น้ำ ปัจจุบัน ถือเป็นปลาเศรษฐกิจตัวหนึ่งที่สำคัญ เนื่องจากมีการนำเข้าและเพาะเลี้ยงกันไปในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เช่นเดียวกับปลาในสกุล Hypophthalmichthys รวมถึงเป็นปลาที่นิยมในการตกปลาอีกด้วย ซึ่งจะมีชื่อเรียกรวม ๆ กันในภาษาไทยว่า "ปลาจีน" สำหรับในประเทศไทย ได้นำเข้ามาทางเรือสำเภาโดยชาวจีนผ่านทางฮ่องกง ในปี พ.ศ. 2465 โดยได้ถูกนำเข้ามาเลี้ยงอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นอาหาร ต่อมากรมประมงได้ทดลองเพาะขยายพันธุ์ด้วยการฉีดฮอร์โมนจนสำเร็จในปี พ.ศ. 2509 จึงได้มีการขยายพันธุ์ปลาชนิดนี้ในประเทศได้สำเร็จจนถึงปัจจุบัน โดยที่ปลาจะไม่ไข่เองตามธรรมชาติแต่จะเกิดจากการฉีดฮอร์โมนกระตุ้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเฉา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเฉี่ยวหิน

ปลาเฉี่ยวหิน หรือ ปลาเฉี่ยว หรือ ปลาผีเสื้อเงิน หรือ ปลาโสร่งแขก (Silver moony) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monodactylus argenteus อยู่ในวงศ์ปลาเฉี่ยว (Monodactylidae) มีรูปร่างแบนข้างมาก ลำตัวป้อมสั้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม ครีบหลังและครีบก้นยื่นยาว ผิวลำตัวสีเงินเหลือบเป็นประกายแวววาว เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด ครีบหลังสีเหลืองมีลายคาดสีดำตามขวางผ่านตาและบริเวณขอบแผ่นปิดเหงือก ปากเล็กและเฉียงขึ้นบน หัวเล็ก ดวงตากลมโต สามารถโตได้ถึง 13 นิ้ว แต่โดยทั่วไปจะอยู่ที่ 8 นิ้ว มีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่งในเขตอบอุ่น มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, ซามัว ไปจนถึงนิวแคลิโดเนียจนถึงออสเตรเลีย สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยและน้ำจืดสนิทได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง และความสามารถที่ปรับตัวในน้ำจืดได้ จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกในวงการปลาสวยงามว่า "บอร์เนียว" หรือ "เทวดาบอร์เนียว" เนื่องจากมีรูปร่างคล้ายปลาเทวดา ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง โดยแม่ปลาจะวางไข่ได้ทั้งปี โดยการแบ่งเพศจะไม่สามารถทำได้ จนกว่าจะถึงฤดูผสมพันธุ์ โดยสังเกตคร่าว ๆ ว่า ปลาเพศเมียนั้นจะมีขนาดใหญ่ปลาเพศผู้ และช่องท้องจะอูมกว่า ช่องเพศจะเต่งตึงขณะกำลังตั้งท้อง โดยจะเพาะได้ในบ่อดิน การรวบรวมไข่จะกระทำได้ต่อเมื่อถ่ายน้ำ โดยใช้วัสดุตาข่ายที่มีความละเอียดกรอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเฉี่ยวหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเป้า

ปลาเป้า (ປາເປົ້າ) เป็นสกุลของปลาปักเป้าสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pao (/เป้า/) ซึ่งหมายถึง "ถุง" หรือ "กระเป๋า" ในภาษาไทยหรือภาษาลาว โดยทั่วไปแล้วหมายถึง "ปลาปักเป้า" ทั้งในภาษาไทยและภาษาลาว ("เป้า" เป็นคำที่ใช้เรียก ปลาปักเป้าในภาษาอีสาน) โดยปลาปักเป้าในสกุลนี้ เป็นปลาปักเป้าขนาดเล็กอาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยในบางชนิด พบมากในแหล่งน้ำต่าง ๆ โดยเฉพาะในภาคอีสานของไทยและลาว ในช่วงฤดูวางไข่ ปลาจะดุร้ายก้าวร้าวมากเป็นพิเศษ เนื่องจากหวงแหนไข่ จะกัดหรือทำร้ายผู้ที่บุกรุกถิ่นที่อยู่หรือถิ่นวางไข่ ไม่เว้นแม้กระทั่งมนุษย์ โดยปลาขนาด 20 เซนติเมตร จะกัดด้วยฟันอันแหลมคมเป็นแผลกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเป้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเนื้ออ่อน

ปลาเนื้ออ่อน (Sheatfishes) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Phalacronotus ปลาในสกุลนี้มีลักษณะเด่น คือ ไม่มีครีบหลัง จัดเป็นปลาขนาดกลางเมื่อเทียบกับสกุลอื่นในวงศ์นี้ เป็นปลาที่ใช้เพื่อการบริโภคกันมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะในอาหารไทย เดิมเคยจัดให้อยู่ในสกุล Micronema แต่ปัจจุบันได้แยกออกม.

ใหม่!!: สปีชีส์และปลาเนื้ออ่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปักษีวิทยา

ปักษีวิทยา (ornithology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของสัตววิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับนก คำว่า ornithology มาจากคำในภาษากรีก 2 คำ คือ ornis ("นก") และ logos ("ความรู้") ผู้ที่ศึกษาสาขาวิชานี้จะเรียกว่า "นักปักษีวิทยา" (ornithologist) มนุษย์ให้ความสนใจนกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังจะเห็นได้จากภาพเขียนบนผนังถ้ำในสมัยยุคหิน ในยุคแรก ความรู้เกี่ยวกับนกเริ่มมาจากความพยายามในการล่านกหายาก และการเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อกินไข่และเนื้อ โดยเริ่มที่อียิปต์ ประมาณ 400 ปีก่อนคริสตกาล และที่จีน ประมาณ 246 ปีก่อนคริสตกาล ในสมัยใหม่ ปักษีวิทยาช่วยในการไขปริศนาหลายอย่างเกี่ยวกับวิวัฒนาการ พฤติกรรม และนิเวศวิทยา เพราะมีการศึกษาถึงสปีชีส์ กระบวนการเกิดสปีชีส์ใหม่ การเรียนรู้ การใช้สอยเครื่องมือ ฯลฯ โดยได้จากการศึกษาตัวอย่าง จากในห้องปฏิบัติการ และจากการลงพื้นที่จริง หมวดหมู่:สัตววิทยา หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:ปักษีวิทยา.

ใหม่!!: สปีชีส์และปักษีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ปากกาทะเล

ปากกาทะเล (Sea pens) เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในอันดับ Pennatulacea จัดเป็นแอนโธซัวอย่างหนึ่ง มีลักษณะใกล้เคียงกับปะการังอ่อน โดยแต่ละโพลิปมีหนวดจำนวน 8 เส้น โคโลนีของปากกาทะเลแต่ละชนิดมีรูปร่างแตกต่างกันออกไป บางชนิดเป็นท่อนคล้ายฝักข้าวโพด บางชนิดเป็นแท่งยาวคล้ายกิ่งไม้ก้านเดียว คล้ายแท่งปากกา อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ และบางชนิดคล้ายขนนก สีของปากกาทะเลส่วนใหญ่มีสีครีม, สีเหลืองและสีม่วงอ่อน ปากกาทะเลทุกชนิดอาศัยอยู่รวมกันเป็นโคโลนีเช่นเดียวกับกัลปังหาและปะการังอ่อน ด้านล่างเป็นด้ามใช้สำหรับฝังลงไปในทะเลที่เป็นโคลน หรือโคลนปนทราย ส่วนบนที่อยู่ของโพลิปรูปร่างเป็นทรงกระบอก สามารถยืดหดตัวจากเนื้อเยื่อของโคโลนีเพื่อจับเหยื่อ แต่ละโคโลนีมีโพลิปหรือตัวปากกาทะเลนับร้อยตัว ปากกาทะเลทุกชนิดอาศัยอยู่ตามพื้นทะเล โดยเฉพาะบริเวณที่มีกระแสน้ำไหลผ่าน เพราะโพลิปจะได้รับแพลงก์ตอนที่พัดมากับกระแสน้ำและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ปากกาทะเลรูปขนนกมีแขนงแตกออกทางด้านข้าง มักมีปูตัวแบนขนาดเล็กอาศัยอยู่แบบเกื้อกูลกัน ส่วนใหญ่มักพบปูอาศัยกันเป็นคู่ ซึ่งปูจำพวกนี้ไม่พบอยู่อย่างอิสระตามลำพัง แต่อาศัยปากกาทะเลเป็นที่พักพิง หาอาหาร และช่วยเก็บกินเศษอินทรีย์ที่ติดอยู่ตามผิวลำตัวของปากกาทะเล จึงทำหน้าที่คล้ายแม่บ้านหรือพนักงานทำความสะอาดให้กับปากกาทะเลด้วย ปากกาทะเลมีคุณสมบัติอยู่อย่างหนึ่งคือ ความสามารถในการเรืองแสงได้ในที่มืด ซึ่งการเรืองแสงอาจเกิดเป็นบางส่วนหรือเกิดพร้อมกันทั้งโคโลนีก็ได้ เหตุนี้บริเวณพื้นทะเลบางแห่งที่มีปากกาทะเลอาศัย จึงอาจมีแสงเรืองคล้ายไฟใต้น้ำส่องสว่างด้วย เนื่องจากปากกาทะเลอาศัยอยู่ตามพื้นทะเล จึงมักติดอวนลากของชาวประมงซึ่งลากสัตว์น้ำหน้าดินขึ้นมา แต่ปากกาทะเลไม่สามารถนำมาบริโภคได้ จึงถูกนำไปทำอาหารสัตว์ปะปนกับปลาเป็ด การศึกษาตัวอย่างของปากกาทะเลจึงกระทำได้ง่ายวิธีหนึ่งคือ การเก็บจากท่าเทียบเรือประมงนั่นเอง ปากกาทะเล โดยมากเป็นสัตว์ทะเลที่มักไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก จึงมีการศึกษาน้อยมาก ในน่านน้ำไทยเชื่อว่ามีปากกาทะเลอยู่อย่างน้อย 2 ชนิด โดยแบ่งออกได้เป็น 2 อันดับย่อย มีทั้งหมด 14 วงศ์ (ดูในตาราง).

ใหม่!!: สปีชีส์และปากกาทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์ม (พืช)

ปาล์ม (Palm) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Arecacae (ชื่อเดิมคือ Palmae) นับเป็นพืชวงศ์ใหญ่ที่สุด (รองจากหญ้า) ทั้งในแง่จำนวนของชนิด และปริมาณที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ จำแนกได้กว่า 210 สกุล ราว 3,800 ชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวไม่แยกกิ่งก้านสาขา พืชจำพวกปาล์มนี้มีร่องรอยในซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ถึงประมาณ 80 ล้านปีมาแล้ว ปัจจุบันนี้เราพบปาล์มได้ในหลากหลายพื้นทั่วโลก อันเนื่องจากปาล์มสามารถเติบโตในสภาพภูมิอากาศที่หลากหลาย แม้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อน และกึ่งเขตร้อนก็ตาม แต่ปาล์มสามารถเติบโตได้ตั้งแต่ละติจูด 30 องศาเหนือ ลงมาจนถึงละติจูด 30 องศาใต้ ปาล์มที่พบในเขตเหนือสุด คือ ปาล์มพัดยุโรป (Chamaerops humilis) ซึ่งเติบโตในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และแอฟริกาตอนเหนือ ส่วนปาล์มที่พบตอนใต้สุด คือปาล์มนิเกา (Rhopalostylis sapida) ที่พบในนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแชแธม ปาล์มก็ยังเติบโตบนพื้นที่สูงถึง 3,000 เมตร (บนเทือกเขาแอนดีส) ส่วนที่แห้งแล้งอย่างทะเลทราย (อินทผลัม) และที่ชื้นแฉะ ก็ยังเป็นที่อาศัยส่วนใหญ่ของปาล์มหลากหลายชนิด (เช่น จาก ชิด สาคู).

ใหม่!!: สปีชีส์และปาล์ม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า

ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า - ชะตากรรมของสังคมมนุษย์ (Guns, Germs, and Steel: The Fates of Human Societies) เป็นหนังสือสารคดีหลายสาขาวิชาของ.ดร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ปู

ปู เป็นสัตว์พวกเท้าปล้องชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมอาโทรโพดา ในอันดับฐานบราชีอูรา (Brachyura) มีลักษณะสิบขา มีหลายชนิดที่อยู่ทั้งน้ำจืดและทะเล รวมถึงอยู่แต่เฉพาะบนบก ปูจะมีกระดองซึ่งเป็นแคลเซียมแข็ง มีลักษณะสมมาตร แอบโดเมนพับลงไปอยู่ใต้กระดอง ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของอันดับฐานนี้ มีก้ามใหญ่ 1 คู่ มีขาเดิน 5 คู่ แตกออกเป็นรัศมีไปทางด้านข้างลำตัว หนวดคู่ที่ 2 อยู่ระหว่างตา ส่วนหาง ไม่มีหน้าที่ชัดเจน และไม่มีแพนหาง ปูในแนวปะการังมีหลายกลุ่มหลายรูปร่างโดยสัมพันธ์กับพฤติกรรม ปูหลายชนิดอาศัยตามพื้นทราย จะมีขาว่ายน้ำหรือกรรเชียงคล้ายปูม้า บางชนิดตัวใหญ่ มีกระดองแข็งคล้ายปูทะเล มีขาสั้นและแข็งแรงเพื่อเกาะยึดกับหิน เช่นปูใบ้ก้ามดำ ปูบางชนิดมีรูปร่างแปลกเพื่อพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม บางชนิดมีสีและลักษณะกระดองเหมือนกัลปังหา ปะการังอ่อน หรือดาวขนนก ในจำนวนนี้ยังมีปูที่นำฟองน้ำหรือสาหร่ายมาติดตามตัวเพื่อใช้พรางกาย ปูกลุ่มหนึ่งที่มีวิวัฒนาการมากกว่ากลุ่มอื่นคือ ปูเสฉวนจะเปลี่ยนส่วนท้องให้นิ่มและขดงอเพื่อสามารถเข้าไปอยู่ในเปลือกหอย นำเปลือกหอยติดตัวไปด้วยตลอดเวลา ซึ่งจะจัดอยู่ในอันดับฐานปูปลอม (Anomura) ปัจจุบันปูได้รับการจำแนกไว้แล้วกว่า 6,000 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแถบอินโด-แปซิฟิก ในประเทศไทยพบแล้วรวม 824 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปู · ดูเพิ่มเติม »

ปูก้ามดาบ

ปูก้ามดาบ หรือ ปูเปี้ยว (Fiddler crabs, Ghost crabs) เป็นปูทะเลขนาดเล็กสกุลหนึ่ง อยู่ในสกุล Uca ในวงศ์ Ocypodidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูก้ามดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปูม้า

ปูม้า (Flower crab, Blue crab, Blue swimmer crab, Blue manna crab, Sand crab) จัดเป็นปูที่อาศัยอยู่ในทะเลชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Portunus ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่วโลก และพบในน่านน้ำไทยราว 19 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปูม้า (สกุล)

ปูม้า (Swimming crab) เป็นสกุลของปูสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปูว่ายน้ำ (Portunidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Portunus (/ปอร์-ทู-นัส/) มีลักษณะกระดองแบนราบและกว้าง ขาคู่สุดท้ายแพเป็นใบพาย ใช้สำหรับว่ายน้ำ ซึ่งจะว่ายน้ำได้ดีและเร็วมาก ปกติจะหากินในเวลากลางคืน ส่วนเวลากลางวันจะฝังตัวอยู่ใต้ทราย ในระดับความลึกประมาณ 7-30 เมตร โดยโผล่มาเพียงตาและหนวดเพื่อสังเกตการณ์ จัดเป็นปูที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากใช้บริโภคเป็นอาหาร เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3 เดือน หลังจากตัวผู้ลอกคราบแล้ว สามารถออกไข่ได้ครั้งละ 120,000-2,300,000 ฟอง พบในน่านน้ำไทย 19 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูม้า (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปูลม

ระวังสับสนกับ ปูทหาร ปูลม หรือ ปูผี (Ghost crab) เป็นปูทะเลขนาดเล็กในสกุล Ocypode อยู่ในวงศ์ Ocypodidae อันเป็นวงศ์เดียวกันกับปูก้ามดาบด้วย ปูลมมักถูกจำสับสนกับปูทหาร ซึ่งอยู่ในสกุล Mictyris ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ปูลมจะมีลำตัวที่ใหญ่กว่ามาก และมีกระดองเป็นรูปสี่เหลี่ยม ไม่เหมือนปูทหารที่เป็นวงกลม และมีก้านตายาว ซ้ำยังมีพฤติกรรมการหากินที่ต่างกันออกไป กล่าวคือ ปูลมจะไม่ปั้นทรายเป็นก้อนเหมือนปูทหาร แต่จะใช้ก้ามคีบอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์ และอินทรีย์สารต่าง ๆ เข้าปาก และมักจะทำรูอยู่ในป่าชายเลนที่เป็นเลนมากกว่า แต่ก็มีพบบ้างที่บริเวณหาดทราย ปูลมได้ชื่อว่าในภาษาไทยเนื่องจากเป็นปูที่วิ่งได้เร็วมาก และส่วนชื่อปูผีในภาษาอังกฤษ มาจากพฤติกรรมการหากินที่มักหากินในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน ขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์มาจากภาษากรีกคำว่า ocy หมายถึง "เร็ว" และคำว่า ποδός หมายถึง "เท้า" รวมความแล้วหมายถึงสัตว์ที่วิ่งเร็ว ปูลมพบทั้งหมด 28 ชนิด โดยชนิดที่พบได้ในประเทศไทยได้แก่ ปูลมใหญ่ (Ocypode ceratophthalmus) และปูลมเล็ก (O. macrocera) ซึ่งมีพฤติกรรมหากินในเวลากลางวันด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูลม · ดูเพิ่มเติม »

ปูจักรพรรดิ

ปูจักรพรรดิ หรือ คิงแครบ (King crab, ชื่อวงศ์: Lithodidae) เป็นวงศ์ปูชนิดหนึ่ง มักพบในเขตน้ำเย็น เนื่องจากมีขนาดตัวที่ใหญ่และเนื้อมาก ประกอบกับมีรสชาติดี ทำให้ผู้คนนิยมรับประทาน จึงมีราคาค่อนข้างสูง ทั้งนี้ 90% ของปูจักรพรรดิที่ซื้อขายกันในท้องตลาดคือพันธุ์ ปูแดงจักรพรรดิ (Paralithodes camtschaticus) ที่มักจับได้ในแถบอลาสกา และ ชิลี ปล้องและกระดองของปูวงศ์นี้มีหนามอยู่ทุกส่วน แต่ความแข็งของปล้องจะน้อยกว่าปล้องของปูม้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

ปูจั๊กจั่น

ปูจักจั่น (อังกฤษ: Red Frog Crab, Spanner Crab, Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ Raninidae ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ไทย จนไปถึงหมู่เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก จัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ranina.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูจั๊กจั่น · ดูเพิ่มเติม »

ปูทหาร

ระวังสับสนกับ ปูลม ปูทหาร (Soldier crab) เป็นปูทะเลที่อยู่ในสกุล Mictyris จัดเป็นเพียงสกุลเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Mictyridae.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ปูทะเล

ปูทะเล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Scylla serrata) เป็นปูชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในทะเล มีกระดองกลมรีเป็นรูปไข่ สีดำปนแดงหรือสีน้ำตาลเข้ม เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่นิยมนำมาปรุงสดเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปูนา

ำหรับปูนาในสกุลอื่นดูที่ Sayamia ปูนา (Ricefield crabs) เป็นสิ่งมีชีวิตประเภทปูน้ำจืดในวงศ์ Parathelphusidae ในสกุล Somanniathelphusa แหล่งที่อยู่มักจะอยู่ในนาข้าวจึงเรียกว่าปูนา ปูนาแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงบางพื้นที่ของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เกษรกรผู้ปลูกข้าวในไทย ถือว่าปูนาเป็นศัตรูพืชของข้าว เพราะปูจะกัดกินต้นข้าวที่ปักดำใหม่ ๆ ทำให้ชาวนาต้องปักดำซ้ำหลายครั้ง นอกจากนี้ ปูยังขุดรูตามคันนา ทำให้คันนาไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้ แต่ปูนาก็เป็นอาหารราคาถูกและหาง่ายโดยเฉพาะกับวิถีชีวิตผู้คนในชนบท และเป็นส่วนประกอบสำหรับปรุงเป็นอาหารประเภทต่าง ๆ เช่น ส้มตำ ในประเทศไทยพบมี 8 ชนิด ในภาคต่าง ๆ ดังนี้ 1.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูนา · ดูเพิ่มเติม »

ปูแสม

ปูแสม เป็นปูที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศป่าชายเลน จัดอยู่ในสกุล Sesarma ซึ่งประกอบด้วยปูหลายชนิด ดังตัวอย่างต่อไปนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูแสม · ดูเพิ่มเติม »

ปูไก่

ำหรับปูขนอย่างอื่นที่นิยมรับประทานกันเป็นอาหารจีน ดูที่: ปูก้ามขน ปูไก่ (Hairy leg mountain crab) เป็นปูชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปูบก (Gecarcinidae) มีกระดองเป็นรูปไข่ ด้านหน้าโค้งมนกลม เหนือเบ้าตามีปุ่มเล็ก ๆ ข้างละปุ่ม กระดองตอนหน้าระหว่างขอบตาแคบ ตัวผู้มีก้ามใหญ่และแข็งแรง ก้ามซ้ายมีขนาดใหญ่ ปลายก้ามหนีบอันบนยาวกว่าอันล่างขาเดินมี 4 คู่ ข้อสุดท้ายมีปลายแหลม ขอบหยักเป็นฟันเลื่อย ขาเดินทุกคู่ มีขนสีดำกระดองสีน้ำตาลปนเหลือง ก้ามสีน้ำตาลปนส้ม โคนขาเดินสีส้ม มีความยาวประมาณ 8-20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในป่าใกล้ลำธารหรือน้ำตก หรือตามป่าชายหาด กินเศษซากต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก จนถึงอินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะโคโคส, ตูอาโมตัสทางตอนเหนือของออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบได้ตามเกาะต่าง ๆ ทางภาคใต้ เช่น หมู่เกาะสิมิลันและเกาะภูเก็ต แต่ปัจจุบันพบได้ยาก สามารถใช้เนื้อในการรับประทานได้ แต่ไม่เป็นที่นิยมนักเนื่องจากในเนื้อมีกลิ่นกรดยูริกและแอมโมเนียจากของเสียจากระบบขับถ่ายของปู นอกจากนี้แล้วปูไก่ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น "ปูขน" หรือ "ปูภูเขา" และเหตุที่ได้ชื่อว่าปูไก่ เนื่องจากมีเสียงจากการกระทบกันของกล้ามปูเสียงดังคล้ายเสียงร้องของไก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูไก่ · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวน

ปูเสฉวน (Hermit crab) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ในไฟลัมอาร์โธรพอด ในไฟลัมย่อยครัสเตเชียน ในอันดับฐานปูปลอม (Anomura) ในวงศ์ใหญ่ Paguroidea ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ต่าง ๆ ได้อีก 7 วงศ์ (ดูในตาราง) โดยรวมแล้ว ปูเสฉวนเป็นสัตว์ที่มีขนาดเล็ก ประมาณ 1-6 เซนติเมตร มีขาทั้งหมด 10 ขา ไม่มีเปลือกแข็งแบบปูหรือกุ้ง จึงต้องอาศัยในเปลือกหอยเปล่า โผล่เฉพาะหัวและขา 2 คู่ออกจากเปลือก ส่วนขาอีก 2 คู่ใช้ยึดกับเปลือกหอย กินซากพืช ซากสัตว์เป็นอาหาร มักอาศัยอยู่ตามหาดทรายชายทะเล บางชนิดอาจอาศัยอยู่ในน้ำลึก มีประมาณ 1,100 ชนิด บางสกุลอาศัยอยู่แต่เฉพาะบนบก ได้แก่ Coenobita ปูเสฉวนมีพฤติกรรมการขยายพันธุ์ ด้วยการที่ตัวผู้จะต่อสู้กันด้วยก้ามเพื่อแย่งชิงตัวเมีย เหมือนกุ้ง หรือปูทั่วไป เมื่อตัวผู้ที่ชนะแล้วจะจับตัวเมียไว้ เมื่อตัวเมียลอกคราบ ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสมบริเวณขาว่ายส่วนท้อง เกิดเมื่อการปฏิสนธิแล้ว ตัวเมียจะปล่อยไข่ไปในทะเลเพื่อปล่อยไข่ให้ล่องลอยไปในทะเล ซึ่งลูกขนาดเล็กจะยังมีลักษณะไม่เหมือนตัวเต็มวัย จะต้องลอกคราบและมีพัฒนาการต่อไปเรื่อย ๆ ในปูเสฉวนบกก็มีพฤติกรรมเช่นเดียวกัน แต่กระทำกันบกบก และตัวเมียจะลงไปปล่อยในทะเล ก่อนที่ลูกเมื่อแรกเกิดจะกลับมาเติบโตและใช้ชีวิตอยู่บนบก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูเสฉวน · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนบก

ปูเสฉวนบก (Land hermit crabs) เป็นปูเสฉวนในสกุล Coenobita (มาจากคำในภาษาละตินว่า coenobivm และคำในภาษากรีกโบราณว่า κοινόβιον แปลว่า "ชีวิตในประชาคม, อาราม") มีทั้งหมด 15 ชนิด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 นิ้ว มีรูปร่างหน้าตาคล้ายปูเสฉวนทั่วไป และอาศัยอยู่ในเปลือกหอย แต่ไม่สามารถที่จะอาศัยอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากระบบการหายใจถูกพัฒนาให้รับออกซิเจนโดยตรง ถ้าลงไปในน้ำจะสำลักน้ำตายได้เหมือนปูมะพร้าว (Birgus latro) แต่จะลงไปกินน้ำทะเลเพื่อต้องการเกลือแร่ อีกทั้งยังต้องการน้ำจืดอีกด้วย ปูเสฉวนบกมีถิ่นกำเนิดที่ทวีปอเมริกาเหนือ, ทะเลแคริบเบียน, หมู่เกาะเบอร์มิวดา, ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย จะอาศัยอยู่บนบกหรือในป่าริมชายทะเล กินอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์เหมือนปูเสฉวนทั่วไป ปัจจุบันปูเสฉวนบกกำลังได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่งผู้เลี้ยงนิยมใช้สีทาบนเปลือกหอยให้เป็นสีสันและลวดลายต่าง ๆ แต่เป็นปูที่ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการเลี้ยง เนื่องจากถึงแม้ว่าจะอาศัยอยู่บนบกก็ตาม แต่ในสถานที่เลี้ยงต้องใช้ความชุ่มชื้นด้วย และปูพื้นด้วยกรวดทรายและขอนไม้หรือมะพร้าวผุ และมีความจำเป็นต้องใช้แคลเซียมเพื่อเป็นแร่ธาตุด้วย ไม่เช่นนั้นอาจตายได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูเสฉวนบก · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนบกก้ามแถวฟัน

ปูเสฉวนบกก้ามแถวฟัน (tawny hermit crab) เป็นปูเสฉวนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปูเสฉวนบก (Coenobitidae) มีขาเดิน 4 ขา มีก้านปากขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ก้านตามีขนาดใหญ่และยาวมีแถบสีน้ำตาลหรือส้ม ก้ามมีขนาดใหญ่ มีขนที่ขาเดินคู่ที่อยู่ถัดจากก้าม และสามารถส่งเสียงได้เมื่อถูกรบกวนเพื่อข่มขู่ผู้รุกรานด้วยการใช้ก้านปากขนาดใหญ่ขูดกับเปลือกหอยที่อาศัยอยู่ ทำให้เกิดเสียง มีสีสันที่แตกต่างหลากหลายออกไปตามแต่สภาพแวดล้อมที่อยู่และอาหารที่กิน เช่น สีเขียว, สีน้ำตาลและสีเทา, สีดำ, สีขาว, สีชมพู, สีฟ้า เป็นต้น มีความยาวเต็มที่ได้ 15 มิลลิเมตร (0.59 นิ้ว) กระจายอยู่ทั่วไปตามหาดทรายของชายฝั่งทะเลอินโด-แปซิฟิก กินอาหารจำพวกอินทรียสาร, ซากปลา และผลไม้ทั่วไป ในประเทศไทยพบชุกชุมที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ หากินในเวลากลางคืน โดยที่กลางวันและซ่อนตัวอยู่ใต้ใบไม้.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูเสฉวนบกก้ามแถวฟัน · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนยักษ์จุดขาว

ปูเสฉวนยักษ์จุดขาว (Giant hermit crab, White-spotted hermit, crab, Spotted hermit crab) เป็นปูเสฉวนชนิดหนึ่ง มีลำตัวสีแดงแต้มด้วยจุดสีขาวขอบสีน้ำตาลกระจายทั่วไป ก้านตาสีแดง บริเวณโคนหนวดคู่ที่สองสีขาวยาวมากและมีขนแข็งกระจายอยู่ทั่วลำตัวที่เห็นได้จากภายนอก ก้ามมีขนาดใหญ่ แต่มีขนาดไม่เท่ากันปล้องสุดท้ายของขาเดินสองคู่แรกเรียวยาวขนาดความยาวกระดองประมาณ 8 เซนติเมตร นับเป็นปูเสฉวนขนาดใหญ่สุดที่พบในน่านน้ำไทย สามารถใหญ่ได้ถึง 20 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ในแนวปะการังของแถบอินโด-แปซิฟิกพบได้จนถึงแอฟริกา, ทะเลจีนใต้ และฮาวาย มักอยู่ตามพื้นทะเลที่ห่างจากชายฝั่ง และจับได้ด้วยอวนลาก มักอาศัยอยู่ในเปลือกหอยสังข์จุกพราหมณ์ ซึ่งเป็นหอยเปลือกหนา ปลายยอดเป็นจุก.

ใหม่!!: สปีชีส์และปูเสฉวนยักษ์จุดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เบลเกอร์

ปีเตอร์ เบลเกอร์ (Pieter Bleeker; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1819 ที่ซานดัม – 24 มกราคม ค.ศ. 1878 ที่เดอะเฮก) นักมีนวิทยาและวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวดัตช์ มีชื่อเสียงจากผลงานตีพิมพ์ชื่อ Atlas Ichthyologique des Orientales Neerlandaises ซึ่งเป็นบันทึกที่ได้จัดทำขึ้นระหว่างสำรวจพันธุ์ปลาในอินโดนีเซีย ตีพิมพ์ระหว่างปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และปีเตอร์ เบลเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นกชาปีไหน

thumb นกชาปีไหน หรือ นกกะดง (Nicobar pigeon, Nicobar dove) เป็นนกชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbidae) นับเป็นนกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ในสกุล Caloenas ในขณะที่ชนิดอื่น ๆ สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยมีความใกล้ชิดกับนกโดโดที่สูญพันธุ์ไปแล้วด้วย นกชาปีไหน มีขนาดลำตัวเท่า ๆ กับไก่แจ้ มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 40-41 เซนติเมตร มีลำตัวขนาดใหญ่ แต่มีหัวขนาดเล็กและมีเนื้อนูนเป็นตุ่มบริเวณจมูก ขนตามลำตัวเป็นสีเขียวเหลือบเทา ขนหางสีขาว แต่จะมีขนบริเวณคอห้อยยาวออกมาเหมือนสร้อยคอ ซึ่งขนนี้จะยาวขึ้นเมื่อนกมีอายุมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีขาขนาดใหญ่แข็งแรง เพราะเป็นนกที่ชอบเดินหากินตามพื้น นกชาปีไหน แม้จะเป็นนกที่หากินบนพื้นดินเป็นหลัก แต่ก็เป็นนกที่สามารถบินได้ มีรายงานว่าสามารถบินข้ามไปมาระหว่างเกาะต่าง ๆ ได้ เป็นนกที่หากตกใจจะบินหรือกระโดดขึ้นบนต้นไม้ และไม่ค่อยส่งเสียงร้องนัก นานครั้งจึงจะได้ยินเสียงร้องทีหนึ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์เฉพาะหมู่เกาะต่าง ๆ บริเวณทะเลอันดามันและอินโด-แปซิฟิก เช่น หมู่เกาะนิโคบาร์, หมู่เกาะอันดามัน, หมู่เกาะโซโลมอนและปาเลา ในประเทศไทยจัดเป็นนกที่หาได้ยากมากชนิดหนึ่ง โดยจะอาศัยอยู่ในป่าดิบหรือป่าชายหาดของหมู่เกาะสิมิลัน, หมู่เกาะสุรินทร์ หรือหมู่เกาะอ่างทอง รวมถึงอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี เท่านั้น เป็นนกที่ถูกจัดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักรราช 2535 แต่ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วโดยทางการของไทย เมื่อปี พ.ศ. 2538 พบว่านกชาปีไหนสามารถวางไข่ได้ตลอดทั้งปี โดยสร้างรังแบบหยาบ ๆ รูปร่างคล้ายจาน โดยใช้กิ่งไม้และใบไม้แห้งวางไข่ ครั้งละเพียง 1 ฟอง มีขนาด 31.64x45.0 มิลลิเมตร น้ำหนัก 25.05 กรัม พ่อและแม่นกช่วยกันฟักไข่ มีระยะฟัก 25-29 วัน แม่นกสามารถจะวางไข่ชุดใหม่ต่อไปได้หลังจากลูกนกมีอายุได้ประมาณ 40 วัน ลูกนกออกจากไข่ไม่มีขนปกคลุมตัว จัดอยู่ในพวกอัลติเชียล (นกที่บินไม่ได้) พ่อและแม่นกช่วยกันเลี้ยงดูลูกนกจนมีอายุได้ 34-36 วัน ลูกนกจึงจะทิ้งรังและกินอาหารเองได้ ขนชุดแรกขึ้นปกคลุมตัวสมบูรณ์หมด เมื่อลูกนกมีอายุได้ 3 เดือน และเมื่อมีอายุ 7 เดือน มีการผลัดขนปีกชุดแรก และมีขนชุดใหม่งอกขึ้นมาแทนที.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกชาปีไหน · ดูเพิ่มเติม »

นกบูบี

นกบูบี (Booby) เป็นนกทะเลขนาดกลางถึงใหญ่สกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Sula ในวงศ์นกบูบี (Sulidae) นกบูบี เป็นนกที่มีตีนเป็นพังผืดคล้ายตีนเป็ดขนาดใหญ่ สีสันแตกต่างกันไปตามชนิด เป็นนกที่หาปลาและสัตว์น้ำต่าง ๆ กินในทะเล โดยมีพฤติกรรมบินโฉบเพื่ออาหาร โดยจะบินสูงขึ้นและหยุดอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เพื่อที่จะพับปีกให้แนบลู่กับลำตัว แล้วทิ้งตัวพุ่งดิ่งลงในน้ำ ซึ่งการบินลักษณะนี้ทำให้นกบูบีสามารถดำน้ำได้ลึกและจับปลาได้อย่างไม่พลาด นอกจากนี้แล้วยังมีส่วนหางที่ยาว ซึ่งหางนี้มีส่วนช่วยในการพยุงตัวให้บินโฉบเฉี่ยวไปมาได้อย่างคล่องแคล่ว และยังช่วยให้สามารถเปลี่ยนทิศทางในการบินและดำน้ำลงไปจับปลาได้อีกด้วยนกบูบี BOOBY, หลังปกนิตยสาร แม็ค ม.ต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกบูบี · ดูเพิ่มเติม »

นกบูบีตีนฟ้า

นกบูบีตีนฟ้า (Blue-footed booby) เป็นนกบูบีชนิดหนึ่ง ในบรรดา 6 ชนิด จัดอยู่ในวงศ์นกบูบี (Sulidae) เป็นนกทะเลที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีความยาวลำตัวได้ถึง 90 เซนติเมตร (36 นิ้ว) ความกว้างของปีกจากข้างหนึ่งไปอีกข้างหนึ่งถึง 1.5 เมตร (4.9 ฟุต) การเต้นเพื่อจับคู่ของนกตัวผู้ นกบูบีตีนฟ้า มีลักษณะเด่นอันเป็นที่มาของชื่อ คือ ตีนที่เป็นพังผืดขนาดใหญ่เหมือนตีนเป็ดเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงินสดในตัวผู้ ซึ่งสีฟ้านี้เป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงความแข็งแรงและช่วงอายุวัย นกตัวที่มีอายุมากและร่างกายไม่แข็งแรง สีฟ้าก็จะจืดจางลงไป นกตัวเมียจะเลือกตัวผู้ที่มีสีสดใส นอกจากนี้แล้วนกบูบีตีนฟ้า ยังเป็นนกบูบีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่เมื่อจับคู่ผสมพันธุ์ ตัวผู้จะมีลีลาการเต้นรำด้วยการเต้นสลับขากัน กางปีก และส่งเสียงร้องเพื่อสร้างความประทับใจให้แก่ตัวเมีย ที่มีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย ด้วยพฤติกรรมเช่นนี้ ทำให้นกบูบีตีนฟ้าเป็นที่นิยมอย่างมากที่จะถ่ายภาพของผู้ที่นิยมการถ่ายภาพสัตว์ป่าหรือผู้ที่ชื่นชอบการท่องเที่ยวผจญภัยธรรมชาติ ฤดูการผสมพันธุ์ของนกบูบีตีนฟ้าอยู่ในราวปลายเดือนมิถุนายนถึงต้นเดือนกรกฎาคม เป็นนกที่สื่อสารกันด้วยเสียงร้องคล้ายเสียงผิวปาก เมื่อจับคู่กันแล้ว ถึงแม้ว่าจะมีอีกฝ่ายกำลังบินอยู่ก็ตาม นกบูบีตีนฟ้าเป็นนกที่จับคู่เพียงตัวเดียวตลอดทั้งชีวิต ทำรังโดยการวางไข่ไว้บนพื้นดิน โดยมักสร้างอยู่ใกล้พุ่มไม้เพื่อช่วยในการบังกระแสลม วางไข่ครั้งละฟองเดียว หรือไม่เกิน 2 ฟอง บางครั้งอาจมากได้ถึง 3 ฟอง แต่ไข่ที่มีจำนวนมากถึงเช่นนี้ทำให้พ่อแม่นกไม่สามารถให้ความอบอุ่นในการฟักได้อย่างทั่วถึง ส่งผลถึงพัฒนาการของลูกนก ในยามกกไข่ แม่นกมักจะหันหน้าเข้าทางแสงแดดตลอด นักเดินเรือในยุคกลางจึงใช้พฤติกรรมของนกบูบีตีนฟ้าเป็นเข็มทิศ เมื่อฟักออกมาแล้ว ลูกนกจะแข่งขันกันเองในหมู่พี่น้อง ตัวที่แข็งแรงกว่าก็จะเป็นตัวที่อยู่รอดต่อไปจนเติบใหญ่ นกบูบีตีนฟ้า หาปลาในทะเลกินเป็นอาหาร โดยมีพฤติกรรมบินโฉบเพื่ออาหาร โดยจะบินสูงขึ้นและหยุดอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เพื่อที่จะพับปีกให้แนบลู่กับลำตัว แล้วทิ้งตัวพุ่งดิ่งลงในน้ำ ซึ่งการบินลักษณะนี้ทำให้นกบูบีสามารถดำน้ำได้ลึกและจับปลาได้อย่างไม่พลาด นอกจากนี้แล้วยังมีส่วนหางที่ยาว ซึ่งหางนี้มีส่วนช่วยในการพยุงตัวให้บินโฉบเฉี่ยวไปมาได้อย่างคล่องแคล่ว และยังช่วยให้สามารถเปลี่ยนทิศทางในการบินและดำน้ำลงไปจับปลาได้อีกด้วย อีกทั้งตีนที่เป็นพังผืดก็ช่วยให้ว่ายน้ำและดำน้ำได้อย่างดี จนสามารถพุ่งขึ้นบินสู่อากาศได้เลยเมื่อขึ้นมาบนผิวน้ำ นกบูบีตีนฟ้า กระจายพันธุ์ตลอดชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา จนถึงหมู่เกาะกาลาปากอส และทิศใต้ของประเทศเปรู แต่ที่หมู่เกาะกาลาปากอสนั้น ไม่ได้มีนกบูบีตีนฟ้าอาศัยอยู่ในทุกเกาะ นกบูบีตีนฟ้า เป็นที่รู้จักครั้งแรกของชาวตะวันตก โดยชาร์ล ดาร์วิน ระหว่างการเดินทางไปยังหมูเกาะกาลาปากอส โดยการอนุกรมวิธานเกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และนกบูบีตีนฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

นกช้อนหอย

นกช้อนหอย หรือ นกค้อนหอย หรือ นกกุลา (Ibis) เป็นนกจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Threskiornithinae ในวงศ์นกช้อนหอยและนกปากช้อน (Threskiornithidae) มีลักษณะโดยรวม คือ เป็นนกที่มีจะงอยปากยาวโค้ง ปลายแหลม หากินในนํ้าตื้นกินปลา, ปู และสัตว์นํ้าเล็ก ๆ เป็นอาหาร โดยมากแล้วจะทำรังอยู่บนต้นไม้ร่วมกับนกจำพวกอื่นที่คล้ายคลึงกัน เช่น นกกระยาง หรือนกปากช้อน โดยคำว่า Ibis ที่ใช้เป็นชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ นั้นมาจากคำว่า ibis เป็นภาษาละติน จากภาษากรีกคำว่า ἶβις และ ibis จากภาษาอียิปต์ hb, hīb.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกช้อนหอย · ดูเพิ่มเติม »

นกฟลามิงโก

นกฟลามิงโกในสวนสัตว์พาต้า นกฟลามิงโก (Flamingo; ออกเสียง; 붉은 황새; นกกระสาแดง) เป็นนกน้ำจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ Phoenicopteridae และอันดับ Phoenicopteriformes มี 4 ชนิดในทวีปอเมริกา และ 2 ชนิดในโลกเก่า นกฟลามิงโก เป็นนกที่มีซากฟอสซิลสามารถนับย้อนไปไกลได้กว่า 30 ล้านปีก่อน นกฟลามิงโกอาศัยอยู่เป็นฝูงขนาดใหญ่ ซึ่งสถานที่ ๆ พบนกฟลามิงโกได้มากที่สุดในโลก คือ ทะเลสาบนากูรู ในอุทยานแห่งชาติทะเลสาบนากูรู ทางตอนเหนือของประเทศเคนยา ซึ่งมีจำนวนประชากรนกฟลามิงโกมากได้ถึง 1,500,000 ตัว นกฟลามิงโกเป็นนกที่บินได้เป็นระยะทางที่ไกล และมักบินในเวลากลางคืน ด้วยความเร็วประมาณ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง และหากมีความจำเป็นต้องบินในเวลากลางวันก็จะบินในระดับสูงเพื่อหลบเลี่ยงสัตว์นักล่า ส่วนในทวีปเอเชียสามารถพบได้ที่ทุ่งหญ้าสเตปป์แถบตอนเหนือของคาซัคสถานในภูมิภาคเอเชียกลางเท่านั้น โดยผสมพันธุ์กันในฤดูใบไม้ผลิ ก่อนอพยพไปที่อื่น นกฟลามิงโก ได้ชื่อว่าเป็นนกที่ไม่มีประสาทรับกลิ่น และเป็นนกที่ส่งเสียงดังตลอดเวลา ซึ่งลูกนกแม้แต่อยู่ในไข่ก็ยังส่งเสียงร้องแล้ว ซึ่งพ่อแม่นกจะจดจำลูกของตัวเองได้จากเสียงร้องอันนี้ นอกจากนี้แล้ว นกฟลามิงโกยังเป็นนกที่ได้ชื่อว่าเป็นนกที่มีขนสีชมพู จนได้รับชื่อว่า "นกฟลามิงโกสีชมพู" ซึ่งขนของนกฟลามิงโกนั้นจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิดตั้งแต่สีชมพูซีดจนถึงสีแดงเลือดหมูหรือแดงเข้ม ทั้งนี้เป็นเพราะการกินอาหารที่ได้รับสารอาหารจากกุ้งและเห็ดรามีสารประเภทอัลฟาและเบตาแคโรทีน แต่โดยมากแล้วนกที่เลี้ยงตามสวนสัตว์ขนจะเปลี่ยนเป็นสีขาวเพราะขาดสารอาหารเหล่านี้ ซึ่งหากให้ในสิ่งที่ทดแทนกันได้เช่น แครอท หรือบีทรูท สีขนก็จะกลับมาเป็นเหมือนเดิม อีกทั้งยังเป็นนกที่มีพฤติกรรมยืนด้วยขาเดียวอยู่นิ่ง ๆ แช่น้ำได้เป็นเวลานานมากถึง 4 ชั่วโมง นั่นเพราะขาของนกจะได้รับจะได้รับเลือดสูบฉีดต่ออัตราการเต้นของหัวใจได้มากเท่า ๆ กับที่กล้ามเนื้อหลักได้รับ ซึ่งเลือดจะให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย การที่นกฟลามิงโกมีขายาวมาก ก็ยิ่งทำให้มีพื้นที่สูญเสียความอบอุ่น อีกทั้งขาข้างที่ไม่ถูกแช่น้ำก็จะไม่เหี่ยวแห้งอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกฟลามิงโก · ดูเพิ่มเติม »

นกฟินฟุต

นกฟินฟุต (Finfoot, Masked finfoot, Asian finfoot) เป็นนกชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Heliopais นกฟินฟุตจัดเป็นนกที่หากินในน้ำและอาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ป่าชายเลน, ป่าพรุ ด้วยเป็นนกที่จับสัตว์น้ำ, สัตว์เลื้อยคลาน, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ กินเป็นอาหาร มีขนหนาแน่นสีน้ำตาล แลดูคล้ายเป็ด ปากแหลมสีเหลือง ส่วนหน้าสีดำคล้ายสวมหน้ากาก คอยาวเรียวเล็ก ขาสีเขียว นิ้วเท้ามีทั้งหมด 4 นิ้ว มีพังผืดเชื่อมติดกัน ปกติมักอาศัยเพียงตัวเดียว หรือเป็นคู่ นกตัวผู้กับตัวเมียคล้ายคลึงกัน แต่มีส่วนต่างกันที่สี โดยที่ตัวผู้จะมีสีที่เข้มกว่า ขณะที่ตัวเมียจะมีเส้นสีขาวผ่านจากใต้คอลงมาถึงหน้าด้านของลำคอ มีเส้นสีดำจากหลังตามาล้อมกรอบแถบสีขาว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 52-54.5 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย นกฟินฟุตเป็นนกที่มีถิ่นอาศัยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ แต่โดยปกติแล้วไม่ใช่นกประจำถิ่นของไทย แต่จะอพยพผ่านเพื่อหากินและแพร่ขยายพันธุ์วางไข่เท่านั้น โดยจะพบในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ของภาคใต้ อาทิ เกาะตะรุเตา, ป่าพรุโต๊ะแดง, ทะเลบัน, ป่าชายเลนที่จังหวัดกระบี่ เป็นต้น และพบได้น้อยในพื้นที่ภาคกลาง จัดเป็นนกที่หายากมากชนิดหนึ่ง โดยมีสถานะใน IUCN อยู่ในสถานะสิ่งมีชีวิตที่ใกล้การสูญพันธุ์ คาดว่าทั่วทั้งโลกมีจำนวนประชากรราว 2,500-9,900 ตัว ขยายพันธุ์ในช่วงฤดูฝน วางไข่ในรังครั้งละ 5-7 ฟอง ไข่มีสีขาวเจือด้วยสีเขียวจาง ๆ มีจุดกลมเล็ก ๆ สีน้ำตาลกระจายไปทั่ว รังทำมาจากกิ่งไม้หรือเศษไม้ขัดกันในพื้นที่สูงจากพื้นราว 3 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 37 เซนติเมตร ลึกประมาณ 20 เซนติเมตร จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกฟินฟุต · ดูเพิ่มเติม »

นกพัฟฟิน

นกพัฟฟินแอตแลนติก ที่เกาะลันดี้ ในสหราชอาณาจักร นกพัฟฟิน (Puffin) เป็นนกทะเลในสกุล Fratercula มีลักษณะเด่น คือ มีจะงอยปากสีสดใสในช่วงฤดูผสมพันธุ์ เป็นนกทะเลผิวน้ำที่หาอาหารด้วยการดำน้ำเป็นหลัก สืบสายพันธุ์ในฝูงขนาดใหญ่บนหน้าผาชายฝั่งทะเลหรือเกาะ โดยการทำรังในรอยแยกในหมู่หินหรือในโพรงดิน ที่ผิวดินเป็นดินร่วน โดยในโพรงรังอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ห้อง โดยห้องหนึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของลูกนก และอีกห้องหนึ่งเป็นห้องสำหรับถ่ายมูล.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกพัฟฟิน · ดูเพิ่มเติม »

นกพาโรเทีย

นกพาโรเทีย เป็นสกุลของนกสกุลหนึ่ง ในวงศ์นกปักษาสวรรค์ (Paradisaeidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Parotia (/พา-โร-เทีย/) นกพาโรเทีย เป็นนกปักษาสวรรค์ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นนกที่เต้นด้วยท้วงท่าที่เร้าใจบนพื้นดินของนกตัวผู้เพื่อการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ บางชนิดเต้นด้วยท่าทางที่แปลก ๆ และซ้ำไปมา และซับซ้อนที่สุดในบรรดานกปักษาสวรรค์ แต่ทว่าเป็นที่ดึงดูดใจของนกตัวเมีย เมื่อตัวผู้จะเริ่มเต้นจะกางปีกออกและเผยให้เห็นถึงขนพิเศษที่หน้าอก ซึ่งขนดังกล่าวจะพันลำตัวและวนไปที่ด้านหลังและครอบคลุมปีก และจะเอาขนที่ยาวสามเส้นบนหัวโผล่ขึ้นมา จากนั้นก็จะเดินไปข้างหน้าพร้อมแกว่งหัวและส่ายตัวไปมา ซึ่งจะทำให้ลักษณะของนกเปลี่ยนไป ราวกับว่าแปลงกายมา ซึ่งนกตัวเมียจะมองตัวผู้ลงมาจากด้านบน ซึ่งตัวเมียจะเห็นรูปร่างของตัวผู้เป็นทรงกลมคล้ายกระโปรง นกพาโรเทีย จะเลือกสถานที่ ๆ ในการเต้นที่สะอาดและเรียบร้อย เมื่อมีสิ่งต่าง ๆ ตกหล่นอยู่ เช่น ใบไม้หรือกิ่งไม้ ตัวผู้ก็จะคาบออกไปทิ้งนอกบริเวณ ในขณะที่นกตัวเมียจะเป็นฝ่ายเลือกตัวผู้จากการเต้น ซึ่งจากมุมมองของนกตัวเมียจะเห็นสีเหลือบบนหัวของนกตัวผู้ที่สั่นกระดิก ๆ ไปมาทั้งสีเหลืองและสีน้ำเงินด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกพาโรเทีย · ดูเพิ่มเติม »

นกพิราบหงอนวิคตอเรีย

นกพิราบหงอนวิคตอเรีย (Victoria crowned pigeon, Victoria goura) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbidae) มีลำตัวป้อมหนา อกตัน ขาค่อนข้างสั้น ปีกกว้างใหญ่ ขนตามตัวส่วนใหญ่มีสีฟ้าอมเทา มีลักษณะเด่น คือ บนหัวมีหงอนประกอบด้วยเส้นขนแผ่บานเป็นสันอย่างน่าดูซึ่งมีขนาดใหญ่เท่าฝ่ามือ และที่สันหรือหงอนบนหัวจะแบนตรงปลาย และมีขอบสีขาวด้วย หน้าอกมีสีม่วงแดงคาดแถบดำปากสีดำ เท้าสีม่วงแดง ม่านตาสีแดง จัดเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ในวงศ์นี้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 70 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2,384 กรัม ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย จัดเป็นนกที่บินไม่ได้ สามารถบินได้แค่ในระยะสั้น ๆ เหมือนไก่ จึงหากินตามพื้นเป็นหลัก อาหารได้แก่ ผลไม้และเมล็ดพืชชนิดต่าง ๆ รวมทั้งสัตว์ขนาดเล็กหรือแมลงต่าง ๆ พบกระจายพันธุ์ในทวีปออสเตรเลีย และเกาะนิวกินี มีพฤติกรรมอาศัยโดยการรวมฝูงประมาณ 10 ตัว อยู่ตามพงหญ้าหรือในป่าเพื่อหาอาหาร หากมีเหตุหรือศัตรูเข้ามาใกล้จะส่งเสียงดังพร้อมทั้งบินขึ้นพร้อม ๆ กันไปเกาะดูเหตุการณ์อยู่บนต้นไม้ การทำรังส่วนใหญ่ใช้เศษไม้ กิ่งไม้เล็ก ๆ ขัดสานเป็นรังหยาบ ๆ ทรงแบนคล้ายตะกร้าตามคาคบไม้ที่ไม่สูงนัก วางไข่คราวละ 2 ฟอง ใช้เวลาฟักไข่ราว 28-30 วันจึงออกเป็นตัว ในระยะฟักไข่และเลี้ยงลูกจะมีนิสัยก้าวร้าวอาจทำร้ายนกอื่นได้ จัดเป็นนกที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง และตามสวนสัตว์ต่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกพิราบหงอนวิคตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

นกกระสาปากห่าง

นกกระสาปากห่าง หรือ นกปากห่าง (Openbill stork) เป็นนกลุยน้ำขนาดใหญ่จำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์นกกระสา (Ciconiidae) จัดอยู่ในสกุล Anastomus (/อะ-นาส-โต-มัส/) มีลักษณะทั่วไป คือ มีจะงอยปากหนาและแหลมตรง เมื่อจะงอยปากสบกัน ส่วนกลางของปากบนและปากล่างแยกห่างจากกัน เห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการคาบเหยื่อ เนื่องจากเป็นนกที่กินสัตว์น้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหอยเปลือกเดี่ยวหรือหอยโข่งเป็นอาหารหลัก นกกระสาปากห่างแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกระสาปากห่าง · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียน

นกกระเรียน เป็นนกขนาดใหญ่ คอและขายาว อยู่ในอันดับ Gruiformes และวงศ์นกกระเรียน (Gruidae) มี 15 ชนิด คล้ายนกกระสาแต่เวลาบินนกกระเรียนจะเหยียดคอตรง ไม่งอพับมาด้านหลังเหมือนนกกระสา นกกระเรียนอาศัยอยู่ทั่วโลกยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกาและทวีปอเมริกาใต้ นกส่วนมากไม่ถูกคุกคามมากนัก ยกเว้นบางชนิดที่ถูกคุกคามจนวิกฤติ เช่น นกกระเรียนกู.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกระเรียน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียนมงกุฎ

นกกระเรียนมงกุฎ (Crowned crane) เป็นนกกระเรียนสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Balearica และวงศ์ย่อย Balearicinae มีลักษณะทั่วไป คือ ส่วนหัวมีขนเป็นหงอนพู่เป็นเส้นตรงสีทองขึ้นเรียงเป็นแผงคล้ายมงกุฎ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ และยังมีนิ้วตีนหลังยาวพบที่จะสามารถเกาะคอนบนต้นไม้ จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด โดยพบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา จนถึงตอนใต้ของทะเลทรายสะฮาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกระเรียนมงกุฎ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียนมงกุฎแดง

วนหัวของนกกระเรียนมงกุฎแดง นกกระเรียนมงกุฎแดง หรือ นกกระเรียนญี่ปุ่น หรือ นกกระเรียนแมนจูเรีย (Red-crowned crane).

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกระเรียนมงกุฎแดง · ดูเพิ่มเติม »

นกกะรางหัวขวาน

นกกะรางหัวขวาน เป็นนกขนาดกลาง มีสีสวย มีลักษณะเด่นที่จำง่ายคือมีหงอน (หัวขวาน) คล้ายหมวกของพวกอินเดียแดง พบทั่วทั้งทวีปแอฟริกาและยูเรเชียพร้อมทั้งทั่วประเทศไทย เป็นสปีชีส์เดียวของวงศ์ Upupidae ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีสปีชีส์ย่อยเฉพาะเกาะเซนต์เฮเลนา (ในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้) ที่สูญพันธ์ไปแล้ว และเฉพาะเกาะมาดากัสการ์ที่บางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ของตนเอง ชื่อสกุลภาษาละตินว่า Upupa คล้ายกับชื่อภาษาอังกฤษว่า "hoopoe" (อ่านว่า ฮูพู) โดยเป็นชื่อเลียนเสียงร้องของนก นกกะรางหัวขวานเป็นนกประจำชาติของประเทศอิสราเอล เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกะรางหัวขวาน · ดูเพิ่มเติม »

นกกะปูด

นกกะปูด (Coucals, Crow pheasants) เป็นนกสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Centropodinae ในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) โดยใช้ชื่อสกุลว่า Centropus แต่มิใช่นกปรสิตเหมือนนกชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน โดยเป็นนกเพียงวงศ์เดียวและสกุลเดียว นกกะปูด จัดเป็นนกขนาดกลาง มีลำตัวเพรียวยาว ลักษณะคล้ายกา มีความยาวประมาณ 35.50 เซนติเมตร ปากสีดำแหลมสั้นหนาแข็งแรง ตาสีแดง หัวและคอ และลำตัวสีดำ ปีกสั้นสีน้ำตาลแดง ขายาวสีดำ นิ้วตีนและเล็บยาวแข็งแรง สามารถจับเหยื่อ เกาะยึดเหนียวไต่แทรกไปตามพงหญ้า, ต้นไม้ หรือ พุ่มไม้หนาทึบได้อย่างคล่องแคล่ว หางยาวประมาณ 15–25 เซนติเมตร หนังหนาเหนียวสีดำ นกกะปูด ได้ชื่อมาจากเสียงร้อง "ปูด ๆ ๆ ๆ ๆ" อันเป็นเอกลักษณ์ มักอาศัยอยู่ในพุ่มไม้ใกล้ชายน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ มีพฤติกรรมออกกินในตอนเช้าและตอนเย็น เมื่อตกใจแทนที่จะบินหนีเหมือนนกชนิดอื่น แต่กลับวิ่งหัวซุกหัวซุนเข้าซ่อนเร้นอยู่ในพุ่มไม้รกใกล้ ๆ บริเวณนั้น เมื่อจวนตัวจึงบินหนี นกกะปูดกินอาหารได้แก่ กบ, เขียด, หนู, อึ่งอ่าง, ปู, กุ้ง, หอย และปลา โดยหากินตามท้องนาหรือชายน้ำ แต่อาหารที่ชอบที่สุด คือ งู ทำรังอยู่ตามพงหญ้ารกตามริมน้ำ เช่น อ้อ หรือแขม วางไข่ครั้งหนึ่งราว 2 ถึง 6 ฟอง ตัวผู้กับตัวเมียจะผลัดเปลี่ยนกันฟักไข่ นกกะปูด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนทั่วไปทั้งทวีปเอเชียและแอฟริกา แบ่งออกเป็น 30 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกะปูด · ดูเพิ่มเติม »

นกกา

นกกา หรือ อีกา (Crow) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก เป็นนกชนิดหนึ่งอยู่ในสกุล Corvus ในวงศ์นกกา (Corvidae) พบกระจายพันธุ์ทั่วโลก ยกเว้นในทวีปอเมริกาใต้ มีลักษณะเฉพาะตัวคือมีสีขนสีดำสนิทเป็นเงามันเลื่อม อยู่รวมกันเป็นกลุ่มและออกหากินเวลากลางวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งวันที่แดดแรง กาจะหาอาหารโดยการซ่อนตัวในเงาของต้นไม้ สำหรับการจู่โจมเหยื่อ นกกามีลักษณะเหมือนนกอีกประเภทหนึ่งชื่อ นกเรเวน ซึ่งเป็นนกที่มีสีดำเหมือนกัน นอกจากนี้แล้ว นกกายังถือว่าเป็นนกที่มีอายุขัยเฉลี่ยสูงถึง 90 ปี ซึ่งนับว่าสูงกว่าสัตว์ใหญ่อย่างช้างเสียอีก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกา · ดูเพิ่มเติม »

นกกางเขน

นกกางเขน หรือ นกกางเขนบ้าน (Oriental magpie robin) เป็นนกชนิดหนึ่งที่กินแมลง มีขนาดไม่ใหญ่นัก ยาวประมาณ 18-20 เซนติเมตร ส่วนบนลำตัวสีดำเงา ส่วนล่างตั้งแต่หน้าอกลงไปจะเป็นสีขาวหม่น ใต้หางและข้างหางมีสีขาว ปีกมีลายพาดสีขาวทั้งปีก ตัวผู้สีจะชัดกว่าตัวเมีย ส่วนที่เป็นสีดำในตัวผู้ ในตัวเมียจะเป็นสีเทาแก่ ปากและขาสีดำ มักจะพบเป็นตัวเดียวหรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หากินแมลงตามพุ่มไม้ บางครั้งก็โฉบจับแมลงกลางอากาศ หางของมันมักกระดกขึ้นลง ร้องเสียงสูงบ้าง ต่ำบ้าง ฟังไพเราะ ทำรังตามโพรงไม้ที่ไม่สูงนัก มันจะวางไข่ครั้งละ 4-5 ฟองและตัวเมียเท่านั้นจะกกไข่ และจะฟักไข่นานประมาณ 8-14 วัน อายุ 15 วัน แล้วจะเริ่มหัดบิน ในประเทศไทยพบทั่วไปในทุกภาคแม้ในเมืองใหญ่ ๆ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 นกกางเขนเป็นนกเกาะคอน (อันดับ Passeriformes) ที่เคยจัดเป็นวงศ์นกเดินดง (Turdidae) แต่ปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์นกจับแมลงและนกเขน (Muscicapidae) เป็นนกสีดำขาวที่เด่น มองเห็นได้ง่าย มีหางยาวที่จะกระดกขึ้นลงเมื่อหาอาหารที่พื้นหรือจับบนต้นไม้ เป็นนกที่มีอยู่กระจายไปทั่วเอเชียใต้และบางส่วนของเอเชียอาคเนย์ เป็นนกที่สามัญทั้งตามสวนในเมืองและในป่า เป็นนกที่รู้จักกันดีเพราะร้องเสียงเพราะ และเคยเป็นนกเลี้ยงที่นิยม นกกางเขนเป็นนกประจำชาติของประเทศบังกลาเทศ ซึ่งเรียกนกว่า "Doyel" ชื่ออังกฤษของนกคือ Oriental Magpie Robin อาจจะเป็นเพราะนกดูคล้ายนกสาลิกาปากดำ (Common Magpie).

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

นกกาน้อยแถบปีกขาว

นกกาน้อยแถบปีกขาว (Black magpie) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกกา (Corvidae) จัดเป็นนกชนิดเดียวในสกุล Platysmurus กระจายพันธุ์ในประเทศบรูไน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, พม่า, สิงคโปร์, และไทย พบในป่าลุ่มต่ำและป่าชายเลนในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ปัจจุบันกำลังถูกคุกคามจากการสูญเสียถิ่นอาศัย นกกาน้อยแถบปีกขาวยาวประมาณ 40 เซนติเมตร ตาสีแดง ขนสีดำตลอดตัว ยกเว้นปีกมีแถบสีขาวตามยาว มีหงอนสั้น ๆ บนหัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกาน้อยแถบปีกขาว · ดูเพิ่มเติม »

นกกาน้ำ

นกกาน้ำ (Cormorant, Shag) เป็นนกที่อยู่ในวงศ์ Phalacrocoracidae ซึ่งมีเพียงสกุลเดียว คือ Phalacrocorax.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกาน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

นกกาน้ำเล็ก (สกุล)

นกกาน้ำเล็ก เป็นสกุลของนกสกุลหนึ่ง ในวงศ์นกกาน้ำ (Phalacrocoracidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Microcarbo เดิมเคยถูกจัดให้เป็นสกุลย่อยของ Phalacrocorax แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับให้เป็นสกุลต่างหาก จากสภาปักษีวิทยานานาชาติ (IOC) จากการที่มีรูปร่างที่เล็กกว่านกกาน้ำสกุล Phalacrocorax โดยชนิดที่รับได้การจัดแยกมาได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกาน้ำเล็ก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

นกกาเหว่า

นกกาเหว่า หรือ นกดุเหว่า (Asian koel) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) พบในเอเชียใต้ จีน เอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศไทย เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นนกปรสิตที่วางไข่ให้กาและนกอื่น ๆ เลี้ยง เป็นนกจำพวกคัคคูที่ไม่เหมือนพันธุ์อื่น ๆ เพราะโดยมากกินผลไม้ (frugivore) เมื่อเติบใหญ่ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ชื่อว่า "กาเหว่า" และชื่ออื่น ๆ อีกหลายภาษารวมทั้งชื่ออังกฤษว่า "koel" เป็นชื่อเลียนเสียงนก เป็นนกที่ใช้เป็นสัญลักษณ์อย่างมากมายในวรรณกรรมอินเดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกาเหว่า · ดูเพิ่มเติม »

นกกินปลี

นกกินปลี (Sunbird) เป็นวงศ์ของนกเกาะคอนขนาดเล็ก ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nectariniidae เป็นนกขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10-15 เซนติเมตร มีจุดเด่น คือ มีจะงอยปากยาวโค้ง ที่ภายในกลวงเป็นท่อ และมีลิ้นขนาดยาวอยู่ในนั้น ใช้สำหรับดูดกินน้ำต้อยจากดอกไม้เป็นอาหารหลัก บางครั้งอาจจะกินแมลงด้วย และนำไปเลี้ยงดูลูกอ่อน สามารถบินได้ด้วยความรวดเร็ว จึงมีลักษณะคล้ายกับนกฮัมมิ่งเบิร์ด (Trochilidae) ที่พบในทวีปอเมริกา เป็นนกที่มีสีสันสวยงาม ตัวผู้จะมีสีสวยและขนาดตัวใหญ่กว่าตัวเมีย พยกระจายพันธุ์ในซีกโลกที่เรียกว่า โลกเก่า คือ ทวีปยุโรป, แอฟริกา, เอเชีย และออสเตรเลีย รังทำด้วยเปลือกไม้และใบไม้แขวนห้อยอยู่ปลายกิ่งไม้ ดูรุงรังคล้ายถุงขยะ บางครั้งอาจเข้ามาทำรังในชายคาบ้านของมนุษย์ ตัวเมียเป็นฝ่ายกกไข่และดูแลลูก ขณะที่ตัวผู้จะเป็นดูแลอยู่ข้างนอกและหาอาหารมาป้อนให้ พบทั้งหมด 132 ชนิด ใน 13 สกุล (บางข้อมูลจัดให้มี 8 สกุล) พบในประเทศไทยได้ 22 ชนิด เช่น นกกินปลีอกเหลือง (Cinnyris jugularis), นกกินปลีดำม่วง (C. asiaticus) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกินปลี · ดูเพิ่มเติม »

นกกีวี

นกกีวี (Kiwi) เป็นนกจำพวกหนึ่งที่บินไม่ได้ มีลักษณะที่แปลกไปจากนกอื่น ๆ ด้วยมีวิวัฒนาการเป็นของตัวเองอย่างชัดเจน เป็นนกออกหากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในธรรมชาติอยู่ในนิวซีแลนด์เท่านั้น นกกีวีจัดอยู่ในสกุล Apteryx ในวงศ์ Apterygidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกีวี · ดูเพิ่มเติม »

นกกีวีสีน้ำตาล

นกกีวีสีน้ำตาล หรือ นกกีวีสีน้ำตาลใต้ หรือ นกกีวีธรรมดา (Brown kiwi, Southern brown kiwi, Common kiwi) เป็นนกกีวีชนิดหนึ่ง จัดเป็นนกกีวีชนิดที่รู้จักกันมากที่สุด มีรูปร่างลักษณะทั่วไปเหมือนกับนกกีวีสีน้ำตาลเกาะเหนือ (A. mantelli) ที่ถูกแยกชนิดกันชัดเจนเมื่อปี ค.ศ. 2000 คือ มีขนปกปุยปกคลุมลำตัวสีน้ำตาล จะงอยปากแหลมยาว ปีกมีขนาดสั้นซ่อนอยู่ภายใต้ขนที่หนา พบกระจายพันธุ์เฉพาะเกาะใต้ของนิวซีแลนด์ ตั้งแต่บริเวณทิศใต้จนถึงทิศตะวันตก และยังสามารถพบได้ในพื้นที่ที่ราบสูง โดยแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกกีวีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

นกยูง

นกยูง (Peacock, Peafowl) เป็นสัตว์ปีกจำพวกไก่ฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ มีจุดเด่นคือ เพศผู้มีขนหางยาวที่มีสีสันสวยงาม ที่เมื่อแผ่ขยายออกเพื่ออวดเพศเมียจะมีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง ที่เรียกว่า "รำแพน" นกยูงใช้ชื่อสกุลว่า Pavo ชอบอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบผสมตามริมลำธารในป่า มีพฤติกรรมมักร้องตอนเช้าหรือพลบค่ำ กินอาหารจำพวกเมล็ดพืช แมลง และสัตว์เล็ก ๆ มีการกระจายพันธุ์อยู่ทางเหนือของประเทศอินเดียไปทางทิศตะวันออกผ่านพม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซียและชวา นกยูงแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ นกยูงไทยตัวผู้ขณะรำแพน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกยูง · ดูเพิ่มเติม »

นกล่าเหยื่อ

หยี่ยว เป็นนกล่าเหยื่อประเภทหนึ่ง นกล่าเหยื่อ (Bird of prey, Raptor-มาจากภาษาละตินคำว่า rapere หมายถึง "บังคับด้วยกำลัง") เป็นชื่อสามัญเรียกโดยรวมของนกกลุ่มที่หากินในเวลากลางวัน และกินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร รวมถึงอาจกินซากเป็นอาหารด้วย นกล่าเหยื่อจะมีหลักการบินโดยใช้ความรู้สึกกระตือรือร้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมองเห็น นกกลุ่มนี้เป็นนกที่ล่าสัตว์มีกระดูกสันหลังเป็นส่วนใหญ่รวมทั้งนกด้วยกันจำพวกอื่น ๆ โดยมีกรงเล็บและจะงอยปากที่ค่อนข้างใหญ่และประสิทธิภาพและเหมาะสำหรับการฉีกขาดเนื้อ ส่วนใหญ่ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหาร Brown, Leslie (1997).

ใหม่!!: สปีชีส์และนกล่าเหยื่อ · ดูเพิ่มเติม »

นกศิวะ

นกศิวะ เป็นนกขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Minla (มาจากภาษาเนปาลคำว่า minla หมายถึง นกศิวะหางแดง; สำหรับชื่อสามัญในภาษาไทยสันนิษฐานว่ามาจากสีของนกศิวะปีกสีฟ้าที่เป็นสีขาว เหมือนพระศิวะที่มีกายสีขาว) ในวงศ์นกกะรางและนกหางรำ (Leiothrichidae) เป็นนกขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด (และอาจจะแบ่งออกได้เป็นเพียงชนิดเดียว คือ นกศิวะหางแดง).

ใหม่!!: สปีชีส์และนกศิวะ · ดูเพิ่มเติม »

นกสาลิกาดง

นกสาลิกาดง (Blue magpie) เป็นสกุลของนกเกาะคอนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Urocissa ในวงศ์นกกา (Corvidae) เป็นนกที่มีสีสันสวยงาม โดยมากจะเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน และขนหางยาวมาก พบกระจายพันธุ์เฉพาะในป่าของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจะงอยปากที่หนาและแข็งแรง มีลักษณะใกล้เคียงกับนกในสกุล Cissa พบทั้งหมด 5 ชนิด โดยในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกสาลิกาดง · ดูเพิ่มเติม »

นกหก

นกหก เป็นสกุลของนกปากขอ หรือนกแก้วสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Loriculus จัดอยู่ในวงศ์นกแก้วแท้ (Psittacoidea) นกหกเป็นนกแก้วขนาดเล็กมีความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร (5 นิ้ว) กระจายพันธุ์ตามป่าในทวีปเอเชีย ตั้งแต่เอเชียใต้ จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีหางสั้น มีขนลำตัวทั่วไปสีเขียว แต่ก็มีสีอื่น ๆ ตรงส่วนหัวต่างกันไปตามชนิด เป็นนกที่สามารถใช้จะงอยปากและกรงเล็บขาเกาะเกี่ยวต้นไม้ในลักษณะตีลังกาได้ รวมถึงนอนหลับในท่านี้ อันเป็นที่มาของชื่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกหก · ดูเพิ่มเติม »

นกหว้า

นกหว้า (Great argus, Double-banded argus) เป็นไก่ฟ้าขนาดใหญ่ขนสีน้ำตาล หัวและคอเป็นสีฟ้า พบในป่าของเกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา และ คาบสมุทรมลายูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อวิทยาศาสตร์ของนกหว้าตั้งโดยคาโรลัส ลินเนียสซึ่งโยงถึงจุดคล้ายตาบนปีกจำนวนมาก โดยตั้งตามชื่อ อาร์กัส ยักษ์ร้อยตาในเทพปกรณัมกรีก เดิมทีนกหว้าเคยถูกให้มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด โดยอีกชนิดหนึ่งนั้นใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Argusianus bipunctatus แต่ปัจจุบันได้ถูกรวมกันเป็นชนิดเดียวกัน ดังนั้นชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อพ้องไป เพราะการสูญเสียที่อยู่และถูกล่าเป็นอาหาร นกหว้าจึงจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกคุกคามความเสี่ยงต่ำ (NT) ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ และจัดอยู่ในบัญชีที่ 2 ของ CITES.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกหว้า · ดูเพิ่มเติม »

นกหัวขวานดำ

นกหัวขวานดำ (Black woodpecker) เป็นนกหัวขวานขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ลำตัวมีความยาว 40-46 เซนติเมตร ความยาวจากปลายปีกข้างหนึ่งจรดปีกอีกข้างหนึ่งเมื่อกางเต็มที่จะยาว 67-73 เซนติเมตร นกหัวขวานดำอาศัยอยู่ในป่าทั่วภูมิภาคพาลีอาร์กติกทางตอนเหนือ เป็นชนิดเดียวในสกุล Dryocopus ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ ถิ่นอาศัยมีอาณาเขตครอบคลุมตั้งแต่ทวีปเอเชียทางตอนเหนือและตะวันออกจนถึงยุโรป เป็นนกอยู่ประจำถิ่นที่ไม่อพยพ ขนของนกหัวขวานดำ มีสีดำเกือบทั้งตัว ยกเว้นบริเวณด้านบนส่วนหัวที่เป็นขนสีแดง ในเพศผู้ ขนที่ส่วนหัวบริเวณนี้จะเป็นสีแดงทั้งหมด นกหัวขวานดำจะบินเป็นเส้นตรง ไม่บินลดเลี้ยวเหมือนนกหัวขวานชนิดอื่น สร้างรังโดยเจาะลำต้นต้นไม้ให้เป็นรู เพศเมียจะวางไข่อย่างน้อยครั้งละ 4 ฟอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกหัวขวานดำ · ดูเพิ่มเติม »

นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง

นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง (Black-headed woodpecker) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกหัวขวาน (Picidae) มีลักษณะเด่น คือ มีส่วนหัวสีดำ คอและอกสีเหลือง ใต้ท้องสีนวลและมีลายซิกแซกสีเขียวไพล ขนตะโพกสีแดงมักจะฟูฟ่องยามตกใจ หากรู้สึกคุกคามอาจกางปีกที่มีลายขาวสลับดำให้ดูน่าเกรงขามเพื่อขู่ศัตรู บางตัวมีแถบคิ้วสีขาว แต่เฉพาะตัวผู้เท่านั้นที่จะมีสีแดงที่กลางกระหม่อม ขณะที่ตัวเมียมีกระหม่อมสีดำ นกหัวขวานเขียวตะโพกแดงมีอุปนิสัยต่างจากนกหัวขวานทั่วไป คือ เป็นชนิดเดียวที่มักอยู่รวมกันเป็นฝูงตลอดทั้งปี สาเหตุก็มาจากการที่พ่อแม่นกมีนกตัวอื่น ๆ มาทำหน้าที่ช่วยเลี้ยงลูกอ่อน และยังไม่ได้รวมฝูงเฉพาะนกชนิดเดียวกัน หากแต่ยังรวมฝูงหากินร่วมกับ นกกะราง, นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ (Dicrurus paradiseus) หรือนกหัวขวานชนิดอื่น ๆ รวมอยู่ด้วย มีอุปนิสัยชอบเลียกินมดและปลวกบนพื้นดิน แต่บางครั้งก็มากินเศษอาหารที่มนุษย์เหลือทิ้งไว้เช่นเดียวกับนกกะรางด้วย และชอบส่งเสียงร้องเอะอะเสียงดัง มักได้ยินเสียงก่อนเห็นตัว โดยส่งเสียงรัวติดต่อกันว่า "แอะแอะ แอะแอ้ว" คล้ายลูกสุนัข มีถิ่นกระจายพันธุ์ในป่าเต็งรังไม่ระดับความสูงไม่เกิน 900 เมตร จากระดับน้ำทะเล พบกระจายพันธุ์ในเวียดนาม, กัมพูชา, ไทย, ลาว, พม่า สำหรับในประเทศไทยพบในป่าผลัดใบและป่าสนทางภาคตะวันตก, ภาคเหนือและภาคอีสาน พบบ่อยเฉพาะในบางพื้นที่ เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกหัวขวานเขียวตะโพกแดง · ดูเพิ่มเติม »

นกออก

นกออก หรือ อินทรีทะเลปากขาว (อังกฤษ: White-bellied Sea-eagle, White-bellied Fish-eagle, White-breasted Sea Eagle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Haliaeetus leucogaster) เป็นนกขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งจำพวกเหยี่ยวและอินทรี.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกออก · ดูเพิ่มเติม »

นกอัลบาทรอส

นกอัลบาทรอส (Albatrosses) เป็นนกทะเลขนาดใหญ่ จัดอยู่ในวงศ์ Diomedeidae กระจายพันธุ์อยู่เป็นฝูงตามชายฝั่งทะเลและเกาะแก่งต่าง ๆ ในเขตร้อน และเขตอบอุ่นทั่วโลก (ดูในแผนที่) นกอัลบาทรอสจัดว่าเป็นนกที่บินได้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อกางปีกออก โดยอาจกว้างได้ถึง 3.5 เมตร ในกลุ่มนกอัลบาทรอสใหญ่ แม้แต่ขนาดเล็กที่สุดก็ยังกว้างได้ถึง 2 เมตร นกอัลบาทรอสจะบินอยู่ตลอดเวลา โดยสามารถบินได้ไกลถึงวันละ 15,000 กิโลเมตร เพียงเพื่อหาอาหารกลับมาเลี้ยงลูกเท่านั้น แต่เมื่อนกอัลบาทรอสอยู่บนพื้นดินแล้วกลับมีพฤติกรรมที่งุ่มง่าม เนื่องจากไม่ถนัดในการเดิน เพราะมีฝ่าตีนที่แผ่แบนเป็นพังผืดเหมือนตีนเป็ด นกอัลบาทรอสสามารถมีชีวิตอยู่ได้นานถึง 60 ปีแต่ขยายพันธุ์ช้ามากจนเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ภายในศตวรรษหน้า ภัยคุกคามสำคัญของมันคือการทำประมงเบ็ดราวในแต่ละปี มีนกอัลบาทรอสกว่า 100,000 ตัวที่ตายเพราะติดสายเบ็ดที่วางไว้เป็นล้านๆ เพื่อจับปลาทูน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกอัลบาทรอส · ดูเพิ่มเติม »

นกอีเสือสีน้ำตาล

นกอีเสือสีน้ำตาล (Brown shrike; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lanius cristatus) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Laniidae จัดเป็นนกอพยพย้ายถิ่นอาศัยเข้ามาหากินในประเทศไทย พบได้บ่อยในช่วงปลายฤดูร้อนและปลายฤดูฝน ซึ่งนกอีเสื้อสีน้ำตาลมีถิ่นการกระจายพันธุ์กว้างขวาง โดยพบได้ตั้งแต่เอเชียเหนือจรดยุโรป, เอเชียกลาง, เอเชียตะวันออก, เอเชียใต้ และยังพบได้ที่อเมริกาเหนือ จึงมีชนิดย่อยด้วยกันทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง).

ใหม่!!: สปีชีส์และนกอีเสือสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

นกจาบ

ลักษณะรังของนกจาบธรรมดา ซึ่งปากทางเข้าอยู่ด้านล่าง นกจาบอกลาย (''P. manyar'') นกจาบ หรือ นกกระจาบ เป็นนกขนาดเล็กในสกุล Ploceus ในวงศ์นกจาบ (Ploceidae) พบทั้งในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา อาศัยอยูตามปาโปรง หรือทุงโลง ไมมีชนิดใดที่อยูในสภาวะที่เสี่ยงตอการสูญพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกจาบ · ดูเพิ่มเติม »

นกจาบควาย

นกจาบควาย หรือ นกกระจาบควาย (Buffalo weaver) เป็นนกขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในสกุล Bubalornis ในวงศ์นกจาบ (Ploceidae) จัดเป็นนกจาบ หรือนกกระจาบที่มีขนาดใหญ่ พบได้เฉพาะในทวีปแอฟริกา แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกจาบควาย · ดูเพิ่มเติม »

นกทึดทือ

นกทึดทือ หรือ นกถึดทือ หรือ นกพิทิด ในภาษาใต้ (Fish owls) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อจำพวกหนึ่ง ในวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) จัดอยู่ในสกุล Ketupa (แต่จากการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมแล้วพบว่าควรจะจัดให้อยู่ในสกุล Bubo หรือนกเค้าใหญ่ มากกว่า) ลักษณะของนกทึดทือ เป็นนกฮูกหรือนกเค้าแมวขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีลำตัวสีนํ้าตาล มีลายกระสีขาว ลำตัวด้านบนและปีกสีเข้มกว่าด้านท้อง ขนคิ้วยาว เห็นได้ชัด ตาสีเหลือง หน้าแข้งไม่มีขน หากินในเวลากลางคืน การที่ได้ชื่อว่า "ทึดทือ" นั้น มาจากเสียงร้อง ที่เป็นเสียงต่ำทุ้ม โดยเฉพาะช่วงจับคู่ในฤดูหนาว ทั้งสองเพศจะร้องประสานเสียงกันให้ได้ยินบ่อย ๆ ยามพลบค่ำและรุ่งสาง จะอาศัยอยู่ในป่าใกล้แหล่งน้ำ เพราะจับสัตว์น้ำ เช่น ปลา, ปู, กุ้ง, กบ, เขียด กินเป็นอาหาร ทำรังและอาศัยบนต้นไม้ยืนต้น พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบ 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกทึดทือ · ดูเพิ่มเติม »

นกขุนแผน

ำหรับนกขุนแผนจำพวกอื่น ดูที่: วงศ์นกขุนแผน นกขุนแผน หรือ นกสาลิกาดง (อังกฤษ: Red-billed blue magpie; ชื่อวิทยาศาสตร์: Urocissa erythrorhyncha) จัดเป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Corvidae อันเป็นวงศ์เดียวกับกา นกขุนแผนเป็นนกที่มีสีสันสวยงามมาก กล่าวคือ โดยมีบริเวณหัวถึงลำคอสีดำ ขนบริเวณลำตัวมีสีฟ้าแกมม่วง ส่วนโคนปีกมีสีฟ้าแกมม่วง ด้านปลายปีกสีขาว มีหางสวยงามและยาวมาก มีสีฟ้าแกมม่วงส่วนบริเวณปลายหางมีสีขาว มีขนหางคู่บนยาวกว่าคู่อื่น ๆ ปากสีแดง ขาสีแดงส้มและตาสีดำ ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก จนยากที่จะแยกได้ออกจากการมองแค่ภายนอก ความยาวจากปลายปากถึงปลายหางประมาณ 65-68 เซนติเมตร และมีขนหางยาวมากราว 37-42 เซนติเมตร หรือ 2 ใน 3 ของความยาวจากปากถึงปลายหาง ขนหางค่อนข้างแข็ง มี 12 เส้น ซึ่งแต่ละคู่ยาวลดหลั่นกันลงไป โดยมีขนหางคู่บนสุดยาวที่สุด ซึ่งยาวกว่าขนหางคู่ที่ 5 อย่างเห็นได้ชัด ปลายขนหางแต่ละเส้นมีลักษณะมน ขนหางทุกเส้นมีสีฟ้าอมม่วง แต่ปลายขนหางแต่ละเส้นเป็นแถบสีขาว และเฉพาะปลายขนหางคู่ที่ 1 ถึงคู่ที่ 5 มีแถบสีดำถัดจากแถบสีขาวด้วย ปลายขนหางคู่ที่ 6 ซึ่งเป็นคู่บนสุดโค้งลงมาเล็กน้อย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เชิงเขาหิมาลัยจนถึงจีน, พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบเกือบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็กๆ ตามป่าละเมาะ, ป่าโปร่ง มักส่งเสียงร้องขณะที่มันเริ่มออกหากิน บางเวลาอาจลงมาหากินตามพื้นดินหรือซอกก้อนหิน ซอกไม้ผุ ๆ อาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ เช่น ด้วง, ปลวก, หนอน, หอยทาก, กิ้งก่า, จิ้งจก, จิ้งเหลน, งู รวมทั้งปาด, ตะขาบ และหนู แม้แต่ไข่นกและลูกนกชนิดอื่นในรัง รวมทั้งซากสัตว์ด้วย ฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคม จะทำรังโดยนำกิ่งไม้เล็กมาขัดสานกันเป็นแอ่งตรงกลาง และรองพื้นด้วยรากไม้หรือใบไม้ที่พอจะหาได้ในบริเวณนั้น ตัวเมียจะวางไข่ครั้งละ 3-6 ฟอง อยู่สูงจากพื้น 6-8 เมตร มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเพราะสีสันและหางที่สวยงาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกขุนแผน · ดูเพิ่มเติม »

นกดำน้ำน้อยดี

นกดำน้ำน้อยดี (Good little diver) เป็นนกประเภทเพนกวินสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Eudyptula เป็นเพนกวินที่พบกระจายพันธุ์ได้ในออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, ทัสมาเนีย และหมู่เกาะแชทัม เป็นเพนกวินขนาดเล็กที่สุด ในบางข้อมูลจัดให้มีเพียงแค่ชนิดเดียว แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่ามีชนิดที่แยกจากกัน แต่บางคนอาจจะเชื่อว่าเป็นเพียงชนิดย่อย บางคนเชื่อว่าเป็นเพียงความแตกต่างกันทางมอร์พ จากการวิเคราะห์ไมโตคอนเดรียดีเอ็นเอ แสดงให้เห็นว่ามีแน่นอน 2 ชนิดที่เกี่ยวข้องกันBanks, Jonathan C.; Mitchell, Anthony D.; Waas, Joseph R. & Paterson, Adrian M. (2002): An unexpected pattern of molecular divergence within the blue penguin (Eudyptula minor) complex.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกดำน้ำน้อยดี · ดูเพิ่มเติม »

นกดำน้ำไร้ปีก

นกดำน้ำไร้ปีก (Flightless diver) เป็นเพนกวินในสกุล Aptenodytes (จากภาษากรีกโบราณ “a” ที่แปลว่า “ปราศจาก”, “pteno-”/πτηνο ที่แปลว่า “ขน” หรือ “ปีก” และ “dytes”/ “δυτης” ที่แปลว่า “นักดำน้ำ”) ประกอบด้วยเพนกวิน 2 ชนิดที่เรียกรวมกันว่า "เพนกวินใหญ่" เป็นเพนกวินขนาดใหญ่ที่สุด จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด นกดำน้ำไร้ปีก หรือเพนกวินใหญ่ เป็นเพนกวินที่พบกระจายพันธุ์ในแถบซีกโลกทางใต้ เช่น มหาสมุทรใต้, ทวีปแอนตาร์กติกา หรือขั้วโลกใต้ จากการศึกษาทางสันฐานวิทยาและโมเลกุล พบว่าเพนกวินสกุลนี้เป็นต้นสายพันธุ์ของเพนกวินทั้งหมดในปัจจุบัน โดยถือกำเนิดมานานกว่้า 40 ล้านปีมาแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกดำน้ำไร้ปีก · ดูเพิ่มเติม »

นกคุ่ม

นกคุ่ม (Asian quail) เป็นนกสกุล Coturnix จัดอยู่ในกลุ่มนกกระทา ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) วงศ์ย่อย Perdicinae.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกคุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

นกคุ่มสี

นกคุ่มสี หรือ ไก่นา (King quail, Blue-breasted quail, Asian blue quail) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) ตัวผู้มีสีสันเด่นกว่านกคุ่ม (Corturnix spp.) ชนิดอื่นมาก โดยบริเวณหน้าผาก, คิ้ว และด้านข้างของคอเป็นสีน้ำเงินแกมเทา บริเวณใต้ตามีแถบสีขาว 2 แถบ คอหอยสีดำและด้านล่างมีแถบใหญ่สีขาว อกและสีข้างเป็นสีน้ำเงินแกมเทา ลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข้มมีลายจุดและลายขีดสีดำกระจายอยู่ ลำตัวด้านล่างส่วนที่เหลือเป็นสีน้ำตาลแดง ตัวเมียมีลำตัวด้านบนคล้ายกับตัวผู้ คอหอยสีเนื้อ ลำตัวด้านล่างสีเนื้อแกมม่วง อกและสีข้างมีลายแถบสีออกดำ นิ้วสีเหลืองเข้ม พบกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย, หมู่เกาะนิโคบาร์, ตอนใต้ของจีน, เกาะไต้หวัน, เกาะไหหลำ, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, หมู่เกาะซุนดาใหญ่, ฟิลิปปินส์ จนถึงทวีปออสเตรเลีย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในป่าหญ้า, ป่าละเมาะ และทุ่งโล่ง พบอยู่เป็นคู่หรือฝูงเล็ก ๆ หากินในเวลากลางวัน โดยหากินตามพื้นดิน ได้แก่ เมล็ดพืช และแมลงต่าง ๆ เช่น ปลวก เมื่อพบศัตรูซ่อนตามกอหญ้า ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝน ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ทำรังด้วยการขุดดินให้เป็นแอ่งเล็ก ๆ บริเวณที่เป็นซุ้มกอหญ้าหรือกอพืช อาจนำใบไม้หรือใบหญ้ามาวางในแอ่งเพื่อรองรับไข่ ออกไข่ครั้งละประมาณ 5-7 ฟอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในประเทศไทยมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกคุ่มสี · ดูเพิ่มเติม »

นกปรอด

นกปรอด เป็นวงศ์ของนกจับคอนขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่มนกร้องเพลง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pycnonotidae เป็นนกขนาดเล็ก มีสีสันต่าง ๆ กันไปตามแต่ละชนิด และสกุล เป็นนกที่ร้องได้เพราะมาก กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร พบได้ในหลายภูมิประเทศ ตั้งแต่ภูเขาสูงจากระดับน้ำทะเลเป็นพัน ๆ เมตร จนถึงที่ราบลุ่ม หรือในชุมชนเมืองและตามสวนสาธารณะหรือสวนหลังบ้าน เหตุที่ได้ชื่อว่า "ปรอด" นั้นมาจากเสียงร้อง ที่มักเป็นเสียง "กรอด-กรอด" ซึ่งบางครั้งอาจเรียกเพี้ยนเป็น "นกกรอด", "นกกระหรอด" หรือ "นกกะหรอด" ก็ได้ ขณะในชื่อภาษาอังกฤษที่ว่า "ฺBulbul" นั้นมาจากคำว่า بلبل (bolbol) ในภาษาเปอร์เซีย และคำว่า بُلْبُل ในภาษาอาหรับ หมายถึง "นกไนติ้งเกล" ซึ่งทั่วโลกมี 137 ชนิด ใน 21 สกุล (ดูในตาราง ขณะที่บางสกุลอาจจะซ้ำซ้อนกับอีกสกุล) ในประเทศไทย พบอยู่ 36 ชนิด 8 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกปรอด · ดูเพิ่มเติม »

นกปรอดหัวโขน

นกปรอดหัวโขน หรือ นกปรอดหัวจุก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นกกรงหัวจุก (อังกฤษ: Red-whiskered bulbul; พายัพ: นกปิ๊ดจะลิว) เป็นนกที่อยู่ในวงศ์นกปรอด (Pycnonotidae) ซึ่งอยู่ด้วยกันทั้งหมด 109 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบได้ 36 ชนิด นกปรอดหัวโขนเป็นนกขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร ที่มีสีสันสวยงามและเสียงร้องไพเราะ ที่แก้มและคอจนถึงหน้าอกจะมีสีขาวและมีสีแดงเป็นเส้นอยู่ข้างหูลงมาถึงหน้าอกเหมือนเป็นเส้นแบ่งขนสีขาวกับสีดำที่มีอยู่ทั่วทั้งตัวขนส่วนหัวจะร่วมกัน เป็นเหมือนหน่อตั้งอยู่บนหัวสูงขึ้นไปเหมือนหัวโขน อันเป็นที่มาของชื่อ ใต้ท้องมีขนสีขาว พบกระจายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเอเชียตะวันออก พบได้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ตั้งแต่ยอดเขาสูง ป่าที่ราบต่ำ จนถึงทุ่งหญ้า ชายป่า และเขตที่ใกล้กับชุมนุมมนุษย์ มีชนิดย่อยทั้งหมด 9 ชนิด ดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกปรอดหัวโขน · ดูเพิ่มเติม »

นกแสก

นกแสก หรือ นกแฝก หรือ นกเค้าหน้าลิง (Barn owl, Common barn owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งในวงศ์นกแสก (Tytonidae) วงศ์ย่อย Tytoninae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tyto alba จัดเป็น 1 ชนิดในจำนวน 19 ชนิดของนกในอันดับนกเค้าแมวที่พบได้ในประเทศไทย และนับเป็นนกแสกชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 1 ชนิดนั้นคือ นกแสกแดง).

ใหม่!!: สปีชีส์และนกแสก · ดูเพิ่มเติม »

นกแสก (สกุล)

นกแสก (Barn-owl, Masked owl) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อกลุ่มหนึ่งในหากินในเวลากลางคืน ใช้ชื่อสกุลว่า Tyto (มาจากภาษากรีกคำว่า τυτο หมายถึง "นกเค้าแมว") ในวงศ์ย่อย Tytoninae ในวงศ์ใหญ่ Tytonidae เป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดของวงศ์นี้ มักมีขนสีเข้มด้านหลังมากกว่าด้านหน้า โดยจะเป็นสีส้มและสีน้ำตาล ขนด้านหน้าสีซีดกว่าจากด้านหลังและมีจุดด่างดำซึ่งจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด มีลักษณะเด่น คือ มีใบหน้าที่เรียบแบนรูปหัวใจ และไม่มีกระจุกขนที่เหนือตาเหมือนใบหูเหมือนนกเค้าแมวจำพวกอื่น ๆ อีกทั้งยังมีรูปร่างที่ใหญ่กว่าด้วย เป็นนกเค้าแมวที่มีการวิวัฒนาการและปรับตัวให้อาศัยอยู่ได้ในหลากหลายภูมิประเทศ ทั้งในป่าและชุมชนเมือง พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกมุมโลก ยกเว้นบริเวณขั้วโลก ในบางพื้นที่ เช่น บนเกาะมีบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว และชนิดที่พบในบางพื้นที่ เช่น เมดิเตอร์เรเนียนและแคริบเบียนจะมีขนาดใหญ่กว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกแสก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

นกแสกแดง

นกแสกแดง (Oriental bay owl) เป็นนกล่าเหยื่ออยู่ในวงศ์นกแสก (Tytonidae) มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายนกแสกธรรมดา (Tyto alba) แต่มีขนาดที่เล็กกว่า เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 28-29 เซนติเมตร ลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเหลือง อันเป็นที่มาของชื่อ มีลายจุดสีน้ำตาลเหลืองหรือสีเนื้อ ด้านล่างลำตัวและใบหน้าสีเนื้อแกมชมพู มีลายแต้มสีออกม่วง ตาสีน้ำตาลเข้ม มีขนสีน้ำตาลยื่นยาวเล็กน้อยออกไปทางด้านข้างของรูหูเป็นพุ่ม ในขณะที่บินจะเห็นปีกค่อนข้างสั้น จัดเป็นนกที่บินได้เก่งมาก และอาจส่งเสียงร้องไปในขณะที่บิน โดยที่นกแสกชนิดนี้จะพบได้เฉพาะในป่าดิบและป่าเบญจพรรณ ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 2,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกหากินในตอนกลางคืน ตอนกลางวันส่วนใหญ่จะหลบซ่อนตามโพรงของต้นไม้ จึงทำให้พบเห็นตัวค่อนข้างยาก มีฤดูผสมพันธุ์ตลอดทั้งปี โดยทำรังตามโพรงต้นไม้ ซึ่งเป็นโพรงที่เกิดตามธรรมชาติ หรือโพรงที่สัตว์อื่น ๆ ทำทิ้งเอาไว้ รังมักจะอยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 2-5 เมตร หรือมากกว่า นกมักจะใช้โพรงเดิมเป็นประจำทุก ๆ ปี นอกเหนือจากโพรงเหล่านั้นถูกนกหรือสัตว์อื่น ๆใช้ และนกแสกแดงไม่สามารถที่จะขับไล่ออกไปได้ ปรกติไม่มีวัสดุรองรังอีก รูปร่างของไข่เป็นรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาดโดยเฉลี่ย 30.0 x 34.5 มิลลิเมตร เปลือกไข่มีสีขาว ผิวเรียบ ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง บางรังก็มี 5 ฟอง ตัวเมียตัวเดียวที่ทำการฟักไข่ โดยเริ่มฟักหลังจากที่ออกไข่ฟองแรก ทั้ง 2 เพศช่วยกันเลี้ยงลูกอ่อน การพัฒนาของลูกอ่อนไม่แตกต่างไปจากนกแสกธรรมดามากนัก นกแสกแดงจัดเป็นนกแสก 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย โดยพบได้ในภาคเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกพบได้น้อยและพบได้เฉพาะพิ้นที่บางส่วนเท่านั้น ในต่างประเทศพบได้ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้ เช่น ศรีลังกา จนถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ฟิลิปปินส์ ทำให้แบ่งออกได้เป็น 6 ชนิดย่อยด้วยกัน เช่น P. b. badius พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, P. b. saturatus พบในรัฐสิกขิม, P. b. ripleyi พบในอินเดียตอนใต้, P. b. assimilis พบในศรีลังกา เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกแสกแดง · ดูเพิ่มเติม »

นกแสกแดง (สกุล)

นกแสกแดง (Bay owl) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อที่หากินในเวลากลางคืน จำพวกนกเค้าแมวสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Phodilus อยู่ในวงศ์ย่อย Phodilinae ในวงศ์นกแสก (Phodilidae) มีลักษณะแตกต่างจากนกแสกในสกุล Tyto คือ มีขนที่ตั้งแหลมเหนือตาแลหูคล้ายหู มีใบหน้าที่เป็นรูปตัวยู เป็นวงกลมมากกว่า และมีขาที่แข็งแรง สามารถเกาะกิ่งไม้ในลักษณะตัวตั้งตรงได้ รวมทั้งเสียงร้องที่แตกต่างกันด้วย มีการล่าเหยื่อด้วยการจ้องมองและการโยกหัวไปมา และใช้การบินไปเกาะยังใต้ต้นไม้ต้นเล็ก ๆ ใต้เรือนยอดป่า แล้วจึงจับเหยื่อ เนื่องจากมีปีกที่กลมและสั้น มีเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกแสกแดง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

นกแคสโซแวรี

รงในหงอนของนกแคสโซแวรี นกแคสโซแวรี (Cassowary) เป็นนกบินไม่ได้ขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง อาศัยอยู่ในแถบซีกโลกใต้ (โอเชียเนีย) จัดอยู่ในสกุล Casuarius ในวงศ์ Casuariidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกแคสโซแวรี · ดูเพิ่มเติม »

นกแต้วแร้ว

นกแต้วแร้ว หรือ นกแต้วแล้ว(Pittas) เป็นนกขนาดเล็กในสกุล Pitta ในวงศ์นกแต้วแร้ว (Pittidae) มีลักษณะทั่วไปคือ มีลำตัวอ้วนสั้น มีสีฉูดฉาดสลับกันทั่วทั้งตัวทั้งสีนํ้าเงิน, เขียว แดง, นํ้าตาล, เหลือง รวมอยู่ในตัวเดียวกัน มีคอและหางสั้น ขายาว มักกระโดดหรือวิ่งบนพื้นดิน รวมถึงหากินและทำรังบนพื้นดินในป่า หากบินก็จะบินเป็นระยะทางสั้น ๆ ในระดับความสูงต่ำในละแวกที่อาศัยเท่านั้น จัดเป็นนกขี้อาย สร้างรังรวมถึงฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกด้วยกันทั้งตัวผู้และตัวเมีย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 17 วัน พบกระจายพันธุ์ทั้งทวีปแอฟริกา, อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียตะวันออก จนถึงโอเชียเนีย เช่น หมู่เกาะโซโลมอน และออสเตรเลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกแต้วแร้ว · ดูเพิ่มเติม »

นกแต้วแร้วท้องดำ

นกแต้วแร้วท้องดำ หรือ นกแต้วแล้วท้องดำ (Gurney's Pitta) เป็นนกที่พบในพม่าและไทย ปัจจุบันพบได้ที่ เขานอจู้จี้ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ และบางส่วนในประเทศพม่า นกแต้วแร้วท้องดำถูกค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1875 ในเขตตะนาวศรี ประเทศพม่า โดยชื่อสามัญในภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งขึ้นเป็นเพื่อเป็นเกียรติแก่ จอห์น เฮนรี เกอนีย์ นายธนาคารและนักปักษีวิทยาสมัครเล่นชาวอังกฤษ มีรายงานการพบครั้งสุดท้าย ในประเทศพม่าปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และนกแต้วแร้วท้องดำ · ดูเพิ่มเติม »

นกโมอา

นกโมอา (moa) เป็นนกขนาดใหญ่ในวงศ์ Dinornithidae เคยอาศัยอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ซึ่งปัจจุบันได้สูญพันธ์ไปหมดแล้ว มีความเกี่ยวข้องกับนกอีมูจากออสเตรเลีย ในช่วงศตวรรษที่ 1800 ถึงต้นศตวรรษที่ 1900 มีหลายสายพันธุ์ของนกโมอาอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ ตอนนี้นักวิทยาศาสตร์สรุปอย่างเป็นทางการได้ว่ามีอยู่ประมาณ 10 หรือ 12 ชนิด จากการศึกษาดีเอ็นเอ ของนกโมอา ได้มีการค้นพบว่านกโมอาตัวเมียกับตัวผู้มีความแตกต่างกันมาก ไม่ว่าจะเป็นทางขนาดลำตัวรึขนาดของกระดูก ตัวเมียมีขนาดที่ใหญ่กว่าและสูงกว่าตัวผู้อยู่ประมาณร้อยละ 150 และมีน้ำหนักกว่าร้อย 280 เหตุผลนี้ทำให้ตอนแรกมีการเข้าใจผิดคิดว่าโครงกระดูกที่ถูกค้นพบนี้เป็นของนก 2 ชนิด โครงกระดูกที่ถูกค้นพบได้ถูกนำมาประกอบกันแล้วจัดแสดงอยู่ตามพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ทั่วประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกโมอา · ดูเพิ่มเติม »

นกโจรสลัด

นกโจรสลัด หรือ นกฟรีเกต เป็นนกทะเลขนาดกลาง-ใหญ่ ที่อยู่ในวงศ์ Fregatidae มีเพียงสกุลเดียวเท่านั้น คือ Fregata ในอันดับ Pelecaniformes อันดับเดียวกันกับนกกระทุง มีรูปร่างโดยรวม คือ มีปากยาวกวางหัวและเป็นรูปทรงกระบอก ปลายจะงอยปากทั้งสองเป็นขอบแนวสบเรียบ รูจมูกเล็กลักษณะเป็นรองยาว ถุงใต้คางเล็กแต่พองออกได้ ปากยาวมาก ปลายปากแหลม ขนปลายปากเส้นสุดท้ายหรือเส้นนอกสุดยาวที่สุด หางเป็นหางแบบเว้าลึก มีขนหาง 12 เส้น แข็งเล็กและสั้น ประมาณ 1 ใน 5 ของความยาวปาก นิ้วยาว โดยมีนิ้วที่ 3 ยาวที่สุด ปลายนิ้วเป็นเล็บยาว เล็บหยัก มีพังผืดนิ้วเป็นแบบตีนพัดเต็ม แต่มักมีขนาดเล็กและเชื่อมเฉพาะโคนนิ้ว ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะและสีสันแตกต่างกัน ทำรังเป็นกลุ่มตามพุ่มไม้เตี้ย หรือตามโขดหิน หรือพื้นทราย วางไข่เพียงครอกละ 1 ฟอง เปลือกไข่สีขาว จะช่วยกันกกไข่ทั้งตัวผู้และตัวเมีย ลูกนกแรกเกิดมีสภาพเป็นลูกอ่อนเดินไม่ได้ ใช้เวลาประมาณ 5 เดือน ลูกนกที่จะเริ่มออกมาจากรังเกาะกิ่งไม้ แต่ก็ยังต้องอยู่ในความดูแลของพ่อแม่อีกนานนับปี พบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก นกโจรสลัดจัดเป็นนกที่บินได้ ที่เมื่อกางปีกออกแล้วถือว่าเป็นนกจำพวกหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เพราะกางปีกออกแล้วจะมีความยาวจากปีกข้างหนึ่งไปจรดอีกข้างหนึ่งประมาณ 70-100 เซนติเมตร และสามารถบินอยู่บนอากาศได้เป็นเวลาหลายวัน โดยไม่ต้องลงพื้นดิน เป็นนกที่ทรงตัวได้ดี เนื่อวงจากปีกมีขนาดใหญ่และหางในการรับน้ำหนัก และทรงตัว นกโจรสลัดเป็นนกที่กินเนื้อเป็นอาหาร มีพฤติกรรมชอบโฉบขโมยปลาจากนกอื่น เช่น นกนางนวลเป็นประจำ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก แต่บางครั้งก็จะโฉบจับเหยื่อจากน้ำด้วยตัวเอง แต่ไม่สามารถที่จะดำน้ำได้ เป็นนกที่หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน นอกจากนี้ยังกินอาหารอย่างอื่นได้ด้วย เช่น ลูกเต่าทะเลแรกฟัก เป็นต้น เป็นนกที่มีความแตกต่างระหว่างเพศผู้และเพศเมียอย่างชัดเจน เพศผู้เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์จะมีถุงใต้คางสีแดงสดเห็นชัดเจน จนเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งถุงนี้มีไว้เพื่ออวดเพศเมียในฤดูผสมพันธุ์ เพื่อดึงดูดความสนใจจากเพศเมีย โดยจะป่องหรือเป่าถุงนี้ให้พองขึ้น นกโจรสลัดได้ถูกจำแนกออกเป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกโจรสลัด · ดูเพิ่มเติม »

นกโคเอล

นกโคเอล (Koel) เป็นสกุลของนกในวงศ์นกคุกคู (Cuculidae) มีชื่อสกุลว่า Eudynamys โดยมาจากรากศัพท์ภาษากรีก คือ eu แปลว่า "ดี" สนธิกับคำว่า dyname ในเทพปกรณัม Dunamene แปลว่า "ผู้มีกำลังมาก" โดยรวมแล้วมีความหมายว่า "นกที่มีอำนาจหรือกำลังมาก" ขณะที่ชื่อสามัญ "โคเอล" (koel) มาจากรากศัพท์ภาษาสันสกฤตคำว่า "โกกิล" และคำที่ใช้ในภาษาอินเดียอื่น ๆ คล้ายคลึงกัน จัดเป็นนกปรสิต ที่นกตัวเมียจะวางไข่ไว้ในรังของนกชนิดอื่นด้วยความรวดเร็วเมื่อพ่อแม่นกชนิดอื่นเผลอ โดยไม่มีการสร้างรังของตัวเอง เพื่อให้พ่อแม่นกอื่นนั้นฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนโต เป็นนกกินแมลง, ผลไม้ มีเสียงร้องที่ดังเพื่อประกาศถึงอาณาเขตและเรียกหาคู.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกโคเอล · ดูเพิ่มเติม »

นกโนรี

นกโนรีสีแดงที่สวนสัตว์พาต้า นกโนรี (Lory) เป็นสกุลของนกปากขอสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Lorius จัดเป็นนกขนาดกลางในอันดับนี้ มีความยาวจากจะงอยปากจรดปลายหาง 30 เซนติเมตร หางสั้น พบกระจายพันธุ์ในแถบประเทศอินโดนีเซีย หมู่เกาะโมลุกกะ ปาปัวนิวกินี และหมู่เกาะโซโลมอน ลำตัวสีสดใสต่างกันไปตามชนิด เช่น แดงเข้มไปหมดทั้งตัว ยกเว้นปลายปีก ปาก และนิ้ว เป็นต้น มีอุปนิสัยปกติจะอาศัยอยู่อย่างโดดเดี่ยว เว้นแต่ว่าเมื่อจับคู่แล้วจึงไม่แยกห่างจากกัน มีบ้างในบางครั้งจะอยู่รวมกันเป็นฝูงราว 4-6 ตัว ชอบบินสูงเหนือยอดไม้ ไม่ส่งเสียงร้องในขณะบินเหมือนนกชนิดอื่นในอันดับเดียวกัน อาหารหลักคือ ผลไม้สุกที่มีรสหวาน โดยมีตอนปลายของลิ้นก็ตรงที่ลิ้นที่ม้วนเป็นหลอดได้ สำหรับดูดกินน้ำหวานจากดอกไม้ และมีหนอนหรือแมลงเป็นอาหารเสริม โดยปกติแล้วจะวางไข่ครั้งละไม่เกิน 2 ฟองเท่านั้น นกโนรีก็เหมือนนกชนิดอื่นในอันดับนี้ คือ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง ในประเทศไทยเชื่อว่ามีผู้นำเข้ามาเลี้ยงตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่สามารถที่จะฝึกหัดให้เลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกชนิดอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกโนรี · ดูเพิ่มเติม »

นกไต่ไม้

นกไต่ไม้ (Nuthatch) เป็นนกขนาดเล็กในอันดับนกเกาะคอน (Passeriformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Sittidae ลักษณะเป็นนกตัวเล็ก มีความยาวประมาณ 10-13 เซนติเมตร รูปร่างป้อม หางสั้น ปากแหลม มีความสามารถพิเศษคือ สามารถไต่ต้นไม้ด้วยนิ้วตีนลงมาในลักษณะเอาหัวลงได้ สามารถไต่ขึ้น ๆ ลง ๆ หรือไต่ไปรอบ ๆ ต้นไม้ หรือรอบ ๆ กิ่งไม้ได้คล่องแคล่วคล้ายกับหนู เพื่อหาแมลงและหนอนตามเปลือกไม้กิน และยังสามารถกินพืชอย่าง ลูกไม้ หรือเมล็ดพืชได้ด้วย ด้วยการคาบเมล็ดพืชขึ้นมายัดไว้ตามซอกเปลือกไม้ที่ลำต้นแล้วก็เอาปากจิกให้เปลือกเมล็ดนั้นแตกเพื่อจิกกินเนื้อใน มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมหากินรวม ๆ ไปในฝูงเดียวกันกับนกขนาดเล็กหลายชนิด มักพบตามป่าโปร่งบนเนินเขา ทำรังในโพรงไม้เล็ก ๆ และมีนิสัยประหลาด คือ ชอบคาบวัสดุต่าง ๆ มาปะติดปะต่อประดับไว้รอบ ๆ ปากโพรงรัง พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชีย, ยูเรเชีย, ยุโรป จนถึงตอนเหนือของแอฟริกา และทวีปอเมริกาเหนือ และมีเพียงสกุลเดียวเท่านั้น คือ Sitta (โดยมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า sittē หมายถึง "นก" ขณะที่ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษที่ว่า "Nuthatch" เชื่อว่าเพี้ยนมาจากคำว่า "Nut+hack" เพราะนกกลุ่มนี้ในทวีปยุโรปมีพฤติกรรมกระเทาะเปลือกลูกนัทกินเป็นอาหาร) พบทั้งหมดประมาณ 24-27 ชนิด ในประเทศไทยพบทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ นกไต่ไม้ท้องสีเม็ดมะขาม (S. castanea), นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่ (S. frontalis), นกไต่ไม้สีสวย (S. formosa), นกไต่ไม้โคนหางสีน้ำตาล (S. nagaensis) และนกไต่ไม้ใหญ่ (S. magna) ทุกชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองทั้งหมด นอกจากนี้แล้วยังมีอีกชนิดที่เป็นนกพลัดหลง คือ นกไต่ไม้สีน้ำเงิน (S. azurea).

ใหม่!!: สปีชีส์และนกไต่ไม้ · ดูเพิ่มเติม »

นกเกาะคอน

นกเกาะคอน หรือ นกจับคอน (Passerine, Perching bird) เป็นอันดับของนกอันดับหนึ่ง ในกลุ่มนกขากรรไกรแบบใหม่ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Passeriformes (โดยมีที่มาจาก Passer domesticus ซึ่งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของนกกระจอกใหญ่ และนกในสกุล Passer ที่เป็นนกขนาดเล็กที่ใกล้เคียงกัน) นกในอันดับนี้มีลักษณะทั่วไปทางกายภาค คือ เป็นนกที่มีวิวัฒนาการเพื่ออาศัยและหากินบนต้นไม้เป็นหลัก นิ้วตีนมีทั้งหมด 4 นิ้ว ทุกนิ้วเจริญดีและอยู่ในระนาบเดียวกัน จึงเหมาะแก่การจับหรือเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้หรือต้นไม้ในป่าประเภทต่าง ๆ แต่ไม่เหมาะสำหรับการเดินบนพื้นดิน ดังนั้นเมื่อเมื่อลงดินจะได้วิธีก้าวกระโดด โดยมากแล้วจะเป็นนกที่มีลำตัวขนาดเล็ก ปัจจุบัน นักปักษีวิทยาได้แบ่งอันดับนี้เป็นอันดับย่อย 3 อันดับ (ดูในตาราง-บางข้อมูลจัดให้มี 2) โดยพิจารณาจากกล้ามเนื้อควบคุมกล่องเสียงที่อยู่ในลำคอ โดยบางอันดับย่อยจะมีกล้ามเนื้อนี้เพียง 2 คู่ ซึ่งยังเป็นลักษณะของนกในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ทำให้เสียงร้องไม่ไพเราะนัก แต่บางอันดับย่อยมีมากกว่า คือมี 4 คู่ ทำให้มีเสียงร้องที่ไพเราะกว่า นกในอันดับนี้มีมากกว่า 100 วงศ์ (ราว 110 วงศ์) ประมาณ 5,400 ชนิด ทั่วโลก สำหรับในประเทศไทยที่มีการค้นพบนกแล้วราว 1,000 ชนิด แบ่งเป็นนกในอันดับต่าง ๆ 16 อันดับ ใน 70 วงศ์ นกที่อยู่ในอันดับนี้นับว่ามากกว่าครึ่ง ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเกาะคอน · ดูเพิ่มเติม »

นกเลิฟเบิร์ด

นกเลิฟเบิร์ด (Lovebird) เป็นสกุลของนกปากขอ หรือนกแก้วขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Agapornis (มาจากภาษากรีกคำว่า αγάπη หมายถึง "รัก" และคำว่า όρνις หมายถึง "นก") นกเลิฟเบิร์ดเป็นนกปากขอขนาดเล็ก ที่มีสีสันสดใส มีความยาวเต็มที่ประมาณ 5-6 นิ้ว โดยมีถิ่นกำเนิดในทวีปอัฟริกาฝั่งตะวันออก และเกาะมาดากัสการ์ซึ่งเป็นแถบที่อบอุ่นถึงค่อนข้างร้อน มีอายุขัยประมาณ 10-15 ปี นกเลิฟเบิร์ดมีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์และเลือกคู่ได้แล้วจะอยู่กับคู่ของตัวเองไปตราบจนตาย อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ นกเลิฟเบิร์ดก็เหมือนกับนกในอันดับนี้ส่วนใหญ่ ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง ประวัติของการเลี้ยงนกเลิฟเบิร์ด ในสมัยแรกเริ่มคือช่วงปี ค.ศ. 1840 นกเลิฟเบิร์ดถูกเรียกว่า "Little parrot" (นกแก้วเล็ก) ตามประวัติกล่าวว่าชาวแอฟริกันเป็นผู้นำเข้าไปแพร่หลายในทวีปยุโรป และด้วยเอกลักษณ์ของนกสกุลนี้ก็คือ ชอบอยู่เป็นคู่ และจะดูแลกันและกันเป็นอย่างดี จึงได้รับการเรียกขานว่านกเลิฟเบิร์ดในที่สุด ต่อมา นกเลิฟเบิร์ดก็แพร่ขยายไปในสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 60 เมื่อมีการได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก จึงเกิดการเพาะขยายพันธุ์อย่างกว้างขวางจนเกิดการกลายพันธุ์ เป็นสายพันธุ์ใหม่ ๆ ขึ้นมา จนในช่วงศตวรรษที่ 80 การเลี้ยงนกเลิฟเบิร์ดมีจุดมุ่งหมายก็เพื่อให้ได้สีสันใหม่ ๆ ที่สวยงามขึ้น และเป็นการพัฒนาสายพันธุ์ รวมทั้งมีการผสมกับนกสายพันธุ์อื่น ๆ อีกด้วยจนปัจจุบันนกเลิฟเบิร์ด ได้กลายเป็นสัตว์เลี้ยงที่มนุษย์รู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี แผนผังการจำแนกชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเลิฟเบิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

นกเอี้ยง

นกเอี้ยง (Mynas) เป็นสกุลของนกเกาะคอนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Acridotheres ในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม หางสั้น กินแมลงและผลไม้เป็นอาหาร รวมถึงน้ำหวานในดอกไม้ อยู่รวมกันเป็นฝูง ชอบส่งเสียงร้องเจื้อยแจ้ว แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้ จากภาคตะวันออกของอิหร่านถึงภาคใต้ของจีน และอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง บางชนิดถูกนำเข้าและแพร่ขยายพันธุ์ในซีกโลกใหม่เช่น บริติชโคลัมเบีย, แวนคูเวอร์ หรือนิวซีแลน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเอี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

นกเอี้ยงคำ

นกเอี้ยงคำ หรือ นกขุนทอง (Hill mynas) เป็นสกุลของนกเกาะคอนร้องเพลงสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Gracula ในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีรูปร่างคล้ายกับนกในสกุล Acridotheres หรือนกเอี้ยง แต่ลำตัวมีขนาดใหญ่กว่า ขนาดลำตัวโดยเฉลี่ย 20-30 เซนติเมตร ขนเป็นสีดำเป็นเงามัน มีลักษณะเด่น คือ มีเหนียง คือ แผ่นหนังสีเหลืองอมส้มคลุมท้ายทอยและอีกส่วนที่ใต้ตา ซึ่งจะแตกต่างไปกันตามแต่ละชนิด จะงอยปากสีแดงส้มและหน้าแข้งเป็นสีเหลืองสด เป็นนกที่แพร่กระจายพันธุ์ในป่าดิบหรือบนภูเขาตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย จนถึงเอเชียอาคเนย์ทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะต่าง ๆ เป็นนกที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่ามีเสียงร้องที่ไพเราะ และสามารถหัดให้เลียนเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงพูดของมนุษย์ได้ จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง และมีการนำไปสู่สหรัฐอเมริกาด้วยในฐานะสัตว์เลี้ยง ในราคาที่สูง แต่ผู้คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียนิยมนำมาทำเป็นแกงเผ็ด ถือเป็นอาหารจานโปรดของท้องถิ่น จำแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ 4 หรือ 5 ชนิด ตามลักษณะของเหนียงและขนาดลำตัว ซึ่งแตกต่างกันไปตามถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งเดิมเคยจัดให้เป็นชนิดย่อยของกันและกัน แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับให้แยกเป็นชนิดต่างหาก ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเอี้ยงคำ · ดูเพิ่มเติม »

นกเขียวก้านตอง

นกเขียวก้านตอง (Leafbird) เป็นชื่อของสกุลและวงศ์ ของนกขนาดเล็กประเภทหนึ่งในตระกูลนกเกาะคอน มีถิ่นที่อยู่ในอินเดียและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นนก 1 ใน 2 วงศ์ซึ่งเป็นนกเฉพาะถิ่นของเขตนิเวศวิทยาอินโดมาลายัน โดยอีกวงศ์หนึ่งคือนกแว่นตาขาว เดิมสกุลนกเขียวก้านตอง อยู่ในวงศ์นกเขียวคราม ร่วมกับสกุลนกแว่นตาขาว แต่ภายหลังได้แยกวงศ์ออกมาทั้งสองสกุล ตั้งเป็นวงศ์ใหม่คือ วงศ์นกเขียวก้านตอง และวงศ์นกแว่นตาขาว นกเขียวก้านตองมีลักษณะคล้ายนกในวงศ์นกปรอดซึ่งเป็นวงศ์ใกล้เคียงกัน หากแต่มีสีสันสดใสกว่า นอกจากนี้ นกเขียวก้านตองเป็นนกที่มีลักษณะแตกต่างระหว่างเพศ โดยที่ตัวผู้จะมีสีสันสดใสกว่า และ/หรือ มีสีสันมากกว่า นกเขียวก้านตองวางไข่ 2-3 ฟองต่อครั้ง ในรังบนคาคบต้นไม้.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเขียวก้านตอง · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าจุด

นกเค้าจุด (อังกฤษ: Spotted owlet; ชื่อวิทยาศาสตร์: Athene brama) เป็นนกล่าเหยื่อจำพวกนกเค้าแมวชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ในประเทศไทย มีลักษณะส่วนหัวกลมไม่มีขนชี้ขึ้นไปเหมือนหูอย่างนกเค้ากู่ (Otus lempiji) มีจุดสังเกตอยู่ที่ขนคิ้วสีขาวที่เห็นได้เด่นชัด หัวค่อนข้างแบน บริเวณหัวจนถึงท้ายทอยสีน้ำตาลมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทั่วไป บริเวณตัวด้านบนซึ่งเป็นสีน้ำตาลก็มีจุด แต่จะมีขนาดใหญ่และกระจายมากกว่าบริเวณหัว บางทีใหญ่และเรียงตัวกันดูคล้ายบั้งมากกว่าจุด โดยเฉพาะด้านหลังคอที่จะเรียงตัวต่อกันคล้ายปลอกคอ ด้านล่างของลำตัวสีขาว แต่มีลายจุดสีน้ำตาลเช่นเดียวกัน นกตัวผู้และตัวเมียคล้ายคลึงกัน โตเต็มที่มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 20 เซนติเมตร จัดว่าเป็นนกเค้าแมวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ออกหากินในเวลากลางคืน โดยเริ่มออกจากรังตั้งแต่เวลาโพล้เพล้ เป็นนกที่บินได้เงียบมาก อาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ รวมถึงแมลงปีกแข็ง, หนูขนาดเล็กหรือนกขนาดเล็กชนิดอื่นที่นอนหลับบนต้นไม้ เมื่อเห็นเหยื่อจะพุ่งตัวกางกรงเล็บอันแข็งแรงและแหลมคมออกจับเหยื่อ ถ้าเหยื่อตัวเล็กจะกินเลยทันที ถ้าตัวใหญ่ก็นำกลับมาที่รังก่อนแล้วใช้กรงเล็บจับเหยื่อขึ้นมาฉีกกินจนหมด นกเค้าจุดที่อาศัยอยู่ตามหมู่บ้านอาจมีพฤติกรรมไล่จับแมลงที่มาเล่นไฟที่หลอดนีออน มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างขวาง โดยพบได้ตั้งแต่อิหร่าน, อัฟกานิสถาน, ปากีสถาน, อนุทวีปอินเดีย สำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ที่พม่า, ไทย, กัมพูชา, ลาว และเวียดนาม สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ทุกรูปแบบ ตั้งแต่ภูเขาสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 400 เมตร จนถึงทะเลทราย ทั้งยังปรับตัวให้อยู่ในเมืองขนาดใหญ่ได้อีกด้วย โดยสามารถพบได้ตามที่ ๆ มีต้นไม้ใหญ่ร่มรื่นหรือตามสวนสาธารณะ เป็นนกที่ปรับตัวให้เข้ากับมนุษย์ได้ดีมากชนิดหนึ่งและไม่ค่อยกลัวมนุษย์ มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) ฤดูผสมพันธุ์อยู่ในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน โดยรังวางไข่ของนกเค้าจุด จะใช้โพรงธรรมชาติหรือโพรงที่สัตว์อื่นทำไว้ หรือรอยแตกรอยแยกในตึก, เจดีย์, ซอกหลังคาตามอาคารเป็นรัง อาจหาหญ้าหรือขนนกมารองพื้นรัง แต่ส่วนมากจะวางไข่กับพื้นเปล่าเลย วางไข่ครั้งละ3-5ฟอง ไข่มีลักษณะกลม ขนาด 37x27 มิลลิเมตร เปลือกไข่สีขาวเป็นมันเล็กน้อย นกทั้งสองเพศช่วยกันกกไข่ เช่นเดียวกับนกเค้าแมวชนิดอื่น ๆ นกเค้าจุดจะกกไข่ทันทีตั้งแต่วางไข่ฟองแรก ลูกนกในรังจึงมีขนาดแตกต่างกันมาก เพราะออกจากไข่ไม่พร้อมกัน ใช้เวลาเลี้ยงลูกนกประมาณ 35-40วัน ลูกนกจะสามารถออกมานอกรังได้ ทั้งพ่อและแม่นกช่วยกันหาอาหารมาป้อนลูกอ่อน โดยจะออกหากินในเวลากลางวัน ถ้าเหยื่อเป็นชิ้นเล็ก ๆ จะส่งให้ลูกทั้งตัว ถ้าขนาดใหญ่ก็จะฉีกเป็นชิ้นเล็กให้ ลูกนกที่โตพอสมควรแล้วจะยังคงอยู่กับพ่อแม่อีกนาน บางครั้งอาจพบนกเค้าจุด 2-3ตัว อยู่บนต้นไม้เดียวกัน หรือเกาะกิ่งเบียดใกล้ชิดกันเสมอ ๆ โดยในตอนกลางวันจะเกาะกิ่งหลับอยู่บนต้นไม้ใบหนา หรือถ้ามีโพรงก็จะมุดเข้าไปหลบในโพรงเพื่อความปลอดภัย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็เป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเค้าจุด · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าใหญ่

นกเค้าใหญ่พันธุ์สุมาตรา (''B. sumatranus'') ซึ่งเป็นนกเค้าใหญ่ชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย นกเค้าใหญ่ หรือ นกเค้าหงอน หรือ นกเค้าอินทรีโลกเก่า (Horned owls, Old World eagle-owls) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อสกุลหนึ่ง ในวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Bubo (/บู-โบ/) นกเค้าใหญ่ เป็นนกเค้าหรือนกฮูกขนาดใหญ่ มีลักษณะเด่น คือ จะงอยปากเหลือง ขนคิ้วยาวแลดูคล้ายมีหูหรือหงอนยาว มีขนปกคลุมขา นกเค้าในสกุลนี้ บางชนิดสามารถโฉบจับปลาจากผิวน้ำกินเป็นอาหารได้ ในชนิดและโตที่ใหญ่ที่สุด อาจมีความสูงเกิน 2 ฟุต และกางปีกได้กว้างถึง 6 ฟุต และยังสามารถบินข้ามช่องแคบอังกฤษได้ด้วย พบกระจายพันธุ์อยู่ทุกทวีปทั่วโลก ไม่เว้นแม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ ในประเทศไทยพบประมาณ 3 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเค้าใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าโมง

นกเค้าโมง หรือ นกเค้าแมว (Asian barred owlet) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกนกเค้าแมว มีลายสีน้ำตาลทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็นสีขาวและมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตาสีเหลือง ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับนกเค้าแคระ (G. brodiei) ซึ่งเป็นนกในสกุลเดียวกันและเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวที่เล็กที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย นกเค้าโมง มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์และเอเชียตะวันออก มีชนิดย่อยทั้งสิ้น 8 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในทุกสภาพแวดล้อม ทั้งป่าทึบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 1,980 เมตร จนถึงสวนสาธารณะในเมืองใหญ่ บางครั้งอาจจะพบได้ในเวลากลางวันได้อีกด้วย จึงนับเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นตัวได้บ่อยรองมาจากนกแสก (Tyto alba) สำหรับในประเทศไทย พบได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ตอนล่างและภาคกลางตอนล่าง มีพฤติกรรมร้องได้หลายเสียง หลายทำนอง ในเวลากลางคืนจะร้องเป็นครั้งคราวคล้ายกับจะบอกโมงยาม จึงได้ชื่อว่า "นกเค้าโมง" เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535 แต่จากความที่เป็นนกขนาดเล็ก จึงทำให้นกเค้าโมงเป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่มีผู้นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเช่นเดียวกับนกเค้าแคร.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเค้าโมง · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าเหยี่ยว

นกเค้าเหยี่ยว (Brown Hawk-owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายกับนกเหยี่ยวหรืออินทรี มีลำตัวขนาดใหญ่ ปีกกว้างและกลมมน ตากลมโตสีเหลืองทอง ระหว่างตามีแถบคาดสีเหลือง หัวและลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวด้านล่างสีกีกาหรือสีขาว มีลายจุดสีน้ำตาลหรือน้ำตาลเหลือง มีขนาดใหญ่เต็มที่สูงได้ถึง 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคตะวันออกกลางจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ หมู่เกาะอันดามันในทะเลอันดามัน จนถึงภาคใต้ของจีนและหมู่เกาะต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในภาคเหนือ, ภาคตะวันตก, ภาคใต้, บางส่วนของภาคตะวันออก และจัดเป็นนกอพยพในภาคใต้ โดยพบในป่าโปร่ง, ป่าชายเลน จนถึงป่าที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 1,200 เมตร มีทั้งหมด 12 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าในประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเค้าเหยี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

นกเงือก

นกเงือก (Hornbills) เป็นนกขนาดใหญ่ ที่อยู่ในวงศ์ Bucerotidae ในอันดับนกตะขาบ (Coraciiformes) (บางข้อมูลซึ่งเป็นข้อมูลเก่าจะจัดให้อยู่ในอันดับ Bucerotiformes ซึ่งเป็นอันดับเฉพาะของนกเงือกเอง แต่ปัจจุบันนับเป็นชื่อพ้อง โดยนับรวมนกเงือกดินเข้าไปด้วย) เป็นนกที่เชื่อว่าถือกำเนิดมานานกว่า 45 ล้านปีมาแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเงือก · ดูเพิ่มเติม »

นกเงือกดิน

นกเงือกดิน หรือ นกเงือกพื้นดิน (Ground hornbills) เป็นนกเงือกที่อยู่ในวงศ์ย่อย Bucorvinae (หรือ Bucorvidae) และอยู่ในสกุล Bucorvus เป็นนกเงือกอีกจำพวกหนึ่งที่พบในทวีปแอฟริกา โดยพบได้ตั้งแต่ตอนใต้ของสะฮาราลงมา ตั้งแต่ภาคตะวันออกของเซเนกัล ถึงเอธิโอเปีย และตอนใต้และตอนตะวันออกของทวีปแอฟริกา นกเงือกดิน เป็นนกเงือกที่มีขนาดใหญ่ ตัวขนาดเท่าไก่งวง เป็นนกเงือกที่มีนิ้วตีนสั้นทู่จึงไม่เหมาะแก่การใช้ชีวิตหรือหากินบนต้นไม้ จึงลงมาหากินและใช้ชีวิตบนพื้นดินเป็นหลัก มีจะงอยปากใหญ่ ขาค่อนข้างยาวกว่านกเงือกจำพวกอื่น รวมถึงมีอายุขัยโดยเฉลี่ยสูงกว่านกชนิดอื่นด้วย เป็นนกเงือกที่มีสีลำตัวสีดำหรือเข้ม มีถุงใต้คอสีแดงเป็นจุดเด่น เป็นนกเงือกที่กินเนื้อสัตว์เป็นอาหารหลัก เช่น แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ แม้กระทั่งนกด้วยกันขนาดเล็ก รวมถึงกระต่าย หรือเต่าบกขนาดเล็ก ก็สามารถจับกินเป็นอาหารได้ด้วย โดยกินพืชเช่น เมล็ดพืชต่าง ๆ บ้างเป็นครั้งคราว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเงือกดิน · ดูเพิ่มเติม »

นกเงือกปากเหลืองแอฟริกา

นกเงือกปากเหลืองแอฟริกา หรือ นกเงือกปากเหลือง (Yellow-billed hornbill, African Yellow-billed hornbill) เป็นนกเงือก 2 ชนิด ที่พบได้ในทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเงือกปากเหลืองแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

นกเงือกโหนกเล็ก

นกเงือกโหนกเล็ก เป็นสกุลของนกเงือก ที่ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhyticeros จัดเป็นนกเงือกขนาดใหญ่ กระจายพันธุ์ในป่าของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์จนถึงหมู่เกาะโซโลมอน บางครั้งอาจรวมอยู่ในสกุล Aceros และบางครั้งสกุล Aceros เอง ก็ถูกจัดให้รวมอยู่ในสกุลนี้ สกุล Aceros จึงเหลือเพียงแค่นกเงือกคอแดงซึ่งเชื่อว่ามีบรรพบุรุษร่วมกันเมื่อกว่า 29 ล้านปีก่อน นกเงือกคอแดงจึงเหลือเป็นสกุลเดียวเท่านั้น ทุกชนิดในสกุลนี้ มีลักษณะเด่น คือ โหนกบนกรามบนและส่วนหัวมีขนาดเล็ก และส่วนใหญ่มีกรามและโหนกสีขาวคล้ำ ทั้งสองเพศมีขนสีดำ แต่ส่วนหัวและลำคอของตัวผู้มีสีขาวหรือสีแดง หางเป็นสีขาวยกเว้นในนกเงือกซุมบา ซึ่งเป็นสีดำ หนังบริเวณลำคอย่นสีฟ้าเห็นได้ชัดเจน ยกเว้นตัวผู้ที่มีถุงใต้คอสีเหลือง.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเงือกโหนกเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

นกเปล้า

นกเปล้า หรือ นกเขาเปล้า หรือ นกเป้า (Green pigeons) เป็นสกุลของนกสกุลหนึ่ง ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Treron มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับนกในสกุล Columba หรือนกพิราบ แต่มีขนาดลำตัวใหญ่กว่า แต่มีสีลำตัวสีเขียวเห็นได้ชัด แต่ละชนิดแตกต่างกันตรงสีที่หน้าอกและไหล่ซึ่งอาจเป็นสีม่วงหรือน้ำตาล อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินเมล็ดพืชและธัญพืชเป็นอาหาร โดยปกติจะไม่อาศัยอยู่ในเมืองเหมือนนกพิราบ แต่จะอาศัยอยู่ในป่าหรือชายทะเล พบกระจายพันธุ์ระหว่างทวีปเอเชีย และแอฟริกา มีความแตกต่างระหว่างเพศสูงโดยจำแนกจากสีขน พบทั้งหมด 23 ชนิด พบในประเทศไทย 12 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเปล้า · ดูเพิ่มเติม »

นกเป็ดผี

นกเป็ดผี (grebe) เป็นนกน้ำในอันดับ Podicipediformes ที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ปกติพบตามแหล่งน้ำจืด บางครั้งในฤดูอพยพและฤดูหนาวอาจพบในทะเล ในอันดับนี้มีเพียงวงศ์เดียวคือ Podicipedidae ซึ่งประกอบไปด้วย 22 สปีชีส์ใน 6 สกุลที่ยังมีอยู่ในปัจจุบัน นกเป็ดผี มีลักษณะคล้ายเป็ด แต่มิใช่เป็ด หากแต่มีกลับความใกล้ชิดกับนกฟลามิงโก (Phoenicopteridae) เสียมากกว่า ทั้งที่มิได้มีสรีระรูปร่างใกล้เคียงกันเลย เหตุที่ได้ชื่อว่า "นกเป็ดผี" มาจากพฤติกรรมที่มักผลุบหายลงไปใต้น้ำอย่างรวดเร็ว ก่อนจะไปโผล่อีกจุดหนึ่งซึ่งมักอยู่ห่างออกไปราวกับผีหลอก นกเป็ดผีเป็นนกที่วิวัฒนาการมาเพื่อการว่ายน้ำและดำน้ำโดยเฉพาะ มีความเชี่ยวชาญในการจับปลามาก ตลอดทั้งชีวิตแทบไม่เคยขึ้นจากน้ำเลย ยกเว้นยามเมื่อต้องบินและวางไข่เท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเป็ดผี · ดูเพิ่มเติม »

นกเป็ดน้ำหางวงแหวน

นกเป็ดน้ำหางวงแหวน (Ringed teal) เป็นสัตว์ปีกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Callonetta มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับเป็ด แต่มีขนาดลำตัวเล็กกว่ามาก มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวค่อนข้างป้อมสั้น มีจะงอยปากสีเทาดำ เท้าสีเทาดำเป็นพังผืดเพื่อช่วยในการว่ายน้ำ ขนตามตัวจะมีสีน้ำตาลแกมน้ำตาลแดงส่วนปลายหางจะมีสีน้ำตาลแดงและล้อมรอบด้วยสีเทาดำอย่างเห็นได้ชัด ส่วนขนที่ปลายปีกจะออกสีน้ำตาลปนสีเทาดำชัดเจน มีปีกที่ค่อนข้างยาวและมีความสามารถพิเศษที่สามารถกระพือปีกได้เร็วกว่านกอื่นทั่วไป จึงบินได้สูงและเร็ว และสามารถบินต่อเนื่องได้เป็นเวลานานหลายชั่วโมงโดยไม่หยุดพัก มีการกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปอเมริกาใต้ โดยอาศัยรวมกันเป็นฝูงอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงตั้งแต่ 2 ตัว จนถึงหลายร้อยตัว เมื่อตกใจหรือบินจะบินตามติดกันเป็นฝูง ๆ ออกหากินในเวลากลางวันในละแวกใกล้เคียงที่อยู่อาศัยและกลับมานอนที่เดิมในตอนพลบค่ำ นกเป็ดน้ำหางวงแหวน ได้ชื่อว่าเป็นนกที่จับคู่ครองเพียงคู่เดียวตลอดชีวิต จึงมักใช้เป็นสัญลักษณ์ของความรักอยู่เสมอ ๆ โดยนกเป็ดน้ำหางวงแหวน ไม่ใช่นกประจำถิ่นของประเทศไทย แต่อาจพบได้ในบางฤดูกาลด้วยว่าเป็นนกอพยพ แต่ก็พบได้ในปริมาณที่น้อยมาก ตามพื้นที่ชุ่มน้ำขนาดใหญ่ต่าง ๆ เช่น บึงบอระเพ็ด เป็นต้น ซึ่งมักมีผู้มายิงนำไปรับประทานอยู่บ่อย ๆ โดยที่ไม่ได้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมายไทยแต่ประการใ.

ใหม่!!: สปีชีส์และนกเป็ดน้ำหางวงแหวน · ดูเพิ่มเติม »

นาก

นาก (ไทยถิ่นเหนือ: บ้วน) เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์ใหญ่ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับวีเซลหรือเพียงพอน แต่นากจัดอยู่ในวงศ์ย่อย Lutrinae มีทั้งหมด 6 สกุล (ดูในตาราง) เป็นสัตว์บกที่สามารถว่ายน้ำและหากินในน้ำได้อย่างคล่องแคล่วมาก มีรูปร่างโดยรวมหัวสั้นและกว้างแบน หูมีขนาดเล็กซ่อนอยู่ใต้ขน นิ้วตีนทั้ง 4 ข้างมีพังผืดคล้ายตีนเป็ด ขนลำตัวสีน้ำตาลอมเทา มี 2 ชั้น ชั้นในละเอียด ชั้นนอกหยาบ ขาหลังใหญ่และแข็งแรงกว่า ขาหน้า ใช้ว่ายน้ำร่วมกับหาง มีฟันแหลมและแข็งแรง มีหนวดยาวใช้เป็นอวัยวะจับการเคลื่อนไหวของสิ่งที่อยู่ใต้น้ำและใช้เป็นประสาทสัมผัสเมื่อเวลาอยู่ในน้ำ ไล่จับปลาและสัตว์น้ำเล็ก ๆ เป็นอาหาร ในบางชนิดอาจกินสัตว์จำพวกอื่นที่มีขนาดใหญ่กว่าได้ด้วย ออกหากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ขุดรูอยู่ริมตลิ่งใช้เป็นรังสำหรับอาศัยและเลี้ยงดูลูกอ่อน นากจึงเป็นสัตว์ที่มีที่อยู่ในธรรมชาติใกล้กับแหล่งน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ หลากหลายประเภท เช่น บึง, ทะเลสาบ, ลำธาร, ป่าชายเลน แม้แต่พื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ เช่น ท้องร่องในสวนผลไม้, นาข้าว หรือนากุ้ง เป็นต้น พบได้ทั่วโลก โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ นากยักษ์ (Pteronura brasiliensis) พบในลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ บางชนิดพบในทะเล คือ นากทะเล (Enhydra lutris) ที่สามารถนอนหงายท้องบนผิวน้ำทะเลและเอาหินทุบเปลือกหอยกินเป็นอาหารได้ด้วย นากมีความสำคัญต่อมนุษย์ คือ ในอดีตมีการล่าเพื่อเอาหนังและขนทำเป็นเสื้อขนสัตว์ โดยเฉพาะในทวีปยุโรปมีการล่าอย่างหนัก ทำให้นากหลายชนิดเกือบสูญพันธุ์ ซึ่งเสื้อขนสัตว์ 1 ตัว ต้องใช้ขนของนากมากถึง 40 ตัว จนทำให้ใกล้สูญพันธุ์ กระทั่งในปี ค.ศ. 1975 ทางกองทุนสัตว์ป่าโลก ได้เรียกร้องให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ยกเลิกการค้าหนังนาก ซึ่งก็ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้นากได้รับความคุ้มครอง แต่กระนั้นในบางพื้นที่ก็ยังคงมีการลักลอบกันอยู.

ใหม่!!: สปีชีส์และนาก · ดูเพิ่มเติม »

นากยักษ์

นากยักษ์ (Giant otter;; ชื่อพื้นเมือง: lobo de río แปลว่า "หมาป่าแม่น้ำ") เป็นนากชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pteronura แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง).

ใหม่!!: สปีชีส์และนากยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

นากหญ้า

นากหญ้า (Coipú, Nutria) เป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Myocastor coypus อยู่ในวงศ์ Myocastoridae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Myocastor และวงศ์นี้ ด้วยความที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายนาก ซึ่งอยู่ในวงศ์ Lutrinae ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จึงได้ชื่อสามัญว่า "Nutria" ซึ่งในภาษาสเปนหมายถึง "นาก" และกลายมาเป็นชื่อสามัญในภาษาไทยด้วย นากหญ้ามีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ ทางตอนใต้ของบราซิล ปารากวัย อุรุกวัย เวเนซุเอลา โบลิเวีย อาร์เจนตินา ชิลี มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย จัดเป็นสัตว์ฟันแทะที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งเหมือนบีเวอร์หรือคาปิบารา เมื่อโตเต็มที่มีความยาวได้ 37-70 เซนติเมตร หางยาว 24-45 เซนติเมตร น้ำหนักตั้งแต่ 3.5-10 กิโลกรัม บางตัวอาจหนักได้ถึง 17 กิโลกรัม ตัวผู้มีน้ำหนักมากกว่าตัวเมีย 3-5 เท่า มีหัวกลม ปากสั้น คอสั้น ใบหูกลมและเล็ก หนวดเป็นเส้นหนา เท้าหลังมีนิ้วทั้งหมด 4 นิ้ว พังผืดยึดระหว่างนิ้วเพื่อช่วยในการว่ายน้ำ ยกเว้นนิ้วสุดท้าย ขณะที่เท้าหน้ามี 5 นิ้ว มีหางยาว ขนชั้นนอกยาวและหยาบ ขณะที่ขนชั้นในอ่อนนุ่ม ขนมีน้ำมันบาง ๆ เคลือบอยู่เป็นมันและไม่อุ้มน้ำขณะว่ายน้ำ ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนกับขนของนาก ซึ่งสีขนอาจแปรเปลี่ยนไปได้ตามฤดูกาล ตั้งแต่สีน้ำตาลอ่อนจนถึงดำแกมแดง ในขณะที่บางตัวอาจมีแต้มสีขาวบริเวณปาก มีพฤติกรรมความเป็นอยู่คล้ายกับนาก คือ จะอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในพื้นที่ชุ่มน้ำ โดยขุดโพรงริมตลิ่งหรือสร้างรังบนกอพืชน้ำอยู่ แต่กินอาหารจำพวกหญ้าและพืชน้ำและหอยทั้งหอยฝาเดียวและหอยฝาคู่ในบางครั้งด้วย ว่ายน้ำและดำน้ำเก่ง โดยสามารถดำน้ำได้นานถึง 7 นาที เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 4 เดือน ขณะที่มีน้ำหนักตัวประมาณ 2-3 กิโลกรัม ตัวเมียมีวงรอบผสมพันธุ์ทุก ๆ 23-26 วัน ตลอดทั้งปี ออกลูกครั้งละ 2-7 ตัว โดยพบมากสุดถึง 13 ตัว ตั้งท้องนาน 123-150 วัน ลูกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวประมาณ 225 กรัม โดยมีขนปกคลุมทั้งลำตัวและดวงตาปิด จะอาศัยอยู่กับแม่ไป 6-10 ปี ตัวเมียมีเต้านม 4-5 คู่ อยู่ด้านข้างลำตัวซึ่งเหมาะกับแก่การให้นมลูกขณะที่ว่ายน้ำไปด้วยได้ มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 10 ปี นากหญ้า ถือเป็นสัตว์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ และด้วยความที่มีขนที่มีลักษณะคล้ายขนของนาก จึงทำให้มีความต้องการขนทำเป็นเสื้อขนสัตว์แทนนาก ที่ถูกล่าอย่างหนักจนถูกขึ้นชื่อไว้เป็นสัตว์อนุรักษ์ในหลายประเทศ จึงมีการเพาะเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจและมีการส่งออกจากทวีปอเมริกาใต้ไปยังหลายภูมิภาคของโลก เช่น ยุโรป อเมริกาเหนือ แอฟริกา รวมถึงเอเชีย ซึ่งในหลายพื้นที่ได้กลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม เพราะกลายมาเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่คุกคามความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตพื้นถิ่นในที่นั้น ๆ อีกทั้งยังเป็นพาหะของโรคกลัวน้ำอีกด้วย สำหรับในประเทศไทยเอง ก็ประสบกับปัญหานี้ด้วยเช่นนี้ ได้มีการนำเข้านากหญ้าครั้งแรกมาจากแอฟริกา โดยชาวไต้หวัน โดยถูกเลี้ยงไว้ที่จังหวัดราชบุรี ต่อมาก็ถูกนำไปเลี้ยงให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยทหารบกชั้นประทวนผู้หนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก เมื่อปี พ.ศ. 2537 ก่อนที่จะแพร่หลายในฐานะเป็นสัตว์เศรษฐกิจชนิดใหม่ แต่ทว่าเมื่อได้มีการเลี้ยงกันอย่างจริงจังแล้ว ปรากฏว่า ผลตอบรับกลับไม่ได้เป็นไปอย่างที่คิด จึงทำให้มีการปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ และกลายเป็นหนึ่งในสัตว์ที่เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในประเทศไทย เช่นเดียวกับ หอยเชอรี่ ปลาซัคเกอร์ หรือตะพาบไต้หวัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนากหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

นากแม่น้ำ

นากแม่น้ำ (River otter) เป็นนากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Lontra (/ลอน-ตร้า/) เป็นนากสกุลที่พบได้ในทวีปอเมริกา หรือซีกโลกใหม่ เดิมทีเคยถูกรวมให้เป็นสกุลเดียวกันกับสกุล Lutra หรือ นากใหญ่ แต่ปัจจุบันถูกจำแนกออกมาต่างหาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และนากแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

นากใหญ่

นากใหญ่ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง จำพวกนาก เป็นนากในสกุล Lutra (/ลู-ตร้า/) พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปยุโรปจนถึงทวีปเอเชียจนถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออก เป็นนากขนาดใหญ่มีอุปนิสัยอาศัยอยู่ตามลำพัง แตกต่างจากนากจำพวกอื่น ๆ เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำหรือบนบก โดยจะพบในพื้นที่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ลำธาร, ห้วย หรือแม้กระทั่งพื้นที่เกษตรกรรม หากินสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร เช่น ปลา, สัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก และก็สามารถจับสัตว์อย่างอิ่น เช่น แมลง, สัตว์ฟันแทะ หรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง กินได้ด้วยยามเมื่อฤดูอาหารขาดแคลน เช่น ฤดูหนาว นากในสกุลนี้พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชียมาตั้งแต่ยุคไพลโอซีนตอนปลาย โดยมีชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว คือ Lutra palaeindica พบเป็นฟอสซิลที่เก่าแก่ที.

ใหม่!!: สปีชีส์และนากใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นากเล็ก

นากเล็ก หรือ นากไร้เล็บ (Small-clawed otter, Clawless otter) เป็นนากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Aonyx (/เอ-โอ-นิก/) โดยแปลว่า "ไร้เล็บ" มาจากคำว่า prefix 'a-' (ไม่) และ 'onyx' (เล็บ/ตะขอ) เป็นนากขนาดเล็ก มีเล็บและขาหน้าสั้นไม่แข็งแรง จึงไม่สามารถขุดโพรงได้เหมือนนากสกุลหรือชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ใน 2 ทวีป คือ เอเชียและแอฟริกา ลักษณะอุ้งตีนและเล็บของนากเล็กเล็บสั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และนากเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

นางพญาเสือโคร่ง

นางพญาเสือโคร่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus cerasoides กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,, สืบค้นวันที่ 21 ก.ย. 2552, Wild Himalayan Cherry) เป็นพืชดอกในสกุล Prunus ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พบทั่วไปบนภูเขาตั้งแต่ความสูง 1,200-2,400เมตรจากระดับน้ำทะเล เช่น ภูลมโล จังหวัดเลย, ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย, ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่, ขุนสถาน ดอยวาว ดอยภูคา มณีพฤกษ์ จังหวัดน่าน, ภูทับเบิก จังหวัดเพชรบูรณ์, ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ โดยเป็นดอกไม้ประจำอำเภอเวียงแหง นางพญาเสือโคร่ง เป็นพรรณไม้ที่มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ที่ตอนเหนือของประเทศไทย ในต่างประเทศ พบในประเทศพม่า รัฐฉานและรัฐคะฉิ่น, ประเทศอินเดียพบบนเทือกเขาหิมาลัย ในรัฐอรุณาจัลประเทศยาวไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย หรือที่เรียกว่าHimalayas, ประเทศภูฏาน, ประเทศเนปาล และประเทศจีนพบในมณฑลยูนนาน นางพญาเสือโคร่งถูกนิยมเรียกว่า"ซากุระเมืองไทย" เพราะมีลักษณะคล้ายซากุระในประเทศญี่ปุ่น แม้จะเป็นคนละชนิดกันก็ตาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และนางพญาเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

นิลกาย

นิลกาย (Nilgai, Blue bull; নীলগাই; नीलगाय) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) จัดเป็นเพียงสัตว์ชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Boselaphus มีรูปร่างลักษณะคล้ายวัวผสมกับม้า ตัวผู้มีลักษณะเด่น ที่ สีลำตัวเมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินเข้มขึ้นเรื่อย ๆ หรือสีเทาปนดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ถือเป็นแอนทีโลปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย โดยมีส่วนสูงวัดถึงไหล่ประมาณ 1.2–1.5 เมตร และยาว 1.8–2 เมตร หางยาว 40–45 เซนติเมตร ตัวเต็มวัยมีน้ำหนักประมาณ 120–140 กิโลกรัม ลำตัวใหญ่ แต่มีขาเล็กเรียว ตัวผู้มีเขาเล็ก ๆ โค้งไปข้างหน้าเล็กน้อย ยาวประมาณ 21-25 เซนติเมตร มีขนแข็งยาวขึ้นจากส่วนหัวไล่ไปถึงกลางหลังทั้งสองเพศ ขณะที่ตัวเมียมีสีออกน้ำตาลแดง นิลกาย เป็นสัตว์ที่มีถิ่นกระจายพันธุ์ในราบตอนเหนือของอินเดียและทางภาคตะวันออกของปากีสถาน ชอบอยู่ตามที่ราบและเนินเขาที่มีไม้พุ่มเตี้ยมากกว่าอยู่ในป่าทึบ นิลกายเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 18 เดือน ซึ่งหลังผสมพันธุ์แล้ว มีระยะเวลาตั้งท้องประมาณ 8 เดือน ออกลูกคราวละ 2 ตัวหรือมากได้ถึง 3 ตัว น้ำหนักตัวเมื่อเกิดใหม่ราว 13–16 กิโลกรัม มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 21 ปี นิลกายเป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางวัน และพักผ่อนในเวลากลางคืนเหมือนสัตว์ในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ แต่กินอาหารหลากหลายกว่า เพราะกินทั้งต้นไม้, ใบหญ้า, ใบไม้ และผลไม้ทั่วไป นอกจากนี้ยังมีความสามารถพิเศษ คือ สามารถอดน้ำได้หลายวันโดยไม่มีน้ำดื่ม แต่มักจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ โดยส่วนใหญ่จะอยู่กันเป็นกลุ่มประมาณ 15 ตัว บางกลุ่มอาจมีถึง 20 ตัว ยกเว้นตัวที่อายุมากแล้วมักจะปลีกตัวไปอยู่ตามลำพัง และจะรวมตัวกันอีกทีก็ในช่วงฤดูหนาว ซึ่งอาจจะมีจำนวนถึง 30–100 ตัว ปัจจุบัน นิลกายพบจำนวนมากในที่ สวนลุมพินีวัน อันเป็นสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า และเชื่อว่าเป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ด้วย เป็นสัตว์ที่เชื่อว่าหากใครได้พบเห็น จะพบกับความเป็นสิริมงคล แต่นิลกายก็ถือเป็นสัตว์ที่รบกวนกินพืชผลของเกษตรกรเสียหายได้ครั้งละเป็นจำนวนมาก ทางการอินเดียจึงอนุญาตให้ล่าสัตว์ชนิดนี้ได้อย่างถูกกฎหมาย ขณะที่อีกไม่น้อยถูกรถชน นอกจากนี้ยังต้องขาดแคลนที่อยู่ซึ่งเป็นผลมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทุกวัน และมีศัตรูตามธรรมชาติอีกอย่างคือเสือและสิงโต ทำให้ปัจจุบันเหลือปริมาณ นิลกายอยู่ไม่มากแล้ว ในอินเดียมีประมาณ 100,000 ตัวเท่านั้น ส่วนที่รัฐเทกซัสในสหรัฐอเมริกาถูกนำไปเลี้ยงในสวนสัตว์บ้าง ในธรรมชาติบ้าง ช่วงทศวรรษ 1920 เหลือปริมาณนิลกายประมาณ 1,500 ตัว สำหรับในประเทศไทย นิลกายมีอยู่ที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ซึ่งได้ตกลูกในไทยมาแล้วถึง 4 ตัว นอกจากนี้แล้วยังเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับซาวลา (Pseudoryx nghetinhensis) ที่พบในป่าทึบของเวียดนามอีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนิลกาย · ดูเพิ่มเติม »

นิวคลีโอโพลิฮีโดรไวรัส

นิวคลีโอโพลิฮีโดรไวรัส (Nuclear Polyhedrosis Virus, NPV) เป็นกลุ่มของไวรัสชนิดแรกที่พบทำให้เกิดโรคกับแมลงโดยเฉพาะกับสัตว์ในไฟลั่ม Arthropoda ไม่มีผลต่อระบบสิ่งมีชีวิตอื่นที่เป็นพวกสัตว์มีกระดูกสันหลังหรือพืช นอกจากนี้ยังมีความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม จึงมีการนำไวรัสชนิดนี้มาใช้ในการกำจัดแมลงศัตรูพืชทางการเกษตรเพื่อแก้ปัญหาสารพิษตกค้างและช่วยลดการใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ต่อสุขภาพของตัวเกษตรกรผู้ใช้รวมถึงผู้บริโภคด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และนิวคลีโอโพลิฮีโดรไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์หางใบพาย

นิวต์หางใบพาย หรือ ซาลาแมนเดอร์หางใบพาย (Alpine newt) เป็นซาลาแมนเดอร์ในกลุ่มของนิวต์ หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก ในสกุล Triturus (มาจาก ไทรทัน บุตรชายของโพไซดอน เทพเจ้าแห่งมหาสมุทรตามเทพปกรณัมกรีก และภาษากรีกคำว่า ura หมายถึง "หาง") ลักษณะเด่นของนิวต์หางใบพาย คือ มีส่วนหางที่แผ่แบนเหมือนใบพายหรือครีบปลา มีช่วงชีวิตยาวนานอยู่ในน้ำมากกว่านิวต์สกุลอื่น ๆ โดยที่ขณะเป็นตัวอ่อนหรือตัวเต็มวัย ลักษณะหางที่เป็นใบพายก็ยังคงลักษณะเดิมไม่เปลี่ยนแปลง มีขนาดลำตัวประมาณ 9-12 เซนติเมตร ในชนิดที่มีขนาดใหญ่อาจยาวได้ถึง 16 เซนติเมตร ในบางชนิดมีแผ่นหนังที่ดูคล้ายหงอนหรือครีบหลังที่สันหลังของลำตัวไปถึงส่วนหางด้วยซึ่งดูเป็นจุดเด่น ลำตัวมักมีสีน้ำตาลหรือสีเทาเข้ม มีลายประหรือจุดสีสันต่าง ๆ แตกต่างออกไปตามและชนิด และยิ่งจะมีความเด่นชัดขึ้นโดยเฉพาะในช่วงฤดูผสมพันธุ์ มีการขยายพันธุ์และวางไข่เหมือนกับนิวต์สกุลอื่น วางไข่ครั้งละ 100-200 ฟอง หรือในชนิดที่มีจำนวนมากอาจได้ถึง 300-400 ฟอง พบกระจายพันธุ์ในป่า หรือลำห้วย หรือทะเลสาบในแถบเทือกเขาในระดับความสูงต่าง ๆ กันในทวีปยุโรป จนถึงบางส่วนของรัสเซีย และภูมิภาคตะวันออกกลางTriturus ทั้ง 5, คอลัมน์ Aqua Survey โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: สปีชีส์และนิวต์หางใบพาย · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์จระเข้

นิวต์จระเข้ หรือ นิวต์ตะปุ่มตะป่ำ (Crocodile newts, Knobby newts) เป็นสกุลของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกซาลาแมนเดอร์สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Tylototriton จัดเป็นนิวต์หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก ปัจจุบันพบทั้งหมด 14 ชนิด โดยเชื่อว่ายังมีอีกหลายชนิดที่ยังไม่ได้มีการค้นพบ และในบางชนิดก็อาจเป็นชนิดเดียวกัน พบกระจายพันธุ์ตามแนวเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียและพม่า ไปจนถึงพม่าสู่ภาคเหนือของไทย, ลาว, เวียดนาม และทางตอนใต้ของจีน.

ใหม่!!: สปีชีส์และนิวต์จระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์ท้องแดง

นิวต์ท้องแดง หรือ นิวต์ไฟ (Fire belly newt, Fire newt) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกนิวต์ (Salamandridae) ที่อยู่ในสกุล Cynops เป็นนิวต์หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์อยู่ในพื้นที่เอเชียตะวันออก เช่น จีน และญี่ปุ่น มีลักษะเด่น คือ มีส่วนท้องเป็นสีแดงหรือสีเหลือง จำแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และนิวต์ท้องแดง · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์ท้องแดงจีน

นิวต์ท้องแดงจีน หรือ นิวต์ท้องแดง (Chinese fire belly newt, Oriental fire-bellied newt, Dwarf fire-bellied newt; 東方蠑螈) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง จำพวกนิวต์ (Salamandridae) เป็นนิวต์ขนาดเล็กมีลำตัวสีดำ ส่วนหางแบนเหมือนใบพาย มีช่วงท้องเป็นสีเหลืองมีแต้มสีส้มหรือแดง ตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย โดยตัวผู้จะมีปุ่มบริเวณโคนหาง จัดเป็นนิวต์ขนาดเล็กมีความยาวลำตัวจรดหางประมาณ 12-15 เซนติเมตร แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนมีพู่เหงือก แพร่กระจายพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่น้ำสะอาดและบริสุทธิ์และมีพืชน้ำขึ้นหนาแน่นในตอนใต้ของประเทศจีน อุณหภูมิประมาณ 18-24 เซนติเมตร ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินสัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก เช่น หนอน, กุ้งฝอย, หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ, ลูกอ๊อด เป็นต้น นิวต์ท้องแดงจีน มีพิษบริเวณผิวหนังที่มีพิษประเภทเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) อันเป็นพิษแบบเดียวกับที่มีในปลาปักเป้า แต่เป็นพิษแบบอ่อน อันเป็นลักษณะสำคัญของนิวต์ในสกุล Cynops ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายมากนักสำหรับมนุษย์หากใช้มือเปล่าไปแตะต้องถูกเข้า แต่จะเป็นอันตรายต่อเมื่อกลืนกินเข้าไป เป็นนิวต์หรือซาลาแมนเดอร์อีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และนิวต์ท้องแดงจีน · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์แปซิฟิก

นิวต์แปซิฟิก หรือ นิวต์ตะวันตก หรือ นิวต์ผิวขรุขระ (Pacific newt, Western newt, Roughskin newt) เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกซาลาแมนเดอร์สกุลหนึ่ง ในสกุล Taricha (/ทา-ริ-ชา/) จัดเป็นซาลาแมนเดอร์แท้ หรือนิวต์สกุลหนึ่ง เป็๋นนิวต์ที่หากินและใช้ชีวิตบนบกเป็นหลัก และจะเคลื่อนย้ายไปยังแหล่งน้ำเมื่อถึงเวลาผสมพันธุ์ การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในลำตัว เป็นนิวต์ที่พบกระจายพันธุ์ทั้งในพื้นที่ตะวันออกและตะวันตกของสหรัฐอเมริกา และอาจพบได้จนถึงตอนเหนือของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย เม็กซิโก จำแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ดังนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และนิวต์แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

น้อยโหน่ง

น้อยโหน่ง (อังกฤษ: Custard-apple, Bullock's-heart) ผลไม้ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Annona reticulata อยู่ในวงศ์กระดังงา สกุลเดียวกับ น้อยหน่า (A. squamosa) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีดอกคล้ายดอกของน้อยหน่า แต่ผลมีขนาดโตกว่า เปลือกบางแต่เหนียว ค่อนข้างเรียบ ไม่นูนเป็นตา ๆ สีเขียวจาง ๆ ปนสีแดงเรื่อ ๆ ความสูงของลำตัวประมาณ 5-8 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ เป็นรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก หรือใบประกอบแบบขนนกออกเรียงสลับเป็นรูปใบหอก ปลายและโคนใบแหลมสีเขียวสด ปลูกได้ในดินทั่วไป เนื้อในผลหนาสีขาว รสชาติหวานแต่ไม่เท่าน้อยหน่า มีเมล็ดมาก มีคุณค่าทางอาหาร คือ วิตามินเอมากกว่าน้อยหน่า นอกจากนี้แล้วยังมีสรรพคุณทางยา คือ ผลทั้งดิบและสุกแก้ท้องร่วง โรคบิด โรคซาง ลมจุกเสียด แก้พยาธิในท้อง และพยาธิผิวหนัง, รากใช้แก้เหงือกบวม รักษาโรคเรื้อน เปลือกและต้นแก้บิด ท้องเสีย เป็นยาห้ามเลือดและสมานแผล, ใบใช้ฆ่าพยาธิผิวหนัง แก้บวมและฟกช้ำ เมล็ดใช้เป็นยาสมานแผล นอกจากนี้แล้วทั้งผลดิบและใบสดยังสามารถใช้ต้มเอาน้ำทำเป็นสีย้อมผ้าให้สีดำและสีน้ำเงินที่สวยงามและติดทนนานอีกด้วย น้อยโหน่ง จะนิยมรับประทานน้อยกว่าน้อยหน่าเนื่องจากผลมีกลิ่นฉุน ยังมีชื่อเรียกต่างกันไปตามภาษาถิ่นในแต่ละภาคอีกด้วย เช่น มะโหน่ง หรือ มะเนียงแฮ้ง (ภาคเหนือ), น้อยหนัง (ภาคใต้) เป็นต้น ทั้งน้อยโหน่งและน้อยหน่า มิใช่พืชพื้นเมืองของไทยหรือภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่เป็นพืชพื้นเมืองของภูมิภาคอเมริกากลาง เชื่อว่าถูกเข้านำมาครั้งแรกในสมัยอยุธยา แต่ปัจจุบัน สามารถพบน้อยโหน่งและน้อยหน่าได้ทั่วไปทั้งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ไต้หวัน, อินเดีย, ออสเตรเลีย และแอฟริกาตะวันตก.

ใหม่!!: สปีชีส์และน้อยโหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอสุจิ

น้ำอสุจิ น้ำอสุจิ (Semen, seminal fluid) เป็นสารประกอบอินทรีย์เหลวที่อาจมีตัวอสุจิอยู่ ในภาษาบาลี อะ แปลว่าไม่ สุจิ หรือสุจี แปลว่าสะอาด น้ำอสุจิ จึงแปลว่า น้ำที่ไม่สะอาด เป็นน้ำที่หลั่งออกจากอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และจากอวัยวะทางเพศอื่น ๆ ของสัตว์เพศชาย และสามารถทำการผสมพันธุ์กับไข่ของเพศหญิงได้ ในมนุษย์ น้ำอสุจิมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอสุจิ คือมีเอนไซม์ต่าง ๆ และน้ำตาลประเภทฟรุกโทส ที่ช่วยเลี้ยงตัวอสุจิให้ดำรงรอดอยู่ได้ และเป็นสื่อเพื่อที่ตัวอสุจิจะเคลื่อนที่ หรือ "ว่ายน้ำ" ไปได้ น้ำอสุจิโดยมากเกิดจากต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ seminal vesicle ว่า "ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ" (หรือมีชื่ออื่นว่า ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ) ซึ่งเป็นอวัยวะอยู่ที่เชิงกราน แต่ว่าตัวอสุจิเองสร้างจากอัณฑะ ส่วนกระบวนการที่นำไปสู่การปล่อยน้ำอสุจิเรียกว่า การหลั่งน้ำอสุจิ ในมนุษย์ น้ำอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นที่หลั่งออกโดยผู้ชาย เมื่อถึงจุดสุดยอด เมื่อมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการสำเร็จความใคร่ หรือเมื่อขับออกตามธรรมชาติที่เรียกว่าฝันเปียก โดยจะมีการหลั่งน้ำอสุจิแต่ละครั้งประมาณ 3-4 ซีซี มีจำนวนตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ล้านตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และน้ำอสุจิ · ดูเพิ่มเติม »

แบบสิ่งเร้า

แบบสิ่งเร้า หรือ แบบความรู้สึก (Stimulus modality, sensory modality) เป็นลักษณะอย่างหนึ่งของสิ่งเร้า หรือเป็นสิ่งที่เรารับรู้เนื่องจากสิ่งเร้า ยกตัวอย่างเช่น เราจะรู้สึกร้อนหรือเย็นหลังจากมีการเร้าตัวรับอุณหภูมิของระบบรับความรู้สึกทางกาย เช่น ด้วยวัตถุที่ร้อน แบบสิ่งเร้าบางอย่างรวมทั้งแสง เสียง อุณหภูมิ รสชาติ แรงดัน กลิ่น และสัมผัส ประเภทและตำแหน่งของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่ทำงานเนื่องจากสิ่งเร้า จะเป็นตัวกำหนดการเข้ารหัสความรู้สึก แบบความรู้สึกต่าง ๆ อาจทำงานร่วมกันเพื่อเพิ่มความชัดเจนของสิ่งเร้าเมื่อจำเป็น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแบบสิ่งเร้า · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กเบอร์รี

แบล็กเบอร์รี (blackberry) มีชื่อในภาษาไทยว่า ไข่กุ้ง, ไข่ปู, บ่าฮู้ เป็นผลไม้ป่าประเภทที่กินได้ เป็นไม้ผลประเภทผลกลุ่ม (aggregate fruit) (แบบน้อยหน่า) จากพุ่มไม้หนาม (Bramble) ซึ่งเป็นพืชที่อยู่ในสกุลกุหลาบในวงศ์กุหลาบที่มีด้วยกันทั้งหมดเป็นร้อยสปีชีส์เป็นพันธุ์ไม้ที่พบทั่วไปในบริเวณที่มีอากาศอุ่นในซีกโลกเหนือHuxley, A., ed.

ใหม่!!: สปีชีส์และแบล็กเบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

แพรรีด็อก

แพรรีด็อก (prairie dog) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynomys (/ไซ-โน-มีส/) ในวงศ์กระรอก (Sciuridae) แพรรีด็อกมีลักษณะโดยทั่วไป คือ ใบหูเล็ก ดวงตากลมโต ฟันแข็งแรง ขาคู่หน้าจะมีเล็บที่แหลมคมและแข็งแรง มีหน้าที่ขุดคุ้ยดินเพื่อหาอาหารและขุดโพรงอยู่อาศัย ออกหาอาหารในเวลากลางวันซึ่งกินได้ทั้งพืชและสัตว์ จำพวกหญ้า ผัก เมล็ดพืชต่าง ๆ รวมถึง แมลงและหนอน มีสีขนสีน้ำตาลทอง ปลายหางมีสีดำ ส่วนของหางมีความยาว 3-4 นิ้ว เท้ามีสีครีม ลำตัวอ้วนกลม เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 1-2 กิโลกรัม แม้แพรรีด็อกจะเป็นสัตว์ฟันแทะวงศ์เดียวกับกระรอก แต่จะไม่อาศัยและหากินบนต้นไม้เหมือนกระรอกทั่วไป แต่จะหากินและทำรังด้วยการขุดโพรงอยู่ตามพื้นดินทุ่งราบและพื้นที่ที่เป็นดินโล่ง เช่น ทุ่งหญ้าแพรรีในอเมริกาเหนือและเม็กซิโก มีทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแพรรีด็อก · ดูเพิ่มเติม »

แพลทีโอซอรัส

ลาทีโอซอรัส (Plateosaurus) เป็นไดโนเสาร์โปรซอโรพอดของยุคไทรแอสซิก ขนาด 7.8 เมตร อยู่กันเป็นฝูง กินพืชเป็นอาหาร พบที่ทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ เมื่อหน้าแล้งมาถึงมันจะอพยพ มันสามารถเดินได้ทั้ง 4 ขาและ 2 ขา เวลากินอาหารบนต้นไม้จะยืนด้วย 2 ขา แต่เวลาเดินหรือกินอาหารที่อยู่บนพื่นอย่างหญ้า มันก็จะเดิน 4 ขา พบในยุคไทรแอสซิกตอนปลาย-ยุคจูแรสซิกตอนต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแพลทีโอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แพลงก์ตอนพืช

แพลงก์ตอนพืชชนิดและรูปร่างต่าง ๆ ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กไม่ถึงมิลลิเมตร ไดอะตอม สิ่งมีชีวิตหลักกลุ่มหนึ่งในแพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนพืช หรือ ไฟโทแพลงก์ตอน (Phytoplankton) มีรากศัพท์จากภาษากรีกว่า φυτόν (ฟิตอน) หมายถึง "พืช" และ πλαγκτός (พลังค์ตอส) หมายถึง "ผู้เดินทาง" หรือ "ผู้เร่ร่อน" คือแพลงก์ตอนที่สามารถสังเคราะห์แสงและสร้างอาหารเองได้ สิ่งมีชีวิตกลุ่มหลักของแพลงก์ตอนพืชประกอบด้วย ไดอะตอม สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีทอง ไดโนแฟลกเจลเลต และไซยาโนแบคทีเรีย (สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เนื่องจากเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิของห่วงโซ่และสายใยอาหาร พบได้ทั้งในระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศน้ำเค็ม ตลอดจนในระบบนิเวศน้ำกร่อย แพลงก์ตอนพืชส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกสาหร่าย ทั้งที่เป็นโพรแคริโอตและยูแคริโอต โดยในแหล่งน้ำจืดจะพบสาหร่ายสีเขียว โดยเฉพาะในอันดับเดสมิด เป็นกลุ่มหลัก ส่วนในแหล่งน้ำเค็มอย่างทะเลและทะเลสาบ พบว่าแพลงก์ตอนพืชกลุ่มหลักคือกลุ่มไดอะตอมและไดโนแฟลกเจลเลต ในทางชีววิทยา แพลงก์ตอนพืชบางสปีชี่ส์จัดอยู่ในอาณาจักรพืช เช่น สาหร่ายสีเขียว บางชนิดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา เช่น ไดอะตอม สาหร่ายสีทอง บางชนิดอยู่ในกลุ่มเฮเทอโรคอนท์ ซึ่งไม่ได้จัดอันดับไว้ (จำพวกไดโนแฟลกเจลเลต) และบางชนิดถูกจัดอยู่ในอาณาจักรยูแบคทีเรีย เช่น ไซยาโนแบคทีเรีย แพลงก์ตอนพืชยังเป็นอาหารของแพลงก์ตอนสัตว์และสัตว์หลายชนิดที่อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำหรือท้องทะเล สัตว์บางชนิดมีอวัยวะคล้ายตาข่ายเพื่อดักจับแพลงก์ตอนพืชโดยเฉพาะ เช่น กุ้งเคย ห่วงโซ่อาหารหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดคือ แพลงก์ตอนพืช → กุ้งเคย → วาฬ มนุษย์นำแพลงก์ตอนพืชมาใช้ประโยชน์ในหลายทาง แพลงก์ตอนบางชนิดมีคุณค่าทางอาหารสูง จึงถูกนำไปใช้เป็นอาหารเสริมหรือเป็นส่วนประกอบของอาหารเสริม บางชนิดถูกนำไปใช้เป็นอาหารให้แก่สัตว์น้ำวัยอ่อนที่ต้องการเพาะพันธุ์ แพลงก์ตอนพืชที่มีปริมาณมากและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแหล่งน้ำใด ๆ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ ทำให้น้ำเปลี่ยนสีเป็นสีเขียว แดง น้ำตาล หรือเหลือง ขึ้นอยู่กับชนิดของแพลงก์ตอนพืช เช่น ไดโนแฟลกเจลเลตอย่าง Noctiluca scintillans ทำให้น้ำเป็นสีเขียว Ceratium furca ทำให้น้ำเป็นสีน้ำตาล เป็นต้น แพลงก์ตอนพืชปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เนื่องจากทำให้น้ำขาดออกซิเจนหรือลดลงอย่างมาก หรือทำให้เกิดภาวะสะสมของสารพิษที่มาจากตัวแพลงก์ตอน แพลงก์ตอนพืชมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการผลิตออกซิเจน นักชีววิทยาคาดการณ์ว่าปริมาณออกซิเจนถึงร้อยละ 50–80 ในชั้นบรรยากาศโลกผลิตขึ้นจากแพลงก์ตอนพืช ปัจจุบันแพลงก์ตอนพืชมีจำนวนลดลงอย่างมาก ซึ่งปัจจัยสำคัญคือน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้น ตั้งแต..

ใหม่!!: สปีชีส์และแพลงก์ตอนพืช · ดูเพิ่มเติม »

แพคิเซอฟาโลซอรัส

แพคิเซอฟาโลซอรัส (Pachycephalosaurus) เป็นไดโนเสาร์หัวแข็ง หรือแพคิเซอฟาโลซอร์ชนิดหนึ่ง ไดโนเสาร์ชนิดนี้มีหัวหนาถึง 25 เซนติเมตร ซึ่งน่าจะมีไว้ต่อสู้หรือป้องกันตัว ฟอสซิลของค้นพบที่รัฐไวโอมิง ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และแพคิเซอฟาโลซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แพนด้ายักษ์

แพนด้ายักษ์ (Giant panda) หรือที่นิยมเรียกว่า แพนด้า (Panda เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมซึ่งปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์หมี (Ursidae) ถิ่นอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน อาหารโปรดของแพนด้ายักษ์คือใบไผ่ นอกนั้นจะเป็นหญ้าชนิดอื่น ๆ ลักษณะเฉพาะของแพนด้ายักษ์คือมีขนสีดำรอบดวงตา, ใบหู, บ่า และขาทั้งสี่ข้าง ส่วนอื่นประกอบด้วยขนสีขาว.

ใหม่!!: สปีชีส์และแพนด้ายักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนด้ายักษ์ (สกุล)

แพนด้ายักษ์ หรือ หมีแพนด้า (Giant pandas, Pandas) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์หมี (Ursidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Ailuropoda แพนด้ายักษ์ ได้ปรากฏขึ้นมาครั้งแรกบนโลกเมื่อราว 8–9 ล้านปีก่อน ในช่วงปลายยุคไพลโอซีน (เริ่มต้นเมื่อ 25 ล้านปีก่อน กินเวลาประมาณ 12 ล้านปี) ตามที่มีการพบหลักฐาน เป็นซากฟอสซิล ที่บริเวณรอบ ๆ ป่าเขตร้อนชื้น ในมณฑลยูนาน ทางภาคใต้ของประเทศจีน โดยสัตว์ในสกุลนี้ได้กระจายพันธุ์ไปทั่วบริเวณที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน ตลอดจนถึงเกาะไต้หวัน และภาคเหนือของเวียดนาม, พม่า และภาคเหนือของไทยด้วย ซึ่งบรรพบุรุษของสัตว์ในสกุลนี้ได้วิวัฒนาการแยกตัวเองออกจากสัตว์ในสกุล Ailurarctos ที่มีชีวิตอยู่ในปลายยุคไมโอซีน โดยแพนด้ายักษ์ในตอนแรกเริ่มมีขนาดเพียงครึ่งหนึ่งของแพนด้ายักษ์ในปัจจุบัน หรือมีขนาดตัวพอ ๆ กับสุนัขอ้วน ๆ ตัวหนึ่งเท่านั้น และมีชีวิตอยู่ร่วมกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมยุคก่อนประวัติศาสตร์หลายชนิด อาทิ มนุษย์ปักกิ่ง, เสือเขี้ยวดาบ, ช้างแมมมอธ เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแพนด้ายักษ์ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

แพนด้าแดง

แพนด้าแดง (Red panda, Shining cat; 小熊貓; พินอิน: Xiǎo xióngmāo) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ailurus fulgens อยู่ในวงศ์ Ailuridae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดสายพันธุ์อยู่ จึงจัดเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตอยู่ชนิดหนึ่ง และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Ailurus มีรูปร่างหน้าตาคล้ายแรคคูนและกระรอกรวมกัน หัวมีขนาดใหญ่ จมูกแหลม ขาสั้นคล้ายหมี ขนตามลำตัวมีหลากหลาย มีทั้งสีน้ำตาลเข้ม น้ำตาลเหลืองและน้ำตาลแดง ขนบริเวณลำคอยาวและนุ่มฟู หางเป็นพวงยาวคล้ายกับหางของกระรอก มีลายปล้องสีน้ำตาลแดงสลับขาว มีความยาวของลำตัวและหัว 51-64 เซนติเมตร หางยาว 50-63 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 3-4.5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์พบตามแนวเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ภาคเหนือของประเทศอินเดีย, ทิเบต, เนปาล, ภูฏาน, จีน, ภาคเหนือของพม่า และภาคเหนือของประเทศลาวบริเวณที่ติดกับจีน โดยอาศัยอยู่ในป่าที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 1,500-4,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีพฤติกรรมออกหากินตามลำพัง มักหากินบนต้นไม้ กินอาหารเพียงไม่กี่ประเภท โดยกินเฉพาะใบไม้อ่อนเท่านั้น บางครั้งอาจกินไข่นก สัตว์ขนาดเล็กและผลไม้บางชนิดด้วย ใช้เวลาตอนกลางวันในการนอนหลับพักผ่อน แพนด้าแดงตัวผู้จะหวงอาณาเขตมากและมักเคลื่อนย้ายไปเรื่อย ๆ แต่แพนด้าแดงตัวเมียจะอาศัยอยู่ในพื้นที่ครอบครองของตัวเอง บางครั้งตัวผู้อาจเข้ามาหากินภายในอาณาเขตของตัวเมียด้วย โดยทั่วไปอาณาเขตของแพนด้าแดงตัวผู้จะกว้างประมาณ 1.1-9.6 ตารางกิโลเมตร ส่วนอาณาเขตของตัวเมียจะกว้างประมาณ 1.0-1.5 ตารางกิโลเมตร ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยตัวเมียจะยอมให้ตัวผู้ผสมพันธุ์อยู่เพียง 1-3 วันเท่านั้น แม่แพนด้าแดงใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 90-145 วัน และจะออกลูกในโพรงไม้หรือถ้ำเล็ก ๆ ออกลูกครั้งละ 4 ตัว ลูกที่เกิดใหม่จะยังมองไม่เห็น มีสีขนตามลำตัวออกสีเหลืองอ่อน และจะกินนมแม่อยู่นาน 5 เดือน หลังจากนั้นจึงหย่านมและเปลี่ยนมากินใบไผ่แทน เมื่ออายุได้ 2 ปี ก็จะแยกออกไปหากินตามลำพัง มีข้อสังเกตว่า แพนด้าแดงที่อยู่บริเวณภาคเหนือของอินเดียจะมีขนาดเล็กกว่าตัวที่อยู่ค่อนมาทางเอเชียตะวันออก และมีสีที่ใบหน้าซีดจางกว่า ซึ่งเป็นชนิดย่อยที่แยกออกไป สำหรับในประเทศไทย สวนสัตว์พาต้าเคยนำเข้ามาเลี้ยงในสวนสัตว์ครั้งหนึ่ง โดยให้อยู่ในห้องปรับอากาศ ปัจจุบันมีแสดงที่สวนสัตว์ดุสิต และสวนสัตว์เปิดเขาเขียวเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแพนด้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

แมกโนเลีย

กุลแมกโนเลีย (magnolia) เป็นพืชดอกในวงศ์จำปีที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 210 สปีชีส์ สกุลของพืชตั้งตามชื่อนักชีววิทยาชาวฝรั่งเศสชื่อปีแยร์ มาญอล (Pierre Magnol) ศูนย์กลางถิ่นฐานของแมกโนเลียอยู่ทางตอนกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศูนย์กลางอีกแห่งหนึ่งอยู่ในอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง, แคริบเบียน และบางสกุลในอเมริกาใต้ แมกโนเลียเป็นสกุลไม้โบราณที่วิวัฒนาการขึ้นมาก่อนที่จะมีผึ้ง รูปทรงของดอกจึงเป็นทรงที่ล่อให้ด้วงมาช่วยผสมพันธุ์ ฉะนั้นเกสรตัวเมีย (carpel) จึงค่อนข้างแข็งแรงเพื่อป้องกันความเสียหายจากการถูกปีนและถูกแทะโดยด้วง ซากดึกดำบรรพ์ของ Magnolia acuminata ที่พบมีอายุกว่า 20 ล้านปีและพืชที่เป็นของวงศ์จำปีมีอายุกว่า 95 ล้านปี ลักษณะอีกอย่างหนึ่งแสดงว่าเป็นพันธุ์ไม้โบราณคือการขาดลักษณะแตกต่างของกลีบเลี้ยง (sepal) หรือกลีบดอก (petal).

ใหม่!!: สปีชีส์และแมกโนเลีย · ดูเพิ่มเติม »

แมลงสาบ

แมลงสาบ (Cockroachs) เป็นแมลงที่อยู่ในอันดับ Blattodea หรือ Blattaria จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตไม่สมบูรณ์ คือ ไม่เป็นตัวหนอนและดักแด้ ปัจจุบันเป็นแมลงที่พบกระจายไปแล้วทั่วโลก โดยติดไปกับยานพาหนะต่าง ๆ พบได้ถึงขนาดบนเครื่องบินโดยสาร ถือเป็นสัตว์ที่เป็นพาหะนำโร.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมลงสาบ · ดูเพิ่มเติม »

แมลงสาบมาดากัสการ์

แมลงสาบมาดากัสการ์ (Giant hissing cockroach, Madagascan giant hissing cockroach, เรียกสั้น ๆ ว่า Hissing cockroach หรือ Hisser) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gromphadorhina portentosa อยู่ในวงศ์แมลงสาบยักษ์ (Blaberidae) อันดับแมลงสาบ (Blattodea) แมลงสาบมาดากัสการ์เป็นแมลงสาบที่ไม่มีปีก ไม่มีแม้แต่แผ่นปีกเล็กปรากฏให้เห็นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิตหลังจากฟักจากไข่ ตัวเต็มวัยมีลำตัวสีน้ำตาลเข้ม และมีสีส้มอมเหลืองพาดอยู่ด้านบนของส่วนท้อง ตัวเต็มวัยมีขนาดลำตัวยาวได้ถึง 7-10 เซนติเมตร และมีน้ำหนักตัว 20-25 กรัมโดยประมาณ เป็นแมลงสาบที่เคลื่อนไหวได้ช้า มีกลิ่นฉุนเล็กน้อย และไม่ทำร้ายมนุษย์ จึงมีผู้นิยมนำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง เพราะความแปลก โดยปกติอาศัยอยู่ใต้ซากใบไม้ที่หล่นปกคลุมผิวดินในป่า อันเป็นแหล่งอาศัยธรรมชาตินอกบ้านที่อยู่อาศัยของมนุษย์ กินซากลูกไม้ ใบไม้ หรือผลไม้ที่หล่นอยู่ในบริเวณป่า อย่างไรก็ตามแมลงสาบชนิดนี้ก็เหมือนแมลงสาบทั่วไป คือ กินอาหารได้เกือบทุกชนิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง กิจกรรมส่วนใหญ่รวมทั้งกิจกรรมออกหาอาหารเกิดขึ้นในเวลากลางคืน ส่วนในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวตามขอนไม้หรือกองใบไม้ในป่า มีการกระจายพันธุ์บนเกาะมาดากัสการ์ และตามหมู่เกาะใกล้เคียงกัน คือ แถบชายฝั่งทางทวีปแอฟริกาตะวันออก มีวงชีวิตแบบไม่สมบูรณ์คือ มีระยะไข่, ระยะตัวอ่อน และระยะตัวเต็มวัย ตัวเมียวางไข่หลายใบในถุงไข่ ถุงไข่จะถูกเก็บไว้ภายในลำตัวนานประมาณ 60 วัน จนกระทั่งไข่ฟักออกมาเป็นตัวภายในลำตัวแม่ จากนั้นตัวอ่อนระยะแรกจะออกมาจากลำตัวแม่ ทำให้ดูคล้ายว่าออกลูกเป็นตัว สามารถให้ลูกได้ครั้งละ 30-60 ตัว มีระยะตั้งท้องประมาณ 60 วัน ตัวอ่อนมีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย ต่างกันที่ขนาดเล็กกว่าลำตัวของตัวอ่อนจะมีรูปร่างเป็นรูปไข่ยาวรีมากกว่า แมลงสาบที่เพิ่งลอกคราบใหม่ ๆ ลำตัวจะมีสีขาว จากนั้นภายใน 2-3 ชั่วโมง สีลำตัวจะค่อย ๆ เข้มขึ้นจนกลายเป็นสีน้ำตาลเข้มในที่สุด เป็นผลจากการสร้างเม็ดสีเมลานินมาสะสมบนผิว ตัวอ่อนตามปกติลอกคราบ 6 ครั้ง จากนั้นเข้าสู่ตัวเต็มวัย เข้าสู่ตัวเต็มวัยเมื่ออายุได้ 6-7 เดือน สามารถออกลูกได้ 3-4 ครั้งต่อปี มีอายุยืนถึง 2-5 ปี มีลักษณะพิเศษ คือ ตัวเต็มวัยของและตัวอ่อนในระยะหลังสามารถทำเสียงได้ เสียงนั้นคล้ายเสียงขู่ของงู อันเป็นที่ชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ อวัยวะที่ให้กำเนิดเสียงของแมลงสาบชนิดนี้อยู่ที่รูหายใจ ที่อยู่บริเวณด้านข้างของท้องปล้องที่ 4 ทั้งสองข้าง การทำเสียงเพื่อใช้ในการเกี้ยวพาราสีก่อนผสมพันธุ์ ตัวผู้จะส่งเสียงขู่เพื่อไล่ตัวผู้อื่น ๆ เพื่อแย่งตัวเมีย นอกจากนี้เสียงขู่ยังใช้สำหรับป้องกันตัวเองจากศัตรูด้วย แมลงสาบมาดากัสการ์เคยตกเป็นข่าวตามหน้าสื่อครั้งหนึ่ง เมื่อปรากฏว่าอาจเป็นพาหะนำโรคจากต่างแดนมาสู่ในประเทศไทยได้ จากการมีพบว่าได้กลายเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้ที่มีรสนิยมเลี้ยงสัตว์แปลก ๆ เพราะจากผลรายงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่ามีเชื้อแบคทีเรียถึง 45 ชนิด และยังตรวจพบหนอนพยาธิตัวจี๊ดอีก 22 ชนิด จึงมีการสั่งห้าม และนำตัวที่ยังมีชีวิตอยู่กว่า 500 ตัวไปทำลายโดยการเผา แมลงสาบมาดากัสการ์มีรายชื่ออยู่ในบัญชีหมายเลข 2 (Appendix II) ตามบัญชีของไซเตส และมีรายชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมลงสาบมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

แมลงทับ

แมลงทับ (Jewel beetle, Metallic wood-boring beetle, Buprestid) เป็นแมลงในอันดับแมลงปีกแข็ง (Coleoptera) โดยจัดอยู่ในวงศ์ Buprestidae แมลงทับมีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวยาวโค้งนูน ส่วนที่เป็นปีกแข็งมีความแข็งมาก หัวมีขนาดเล็กซ่อนอยู่ใต้อกปล้องแรกซึ่งโค้งมนเรียวไปทางหัวเชื่อมกับอกปล้องกลางซึ่งกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ ท้องมนเรียวไปทางปลายหาง ปีกแข็งหุ้มส่วนท้องจนหมด มีหนวดที่เป็นแบบใบไม้ มีลักษณะเด่น คือ มีสีสันที่สวยงามมาก หลายชนิด หลายสกุลมีสีเงางามแวววาวราวกับอัญมณี หลายชนิดเป็นสีที่หลากหลาย ทั้ง น้ำเงิน, แดง, ดำ และเหลือง จึงทำให้แมลงทับถูกมนุษย์จับนำมาใช้ทำเป็นเครื่องประดับต่าง ๆ มานานแล้วในหลายชนชาติ แมลงทับพบในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ปัจจุบันพบแล้วกว่า 15,000 ชนิด ใน 450 สกุล และที่สูญพันธุ์ไปแล้วเป็นซากดึกดำบรรพ์กว่า 100 ชนิด บางชนิดมีความยาวถึง 77 มิลลิเมตร แมลงทับเมื่อขยายพันธุ์ จะเจาะเข้าไปวางไข่ในต้นไม้หรือวางไข่ไว้ในดินใกล้รากของไม้ที่ตัวหนอนจะกินเป็นอาหาร จึงนับเป็นแมลงศัตรูพืชอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งแมลงทับใช้เวลาในการเป็นไข่-ตัวหนอน-ดักแด้ราว 1 ปี เหมือนเช่นแมงคีมหรือด้วงกว่าง อันเป็นแมลงปีกแข็งแต่ต่างวงศ์กัน แมลงทับนับเป็นแมลงปีกแข็งที่บินได้เร็วและสูงมาก และเมื่อถูกรบกวนจะมีพฤติกรรมแกล้งตาย โดยจะอยู่เฉย ๆ หรือหล่นจากต้นไม้ที่เกาะอยู่เพื่อลวงศัตรูให้เข้าใจผิดว่าตายแล้ว สำหรับแมลงทับชนิดที่พบในประเทศไทย มีอยู่ 2 ชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด คือ แมลงทับกลมขาเขียว (Sternocera aequisignata) พบมากในภาคกลาง และแมลงทับกลมขาแดง (S. ruficornis) พบมากในภาคอีสาน ซึ่งทั้ง 2 ชนิดนี้กินใบอ่อนของมะขามเทศเป็นอาหาร และมีสีเขียวเหลือบทองเป็นมันแวววาวทั้งคู่ ซึ่งปัจจุบันนี้ได้มีความพยายามของทางการที่จะอนุรักษ์สายพันธุ์ของแมลงทับมิให้สูญพันธุ์ และมีการนำเอาปีกแมลงทับทั้ง 2 ชนิดนี้ทำเป็นงานหัตถกรรมชนิดต่าง ๆ ในโครงการพระราชดำริ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษ บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมลงทับ · ดูเพิ่มเติม »

แมลงทับราชา

แมลงทับราชา (Jewel beetle, Metallic wood-boring beetle) เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์แมลงทับ (Buprestidae) มีหนวดแบบฟันเลื่อย ลำตัวเรียวยาว ตารวมใหญ่ มีปีกสีน้ำเงินเข้มแวววาวจนถึงสีเขียว บริเวณอกมีแต้มสีแดง 2 อันอยู่ทางซ้ายและขวา ด้านหลังของปีกมีขีดสีแดงพาดยาวตั้งแต่โคนปีกไปจนถึงปลายปีก มีความยาวตั้งแต่ 1.3-1.9 นิ้ว แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย, จีน, ไทยและลาว มีวงจรชีวิตเหมือนเช่นแมลงทับทั่ว ๆ ไป สามารถแบ่งออกได้เป็นชนิดย่อยต่าง ๆ (ดูในตาราง).

ใหม่!!: สปีชีส์และแมลงทับราชา · ดูเพิ่มเติม »

แมลงปอ

วนหัวและตาขนาดใหญ่ของแมลงปอ การผสมพันธุ์ของแมลงปอ แมลงปอ (อังกฤษ: Dragonfly, ภาษาไทยถิ่นเหนือ: แมงก่ำบี้) คือแมลงที่มีตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ ตัวเต็มวัยมีชีวิตอยู่บนบกมีปีกบินได้ แมลงปอมีการเจริญเติบโตแบบเป็นขั้นตอนประเภทไม่สมบูรณ์แบบ คือ มีระยะไข่ ตัวอ่อน และตัวเต็มวัย ไม่มีระยะดักแด้ โดยระยะไข่และตัวอ่อนมีชีวิตอยู่ในน้ำ ตัวอ่อนที่อยู่ในน้ำมีรูปร่างแตกต่างจากตัวเต็มวัยมาก เมื่อตัวอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะลอกคราบครั้งสุดท้าย กลายเป็นตัวเต็มวัยที่มีปีกและจะใช้ชีวิตบนบกได้ต่อไป แมลงปอจัดเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตจำพวกหนึ่ง โดยถือกำเนิดมาตั้งแต่ 320 ล้านปีก่อนในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ก่อนหน้าไดโนเสาร์ และแทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเลยมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากขนาดลำตัวที่แมลงปอในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่มีขนาดใหญ่กว่าแมลงปอในยุคปัจจุบันมาก โดยมีความห่างระหว่างปีกมากกว่า 70 เซนติเมตร ในอารยธรรมอียิปต์โบราณ แมลงปอปรากฏอยู่ในอักษรภาพเฮียโรกริฟฟิธในหลุมศพของฟาโรห์Sky Hunters: The World Of Dragonfly.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมลงปอ · ดูเพิ่มเติม »

แมลงแกลบ

แมลงแกลบ (Burrowing cockroach) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pycnoscelus indicus เป็นแมลงที่อยู่ในอันดับแมลงสาบ (Blattodea) จัดอยู่ในวงศ์แมลงสาบยักษ์ (Blaberidae) เป็นแมลงสาบขนาดเล็กที่เป็นแมลงสาบพื้นเมืองแท้ ๆ ที่พบได้ในประเทศไทย มีลักษณะคล้ายกับแมลงสาบสุรินัม (P. surinumensis) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน ซึ่งมีเพียง 2 ชนิดเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้ มีลำตัวแบน รูปไข่ หนวดมีขนาดสั้นกว่าลำตัว ขายาวมีหนาม ปีกเจริญดี ขอบหลังของ pronotum เป็นมุมแหลมมน ตัวผู้มีลำตัวยาว 17-23 มิลลิเมตร ตัวเมียยาว 16-24 มิลลิเมตร ลำตัวมีสีดำหรือน้ำตาลเข้มและขอบด้านหน้าถึงด้านข้างมีแถบสีขาว หรือสีคราม หรืออาจจะมีแถบสีนี้เฉพาะที่ด้าน อาศัยตามกองขี้เลื่อย หรือแกลบ ตามอาคารบ้านเรือน หรือกองขยะมูลฝอย หรือมูลสัตว์ต่าง ๆ แมลงแกลบถูกค้นพบในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2527 ที่ภาคอีสาน ปัจจุบันได้มีการใช้แมลงแกลบเพื่อการกำจัดขยะมูลฝอย ซึ่งมีประสิทธิภาพในการกำจัดที่ดี โดยเฉพาะขยะอินทรีย์ รวมถึงใช้เป็นเหยื่อที่ดีในการตกปลาและเป็นอาหารปลาสวยงามได้ด้วย ซึ่งในปัจจุบันมีผู้พยายามเพาะเลี้ยงเพื่อการนี้กัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมลงแกลบ · ดูเพิ่มเติม »

แมวอิริโอะโมะเตะ

แมวอิริโอะโมะเตะ (Iriomote cat; 西表山猫) เป็นแมวป่าขนาดพอกับแมวบ้าน ซึ่งอาศัยอยู่เฉพาะบนเกาะอิริโอะโมะเตะของญี่ปุ่น นักชีววิทยาหลายคนจัดว่าเป็น "ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต" เพราะไม่ได้เปลี่ยนแปลงจากรูปร่างดั้งเดิมมากนัก แมวอิริโอะโมะเตะเป็นหนึ่งในสัตว์ของวงศ์เสือและแมว (Felidae) ที่ใกล้สูญพันธุ์ที่สุดชนิดหนึ่งของโลก (บ้างจัดว่าเป็นชนิดย่อยของแมวดาว (P. bengalensis ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน) โดยมีจำนวนประชากรประเมินไว้น้อยกว่า 100 ตัว มีขนสีน้ำตาลเข้มและหางเป็นพวงดก และไม่สามารถหดเล็บเข้าได้ นอกจากนี้แล้ว แมวอิริโอะโมะเตะยังรู้จักกันดีในชื่อ "ยะมะมะยา" (ヤママヤ) หมายถึง "แมวภูเขา" หรือ "ยะมะพิกะเรีย" (ヤマピカリャー) หมายถึง "ภูเขาประกายตา" หรือ "พินกียะมา" (メーピスカリャー) หมายถึง "แมวหลบหนี" สู่เกาะอิริโอะโมะเตะ แมวอิริโอะโมะเตะ หากินด้วยการจับสัตว์น้ำต่าง ๆ กินเป็นอาหาร ตามพื้นที่ชุ่มน้ำและป่าโกงกางบนเกาะอิริโอะโมะเตะได้มากถึง 70 ชนิด เป็นสัตว์ที่กินในเวลากลางคืน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมวอิริโอะโมะเตะ · ดูเพิ่มเติม »

แมวน้ำช้าง

แมวน้ำช้าง (elephant seal) บ้างก็เรียกว่า ช้างน้ำ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์แมวน้ำ สกุล Mirounga ขนาดใหญ่เท่าวอลรัสแต่ไม่มีเขี้ยว และจมูกไม่ย้อยเหมือนพะยูน มีสองสปีชีส์คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมวน้ำช้าง · ดูเพิ่มเติม »

แมวน้ำมีหู

แมวน้ำมีหู (Eared seals) เป็นวงศ์ที่จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ มี 15 สปีชีส์ ใน 7 สกุล (อีกสปีชีส์หนึ่งสูญพันธุ์ไปแล้วในช่วงปี ค.ศ. 1947) วงศ์แมวน้ำมีหูมีสองวงศ์ย่อย ได้แก่ วงศ์ย่อยสิงโตทะเล กับ วงศ์ย่อยแมวน้ำขน (fur seals) วงศ์แมวน้ำมีหูเป็นวงศ์ที่แตกต่างจากวงศ์แมวน้ำแท้ (true seals) และ วงศ์วอลรัส แมวน้ำมีหูเป็นสัตว์กึ่งบกกึ่งน้ำ โดยออกหากินและเดินทางในน้ำ แต่ผสมพันธุ์และพักผ่อนบนแผ่นดินหรือน้ำแข็ง อาศัยอยู่ในอากาศที่ค่อนข้างหนาว อยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ มหาสมุทรอินเดียตอนใต้และมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ จะไม่ค่อยอาศัยในมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมวน้ำมีหู · ดูเพิ่มเติม »

แมวน้ำเสือดาว

แมวน้ำเสือดาว (Leopard seal) หรือบางทีเรียกว่า เสือดาวทะเล (Sea leopard) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์แมวน้ำ (Phocidae) หรือแมวน้ำแท้ และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Hydrurga.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมวน้ำเสือดาว · ดูเพิ่มเติม »

แมสโสสปอนดิลัส

แมสโสสปอนดิลัส (Massospondylus) หรือ “สันหลังใหญ่” วงศ์ เพลททีโอซอริเด อันดับใหญ่ โปรซอโรโพดา อันดับย่อย ซอโรโพโดมอร์พา อันดับ ซอริสเชีย ยุคจูแรสสิกตอนต้น ถิ่น ทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาเหนือ ลักษณะเดินได้ทั้ง 2 เท้า และ 4 เท้า เป็นสัตว์กินพืช ยาวประมาณ 13 ฟุต (4 เมตร) คอและหางยาว ลำตัวใหญ่ หนา มือใหญ่ ฟันหน้ามน ฟันด้านในมีด้านข้างติดเรียบ และอาจมีเขา หรือปุ่มเล็ก ๆ บนจะงอยปาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมสโสสปอนดิลัส · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุน

แมงกะพรุน หรือ กะพรุน จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมไนดาเรีย ไฟลัมย่อยเมดูโซซัว แบ่งออกเป็นอันดับได้ 5 อันดับ (ดูในตาราง) ลักษณะลำตัวใสและนิ่มมีโพรงทำหน้าที่เป็นทางเดินอาหารมีเข็มพิษที่บริเวณหนวดที่อยู่ด้านล่าง ไว้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ เมื่อโตเต็มวัย ส่วนประกอบหลักในลำตัวเป็นน้ำร้อยละ 94-98 ด้านบนเป็นวงโค้งคล้ายร่ม ด้านล่างตอนกลางเป็นอวัยวะทำหน้าที่กินและย่อยอาหาร พบได้ในทะเลทุกแห่งทั่วโลก แมงกะพรุนส่วนใหญ่จัดอยู่ในอันดับไซโฟซัว แต่ก็บางประเภทที่อยู่ในอันดับไฮโดรซัว อาทิ แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส (Physalia physalis) ซึ่งเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก และแมงกะพรุนอิรุคันจิ (Malo kingi) ที่อยู่ในอันดับคูโบซัว ก็ถูกเรียกว่าแมงกะพรุนเช่นกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุน · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนสาหร่าย

แมงกะพรุนสาหร่าย หรือ สาโหร่ง (Sea wasps.) เป็นแมงกะพรุนจำพวกแมงกะพรุนกล่องสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Chironex (/ไค-โร-เน็ก/) ซึ่งคำว่า Chironex นั้น มีรากศัพท์จากคำว่า "chiro" (Χέρι) ในภาษากรีก แปลว่า "มือ" กับคำว่า "nex" ภาษาละตินแปลว่า "ความตาย" แมงกะพรุนสาหร่าย หรือที่ชาวประมงชาวไทยนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "สาหร่า่ยทะเล" เป็นแมงกะพรุนสีขาว หรือเหลืองแกมแดง มีสายยาวต่อจากลำตัวหลายเส้น แต่ละเส้นยาวประมาณ 1.50 เมตร มีการเคลื่อนไหวได้น้อย อาศัยกระแสน้ำพัดพาไปยังที่ต่าง ๆ เมื่อมีพายุคลื่นลมแรง หนวดจะขาดจากลำตัว ลอยไปตามน้ำ แต่ยังสามารถทำอันตรายผู้ที่สัมผัสถูกได้ ซึ่งทำให้ไหม้เกรียม และมีอาการปวดแสบปวดร้อนตามกล้ามเนื้อ จุกแน่นหน้าอกในรายที่แพ้รุนแรง และเป็นไข้ อาการเป็นอยู่ 2-3 วัน จึงทุเลาหายไป แต่อาการหนักก็อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ เป็นแมงกะพรุนที่ีมีถิ่นแพร่กระจายอยู่ทะเลน้ำตื้นรวมถึงป่าชายเลนแถบตอนเหนือของออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบแถบทะเลชุมพร และหัวหิน เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุนสาหร่าย · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนหัวคว่ำ

แมงกะพรุนหัวคว่ำ หรือ แมงกะพรุนกลับหัว (Upside-down jellyfishes) เป็นแมงกะพรุนจำพวกหนึ่ง ที่จัดอยู่ในวงศ์ Cassiopeidae และสกุล Cassiopea ซึ่งเป็นเพียงสกุลเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ (แต่บางข้อมูลจัดให้มี 2 สกุล) แมงกะพรุนหัวคว่ำ เป็นแมงกะพรุนสกุลเดียวเท่านั้นที่อาศัยอยู่บนพื้นทะเลหรือพื้นมหาสมุทร โดยที่ตำแหน่งของเมดูซ่าหรือส่วนหัวที่คว่ำลงทำให้สามารถคอยจับแพลงก์ตอนที่ลอยผ่านกินมากับกระแสน้ำ และใช้พลังงานที่ได้จากการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายซูแซนเทลลี่ที่อาศัยอยู่ในตัวเพื่อการเจริญเติบโต รวมถึงมีเข็มพิษที่อยู่รอบ ๆ นั้นด้วย และจากการศึกษาของสถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย พบว่า แมงกะพรุนหัวคว่ำนั้นมีการนอนหลับอย่างหลับสนิทด้วยเหมือนกับสัตว์ชั้นสูงหรือสัตว์ที่มีโคร่งร่างซับซ้อนชนิดอื่น ๆ ทั้งที่เป็นเพียงสัตว์น้ำที่ไม่มีแกนสันหลังและลำตัวโปร่งแสงเท่านั้น โดยที่ชื่อ Cassiopeda และ Cassiopeidae นั้นมีที่มาจากแคสซิโอเปีย ราชินีแห่งเอธิโอเปีย ผู้เป็นชายาของราชาเซเฟอุส และเป็นมารดาของเจ้าหญิงแอนโดรมีดา ตามเทพปกรณัมกรีก แมงกะพรุนหัวคว่ำ มีขนาดประมาณ 30 เซนติเมตร แบ่งออกได้เป็น 8 ชนิด (บางข้อมูลแบ่งออกเป็น 11 ชนิด) ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุนหัวคว่ำ · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนหนัง

แมงกะพรุนหนัง (Edible jellyfish.) เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง จำพวกแมงกะพรุนสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Rhopilema เป็นแมงกะพรุนแท้ คือ แมงกะพรุนที่จัดอยู่ในชั้นไซโฟซัว มีร่างกายเป็นก้อนคล้ายวุ้นโปร่งใส ไม่มีสี มีรูปร่างคล้ายร่ม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 30 เซนติเมตร บริเวณขอบร่มเป็นริ้วตรงกลางด้านเว้ามีส่วนยื่นออกไปเป็นช่อคล้ายดอกกะหล่ำที่มีปากอยู่ตรงกลาง แมงกะพรุนหนังดำรงชีวิตเป็นแพลงก์ตอน ไม่สามารถว่ายน้ำได้เอง แต่จะมีการเคลื่อนที่ด้วยการล่องลอยไปตามกระแสน้ำและการพัดพาไปตามคลื่นลม โดยแมงกะพรุนหนังจัดเป็นแมงกะพรุนที่สามารถรับประทานได้ ชาวประมงจะจับกันในเวลากลางคืน ด้วยการล่อด้วยแสงไฟสีเขียว เมื่อได้แล้วจะนำไปล้างด้วยโซเดียมไบคาร์บอเนตและสารส้ม เพื่อให้เมือกหลุดจากตัวแมงกะพรุนและทำให้มีเนื้อที่แข็งขึ้น ก่อนจะนำไปพักไว้ เพื่อปรุงหรือเป็นส่วนผสมในอาหารประเภทต่าง ๆ เช่น ยำ, เย็นตาโฟ หรือสุกี้ อย่างไรก็ตาม แมงกะพรุนหนังก็ยังมีเข็มพิษที่มีพิษอยู่เช่นกันทุกชนิด แต่ทว่ามีพิษไม่ร้ายแรง เพียงโดนแล้วทำให้เกิดอาการระคายเคืองเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุนหนัง · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนอิรุคันจิ

แมงกะพรุนอิรุคันจิชนิด ''Malo kingi'' ในหลอดพลาสติกใส แมงกะพรุนอิรุคันจิ (Irukandji jellyfish) เป็นชื่อสามัญแมงกะพรุนที่มีพิษร้ายแรงมากที่สุดจำพวกหนึ่งของโลก จัดเป็นแมงกะพรุนจำพวกแมงกะพรุนกล่อง หรือ คูโบซัว โดยแมงกะพรุนอิรุคันจินั้นจะเป็นแมงกะพรุนที่มีขนาดเล็ก มีความยาวเพียงไม่เกิน 1 เซนติเมตร น้ำหนักไม่เกิน 1 ออนซ์ มีลำตัวโปร่งใส และมีหนวดที่มีเข็มพิษจำนวนมากมายที่มีพิษต่อระบบโลหิต โดยจะทำให้โลหิตเป็นพิษ และเสียชีวิตได้ในระยะเวลาไม่นาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แมงกะพรุนที่อาจเรียกได้ว่าเป็น แมงกะพรุนอิรุคันจินั้นแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด คือ Carukia barnesi, Malo kingi, Alatina alata และชนิดใหม่ คือ Malo maxima (หรืออาจจะมีมากได้ถึง 6 ชนิด) โดยชื่อ "อิรุคันจิ" นั้นมีที่มาจากชาวเผ่าอิรุคันจิ ชนเผ่าพื้นเมืองของออสเตรเลียที่มีตำนานเล่าขานต่อกันมาเกี่ยวกับความเจ็บปวดและอันตรายของแมงกะพรุนจำพวกนี้หากได้สัมผัสเข้า แมงกะพรุนอิรุคันจิ ได้ถูกศึกษาครั้งแรกทางวิทยาศาสตร์ในราวคริสต์ทศวรรษที่ 1960 โดยนักวิทยาศาสตร์ที่เคยถูกพิษของมันแทงเข้า ได้ลงไปจับในทะเลทางตอนเหนือของออสเตรเลียเพื่อศึกษา เดิมทีแมงกะพรุนอิรุคันจิ เผยกระจายพันธุ์แต่เฉพาะทางตอนเหนือของออสเตรเลีย แต่ปัจจุบันได้มีรายงานพบในหลายพื้นที่มากขึ้น เช่น ฮาวาย, ญี่ปุ่น, ฟลอริดา รวมถึงในประเทศไทย พิษของแมงกะพรุนอิรุคันจิ ทำให้ผู้ที่โดนเข็มพิษของแมงกะพรุนจำพวกนี้แทงถูกมีอาการที่เรียกว่า "อาการอิรุคันจิ" (Irukandji syndrome).

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุนอิรุคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนถ้วย

แมงกะพรุนถ้วย หรือ แมงกะพรุนพระจันทร์ เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกแมงกะพรุนชนิดหนึ่ง อยู่ในสกุล Aurelia มีรูปร่างคล้ายกับถ้วย คือ เมดูซ่าด้านบนของร่างกายจะโค้งนูน ส่วนด้านล่างเว้าเข้าเป็นด้านที่มีปาก ตรงบริเวณขอบมีนวดโดยรอบและมีอวัยวะรับความรู้สึกที่เรียกว่า เทนตาคูโลซีสต์ เรียงอยู่ตรงขอบเป็นระยะ ๆ เทนตาโคลูซีสต์แต่ละหน่วยประกอบด้วย ด้านล่างของลำตัวเป็นช่องปากอยู่บนมานูเบรียม รอบ ๆ ปากมีออรัลอาร์ม ลักษณะแบนและยาวรวม 4 อัน บริเวณนี้มีเนมาโตซิสต์ หรือเข็มพิษอยู่มาก ออรัลอาร์มทำหน้าที่จับเหยื่อเข้าปากเช่นเดียวกับหนวดของไฮดรา ต่อจากช่องปากเป็นเอนเตอรอนซึ่งแยกออกเป็น 4 กระเปาะ ต่อจากกระเปาะแต่ละอันมีท่อรัศมีมากมายผ่านมีโซเกลียไปยังท่อวงแหวน ที่อยู่รอบขอบของร่างกาย และในแต่ละกระเปาะจะมีอวัยวะสืบพันธุ์รูปตัวยู กระเปาะละอัน ติดอยู่กับพื้นล่างของเยื่อแกสโตรเดอร์มีส ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ผิวนอกของร่างกายทั้งหมดเป็นเซลล์เอปิเดอร์มี ส่วนเซลล์ที่บุในระบบย่อยอาหาร ตลอดจนท่อต่าง ๆ ภายในร่างกาย รวมทั้งอวัยวะสืบพันธุ์เป็นเซลล์ในชั้นแกสโตรเดอร์มีส แมงกะพรุนพระจันทร์ ถือเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษ แต่ไม่ร้ายแรงถึงขั้นมีอันตรายต่อชีวิต อาศัยอยู่ทั้งในเขตน้ำตื้นและน้ำลึก ในช่วงเช้าส่วนมากจะพบมากในเขตน้ำตื้น เพราะจะถูกน้ำทะเลพัดมาในเวลากลางคืน และก็จะหาอาหารในเขตน้ำตื้นไปด้วยในช่วงที่อยู่ในเขตน้ำตื้น ซึ่งอาหารก็ได้แก่ ปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ โดยการใช้เข็มพิษให้หมดสติ และกินเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุนถ้วย · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนไฟ

แมงกะพรุนไฟ หรือ ตำแยทะเล เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกจำพวกแมงกะพรุนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Chrysaora (/ไคร-เซ-ออ-รา/) จัดอยู่ในชั้นแมงกะพรุนแท้ หรือไซโฟซัว โดยแมงกะพรุนไฟ มีลักษณะทั่วไปคล้ายร่ม แต่มีสีลำตัวและหนวดเป็นสีแดงสดหรือสีส้ม ด้านบนมีจุดสีขาวอยู่ทั่วไป สังเกตได้ง่าย ปากและหนวดยื่นออกมาทางด้านล่างหรือด้านท้อง เส้นหนวดมีจำนวนมากเป็นสายยาวกว่าลำตัว พบในทะเลทั้งบริเวณชายฝั่งและไกลฝั่ง ในช่วงฤดูมรสุมอาจพบได้ในเขตน้ำกร่อย จัดเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษร้ายแรงมากอีกจำพวกหนึ่ง เมื่อโดนต่อยจากเข็มพิษแล้วจะมีอาการเจ็บปวดที่บริเวณบาดแผล จะมีอาการเจ็บ ปวดบริเวณบาดแผลอย่างรุนแรงภายในระยะเวลา 44 นาที บางครั้งอาจพบหนวดแมงกะพรุนขาดติดอยู่บนผิวสัมผัส ผิวหนังมีแนวผื่นแดง หรือรอยไหม้ ตามรอยหนวด ปวดแสบปวดร้อน บวมแดงจากการอักเสบและอาจเป็นหนองจากการติดเชื้อสำทับ อาการบวมแดงอาจหายไปได้ในเวลาไม่ช้า แต่รอยไหม้และรอยแผลเป็นที่เกิดขึ้นจะต้องใช้เวลารักษานานหลายปี หรืออยู่ถาวรตลอดไป นอกจากนี้อาจมีอาการไอ, น้ำมูกและน้ำตาไหล และอาการข้างเคียงอื่น ๆ เช่น เหงื่อออกมาก กล้ามเนื้อเป็นตะคริว, อ่อนเพลีย และหมดสติ จากการฉีดพิษที่สกัดจากแมงกะพรุนไฟเข้าไปในสัตว์ทดลองพบว่าทำให้การทำงานของตับและไตผิดปรกติ จนอาจเป็นอันตรายถึงตายได้ แต่ยังไม่มีรายงานว่าเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตมนุษย์ และผลที่ออกมาค่อนข้างทุกข์โศกพอสมควร โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ของแมงกะพรุนไฟนั้น คือ Chrysaora มีที่มาจากเทพปกรณัมกรีก คือ ไครเซออร์ซึ่งเป็นโอรสของโปเซดอน เทพเจ้าแห่งท้องทะเลกับเมดูซ่า เป็นอนุชาของเพกาซัส โดยที่ชื่อนี้มีความหมายว่า "บุรุษผู้ถืออาวุธทองคำ".

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส หรือ แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส (Portuguese man-of-war, Portuguese Man o' War, Blue bubble, Floating terror) เป็นไซโฟโนฟอร์ชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมไนดาเรีย ในชั้นไฮโดรซัว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Physalia physalis แม้จะถูกเรียกว่าเป็นแมงกะพรุน แต่เป็นสัตว์คนละชั้นกับแมงกะพรุนแท้ทั่วไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุม

แมงมุม จัดเป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์ขาปล้อง หรืออาร์โธพอด เช่นเดียวกับแมลง, กิ้งกือ, ปู เป็นต้น จัดอยู่ในอันดับ Araneae (/อา-รัค-เน/) มีรูปทรง ลักษณะ และขนาดแตกต่างหลากหลายกันออกไป บางชนิดมีลำตัวที่กว้างมาก บางชนิดมีรูปร่างที่เพรียวยาว ขณะที่บางชนิดกลับมีรูปร่างที่คล้ายกับสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น เช่น มด หรือปู เพื่อใช้ในการพรางตัว โดยแมงมุมนั้นถูกค้นพบแล้วกว่า 40,000 ชนิด และก็ยังมีชนิดใหม่ ๆ ถูกค้นพบเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ประเมินว่าจำนวนที่ถูกค้นพบนี้เป็นเพียงแค่ครึ่งเดียวของทั้งหมดที่มีเท่านั้น โดยแมงมุมขนาดเล็กที่สุด พบที่โคลัมเบีย ในทวีปอเมริกาใต้ มีความยาวเพียง 0.4 มิลลิเมตรเท่านั้น และที่ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ แมงมุมกินนกโกไลแอท มีความยาวลำตัว 12–13 เซนติเมตร หรือขนาด 25–33 เซนติเมตรเลยทีเดียว แมงมุมพบได้ในแทบทุกภูมิภาคของโลก ไม่เว้นแม้กระทั่งในทะเลทรายที่แห้งแล้งและร้อนอบอ้าว หรือในถ้ำลึก หรือภูเขาสูง หรือในน้ำ แต่ทั้งหมดเป็นสัตว์กินเนื้อ แมงมุมกินอาหารจำพวก เพลี้ยอ่อน, ตัวหนอน, ผีเสื้อ, แมลงวัน, ยุง, ปลวก, ด้วง, มด เป็นตัน จึงมีความสำคัญในระบบนิเวศทางการเกษตร และระบบนิเวศทั่วไป โดยส่วนใหญ่เมื่อจะล่าเหยื่อจะสร้างใยเพื่อเป็นรังอาศัย และดักเหยื่อ ในขณะที่บางชนิดไม่สร้างใยก็มี ซึ่งก็จะมีการใช้เส้นใยที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด ขึ้นอยู่กับรูปแบบการอยู่อาศัยของแมงมุมในแต่ละชนิดในพื้นที่นั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงมุม · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุมกระโดด

แมงมุมกระโดด (Jumping spiders) เป็นแมงมุมกลุ่มหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Salticidae ซึ่งถือว่าเป็นวงศ์ของแมงมุมที่มีจำนวนประชากรมากที่สุด ด้วยมีจำนวนชนิดมากกว่า 5,000 ชนิด และแบ่งออกเป็นสกุลต่าง ๆ มากกว่า 500 สกุล นับเป็นร้อยละ 13 ของแมงมุมทั้งหมด แมงมุมกระโดด โดยทั่วไปเป็นแมงมุมที่มีขนาดเล็ก สามารถพบเห็นได้ทั่วทุกหนแห่ง เช่น ในสวนหลังบ้าน หรือแม้แต่ภายในบ้านเรือนทั่วไป เป็นแมงมุมที่ออกหากินในเวลากลางวัน และกลับเข้ารังพักผ่อนในยามกลางคืน เมื่อพระอาทิตย์ตกดิน มีความสามารถที่จะกระโดดได้ไกลถึง 10–15 เท่าของความยาวลำตัว แมงมุมกระโดดโดยทั่วไปจะล่าแมลงขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหาร เ้ช่น แมลงวัน จนได้อีกชื่อหนึ่งว่า "เสือแมลงวัน" แต่ก็สามารถที่จะล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าลำตัวเองได้เช่นกัน แมงมุมกระโดดมีความเร็วต้นประมาณ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งถ้าหากมีขนาดเทียบเท่ากับเสือชีตาห์ ซึ่งเป็นสัตว์นักล่าเหยื่อแห่งทุ่งหญ้าแอฟริกา เท่ากับว่าแมงมุมกระโดดจะทำความเร็วต้นได้สูงถึง 270 กิโลเมตร/ชั่วโมง เลยทีเดียว นอกจากนี้แล้ว ยังถูกจัดให้เป็นแมงมุมที่มีระบบสายตาดีที่สุดในบรรดาแมงมุมทั้งหมดอีกด้วย ซึ่งเป็นผลมาจากการวิวัฒนาการอันเป็นขั้นสูงสุดของสัตว์ประเภทแมงมุม แมงมุมกระโดดสามารถที่จะมองเห็นวัตถุเป็นภา่พด้วยดวงตาที่กลมโตคู่หน้า ในขณะที่แมงมุมทั่วไปสามาราถเห็นได้เพียงแค่เงามืด หรือแสงสว่าง หรือดีที่สุดก็เห็นเป็นเงาที่พร่ามัวเท่านั้น ส่วนแมงมุมกระโดดมีตาที่มีปฏิกิริยาไวต่อวัตถที่เคลื่อนไหวมาก อีกทั้งยังมีตาอีก 3 คู่ รายล้อมส่วนหัวอีกด้วย จึงสามารถทำให้มองเห็นได้รอบท.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงมุมกระโดด · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุมลูกตุ้ม

แมงมุมลูกตุ้ม (Bolas spider) เป็นสัตว์ขาปล้องจำพวกแมงมุมกลุ่มหนึ่ง จัดอยู่ในเผ่า Mastophoreae ในวงศ์ Araneidae จัดเป็นแมงมุมที่มีวิวัฒนาการขั้นสูงกลุ่มหนึ่ง โดยเป็นแมงมุมที่ไม่สร้างใย รวมทั้งจะไม่มีพฤติกรรมซุ่มตัวเพื่อล่าเหยื่อ แต่จะผลิตสารเคมีจำพวกฟีโรโมนที่มีกลิ่นคล้ายผีเสื้อกลางคืนเพื่อหลอกล่อให้ผีเสื้อกลางคืนเข้าใจผิดว่า เป็นผีเสื้อกลางคืนตัวเมีย และบินเข้ามาใกล้เพื่อผสมพันธุ์ ซึ่งแมงมุมลูกตุ้มจะไม่จับเหยื่อโดยตรงแต่จะรอให้เหยื่อเข้ามาใกล้ จากนั้นจะใช้ลูกตุ้มซึ่งเป็นกาวเหนียวที่ทำเตรียมไว้แล้วคล้องไว้ด้วยขาหน้า และด้วยดวงตาที่มีประสิทธิภาพการมองเห็นที่ดี จะใช้ขาหน้ากวัดแกว่งลูกตุ้มให้ไปติดกับเหยื่อ ซึ่งกาวเหนียวของลูกตุ้มนั้นมีความเหนียวมากแม้เหยื่อที่เป็นแมลงขนาดใหญ่ก็ไม่อาจดิ้นหลุดไปได้ง่าย ๆ แมงมุมลูกตุ้ม กระจายพันธุ์ในหลายพื้นที่ เช่น ทวีปอเมริกา, แอฟริกา และออสตราเลเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงมุมลูกตุ้ม · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุมหว่านแห

แมงมุมหว่านแห (Net-casting spider) เป็นสัตว์ขาปล้องจำพวกแมงมุมประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Deinopidae แมงมุมหว่านแห มีรูปร่างที่แปลกแตกต่างออกไปจากแมงมุมทั่วไป โดยมีส่วนขาที่ยาว มีดวงตาคู่หนึ่งที่ใหญ่โต มีประสิทธิภาพในการมองเห็นโดยเฉพาะในเวลากลางคืนสูง อันเป็นเวลาที่ออกหากิน โดยจะมีพฤติกรรมสาวใยเส้นหนาแต่บางเบา และเหนียวให้เป็นลักษณะเหมือนกับร่างแห หรือตาข่ายรูปสี่เหลี่ยม และยึดไว้ด้วยขาคู่หน้าที่ยาวมากเหมาะสำหรับยืดกางออกให้กว้างที่สุด ส่วนขาคู่หลังทำหน้าที่เกาะยึดเส้นใยเพียงไม่กี่เส้น เหนือพื้นดินระยะใกล้ที่จะยึดแหลงมาถึง และเฝ้ารอเหยื่อที่ผ่านมาด้วยการมองจากดวงตา เมื่อมีเหยื่อผ่านมาจะทำการเอาเส้นใยเข้าคลุม โดยกางขาออกให้เต็มที่ แม้จะไม่เหมือนกับการที่มนุษย์ทอดแหหาปลา แต่ก็นับว่าเป็นพฤติกรรมการล่าเหยื่อที่แปลก แมงมุมหว่านแห มีการกระจายเกือบทั่วโลกในเขตร้อนตั้งแต่ทวีปออสเตรเลียไปจนถึงทวีปแอฟริกาและทวีปอเมริกา ในฟลอริด้า เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงมุมหว่านแห · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุมทารันทูล่า

แมงมุมทารันทูล่า (Tarantula; ภาษาไทยถิ่นอีสาน: เบิ้ง) เป็นสัตว์ขาปล้องจำพวกแมงมุมกลุ่มหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Theraphosidae เป็นแมงมุมที่มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่ยุคโบราณกว่า 350 ล้านปีมาแล้ว โดยมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างร่างกายน้อยมาก มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับแมงมุมท้องปล้อง แต่ทารันทูล่าจะไม่เหลือปล้องบริเวณท้องอีกแล้ว ทารันทูล่าทั่วไปเป็นแมงมุมขนาดใหญ่ มีขายาว และมีลักษณะเด่นคือ มีเส้นขนจำนวนมากขึ้นอยู่ตามตัวและขา เห็นได้ชัดเจน ส่วนมากมีสีสันหรือลวดลายที่สดใส พบได้ทั่วไปทุกมุมโลก ไม่เว้นแม้แต่ทะเลทราย, ทุ่งหญ้า หรือในถ้ำที่มืดมิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบร้อนชื้น หรืออุณหภูมิแบบป่าดิบชื้น ยกเว้นขั้วโลกเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงมุมทารันทูล่า · ดูเพิ่มเติม »

แมงอีนูน

แมงอีนูน หรือ แมงกีนูน (Cockchafer) หรือ แมงนูน หรือ กุดกีนูน (อีสาน) หรือ แมงนูนหลวง เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Melolontha melolontha อยู่ในวงศ์ Scarabaeidae มีรูปร่างอ้วนป้อมเป็นรูปไข่ หัวมันเรียบ มีหนวดแบบใบไม้ 1 คู่ที่ปาก ปากเป็นแบบปากกัด ตามีขนาดใหญ่มองเห็นได้ชัด ที่อกปล้องแรกเห็นชัดกว่าปล้องอื่น ๆ ปีกมี 2 คู่ คู่หน้ามีลักษณะแข็งเรียบเป็นมันมีหน้าที่เป็นเปลือกหุ้มตัว ส่วนปีกคู่ที่สองนั้นบางใส ใช้สำหรับบิน ส่วนท้องอยู่ด้านล่างมีปีกที่แข็งคลุม หัว อกและขามีสีน้ำตาลไปจนถึงสีดำ ปีกที่แข็งมีสีน้ำตาลอ่อน ขนาดลำตัวยาวประมาณ 30 มิลลิเมตร แมงอีนูน จัดเป็นแมลงศัตรูพืช เพราะกัดแทะใบของพืชที่เป็นพืชเศรษฐกิจ อาทิ มะขามเทศ, มะขาม, อ้อย, มันสำปะหลัง, พุทรา แมงอีนูนมีวงจรชีวิตเป็นหนอนอยู่ใต้ดินนานนับปี ก่อนจะเข้าสู่ระยะดักแด้และเป็นตัวเต็มวัยในช่วงต้นฤดูฝนของทุกปี ซึ่งจะพบแมงอีนูนเป็นจำนวนมากในเวลานี้ แมงอีนูนจัดเป็นอาหารรับประทานในวิถีชีวิตของชาวเหนือและชาวอีสาน อีกทั้งยังเป็นการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยการจับแมงอีนูนจะกระทำในช่วงหัวค่ำ ใช้แสงไฟจากนีออนเป็นตัวล่อ หรือเขย่าจากต้นไม้ที่มีแมงอีนูนจำนวนอาศัยอยู่ก็จะหล่นลงมาให้จับได้ง่าย ๆ ซึ่งการปรุงแมงอีนูนทำได้ทั้งวิธีการต้มและทอด ในบางพื้นที่ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร มีการค้าขายกันเป็นล่ำเป็นสันด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงอีนูน · ดูเพิ่มเติม »

แมงดา

การผสมพันธุ์ของแมงดา แมงดา หรือที่บางครั้งเรียกว่า แมงดาทะเล จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมอาร์โธรพอด โดยที่ไม่ใช่ครัสเตเชียน แต่เป็นเมอโรสโทมาทา อยู่ในอันดับ Xiphosura และวงศ์ Limulidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงดา · ดูเพิ่มเติม »

แมงดาญี่ปุ่น

แมงดาญี่ปุ่น หรือ แมงดาจีน (Japanese horseshoe crab, Chinese horseshoe crab; 鱟; カブトガニ) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tachypleus tridentatus เป็นแมงดาหนึ่งในสองชนิดที่อยู่ในสกุล Tachypleus แมงดาญี่ปุ่นมีส่วนหางเป็นสันขึ้นมาเป็นเหมือนสามเหลี่ยม ตัวผู้มีรอยหยักสองรอยทำให้มีลักษณะโค้งเป็นลอนสามลอน บริเวณขอบด้านหน้าของกระดอง ขอจับพองออกเป็นกระเปาะสองคู่ ตัวเมียมีหนามบริเวณขอบด้านข้างของส่วนท้องขนาดยาวสามคู่แรก และขนาดสั้นสามคู่หลัง ส่วนในตัวผู้มีขนาดความยาวใกล้เคียงกัน ขนาดใหญ่สุดมีความยาวตลอดตัว ประมาณ 74 เซนติเมตร สีของกระดองเป็นสีเขียวและอ่อนกว่าแมงดาถ้วย (Carcinoscorpius rotundicauda) พบในชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณชายฝั่งของญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, มาเลเซีย และบริเวณเกาะบอร์เนียวเหนือ โดยไม่พบในน่านน้ำไทย ในญี่ปุ่น เป็นแมงดาเพียงชนิดเดียวที่พบได้ที่นั่น โดยพบบริเวณชายฝั่งของทะเลเซโตะในฤดูใบไม้ผลิ จากนั้นในฤดูหนาวจะอพยพไปยังเกาะของเกาะฮนชูและเกาะคีวชูเพื่อจับคู่ผสมพันธุ์ แมงดาญี่ปุ่นหรือแมงดาจีนนั้นสามารถนำมารับประทานได้เช่นเดียวกับแมงดาจาน (T. gigas) ซึ่งเป็นแมงดาอีกชนิดหนึ่งที่อยู่ในสกุลเดียวกัน โดยในตำรับอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่นนิยมรับประทานเนื้อและไข่ แต่ก็ยังมีพิษอยู่บ้างในบางท้องที่และบางฤดูกาล เช่นในสิงคโปร์ เคยพบรายงานของแมงดาที่มีพิษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงดาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

แมงดาจาน

แมงดาจาน เป็นแมงดาเพียงหนึ่งในสองชนิดที่พบได้ในประเทศไทย และจัดเป็นหนึ่งในสองชนิดที่อยู่ในสกุล Tachypleus แมงดาจานมีลักษณะกระดองแบนราบและกว้างกว่าแมงดาถ้วย หางมีลักษณะเป็นสันนูนขึ้นมาเป็นสามเหลี่ยม มีสันซึ่งมีหนามเล็ก ๆ เรียงเป็นแถวตามความยาวอยู่ตรงกลางด้านบนของหาง ตัวผู้มีขอจับพองออกเป็นกระเปาะ 2 คู่ ตัวเมียมีหนามบริเวณขอบด้านข้างของส่วนท้องขนาดยาว 3 คู่แรก และสั้น 3 คู่หลังในตัวผู้มีขนาดความยาวใกล้เคียงกัน ด้านท้องมีสีน้ำตาลอ่อนและมีสีเข้มตอนขอบหน้า ขนาดใหญ่สุดมีความกว้างของกระดอง ไม่เกิน 25 เซนติเมตร หรือประมาณเท่าจานข้าวใบใหญ่ อันเป็นที่มาของชื่อ สีของกระดองอ่อนกว่าแมงดาถ้วย ความยาวของกระดองประมาณ 35–40 เซนติเมตร พบกระจายทั่วไปในเขตชายฝั่งของมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย, ทางตะวันออกของอ่าวเบงกอล, อินโดนีเซีย, เวียดนาม, ซาราวะก์, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ไทย ไปจนถึงจีน สำหรับในประเทศไทยซึ่งพบแพร่กระจายชุกชุมทั้ง 2 ฟาก ในฝั่งทะเลอันดามันพบได้ตั้งแต่บริเวณจังหวัดสมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, เพชรบุรีถึงชุมพร ในฝั่งอ่าวไทยพบได้ที่ จังหวัดสมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา, ชลบุรีจนถึงจันทบุรี แมงดาจานนั้น มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า แมงดาทะเลหางเหลี่ยม หรือ แมงดาทะเลหางสามเหลี่ยม ตามลักษณะของหาง จัดเป็นแมงดาชนิดที่รับประทานได้ โดยนิยมนำไข่และเนื้อมาย่าง หรือทำเป็นห่อหมก โดยที่พิษของแมงดาจานนั้น ในประเทศไทยยังไม่เคยมีรายงานพบ แต่ทว่าในต่างประเทศ มีรายงานพบประมาณร้อยละ 10 เช่นที่ สิงคโปร์ แมงดาจานอาศัยอยู่บริเวณน้ำตื้นตามชายฝั่งทะเล โดยวางไข่ไว้บนหาดทรายด้วยการขุดหลุมประมาณ 8–12 หลุม วางไข่แต่ละครั้งประมาณ 9,000 ฟอง ช่วงต้นฤดูร้อนประมาณตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกันยายน โดยจะวางไข่ในช่วงน้ำขึ้นสูงสุดประมาณ 2–3 วัน ทุก ๆ รอบ 15 วัน ไข่มีสีเหลืองอ่อน และมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 มิลลิเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงดาจาน · ดูเพิ่มเติม »

แมงดาถ้วย

แมงดาถ้วย หรือ แมงดาทะเลหางกลม เป็นแมงดาชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Carcinoscorpius มีรูปร่างกลมและกระดองนูนเหมือนชามหรือถ้วยคว่ำ ทางด้านหัวโค้งกลม หางเรียวยาวเป็นทรงกลม กระดองมีสีเขียวเหลือบเหลืองคล้ำ ใช้สำหรับปักลงกับพื้นท้องทะเล เมื่อต้องการนอนนิ่งอยู่กับที่ หรือใช้พลิกตัวเมื่อนอนหงายท้อง พบอาศัยในทะเลโคลนแถบป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำ อาจพบได้ในเขตน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร (รวมหาง) ในบางครั้งแมงดาถ้วยบางตัวและในบางฤดูกาลอาจมีสีกระดองสีแดงเหลือบส้ม และมีขนที่กระดองและบางส่วนของลำตัว แมงดาถ้วยแบบนี้จะเรียกว่า เหรา (อ่านว่า), ตัวเหรา หรือ แมงดาไฟ แมงดาถ้วยพบกระจายไปทั่วในชายฝั่งทะเลอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก ในประเทศไทยพบได้ทุกจังหวัดที่ติดกับทะเล แมงดาชนิดนี้ทั้งเนื้อและไข่มีพิษทุกฤดูกาล จึงไม่ควรนำมาบริโภคอย่างเด็ดขาด สันนิษฐานกันว่าการเกิดพิษในตัวแมงดามาจาก 2 สาเหตุ คือ เกิดจากการที่ตัวแมงดาไปกินแพลงก์ตอนที่มีพิษเข้าไป ทำให้สารพิษไปสะสมอยู่ในเนื้อและไข่ และตัวแมงดาเองมีพิษซึ่งเกิดจากแบคทีเรียในลำไส้สร้างพิษขึ้นมาได้เอง อาการเมื่อรับพิษเข้าไป คือ ชาที่ริมฝีปาก มือ และเท้า เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เดินเซ แขนขาไม่มีแรง พูดไม่ออก กลืนลำบาก หายใจไม่ออก กล้ามเนื้อเกี่ยวกับการหายใจเป็นอัมพาต เนื่องจากเป็นพิษที่ผลต่อระบบประสาทที่ควบคุมการหายใจ ในเด็กเล็กจะมีอาการรุนแรงมากกว่าผู้ใหญ่ และอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ จากการที่แมงดาถ้วยสามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ จึงมักพบการค้าขายแมงดาถ้วยเป็นสัตว์เลี้ยงในตลาดปลาสวยงามเสมอ ๆ โดยผู้ขายมักหลอกผู้ซื้อว่า เลี้ยงในน้ำจืดได้ แต่ทว่าเมื่อนำมาเลี้ยงจริง ๆ แล้ว แมงดาจะอยู่ได้เพียงชั่วระยะหนึ่งเท่านั้นก่อนที่จะตายไปในที.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงดาถ้วย · ดูเพิ่มเติม »

แมงดาแอตแลนติก

แมงดาแอตแลนติก (Atlantic horseshoe crab) เป็นแมงดาชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Limulus polyphemus จัดอยู่ในสกุล Limulus ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้ และเป็นแมงดาเพียงชนิดเดียวด้วยที่พบในมหาสมุทรแอตแลนติก แมงดาแอตแลนติกมีลักษณะหางด้านบนนูนเป็นสามเหลี่ยมคล้ายแมงดาจาน แต่จะแตกต่างกันตรงที่ตัวผู้มีขาจับที่พองออกเป็นกระเปาะเพียงคู่เดียว แต่ในแมงดาจานจะมีสองคู่ ส่วนตัวเมียมีหนามบริเวณขอบด้านข้างของส่วนท้องขนาดยาวใกล้เคียงกันทั้ง 6 คู่เหมือนตัวผู้ ในขณะที่แมงดาจานมีหนามบริเวณขอบของส่วนท้องยาว 3 คู่แรก ส่วน 3 คู่หลังสั้น (ยกเว้นในระยะที่ยังเจริญไม่เต็มที่จะมีหนามยาวเท่า ๆ กันเช่นเดียวกับตัวผู้) ขนาดใหญ่สุดมีความยาวตลอดตัวมากกว่า 60 เซนติเมตร แมงดาชนิดนี้พบในมหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งแต่รัฐเมน, อ่าวเดลาแวร์ ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงดาแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

แมงคีม

แมงคีม หรือ ด้วงเขี้ยวกาง หรือ ด้วงคีม (Stag beetle) เป็นแมลงปีกแข็งในวงศ์ Lucanidae ซึ่งยังแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยอีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) พบประมาณ 1,200 ชนิด แมงคีมมีลักษณะเด่นคือ ในตัวผู้จะมีขากรรไกรล่างที่มีขนาดใหญ่และกางเข้าออกได้เหมือนคีมหรือกรรไกรอันเป็นที่มาของชื่อเรียก ซึ่งใช้สำหรับเป็นอาวุธในการต่อสู้กันและแย่งตัวเมียเช่นเดียวกับแมลงปีกแข็งในวงศ์ Dynastinae ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดและขากรรไกรเล็กกว่า มีสีลำตัวที่อ่อนกว่า แมงคีมมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 12 เซนติเมตร ขณะที่บางชนิดที่ขนาดเล็กมีความยาวเพียง 5 เซนติเมตรเท่านั้น มีลำตัวโดยรวมค่อนข้างแบน มีหนวดแบบหักเหมือนข้อศอก โดยมีปล้องแรกยาวและปล้องต่อ ๆ ไปเป็นปล้องสั้น ๆ เรียงตัวกันในทิศทางเดียวกันแต่เป็นคนละทิศกับหนวดปล้องแรก ปล้องใกล้ส่วนปลายมีหลายปล้องที่ขยายใหญ่ขึ้นเป็นปมอาจจะประกอบไปด้วยปล้องเล็ก ๆ 3-4 ปล้อง หรือ 5-6 ปล้อง ซึ่งจำนวนปล้องที่ปลายหนวดนี้มีส่วนสำคัญในการอนุกรมวิธานด้วย แมงคีมวางไข่และตัวหนอนเจริญเติบโตในซากไม้ผุเช่นเดียวกับแมลงปีกแข็งในวงศ์ Dynastinae แต่จะไม่วางไข่ในดิน เพราะระยะเป็นตัวหนอนจะกินอาหารจำพวกไม้ผุหรือเห็ดราที่ติดมากับไม้เหล่านั้น แตกต่างกันไปตามชนิดหรือสกุล โดยใช้เวลาฟักเป็นตัวเต็มวัยนานเป็นแรมปีเหมือนกัน แมงคีมพบได้ทั่วโลก ปกติเป็นแมลงที่ไม่ก้าวร้าวต่อมนุษย์ ในประเทศไทยสามารถพบได้หลายชนิด อาทิ แมงคีมยีราฟ (Prosopocoilus giraffa) ซึ่งเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ มีที่มีขนาดพอ ๆ กับนิ้วมือมนุษย์ พบได้ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้งในภาคเหนือและภาคตะวันออก เป็นชนิดที่หายากใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว และมีรายชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ด้วย แมงคีมนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงใช้สำหรับต่อสู้กันเช่นเดียวกับแมลงปีกแข็งในวงศ์ Dynastinae ซึ่งอาจจะใช้ต่อสู้ด้วยกันก็ได้ และเป็นที่นิยมสะสมของนักสะสมแมลง.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงคีม · ดูเพิ่มเติม »

แมงคีมยีราฟ

แมงคีมยีราฟ หรือ ด้วงคีมยีราฟ หรือ ด้วงคีมหยักสองต่อ (Giraffe stag beetle) เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prosopocoilus giraffa จัดอยู่ในวงศ์แมงคีม (Lucanidae) แมงคีมยีราฟจัดเป็นแมงคีมชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีจุดเด่น คือ เขี้ยวหรือขากรรไกรล่างที่ใช้เป็นอาวุธของตัวผู้ที่เรียวยาวและแลดูแข็งแรงมาก โดยอาจยาวได้ถึง 2.5-4.0 เซนติเมตร ในขณะที่ลำตัวมีความยาวทั้งหมดประมาณ 10.5 เซนติเมตรในตัวผู้ และ 7.5 เซนติเมตรในตัวเมีย ลำตัวเป็นสีน้ำตาลดำเป็นเงามัน บริเวณตรงกลางส่วนอกของขาคู่กลาง และขาคู่หลังมีหนามข้างละ 1 อัน แต่ที่ขาคู่หลังจะมีขนาดเล็กกว่า ที่ฐานของขากรรไกรล่างมีปุ่มขนาดใหญ่ปรากฏอยู่ข้างละ 1 อัน และมีลักษณะเด่นที่สำคัญ คือ ส่วนหัวบริเวณขอบตรงกลางด้านบนจะมีปุ่มยื่นตรงไปด้านหน้า 1 คู่ ในขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่ามาก โดยที่ขากรรไกรในตัวผู้จะมีลักษณะแตกต่างออกไปตามช่วงวัยและขนาดลำตัว ซึ่งยิ่งเจริญเติบโตมากและมีขนาดใหญ่ขึ้นเท่าใด คีมหรือขากรรไกรนั้นก็จะยาวใหญ่และมีส่วนโค้งและมีปุ่มเหมือนเขี้ยวมากขึ้นด้วย แมงคีมยีราฟพบกระจายพันธุ์ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้งของหลายประเทศในทวีปเอเชียจนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในป่าทางภาคเหนือและภาคตะวันออก (มีทั้งหมด 9 ชนิดย่อย-ดูในตาราง) เป็นแมลงที่หากินในเวลากลางคืน โดยกินยางไม้ตามเปลือกไม้ของต้นไม้ใหญ่ในป่า ตัวผู้มีพฤติกรรมใช้ขากรรไกรที่ยาวใหญ่นั้นต่อสู้เพื่อป้องกันตัว และสู้กับตัวผู้ตัวอื่น ๆ เพื่อแย่งตัวเมียเพื่อผสมพันธุ์ หรือแม้แต่สู้กับด้วงในวงศ์ Dynastinae ที่ใช้เขาเพื่อการต่อสู้ได้ด้วยเช่นกัน ในระยะที่เป็นตัวหนอน อายุการเป็นตัวหนอนของแมงคีมยีราฟจะแตกต่างออกไปตามเพศ ตัวผู้จะมีอายุราว 9 เดือน ขณะที่ตัวเมียมีอายุสั้นกว่าคือ 4-7 เดือน และตัวหนอนสามารถส่งเสียงขู่ผู้รุกรานได้ด้วย ด้วยการยกขาคู่หลังตั้งขึ้นให้ด้านข้างซึ่งเป็นแผ่นแข็งเสียดสีกับขาคู่กลางไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้เกิดการสั่นจนมีเสียงพอรับรู้ได้ สำหรับสถานะในประเทศไทย เป็นแมลงที่หาได้ยากใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกจับไปเป็นสัตว์เลี้ยงและสตัฟฟ์เพื่อการสะสม และการทำลายป่าที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัย ทำให้แมงคีมยีราฟถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 และเคยมีภาพปรากฏลงในสลากกินแบ่งรัฐบาลและแสตมป์ด้วยแต่ขณะนี้ได้มีความพยายามจากภาคเอกชนในการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงแล้ว ซึ่งแมงคีมยีราฟจะวางไข่ไว้ในไม้ผุเท่านั้น โดยจะไม่วางไข่ไว้ในดินเหมือนด้วงในวงศ์ Dynastinae เพราะตัวหนอนกินอาหารต่างกัน โดยจะกินไม้ผุและเห็ดราที่ติดมากับไม้นั้นด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงคีมยีราฟ · ดูเพิ่มเติม »

แมงคีมละมั่งเหลือง

แมงคีมละมั่งเหลือง หรือ ด้วงคีมละมั่งเหลือง เป็นแมงคีมชนิดหนึ่ง มีรูปร่างทั่วไปเหมือนแมงคีมละมั่งดำเขาใหญ่ (H. nigritus) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีปีกนอกที่เป็นปีกแข็งเป็นสีเหลืองประมาณ 2 ใน 3 จากส่วนปลายปีก ยกเว้นขอบเส้นปีกตรงกลางเป็นสีดำ ตัวเมียมีสีดำและมีบริเวณส่วนไหล่ค่อนข้างกลม ปลายหนวดมีปล้อง 4-5 ปล้อง โดยถือเป็นชนิดต้นแบบของสกุลนี้ด้วย พบกระจายพันธุ์ในอินเดีย, พม่า, มาเลเซีย และประเทศไทย ที่อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ตัวผู้มีขนาดความยาวประมาณ 43-80 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวเมียประมาณ 98-39 มิลลิเมตร ขยายพันธุ์โวยการวางไข่ในขอนไม้ ตัวหนอนจะกินไม้ผุซึ่งเจริญเติบโตได้ดี มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) สามารถเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว โดยอาจเพาะเลี้ยงในขวดสุราแบบแบนก็ได้ โดยใส่ขี้เลื่อยและเศษไม้ผุลงไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงคีมละมั่งเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

แมงป่อง

แมงป่อง (ภาษาไทยถิ่นอีสาน: แมงงอด; ภาษาไทยถิ่นเหนือ: แมงเวา) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จำพวกสัตว์ขาปล้อง เป็นสัตว์มีมาตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ซึ่งมีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของแมงป่องที่มีอายุถึง 440 ล้านปี ตั้งแต่ยุคซิลลูเรียน เช่น Archaeobuthus estephani หรือ Protoischnurus axelrodorum http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงป่อง · ดูเพิ่มเติม »

แมงป่องช้าง

แมงป่องช้าง (Giant forest scorpions) เป็นแมงป่องที่อยู่ในสกุล Heterometrus ในวงศ์ Scorpionidae.

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงป่องช้าง · ดูเพิ่มเติม »

แมงป่องแส้

แมงป่องแส้ หรือ แมงป่องหางแส้ (Whip scorpion) เป็นสัตว์ขาปล้องจำพวกแมงจำพวกหนึ่ง อยู่ในอันดับ Thelyphonida แมงป่องแส้ มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับแมงป่อง มีขา 4 คู่ แต่ขาคู่หน้าเรียวยาวพัฒนาเป็นอวัยวะรับสัมผัส และมีขนยาวตอนปลายลำตัวมีลักษณะยาวคล้ายแส้ ไม่มีอวัยวะในการต่อย จึงเป็นสัตว์ที่ไม่มีพิษ แต่ก็สามารถปล่อยสารเคมีที่มีกลิ่นฉุนออกมา ซึ่งเป็นกรดอเซติคเป็นส่วนใหญ่ ใช้สำหรับป้องกันตัวไม่ใช้ล่าเหยื่อ อันสามารถขับไล่แมลงบางจำพวกอย่าง มด หรือเห็บไปได้ แมงป่องแส้ สามารถจัดจำแนกได้ตามลักษณะของหาง ซึ่งมีทั้งยาวและสั้น แพร่กระจายพันธุ์ในป่ารวมถึงในเมืองในภูมิภาคที่มีอากาศแบบเมืองร้อนหรือกึ่งเขตร้อนทั้งในทวีปยุโรป, แอฟริกา, เอเชีย จนถึงออสเตรเลีย ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และแมงป่องแส้ · ดูเพิ่มเติม »

แม่หอบ

แม่หอบ หรือ จอมหอบ (อังกฤษ: Mud lobster, Mangrove lobster) เป็นสัตว์น้ำประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกครัสเตเชียนชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสกุล Thalassina และวงศ์ Thalassinidae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตโบราณหรือซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตที่ดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไมโอซีนยาวนานถึง 16 ล้านปี มีรูปร่างคล้ายกุ้งผสมกับปูโดยขาคู่แรกขนาดใหญ่คล้ายก้ามปู นอกจากใช้เดินแล้วยังทำหน้าที่ขุดรูและขนดินออกมากองคล้ายจอมปลวก แต่มีขนาดเล็กกว่า หัวเหมือนกุ้งมีขนาดใหญ่ ลำตัวสีแดงเข้มเป็นปล้อง ๆ คล้ายกั้ง ท้องขนาดเล็กยาวเรียวไม่มีแพนหาง ลักษณะคล้ายแมงป่อง มีขนาดความยาวประมาณ 20–30 เซนติเมตร (7.9–12 นิ้ว) อาศัยโดยการขุดรูอยู่ตามพื้นป่าชายเลน โดยขนดินขึ้นมากองทับถมกันเป็นเนินสูง และอาศัยอยู่ด้านใต้กองดินนั้น สามารถอยู่บนบกได้เป็นเวลานานกว่าครัสตาเซียนจำพวกอื่น ๆ กินอาหารจำพวกอินทรีย์สารที่อยู่ในดินเลนในเวลากลางคืน ในประเทศไทยพบเฉพาะป่าชายเลนทางภาคใต้ โดยเฉพาะภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน ในต่างประเทศพบได้ที่รัฐเกรละ ในอินเดีย, ศรีลังกาจรดถึงเวียดนาม, หมู่เกาะริวกิวของญี่ปุ่น จนถึงชายฝั่งทะเลของปาปัวนิวกินีและออสเตรเลียทางตอนเหนือและตะวันตก รวมถึงฟิจิและซามัว พบได้รอบ ๆ พื้นที่เกษตรกรรม เช่น พื้นที่เพาะเลี้ยงปลาหรือกุ้ง โดยถือว่าเป็นสัตว์คุกคาม การที่ได้ชื่อในภาษาไทยว่า "แม่หอบ" เนื่องจากมีความเชื่อว่า เนื้อของแม่หอบสามารถรักษาอาการหอบหืดได้ จึงนิยมนำมาเผาไฟรับประทานกันในอดีต สอดคล้องกับชื่อวิทยาศาสตร์ Thalassina ที่หมายถึง "การย้อนกลับทางเดินหายใจ" เพื่อให้เหงือกไม่มีสิ่งสกปรก สถานะปัจจุบันของแม่หอบ ถือได้ว่าหมิ่นเหม่ต่อการสูญพันธุ์ อันเนื่องจากสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ประกอบกับเป็นสัตว์ที่ค่อนข้างบอบบางตายง่าย เช่น ในช่วงฤดูมรสุมน้ำทะเลอาจท่วมรูของแม่หอบ จนทำให้แม่หอบตายได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และแม่หอบ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแม่น้ำแยงซี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแอมะซอน

แม่น้ำแอมะซอน แม่น้ำแอมะซอน (Amazon River; Rio Amazonas; Río Amazonas) เป็นแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศเปรู และไหลออกมหาสมุทรที่ประเทศบราซิล มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 6,992 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของโลก (รองลงมาคือแม่น้ำไนล์) และยังเป็นแม่น้ำที่มีปากแม่น้ำกว้างที่สุดในโลก ซึ่งอยู่บริเวณทางเหนือของบราซิล แม่น้ำแอมะซอนเป็นแม่น้ำสายที่มีปริมาณน้ำมากที่สุด ปริมาณน้ำที่ไหลออกยังมหาสมุทรแอตแลนติกมากถึง 45 ล้านแกลลอนต่อวินาทีในฤดูฝน ฝนที่ตกในลุ่มแม่น้ำแอมะซอนเฉลี่ยปีละ 3 เมตร (สูงสุด 6 เมตร) แต่ฝนจะตกเพียงไม่กี่เดือน ต่างกันไปตามแต่ละสถานที่ ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนตุลาคม น้ำจะลดปริมาณลงจนเห็นสันทรายและเกิดเป็นทะเลสาบต่าง ๆ บางแห่งตัดขาดจากกัน ในฤดูน้ำหลากน้ำจะท่วมป่าทุกปี ในเนื้อที่ประมาณ 90,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดเท่าประเทศอังกฤษ และยังถือเป็นแม่น้ำที่มีปริมาณน้ำมากถึง 1 ใน 5 ส่วนของโลก มีแม่น้ำสาขาที่แยกออกจากแอมะซอนมากกว่า 1,100 สาขา อีกทั้งยังถือเป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดในโลก เป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ปลามากที่สุดในโลก กว่า 3,000 ชนิด ซึ่งนับว่ามากกว่ามหาสมุทรแอตแลนติกเสียอีก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแม่น้ำแอมะซอน · ดูเพิ่มเติม »

แม็ปลอจิสติก

แม็ปลอจิสติก ที่ r.

ใหม่!!: สปีชีส์และแม็ปลอจิสติก · ดูเพิ่มเติม »

แย้

แย้ (Butterfly lizards, Small-scaled lizards, Ground lizards, Butterfly agamas) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าประเภทหนึ่ง จัดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสกุล Leiolepis ในวงศ์ Agamidae วงศ์ย่อย Leiolepidinae พบกระจายทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะภูมิภาคอินโดจีน พบทั้งหมด 8 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 4 ชนิด มีลักษณะเด่นคือ มีสีสวยสด และลำตัวไม่มีปุ่มหนาม.

ใหม่!!: สปีชีส์และแย้ · ดูเพิ่มเติม »

แย้กะเทย

แย้กะเทย (Nhông cát trinh sản) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกแย้ชนิดใหม่ของโลก มีความสามารถพิเศษที่สามารถสืบพันธุ์ได้เองโดยไม่ต้องพึ่งตัวผู้ โดยที่จะสืบพันธุ์ด้วยวิธีการโคลนตัวเอง ด้วยการผลิตไข่เอง ซึ่งสัตว์เลื้อยคลานที่จะทำแบบนี้ได้มีเพียงร้อยละ 1 เท่านั้น และตัวอ่อนที่ฟักจากไข่ของแย้ชนิดนี้ ได้ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของตัวแม่อย่างครบถ้วน ทำให้มีลักษณะเหมือนกันทุกอย่าง นักวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใดแย้ชนิดนี้มีวิวัฒนาการผิดไปจากธรรมชาติ และยังไม่ทราบเช่นกันว่า แย้ชนิดนี้มีวิวัฒนาการมานานเท่าไร และพ่อของแย้ตัวเมียตัวแรกมาจากไหนและหายไปไหน จึงได้แต่สันนิษฐานว่าแย้กะเทยที่พบอาจจะเป็นพันธุ์ผสมของแย้เพศผู้กับเพศเมียต่างสายกัน ทำให้พวกมันกลายเป็นหมัน และในครั้งหนึ่งสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แห้งแล้ง อาจจะทำให้มันเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ จึงต้องดิ้นรนวิวัฒนาการ หาทางสืบเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติด้วยการโคลน แต่สำหรับชาวเวียดนามแล้วรู้จักและรับประทานแย้ชนิดนี้มานานแล้ว โดยพบได้ในเมนูอาหารในร้านอาหารบริเวณที่พบ โดยถิ่นที่อาศัยของแย้ชนิดใหม่นี้ คือ เขตสงวนธรรมชาติบิ่ญเจิว-เฟื้อกบื๋ว (Bình Châu-Phước Bửu) ในจังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่าทางภาคใต้ของเวียดนาม ซึ่งเป็นป่าพุ่มไม้เตี้ย ๆ กับดินทรายชายฝั่งทะเล.

ใหม่!!: สปีชีส์และแย้กะเทย · ดูเพิ่มเติม »

แรมโฟริงคัส

แรมโฟริงคัส (Rhamphorhynchus) เป็นเทอโรซอร์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในยุคจูแรสซิก มีฟันแหลมคมไว้ใช้สำหรับจับปลา และมีหางยาว ซึ่งปลายหางมีหางเสือรูปสีเหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งใช้ในการรักษาสมดุล อาศัยอยู่ในยุคจูแรสซิกตอนต้น-ยุคจูแรสซิกตอนปลาย ค้นพบฟอสซิลที่เยอรมนี ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และแรมโฟริงคัส · ดูเพิ่มเติม »

แรด

แรด เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กีบคี่ ในวงศ์ Rhinocerotidae แรดถือว่าเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ อาจเรียกได้ว่าเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองจากช้างก็ว่าได้ เพราะแรดอาจมีขนาดยาวได้ถึง 3.6-5 เมตร ความสูงของไหล่ 1.6-2 เมตร น้ำหนัก 2.3-3.6 ตัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแรด · ดูเพิ่มเติม »

แรดอินเดีย

แรดอินเดีย จัดเป็นแรด 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่พบได้ในทวีปเอเชีย และเป็นสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดที่พบในทวีปแห่งนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และแรดอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

แร็กคูน

แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และแร็กคูน · ดูเพิ่มเติม »

แร้ง

แร้งสีน้ำตาล (''Gyps indicus'') แร้ง หรือ อีแร้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: สปีชีส์และแร้ง · ดูเพิ่มเติม »

แร้งสีน้ำตาลหิมาลัย

แร้งสีน้ำตาลหิมาลัย (Himalayan griffon vulture) เป็นนกล่าเหยื่อจำพวกอีแร้งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และแร้งสีน้ำตาลหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

แร้งดำหิมาลัย

แร้งดำหิมาลัย (Black Vulture, European Black Vulture, Cinereous Vulture) เป็นนกล่าเหยื่อจำพวกอีแร้งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง เป็นนกเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Aegypius.

ใหม่!!: สปีชีส์และแร้งดำหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

แร้งเทาหลังขาว

แร้งเทาหลังขาว (อังกฤษ: The Indian White-rumped Vulture; ชื่อวิทยาศาสตร์: Gyps bengalensis) นกล่าเหยื่อจำพวกอีแร้งชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และแร้งเทาหลังขาว · ดูเพิ่มเติม »

แลมบีโอซอรัส

แลมบีโอซอรัส แลมเบ (Lambeosaurus lambei) เป็นไดโนเสาร์มีหงอนรูบหมวกอยู่บนหัว กินพืชเป็นอาหาร รักสงบ ภายในหงอนกลวง เพื่อใช้ส่งเสียงร้องเรียกเพื่อนๆของมัน คล้ายๆกับพาราซอโรโลฟัส ชื่อมีความหมายว่ากิ้งก่าแห่งแลมบี ยาวประมาณ 10 เมตร ค้นพบฟอสซิลที่ทวีปอเมริกาเหนือ อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลายเมื่อประมาณ 75-80 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแลมบีโอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แวนด้า

''Vanda tricolor'' ''Vanda'' cultivar แวนด้า เป็นกล้วยไม้สกุล หนึ่งในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) ซึ่งเป็นสกุลไม่ใหญ่นัก (ประมาณ 50สายพันธุ์) แต่เป็นไม้ดอกสำคัญที่ใช้ในการจัดดอกไม้ กล้วยไม้สกุลและกลุ่มนี้ได้รับการพัฒนามากที่สุดในกลุ่มกล้วยไม้ทั้งหมดในวงศ์ Orchidaceae กล้วยไม้สกุลนี้ราคาแพงมาก ในการจัดสวนดอกไม้เนื่องจากเป็นกล้วยไม้ที่รูปสวย หอม อยู่ทน และสีสรรที่จัดจ้าน การปลูกแวนด้าแพร่หลายทั่วเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเกาะนิวกินี และบางสายพันธุ์ ก็แพร่หลายในรัฐควีนส์แลนด์ และบางเกาะในแปซิฟิกตะวันตก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแวนด้า · ดูเพิ่มเติม »

แอมฟิอูมา

แอมฟิอูมา (Amphiuma, Conger eel) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับซาลาแมนเดอร์ (Caudata) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Amphiumidae เป็นวงศ์ที่คงรูปร่างของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในวัยอ่อนไว้เมื่อเติบโตเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ คือ ไม่มีเปลือกตา ไม่มีลิ้น ไม่มีเหงือกภายนอก แต่มีเหงือกภายใน และมีช่องเปิดเหงือก 1 คู่ มีขาทั้ง 2 คู่ แต่มีขนาดเล็กมาก และมีจำนวนนิ้วที่แตกต่างกันตั้งแต่ 1-3 นิ้ว มีฟันและมีปอด มีลักษณะเด่น คือ มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหลหรืองูและมีความยาวแตกต่างกัน ตั้งแต่ 33 เซนติเมตร จนถึง 1.2 เมตร พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไหลไม่แรง ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาเท่านั้น และบางครั้งอาจขึ้นมาบนบก โดยสามารถกินได้ทั้งสัตว์น้ำและสัตว์บก เช่น แมลง, กุ้ง, ปู, หอย, ปลา, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกอื่น และหนูตัวเล็ก ๆ ก็สามารถกินได้ หากินในเวลากลางคืน มีการปฏิสนธิภายในตัว โดยตัวผู้จะถ่ายสเปอร์มาโทฟอร์เข้าไปในช่องทวารร่วมของตัวเมียโดยตรง ขณะเกี้ยวพาราสีกัน ตัวเมียวางไข่บนพื้นโคลนใกล้แหล่งน้ำที่อาศัยและเฝ้าดูแลไข่ แอมฟิอูมา มีเพียงสกุลเดียวเท่านั้น คือ Amphiuma แตกต่างกันไปตามจำนวนของนิ้วที่ปรากฏ.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอมฟิอูมา · ดูเพิ่มเติม »

แอมฟิอูมาสองนิ้ว

แอมฟิอูมาสองนิ้ว (Two-toed amphiuma, Conger eel, Congo snake, Blind eel) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์แอมฟิอูมา (Amphiumidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลหรืองู ลำตัวลื่นเต็มไปด้วยเมือก ตามีขนาดเล็กมาก ผิวหนังเป็นสีน้ำเงินเข้มหรือดำ ส่วนหัวแหลมยาว ปากกว้างมาก ภายในปากมีฟันที่แหลมคม ขามีขนาดเล็กและสั้นมาก มีนิ้วเท้าทั้งหมด 2 นิ้ว อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวได้ถึง 120 เซนติเมตร น้ำหนัก 1,042 กรัม นับเป็นแอมฟิอูมาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำแถบรัฐลุยเซียนา, เวอร์จิเนีย, นอร์ทแคโรไลนา, เซาท์แคโรไลนา และฟลอริดา ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินสัตว์ขนาดเล็กกว่าได้หลากหลาย ทั้ง ปลา, แมลง, กุ้ง, ปู, หอย รวมถึงสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เช่น นกหรือหนูได้ด้วย โดยเป็นสัตว์ที่มีนิสัยดุร้าย ก้าวร้าว มีฤดูกาลขยายพันธุ์ระหว่างเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม ตัวเมียวางไข่ราว 200 ฟอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์แปลก โดยเลี้ยงในตู้ปลาและจัดสภาพแวดล้อมให้เหมือนในธรรมชาต.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอมฟิอูมาสองนิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

แอลลิเกเตอร์จีน

แอลลิเกเตอร์จีน หรือ จระเข้ตีนเป็ดจีน (Chinese alligator;; พินอิน: yáng zǐ è) เป็นแอลลิเกเตอร์หนึ่งในสองชนิดที่ยังหลงเหลืออยู่ในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Alligator sinensis มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 2 เมตร น้ำหนักมากกว่า 40 กิโลกรัม ทำรังด้วยการขุดโพรงวางไข่ที่ชายหาดริมฝั่งแม่น้ำ พบอาศัยอยู่ในลุ่มแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แถบมณฑลอันฮุย เจียงซูและเจ้อเจียงเท่านั้น ครั้งหนึ่ง แอลลิเกเตอร์ชนิดนี้ เคยมีอยู่เป็นจำนวนมากโดยเฉพาะบริเวณชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจีน แต่ในปัจจุบัน ถูกจัดว่าเป็นหนึ่งใน 10 อันดับสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่งในอนาคตของโลก เนื่องจากปัญหาด้านมลพิษ และอุณหภูมิที่สูงขึ้นรวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เป็นภัยคุกคามต่อการดำรงชีวิตของมัน ซึ่งปัจจุบันคาดมีปริมาณแอลลิเกเตอร์จีนอาศัยอยู่ในธรรมชาติราว 120 ตัว ซึ่งสถานะการอนุรักษ์ของแอลลิเกเตอร์จีน จัดอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ขั้นวิกฤต และติดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) และอยู่ในบัญชีรายชื่อหมายเลข 1 (Appendix I) ของไซเตส ซึ่งห้ามค้าขายโดยเด็ดขาด เว้นแต่จะกระทำไปเพื่อการอนุรักษ์หรือวิจัย แต่ต้องได้รับการอนุญาตจากประเทศต้นกำเนิดเสียก่อน ปัจจุบัน ทางการจีนได้มีการอนุรักษ์และเพาะขยายพันธุ์แอลลิเกเตอร์จีนมาแล้วกว่า 30 ปี ซึ่งผลจากการอนุรักษ์และเพาะพันธุ์ที่ผ่านมานี้ทำให้มีลูกแอลลิเกเตอร์จีนเกิดมากขึ้นและมีเปอร์เซนต์รอดในธรรมชาติเพิ่มมากขึ้นจากอดีตในรอบ 5 ปี และคาดว่าจะมีปริมาณแอลลิเกเตอร์จีนเพิ่มขึ้น 300 ตัว ในอนาคต 5-10 ปีข้างหน้.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอลลิเกเตอร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

แองคิโลซอรัส

แองคิโลซอรัส (Ankylosaurus) เป็นไดโนเสาร์ที่ใหญ่ที่สุดในสกุล แองคิโลซอร์ (ankylosaurid) อาศัยอยู่ในยุคครีเตเชียส ในทวีปอเมริกาเหนือ โครงกระดูกของ แองคิโลซอรัส ยังไม่สมบูรณ์ แองคิโลซอรัส เป็นไดโนเสาร์ที่มีลักษณะในแบบสกุล แองคิโลซอร์ที่มีน้ำหนักตัวหนักมีเกราะแข็งหุ้มทั่วทั้งตัว และมีลูกตุ้มขนาดใหญ่(ลักษณะคล้ายกับรังผึ้ง)สำหรับไว้ป้องกันตัวจากนักล่าในยุคนั้นอย่าง ไทรันโนซอรัส และ ทาร์โบซอรัส ที่บริเวณหาง.

ใหม่!!: สปีชีส์และแองคิโลซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แอนทิโลป

วาดของส่วนหัวและเขาของแอนทิโลปหลายชนิด แอนทิโลป (antelope) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่ง มีหลายชนิด ในหลายสกุล ในอันดับสัตว์กีบคู่ ในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) โดยทั่วไปแล้วแอนทิโลปจะมีลักษณะคล้ายกับกวางซึ่งเป็นสัตว์กีบคู่เหมือนกัน แต่อยู่ในวงศ์กวาง (Cervidae) และคำนิยามในพจนานุกรมก็มักจะระบุเช่นนั้นว่า แอนทิโลปเป็นสัตว์จำพวกเนื้อและกวางชนิดที่มีเขาเป็นเกลียว หรือบางทีก็แปลว่า ละมั่ง แต่ที่จริงแล้วแอนทิโลปมิใช่กวาง แม้จะมีรูปร่างภายนอกคล้ายคลึงกันก็ตาม แต่แอนทิโลปเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับวัวหรือควาย, แพะ หรือแกะ เนื่องจากจัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน ซึ่งลักษณะสำคัญของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ เขามีลักษณะโค้งเป็นเกลียว แต่ข้างในกลวง และมีถุงน้ำดี แอนทิโลปกระจายพันธุ์ไปในแอฟริกาและยูเรเชีย แต่ไม่พบในประเทศไทย โดยสัตว์ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นแอนทิโลปได้ในประเทศไทย ได้แก่ เลียงผา และกวางผา ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ตามภูเขาสูง พบเห็นตัวได้ยาก คำว่า แอนทิโลป ปรากฏครั้งแรกในภาษาอังกฤษเมื่อปี ค.ศ. 1417 โดยได้รับมาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า หรืออาจจะมาจากภาษากรีกคำว่า "anthos" ซึ่งหมายถึง "ดอกไม้" และ "ops" ที่หมายถึง "ตา" อาจหมายถึง "ตาสวย" หรือแปลได้ว่า "สัตว์ที่มีขนตาสวย" แต่ในระยะต่อมาในเชิงศัพทมูลวิทยาคำว่า "talopus" และ "calopus" มาจากภาษาละตินในปี ค.ศ. 1607 ใช้เป็นครั้งแรกเพื่อเรียกสัตว์จำพวกกวาง แอนทิโลปมีประมาณ 90 ชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา มี 30 สกุล กระจายไปในวงศ์ย่อยต่าง ๆ เช่น Alcelaphinae, Antilopinae, Hippotraginae, Reduncinae, Cephalophinae, Bovinae รวมถึงอิมพาลา บางครั้งก็ถูกเรียกว่าแอนทิโลปบ้างเหมือนกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอนทิโลป · ดูเพิ่มเติม »

แอนทิโลปสี่เขา

แอนทิโลปสี่เขา หรือ ชูสิงห์ (Four-horned antelope, Chousingha; चौशिंगा) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Bovinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Tetracerus มีความสูงจากกีบเท้าจนถึงหัวไหล่ประมาณ 50 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 20 กิโลกรัม จัดเป็นแอนทิโลปที่มีขนาดเล็กที่สุดที่พบได้ในทวีปเอเชีย มีขนสีเหลืองน้ำตาลที่บริเวณด้านข้างละด้านล่างลำตัว ด้านในของขาเป็นสีขาว ขามีลักษณะเรียวเล็กและมีแถบสีดำเป็นทางยาวไปตามขา ในตัวผู้จะมีเขาขนาดเล็กสั้น ๆ 4 เขางอกขึ้นมาบนส่วนหัว 2 เขาแรกอยู่ระหว่างใบหูทั้ง 2 ข้างขวาหน้าผาก ซึ่งเขาคู่แรกนี้จะงอกหลังจากเกิดมาได้ไม่กี่เดือน และเขาคู่ที่ 2 จะยาวกว่าคู่แรก เป็นปัจจัยบ่งบอกถึงอายุ และสมบูรณ์แข็งแรงของแต่ละตัว อันเนื่องจากปัจจัยทางโภชนาการ จะไม่มีการสลัดเขาทิ้งเหมือนกวาง แต่เขาอาจจะแตกหักเสียหายได้จากการต่อสู้ แอนทิโลปสี่เขา มีการกระจายพันธุ์อยู่ ในอินเดียแถบรัฐทมิฬนาฑู และโอริศา และบางส่วนในเนปาล ซึ่งปัจจุบันพบได้เฉพาะในอุทยานแห่งชาติป่ากีร์เท่านั้น มีนิเวศวิทยาอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งหรือป่าผลัดใบ ปกติแล้วจะอาศัยและหากินเพียงลำพัง ยกเว้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์ จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ตัวผู้จะมีพฤติกรรมก้าวร้าว และต่อสู้กันเพื่อแย่งตัวเมีย ปกติแล้ว จะตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่ เช่น เสือ, สิงโต, หมาใน เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอนทิโลปสี่เขา · ดูเพิ่มเติม »

แอนทิโลปปศุสัตว์

แอนทิโลปปศุสัตว์ (Grazing antelopes) เป็นแอนทิโลปที่อยู่ในวงศ์ย่อย Hippotraginae จัดเป็นแอนทิโลปขนาดใหญ่ พบได้เฉพาะในทวีปแอฟริกาและบางส่วนของคาบสมุทรอาหรับ เขามีลักษณะยาวใหญ.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอนทิโลปปศุสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรอยด์

หุ่นแอนดรอยด์รูปร่างผู้หญิงในชื่อว่า แอกทรอยด์ DER ผลิตจากประเทศญี่ปุ่น แอนดรอยด์ (android) คือ หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบมนุษย์ โดยปกติแล้วทั้งทางด้านกายภาพและพฤติกรรม คำนี้ผันมาจากคำกรีก andr- หมายถึง "มนุษย์, เพศชาย" และปัจจัยเสริมท้าย -eides ซึ่งเคยมีความหมายว่า "ในสปีชีส์ของ, เหมือนกับ" (จากคำว่า eidos หมายถึง "สปีชีส์") คำว่า "ดรอยด์" ซึ่งหมายถึงหุ่นยนต์ในเรื่อง สตาร์ วอร์ส ก็ผันมาจากความหมายนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอโครแคนโทซอรัส

แอโครแคนโทซอรัส (acrocanthosaurus) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ ในตระกูล อัลโลซอร์ (allosauroids) มีชีวิตอยู่ระหว่าง 112-125 ล้านปีก่อน ถูกค้นพบในทวีปอเมริกาเหนือ ฟอสซิลของมันมันยังคงพบส่วนใหญ่ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในรัฐโอคลาโฮมาและรัฐเทกซัส แต่ก็มีการบันทึกว่าถูกค้นพบใน ทางตะวันออกในรัฐแมริแลนด์ ขนาดของแอโครแคนโทซอรัสเมื่อเทียบกับมนุษย์ ถือได้ว่ามีขนาดใหญ่โตมาก แอโครแคนโทซอรัส เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่โตและแข็งแรงที่สุด มีความยาวโดยประมาณ 12 เมตร (40ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 6.8 ตัน แต่มันก็มีขนาดเล็กกว่าญาติขนาดใหญ่เช่น กิก้าโนโตซอรัสที่มีความยาว13เมตร (42ฟุต) ฟอสซิลของแอโครแคนโทซอรัส ที่ใหญ่ที่สุดที่เคยค้นพบวัดจากปลายจมูกถึงพวยปลายหางมีความยาว11.5เมตร (38ฟุต) น้ำหนักประมาณ 6177 กิโลกรัม (6.1ตัน) กะโหลกของแอโครแคนโทซอรัส มีลักษณะคล้ายกับ ไดโนเสาร์ไนตระกูลอัลโลซอร์ อื่น ๆ ที่ส่วนใหญ่มีความยาวและแคบ คุณสมบัติเด่นที่สุดของ แอโครแคนโทซอรัส คือ แถวของหนามประสาทสูง ตั้งอยู่บนกระดูกสันหลังของคอ และสะโพกและหางบน ซึ้งคล้ายกับของ สไปโนซอรัส แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยหน้าที่ของมันนั้นยังไม่สามารถสรุปได้แน่นอน นอกเหนือจากกระดูกสันหลัง แอโครแคนโทซอรัส มีโครงกระดูกแบบ ตระกูลอัลโลซอร์ ทั่วไปที่หางมีความยาวและหนัก ศรีษระ มีขนาดใหญ่และมีนำหนักเพื่อรักษา สมดุล ของร่างกาย แต่ละมือมี 3นิ้ว แขนมีขนาดสั้นแต่มีความแข็งแรง กว่าของไทรันโนซอรัส กระดูกขาหลังของแอโครแคนโทซอรัส มีความแข็งแรงกว่า อัลโลซอรัส ญาติขนาดเล็กกว่าของมันภาพวาดของแอโครแคนโทซอรัสเมื่อขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ แอโครแคนโทซอรัส ถูกออกแบบมาเพื่อล่าเหยื่อเป็นไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่เช่น ทีนอนโตซอรัส หรือแม้แต่ซอโรพอดขนาดใหญ่อย่างซอโรโพไซดอน ไดโนเสาร์ขนาดยักษ์ที่มีความสูง 17 เมตร (56ฟุต) มีความยาวถึง 34เมตร (112ฟุต) ต่างจากไทรันโนซอรัสที่มักจะล่าเหยื่อที่มีขนาดเล็ก โดยมันเป็นเพียงเทอโรพอดเพียงไม่กี่ขนิดที่สามารถล่าเหยือที่มีขนาดใหญ่เช่นนี้ได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และแอโครแคนโทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แฮมสเตอร์

แฮมสเตอร์ (Hamster) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Cricetinae ในวงศ์ Cricetidae มีหลากหลายสกุล หลายชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแฮมสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็กฟิช

แฮ็กฟิช (hagfish, slim eel) เป็นปลาในชั้นปลาไม่มีขากรรไกรเพียงหนึ่งในสองจำพวกที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกหนึ่งจำพวก คือ ปลาแลมป์เพรย์) ที่อยู่ในชั้น Myxini ซึ่งมีเพียงอันดับเดียว คือ Myxiniformes และวงศ์เดียว คือ Myxinidae แฮ็กฟิชเป็นปลาที่อยู่ในทะเล โดยการกินปลาตาย หรือใกล้ตายรวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีลำตัวอ่อนนุ่ม เช่น หนอนปล้อง มอลลัสคาและครัสเตเชียนเป็นอาหาร จึงต่างจากปลาแลมป์เพรย์ที่ใช้ชีวิตเหมือนเป็นปรสิต และไม่ได้เป็นสัตว์ล่าเหยื่อ แต่ค่อนมาทางกินซากสัตว์มากว่า แฮ็กฟิชมีต่อมเมือกทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่กระจายอยู่ที่ผิวหนังและมีต่อมเมือกเรียงตัวเป็นแนวอยู่ทางด้านข้างตลอดความยาวของลำตัว มีคำกล่าวว่า แฮ็กฟิช 1 ตัว สามารถทำให้น้ำ 1 ถัง แปรสภาพเป็นก้อนวุ้นสีขาวภายใน 1 นาที จากเมือกของตัวที่ปล่อยออกมา ซึ่งมีความเหนียวมากกว่าใยแมงมุมด้วยซ้ำ สามารถใช้ในการห้ามเลือดได้ และนักวิทยาศาสตร์กำลังศึกษาเพื่อที่นำไปพัฒนาในการสร้างใยสังเคราะห์ แฮ็กฟิชมีประมาณ 67 ชนิด ชนิดที่รู้จักกันดีในทวีปอเมริกาเหนือ ในมหาสมุทรแอตแลนติก คือ ชนิด Myxine glutinosa และในมหาสมุทรแปซิฟิก คือ แฮ็กฟิชแปซิฟิก (Eptatretus stonti) แฮ็กฟิชจะกินปลาตายหรือปลาใกล้ตายโดยการกัดไชเข้าไปทางทวารหรือถุงเหงือก ซึ่งปากของแฮ็กฟิชจะอยู่ส่วนล่างของหัวต่ำลงมาเมื่อเปรียบเทียบกับปลาแลมป์เพรย์ แล้วกินส่วนของตัวปลาที่อ่อนนุ่มเหลือไว้แต่หนังและกระดูก นอกจากนี้แฮ็กฟิชยังกินปลาที่ติดอวนลอยอยู่ ทำความเสียหายให้แก่ชาวประมง แต่หลังจากมีการประมงโดยใช้อวนลากขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพสูง ปัญหาที่เกิดจากแฮ็กฟิชจึงลดลง และในบางประเทศ ก็มีการปรุงแฮ็กฟิชรับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับปลาแลมป์เพรย์ เช่น ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ เป็นต้น ในน่านน้ำไทยเคยมีรายงานพบแฮ็กฟิชด้วย ในฝั่งทะเลอันดามันในเขตที่ลึกกว่า 200 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และแฮ็กฟิช · ดูเพิ่มเติม »

แผนที่ภูมิลักษณ์

"แผนที่ภูมิลักษณ์""ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ topography ว่า "ภูมิลักษณ์" หรือ "ลักษณะภูมิประเทศ" (topographic map) หรือ "แผนที่ topographic" ของระบบประสาท เป็นการส่งข้อมูลอย่างเป็นระเบียบของพื้นผิวในร่างกายที่เกิดความรู้สึก เช่นที่เรตินาหรือผิวหนัง หรือในระบบปฏิบัติงานเช่นระบบกล้ามเนื้อ ไปยังโครงสร้างต่าง ๆ ของสมองในระบบประสาทกลาง แผนที่ภูมิลักษณ์มีอยู่ในระบบรับความรู้สึกทั้งหมด และในระบบสั่งการ (motor system) ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และแผนที่ภูมิลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

แจ็กคัล

แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของแจ็กคัลทั้ง 3 ชนิด แจ็กคัล (Jackal) เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์สุนัข (Canidae) ในสกุล Canis จำพวกหนึ่ง แจ็กคัลจะมีขนาดเล็กกว่าหมาป่า แต่มีขนาดใหญ่กว่าหมาจิ้งจอก โดยที่คำว่า "jackal" นั้น แผลงมาจากคำว่า "ชะฆาล" (شغال, shaghāl) ในภาษาเปอร์เซีย หรือคำว่า "ชาคัล" (çakal) ในภาษาตุรกี หรือมาจากคำว่า "ศฤคาล" (शृगाल, śṛgāla) ในภาษาสันสกฤต แจ็กคัลมีทั้งหมด 3 ชนิด กระจายพันธุ์ไปทั้งทวีปเอเชีย, ยุโรปบางส่วน และแอฟริกา ได้แก่ หมาจิ้งจอกทอง (Canis aureus), หมาจิ้งจอกข้างลาย (C. adustus) และหมาจิ้งจอกหลังดำ (C. mesomelas) ซึ่งชนิดแรกนั้นพบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชีย (รวมถึงในประเทศไทย), แอฟริกาตอนเหนือและบางส่วนของยุโรป ส่วนสองชนิดหลังนั้นพบเฉพาะทวีปแอฟริกาเท่านั้น นอกจากนี้แล้ว หมาป่าไคโยตี (C. latrans) ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ บางครั้งที่ถูกเรียกว่า "อเมริกันแจ็กคัล" ด้วยเหมือนกัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแจ็กคัล · ดูเพิ่มเติม »

แคมป์โทซอรัส

แคมป์โทซอรัส (Camptosaurus - กิ้งก่าหลังโค้ง) มีชีวิตอยู่ในช่วงปลายยุคจูแรสสิค ชื่อนี้มาจากโครงสร้างของของมันที่สามารถยืนตรง 2 เท้าหรือ 4 เท้าก็ได้ ขนาดตัวไม่ใหญ่มากนัก ความยาวประมาณ 6.5 เมตร และ ส่วนสูง 2 เมตรจากพื้นถึงเอว เป็นไดโนเสาร์ในกลุ่มสะโพกนก (Ornithischia) รุ่นแรกๆของกลุ่มสายพันธุ์ที่ต่อไปในสมัยหลังจะวิวัฒนาการไปเป็น อิกัวโนดอน และ ไดโนเสาร์ตระกูลปากเป็ดในสมัยครีเตเชียส มันมีปากตัด เพื่อเอาไว้สำหรับกินพืชในป่า เป็นไดโนเสาร์ที่ไม่ได้มีขนาดอาวุธป้องกันตัวครบเครื่องแบบสเตโกซอรัส หรือ มีขนาดใหญ่ร่างยักษ์อย่างซอโรพอด ฝีเท้าก็ไม่ว่องไวนักเนื่องจากน้ำหนักตัวที่หนักไป (จนต้องยืน 4 ขา ในบางเวลา) จึงมักกลายถูกล่าเป็นเหยื่อจากพวกไดโนเสาร์กินเนื้อในป่า จนกระทั่งมันเริ่มวิวัฒนาการไปเป็น ไดโนเสาร์ร่างใหญ่ติดอาวุธอย่างอิกัวโนดอน.

ใหม่!!: สปีชีส์และแคมป์โทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แคริโอไทป์

ียมซา แคริโอไทป์หรือคาริโอไทป์ (karyotype) หมายถึงจำนวนและลักษณะของโครโมโซมในนิวเคลียสของเซลล์ยูคาริโอต นอกจากนี้ยังใช้เวลากล่าวถึงชุดของโครโมโซมทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์หนึ่งๆ หรือสิ่งมีชีวิตหนึ่งๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และแคริโอไทป์ · ดูเพิ่มเติม »

แซนแทนาแรปเทอร์

แซนแทนาแรปเทอร์ (Santanaraptor) ชื่อของมันมีความหมายว่าจอมขโมยจากแซนแทนา เป็นเทอโรพอดในตระกูลโคลูซอเรีย(Coelurosauria) ยาวประมาณ 1.25 เมตร อาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ในยุคครีเทเชียสเมื่อประมาณ 108 ล้านปีก่อน ฟอสซิลของมัน พบในปี..1996 ฟอสซิลซานตาน่าฟอร์เมชั่น ชั้นหินโบราณอุดมไปด้วยฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตและพืช ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล ถึงมันจะมีชื่อแรปเตอร์ (ที่นิยมใช้กับพวกโดรมีโอซอร์) แต่มันไม่ใช่ไดโนเสาร์กลุ่มโดรมีโอซอร.

ใหม่!!: สปีชีส์และแซนแทนาแรปเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โบตั๋น (พรรณไม้)

ตั๋นมีชื่อในภาษาไทยว่า "นางพญานิรมล" เป็นไม้ดอกสกุล Paeonia ซึ่งเป็นสกุลเดียว ในวงศ์ Paeoniaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชีย, ตอนใต้ของทวีปยุโรป และตะวันตกของอเมริกาเหนือ ในอดีต โบตั๋นมักถูกจัดอยู่ในวงศ์ Ranunculaceae พืชสกุลโบตั๋นส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุกหลายปี สูงประมาณ 0.5–1.5 เมตร บางชนิดเป็นพุ่ม ลำต้นมีเนื้อไม้ สูง 1.5-3 เมตร ลักษณะของใบเป็นใบประกอบ มีแฉกลึก ดอกใหญ่ และมักมีกลิ่นหอม มีหลายสี ตั้งแต่ แดง บานเย็น เหลือง จนถึงขาว มักออกดอกในช่วงต้นฤดูร้อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และโบตั๋น (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

โพ

(มักเขียนว่า โพธิ์) (คำว่า "โพ" มาจากภาษาสิงหล; Sacred fig) เป็นต้นไม้สปีชีส์หนึ่งของไทรหรือมะเดื่อ เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และ อินโดจีน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน สูงได้ถึง 30 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร รูปใบโดยทั่วไปของต้นโพ ใบมีรูปหัวใจปลายยาว ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้าง 8-12 เซนติเมตร ก้านใบยาว 6-10 เซนติเมตร ผลมีขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร สีเขียวเมื่อสุกมีสีม่วง โพเป็นต้นไม้ที่ถูกสักการะในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ด้วยเหตุนี้จึงมีชื่อว่า "Sacred fig" พระโคตมพุทธเจ้าก็ได้ตรัสรู้เมื่อนั่งอยู่ใต้ต้นโพเช่นกัน โดยต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าตรัสรู้นั้นชื่อ "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" ปัจจุบันยังคงมีชีวิตอยู่ที่ประเทศอินเดีย จึงเชื่อกันว่าโพเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข, ความสำเร็จ, อายุยืน และ ความโชคดี และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: สปีชีส์และโพ · ดูเพิ่มเติม »

โพลาแคนทัส

ลาแคนทัส (Polacanthus) เป็นไดโนเสาร์โนโดซอร์ชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ 4 เมตร มีหนามและแผ่นแข็งๆคล้ายเสื้อเกราะอยู่บริเวณผิวหนัง หนามและเกราะนี้ช่วยป้องกันกันเวลาถูกพวกไดโนเสาร์กินเนื้อล่า มีลักษณะคล้ายกับพวกแองคีลอซอร์ แต่มันไม่มีลูกตุ้มที่หาง อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้นเมื่อประมาณ 132- 112 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และโพลาแคนทัส · ดูเพิ่มเติม »

โกลเมอรูลัส (ระบบรู้กลิ่น)

กลเมอรูลัส (glomerulus พหูพจน์ glomeruli) เป็นโครงสร้างนิวโรพิลรูปกลมในป่องรับกลิ่นของสมอง เป็นที่เกิดไซแนปส์ระหว่างปลายฆานประสาท (olfactory nerve) และเดนไดรต์ของเซลล์ไมทรัล, ของเซลล์ประสาทรอบโกลเมอรูลัส (periglomerular cell), และของ tufted cell โกลเมอรูลัสแต่ละอันจะล้อมรอบไปด้วยเซลล์ประสาทใกล้ ๆ รวมทั้งเซลล์ประสาทรอบโกลเมอรูลัส, เซลล์แอกซอนสั้น (short axon), tufted cell ส่วนนอก, และเซลล์เกลีย โกลเมอรูลัสทั้งหมดจะอยู่ใกล้ส่วนผิวของป่องรับกลิ่น แต่ป่องรับกลิ่นก็ยังรวมส่วนหนึ่งของ anterior olfactory nucleus ซึ่งก็ส่งแอกซอนไปทาง olfactory tract ด้วย โกลเมอรูลัสเป็นส่วนแรกที่ประมวลผลข้อมูลกลิ่นที่มาจากจมูกผ่านการเชื่อมต่อของไซแนปส์ ประกอบด้วยแอกซอนที่รวมตัวกันจากเซลล์ประสาทรับกลิ่นเป็นพัน ๆ ตัว และประกอบด้วยเดนไดรต์จากเซลล์ไมทรัล, tufted cell, กับเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่รอบ ๆ โกลเมอรูลัสรวมทั้ง tufted cell ส่วนนอก, เซลล์ประสาทรอบโกลเมอรูลัส, short axon cell, และแอสโทรไซต์ ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โกลเมอรูลัสปกติจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 50-120 ไมโครเมตร (100-200) และมีจำนวนระหว่าง 1,100-2,400 อันขึ้นอยู่กับสปีชีส์ โดยมนุษย์มี 1,100-1,200 อัน จำนวนโกลเมอรูลัสในมนุษย์จะลดลงตามอายุ มนุษย์อายุมากกว่า 80 ปีเกือบจะไม่มีเลย โกลเมอรูลัสแต่ละอันอาจแบ่งเป็นสองเขต คือเขตประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve zone) และเขตที่ไม่ใช่เซลล์ประสาทรับลิ่น (non-olfactory nerve zone) เขตประสาทรับกลิ่นมีทั้งเส้นประสาทส่วนก่อนปลายและส่วนปลาย เป็นที่ที่เซลล์ประสาทรับกลิ่นสร้างไซแนปส์เพื่อเชื่อมกับเซลล์เป้าหมาย เขตที่ไม่ใช่เซลล์ประสาทรับกลิ่นประกอบด้วยการเชื่อมต่อทำงานประสานกันระหว่างเดนไดรต์-เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทในป่องรับกลิ่นต่าง.

ใหม่!!: สปีชีส์และโกลเมอรูลัส (ระบบรู้กลิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

โมโนทรีม

มโนทรีม หรือ โมโนทรีมาทา (Monotremata) เป็นอันดับในการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์อันดับหนึ่ง อยู่ในชั้น Mammalia หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และอยู่ในชั้นย่อยโมโนทรีม (บางครั้งเรียกชั้นย่อยนี้ว่า Prototheria) สัตว์ในอันดับโมโนทรีมภาษาอังกฤษเรียกว่าโมโนทรีม (monotreme) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก mono (หนึ่ง) + trema (รู) เนื่องจากสัตว์ในอันดับนี้มีช่องขับถ่ายและช่องสืบพันธุ์เป็นช่องเดียวกัน โมโนทรีมเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงอันดับเดียวที่ออกลูกเป็นไข่ แทนที่จะออกลูกเป็นตัวเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และโมโนทรีม · ดูเพิ่มเติม »

โยวี่

ประติมากรรมโยวี่ ในเมืองกิลคอย รัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย สำหรับยาวีในความหมายอื่นดูที่: ภาษายาวี โยวี่ หรือ ยาวีAustralian Yowie, "Finding Bigfoot".

ใหม่!!: สปีชีส์และโยวี่ · ดูเพิ่มเติม »

โรควิตกกังวล

รควิตกกังวล (Anxiety disorders) เป็นกลุ่มความผิดปกติทางจิตกำหนดโดยความวิตกกังวลและความกลัว ความวิตกกังวล (anxiety) เป็นความกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตและความกลัว (fear) เป็นปฏิกิริยาต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน --> ความรู้สึกเช่นนี้อาจทำให้เกิดอาการทางกาย เช่น หัวใจเต้นเร็วและตัวสั่น --> มีโรควิตกกังวลหลายอย่าง รวมทั้งโรควิตกกังวลไปทั่ว (GAD), โรคกลัว (phobia) ที่เฉพาะเจาะจง, โรคกลัวการเข้าสังคม (social anxiety disorder), โรควิตกกังวลเมื่อต้องแยก (separation anxiety disorder), โรคกลัวที่ชุมชน (agoraphobia), และโรคตื่นตระหนก (panic disorder) --> โดยโรคจะต่าง ๆ กันตามอาการ --> แต่คนไข้มักจะมีโรควิตกกังวลมากกว่าหนึ่งชนิด โรคมีปัจจัยจากกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งประวัติถูกทารุณกรรมในวัยเด็ก ประวัติความผิดปกติทางจิตในครอบครัว และความยากจน --> โรคมักเกิดร่วมกับความผิดปกติทางจิตอื่น ๆ โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า (MDD) ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ (PD) และการเสพสารเสพติด (substance use disorder) เพื่อจะวินิจฉัยว่าเป็นโรค จะต้องมีอาการอย่างน้อย 6 เดือน มีความวิตกกังวลเกินเหตุ และมีปัญหาในการดำเนินชีวิต แต่ก็มีปัญหาทางจิตเวชและทางแพทย์อื่น ๆ ที่อาจมีอาการคล้าย ๆ กันรวมทั้งอาการไฮเปอร์ไทรอยด์, โรคหัวใจ, การเสพกาเฟอีน แอลกอฮอล์ และกัญชา, และการขาดยา (withdrawal) บางประเภท ถ้าไม่รักษา โรคมักจะไม่หาย การรักษารวมทั้งการเปลี่ยนสไตล์ชีวิต จิตบำบัด และการทานยา --> จิตบำบัดมักจะเป็นรูปแบบหนึ่งของการบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT) ยาเช่นยาแก้ซึมเศร้าหรือเบต้า บล็อกเกอร์ อาจช่วยให้อาการดีขึ้น คนประมาณ 12% มีโรคทุก ๆ ปี โดยเกิดในหญิงมากกว่าชาย 2 เท่า และทั่วไปเริ่มก่อนอายุ 25 ปี ประเภทโรคที่สามัญที่สุดคือโรคกลัวที่เฉพาะเจาะจงซึ่งเกิดในคน 12% และโรคกลัวการเข้าสังคม (SAD) ซึ่งเกิดในคน 10% ในช่วงหนึ่งในชีวิต --> โดยเกิดกับบุคคลอายุ 15-35 ปีมากที่สุด และเกิดขึ้นน้อยหลังถึงอายุ 55 ปี --> อัตราการเกิดดูจะสูงกว่าในสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป สีหน้าของบุคคลที่มีความวิตกกังวลเรื้อรัง.

ใหม่!!: สปีชีส์และโรควิตกกังวล · ดูเพิ่มเติม »

โรควิตกกังวลไปทั่ว

รควิตกกังวลไปทั่ว (Generalized anxiety disorder ตัวย่อ GAD) หรือโรควิตกกังวลทั่วไปเป็นโรควิตกกังวลอย่างหนึ่ง กำหนดโดยความกังวลที่เกินควร ควบคุมไม่ได้ และบ่อยครั้งไม่สมเหตุผล เป็นความกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมักจะขวางชีวิตประจำวัน เพราะคนไข้มักคิดว่าจะมีเหตุการณ์ร้าย หรือกังวลมากเกินไปเกี่ยวกับเรื่องทั่ว ๆ ไป เช่น สุขภาพ การเงิน ความตาย ปัญหาครอบครัว ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับคนอื่น หรือปัญหาการงาน คนไข้มักจะมีอาการทางกายต่าง ๆ รวมทั้ง ความล้า อยู่ไม่สุข ปวดหัว คลื่นไส้ มือเท้าชา กล้ามเนื้อเกร็ง ปวดกล้ามเนื้อ กลืนไม่ลง มีกรดในกระเพาะมาก ปวดท้อง อาเจียน ท้องเสีย หายใจไม่ออก ไม่มีสมาธิ สั่น กล้ามเนื้อกระตุก หงุดหงิด กายใจไม่สงบ นอนไม่หลับ หน้าหรือตัวร้อน (hot flashes) เป็นผื่น และไม่สามารถควบคุมความกังวลได้International Classification of Diseases ICD-10.

ใหม่!!: สปีชีส์และโรควิตกกังวลไปทั่ว · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อ

รคติดเชื้อ (Infectious disease) เป็นโรคซึ่งเป็นผลจากการมีเชื้อจุลชีพก่อโรค อาทิไวรัส แบคทีเรีย รา โพรโทซัว ปรสิต หรือแม้กระทั่งโปรตีนที่ผิดปกติเช่นพรีออน เชื้อดังกล่าวอาจก่อให้เกิดโรคในสัตว์หรือพืชได้ โรคติดเชื้อจัดเป็นโรคติดต่อ (Contagious diseases, Communicable diseases) เนื่องจากสามารถติดต่อไปยังบุคคลอื่นหรือระหว่างสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์เดียวกัน การติดต่อของโรคติดเชื้ออาจเกิดได้มากกว่า 1 ทาง รวมถึงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง จุลชีพก่อโรคอาจถ่ายทอดไปโดยสารน้ำในร่างกาย อาหาร น้ำดื่ม วัตถุที่มีเชื้อปนเปื้อน ลมหายใจ หรือผ่านพาหะ"Infectious disease." McGraw-Hill Encyclopedia of Science and Technology.

ใหม่!!: สปีชีส์และโรคติดเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

โรคซึมเศร้า

รคซึมเศร้า (major depressive disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์ มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติทำให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และอาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจน ผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้แก่ผู้ป่วยในหลาย ๆ เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ทำงานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไป ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย และประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิดปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น คำว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิตอื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะทำให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฆ่าตัวตาย และมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ) เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10 อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชาย การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคลและการทดสอบสภาพจิต ไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะทำงานบริการป้องกันสหรัฐ (USPSTF) แนะนำให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐานเพียงพอสำหรับการคัดกรองโรค โดยทั่วไป โรคซึมเศร้ารักษาได้ด้วยจิตบำบัดและยาแก้ซึมเศร้า ดูเหมือนยาจะมีประสิทธิภาพ แต่ฤทธิ์อาจสำคัญเฉพาะในผู้ที่ซึมเศร้ารุนแรงมาก ๆ เท่านั้น ไม่ชัดเจนว่ายาส่งผลต่อความเสี่ยงการฆ่าตัวตายหรือไม่ ชนิดของจิตบำบัดที่ใช้มีการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy) และการบำบัดระหว่างบุคคล หากมาตรการอื่นไม่เป็นผล อาจทดลองให้การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (ECT) อาจจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยที่มีควมเสี่ยงทำร้ายตนเองเข้าโรงพยาบาลแม้บางทีอาจขัดต่อความประสงค์ของบุคคล ความเข้าใจถึงธรรมชาติและสาเหตุของความซึมเศร้าได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังไม่สมบูรณ์และยังมีประเด็นมากมายที่ยังต้องวิจัย เหตุที่เสนอรวมทั้งเป็นปัญหาทางจิต ทางจิต-สังคม ทางกรรมพันธุ์ ทางวิวัฒนาการ และปัจจัยอื่น ๆ ทางชีวภาพ การใช้สารเสพติดเป็นเวลานานอาจเป็นเหตุหรือทำอาการเศร้าซึมให้แย่ลง การบำบัดทางจิตอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การสื่อสารระหว่างบุคคล และการเรียนรู้ ทฤษฎีทางชีววิทยามักจะพุ่งความสนใจไปที่สารสื่อประสาทแบบโมโนอะมีน คือ เซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดพามีน ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติในสมองและช่วยการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท.

ใหม่!!: สปีชีส์และโรคซึมเศร้า · ดูเพิ่มเติม »

โรคนิ่วไต

รคนิ่วไต (kidney stone disease, urolithiasis) เป็นก้อนวัสดุแข็งที่เกิดในทางเดินปัสสาวะ นิ่วไตปกติจะเกิดในไตแล้วออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะ โดยก้อนเล็ก ๆ อาจจะผ่านออกโดยไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าใหญ่เกินกว่า 5 มิลลิเมตร ก็อาจขวางท่อไตมีผลให้เจ็บอย่างรุนแรงที่หลังหรือท้องส่วนล่าง นิ่วยังอาจทำให้เลือดออกในปัสสาวะ ทำให้อาเจียน หรือทำให้เจ็บเมื่อถ่ายปัสสาวะ (dysuria) คนไข้ประมาณครึ่งหนึ่งจะเกิดนิ่วอีกภายใน 10 ปี นิ่วโดยมากมีเหตุจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งระดับแคลเซียมสูงในปัสสาวะ (hypercalciuria) โรคอ้วน อาหารบางชนิด ยาบางชนิด การทานแคลเซียมเป็นอาหารเสริม ระดับฮอร์โมนพาราไทรอยด์เกินในเลือด (hyperparathyroidism) โรคเกาต์ และดื่มน้ำไม่พอ นิ่วจะเกิดในไตเมื่อแร่ในปัสสาวะเข้มข้นมาก การวินิจฉัยปกติจะอาศัยอาการ การตรวจปัสสาวะ และภาพฉายรังสี โดยการตรวจเลือดอาจมีประโยชน์ นิ่วมักจะจัดกลุ่มตามตำแหน่งที่อยู่ คือ nephrolithiasis (ในไต) ureterolithiasis (ในท่อไต) cystolithiasis (ในกระเพาะปัสสาวะ) หรือโดยองค์ประกอบของนิ่ว เช่น แคลเซียมออกซาเลต (calcium oxalate), กรดยูริก, สตรูไวท์ (struvite), ซิสทีน (cystine) เป็นต้น คนไข้ที่มีนิ่วสามารถป้องกันโดยดื่มน้ำให้ผลิตปัสสาวะมากกว่า 2 ลิตรต่อวัน ถ้ายังไม่พอ อาจทานยาไทอะไซด์ (thiazide), ไซเตรต (citrate, กรดไซตริก) หรืออัลโลพิวรีนอล (allopurinol) คนไข้ควรเลี่ยงดื่มน้ำอัดลม (เช่น โคลา) ถ้านิ่วไม่มีอาการ ก็ไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่เช่นนั้นแล้ว ยาแก้ปวดเป็นการรักษาเบื้องต้น โดยใช้ยาเช่น ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) หรือโอปิออยด์ นิ่วที่ใหญ่เพิ่มขึ้นอาจขับออกได้โดยใช้ยา tamsulosin หรืออาจต้องปฏิบัติการอื่น ๆ เช่น การใช้คลื่นเสียงนอกกายสลายนิ่ว (extracorporeal shock wave lithotripsy), การส่องกล้องท่อไต (ureteroscopy), หรือการผ่าตัดนิ่วผ่านผิวหนัง (percutaneous nephrolithotomy) คนทั่วโลกประมาณ 1-15% จะมีนิ่วไตในช่วงหนึ่งของชีวิต ในปี 2558 มีคนไข้ 22.1 ล้านราย ทำให้เสียชีวิต 16,100 ราย เป็นโรคที่สามัญยิ่งขึ้นในโลกตะวันตกตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยทั่วไป ชายจะเป็นมากกว่าหญิง นิ่วไตเป็นโรคที่ปรากฏตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมีการกล่าวถึงการผ่าตัดเพื่อเอาออกเริ่มตั้งแต่ 600 ปีก่อน..

ใหม่!!: สปีชีส์และโรคนิ่วไต · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: สปีชีส์และโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โลมา

ลมา เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ทั้งในทะเล, น้ำจืด มีรูปร่างคล้ายปลา คือ มีครีบ มีหาง แต่โลมามิใช่ปลา เพราะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีรก จัดอยู่ในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ซึ่งประกอบไปด้วย วาฬและโลมา ซึ่งโลมาจะมีขนาดเล็กกว่าวาฬมาก และจัดอยู่ในกลุ่มวาฬมีฟัน (Odontoceti) เท่านั้น โลมา เป็นสัตว์ที่รับรู้กันเป็นอย่างดีว่าเฉลียวฉลาด มีความเป็นมิตรกับมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะช่วยชีวิตมนุษย์เมื่อยามเรือแตก จนกลายเป็นตำนานหรือเรื่องเล่าขานทั่วไป มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง บางฝูงอาจมีจำนวนมากถึงหลักพันถึงหลายพันตัว ว่ายน้ำได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว รวมถึงสามารถกระโดดหมุนตัวขึ้นเหนือน้ำได้ ชอบว่ายน้ำขนาบข้างหรือว่ายแข่งไปกับเรือวาฬและโลมา หน้า 37-42, "สัตว์สวยป่างาม" (ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, สิงหาคม 2518).

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมา · ดูเพิ่มเติม »

โลมามหาสมุทร

รีบหลังของโลมามหาสมุทร โลมามหาสมุทร หรือ โลมาทะเล (Oceanic dolphins, Marine dolphins) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Delphinidae โลมามหาสมุทร จัดเป็นวาฬมีฟัน (Odontoceti) เป็นโลมาวงศ์ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีที่สุดวาฬและโลมา หน้า 37-42, "สัตว์สวยป่างาม" (ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, สิงหาคม 2518) มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับโลมาทั่วไป คือ มีขนาดลำตัวใหญ่แต่เพรียวยาวคล้ายตอร์ปิโดหรือทรงกระสวย มีครีบและหางใช้สำหรับว่ายน้ำ ครีบหางเป็นแผ่นแบนในแนวนอน ใช้สำหรับว่ายในแนวขึ้นลง ลักษณะเด่นของโลมามหาสมุทร คือ ครีบหลังมีลักษณะยาวและโค้งไปทางด้านหลังเหมือนคลื่น ส่วนจมูกโดยมากจะแหลมยาวเหมือนปากขวด แต่ก็มีบางสกุล บางชนิดที่กลมมนเหมือนบาตรพระหรือแตงโม ทุกชนิดเป็นสัตว์กินเนื้อที่ไล่ล่าสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยเฉพาะปลาขนาดเล็ก ๆ เช่น ปลาซาร์ดีน, ปลากะตัก หรือปลาแฮร์ริ่ง แต่ก็มีบางชนิดที่มีขนาดใหญ่ สามารถล่าสัตว์อย่างอื่น เช่น นกเพนกวิน, นกทะเล, แมวน้ำ, สิงโตทะเล เป็นอาหารได้ มีฟันแหลมคมเรียงตามยาวในปาก ระหว่าง 100-200 ซี่ มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูง บางฝูงอาจอยู่รวมกันได้หลายร้อยตัวและอาจถึงพันตัว กระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลเปิด, มหาสมุทรต่าง ๆ โดยเฉพาะในเขตร้อนและเขตอบอุ่น แต่ก็มีบางชนิดเช่นกันที่ปรับตัวให้อาศัยในน้ำกร่อยและน้ำจืดสนิทได้ เช่น ปากแม่น้ำ, ป่าชายเลน หรือแม้แต่ในทะเลสาบน้ำจืด หรือแม่น้ำสายใหญ่ เป็นสัตว์ที่ชาญฉลาด มีอุปนิสัยขี้เล่น ร่าเริง ชอบเล่นสนุก ด้วยการว่ายน้ำแข่งกัน กระโดดขึ้นเหนือน้ำ หรือว่ายแข่งกับไปเรือของมนุษย์ มีการติดต่อสื่อสารกันด้วยส่งคลื่นเสียงใต้น้ำด้วยระบบเอคโคโลเคชั่นหรือโซนาร์ ในความถี่ระหว่าง 80-200 เฮิรตซ์ โลมามหาสมุทร ขนาดเล็กที่สุด คือ โลมาฮาวี่ไซด์ มีความยาวเพียง 1.2 เมตร น้ำหนักเพียง 40 กิโลกรัม และขนาดที่ใหญ่ที่สุด คือ วาฬเพชฌฆาต ที่มีความยาวเกือบ 10 เมตร น้ำหนักกว่า 10 ตัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมามหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

โลมาหลังโหนก

ลมาหลังโหนก หรือ โลมาขาวเทา หรือ โลมาเผือก หรือ โลมาสีชมพู (Chinese white dolphin, Pacific humpback dolphin, Indo-Pacific humpbacked dolphin;; 中華白海豚; พินอิน: Zhōnghuá bái hǎitún) เป็นโลมาชนิดหนึ่ง ในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) มีลักษณะทั่วไป คือ มีจะงอยปากยาวโค้งเล็กน้อยที่เด่นชัดคือส่วนของฐานครีบหลังจะเป็นสันนูนสูงรองรับครีบหลังสีลำตัวจะมีการผันแปรต่างกันมาก ตัวเล็กจะมีสีจางจนเหมือนเผือก แม้บางตัวก็มีสีออกขาว หรืออย่างน้อยขาวในบางส่วน หรือสีชมพู ซึ่งสีเหล่านี้ไม่ได้มาจากเม็ดสี แต่เป็นสีของหลอดเลือดที่ช่วยให้ไม่ให้อุณหภูมิร่างกายสูงจนเกินไป และมีส่วนหลังที่เป็นสันนูนเหมือนโหนก อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ขนาดโตเต็มที่ ตัวผู้ยาวประมาณ 3.2 เมตร ขณะที่ตัวเมียยาว 2.5 เมตร และลูกแรกเกิดยาวประมาณ 1 เมตร มีอายุโดยเฉลี่ย 40 ปี โลมาหลังโหนกเมื่ออายุมากขึ้นสีชมพูตามตัวจะยิ่งเข้มขึ้น และส่วนด้านท้องและด้านล่างลำตัวจะเป็นจุด และมีสีที่สว่างกว่าลำตัวด้านบน กระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่งหรือแหล่งน้ำตื้นที่มีความลึกไม่เกิน 20 เมตร บริเวณอินโดแปซิฟิก พบมากที่สุด คือ อ่าวรีพัลส์ หรือเกาะลันเตา ที่ฮ่องกง ที่มีจำนวนประชากรในฝูงนับร้อย โดยมากชายฝั่งทะเลที่โลมาหลังโหนกอาศัยอยู่นั้นมักจะมีป่าชายเลนอยู่ด้วยเสมอ ๆ แต่จะต้องอยู่ในบริเวณน้ำตื้นเท่านั้น มีอุปนิสัยอาศัยประจำที่หรือมีการย้ายที่อพยพน้อยมากและอาศัยไม่ห่างจากชายฝั่งเกินระยะ 1 กิโลเมตร จึงพบเห็นตัวได้โดยง่าย โดยมักจะพบเห็นตั้งแต่ตอนเช้า จะอยู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ 10 ตัว ว่ายน้ำช้า ประมาณ 4.8 กิโลเมตร/ชั่วโมง และจะดำน้ำประมาณ 40-60 วินาที ก่อนจะโผล่ขึ้นมาหายใจ กินปลาทั้งตามชายฝั่งและในแนวปะการังเป็นอาหารหลัก รวมทั้งหมึก, กุ้ง, ปู ออกหาอาหารเป็นฝูง โดยใช้คลื่นเสียง เป็นโลมาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาฝึกกันตามสวนน้ำหรือสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ในประเทศไทยจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง โดยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมาหลังโหนก · ดูเพิ่มเติม »

โลมาหัวบาตรหลังเรียบ

ลมาหัวบาตรหลังเรียบ หรือ โลมาหัวบาตรไร้ครีบหลัง (Finless porpoise, 江猪, พินอิน: Jiāng zhū-หมูแม่น้ำ) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์พอร์พอยส์ (Phocoenidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Neophocaena แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) เป็นสัตว์ที่สืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันแล้วประมาณ 20 ล้านปี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับโลมาอิรวดี หรือ โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง (Orcaella brevirostris) คือ มีส่วนหัวกลมหลิมเหมือนบาตรพระไม่มีจะงอยปาก แต่ส่วนหลังเรียบไม่มีครีบหลัง ครีบข้างค่อนข้างใหญ่ปลายแหลม และลักษณะฟันในปากจะเป็นตุ่ม ไม่แหลมคม อันเป็นลักษณะเฉพาะของโลมาในวงศ์พอร์พอย์ ซึ่งทั่วโลกพบอยู่ 6 ชนิด ในประเทศไทยพบเพียงชนิดนี้ชนิดเดียว มีขนาดโตเต็มที่ยาว 1.9 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 70–80 เซนติเมตร ในน่านน้ำไทยสามารถได้ทุกจังหวัดที่ติดกับทะเล โดยพบมากที่สุดในฝั่งอ่าวไทย คือ ทะเลแถบจังหวัดตราด และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 เหมือนกับวาฬและโลมาชนิดอื่น ๆ ในประเทศจีน โลมาหัวบาตรหลังเรียบ เป็นโลมาเพียง 1 ใน 2 ชนิด นอกจากโลมาแม่น้ำแยงซีเกียง (Lipotes vexillifer) หรือไป๋จี๋ ที่สามารถพบได้ในแม่น้ำแยงซีเกียง โดยมีชื่อเล่นจากชาวจีนว่า "หมูแม่น้ำ" หรือ"แพนด้าแม่น้ำ" เป็นสัตว์ที่อยู่ในฐานะหวั่นวิตกว่าจะสูญพันธุ์ เนื่องจากมลภาวะสภาพแวดล้อม จากการประเมินพบว่าปัจจุบันหลงเหลือเพียงพันกว่าตัวเท่านั้น ซึ่งทุกปีจะมีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 5–10 ต่อปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมาหัวบาตรหลังเรียบ · ดูเพิ่มเติม »

โลมาครีบทู่

ลมาครีบทู่ (Snubfin Dolphin) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล จำพวกโลมา ใช้ชื่อสกุลว่า Orcaella จัดอยู่ในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) จากการศึกษาด้านดีเอ็นเอและวิเคราะห์โมเลกุลพบว่า โลมาครีบทู่มีสายสัมพันธ์และเกี่ยวข้องทางพันธุกรรมกับวาฬเพชฌฆาต หรือวาฬออร์กา ซึ่งจัดว่าเป็นโลมาชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งทั้ง 2 สกุลนี้ อาจจัดได้ว่าอยู่ในวงศ์ย่อย Orcininae.

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมาครีบทู่ · ดูเพิ่มเติม »

โลมาปากขวด

ลมาปากขวด หรือ โลมาหัวขวด (Bottlenose dolphin) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Tursiops (/ทูร์-ไซ-ออฟส์/) จัดอยู่ในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) มีลำตัวสีน้ำเงินเข้มอมเทา สีจางหรือบางครั้งอมชมพูด้านท้อง จะงอยปากค่อนข้างสั้นใหญ่ครีบหลังขนาดค่อนข้างใหญ่ เป็นรูปโค้งอยู่กึ่งกลางหลัง รูปร่างค่อนข้างอ้วน ไม่มีลายหรือจุดประแต่ประการใด ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 2.3-3.1 เมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ในบางฝูงอาจพบได้ถึงหลายร้อยตัวจนถึงหลักพัน และชอบว่ายน้ำแข่งกับเรือขณะที่เรือเดินอยู่ในทะเลได้หลายไมล์ และมีความเร็วในการว่ายน้ำประมาณ 40.5 กิโลเมตร/ชั่วโมง โลมาปากขวด เป็นโลมาที่ฉลาด มีความแสนรู้ ขี้เล่น เป็นมิตรกับมนุษย์ จึงนิยมเลี้ยงไว้แสดงตามสวนสัตว์และสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำทั่วไป พบกระจายพันธุ์ตามทะเลเปิดและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นรวมถึงเขตหนาวทั่วโลก แต่เดิมถูกแบ่งไว้เพียงชนิดเดียว คือ โลมาปากขวดธรรมดา (T. truncatus) แต่ต่อมาในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมาปากขวด · ดูเพิ่มเติม »

โลมาปากขวดธรรมดา

ลมาปากขวดธรรมดา หรือ โลมาหัวขวดธรรรมดา (Bottlenose dolphin, Common bottlenose dolphin) เป็นโลมาชนิดหนึ่ง ที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี เป็นโลมาจำพวกโลมาปากขวด มีลำตัวสีน้ำเงินเข้มอมเทา สีจางหรือบางครั้งอมชมพูด้านท้อง จะงอยปากค่อนข้างสั้นใหญ่ครีบหลังขนาดค่อนข้างใหญ่ เป็นรูปโค้งอยู่กึ่งกลางหลัง รูปร่างค่อนข้างอ้วน ไม่มีลายหรือจุดประแต่ประการใด ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 2.3-3.1 เมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ในบางฝูงอาจพบได้ถึงหลายร้อยตัวจนถึงหลักพัน และชอบว่ายน้ำแข่งกับเรือขณะที่เรือเดินอยู่ในทะเลได้หลายไมล์ และมีความเร็วในการว่ายน้ำประมาณ 40.5 กิโลเมตร/ชั่วโมง โลมาปากขวดธรรมดา เป็นโลมาที่ฉลาด มีความแสนรู้ ขี้เล่น เป็นมิตรกับมนุษย์ จึงนิยมเลี้ยงไว้แสดงตามสวนสัตว์และสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำทั่วไป พบกระจายพันธุ์ตามทะเลเปิดและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก (แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย ดูรายชื่อในตาราง) สำหรับในประเทศไทย ไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง เนื่องจากโลมาปากขวดที่พบในประเทศไทย มิใช่โลมาปากขวดชนิดนี้ หากแต่เป็นโลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก (T. aduncus) ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ครั้งหนึ่ง กองทัพเรือสหรัฐและอีกหลายกองทัพเรือของชาติมหาอำนาจ เคยฝึกให้โลมาปากขวดปฏิบัติการในการสงคราม ด้วยการผูกติดระเบิดไว้กับตัว แล้วว่ายไปชนกับเรือข้าศึกแบบพลีชีพเหมือนกามิกาเซ่ แต่มีปัญหาอยู่ว่าจะสอนให้แยกแยะได้อย่างไรว่า เรือลำไหนคือเรือข้าศึก เรือลำไหนคือเรือที่เป็นมิตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อต้องมองเรือจากใต้น้ำที่เหมือนกันหม.

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมาปากขวดธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

โลมาแม่น้ำ

ำหรับโลมาน้ำจืดชนิดอื่น ดูที่: โลมาน้ำจืด โลมาแม่น้ำ หรือ โลมาน้ำจืด (River dolphin, Freshwater dolphin) เป็นวงศ์ใหญ่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่มหนึ่ง ในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ในกลุ่มโลมา ใช้ชื่อวงศ์ใหญ่ว่า Platanistoidea ซึ่งแยกออกเป็นวงศ์ต่าง ๆ ได้อีก นับเป็นสัตว์เพียงจำพวกเดียวในอันดับวาฬและโลมานี้เท่านั้นที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดได้อย่างแท้จริง โลมาแม่น้ำ มีลักษณะส่วนใหญ่เหมือนกับโลมาทั่วไป หรือโลมาทะเล มีความยาวเต็มที่ประมาณ 2.4 เมตร (8 ฟุต) มีสีลำตัวหลากหลายตั้งแต่ ชมพู, ขาว, เหลือง, น้ำตาล และดำ Rice, D. W. (1998).

ใหม่!!: สปีชีส์และโลมาแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

โสม

ม (Ginseng) เป็นพืชในสกุล Panax ในวงศ์ Araliaceae โตได้ในบริเวณซีกโลกเหนือ ในทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และโสม · ดูเพิ่มเติม »

โอพอสซัม

อพอสซัม (opossum) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า พอสซัม (possum) มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์คือ อันดับโอพอสซัม (Didelphimorphia; อ่านว่า ไดเดลฟิมอร์เฟีย) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมคล้ายหนู แต่มีถุงหน้าท้องเหมือนจิงโจ้ ในซีกโลกตะวันตก อันดับนี้มีขนาดใหญ่ที่สุดในสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องทั้งหลาย ซึ่งประกอบด้วย 109 สปีชีส์หรือมากกว่าใน 19 สกุล โอพอสซัมเป็นหนึ่งในสัตว์ทดลองทางการแพทย์ที่มักใช้ศึกษาหาสาเหตุการเกิดโรคในคน เช่น โรคมะเร็ง ความผิดปกติของระบบประสาท ล่าสุดนักวิทยาศาสตร์สามารถถอดรหัสดีเอ็นเอของโอพอสซัมได้ทั้งหมด ถือเป็นครั้งแรกของการถอดรหัสพันธุกรรมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดที่มีกระเป๋าหน้าท้องเช่นเดียวกับจิงโจ้และโคอาล่าได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และโอพอสซัม · ดูเพิ่มเติม »

โอวิแรปเตอร์

โอวิแรปเตอร์(Oviraptor)มีหงอนเป็นเอกลักษณ์ ยาว 2 เมตร ส่วนสูงประมาณหัวเข่าของผู้ใหญ่ที่โตเต็มไวแล้ว พบที่มองโกเลีย มีการค้นพบฟอสซิลของมันอยู่กับลูกในรังของมัน ในท่ากกไข่ หลายชุด เป็นหลักฐานที่ระบุว่ามันเป็นไดโนเสาร์ที่เลี้ยงลูกของมันอย่างดี ฟอสซิลในท่ากกไข่ของโอวิแรปเตอร์ ตัวนั้นอาจตายตอนมีพายุทรายพัดมา พบในชั้นหินของยุคครีเทเซียส ช่วงเวลา 90-85 ล้านปี หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และโอวิแรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โอคาพี

อคาพี (okapi; ชื่อวิทยาศาสตร์: Okapia johnstoni) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กีบคู่ ในวงศ์ Giraffidae เช่นเดียวกับยีราฟ เป็นสัตว์พื้นเมืองของเขตป่าฝนอีตูรี ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ในแอฟริกากลาง แม้ว่าโอคาพีจะมีลายแถบและรูปร่างที่คล้ายกับม้าลาย แต่ที่จริงแล้วมีสายสัมพันธ์กับยีราฟ อันเป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน และถือว่าเป็นสัตว์เพียง 1 ใน 2 ชนิดเท่านั้นในวงศ์นี้ ที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ จึงถือว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่มีชีวิตอยู่อีกชนิดหนึ่ง โอคาพีมีความสูงเพียงประมาณ 1.5-2 เมตร บริเวณขาทั้ง 4 ข้างและบั้นท้ายจะมีแถบดำคล้ายกับม้าลาย ส่วนบริเวณคอนั้นจะเห็นเป็นแถบไม่ชัดนัก อีกทั้งยังมีนัยน์ตาคล้ายคลึงกับกวางหรือแอนทีโลป โอคาพีตัวผู้นั้นจะมีเขา 2 เขา โดยหากมองจากด้านข้างแล้วจะทำให้ดูราวกับว่ามีเพียงเขาเดียว ซึ่งในอดีตมีผู้เคยเข้าใจว่าโอคาพี คือ ยูนิคอร์น สัตว์ในเทพปกรณัมกรีกด้วยซ้ำ แถบดำบนตัวของโอคาพีนั้น นอกจากจะเป็นสิ่งที่ช่วยพรางตัวในธรรมชาติแล้ว ยังเชื่อกันว่าเป็นสิ่งที่ช่วยให้โอคาพีวัยอ่อนสามารถที่จะสังเกตเห็นแม่ของตัวเองได้ง่ายขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เป็นป่าฝนที่หนาทึบ เพราะถึงแม้โอคาพีเป็นสัตว์ที่รักสันโดษ มักใช้ชีวิตตามลำพัง แต่โอคาพีตัวเมียจะดูแลและไปไหนมาไหนกับลูกของตัวเองเสมอ โดยปกติแล้ว โอคาพีมีลำตัวสีน้ำตาลแดง มีความยาวประมาณ 2-2.5 เมตรและสูงประมาณ 1.5-2 เมตร ส่วนหางจะยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มวัย โอคาพีจะมีน้ำหนักอยู่ในราว 200-250 กิโลกรัม และถึงแม้ว่าลำตัวของโอคาพีจะคล้ายคลึงกับยีราฟ แต่ลำคอก็มิได้ยืดยาวเหมือนยีราฟแต่อย่างใด โอคาพีเป็นที่รู้จักครั้งแรกของโลกในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 จากการค้นพบของเซอร์แฮร์รี จอห์นสตัน ผู้สำเร็จราชการแห่งจักรวรรดิอังกฤษ ที่พบเห็นชาวปิกมีนุ่งห่มหนังของโอคาพี ในครั้งแรกเซอร์จอห์นสตันเข้าใจว่าเป็นหนังของม้าลายหน้า 71-72, สัตว์สวยป่างาม โดย ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (สิงหาคม, 2518) ปัจจุบัน มีโอคาพีอยู่ในป่าที่ประมาณ 10,000–20,000 ตัวใน..

ใหม่!!: สปีชีส์และโอคาพี · ดูเพิ่มเติม »

โอ๊ก

อ๊ก (oak) หรือ ก่อ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มในสกุล Quercus (ภาษาละติน "oak tree") มี 600 สปีชีส์ โอ๊กอาจจะหมายถึงพืชบางชนิดในสกุล Lithocarpusด้วย พืชสกุลนี้เป็นพืชพื้นเมืองในซีกโลกเหนือ แพร่กระจายตั้งแต่เขตที่อากาศหนาวเย็นไปจนถึงเขตร้อนในเอเชียและอเมริก.

ใหม่!!: สปีชีส์และโอ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

โฮโม

ม เป็นสกุล ซึ่งนับรวมเอามนุษย์สมัยใหม่ทางกายวิภาคและสปีชีส์ที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด สกุลนี้ประเมินว่ามีอายุระหว่าง 2.3 ถึง 2.4 ล้านปี Also ISBN 0-521-46786-1 (paperback) วิวัฒนามาจากบรรพบุรุษออสตราโลพิเธคัสโดยมีลักษณะภายนอกของ Homo habilis ลักษณะเฉพาะของชนิด H. habilis สันนิษฐานว่าจะเป็นผู้สืบเชื้อสายโดยตรงของ Australopithecus garhi ซึ่งมีชีวิตอยู่เมื่อราว 2.5 ล้านปีก่อน พัฒนาการทางสรีรวิทยาที่สำคัญที่สุดระหว่างสองสปีชีส์นี้คือการเพิ่มขึ้นของความจุกะโหลก จาก 450 ซีซีใน A. garhi เป็น 600 ซีซีใน H. habilis ในสกุล โฮโม ความจุกะโหลกเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าจาก H. habilis เป็น H. heidelbergensis เมื่อ 0.6 ล้านปีก่อน ความจุกะโหลกของ H. heidelbergensis คาบเกี่ยวกันกับพิสัยความจุกะโหลกที่พบในมนุษย์สมัยใหม่ อย่างไรก็ตาม ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และโฮโม · ดูเพิ่มเติม »

โคริโทซอรัส

โคริโทซอรัส (Corythosaurus) เป็นไดโนเสาร์จำพวกแฮดโดรซอร์ อาศัยช่วงปลายยุคครีเตเซียส เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ขนาด 12 เมตร ริว เท ซูน ฟอสซิลของมันพบที่ทวีปอเมริกาเหนือ ชื่อแปลว่ากิ้งก่ามงกุฏ ลักษณะปากของโคริโทซอรัสคล้ายกระสุนปืน สามารถกินหินได้อย่างสบาย ๆ เลยทีเดียว มันเป็นหนึ่งในเหยื่อ ที่โปรดปราณ ของ ไทรันโนซอรัส หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และโคริโทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

โครงการจาการ์ตา

รงการจาการ์ตา หรือ อะแพชี จาการ์ตา (Jakarta project หรือ Apache Jakarta) เป็นโครงการสำหรับสร้างและบำรุงรักษาซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สบนแพลตฟอร์มจาวา โครงการนี้เป็นศูนย์รวมของโครงการย่อยอื่นๆ ภายใต้มูลนิธิซอฟต์แวร์อะแพชี (Apache Software Foundation) และผลิตภัณฑ์ของโครงการจาการ์ตาทั้งหมดได้เผยแพร่ออกสู่สาธารณะด้วยสัญญาอนุญาตอะแพชี (Apache License) ชื่อของโครงการจาการ์ตาไม่ได้เลียนแบบมาจากเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย หรือสปีชีส์ของผีเสื้อสีน้ำเงินที่ชื่อจาการ์ตา แต่มาจากชื่อของห้องประชุมในบริษัท ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ที่ซึ่งนำมาสู่การอภิปรายเพื่อให้เกิดโครงการนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และโครงการจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

โคล่า

ล่า (Cola) เป็นพืชไม่ผลัดใบสกุลหนึ่ง มีด้วยกันประมาณ 125 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตป่าดงดิบของทวีปแอฟริกา จำแนกอยู่ในวงศ์ Malvaceae วงศ์ย่อย Sterculioideae (หรืออาจแยกเป็นวงศ์ Sterculiaceae ต่างหาก ก็มี) ถือว่ามีความสัมพันธ์กับพืชสกุล Theobroma (โกโก้) ในทวีปอเมริกาใต้ ต้นโคล่านั้นมีความสูงเต็มที่ 20 เมตร มีใบมันวาว คล้ายรูปไข่ ยาวเต็มที่ 30 เซนติเมตร;สปีชีส์อื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และโคล่า · ดูเพิ่มเติม »

โคเมท

มทสีดำ โคเมท (Comet) เป็นปลาทองสายพันธุ์หนึ่งที่ปรากฏในปัจจุบัน มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมที่สหรัฐอเมริกา ลักษณะของโคเมทคือ ลำตัวผอมเพรียวยาวแลดูคล้ายปลาคาร์ป ครีบทุกครีบยาวโดยเฉพาะครีบหาง ลำตัวมักมีสีเดียวล้วน ๆ เช่น สีขาวหรือสีแดง ขนาดเมื่อโตเต็มที่สามารถยาวได้ถึง 12 นิ้ว จัดว่าเป็นปลาทองสายพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่มากสายพันธุ์หนึ่ง โดยชื่อ โคเมท นั้น หมายถึงดาวหาง ทั้งนี้เพราะความที่มีลักษณะเพรียวยาวเหมือนดาวหางนั่นเอง โคเมทในประเทศแถบตะวันตก เช่น ที่สหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษจะเป็นสายพันธุ์ที่ได้รับความนิยมมาก และมีราคาสูง แต่สำหรับในประเทศไทยและแถบเอเชียนั้น สายพันธุ์นี้กลับไม่ได้รับความนิยมเท่าและมีราคาต่ำ ทั้งที่ปลาทองสายพันธุ์นี้จัดว่าเลี้ยงง่ายกว่าสายพันธุ์อื่นมาก ทั้งนี้เนื่องจากไม่มีจุดเด่นเพียงพอที่จะทำให้แลดูสวยงามเหมือนสายพันธุ์อื่น อีกทั้งยังมีลักษณะทั่วไปคล้ายปลาคาร์ปอีกด้วย จึงทำให้มีความเข้าใจผิดและสับสนกันระหว่างปลาทั้งสองชนิดนี้เสมอ ๆ โดยเฉพาะในตัวที่ยังเล็กอยู่ และบางคนอาจจะเลี้ยงปนกันในบ่อเดียวกันด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และโคเมท · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียโนซอรัส (ออร์นิโธพอด)

รียโนซอรัส โบซองเอนซิส (코레아노사우루스 보성엔시스) ชื่อหมายถึง "กิ้งก่าเกาหลีแห่งเมืองโบซอง" เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์กลุ่มออร์นิโธพอด ฟอสซิลทั้งสามของโคเรียโนซอรัสที่ปรากฏในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และโคเรียโนซอรัส (ออร์นิโธพอด) · ดูเพิ่มเติม »

โคเอ็กซ์อควาเรี่ยม

อ็กซ์อควาเรี่ยม (COEX Aquarium; เกาหลี: 코엑스 아쿠아리움) เป็นพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ ตั้งอยู่ในชั้นใต้ดินของห้างสรรพสินค้าโคเอ็กซ์ ในเขตคังนัม โซล การเดินทางมาที่โคเอ็กซ์อควาเรี่ยม สามารถทำได้โดยโดยสารรถไฟใต้ดินสาย 2 ขึ้นที่สถานีซัมซอง ออกที่ประตู 5 แล้วเดินตามป้าย พื้นที่ของโคเอ็กซ์อควาเรี่ยม มีเนื้อที่ 14,000 ตารางเมตร มีปลาแสดงไว้กว่า 40,000 ตัว กว่า 650 ชนิด เปิดทำการตั้งแต่ 10.00-20.00 น. อัตราค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 17,500 วอน เด็กโต 14,500 วอน เด็กเล็กความสูงไม่เกิน 110 เซนติเมตร 11,000 วอน โดยแบ่งพื้นที่จัดแสดงไว้เป็นส่วนต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และโคเอ็กซ์อควาเรี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

โปรโตเซอราทอปส์

ปรโตเซอราทอปส์ (Protoceratops) เป็นไดโนเสาร์ตระกูลเซอราทอปส์เชียน ค้นพบในประเทศมองโกเลีย ในทะเลทรายโกบี มีลักษณะซิทตาโคซอรัส ขนาดประมาณ 2 เมตรเคยค้นพบฟอสซิลของมันกำลังกัดเวโลซีแรปเตอร์ และในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และโปรโตเซอราทอปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟลัม

ฟลัม (phylum) เป็นขั้นอนุกรมวิธานขั้นหนึ่งในการจำแนกสัตว์ในทางวิทยาศาสตร์ (ในทางพืชนิยมใช้คำว่า ส่วน แทนไฟลัม ไฟลัมถือเป็นการจัดกลุ่มในขั้นสูงที่สุดแยกตามสายวิวัฒนาการ แต่บางครั้งก็มีการรวมไฟลัมเป็นไฟลัมใหญ่ (superphylum) อีกทีหนึ่ง เช่น สัตว์ที่มีการลอกคราบในการเจริญเติบโต (Echdysozoa) ประกอบด้วยสัตว์มีเปลือกแข็งและหนอนตัวกลม และ สัตว์ที่มีช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร (Deuterostomia) ประกอบด้วยปลาดาวและสัตว์มีแกนสันหลัง ไฟลัมของสัตว์ที่รู้จักกันมากที่สุด ได้แก่ มอลลัสกา, ฟองน้ำ, ไนดาเรีย, หนอนตัวแบน, นีมาโทดา, หนอนปล้อง, สัตว์ขาปล้อง, เอคคิโนเดอร์มาทา และสัตว์มีแกนสันหลัง (ซึ่งมนุษย์อยู่ในไฟลัมนี้) ถึงแม้ว่าจะมีไฟลัมทั้งหมดประมาณ 35 ไฟล่า (หน่วยของไฟลัม) ไฟลัมที่กล่าวทั้ง 9 ตัวนี้ครอบคลุมสปีชีส์ส่วนใหญ่ และทุกไฟลัมยกเว้นหนอนกำมะหยี่ ต่างก็มีสมาชิกอาศัยในมหาสมุทร.

ใหม่!!: สปีชีส์และไฟลัม · ดูเพิ่มเติม »

ไพกา

กา (pika, pica, rock rabbit, coney; วงศ์ Ochotonidae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับกระต่าย (Lagomorpha) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ochotonidae ไพกาจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอีกวงศ์หนึ่ง ที่อยู่ในอันดับกระต่าย ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน นอกเหนือไปจากกระต่าย (Leporidae) มีรูปร่างโดยทั่วไปเล็กกว่ากระต่าย แลดูคล้ายหนู ใบหูมีขนาดใหญ่แต่สั้นและเล็กกว่ากระต่าย มีขนอ่อนนุ่มสีเทาหรือสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว มีหางขนาดเล็กจนมองไม่เห็น มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 8 นิ้ว หนักประมาณ 6 ออนซ์ มีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า มีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 25-30 วัน มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยแต่ละตัวนั้นจะมีหน้าที่ของตัวเอง ในการหาอาหารและแบ่งปันกัน และมีพฤติกรรมที่จะแสดงตัวเพื่อที่จะประกาศอาณาเขต โดยจะหากินในเวลากลางวัน มีหญ้าเป็นอาหารหลัก โดยใช้เวลาทั้งวันในการสะสมอาหาร ไม่มีพฤติกรรมจำศีลในช่วงฤดูหนาว ไพกาตัวเมียในประเทศญี่ปุ่น มีพฤติกรรมจะกลบซ่อนรังที่มีลูกอ่อนไว้ด้วยใบไม้และดิน เสมือนกับว่าฝังทั้งเป็นหรือทำรังอยู่ใต้ดิน เพื่อหลบซ่อนสัตว์นักล่า ลูกไพกาจะสามารถหลบซ่อนอยู่ใต้ดินอย่างนั้นได้นานถึง 2 วัน มีทั้งหมด 1 สกุล คือ Ochotona พบทั้งหมดประมาณ 30 ชนิด กระจายพันธุ์ไปในหลายพื้นที่ของโลกแถบเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น เช่น อเมริกาเหนือ, ยุโรปตะวันออก, ยูเรเชีย จนถึงเอเชียตะวันออก เช่น จีน.

ใหม่!!: สปีชีส์และไพกา · ดูเพิ่มเติม »

ไพลโอซอร์

ลโอซอร์ (pliosaurs) คือสัตว์เลื้อยคลานในทะเลยุคดึกดำบรรพ์พวกหนึ่ง มีครีบขนาดใหญ่สี่อัน น้ำหนักประมาณ 120 กิโลกรัมถึงเกือบ 20 ตัน และมีความยาวตั้งแต่ 4.2 เมตรไปจนถึง 11 เมตรเลยทีเดียว(สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือ พรีเดเตอร์เอ็กซ์ ความยาวสูงสุดประมาณ 13 เมตร และหนักเกือบ 20 ตัน)มีรูปร่างแตกต่างจากโมซาซอร์ญาติห่างๆ ตรงที่โมซาซอร์ใช้หางว่ายน้ำคล้ายจระเข้ แต่ไพลโอซอร์จะมีหางสั้น และครีบขนาดเล็กกว่าซึ่งใช้ว่ายน้ำได้ลำบากกว่า นอกจากนี้ ฟันของโมซาซอร์จะมีรูปร่างแบบกิ้งก่าปัจจุบัน คือแหลมและโค้งไปด้านหลัง แต่ฟันของไพลโอซอร์จะเป็นกรวยแหลมขนาดเล็กที่เหมาะสำหรับการขบกัดกระดูกให้เป็นรอยและสร้างบาดแผลสาหัสได้น้อยกว่าโมซาซอร์ประกอบกับแรงกัดที่มากกว่าหลายเท่า ทำให้ไพลโอซอร์เป็นหนึ่งในนักล่าที่ดุร้ายรองจากโมซาซอร์ในยุคดึกดำบรรพ์เลยทีเดียว สายพันธุ์ของไพลโอซอร์ที่น่าสนใจได้แก่ โครโนซอรัส(kronosaurus),ไทรนาครอมีเรี่ยม(trinacromerum)และไลโอพลัวเรอดอน(liopleurodon) เป็นต้น อาหารส่วนใหญ่ของไพลโอซอร์คือทุกอย่างที่จับและกินได้ รวมถึงพวกเดียวกันเอง เคยมีการพบซากไทรนาครอมีเรี่ยมในท้องของโครโนซอรัสตัวเต็มวัยด้วย เนื่องจากออกลูกเป็นไข่ ไพลโอซอร์จึงต้องขึ้นบกเพื่อวางไข่ด้วย.

ใหม่!!: สปีชีส์และไพลโอซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรโซม

รโซม (Pyrosomes) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์น้ำที่อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง และไฟลัมย่อยยูโรคอร์ดาตา จัดอยู่ในสกุล Pyrosoma นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อสามัญเรียกว่า "แตงกวาดองทะเล" (Sea pickles) ไพโรโซม เป็นสัตว์ที่มีลำตัวโปร่งใส ลำตัวยาวเหมือนกรวยขนาดยาว สามารถเรืองแสงเป็นสีฟ้าหรือเขียวได้ เป็นสัตว์ที่หายาก แต่เป็นสัตว์ที่ไม่มีกะโหลกหรือขากรรไกรหรือกล้ามเนื้อ จึงไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง แต่จะล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ไพโรโซมเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของสัตว์ขนาดเล็กลักษณะเหมือนแมงกะพรุนคือ "ซูอิก" (Zooid) จำนวนนับพันตัวรวมตัวกันอยู่ โดยเฉลี่ยแล้วจะมีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร หรือ 60 เซนติเมตร หรือแม้แต่มีความยาวแค่ไม่กี่เซนติเมตร แต่ก็มีการพบตัวที่มีความยาวถึง 30 หรือ 35 เมตร ขนาดเทียบเท่ากับวาฬขนาดใหญ่เลยทีเดียว ไพโรโซม กินสาหร่ายขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองได้ด้วยตาเปล่าเป็นอาหาร รวมถึงแพลงก์ตอน เป็นสัตว์ที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ แต่ทว่าสร้างความรำคาญให้แก่อุตสาหกรรมประมง โดยเฉพาะการประมงในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากสามารถเกาะคลุมอุปกรณ์ประมงได้ ทำให้ไม่สามารถจับปลาได้ หากมีเป็นจำนวนมาก อาจต้องทำให้เรือประมงบางลำต้องย้ายที่ประมงหนี โดยบริเวณชายฝั่งของแคลิฟอร์เนียไม่เคยมีรายงานการพบไพโรโซมมาก่อนเลย จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และไพโรโซม · ดูเพิ่มเติม »

ไก่จุก

ก่จุก (Crested wood partridge, Crested partridge, Roul-roul, Red-crowned wood partridge, Green wood partridge) เป็นนกในวงศ์ Phasianidae และเป็นชนิดเดียวในสกุล Rollulus.

ใหม่!!: สปีชีส์และไก่จุก · ดูเพิ่มเติม »

ไก่งวง

''Meleagris gallopavo'' ไก่งวง (Turkey) เป็นนกที่บินไม่ได้ประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Meleagridinae สกุล Meleagris มีปากสั้นเรียวบาง บริเวณหัวบางส่วนและลำคอไม่มีขนที่เห็นชัด แต่มีหนังย่น ๆ และตุ่มคล้ายหูด ขนหางมี 28-30 เส้น แพนหางชี้ตั้งขึ้น ขายาว ลักษณะนิ้วตีนเหมือนกับไก่ในวงศ์ Phasianidae ตัวผู้มีเดือย ขนตามลำตัวเป็นเงา แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ M. gallopavo พบในอเมริกาเหนือ และ M. ocellata พบในอเมริกากลาง ในสหรัฐอเมริกา ชาวคริสต์นิยมรับประทานไก่งวงในวันขอบคุณพระเจ้า ไก่งวง มีขนาดใหญ่กว่าไก่ทั่วไป ในการประกอบอาหาร นิยมยัดไส้นานาชนิด แล้วนำไปปรุงแต่งอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และไก่งวง · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ต๊อก

ก่ต๊อก (guineafowl, guineahen) เป็นวงศ์ของสัตว์ปีกจำพวกไก่วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Numididae ลักษณะโดยทั่วไปของไก่ต๊อก คือ มีจะงอยปากสั้นและหนา สีน้ำตาลหรือแดงอมส้ม มีเหนียงสีเทาอมดำห้อยอยู่ที่จะงอยปากล่างแผ่ไปทั้ง 2 ข้างของคาง และมีเหนียงสีขาวประแดงบริเวณใต้ขากรรไกรทั้ง 2 ข้างด้วย หัวถึงสันคอมีขนเล็กน้อยหรือไม่มีเลย ลำตัวป้อม ขนหางมี 14-16 เส้น หางสั้น ปลายชี้ลง ขาแข็งแรง ส่วนนิ้วตีนเหมือนไก่ในวงศ์ Phasianidae ตัวผู้มีเดือยหรือไม่มีแล้วแต่ชนิด มีพฤติกรรมการจับคู่เพียงคู่เดียวตลอดชีวิต อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง บางครั้งอาจมีสมาชิกได้ถึง 100 ตัว แพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปแอฟริกา หากินตามพื้นดินมากกว่าจะขึ้นต้นไม้ จะบินหรือขึ้นต้นไม้ต่อเมื่อจำเป็น เช่น หนีศัตรู มักอาศัยอยู่ตามป่าโปร่งและทุ่งหญ้าสะวันนา ในธรรมชาติมักตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อชนิดต่าง ๆ เช่น ลิงบาบูน, เสือชีตาห์, ไฮยีนา, หมาจิ้งจอก, เสือดาว และนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามและบริโภคเนื้อและไข่เป็นอาหารสำหรับมนุษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และไก่ต๊อก · ดูเพิ่มเติม »

ไก่เถื่อน

ก่เถื่อน หรือ ไก่ป่า เป็นสกุลของสัตว์ปีกที่บินไม่ได้ ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Gallus ซึ่งเป็นภาษาละตินที่หมายถึง "ไก่ตัวผู้" ไก่เถื่อน มีลักษณะสำคัญแตกต่างจากไก่สกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน คือ บนหัวมีหงอนที่เป็นเนื้อไม่ใช่ขน มีเหนียงทั้ง 2 ข้างห้อยลงมาที่โคนปากและคาง ที่บริเวณใบหน้าและคอเป็นหนังเกลี้ยงไม่มีขน ขนตามลำตัวมีสีสันสวยงาม ขนหางตั้งเรียงกันเป็นสันสูงตรงกลาง มีขนหาง 14-16 เส้น เส้นกลางยาวปลายแหลมและอ่อนโค้ง ที่แข้งมีเดือยแหลมข้างละอันเป็นอาวุธที่ใช้ในการป้องกันตัว มีความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจน โดยตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้และขนมีสีไม่ฉูดฉาดเท่าตัวผู้ แข้งไม่มีเดือย หงอนและเหนียงมีขนาดเล็กเห็นชัดเจน พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ทวีปยูเรเชีย จนถึงอนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ และภาคใต้ของจีน เช่น มณฑลยูนนาน โดยพบทั้งผืนแผ่นดินใหญ่และส่วนที่เป็นเกาะหรือหมู่เกาะ ไก่ในสกุลนี้ ถือได้ว่าเป็นไก่ที่ผูกพันกับมนุษย์มาอย่างยาวนาน โดยมีหลักฐานว่ามนุษย์ได้นำไก่ในสกุลนี้มาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในครัวเรือน เพื่อการบริโภคเป็นเวลานานกว่า 4,000 ปีมาแล้วในยุคเมโสโปเตเมีย หรือในสมัยสุโขทัย ในประวัติศาสตร์ไทย การล่าไก่ป่าถือเป็นวิถีการดำรงชีวิตอย่างหนึ่งของผู้คนในสมัยนั้น ก่อนที่จะมีการพัฒนาสายพันธุ์จนมาเป็นไก่บ้านอย่างในปัจจุบัน และในส่วนการเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามและความเพลินเพลินก็พัฒนามาเป็นไก่แจ้หรือไก่ชน ที่มีการจิกตีกันเป็นการละเล่นในหลายวัฒนธรรม.

ใหม่!!: สปีชีส์และไก่เถื่อน · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบ

ฝักและเมล็ดของไมยราบ ไมยราบ (อ่านว่า "ไม-ยะ-ราบ") (มาจากภาษาละติน: pudica แปลว่า "อาย ชมดชม้อย เหนียมอาย หรือหดลง") ภาษาอังกฤษ: sensitive plant, sleepy plant หรือ the touch-me-not ก็เรียก เป็นพืชล้มลุก ต้นสีน้ำตาลแดง แผ่ไปตามพื้น ชูยอดขึ้นข้างบน ต้นมีหนามขนาดสั้น ใบประกอบ ดอกเป็นช่อกลมสีชมพู ก้านดอกยาว ฝักยาวเรียวแบน มีขนเหนียวติดมือ เมล็ดสีน้ำตาลอ่อน ไมยราบมักถูกปลูกขึ้นตามความอยากรู้อยากเห็นของผู้ปลูก โดยที่ใบประกอบสามารถพับเข้าหากันด้านใน หรือหุบได้ เมื่อถูกสัมผัส หรือเขย่า เพื่อป้องกันตนเองจากภัยคุกคามต่าง ๆ และจะบานออกอีกครั้งเมื่อผ่านไปราวหนึ่งนาที พืชในตระกูลใกล้เคียงกันและมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันได้แก่ ผักกระเฉด ในทางสมุนไพร ไมยราบมีรสจืดเฝื่อน มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ระดูขาว แก้ไตพิการ ต้นแห้งต้มกับน้ำกินแก้อ่อนเพลีย ตานขโมย โรคกระเพาะอาหาร ใช้ทาแก้ผื่นคันและหัด ใบสดตำผสมกับเกลือและพิมเสน ใช้พอกแผลพุพอง รากแห้ง ต้มน้ำแก้ปวดประจำเดือน ปวดศีรษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และไมยราบ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครแรปเตอร์

มโครแรปเตอร์ (Microraptor; ศัพทมูลวิทยา: ภาษากรีก, μίκρος, mīkros: "เล็ก"; ภาษาละติน, raptor: "ผู้ที่คว้าที่หนึ่ง") เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์โดรมีโอซอร์ (Dromaeosauridae) เช่นเดียวกับเวโลซีแรปเตอร์ ไมโครแรปเตอร์ มีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์ผสมนกมีขนปกคลุมลำตัวเหมือนนก ขนาดลำตัวเท่า ๆ กับนกพิราบ มีปีกทั้งหมด 4 ปีก (ขาหน้า 2 ปีก และขาหลัง 2 ปีก) มีขนหางที่เรียวยาว และเชื่อว่าดำรงชีวิตและหากินบนต้นไม้เป็นหลัก รวมถึงทำรังบนต้นไม้ และมีหลักฐานว่าจับนกในยุคก่อนประวัติศาสตร์กินเป็นอาหาร จากการพบซากในส่วนที่เป็นกระเพาะ ไมโครแรปเตอร์ ไม่สามารถบินได้ แต่จะใช้ปีกและขนร่อนไปมาเหมือนสัตว์ในยุคปัจจุบันหลายชนิดเช่น กระรอกบิน หรือบ่างChatterjee, S., and Templin, R.J. (2007).

ใหม่!!: สปีชีส์และไมโครแรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรทะเล

รทะเล หรือ อาร์ทีเมีย หรือ ไรน้ำเค็ม หรือ ไรน้ำสีน้ำตาล (Brine shrimp, Sea-monkey) เป็นสัตว์น้ำจำพวกครัสเตเชียนสกุลหนึ่ง ที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ไรทะเล เป็นครัสเตเชียน ในสกุล Artemia ถือกำเนิดในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนมานานกว่า 5.5 ล้านปีมาแล้ว ลักษณะเป็นสัตว์สีน้ำตาลแดงหรือสีน้ำตาลส้ม ไม่มีเปลือกแข็งหุ้มตัว มีเพียงเนื้อเยื่อบาง ๆ เท่านั้นที่หุ้มตัว ว่ายน้ำเคลื่อนที่ในลักษณะหงายท้อง ลำตัวเรียวยาวคล้ายใบไม้แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว แบ่งออกได้เป็น 6 ปล้อง ปล้องแรกเป็นที่ตั้งของตาเดียวและตารวม มีก้านตา 1 คู่ ปล้องที่ 2 เป็นที่ตั้งของหนวดคู่แรก ปล้องที่ 3 เป็นที่ตั้งของหนวดคู่ที่ 2 ปล้องที่ 4 เป็นกราม ปล้องที่ 5 เป็นฟันคู่แรก ปล้องที่ 6 เป็นฟันคู่ที่ 2 ส่วนอกแบ่งออกเป็น 11 ปล้อง แต่ละปล้องประกอบด้วยระยางค์ เป็นอวัยวะทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ การหายใจและการกรองรวบรวมอาหาร ส่วนท้องแบ่งออกได้ 8 ปล้อง ปล้องแรกเป็นที่ตั้งของอวัยวะเพศ ปล้องที่ 2-7 ไม่มีระยางค์ ปล้องที่ 8 มีแพนหาง 1 คู่ โดยปกติเมื่อโตเต็มวัย เพศผู้จะมีขนาดเล็กกว่าเพศเมีย และจะมีหนวดคู่ที่ 2 ขนาดใหญ่กว่ารูปร่างคล้ายตะขอใช้เกาะจับเพศเมีย บริเวณปล้องแรกของส่วนท้องของเพศผู้จะมีอวัยวะเพศผู้อยู่ 1 คู่ ในเพศเมียตัวเต็มวัย หนวดคู่ที่ 2 จะมีขนาดเล็กลง และเปลี่ยนมาทำหน้าที่รับความรู้สึก บริเวณปล้องแรกของส่วนท้องจะมีอวัยวะเพศเมียทำหน้าที่เก็บตัวอ่อนหรือเก็บไข่ ไรทะเลสืบพันธุ์ได้ทั้งอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ให้ลูกทั้งแบบเป็นตัว โดยจะมีไข่ฟักเป็นตัวภายในมดลูก ไข่ไม่มีเปลือกหนาแข็งหุ้ม สามารถวางไข่ได้ครั้งละ 300-500 ฟอง ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์, ความสมบูรณ์ของไรทะเล หรืออุณหภูมิของสภาพแวดล้อมที่อาศัย ใช้เวลาประมาณ 48 ชั่วโมง ในการฟักเป็นตัว ไรทะเล มีถิ่นกำเนิดในทะเลสาบน้ำเค็ม ในสหรัฐอเมริกา, ยุโรป และจีน ไม่พบในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และไรทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ไรน้ำนางฟ้า

รน้ำนางฟ้า (Fairy shrimp) เป็นครัสเตเชียนจำพวกแบรงคิโอโพดาจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Streptocephalus และวงศ์ Streptocephalidae มีลักษณะคล้ายไรทะเลหรืออาร์ทีเมีย แต่มีขนาดตัวโตกว่า คือ ไม่มีเปลือก ตัวใส มีขาว่ายน้ำ 11 คู่ ลำตัวยาว 1 - 3 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย และมีพฤติกรรมว่ายน้ำแบบหงายท้องโดยใช้ขาช่วยกรรเชียงนำโบก พัดอาหารเข้าปาก บริเวณหัวมีตาขนาดใหญ่ที่มีก้านยาว 1 คู่ มีหนวด 2 คู่ ส่วนหางแยกเป็นสองแฉกมีสีแดงส้ม ตัวเมียมีถุงไข่ 1 ถุง อยู่ทางด้านท้อง หนวดคู่ที่ 2 ของตัวผู้เปลี่ยนแปลงไปใช้สำหรับจับตัวเมียเวลาผสมพันธุ์ และใช้ในการจำแนกชนิด ไข่ที่ตัวเมียสร้างขึ้นจะพัฒนาให้มีเปลือกหนา ไรน้ำนางฟ้า จะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดต่าง ๆ ที่มีขนาดเล็ก เช่น คูน้ำข้างถนน หรือนาข้าว แม้กระทั่งแหล่งน้ำชั่วคราว เช่น ปลักควาย หรือรอยเท้าควายในเลน ยามฤดูฝน อาหารของไรน้ำนางฟ้า ได้แก่ แพลงก์ตอนสัตว์, โปรโตซัว, อินทรียสารและแพลงก์ตอนพืช ฤดูที่พบ คือ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงสิงหาคม คือ ในฤดูฝน วงจรชีวิต คือ ไข่มีเปลือกหนา เป็นซีส ฝังอยู่ในพื้นดินหรือโคลน โดยจะพบในบ่อเล็กบ่อน้อย เมื่อน้ำท่วมขังก็จะฟักเป็นตัวออกมา ส่วนแหล่งน้ำขนาดใหญ่จะไม่พบไรน้ำนางฟ้า ไรน้ำนางฟ้าจะมีชีวิตอยู่ได้ในระยะเวลาสั้น ๆ ไม่กี่สัปดาห์เท่านั้น ไรน้ำนางฟ้า แบ่งออกได้ราว ๆ 50-60 ชนิด (ดูเนื้อหาข้างล่าง) พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ แอฟริกา, ออสเตรเลีย, ยูเรเชีย, อเมริกากลาง และอเมริกาเหนือ ซึ่งเดิมเคยเป็นมหาทวีปกอนด์วานา เป็นต้น ส่วนในประเทศไทย มีทั้งหมด 3 ชนิด ซึ่งทั้ง 3 ชนิดนั้น ล้วนแต่เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นทั้งหมด ได้แก่ ไรน้ำนางฟ้าสิรินทร (Streptocephalus sirindhornae) พบครั้งแรกที่จังหวัดหนองบัวลำภู และพบได้ทั่วประเทศ, ไรน้ำนางฟ้าไทย (Branchinella thailandensis) มิได้จัดอยู่ในสกุล Streptocephalus ไข่มีขนาดใหญ่กว่าไรน้ำนางฟ้าสิรินธรสองเท่า และไรน้ำนางฟ้าสยาม (Streptocephalus siamensis) พบครั้งแรกที่จังหวัดสุพรรณบุรี และกาญจนบุรี เป็นชนิดที่หาได้ยากมาก นอกจากนี้แล้วยังพบได้ที่ประเทศลาว ไรน้ำนางฟ้า มีคุณค่าทางสารอาหารสูง ปัจจุบันได้มีการเพาะเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารให้แก่สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั้งเป็นอาหารให้แก่ตัวอ่อน, เป็นอาหารให้แก่สัตว์น้ำเศรษฐกิจ และสัตว์น้ำสวยงาม โดยปัจจุบันสามารถเพาะเลี้ยงได้แล้วตลอดทั้งปี นอกจากนี้แล้ว ไรน้ำนางฟ้ายังมีชื่อเรียกตามภาษาถิ่นต่าง ๆ เช่น "แมงอ่อนช้อย", "แมงแงว", "แมงหางแดง" และ"แมงน้ำฝน" เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และไรน้ำนางฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ไรแดง

ทความนี้หมายถึงไรที่เป็นสัตว์น้ำ หากไรที่เป็นแมง ดูที่: ไร ไรแดง หรือ ไรน้ำจืด หรือ ลูกไร เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกครัสเตเชียนสกุลหนึ่ง โดยอยู่ในสกุล Moina ถือเป็นแพลงก์ตอนสัตว์อย่างหนึ่ง อาศัยอยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำจืด มีขนาดโดยทั่วไป 0.4–1.8 มิลลิเมตร ลำตัวมีสีแดงเรื่อ ๆ ถ้าอยู่รวมกันเป็นจำนวนมากจะมองเห็นเป็นกลุ่มสีแดงเข้ม ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย ลำตัวอ้วนเกือบกลมมีขนาดโดยเฉลี่ย 1.3 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวผู้มีขนาดเล็กและค่อนข้างยาวกว่า มีขนาดเฉลี่ย 0.5 มิลลิเมตร ตัวอ่อนของไรแดงเมื่ออกมาจากไข่ใหม่ ๆ จะมีขนาด 0.22–0.35 มิลลิเมตร มีสีจางกว่าตัวเต็มวัย ไรแดงนิยมให้เป็นอาหารปลาทั้งปลาสวยงาม และปลาเศรษฐกิจ โดยเป็นอาหารที่เหมาะมากสำหรับลูกปลาวัยอ่อน และเป็นอาหารถ่ายท้องแก้ปัญหาท้องผูกของปลา คุณค่าทางสารอาหารของไรแดง ประกอบไปด้วย โปรตีนร้อยละ 74.09, คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 12.50, ไขมันร้อยละ 10.19 และเถ้าร้อยละ 3.47 ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์ไรแดงเป็นสัตว์เศรษฐกิจเพื่อส่งขายเป็นอาหารปลาทั่วไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และไรแดง · ดูเพิ่มเติม »

ไลลัก

ลลัก (Lilac) หรือ ซิริงกา (Syringa) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลSyringaในวงศ์มะลิที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 ถึง 25 สปีชีส์ เป็นพืชยืนต้นที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรปและเอเชียFlora Europaea: Flora of China: Flora of Pakistan: Germplasm Resources Information Network: ไลลักเป็นพืชผลัดใบแบบพืชพุ่มหรือพืชต้นขนาดเล็กที่สูงตั้งแต่ราว 2 ถึง 10 เมตร และมีลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 20 ถึง 30 เซนติเมตร ออกดอกในฤดูใบไม้ผลิต้นฤดูร้อนแล้วแต่สายพันธุ์ แต่ละดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 5 ถึง 10 เซนติเมตร สีม่วงต่าง ๆ ชมพู ขาว นวล และบางครั้งแดงเข้ม.

ใหม่!!: สปีชีส์และไลลัก · ดูเพิ่มเติม »

ไลโอพลัวเรอดอน

ลโอพลัวเรอดอน (Liopleurodon; IPA: /ˌlaɪ.ɵˈplʊərədɒn/) ความหมายชื่อคือ"กิ้งก่าฟันเรียบด้าน"เป็นสกุลกิ้งก่าทะเลในตระกูลสัตว์เลื้อยคลานที่เรียกกันว่าไพลโอซอร์ซึ่งมีชีวิตอยู่ในกลางยุคจูราสสิค ประมาณ 160-158 ล้านปีก่อน ช่วงกลางยุคมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดชื่อ Liopleurodon ferox และ Liopleurodon pachydeirus ส่วนอีกชนิดชื่อ Liopleurodon rossicus อยู่ในช่วงปลายยุคจูราสสิค แต่ทั้งหมดล้วนเป็นกลุ่มนักล่าที่ยิ่งใหญ่แห่งท้องทะเลที่ครอบคลุมพื้นที่ ยุโรป ซึ่งแหล่งฟอสซิลที่สำคัญ ได้แก่ ฝรั่งเศส อังกฤษ เยอรมนี และรัสเซีย แต่มักเป็นตัวอย่างที่ไม่สมบูรณ์นัก ขนาดตัวของไลโอพลัวเรอดอนประเมินได้จากฟอสซิลกะโหลก ศีรษะที่มีความยาวประมาณ 1 ใน 7 ของลำตัว จากกะโหลกใหญ่สุดของ L. ferox ที่ยาวถึง 1.5 เมตร ทำให้เชื่อว่าตัวเต็มๆของมันคงยาวได้ประมาณ 10 เมตร แต่โดยรวมแล้วลีโอพลูโรดอนตัวยาวได้ระหว่าง 7-11.3 เมตร อย่างไรก็ดี ข้อมูลจากบีบีซีบอกว่าไลโอพลัวเรอดอนบางตัวสามารถยาวได้ถึง 18 เมตร ขณะที่มีน้ำหนักตัวอยู่ระหว่าง 2.5-5 ตัน ส่วนรูปลักษณ์ของไลโอพลัวเรอดอนมีขาเป็นพายแข็งแรง เหมือนกิ้งก่าทะเลทั่วไป แสดงให้เห็นว่ามันสามารถว่ายน้ำได้เร็วมากจากพลังขับดันของขา นอกจากนี้ยังมีขากรรไกรยาวพร้อมฟันแหลมคม และสามารถรับรู้กลิ่นได้ดี โดยมันจะได้กลิ่นเหยื่อตั้งแต่ระยะไกล สัตว์นักล่าขนาดยักษ์นี้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในทะเล แม้ต้องหายใจเอาอากาศเข้าไป และไม่สามารถขึ้นจากน้ำได้ แต่จะอยู่ในเขตน้ำตื้นเวลาผสมพันธุ์และออกลูกเป็นตัว นอกจากนี้มันยังแอบซุ่มในเขตน้ำตื้นเพื่อรอเหยื่อด้วย ซึ่งมีทั้งกลุ่มจระเข้ทะเล ปลาใหญ่ลีดส์อิชธีส์ หรือแม้แต่ไพลโอซอร์ด้วยกันเอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และไลโอพลัวเรอดอน · ดูเพิ่มเติม »

ไวมานู

วมานู (Waimanu)เป็นสกุลของเพนกวินในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ถือเป็นบรรพบุรุษของเพนกวินในปัจจุบัน ใช้ชื่อสกุลว่า Waimanu ไวมานูมีชีวิตอยู่ในสมัยพาลีโอซีนเมื่อกว่า 60 ล้านปีก่อน ไวมานูมีชีวิตอยู่หลังเหตุการณ์การสูญพันธุ์ในยุคครีเทเชียส-เทอร์เชียรี และถือได้ว่าเป็นต้นแบบให้แก่นกขากรรไกรแบบใหม่ ไวมานู เป็นนกที่มีปีกขนาดเล็ก ไม่สามารถใช้บินได้ แต่กลับใช้ได้ดีเมื่อแหวกว่ายอยู่ในน้ำ จึงทำให้กลายเป็นนกน้ำ และหากินในน้ำเป็นหลัก ไวมานูมีรูปร่างที่เพรียวยาว มีจะงอยปากเรียวยาว ซึ่งไม่เหมือนกับเพนกวินในปัจจุบันเลย ฟอสซิลของไวมานูถูกค้นพบครั้งแรกในชั้นหินที่แม่น้ำไวปารา ที่แคนเทอเบอรี่ ในนิวซีแลนด์ เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และไวมานู · ดูเพิ่มเติม »

ไส้เดือนดิน

้เดือนดิน หรือไส้เดือน หรือรากดิน (earthworm) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมแอนเนลิดา ในอันดับย่อย Lumbricina มีลักษณะลำตัวเป็นข้อปล้อง พบได้ทั่วไปในดิน ใต้กองใบไม้ หรือใต้มูลสัตว์ เป็นสัตว์ที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน มีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ ปัจจุบันพบทั่วโลกประมาณ 4,400 ชนิด โดยแบ่งออกได้ตามลักษณะแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: สปีชีส์และไส้เดือนดิน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮยีน่า

ีนา (hyena; มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า ὕαινα ออกเสียงว่า /ฮือไอนา/ หรือ /ฮือแอนา/) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Hyaenidae ไฮยีนา มีลักษณะและรูปร่างโดยรวมคล้ายกับสุนัขหรือหมาป่า ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อที่อยู่ในวงศ์ Canidae แต่ไฮยีนาก็ไม่ใช่สุนัข หากแต่เป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์ของตนเองต่างหาก โดยอยู่ในอันดับย่อย Feliformia ซึ่งใกล้เคียงกับแมวและเสือ (Felidae) มากกว.

ใหม่!!: สปีชีส์และไฮยีน่า · ดูเพิ่มเติม »

ไฮดรา (สกุล)

รา (Hydras) เป็นสัตว์น้ำชนิดหนึ่ง ลำตัวยาวประมาณ 0.5-1 นิ้ว สืบพันธุ์ด้วยการแตกหน่อ พบได้ในแหล่งน้ำนิ่งดำรงชีวิต อย่างง่าย ๆ ตามคูน้ำ หรือสระน้ำ ซึ่งมีระบบอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน เราจัดไฮดราให้อยู่ในจำพวกเดียวกับแมงกะพรุนแต่มีขนาด ตัวเล็กกว่าแมงกะพรุนมาก โดยเฉพาะลำตัวไฮดราจะใสจึงยากแก่การสังเกตสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ มีลำตัวยาวเป็นรูปทรงกระบอกสูง มีลักษณะสมมาตรแบบรัศมี ปลายด้านหนึ่งประกอบด้วยหนวดเส้นเล็กล้อมรอบปาก โดยไฮดราจะใช้หนวดมัดอาหารเข้าทางช่อง ปากเพื่อเข้าในช่องว่างภายในลำตัว อาหารของไฮดราคือ ไรน้ำ (Daphia) หรือลูกไร (Cyclops) นอกจากหนวดของไฮดราจะทำหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนที่ และจับอาหารแล้ว บริเวณหนวดของไฮดรามีบางเซลล์เปลี่ยนไปเป็นเข็มพิษ เมื่อไฮดรา ต้องการล่าเหยื่อ หรือทำลายศัตรูก็จะใช้หนวดปกป้องตัวเอง โดยใช้หนวดรัดและปล่อยเข็ม พิษออกมา แต่เข็มพิษของไฮดรา ไม่ทำให้มนุษย์เกิดการเจ็บปวดแต่อย่างไร ลำตัวของไฮดราบางครั้งจะพบปุ่มเล็ก ๆ ยื่นยาวออกมาข้างลำตัว เรียกกันทั่วไปว่า หน่อ (Bud) หน่อเหล่านี้สามารถหลุดออกมาเจริญเป็นตัวไฮดราใหม่ได้ เรียกการสืบพันธุ์วิธีนี้ว่าการแตกหน่อ (Budding) แต่ไฮดราก็มีอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (testis) ซึ่งเป็นปุ่มเล็ก ๆ อยู่ตอนบนของลำตัว และมีอวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย (Ovary) ซึ่งเป็นปุ่มเล็ก ๆ อยู่ตอนล่างไว้สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้อีกด้วย ลำตัวของไฮดราจะประกอบไปด้วยเซลล์หลาย ๆ เซลล์ จัดเรียงเป็นเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอกสุด (ectoderm) จะมีเซลล์ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้ในเรื่องการรับสัมผัส ส่วนเนื้อเยื่อชั้นใน (endoderm) จะมีเซลล์ทำหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยสลายอาหาร ฮไดรา.

ใหม่!!: สปีชีส์และไฮดรา (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ไฮแรกซ์หิน

แรกซ์หิน (Rock hyrax, Cape hyrax, Rock rabbit, Dassie) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) และวงศ์ Procaviidae จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Procavia มีรูปร่างคล้ายหนูตัวใหญ่ ๆ หรือกระต่าย มีหางสั้น มีขนหนานุ่มสีน้ำตาลเพื่อควบคุมอุณหภูมิร่างกาย เมื่อโตเต็มที่มีขนาดลำตัวตั้งแต่ 30–70 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2–5 กิโลกรัม กินพืชเป็นอาหาร ทั้ง ใบไม้, หญ้า และเมล็ดพืชชนิดต่าง ๆ และสามารถกินพืชที่มีหนามและมีพิษได้ด้วย ไฮแรกซ์หินพบทั่วไปในทวีปแอฟริกา ในหลากหลายภุมิประเทศทั้งทะเลทราย, ป่าฝน และป่าสน และพบไปถึงบางส่วนในตะวันออกกลาง เช่น ซาอุดิอาระเบีย, โอมาน มีระยะเวลาตั้งท้องนาน 7–8 เดือน ออกลูกได้ครั้งละ 1–2 ตัว อายุ 5 เดือนจึงหย่านม มีอายุเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ประมาณ 17–18 เดือน อาศัยอยู่เป็นฝูงหรือครอบครัวเล็ก ๆ โดยมีตัวผู้ 1 ตัว เป็นผู้นำ และตัวเมียหลายตัว มีพฤติกรรมปีนป่ายโขดหิน และอาศัยอยู่ในโพรงหินหรือถ้ำขนาดเล็ก อันเป็นที่มาของชื่อ ชอบที่จะนอนอาบแดดในเวลาเช้า ก่อนจะออกหาอาหาร กับถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ ไฮแรกซ์หิน เป็นสัตว์ที่มีความตื่นตัวระแวดระวังภัยสูง เนื่องด้วยเป็นสัตว์ที่ตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่เสมอ ๆ รวมถึงนกล่าเหยื่อด้วย เช่น เหยี่ยวหรืออินทรี แต่เป็นสัตว์ที่ไม่ตื่นกลัวมนุษย์ มักจะเข้ามาหาอาหารในชุมชนของมนุษย์อยู่เสมอ ๆ ในประเทศไทย มีไฮแรกซ์หินแสดงที่สวนสัตว์เชียงใหม.

ใหม่!!: สปีชีส์และไฮแรกซ์หิน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮแรกซ์ต้นไม้

แรกซ์ต้นไม้ (Tree hyraxes, Tree dassies) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในสกุล Dendrohyrax เป็นไฮแรกซ์สกุลหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับไฮแรกซ์ทั่วไป หรือไฮแรกซ์หิน แต่ไฮแรกซ์ต้นไม้จะมีสีขนลำตัวที่อ่อนกว่าโดยสอดคล้องไปกับสภาพแวดล้อม และมีส่วนของใบหน้ายื่นยาวกว่า เป็นสัตว์หากินกลางคืนที่มีความใกล้เคียงกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยขนมขนาดใหญ่ คือ ช้าง, พะยูน รวมถึงมานาที นิ้วตีนมีทั้งหมด 4 นิ้วในตีนหน้า และ 3 นิ้วในตีนหลัง มีเล็บกลมมนและฝ่าตีนที่เหมือนแผ่นยางใช้สำหรับในการป่ายปีนต้นไม้เพื่อหากิน ตัวผู้มีการส่งเสียงร้องที่ดังเพื่อประกาศอาณาเขต ขณะที่ตัวเมียก็สามารถส่งเสียงได้แต่ขาดถุงอากาศและกล่องเสียงเหมือนตัวผู้จึงทำเสียงได้เบากว่า โดยเฉลี่ยจะส่งเสียงร้องสองครั้งต่อคืน ในช่วงแรกราว 2–3 ชั่วโมงหลังจากตกค่ำ และต่อมาอีกครั้งในช่วงหลังเที่ยงคืนไปแล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และไฮแรกซ์ต้นไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่

ผ่ เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญ้า (วงศ์ Poaceae; เดิมคือวงศ์ Gramineae) วงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบใน ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้องๆ เช่น ไผ่จีน (Arundinaria suberecta Munro) ไผ่ป่า (Bambusa arundinacea Willd.) ไผ่สีสุก (B. flexuosa Munro และ B. blumeana Schult.) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata Munro) ไผ่ดำ (Phyllostachys nigra Munro) ผลผลิตจากไผ่ที่สำคัญคือ หน่อไม้ ซึ่งเป็นอาหารสำคัญของคนไทย นิยมทานกันมากในเกือบทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและอีสาน นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังมีคุณสมบัติพิเศษทั้งด้านความแข็งแรงและยืดหยุ่นที่เหนือกว่าวัสดุสังเคราะห์หลายชนิด ดังนั้นจึงยังได้รับความนิยมในการทำเครื่องมือเครื่องใช้หลายประเภท ใช้ชะลอน้ำที่เข้าป่าชายเลน นั่งร้านก่อสร้างและบันได เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไจกาโนโทซอรัส

ขนาดของไจแกนโนโทซอรัสเมื่อเทียบกันไดโนเสาร์กินเนื้ออื่น (สีส้ม) ไทแรนโนซอรัส เร็กซ์ คือภาพที่ไจกาโนโทซอรัสเห็นไม่ทับซ้อนกัน ทำให้มองลำบากเพราะกะระยะไม่ถูกนัก จากการสำรวจพบว่าไจกาโนโทซอรัสเป็นสัตว์เลือดอุ่น หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส ไดโนเสาร์ โครงบรรพชีวินวิทยา.

ใหม่!!: สปีชีส์และไจกาโนโทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไทรออปส์

ทรออปส์ (Triops) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกสัตว์ขาปล้องประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในไฟลัมครัสตาเซียนเช่นเดียวกับ กุ้ง หรือ ปู และอยู่ในอันดับ Notostraca ในวงศ์ Triopsidae ไทรออปส์ เป็นสัตว์น้ำขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด มีรูปร่างประหลาดคล้ายแมงดาทะเล จึงมีผู้เรียกว่า "แมงดาทะเลน้ำจืด" หรือ "กุ้งไดโนเสาร์" เนื่องจากเป็นสัตว์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างมาตั้งแต่ยุคคาร์บอนิฟอรัส ราว 300 ล้านปีมาแล้ว จัดได้ว่าเป็นฟอสซิลที่มีชีวิตอีกจำพวกหนึ่งได้ ไทรออปส์ จัดอยู่ในสกุล Triops แบ่งออกได้ทั้งสิ้น 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และไทรออปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทรเซราทอปส์

นาดของไทรเซราทอปซ์เมื่อเทียบกับมนุษย์ ไทรเซราทอปส์ (triceratops) เป็นไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่ในปลายยุคครีเทเชียสราว 68-65ล้านปีมันเป็น1ในไดโนเสาร์ชนิดสุดท้าย ไทรเซราทอปส์เป็นไดโนเสาร์ขนาดใหญ่หนักราว6-8ตันและยาวได้กว่า6-10เมตรโดยทั่วไปแล้วไทรเซราทอปส์จะกินเฟริน สนซึ่งเป็นพืชเนื้อหยาบมันมีจะงอยปากคล้ายนกแก้วไว้ตัดพืช และมันจะกลืนหินไปในกระเพาะเพื่อบดอาหารหินนี้เรียกว่า แกสโตรลิท ไทรเซราทอปส์มีวิถีชีวิตคล้ายแรดอยู่รวมเป็นฝูงเล็มอาหารเมื่อถูกคุกคามจากนักล่า เช่น ไทรันโนซอรัส จะหันหน้าเป็นวงกลมให้ตัวอ่อนแอและเด็กอยู่ในวงล้อม หากศัตรูเข้ามาทางใดจะพุ่งชนด้วยแรงชนกว่า6ตัน ไทรเซราทอปส์มีเขา3เขาอยู่บนหัวเขาแรกยาว20เซนติเมตรอยู่เหนือจมูก ส่วน2เขาหลังอยู่ที่ตายาวราว1เมตรแทงเพียงครั้งเดียวอาจถึงตาย บางตัวเขาอาจยาวกว่า2เมตร แต่ด้วยพละกำลังและขนาดเป็น2เท่าของช้างนักล่าส่วนใหญ่จึงไม่ค่อยโจมตีมัน แต่มันมีจุดอ่อนที่แผงคอทำให้มันมองหลังไม่ดีแต่หากโจมตีข้างหน้าสถานการจะกลับกัน ไทรเซราทอปส์กินค่อนข้างมากเฉลี่ยถึง500กิโลกรัม มันมีชื่อเสียงพอๆกับที-เร็กซ์และมักเห็นภาพมันเข้าปะทะกับที-เร็กซ์ทำให้เจ้า3เขาตัวนี้ได้คำขนานนามว่า คู่ปรับแห่งราชาไดโนเสาร์ นอกจากนี้มันยังเป็นพระเอกในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องไดโนคิง (DINOSAUR KING) อีกด้วย ไทรเซราทอปส์มีชื่อเต็มว่าไทรเอราทอปส์ ฮอริดัส ฟอสซิลของไทรเซราทอปส์ตัวแรกพบโดยมารช์ คู่แข็งของโคป ในสงครามกระดูกไดโนเสาร์ ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ได่สันนิฐานว่า ไทรเซราทอปส์ น่าจะใช้เขาขวิดศัตรูแบบวัวกระทิง เนื่องจากกะโหลกของมันบาง หากใช้วิธีพุ่งชนแบบแรดอาจจะทำให้กะโหลกของมันแตกได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และไทรเซราทอปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไททันโนซอรัส

ททันโนซอรัส (Titanosaurus) จัดเป็นไดโนเสาร์กินพืชในกลุ่มซอโรพอด ลำตัวยาว 9-12 เมตร นำหนัก 13 ตัน เกิดในยุคครีเทเชียสตอนปลาย พบทางตอนใต้ของทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาใต้ ไททันโนซอรัส มีลำตัวขนาดใหญ่ คอยาวหนา หางยาว เดิน 4 ขา เชื่องช้า มักอาศัยอยู่รวม - กันเป็นฝูง กินพืชเป็นอาหาร สมองขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับขนาดลำตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และไททันโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไดพลอโดคัส

ลอโดคัส () หรือ กิ้งก่าสันคู่ วงศ์ ดิพโพลโดซิเด อันดับแยกย่อย ซอโรโพดา อันดับย่อย ซอโรโพโดมอพา อันดับ ซอริสเชีย เป็นไดโนเสาร์ ตระกูลซอโรพอดเช่นเดียวกับ อะแพทโตซอรัสและ มีชื่อเสียงพอๆกัน ในด้านความยาวขนาดตัว ขนาดใหญ่โตเต็มที่ยาว 25-27 เมตร(David Gillete คำนวณขนาดมันว่า ใหญ่ได้มากที่สุด 33 เมตร) แต่หนักแค่ 10-12 ตัน ถือว่าเป็นซอโรพอดที่เบาที่สุด อาศัยอยู่กลางถึงปลายยุคจูแรสซิก 150 - 147 ล้านปีก่อน ไดพลอโดคัส เป็นสายพันธุ์ที่แยกประเภทได้ง่าย เนื่องจาก ลักษณะตามแบบไดโนเสาร์ ศีรษะขนาดเล็ก เตี้ย และเอียงลาด ตาลึก รูจมูกอยู่เหนือตา จมูกกว้าง คอและหางยาว ปลายแส้ที่หางยาวมากกว่า อะแพทโตซอรัส ขา 4 ข้างที่ใหญ่โตเหมือนเสา ลักษณะที่โดดเด่นคือ เงี่ยงกระดูกเป็นคู่ที่ยื่นโผล่ออกมาจากกระดูกสันหลังตั้งแต่หลังคอเรียงรายไปถึงหาง หลายปีก่อน ไดพลอโดคัส เคยเป็น ไดโนเสาร์ที่ตัวยาวที่สุด ขนาดตัวมหึมาของมัน เป็นอุปสรรคระดับหนึ่งต่อนักล่า อย่าง อัลโลซอรัส พบที่อเมริกาเหนือ อยู่ในยุคจูราสสิคตอนปล.

ใหม่!!: สปีชีส์และไดพลอโดคัส · ดูเพิ่มเติม »

ไดโลโฟซอรัส

ลโฟซอรัส (Dilophosaurus) หงอนของมันจะมีเฉเพาะตัวผู้เท่านั้น มีไว้อวดตัวเมียเวลาผสมพันธุ์ ชื่อของมันมีความหมายว่ากิ้งก่ามีหงอน พบที่ทวีปอเมริกาเหนือและประเทศจีน อาศัยอยู่ในยุคจูราสสิคตอนต้นเมื่อประมาณ 208 ล้านปีก่อน ยาวประมาณ 6-7 เมตร มันมีฟันหน้าอันแหลมคมที่นักบรรพชีวินวิทยาเชื่อว่ามีไว้สำหรับฉีกเนื้อมากกว่าการขย้ำหรือขบกัด ส่วนหงอนบนหัวไว้สำหรับโอ้อวดตัวเมีย เวลาผสมพันธุ์ ไดโลโฟซอรัส เป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วจากไปจากการปรากฏตัวใน ภาพยนตร์เรื่อง จูราสสิค พาร์ค โดยภายในภาพยนตร์ได้มีการแสดงว่า ไดโลโฟซอรัส สามารถพ่นพิษออกจากปากได้(คล้ายงูเห่าแอฟริกา) แต่เป็นเพียงเพื่อการเพิ่มอรรถรสในการชมเท่านั้น ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ยังไม่มีข้อมูลยืนยันว่า ไดโลโฟซอรัสสามารถพ่นพิษหรือกางแผงคอ ได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และไดโลโฟซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไดโปรโตดอน

ปรโตดอน หรือ วอมแบตยักษ์ หรือ วอมแบตแรด (giant wombat, rhinoceros wombat) เป็นชื่อเรียกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่จำพวกหนึ่ง ในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ซึ่งเคยได้พบที่ทวีปออสเตรเลียเมื่อกว่า 40,000 ปีก่อน แต่ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วไดโปรโตดอนเป็นสัตว์เลีี้ยงลูกด้วยนมมีกระเป๋าหน้าท้องที่ใหญ่ที่สุดและมันเป็นอาหารของนักล่าอย่าง สิงโตมาซูเฟียว และ เมกะลาเนีย ไดโปรโตดอน จัดอยู่ในสกุล Diprotodon มีรูปร่างลักษณะคล้ายตัววอมแบต แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก กล่าวคือ มีความสูงจากพื้นดินถึงหัวไหล่ประมาณ 2 เมตร ลำตัวยาว 3 เมตร น้ำหนักราว 3 ตัน ขณะที่วอมแบตทั่วไปสูงเพียง 25 เซนติเมตร ยาวเกือบ 1 เมตร และมีน้ำหนักราว 20-45 กิโลกรัมเท่านั้น ไดโปรโตดอน อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำเช่น ห้วยหนองคลองบึง ทั่วไป สาเหตุการสูญพันธุ์ของไดโปรโตดอน ปัจจุบันไม่มีข้อสรุปที่แน่นอน เนื่องจากนักบรรพชีวินวิทยามีทฤษฎีอยู่ 2 ทฤษฎี โดยทฤษฎีแรกเชื่อว่า มันสูญพันธุ์ไปเองโดยสาเหตุธรรมชาติ แต่อีกกลุ่มหนึ่งเชื่อว่าสูญพันธุ์เพราะถูกล่าจากมนุษย์ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวอะบอริจินส์ ซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของออสเตรเลีย ทั้งที่มีหลักฐานบ่งว่ามนุษย์เพิ่งอพยพมาสู่ออสเตรเลียครั้งแรกเมื่อ 5,000 ปีก่อนนี้เอง อย่างไรก็ดี มีความเชื่อของชาวอะบอริจินส์อยู่ประการหนึ่ง ถึงสัตว์ประหลาดขนาดใหญ่ที่ดุร้ายและกินมนุษย์โดยเฉพาะผู้หญิงเป็นอาหาร ที่มีชื่อว่า "บันยิป" (Bunyip) โดยเชื่อว่า บันยิปเป็นวิญญาณของสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ ที่มารวมกัน และเชื่ออีกว่าบันยิปจะอาศัยอยู่ตามพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ทั่วออสเตรเลีย จึงมีการสันนิษฐานว่า หากบันยิปมีอยู่จริง ก็อาจจะเป็นไดโปรโตดอนที่ยังหลงเหลือเผ่าพันธุ์มาจนปัจจุบัน ก็เป็นได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และไดโปรโตดอน · ดูเพิ่มเติม »

ไดโนนีคัส

นนีคัส (Deinonychus) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ฉลาดและว่องไว มีความยาวประมาณ 2-5 เมตร หนัก 73 กิโลกรัม อยู่ในวงศ์โดรเมโอซอร์ มีการออกล่าเหยื่อเป็นกลุ่มเหมือนหมาป่า อาวุธคือเล็บเท้าแหลมคมเหมือนใบมีดที่พับเก็บได้และฟันที่คมกริบ เป็นไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่บนโลก ช่วงประมาณ 83-70 ล้านปีก่อนในยุคครีเทเชียส (Cretaceous) มีหลักฐานพบเป็นฟอสซิลในบริเวณอเมริกาเหนือชื่อก่อนคือ เวโลซีแร็พเตอร์ แอนเทอโรฟัส เจ้านี้คือตัวที่ปรากฏใน จูราสสิค พาร์ค แสดงว่า สตีเว่น สปีลเบิร์ก ทำถูกแล้วเขาไม่ได้เอา เวโลซีแร็พเตอร์ จากมองโกเลียมาแต่เป็น เวโลซีแร็พเตอร์แอนเทอโรฟัส มาใช้แสดงทั้ง 4.

ใหม่!!: สปีชีส์และไดโนนีคัส · ดูเพิ่มเติม »

ไดโนเสาร์

นเสาร์ (dinosaur) เป็นชื่อเรียกโดยรวมของสัตว์ดึกดำบรรพ์ในอันดับใหญ่ Dinosauria ซึ่งเคยครองระบบนิเวศบนพื้นพิภพ ในมหายุคมีโซโซอิก เป็นเวลานานถึง 165 ล้านปี ก่อนจะสูญพันธุ์ ไปเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลาน แต่อันที่จริงไดโนเสาร์เป็นสัตว์ในอันดับหนึ่งที่มีลักษณะก้ำกึ่งระหว่างสัตว์เลื้อยคลานและนก คำว่า ไดโนเสาร์ ในภาษาอังกฤษ dinosaur ถูกตั้งขึ้นโดย เซอร์ ริชาร์ด โอเวน นักบรรพชีวินวิทยา ชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นการผสมของคำในภาษากรีกสองคำ คือคำว่า deinos (δεινός) (ใหญ่จนน่าสะพรึงกลัว) และคำว่า sauros (σαύρα) (สัตว์เลื้อยคลาน) หลายคนเข้าใจผิดว่า ไดโนเสาร์ คือสัตว์ที่อาศัยอยู่ในมหายุคมีโซโซอิกทั้งหมด แต่จริง ๆ แล้ว ไดโนเสาร์ คือสัตว์ชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่บนพื้นดินเท่านั้น สัตว์บกบางชนิดที่คล้ายไดโนเสาร์ สัตว์น้ำและสัตว์ปีกที่มีลักษณะคล้ายไดโนเสาร์ ไม่ถือว่าเป็นไดโนเสาร์ เป็นเพียงสัตว์ชนิดที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกับไดโนเสาร์เท่านั้น แม้ว่าไดโนเสาร์จะสูญพันธุ์ไปนานหลายล้านปีแล้ว แต่คำว่าไดโนเสาร์ก็ยังเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะไดโนเสาร์นั้นนับว่าเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง ที่เต็มไปด้วยปริศนาและความน่าอัศจรรย์เป็นอันมากนั่นเอง.

ใหม่!!: สปีชีส์และไดโนเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไครโอโลโฟซอรัส

ไครโอโลโฟซอรัส (Cryolophosaurus) มีความหมายว่า "กิ้งก่าหงอนแช่แข็ง" เพราะค้นพบในทวีปแอนตาร์กติก และสภาพฟอสซิลของสมบูรณ์มาก บางคนเรียกว่า "ไดโนเสาร์เอลวิส" เพราะหงอนมีลักษณะเหมือนผมของ "เอลวิส เพรสลีย์" หงอนมีลักษณะป็นรูปพัด หงอนนี้บางและอ่อนมากจึงไม่สามารถใช้เป็นอาวุธได้ แต่เป็นเพียงเคลื่องที่อาจไว้ยั้วโมโหคู่ต่อสู้ ขนาดตัวอยู่ในราว 7 - 8 เมตร อาศัยอยู่ กินเนื้อเป็นอาหาร เป็นนักล่าขนาดกลางไม่ใหญ่มาก ในยุคจูแรสซิกตอนต้น ไครโอโลโฟซอรัสกินเนื้อเป็นอาหาร อยู่ในกลุ่มไดโลโฟซอริดส์ หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคจูแรสซิก.

ใหม่!!: สปีชีส์และไครโอโลโฟซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไซส์โมซอรัส

ซส์โมซอรัส (Seismosaurus) เป็นอดีตสกุลไดโนเสาร์ซอโรพอดที่มีความยาวประมาณ 30-35 เมตร และหนักถึง 60 ตัน มีความหมายว่ากิ้งก่าแห่งแผ่นดินไหว เพราะเวลาเดินจะทำให้พื้นสั่นเหมือนแผ่นดินไหว กินพืชเป็นอาหาร รักสงบ อาศัยอยู่ในจูแรสซิกตอนปลาย ค้นพบโดยกิลต์เลตต์ เมื่อปี..1991 รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา แต่ในปัจจุบัน ได้มีการค้นพบว่าไซส์โมซอรัสนั้น แท้จริงแล้วคือชนิดหนึ่งของสกุลดิปโพลโดคั.

ใหม่!!: สปีชีส์และไซส์โมซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไซคาเนีย

ซคาเนีย (Saichania) เป็นไดโนเสาร์หุ้มเกราะชนิดหนึ่ง ชื่อของมันมีความหมายว่าสวยงาม อาศัยอยู่ใน ยุคครีเทเชียสตอนปลายประมาณ 70 ล้านปีมาแล้ว มันเป็นไดโนเสาร์หุ้มเกราะชนิดหนึ่ง ตรงที่หางคล้ายมีกระบองติดอยู่ กระบองใช้เป็นอาวุธฟาดศัตรู สาเหตุที่มันได้ชื่อว่างดงามเป็นเพราะฟอสซิลของมันอยูในสภาพสมบูรณ์มาก ยาวประมาณ 7 เมตร กินพืชเป็นอาหาร ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และไซคาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ไซน์แรปเตอร์

ซน์แรปเตอร์ (Sinraptor) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อชนิดหนึ่ง ชื่อของมันมีความหมายว่าราชาหัวขโมยแห่งจีน ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศจีนในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และไซน์แรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซโฟซัว

ซโฟซัว หรือ แมงกะพรุนแท้ เป็นชั้นของสัตวน้ำไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมไนดาเรีย ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Scyphozoa.

ใหม่!!: สปีชีส์และไซโฟซัว · ดูเพิ่มเติม »

ไซโฟซูรา

แมงดาทะเลโบราณในสกุล ''Mesolimulus'' ไซโฟซูรา เป็นอันดับของสัตว์ทะเลขาปล้องในชั้นเมอโรสโทมาทา (Merostomata) ที่นอกเหนือไปจากแมงป่องทะเล ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xiphosura ลักษณะของสัตว์ในอันดับนี้ คือ มีรูปร่างคล้ายจานหรือถ้วยคว่ำ หรือครึ่งวงกลมแบบเกือกม้า ด้านบนมีตาข้าง 1 คู่เป็นตาประกอบ มีแอมมาทิเดียหลายร้อยหน่วยที่ไม่สามารถรับภาพได้ แต่สามารถจับการเคลื่อนไหวของสิ่งต่าง ๆ ได้ มีตากลาง ขนาดเล็กหลายอันทำหน้าที่รับแสง มีส่วนหางยาวเป็นแท่งใช้สำหรับจิ้มกับพื้นทรายให้พลิกตัวกลับมา เมื่อยามหงายท้องขึ้น เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคซิลลูเรียน แต่สูญพันธุ์ไปเกือบหมด คงเหลือเพียง 4 ชนิดเท่านั้นในโลก คือ แมงดาทะเล จึงจัดเป็นฟอสซิลที่มีชีวิตอย่างหนึ่ง พบในทะเลและน้ำกร่อยของบริเวณภาคตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือและแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น สำหรับชนิดที่พบในไทยจะมีด้วยกัน 2 ชนิดคือ แมงดาจาน หรือ แมงดาหางเหลี่ยม (Tachypleus gigas) เป็นแมงดาขนาดใหญ่ หางเป็นสันแหลม รูปหน้าตัดของหางเป็นสามเหลี่ยม คาราแพดค่อนข้างเรียบและแทบจะไม่พบขนแข็ง ๆ บนคาราแพด สามารถกินได้ ส่วนอีกชนิดหนึ่งคือ แมงดาถ้วย หรือ แมงดาหางกลม หรือ เหรา (Carcinoscorpius rotundicauda) มีขนาดเล็กกว่าแมงดาหางเหลี่ยม หางโค้งมน รูปหน้าตัดของหางจะค่อนข้างกลม คาราแพดมีขนแข็งจำนวนมากและมีสีส้มหรือน้ำตาลเข้ม มีรายงานอยู่เสมอว่าผู้ที่กินไข่ของแมงดาชนิดนี้มักเป็นอันตรายต่อชีวิต เนื่องจากว่าแมงดาชนิดนี้ในบางฤดูกาลจะกินสาหร่ายและแพลงค์ตอนที่สร้างสารพิษได้ จึงมีพิษสะสมอยู่ในตัวแมงดาทะเล พิษที่ว่าจะมีผลต่อระบบประสาทต่อผู้ที่กินเข้าไป แมงดาทะเลจะขึ้นมาวางไข่บนพื้นหาดทรายชายทะเลพร้อม ๆ กัน โดยตัวเมียจะวางไข่ครั้งละ 200–3,300 ฟอง โดยมีตัวผู้เกาะเกี่ยวอยู่ที่หลัง โดยใช้ปล้องสุดท้ายของเพลดิพาลติเกาะกับโพรโซมาของตัวเมียเอาไว้และคลานตามกันไป โดยอาจมีตัวผู้ตัวอื่นมาเกาะท้ายร่วมด้วยเป็นขบวนยาวก็ได้ ตัวเมียจะขุดหลุมปล่อยไข่ออกมาแล้วตัวผู้ก็จะปล่อยสเปิร์มออกมาผสมกับไข่ หลังจากนั้นก็จะกลบไข่โดยไม่มีการดูแลไข่ ไข่จะฟักออกมาเป็นตัวอ่อนที่เรียกว่าไตรโลไบต์ ลาวา ลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยเพียงแต่มีหางสั้นมาก แมงดาทะเลในยุคปัจจุบันมีความยาวได้ถึง 60 เซนติเมตร (24 นิ้ว) iแต่ในยุคเพลลีโอโซอิก จะมีขนาดเล็กกว่านี้ โดยมีความยาวเพียง 1–3 เซนติเมตร (0.39–1.2 นิ้ว) เท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และไซโฟซูรา · ดูเพิ่มเติม »

ไซเรน (สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก)

ำหรับสัตว์ประหลาดในเทพปกรณัมกรีก ดูที่: ไซเรน ไซเรน (Sirens) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกซาลาแมนเดอร์วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Sirenidae จัดอยู่ในอันดับย่อย Sirenoidea ไซเรน มีความแตกต่างจากซาลาแมนเดอร์จำพวกอื่น ๆ พอสมควร เนื่องจากมีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหลหรือเขียดงู ไม่มีขาคู่หลังและกระดูกเชิงกราน ขาคู่หน้าเล็กมากและนิ้วเท้าลดจำนวนลง ปากเป็นจะงอยแข็ง เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ยังคงรูปโครงสร้างของระยะวัยอ่อนไว้หลายประการ เช่น ไม่มีเปลือกตา, มีเหงือก, มีช่องเปิดเหงือก 1 คู่ หรือ 3 ช่อง, ไม่มีฟัน, ไม่มีกระดูกแมคซิลลา หรือมีขนาดเล็กมาก รวมทั้งลักษณะโครงสร้างของผิวหนัง มีความยาวของลำตัวประมาณ 10–90 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลา เช่น บึง, ทะเลสาบ หรือแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไม่แรง และมีพืชน้ำขึ้นหนาแน่น กินอาหารจำพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เช่น กุ้ง, ปู, แมลงน้ำ, หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ เป็นต้น โดยกินด้วยการดูด ในช่วงฤดูแล้งจะฝังตัวอยู่ใต้โคลน โดยสร้างปลอกหุ้มตัวคล้ายดักแด้ของแมลง การปฏิสนธิของไซเรน เกิดขึ้นภายนอกตัว และไม่พบมีพฤติกรรมเกี้ยวพาราสี และไม่มีต่อมโคลเอคัลซึ่งเป็นต่อมที่ตัวผู้ของซาลาแมนเดอร์จำพวกอื่นใช้สร้างสเปอร์มาโทฟอร์ และของตัวเมียใช้เก็บสเปิร์ม ตัวเมียวางไข่ติดกับพืชน้ำหรือสร้างรังอยู่ในกอของพืชน้ำที่อยู่ใต้น้ำ บางชนิดมีพฤติกรรมเฝ้.

ใหม่!!: สปีชีส์และไซเรน (สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก) · ดูเพิ่มเติม »

ไซเรนแคระ

ซเรนแคระ (Dwarf sirens, Mud sirens) เป็นสกุลของซาลาแมนเดอร์ จำพวกไซเรน (Sirenidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pseudobranchus ไซเรนในสกุลนี้ มีรูปร่างแตกต่างจากไซเรนในสกุล Siren คือ มีลำตัวสั้นป้อมกว่า และไม่มีกระดูกแมคซิลลา พบกระจายพันธุ์ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และไซเรนแคระ · ดูเพิ่มเติม »

เบญจมาศ

ญจมาศ หรือ (Chrysanthemum) เป็นไม้ตัดดอกอีกชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกเลี้ยงและใช้กัน มีการซื้อขายมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากกุหลาบ (2537) เนื่องจากเป็นไม้ดอกที่มีรูปทรงสวยงาม สีสันสดใส ปลูกเลี้ยงง่าย และมีหลายพันธุ์ให้เลือก มีถิ่นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่นและจีน ดอกเบญจมาศมีอยู่หลายสายพันธุ์ ชนิดเลื่องชื่อคือ เบญจมาศสวน (Chrysanthemum indicum Linn. ในวงศ์ Compositae) กับเบญจมาศหนู (Chrysanthemum morifolium Ramat. ในวงศ์เดียวกัน) ซึ่งเรียกรวมกันว่า "ดอกเก๊กฮวย" (júhuā) นิยมนำมาตากแห้ง ใช้ชงกับใบชา หรือต้มกับน้ำตาลทำน้ำเก๊กฮว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

เชลิเซอราตา

ฟลัมย่อยเชลิเซอราตา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Chelicerata) หรือ เชลิเซอเรต (Chelicerate) เป็นไฟลัมย่อยของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมอาร์โธพอดา (Arthropoda) หรือ อาร์โธพอด ถือกำเนิดมาแล้วกว่า 600 ล้านปี ลักษณะโดยรวมของสัตว์ในไฟลัมย่อยนี้คือ ไม่มีกราม และไม่มีหนวด ลำตัวแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เซฟาโลทอแรกซ์ และส่วนท้อง เซฟาโลทอแรกซ์เป็นส่วนที่รวมส่วนหัวและส่วนอกเข้าไว้ด้วยกัน โดยมีเปลือกแข็งชิ้นเดียวคลุมอยู่เรียก คาราเพช ระยางค์ทั้ง 6 คู่ ประกอบด้วยระยางคู่แรกเป็นระยางค์หนีบ ระยางค์คู่ที่ 2 คือ เพดิพาลพ์ ช่วยในการฉีกอาหาร ระยางค์อีก 4 คู่ เป็นขาเกิน ส่วนท้องไม่มีระยางค์ แบ่งออกเป็น 2 ชั้น ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเชลิเซอราตา · ดูเพิ่มเติม »

เชื้อเพลิง

ม้ เชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง เชื้อเพลิง คือวัสดุใดๆ ที่นำไปเผาไหม้หรือแปรเปลี่ยนเพื่อนำมาซึ่งพลังงาน เชื้อเพลิงจะปลดปล่อยพลังงานผ่านปฏิกิริยาทางเคมีเช่นการเผาไหม้ หรือปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นการแตกตัวหรือการรวมตัวของนิวเคลียส อย่างใดอย่างหนึ่ง คุณสมบัติสำคัญของเชื้อเพลิงที่มีประโยชน์คือพลังงานที่มีอยู่สามารถถูกบรรจุและปลดปล่อยได้ตามต้องการ และการปลดปล่อยนั้นถูกควบคุมในทางใดทางหนึ่งเพื่อให้สามารถใช้สร้างงานทางวิศวกรรมได้ สิ่งมีชีวิตที่มีคาร์บอนเป็นพื้นฐาน (carbon-based life) ทุกชนิด คือตั้งแต่จุลชีพไปจนถึงสัตว์รวมทั้งมนุษย์ ใช้เชื้อเพลิงเป็นแหล่งพลังงาน เซลล์ต่างๆ จะต้องเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า เมแทบอลิซึม (metabolism) ซึ่งดึงเอาพลังงานออกมาจากอาหารหรือแสงอาทิตย์ในรูปแบบที่สามารถใช้ในการดำรงชีวิต นอกจากนั้นมนุษย์ใช้เทคนิคที่หลากหลายเพื่อแปรเปลี่ยนพลังงานรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการสร้างพลังงานก็เพื่อจุดประสงค์ที่มากไปกว่าพลังงานในร่างกายมนุษย์ การใช้พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกจากเชื้อเพลิงมีตั้งแต่ การทำความร้อนเพื่อการปรุงอาหาร การผลิตไฟฟ้า หรือแม้แต่การเพิ่มแสนยานุภาพของอาว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเชื้อเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

เบียร์ดดราก้อน

ียร์ดดราก้อน หรือ มังกรเครา (Bearded dragon, Inland bearded dragon, Central bearded dragon) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกกิ้งก่า ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เบียร์ดดราก้อน มีสีลำตัวตามธรรมชาติสีน้ำตาลสลับกับลายสีครีมเข้ม ตามลำตัวจะเต็มไปด้วยเกล็ดและหนามเล็ก ๆ ใช้สำหรับป้องกันตัวจากศัตรูผู้ล่า แต่ไม่อาจทำอันตรายสัตว์อื่นใดก่อนได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวรวมหางประมาณ 16-18 นิ้ว มีจุดเด่นที่ถุงใต้คอซึ่งเป็นหนามแหลม แลดูคล้ายเครา อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ยิ่งโดยเฉพาะในตัวผู้ในวัยเจริญพันธุ์จะมีถุงนี้เห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะแผ่ขยายออกเป็นสีดำเวลาตื่นเต้น ตกใจ ต่อสู้ หรือใช้ในการเกี้ยวพาราสีตัวเมีย กระจายพันธุ์อยู่ในทะเลทราย ที่มีภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับกับเนินทรายเตี้ย ๆ ในประเทศออสเตรเลีย แถบรัฐควีนส์แลนด์, นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี, นิวเซาท์เวลส์ และวิกตอเรีย โดยหากินและอาศัยอยู่บนพื้นมากกว่าจะปีนป่ายตามก้อนหินหรือต้นไม้ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น หนอน, แมลง, กิ้งก่าขนาดเล็ก, ผักชนิดต่าง ๆ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 8-12 เดือน ในช่วงผสมพันธุ์ ตัวผู้อาจจะผสมพันธุ์กับตัวเมียได้หลายตัว อาจถึงหลักสิบ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 20-28 วัน เมื่อวางไข่ ตัวเมียจะไม่กินอาหารก่อน 2-4 วัน ซึ่งตัวเมียจะขุดหลุมกับพื้นทราย ก่อนที่จะวางไข่ในหลุมประมาณ 20-30 ฟองต่อครั้ง หลังจากวางไข่เรียบร้อยแล้ว ตัวเมียสามารถตั้งท้องได้อีกโดยที่ไม่ต้องผ่านการผสมพันธุ์อีกราว 2-4 ท้อง โดยทิ้งช่วงระยะเวลาประมาณ 20-28 วัน เท่ากับการตั้งท้อง ไข่เบียร์ดดราก้อนใช้เวลา 55-65 วัน ในการฟักเป็นตัว อุณหภูมิเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดเพศเหมือนเช่นสัตว์เลื้อยคลานอีกหลายประเภท อุปนิสัยและพฤติกรรมของเบียร์ดดราก้อนนั้นในธรรมชาติของเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่หวงถิ่นที่อยู่มาก เบียร์ดดราก้อนไม่ว่าเพศผู้หรือเพศเมียนั้นเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่อย่างสันโดษในธรรมชาติ เบียร์ดดราก้อนไม่จับคู่อยู่ร่วมกันเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อนนั้นไม่มีความผูกพันธ์ุทางสายเลือดและไม่อาจมีความรู้สึกรักหรือว่ารับรู้ถึงการมีความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมสายพันธ์ุได้ การที่ผู้เลี้ยงไม่ศึกษาพฤติกรรมที่ของเบียร์ดดราก้อนให้รอบคอบ อาจจะทำให้เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิตของสัตว์เลี้ยงได้ เบียร์ดดราก้อนเพศผู้นั้นจะเข้าขู่เบียร์ดดราก้อนผู้รุกรานในทันทีที่พบเห็นโดยการฉีดสีไปในส่วนเคราให้เป็นสีดำและการยักหัวขึ้นลงอย่างรุนแรง ก่อนที่เพศผู้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ตัวเล็กกว่าจะโบกมือขึ้นลงอย่างช้าๆแสดงความยอมแพ้และถอยหนี แต่ถ้าหากว่าเพศผู้ทั้งคู่มีความเหี้ยนกระหือรือทั้งคู่ การเข้าขู่และวิ่งไล่กัดกันย่อมเกิดขึ้น ตามมาด้วยความตายหรือบาดเจ็บของทั้งสองฝ่าย เบียร์ดดราก้อนจำนวนไม่น้อยนั้นได้สูญเสียนิ้ว ขา หรือหาง มาจากการต่อสู้ไม่ว่าในวัยเด็กเล็กหรือโตเต็มวัย หรือแย่กว่านั้นอาจทำให้แผลเกิดการติดเชื้อตามมาด้วยการเน่าและถึงแก่ความตายได้ เบียร์ดดราก้อนไม่ควรนำมาเลี้ยงด้วยกันไม่ว่าจะเพศผู้หรือเพศเมีย ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดที่จะให้มันมาอยู่ร่วมกันคือช่วงการผสมพันธุ์ชั่วคราวเท่านั้น การที่เบียร์ดดราก้อนสองตัวเอาตัวทับกันนั้นไม่ได้เป็นการแสดงออกถึงความรักแต่อย่างใด แต่หากเป็นการแสดงถึงความเป็นใหญ่ในอาณาเขตของตน ตัวที่เป็นใหญ่นั้นจะเอาร่างตัวมันเองบังแสงและความร้อนจากดวงอาทิตย์ทำให้อีกตัวไม่สามารถได้รับแสงได้อย่างเหมาะสม ลักษณะพฤติกรรมแบบนี้ไม่ใช่การแสดงออกทางความรักแต่อย่างใด เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลือดเย็นไม่สามารถสร้างความร้อนเองได้ อาจส่งผลทำให้ตัวที่ด้อยกว่านั้นส่งผลเสียทางสุขภาพและความเครียดในระยะยาวอาทิ ซึมเศร้า ขาดน้ำและขาดสารอาหาร ซึ่งสามารถทำให้ถึงตายได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยแสดงออกทางอาการ ไม่ว่าจะเจ็บ หรือป่วย แต่จะตายทันทีเมื่อถึงขีดสุดที่มันจะทนได้ เบียร์ดดราก้อนที่มีอาการเครียดนั้น จะแสดงออกโดยการฉีดสีดำเข้าไปที่ใต้ท้อง มีลักษณะเป็นเส้นลายวงๆ เบียร์ดดราก้อนที่ไม่มีอาการเครียดจะมีท้องลักษณะขาวโพลน ไม่มีเส้นดำ หรือลายใดๆใต้ท้องลำตัว หากมีอาการดังกล่าวเกิดขึ้น ควรที่จะนำเบียร์ดดราก้อนไปในที่ที่มันรู้สึกปลอยภัยเช่นตู้ที่อยู่ของมันในทันที มักจะทำให้อาการเหล่านี้หายไปได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ขี้เกียจ ไม่ค่อยชอบเดินและมักจะอยู่เฉยๆตากแดดตลอดวัน เมื่อเบียร์ดดราก้อนรู้สึกร้อน มันจะอ้าปากเพื่อเป็นการคลายความร้อน เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลื้อยคลาน พวกมันไม่สามารถระบายความร้อนทางเหงื่อได้เฉกเช่นมนุษย์ เบียร์ดดราก้อนที่ตากแดด ควรจะมีที่กำบังขณะตากแดดบ้าง จะทำให้เบียร์ดดราก้อนสามารถเข้าไปหลบแดดได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการช็อกตายโดยความร้อนจัดในเวลากลางวัน เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่เก็บน้ำในร่างกาย พวกมันกินน้ำน้อยมากต่อวันหรือไม่กินเลย เบียร์ดดราก้อนบางตัวมักไม่ยอมกินน้ำจากถ้วย แต่พวกมันสามารถได้รับน้ำจากอาหารที่กินเช่นผักหรือผลไม้ได้ ลักษณะของเบียร์ดดราก้อนที่แข็งแรงนั้นควรจะหัวเชิดตรง ดวงตาเปิดเป็นวงกลมเต็มที่ ไม่ง่วงซึมช่วงตอนกลางวันแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง เพราะมีอุปนิสัยไม่ดุร้าย ไม่กัดหรือทำร้ายมนุษย์ โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ โดยมักจะเป็นตู้ปลาที่ปูพื้นด้วยทรายหรือกรวดแห้ง ๆ เหมือนสภาพที่อยู่ในธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบัน สามารถเพาะเบียร์ดดราก้อนที่มีความยาวถึง 22 นิ้วได้ ซึ่งนับว่ามีความใหญ่กว่าขนาดในธรรมชาติ หรือมีสีต่าง ๆ ผิดไปจากธรรมชาติด้วย เช่น สีแดง, สีเหลืองทั้งตัว หรือหนามบนตัวหายไปหมด หรือแม้แต่ลำตัวโปร่งใสจนมองเห็นอวัยวะต่าง ๆ ภายในได้ลาง ๆ ดวงตามีแต่ส่วนตาดำ ไม่มีตาขาว เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเบียร์ดดราก้อน · ดูเพิ่มเติม »

เบียร์ดดราก้อน (สกุล)

ียร์ดดราก้อน (อังกฤษ: Bearded dragons; มังกรเครา) ชื่อสามัญที่ใช้เรียกกิ้งก่าในสกุล Pogona มีรูปร่างเหมือนกิ้งก่าทั่วไป แต่มีจุดเด่นอยู่ที่ถุงใต้คอซึ่งเป็นหนามแหลม อันเป็นที่มาของชื่อ ยิ่งโดยเฉพาะในตัวผู้ในวัยเจริญพันธุ์จะมีถุงนี้เห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะแผ่ขยายออกเป็นสีดำเวลาตื่นเต้นหรือตกใจ เบียร์ดดราก้อน มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 18 นิ้ว มีทั้งสิ้น 7 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถแยกเพศได้ชัดเจนเมื่ออายุได้ 1 ปี พบกระจายพันธุ์ในทะเลทรายทางตอนเหนือของออสเตรเลีย สามารถเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อม กินอาหารได้ทั้งพืช,แมลงและ หนอนนก หากินในเวลากลางวัน โดยกินผักได้หลากหลายชนิด เช่น ข้าวโพด, ผักกาดขาว, ผักกาดหอม, ฟักทอง, ผักกวางตุ้ง, แครอท มีอุปนิสัยที่ไม่ดุร้าย เชื่องต่อมนุษย์ จึงนิยมนำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลาน ยิ่งโดยเฉพาะในตัวที่มีสีสันแปลกแตกต่างไปจากปกติ สนนราคาก็จะยิ่งแพงขึ้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเบียร์ดดราก้อน (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เฟอร์ริติน

ฟอร์ริติน (Ferritin) เป็นโปรตีนในเซลล์ทั่วไปที่สะสมธาตุเหล็กและปล่อยมันอย่างเป็นระบบ โปรตีนนี้มีในสิ่งมีชีวิตเกือบทั้งหมด รวมทั้งสาหร่าย แบคทีเรีย พืชชั้นสูง และสัตว์ ในมนุษย์ มันมีหน้าที่เป็นสารบัฟเฟอร์เพื่อไม่ให้ขาดเหล็กหรือมีเหล็กเกิน และพบในเนื้อเยื่อโดยมากในรูปแบบของโปรตีนในไซโตซอล (ในไซโทพลาซึมของเซลล์) แต่ก็มีส่วนหนึ่งที่อยู่ในเลือดโดยทำหน้าที่เป็นตัวขนส่งธาตุเหล็ก ระดับเฟอร์ริตินในเลือดยังเป็นตัวชี้ทางชีวภาพ (biomarker) ของปริมาณธาตุเหล็กที่สะสมในร่างกาย และดังนั้น จึงสามารถตรวจสอบเพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก (iron-deficiency anemia) เฟอร์ริตินเป็นคอมเพล็กซ์โปรตีนรูปทรงกลมที่มีหน่วยย่อย 24 หน่วยและเป็น "โปรตีนเก็บธาตุเหล็กในเซลล์" หลักทั้งในโพรแคริโอตและยูแคริโอต โดยเก็บเหล็กในรูปแบบที่ละลายน้ำได้และไม่มีพิษ ส่วนเฟอร์ริตินที่ไม่รวมเข้ากับธาตุเหล็กก็จะเรียกว่า apoferritin.

ใหม่!!: สปีชีส์และเฟอร์ริติน · ดูเพิ่มเติม »

เฟิร์น

ฟิร์น หรือ เฟิน (fern) เป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชที่มีราว ๆ 20,000 สปีชีส์ ที่ถูกจำแนกในไฟลัม Pteridophyta หรือ Filicophyta พืชกลุ่มนี้ยังเป็น Polypodiophyta หรือ Polypodiopsida ด้วย เมื่อถือตามส่วนย่อยของพืชมีท่อลำเลียง คำว่า เทอริโดไฟต์ (pteridophyte) ใช้เพื่อกล่าวถึงพืชมีท่อลำเลียงที่ไม่มีเมล็ดทั้งหมด ทำให้มันหมายถึง "เฟิร์นและพืชใกล้เคียงเฟิร์น" ซึ่งสามารถสร้างความสับสนเมื่อสมาชิกของเฟิร์นในส่วน Pteridophyta บางครั้งอ้างเป็นเทอริโดไฟต์ได้ด้วยเหมือนกัน การศึกษาในเรื่องของเฟิร์นและเทอริโดไฟต์อื่น ๆ เรียกว่า วิทยาเฟิร์น (Pteridology).

ใหม่!!: สปีชีส์และเฟิร์น · ดูเพิ่มเติม »

เพียงพอน

ระวังสับสนกับ: พังพอน เพียงพอน (weasel, mink, ferret, ermine, polecat) คือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในสกุล Mustela ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวงศ์ Mustelidae มีถิ่นกำเนิดกว้างขว้างทั้งในทวีปเอเชีย, แอฟริกาเหนือ, ยุโรป, อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ เพียงพอนมีรูปร่างโดยรวมเป็นสัตว์ขนาดเล็ก มีความยาวตั้งแต่ 15–55 เซนติเมตร น้ำหนักตั้งแต่ 30–40 กรัม ไปจนถึง 1.4–3.2 กิโลกรัม เป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร มีรูปร่างเพรียวยาว ส่วนขาทั้งสี่ข้างสั้น มีนิ้วเท้า 5 นิ้ว เล็บมีความแหลมคม แต่พับเก็บเล็บไม่ได้ ปากแหลม ภายในปากมีฟันแหลมคมจำนวน 34 ซี่ ทุกชนิดจะมีต่อมกลิ่นที่ก้น ซึ่งจะผลิตสารเคมีสีเหลืองคล้ายน้ำมันที่มีกลิ่นเหม็นรุนแรง ใช้ในประกาศอาณาเขต เป็นสัตว์มีความปราดเปรียวว่องไว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน โดยจะล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, หนูผี, ตุ่น, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเป็นอาหาร รวมทั้งอาจล่ากระต่ายได้ด้วย รวมทั้งล่าเป็ด, ไก่, นกกระทา ในพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ได้ด้วย ซึ่งจะใช้ลำตัวที่เพียวยาวนั้นมุดเข้าไปล่าถึงในโพรงดิน นอกจากนี้แล้ว เพียงพอนเป็นสัตว์ที่เมื่อผสมพันธุ์กันแล้ว ตัวผู้จะผสมกับตัวเมียหลายตัว แต่จะอยู่กับตัวเมียเพียงตัวเดียว ในบางชนิด ไข่เมื่อได้รับการปฏิสนธิแล้ว จะยังไม่ฝังตัวในผนังมดลูก แต่จะลอยอยู่อย่างนั้น ซึ่งอาจกินเวลานับ 10 เดือน จะฝังตัวเฉพาะเมื่อถึงฤดูกาลที่อาหารอุดมสมบูรณ์เท่านั้น มีระยะเวลาการตั้งท้องนานประมาณ 35–45 วัน ออกลูกครั้งละ 4–10 ตัว และอาจมากได้ถึง 13 ตัว ซึ่งจะออกลูกในโพรงของสัตว์ที่ล่าได้ ลูกที่เกิดใหม่ตาจะยังไม่ลืม จะมีขนบาง ๆ ปกคลุมลำตัวเท่านั้น จะลืมตาเมื่ออายุได้ 3–4 สัปดาห์ หรืออาจจะ 5–6 สัปดาห์ มีระยะเวลาการกินนมแม่ 5–10 สัปดาห์ และจะอาศัยอยู่กับแม่จนอายุได้ 1 ปี ในอดีต เพียงพอนมักถูกมนุษย์ล่า เพื่อนำขนและหนังไปทำเป็นเสื้อขนสัตว์ที่เรียกว่า "เสื้อขนมิงก์" ในปัจจุบัน ในบางชนิดนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง แบ่งออกได้เป็น 18 ชนิด (ดูในตาราง) ในประเทศไทยมักพบในพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลนับพันเมตร พบประมาณ 3 ชนิด ได้แก่ เพียงพอนไซบีเรีย (M. sibirica), เพียงพอนเหลือง (M. nudipes) และเพียงพอนเส้นหลังขาว (M. strigidorsa).

ใหม่!!: สปีชีส์และเพียงพอน · ดูเพิ่มเติม »

เพียงพอนสีน้ำตาล

ียงพอนสีน้ำตาล หรือ เพียงพอนเล็ก (Brown weasel, Least weasel) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินเนื้อชนิดหนึ่ง จำพวกเพียงพอน มีรูปร่างเพรียวยาว ว่องไวปราดเปรียว มีลักษณะเด่นคือ มีสีขนแบ่งแยกกันชัดเจน โดยสีขนด้านบนลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนด้านล่างซึ่งเป็นด้านท้องจะเป็นสีขาว ในฤดูหนาวสีขนด้านบนจะเปลี่ยนเป็นสีขาวทั้งลำตัว มีความยาวลำตัวตั้งแต่หัวจนถึงโคนหาง 18-23 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 5-7 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-130 กรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมากตั้งแต่ทวีปยุโรป, อเมริกาเหนือ, เอเชียตะวันตก, มณฑลเสฉวนในประเทศจีน และตอนเหนือของเวียดนาม แบ่งออกเป็นชนิดย่อยได้ถึง 19 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมอาศัยและหากินตามพื้นดินเป็นหลัก โดยล่าสัตว์ขนาดเล็กกว่ากินเป็นอาหาร เช่น นก, หนู, ตุ่น, กระต่าย โดยบางครั้งจะใช้ลำตัวที่เพรียวยาวนั้นมุดเข้าไปลากจับจากในโพรงดินหรือรัง ในฤดูผสมพันธุ์จะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ สามารถปีนต้นไม้ได้ และปราดเปรียวว่องไว บางครั้งอาจขึ้นไปนอนหลับบนต้นไม้ได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และเพียงพอนสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

เพียงพอนโคลัมเบีย

ียงพอนโคลัมเบีย (Colombian weasel) เป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ที่หายากมาก พบได้เฉพาะบริเวณ Hulia และ Cauca ในประเทศโคลัมเบีย (Columbia) และทางตอนเหนือของประเทศเอกวาดอร.

ใหม่!!: สปีชีส์และเพียงพอนโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินริดเกน

นกวินริดเกน (Ridgen's penguin) เป็นสปีชีส์ของเพนกวินที่สูญพันธุ์ไปแล้วที่เดิมมีถิ่นฐานอยู่ในนิวซีแลนด์ ที่มีความสูงระหว่าง 90 ถึง 100 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และเพนกวินริดเกน · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินลาย

นกวินลาย (Banded penguin) เป็นเพนกวินสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Spheniscus (แปลว่า "รูปลิ่ม") เพนกวินในสกุลนี้เป็นเพนกวินขนาดกลาง มีรูปร่างและลักษณะคล้ายคลึงกัน คือ มีลายพาดสีดำตรงหน้าอกบนพื้นลำสีขาว และมีจุดกลมดำเล็ก ๆ บนหน้าท้อง ซึ่งจุดนี้จะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปเป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัวเหมือนลายนิ้วมือของมนุษย์ ซึ่งจุดนี้อาจเป็นสีชมพู หรือขาวก็ได้ เป็นเพนกวินที่อาศัยอยู่ในเขตอบอุ่นของซีกโลกทางใต้ เช่น อเมริกาใต้, แอฟริกาใต้ หรือหมู่เกาะกาลาปากอส มีพฤติกรรมวางไข่บนพื้นดิน และเจริญเติบโตขึ้นในโพรงดิน ในบางครั้ง เพนกวินสกุลนี้ยังมีชื่อเรียกอื่น เช่น "เพนกวินแจ็ค-แอส" เนื่องจากมีเสียงร้องเหมือนลา ปัจจุบัน หลงเหลืออยู่ทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเพนกวินลาย · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินหางแปรง

นกวินหางแปรง หรือ เพนกวินขาก้น (Brush tailed penguin, Bottom-legged) เป็นสกุลของนกบินไม่ได้ จำพวกเพนกวินสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pygoscelis เพนกวินหางแปรง จากการศึกษาดีเอ็นเอและไมโตคอนเดรียพบว่า การได้แยกสายวิวัฒนาการมาจากเพนกวินสกุลอื่น ๆ เป็นเวลานานกว่า 38 ล้านปีมาแล้ว หลังจาก 2 ล้านปีของการกำเนิดบรรพบุรุษของเพนกวินสกุล Aptenodytes ในทางกลับกัน เพนกวินอะเดลี่ได้มีวิวัฒนาการของตัวเองจากชนิดอื่น ๆ ในสกุลราว 19 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: สปีชีส์และเพนกวินหางแปรง · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินฮัมโบลต์

นกวินฮัมโบลต์ หรือ เพนกวินเปรู (Humboldt penguin, Peruvian penguin) หรือ ปาตรังกา (Patranca) เป็นเพนกวินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Spheniscus humboldti จัดเป็นเพนกวินขนาดกลาง มีความสูงเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 5 กิโลกรัม เมื่อโตเต็มที่มีจุดเด่นคือ มีสีดำคาดที่หน้าอก บริเวณใต้คอและรอบดวงตาสีขาว จะงอยปากเป็นเนื้อสีชมพู พบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลด้านมหาสมุทรแปซิฟิกในทวีปอเมริกาใต้ทางแถบประเทศเปรูและชิลี และถือว่าเป็นเพนกวินเพียงชนิดเดียวที่สามารถพบได้ในพื้นที่แห้งแล้งอย่างทะเลทราย ออกลูกเป็นไข่ครั้งละ 2 ฟอง อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งและโขดหินริมทะเล โดยตัวผู้เป็นฝ่ายกกไข่ ทำรังด้วยการขุดโพรงตามพุ่มไม้หรือป่าละเมาะริมทะเล สร้างรังด้วยก้อนหิน กิ่งไม้หรือใบไม้ เป็นสัตว์สังคมอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ติดต่อสื่อสารกันด้วยเสียงร้อง ลูกเพนกวินฮัมโบลต์ที่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เมื่อพ่อแม่นกมิได้อยู่ดูแล จะมีการป้องกันตัวเองด้วยการถ่ายมูลใส่ผู้คุกคามหรือหันหลังถีบเศษหินเศษกรวดใส่ เพนกวินชนิดนี้นิยมเลี้ยงกันตามสวนสัตว์ ในประเทศไทย มีการเลี้ยงที่สวนสัตว์ดุสิต สวนสัตว์สงขลา และสวนสัตว์เปิดเขาเขียว เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเพนกวินฮัมโบลต์ · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินจักรพรรดิ

นกวินจักรพรรดิ (Emperor Penguin) เป็นเพนกวินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาสปีชีส์ต่างๆ ที่มีถิ่นฐานอยู่ในทวีปแอนตาร์กติกา ตัวผู้และตัวเมียมีสีขนและขนาดใกล้เคียงกัน สูงราว และหนักระหว่าง 22–37 กิโลกรัม (48–82 ปอนด์) ขนด้านหลังสีดำตัดกันกับขนด้านหน้าตรงบริเวณท้องที่มีสีขาว อกตอนบนสีเหลืองอ่อนและค่อยๆ ไล่ลงมาจนเป็นสีขาว และบริเวณหูเป็นสีเหลืองจัด เพนกวินจักรพรรดิก็เป็นเช่นเดียวกันกับเพนกวินชนิดอื่นที่เป็นนกที่บินไม่ได้ แต่มีรูปร่างที่เพรียวและปีกที่ลู่ตามตัวแต่แข็งแบนเหมือนครีบที่เหมาะกับการเป็นสัตว์น้ำมากกว่าที่จะเป็นนก อาหารที่บริโภคส่วนใหญ่เป็นปลา และรวมทั้งสัตว์ประเภทกุ้ง-กั้ง-ปู (crustacean) เช่น ตัวเคย และ สัตว์ประเภทเซฟาโลพอดเช่นปลาหมึก เมื่อดำน้ำหาอาหารเพนกวินจักรพรรดิสามารถอยู่ใต้น้ำได้นานถึง 18 นาที และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 535 เมตรเนื่องจากลักษณะหลายอย่างที่ช่วยในการอยู่ใต้น้ำได้นานเช่นโครงสร้างของฮีโมโกลบินที่ทำให้มีชีวิตอยู่ได้ในบรรยากาศที่มีระดับออกซิเจนต่ำ โครงกระดูกที่แน่นที่ช่วยต้านความกดดันสูง (barotrauma) และความสามารถในการลดการเผาผลาญของร่างกาย (กระบวนการสร้างและสลาย) และการปิดการทำงานอวัยวะที่ไม่จำเป็นได้ เพนกวินจักรพรรดิมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีจากการเดินทางราว 50 ถึง 120 กิโลเมตรจากฝั่งทะเลไปยังบริเวณที่ทำการผสมพันธุ์ทุกปีเพื่อที่จะไปหาคู่ ผสมพันธุ์ กกและฟักไข่ และเลี้ยงลูกนกที่เกิดใหม่ และเป็นเพนกวินชนิดเดียวที่ผสมพันธุ์ระหว่างฤดูหนาวแบบอาร์กติก แหล่งผสมพันธุ์อาจจะเป็นบริเวณกว้างใหญ่ที่มีเพนกวินอาศัยอยู่ด้วยกันเป็นพันๆตัว ตัวเมียจะออกไข่ฟองเดียวทิ้งไว้ให้ตัวผู้ยืนกกระหว่างขาเป็นเวลาสองเดือนขณะที่ตัวเองเดินกลับไปทะเลเพื่อไปหาอาหารให้ตัวเองและนำกลับมาให้ลูกที่เกิดใหม่ เมื่อกลับมาทั้งพ่อและแม่ก็จะสลับกันเลี้ยงลูก อายุเฉลี่ยของเพนกวินจักรพรรดิราว 20 ปีและบางตัวอาจจะถึง 50 ปีก็ได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และเพนกวินจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

เกรินุก

กรินุก, วอลเลอส์กาเซลล์ หรือ แอนทิโลปคอยีราฟ (gerenuk, Waller's gazelle, giraffe-necked antelope) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งในวงศ์ Antilopinae ในวงศ์ใหญ่ Bovinae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Litocranius มีลักษณะทั่วไปเหมือนสัตว์ชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันไป แต่มีลักษณะเด่นคือ มีคอยาวและขายาวกว่าชนิดอื่น ๆ ซึ่งคำว่า "เกรินุก" นั้นมาจากคำในภาษาโซมาเลีย หมายถึง "คอยีราฟ" เพราะเกรินุกมีพฤติกรรมการกินอาหารที่แปลก คือ มักจะยืนบนสองขาหลัง ทำให้สามารถยืดคอขึ้นไปกินใบไม้ที่อยู่สูงขึ้นไปเหมือนยีราฟ ส่วนสองขาหน้าจะใช้เกาะกิ่งไม้ไว้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ในตัวผู้จะมีน้ำหนัก 45 กิโลกรัม ในตัวเมีย 33 กิโลกรัม มีความสูงวัดจากเท้าจนถึงหัวไหล่ประมาณ 85 เซนติเมตรจนถึง 1 เมตร ความยาวลำตัวประมาณ 1.5-1.6 เมตร ความยาวหาง 25-30 เซนติเมตร มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 10-12 ปี ตัวผู้มีเขาที่โค้งงอสวยงาม ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขาและตัวเล็กกว่า ขณะกินใบไม้ ในเขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรูในเคนยา เกรินุกถือเป็นจุดสนใจในบรรดาสัตว์ป่า 5 ชนิดที่พบได้ในนั้น ซึ่งประกอบไปด้วยเกรินุก, ยีราฟลายร่างแห, นกกระจอกเทศโซมาลี, ม้าลายเกรวี และไบซาออริกซ์ จะพบได้ในเขตแอฟริกาตะวันออก เฉพาะที่เขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรูเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเกรินุก · ดูเพิ่มเติม »

เก้ง

ก้ง หรือ อีเก้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: สปีชีส์และเก้ง · ดูเพิ่มเติม »

เก้งอินโดจีน

ก้งอินโดจีน หรือ เก้งโรสเวลต์ (Roosevelt's muntjac) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Muntiacus rooseveltorum เป็นเก้งที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก โดยถูกพบตัวครั้งแรกในปี พ.ศ. 2475 ใกล้กับเมืองพงสาลี แขวงหลวงพระบาง ทางตอนเหนือของลาว และในปี พ.ศ. 2539 พบซากที่สันนิษฐานของเก้งที่เชื่อว่าน่าจะเป็นเก้งอินโดจีนอีกครั้ง ในแขวงเชียงขวาง โดยสันนิษฐานว่า อาจกระจายพันธุ์อยู่ในป่าดิบเขา หรือพื้นที่ที่ราบสูงทางตะวันออกของแม่น้ำโขง และอาจมีการกระจายพันธุ์ในเวียดนามด้วย โดยมีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับเก้งหม้อ (M. feae) ต่อมน้ำตามีขนาดเล็กคล้ายกับเก้งธรรมดา (M. muntjak) โดยในบางข้อมูลจะจัดให้เป็นชนิดย่อยของเก้งหม้อด้วยซ้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเก้งอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

เก้งเจื่องเซิน

ก้งเจื่องเซิน หรือ เก้งอันนัม (Truong Son muntjac, Annamite muntjac; Mang Trường Sơn) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Muntiacus truongsonensis เป็นเก้งชนิดหนึ่งที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก เหมือนเก้งอินโดจีน (M. rooseveltorum) โดยถูกพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ในเวียดนาม เป็นหัวกะโหลกที่นำมาวางขายเท่านั้น ทำให้สันนิษฐานว่ามีรูปร่างคล้ายกับเก้งธรรมดา (M. muntjac) แต่มีขนาดเล็กกว่า ใบหน้าและขาทั้ง 4 ข้างมีสีดำคลายเก้งหม้อ (M. feae) เชื่อว่าอาศัยอยู่ตามป่าดิบเขาของเทือกเขาอันนัมซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างเวียดนามกับลาว และสถานะของเก้งชนิดนี้ในปัจจุบันกำลังแย่ลงทุกขณะเพราะการบุกรุกทำลายป่าและล่าสัตว์อย่างรุนแรงใน 2 ประเทศนี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และเก้งเจื่องเซิน · ดูเพิ่มเติม »

เก๋ากี่

ก๋ากี่ หรือ เก๋ากี้, เก๋ากี๋, เก๋าคี่ (ชื่อทางการค้า: โกจิเบอรี่; Wolfberry) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกผลไม้ซึ่งมีสปีชีส์ที่ใกล้เคียงกันสองชนิด คือ Lycium barbarum และ L. chinense.

ใหม่!!: สปีชีส์และเก๋ากี่ · ดูเพิ่มเติม »

เมก้าแร็ปเตอร์

มก้าแร็ปเตอร์ (Megaraptor) ฟอสซิลของมันค้นพบครั้งแรกที่อาร์เจนตินา โดยนายโนวาส เมื่อปี..1998 มีชื่อเต็มว่า เมก้าแร็ปเตอร์ นามันฮัวอิคิวอิ (Megaraptor namunhuaiquii) ซึ่งมีความหมายว่าหัวขโมยขนาดยักษ์ อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลาย เมื่อประมาณ 98 ล้านปีก่อน เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ประมาณรถเมล์ มีความยาวระหว่าง 6-8 เมตร สูงจากพื้นถึงหัว 4 เมตร แต่ก็เคยพบขนาดใหญ่ที่สุดยาว 9 เมตร มีเล็บที่มือยาวถึง 15 นิ้ว ซึ่งอาจจะยาวที่สุดในไดโนเสาร์ทั้งหมด คาดว่ามีไว้ล่าเหยื่อขนาดใหญ่อย่างอมาร์กาซอรัส หรืออาร์เจนติโนซอรัส ในช่วงแรกมันถูกจัดอยู่ในพวกแร็พเตอร์โดรเมโอซอร์ เนื่องจากค้นพบฟอสซิลเพียงชิ้นเดียวคือกรงเล็บรูปร่างโค้งคล้ายเคียวขนาดใหญ่ของมัน แต่ทว่าเรื่องจริงก็ถูกเปิดเผย จากการค้นพบฟอสซิลเพิ่มเติม นักบรรพชีวินพบว่าแท้จริงแล้วกรงเล็บนั้นไม่ได้อยู่บนนิ้วเท้าแบบของพวกโดรมีโอซอร์ แต่กลับอยู่บนมือ ทำให้เมก้าแรพเตอร์เปลี่ยนสถานะไปในทันที ปัจจุบัน เมก้าแรพเตอร์มีวงศ์ย่อยเป็นของมันเองคือ Megaraptora ซึ่งจะประกอบไปด้วยเทอโรพอดแปลกประหลาดอีกหลายตัว เช่น อีโอไทแรนนัส ออสตราโลเวเนเทอร์ ฯ ส่วนวงศ์ใหญ่ที่คลุม Megaraptora อีกทีนั้นยังไม่แน่ชัด บ้างก็ว่าเป็น Tyrannosauroid บ้างก็ว่าเป็น Allosauroid หรือ Spinosauroid ไปเลยก็มี เพราะฉะนั้นในตอนนี้รูปร่างของเมก้าแรพเตอร์ก็ยังคงเป็นปริศนาต่อไป.

ใหม่!!: สปีชีส์และเมก้าแร็ปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมอโรสโทมาทา

มอโรสโทมาทา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Merostomata) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรโพดา ชั้นย่อยเชลิเซอราตา เป็นสัตว์น้ำที่แบ่งออกได้เป็น 2 อันดับ ได้แก่ Eurypterida หรือ แมงป่องทะเล ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว กับ Xiphosura หรือ แมงดาทะเล ที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยเมอโรสโมมาทาได้พัฒนาแยกออกมาจากอาร์โธรโพดาเมื่อกว่า 480 ล้านปีมาแล้ว แมงดาทะเล ในปัจจุบันเหลือเพียง 5 ชนิด จัดว่าเป็นเซริเชอราตาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความยาวถึง 60 เซนติเมตร ที่พบเป็นฟอสซิลยาวถึง 2 เมตร ด้านหลังของคาราเพชมีตาประกอบ 1 คู่ ด้านล่างของเซฟาโรทอแรกซ์เป็นที่ตั้งของระยางค์ทั้ง 6 คู่ โดยระยางค์ขา 3 คู่ มีลักษณะเป็นก้ามหนีบ ยกเว้นขาคู่สุดท้ายใช้ในการกวาดโคลน ทราย ปล้องส่วนท้องจะรวมกัน ด้านท้ายสุดจะยื่นยาวออกเป็นหาง ด้านล่างของส่วนท้องเป็นที่ตั้งของเหงือก 5 คู่ และมีแผ่นปิดเหงือก แมงดาทะเลเป็นสัตว์ที่ไม่เป็นอันตราย จะใช้ระยางค์ขาคู่สุดท้ายดันขุดดินไปด้านหลังเพื่อฝังตัวลงในโคลนหรือทราย การดำรงชีวิตเป็นทั้งกินพืชและกินซาก รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีลำตัวอ่อนนุ่ม.

ใหม่!!: สปีชีส์และเมอโรสโทมาทา · ดูเพิ่มเติม »

เมียร์แคต

มียร์แคต (Meerkat, Suricate) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีขนาดลำตัวเล็ก น้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม (2 ปอนด์) และสูงประมาณ 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) จัดอยู่ในวงศ์พังพอน (Herpestidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Suricata และแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) เมียร์แคตมีอุ้งเล็บที่มีลักษณะโค้งเพื่อใช้ในการขุด และมีจมูกไวมาก มีขนสั้นสีน้ำตาล มีขนเป็นแนวเส้นขนานพาดข้ามหลัง อาศัยและหาอาหารในโพรงดินที่ขุดขึ้น โดยอาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ รวมถึงสัตว์มีกระดูกสันหลังตัวเล็ก ๆ อีกด้วย อีกทั้งยังสู้และกินสัตว์มีพิษต่าง ๆ ได้อีกด้วย เช่น แมงป่อง ตะขาบ งูพิษ เป็นต้น มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่บางครั้งอาจมีสมาชิกถึง 30 ตัว และอยู่ร่วมกับสัตว์ขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ เช่น กระรอกดิน ไม่ชอบอยู่กับที่ ชอบยืนชะเง้อคอ เพื่อตรวจดูและดมกลิ่นในบริเวณรอบ ๆ จะออกมารับแสงแดดในช่วงเวลาเช้าเพื่อให้ร่างกายอบอุ่น เมียร์แคตถือได้ว่าเป็นสัตว์มีประสาทสัมผัสและการระแวดระวังภัยที่ดีมาก โดยเฉพาะเรื่องการรับฟังเสียงจะสามารถได้ยินเสียงในรัศมีถึง 160 ฟุต (50 เมตร) และจะอพยพย้ายที่อยู่เมื่อมีภัย ทั้งนี้โพรงของเมียร์แคตมีความลึกลงไปในใต้ดิน โพรงดินที่สร้างขึ้นสามารถเชื่อมต่อกัน ทำให้มีช่องทางเข้าออกมากขึ้นและช่วยให้มีทางหลบหนีเมื่อมีภัยมา เมียร์แคตจะขยายพันธุ์เมื่อมีอายุประมาณ 1 ปี จะออกลูกตามโพรง ช่วงฤดูผสมพันธุ์คือเดือนตุลาคม-มีนาคม ระยะเวลาตั้งท้องประมาณ 11 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 2-5 ตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเมียร์แคต · ดูเพิ่มเติม »

เม่นต้นไม้

ม่นต้นไม้ หรือ เม่นบราซิล (Brazilian porcupine) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coendou prehensilis เป็นสัตว์ฟันแทะจำพวกเดียวกับเม่น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในป่าดิบชื้นในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศโบลิเวีย, บราซิล, ตรินิแดดและโตเบโก, ตอนเหนือของอาร์เจนตินา, เวเนซุเอลา, กายอานา และมีรายงานพบในเอกวาดอร์ด้วย มีลักษณะจมูกและปากเล็กแหลม ฟันแหลมคม สำหรับขบเคี้ยวอาหารและใช้เป็นอาวุธสำหรับต่อสู้ป้องกันตัวในบางครั้ง ดวงตากลมโตสีดำ ใบหูขนาดเล็ก รับฟังเสียงรอบข้างได้ดี ทั่วทั้งร่างกายปกคลุมด้วยหนามสั้นหนา ปลายหนามด้านบนสีขาวหรือสีเหลืองเข้มผสม ส่วนโคนหนามซึ่งติดกับผิวหนังเป็นสีเทา ขาคู่หน้า ยาวกว่าคู่หลังเล็กน้อย แต่ละข้างมี 4 นิ้ว และเล็บที่แหลมคมสำหรับแกะเปลือกไม้และขุดรากพืชบางชนิด กิ่งไม้ขนาดเล็กรวมทั้งผลไม้สดเป็นอาหาร ส่วนหางยาวและค่อนข้างแข็งแรงจะใช้จับกิ่งก้านขณะเคลื่อนไหว ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ มีนิสัยขี้อาย ชอบใช้ชีวิตอยู่ตามลำพังตัวเดียว ออกหากินในเวลากลางคืน กลางวันจะพักผ่อนหลับนอนอยู่ตามโพรงไม้ บางครั้งอาจพบอยู่ตามโพรงดินที่ขุดลึกไป 6-10 เมตร ขนาดโตเต็มที่ขนาดลำตัวมีความยาว 300-600 มิลลิเมตร และหางจะมีความยาวเกือบเท่าขนาดลำตัวหรือยาวเพิ่มอีก 330-485 มิลลิเมตร น้ำหนักตัวเฉลี่ย 2-5 กิโลกรัม ตกลูกครั้งละตัวเดียว เม่นต้นไม้แรกเกิดถูกปกคลุมด้วยเส้นขนสีแดงและหนามเล็ก ๆ ที่จะแข็งตัวเร็วหลังจากเกิด มักส่งเสียงร้องเมื่อพบอันตรายใกล้ตัวคล้ายเสียงร้องไห้ เมื่อพบกับศัตรูจะขดตัวกลมคล้ายลูกบอลคล้ายตัวลิ่น ในประเทศไทย เม่นต้นไม้ถูกนำเข้ามาแสดงครั้งแรกในวันปลาสวยงามแห่งชาติ ที่ห้างเดอะมอลล์ งามวงศ์วาน ระหว่างวันที่ 2 ตุลาคม จนถึง 10 ตุลาคม พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: สปีชีส์และเม่นต้นไม้ · ดูเพิ่มเติม »

เม่นใหญ่

ม่นใหญ่ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในสกุล Hystrix (/ฮิส-ทริก/) เป็นสัตว์ฟันแทะ จำพวกเม่น ในวงศ์เม่นโลกเก่า (Hystricidae) จัดเป็นเม่นขนาดใหญ่ หนามยาวและแหลมแข็ง กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียและแอฟริกา โดยเม่นสกุลนี้สามารถย้อนเผ่าพันธุ์ไปได้ไกลถึงยุคไมโอซีนในแอฟริก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเม่นใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เมเปิล

มเปิล หรือ ก่วมลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ ดร.ก่องการดา ชยามฤต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (Acer มาจากภาษาละตินแปลว่า: แหลม,คม หมายถึงปลายแหลมของใบ) คือสกุลของต้นไม้หรือพุ่มไม้ ซึ่งแบ่งได้หลายประเภทในวงศ์เดียวกัน มีประมาณ 125 สปีชีส์ ส่วนมากเป็นพืชในแถบเอเชีย แต่ก็มีบ้างในแถบยุโรป,ตอนเหนือของทวีปแอฟริกาและทวีปอเมริกาเหนือ มันถูกจัดเข้าสู่สกุลครั้งแรกโดย โจเชฟ ปีตตอง เดอ ตัวเนฟอร์ต (Joseph Pitton de Tournefort) นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเมเปิล · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อกั้นหูชั้นใน

ื่อกั้นหูชั้นใน หรือ เยื่อฐาน (Basilar membrane) ภายในหูชั้นในรูปหอยโข่ง (คอเคลีย) เป็นโครงสร้างแข็ง ๆ ที่แยกท่อสองท่อซึ่งเต็มไปด้วยน้ำ ซึ่งก็คือช่อง scala media และ scala tympani (ดูรูป) และวิ่งไปตามก้นหอยของคอเคลี.

ใหม่!!: สปีชีส์และเยื่อกั้นหูชั้นใน · ดูเพิ่มเติม »

เยติ

รคดี เยติ หรือ มนุษย์หิมะ (เนปาลี: हिममानव himamānav, คำแปล "มนุษย์หิมะ") เป็นชื่อที่ใช้เรียกสัตว์ประหลาดชนิดหนึ่ง ในความเชื่อของชาวเชอร์ปา ชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่แถบเทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาล, ภูฏาน, ธิเบต, จีน จนถึงบางพื้นที่ในมองโกเลียและรัสเซีย โดยเชื่อว่าเยติ เป็นสัตว์ขนาดใหญ่สูงตั้งแต่ 5–8 ฟุต น้ำหนักประมาณ 600 ปอนด์ ที่คล้ายมนุษย์ผสมกับลิงไม่มีหางคล้าย กอริลลา มีขนยาวสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำหรือสีเทาหรือเทาเข้มปกคลุมทั้งลำตัว ยกเว้นใบหน้าที่มีสีคล้ำ มีเสียงร้องที่น่าสะพรึงกลัว โดยปรกติแล้ว เยติเป็นสัตว์ที่มีนิสัยสงบเสงี่ยม แต่อาจดุร้ายโจมตีใส่มนุษย์และสัตว์เลี้ยง เช่น จามรี ได้ในบางครั้ง เยติ ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมของชาวเชอร์ปามาอย่างช้านาน โดยถูกกล่าวถึงในนิทานและเพลงพื้นบ้าน และเรื่องเล่าขานต่อกันมาถึงผู้ที่เคยพบมัน นอกจากนี้แล้วยังปรากฏในศิลปะของพุทธศาสนานิกายมหายานแบบธิเบต โดยปรากฏเป็นภาพในพรมธิเบตที่แขวนไว้ที่ฝาผนังเหมือนจิตรกรรมฝาผนังในวัดลามะอายุกว่า 400 ปี เป็นภาพของสิ่งมีชีวิตประหลาดอย่างหนึ่งที่ขนดกอยู่ด้านมุมภาพและในมือถือกะโหลกมนุษย์อยู่ และปัจจุบันนี้ ก็มีสิ่งที่เชื่อว่าเป็นหนังหัวของเยติถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในวัดลามะแห่งหนึ่งในคุมจุง ซึ่งนับว่าเยติเป็นสัตว์ที่ถูกกล่าวอ้างถึงยาวนานกว่าสัตว์ประหลาดที่มีลักษณะคล้ายกันชนิดอื่นที่พบในอีกซีกโลก เช่น บิ๊กฟุต หรือ ซาสควาทช์ ในทวีปอเมริกาเหนือ, ยาวี ในทวีปออสเตรเลีย หรืออัลมาส์ ในเอเชียกลาง หากแต่หลักฐานเกี่ยวกับเยติเมื่อเทียบกับบิ๊กฟุตแล้วพบน้อยกว่ามาก แต่มีหลายกรณีที่บ่งชี้ว่าเป็นสัตว์ที่ดุร้าย ก้าวร้าวกว่ามาก นอกจากคำว่าเยติแล้ว ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ที่เรียกเยติ เช่น เธลม่า (Thelma), แปลว่า "ชายตัวเล็ก" เชื่อว่ามีนิสัยรักสงบ ชอบสะสมกิ่งไม้และชอบร้องเพลงขณะที่เดินไป, ดซูท์เทห์ (Dzuteh) เป็นเยติขนาดใหญ่ มีขนหยาบกร้านรุงรัง มีนิสัยดุร้ายชอบโจมตีใส่มนุษย์, มิห์เทห์ (Mith-teh) มีนิสัยคล้ายดซูท์เทห์ คือ ดุร้าย มีขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำ, เมียกา (Mirka) แปลว่า "คนป่า" เชื่อว่าหากมันพบเห็นสิ่งใดไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ มันจะทำร้ายจนถึงแก่ความตาย, คัง แอดมี (Kang Admi) แปลว่า "มนุษย์หิมะ" และ โจบราน (JoBran) แปลว่า "ตัวกินคน" ขณะที่ในภูฏานเรียกว่า มิกอย (Migoi) หรือ นากอย (Nagoi) ส่วนชื่อ มนุษย์หิมะ นั้น ปรากฎขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1921 เมื่อนักสำรวจชาวตะวันตกซึ่งเป็นผู้ที่ถ่ายภาพรอยเท้าของเยติไว้ได้เป็นภาพแรก เจอกับปัญหาการแปลภาษาเชอร์ปา ซึ่งมาจากคำว่า "ดซูท์เทห์" ที่แปลได้ว่า "มนุษย์ตัวเหม็นแห่งหิมะ" ซึ่งเขาได้เขียนลงในบันทึกในฐานที่พักว่า "มนุษย์ตัวเหม็นน่ารังเกียจแห่งหิมะ" ที่ภูฏาน ชาวพื้นเมืองต่างเชื่อว่าเยติมีจริง หลายคนเคยได้พบเจอตัวหรือได้ยินเสียงของเยติ โดยกล่าวว่าเยติเป็นสัตว์ดุร้าย ที่ฆ่ามนุษย์ได้ มีรูปร่างสูงใหญ่ มีพละกำลังมาก มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุมทั่วร่างรวมถึงมีใบหน้าคล้ายลิง มีเขี้ยวที่ยาวและแหลมคม เสียงร้องของเยติเป็นเสียงสูง เยติอาศัยอยู่ตามถ้ำหรือในป่าลึก ออกหากินในช่วงเวลาที่อากาศอบอุ่น ทำรังด้วยการใช้กิ่งไม้ขัดสานกันเหมือนเตียงนอน และเชื่อว่าหากผู้ใดต้องการพบเห็นตัวเยติต้องทำร่างกายให้สกปรก หากเนื้อตัวสะอาดก็จะไม่ได้พบเยติ มีรายงานการพบเห็นเยติเป็นจำนวนมากทางตอนเหนือของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสากเต็ง ในเขตตราชิกัง เรเน เดอ มีล์วีลล์ นักปีนเขาชาวฝรั่งเศสเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1976 เรื่องราวของเยติที่โจมตีใส่มนุษย์นั้น ได้ถูกทำเป็นรายงานส่งไปยังเมืองกาฐมาณฑุ เมืองหลวงของเนปาล ซึ่งปากคำของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อถูกบันทึกโดยอาสาสมัครชาวอเมริกันที่ทำงานในเนปาล โดยผู้ถูกทำร้ายเป็น เด็กหญิงชาวเชอร์ปาคนหนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเยติ · ดูเพิ่มเติม »

เยนส์ คือห์เน

นส์ คือห์เน (เยอรมัน: Jens Kühne) เป็นนักมีนวิทยาและนักสำรวจธรรมชาติชาวเยอรมัน เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1970 จบการศึกษาด้านสูทกรรม และทำงานเป็นเชฟมากว่า 25 ปี ทั้งในเยอรมนีและสวิสเซอร์แลนด์ โดยมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาอาวุโสให้กับโรงแรมดอยช์ในเยอรมนี คือห์เน เริ่มต้นทำงานด้านมีนวิทยาจากความชอบที่จะเลี้ยงปลาในวัยเด็ก โดยปลาชนิดแรกที่เลี้ยง คือ ปลาพาราไดซ์ (Macropodus opercularis) เริ่มต้นจากการรวบรวมเงินที่สะสมมาตลอดการทำงาน 25 ปี เดินทางมาที่กลุ่มประเทศเอเชียอาคเนย์ เพื่อสำรวจปลาในแหล่งธรรมชาติ โดยเริ่มจากอินโดนีเซีย ในปี ค.ศ. 1994 จากนั้นได้ตระเวนไปทั่วทั้งมาเลเซีย, ลาว, กัมพูชา และได้เดินทางมาสู่ประเทศไทยในปี ค.ศ. 2000 จนได้ปักหลักถาวรจนถึงปัจจุบัน ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมกับภริยาชาวไทย ซึ่งในบ้านพักมีตู้ปลาที่เลี้ยงไว้จำนวนมาก รวมทั้งเพาะสัตว์ที่เป็นอาหารปลาเองด้วย เช่น ลูกน้ำ, ไรแดง, ไรทะเล, โรติเฟอร์ เป็นต้น เยนส์ คือห์เน มีผลงานสำรวจพบปลาชนิดใหม่ของโลก 2 ชนิด คือ ปลากัดชนิด Betta kuehnei ที่ค้นพบในมาเลเซีย และอีกชนิดหนึ่งกำลังขอดำเนินการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นปลาในสกุลปลากริม (Trichopsis spp.) ค้นพบที่จังหวัดเพชรบุรี นอกจากนี้แล้ว ยังทำงานพิเศษให้กับสถาบันอุดมศึกษาที่สาธารณรัฐเชคเกี่ยวกับการสำรวจปลาในวงศ์ปลาค้อ (Balitoridae) ในทวีปเอเชีย, เขียนบทความให้กับนิตยสารปลาสวยงามของยุโรปหลายฉบับ เช่น Amazonas, DATZ, Aquarium live, Aquaristik, Fachmagazin เป็นต้น, เขียนบทความเกี่ยวกับปลาในกลุ่มปลากัดให้แก่ สมาคมปลากัดนานาชาติ (International Gemeinschinschaft für Labyrinthfische) ที่ตั้งอยู่ยังประเทศเยอรมนี รวมทั้งเขียนบทความเรื่องกล้วยไม้และแมลงให้แก่นิตยสารกล้วยไม้ และสัตว์เลี้ยง ในประเทศเยอรมนีด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเยนส์ คือห์เน · ดูเพิ่มเติม »

เรือด

รือด (Bedbug) เป็นแมลงขาปล้องที่เป็นปรสิต อยู่ใน Phylum Arthropoda, Class Insecta มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cimex lectularius.

ใหม่!!: สปีชีส์และเรือด · ดูเพิ่มเติม »

เลียงผา

ลียงผา หรือ เยียงผา หรือ โครำ (Serows; อีสาน: เยือง) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่สกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae คือ วงศ์เดียวกับแพะและแกะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capricornis (/แคป/-ปริ-คอร์-นิส/).

ใหม่!!: สปีชีส์และเลียงผา · ดูเพิ่มเติม »

เล็บครุฑ (พรรณไม้)

ำหรับความหมายอื่น ดูที่: เล็บครุฑ เล็บครุฑ (Polyscias) เป็นสกุลของพรรณไม้ยืนต้น ในสกุล Polyscias มีทั้งหมด 114 ชนิดGovaerts, R. & al.

ใหม่!!: สปีชีส์และเล็บครุฑ (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ใหม่!!: สปีชีส์และเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เสือชีตาห์

ือชีตาห์ (Cheetah) เป็นเสือเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอก ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110–120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน 20 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว 4,000 ตัวเท่านั้น เสือชีตาห์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acinonyx jubatus และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acinonyx ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเสือชีตาห์ชนิดอื่น ๆ นั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดในยุคน้ำแข็งสุดท้าย จึงทำให้สายพันธุ์กรรมของเสือชีตาห์ทั้งหมดในปัจจุบันใกล้ชิดกันมาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเสือชีตาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่ง

ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งชวา

ือโคร่งชวา เป็นเสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris sondaica เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยพบได้ในอินโดนีเซีย โดยจะพบได้เฉพาะบนเกาะชวาเท่านั้น ปัจจุบันเสือโคร่งชวาได้สูญพันธุ์ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เช่นเดียวกับเสือโคร่งบาหลี (P. t. balica) เสือโคร่งชวาเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดเล็ก เช่นเดียวกับเสือโคร่งบาหลี และเสือโคร่งสุมาตรา (P. t. sumatrae) โดยตัวผู้มีน้ำหนักอยู่ระหว่าง 100-140 กิโลกรัม มีความยาวตั้งแต่หัวจรดหาง 245 เซนติเมตร ตัวเมียมีน้ำหนักระหว่าง 75-115 กิโลกรัม และมีขนาดตัวเล็กกว่าตัวผู้ เสือโคร่งชวาถูกคุกคามอย่างหนักจากการล่าของมนุษย์และการตัดไม้ทำลายป่าซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัย โดยส่วนมากถูกล่าอย่างหนักในช่วงทศวรรษที่ 40 จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1970 เหลือเสือโคร่งชวาเพียงแห่งเดียวที่อุทยานแห่งชาติเมรูเบติลีที่ชวาตะวันตกเท่านั้น และหลังจากปี ค.ศ. 1976 ก็ไม่มีใครพบเสือโคร่งชวาอีกเลย ปัจจุบัน มีรายงานการพบเห็นเสือโคร่งชวาบ้าง แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานที่มีน้ำหนักมายืนยันได้อย่างเพียงพอ โดยการพบเห็นครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2008 พบร่างนักปีนเขาหญิงนิรนามผู้หนึ่งถูกสัตว์ที่คาดว่าเป็นเสือโจมตี ที่อุทยานแห่งชาติเขาเมอร์บารู ในชวากลาง และในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009 มีชาวบ้านอ้างว่าพบเห็นแม่เสือพร้อมลูกเสือ 2 ตัวที่ใกล้กับหมู่บ้านที่เขาลาวู.

ใหม่!!: สปีชีส์และเสือโคร่งชวา · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งบาหลี

ือโคร่งบาหลี (Bali tiger) เสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris balica เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยมีอยู่ในอินโดนีเซีย โดยเสือโคร่งบาหลีจะพบได้เฉพาะบนเกาะบาหลีเท่านั้น ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วจากการล่าด้วยน้ำมือของมนุษย์ เสือโคร่งบาหลีนับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่มีในโลก เมื่อเทียบกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) ที่เป็นเสือโคร่งขนาดใหญ่ที่สุดแล้ว เสือโคร่งบาหลีมีขนาดลำตัวเพียงครึ่งหนึ่งของเสือโคร่งไซบีเรียเท่านั้น โดยมีลำตัวไล่เลี่ยกับเสือดาว (P. pardus) หรือเสือพูม่า (Puma concolor) ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ น้ำหนักในตัวผู้โดยเฉลี่ย 90-100 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียจะอยู่ที่ 65-80 กิโลกรัม ความยาวตั้งแต่หัวจรดหางของตัวผู้ 220 เซนติเมตร ตัวเมีย 195-200 เซนติเมตร เสือโคร่งบาหลีมีสีขนและลวดลายบนลำตัวเข้มที่สุดในบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด เสือโคร่งบาหลีตัวสุดท้ายตายลงเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1937 เป็นเสือตัวเมียที่ถูกยิงในบาหลีตะวันตก ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ทั่วโลก มีซากเสือโคร่งบาหลีเพียง 8 ตัวเท่านั้น โดยส่วนใหญ่จะได้มาจากการล่าในทศวรรษที่ 30.

ใหม่!!: สปีชีส์และเสือโคร่งบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งมลายู

ือโคร่งมลายู หรือ เสือโคร่งมาเลเซีย (Harimau Malaya) เสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris jacksoni ในวงศ์ Felidae เป็นเสือโคร่งสายพันธุ์ใหม่ที่เพิ่งถูกอนุกรมวิธานแยกออกจากเสือโคร่งอินโดจีน (P. t. corbetti) เมื่อปี ค.ศ. 2004 อันเนื่องจากดีเอ็นเอที่ต่างกันKhan, M.K.M. (1986).

ใหม่!!: สปีชีส์และเสือโคร่งมลายู · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งแคสเปียน

ือโคร่งแคสเปียน หรือ เสือโคร่งเปอร์เซีย (Caspian tiger, Persian tiger.; ببر قزويني) เสือโคร่งสายพันธุย่อยสายพันธุ์หนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้ว มีการกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงตะวันออกกลาง เช่น อัฟกานิสถาน, เทือกเขาคอเคซัส, ภาคตะวันตกของจีน, ที่ราบสูงแมนจูเรีย, อิหร่าน, อิรัก, ตุรกี, มองโกเลีย, คาซัคสถาน, ทาจิกิสถาน, คีร์กีซสถาน, เติร์กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน รวมถึงอาจจะแพร่กระจายพันธุ์ไปถึงซูดานในแอฟริกาเหนือด้วยก็เป็นได้ เนื่องจากมีผู้พบขนเสือโคร่งวางขายในตลาดของไคโร อียิปต์ ในปี ค.ศ. 1951 ซึ่งขนเสือผืนนี้มาจากซูดาน เสือโคร่งแคสเปียน มีลักษณะคล้ายคลึงกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) มาก นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่อีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยตัวผู้ในเตอร์กิสถานมีความยาวลำตัว 270 เซนติเมตร นับเป็นสถิติที่ใหญ่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา ในขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมา น้ำหนักตัวเต็มที่ประมาณ 240 กิโลกรัม ล่ากวางและหมูป่า รวมถึงไก่ฟ้า กินเป็นอาหาร ถิ่นที่อยู่อาศัยของเสือโคร่ง 2 สายพันธุ์นี้ต่อติดกัน โดยเสือโคร่งแคสเปียนจะกระจายพันธุ์อยู่แถบตะวันตกของภูมิภาคเอเชียกลาง และเสือโคร่งไซบีเรียจะกระจายพันธุ์อยู่ทางตะวันออกของภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงเอเชียเหนือ ภาพวาดแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของลายที่หางของเสือโคร่งแคสเปียน (ซ้าย) กับเสือโคร่งไซบีเรีย (ขวา) เสือโคร่งแคสเปียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 โดยที่เทือกเขาคอเคซัสตัวสุดท้ายถูกฆ่าตายไปในปี ค.ศ. 1922 ใกล้กับทบิลิซี จอร์เจีย หลังจากไปฆ่าสัตว์เลี้ยงในฟาร์มของชาวบ้าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายในตุรกีถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1970 ใกล้กับอูลูเดเร ฮักการี ในอิรักเคยพบเสือโคร่งแคสเปียนเพียงตัวเดียว ถูกฆ่าใกล้กับโมซูล ในปี ค.ศ. 1887 ในอิหร่าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1959 ในโกลีสตาน เสือโคร่งแคสเปียนตัวหนึ่งในลุ่มแม่น้ำทาริม ของจีนถูกฆ่าตายในปี ค.ศ. 1899 ใกล้กับทะเลสาบลอปนอร์ในมณฑลซินเจียง และหลังจากทศวรรษที่ 20 ก็ไม่มีใครเห็นเสือโคร่งสายพันธุ์นี้ในลุ่มแม่น้ำนี้อีกเลย เสือโคร่งแคสเปียนหายไปจากลุ่มแม่น้ำมานัสในเทือกเขาเทียนซานทางตะวันตกของอุรุมชี ในทศวรรษที่ 60 ที่แม่น้ำไอรี ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยสำคัญแหล่งสุดท้ายในบริเวณทะเลสาบบัลฮัช มีผู้พบครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1948 และตอนปลายแม่น้ำอามูดาร์ยาบริเวณชายแดนระหว่างเติร์กเมนิสถาน, อุซเบกิสถาน และอัฟกานิสถาน เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 แล้ว แม้จะมีรายงานอย่างไม่เป็นทางการว่าพบเสือโคร่งแคสเปียนบริเวณทะเลอารัลใกล้กับนูคัส ในปี ค.ศ. 1968 หรือในเขตสงวนทางธรรมชาติทิโกรวายาบัลกา ซึ่งเป็นป่ากกริมแม่น้ำอามูดาร์ยา บริเวณชายแดนทาจิกิสถานและอัฟกานิสถาน มีผู้พบเห็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1953 แต่มีผู้อ้างว่าพบเห็นรอยเท้าคล้ายรอยเท้าเสือโคร่งขนาดใหญ่ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเสือโคร่งแคสเปียน · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยว

หยี่ยว หรือ อีเหยี่ยวบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหยี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวดำ

หยี่ยวดำ (Black kite, Pariah kite) เป็นเหยี่ยวชนิดหนึ่ง จัดเป็นนกขนาดกลาง ขนาดลำตัวประมาณ 60-66 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกันคือ ลำตัวสีน้ำตาลเข้มอมเหลืองทั้งด้านบนและด้านล่าง ปีกสีน้ำตาลเข้ม หางเป็นแฉกตื้น ๆ มองดูคล้ายง่าม ปากสั้นสีดำแหลมคม ปลายปากเป็นขอ หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ส่วนนกที่ยังไม่โตเต็มที่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน พร้อมกับมีขีดสีเหลืองอ่อนทั่วทั้งตัว พบกระจายพันธุ์อยู่กว้างขวางในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ยูเรเชีย, ออสตราเลเชีย และโอเชียเนีย จึงทำให้มีชนิดย่อยหลากหลายถึง 5 ชนิด (ดูในตาราง) และเป็นนกอพยพในหลายพื้นที่ในช่วงฤดูหนาว ในประเทศไทยพบได้ในป่าทางภาคเหนือ, ภาคกลางและภาคใต้ มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางวัน ชอบบินอยู่ตามที่โล่งชายป่า ตามริมฝั่งทะเล หรือตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ เพื่อหาอาหาร เมื่อจับเหยื่อได้ก็มักกินบนพื้นดิน หรืออาจนำไปกินบนต้นไม้ พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่หรือเป็นฝูง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ เหยี่ยวดำจะทำรังรวมกันเป็นกลุ่มบนต้นไม้สูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันสร้างรังด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ นำมาขัดสานกัน จากนั้นทั้งคู่จะช่วยกันกกไข่และเลี้ยงลูกอ่อน นกจะใช้เวลากกไข่นานประมาณ 29-32 วัน ออกไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ปกติ 3 ฟอง ไข่ของเหยี่ยวดำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ในการสำรวจในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเหยี่ยวดำ · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวปลา

ระวังสับสนกับ: อินทรีกินปลา เหยี่ยวปลา (Fish-eagle, Fishing eagle) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Ichthyophaga เหยี่ยวปลา มีลักษณะคล้ายกับอินทรีหรือเหยี่ยวในสกุล Haliaeetus หรืออินทรีทะเล แต่มีขนาดเล็กกว่า แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ทั้งหมดพบในทวีปเอเชียในแต่ละภูมิภาค คือ อนุทวีปอินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงสุลาเวสี มีลักษณะเด่น คือ ขนส่วนหัวเป็นสีเทา หน้าแข้งขาว เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทามีน้ำหนักน้อยกว่าเหยี่ยวปลาใหญ่หัวเทาถึงครึ่งเท่าตัว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหยี่ยวปลา · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวนกเขา

หยี่ยวนกเขา (Bird hawk, Sparrow hawk) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Accipiter จัดอยู่ในวงศ์เหยี่ยวและอินทรี (Accipitridae) มีลักษณะโดยรวม คือ ลำตัวมีขนสีเทาน้ำตาล มีลายตลอดตัว อกสีน้ำตาลลายกระขาว มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ตามลำพังหรือเป็นคู่ มักล่าเหยื่อด้วยการซ่อนตัวเงียบ ๆ ในพุ่มไม้บนต้นเพื่อโฉบเหยื่อไม่ให้รู้ตัว มีขนาดเล็กที่สุด คือ เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก (A. minullus) ที่พบในทวีปแอฟริกา มีความยาวลำตัวน้อยกว่า 20 เซนติเมตร (7.9 นิ้ว) ความกว้างของปีก 39 เซนติเมตร (15 นิ้ว) น้ำหนัก 68 กรัม (2.4 ออนซ์) จนถึงเหยี่ยวนกเขาท้องขาว (A. gentilis) ที่ตัวเมียขนาดใหญ่สุด ความยาวลำตัว 64 เซนติเมตร (25 นิ้ว) ความยาวปีก 127 เซนติเมตร (50 นิ้ว) น้ำหนัก 2,200 กรัม (4.9 ปอนด์) สำหรับในประเทศไทย พบได้ทั้งสิ้น 7 ชนิด เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองทั้งหมด เช่น เหยี่ยวนกเขาชิครา (A. badius), เหยี่ยวนกเขาหงอน (A. trivirgatus) และเหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่น (A. gularis) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหยี่ยวนกเขา · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวนกเขาชิครา

Shikra, Chappad Chidi, Mohali, Punjab, India เหยี่ยวนกเขาชิครา หรือ เหยี่ยวชิครา (shikra) เป็นเหยี่ยวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเหยี่ยวนกเขา มีลักษณะปากแหลมปลายปากงุ้มลง ปีกกว้างสั้น ปลายปีกแหลม หางยาว ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน แต่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อยและลำตัวออกสีน้ำตาลมากกว่า ลำตัวด้านบนมีสีเทาอมฟ้า แก้มสีเทามีสีขาวเป็นลายเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ อยู่ติดกัน ที่คอมีสีเส้นสีดำลากผ่านกึ่งกลางสันคอ ตามีสีแดงหรือเหลือง หางสีเทามีลายแถบสีคล้ำ 5 แถบ แข้งเป็นสีเหลือง เมื่อเวลาบินจะเห็นปีกด้านล่างเป็นสีขาว ปลายปีกเป็นสีดำและมีลายยาวสีน้ำตาลคล้ำ ลูกนกที่ยังไม่โตเต็มที่จะมีขนสีน้ำตาลเทาเข้ม มีแถบสีขาวและน้ำตาลแดงที่ท้ายทอย คิ้วสีขาว หน้าอกมีแถบใหญ่สีน้ำตาลแดง ที่สีข้างและต้นขามีสีน้ำตาลแดงเป็นขีดสั้น ๆ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30-36 เซนติเมตร จึงจัดเป็นเหยี่ยวขนาดเล็กที่สุดในสกุล Accipiter ชนิดหนึ่ง มีพฤติกรรมกระพือปีกได้เร็ว และร่อนอยู่กลางอากาศเพื่อหาเหยื่อ ล่าเหยื่อจำพวกสัตว์ชนิดอื่นและนกขนาดเล็ก รวมถึงแมลงขนาดใหญ่เป็นอาหาร มักอยู่ตามลำพังหรืออยู่เป็นคู่ ปกติชอบเกาะนิ่งอยู่ตามยอดไม้สูงชายป่าหรือป่าละเมาะ คอยออกบินโฉบจับเหยื่อไม่ให้รู้ตัว สร้างรังอย่างง่าย ๆ โดยการเอากิ่งไม้มาขัดกันบนคาคบ เหยี่ยวนกเขาชิครา เป็นนกที่มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้, เอเชียอาคเนย์, เอเชียตะวันออกจนถึงเกาะสุมาตรา จึงแบ่งออกเป็นชนิดย่อยด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกภูมิภาคยกเว้นภาคใต้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหยี่ยวนกเขาชิครา · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวแมลงปอ

หยี่ยวแมลงปอ (Falconet, Typical falconet) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเหยี่ยว จัดอยู่ในสกุล Microhierax ในวงศ์เหยี่ยวปีกแหลม (Falconidae) เป็นเหยี่ยวขนาดเล็กมีขนาดลำตัวไล่เลี่ยกับนกกระจอกเท่านั้นเอง ที่ได้ชื่อว่าเหยี่ยวแมลงปอ เพราะมีพฤติกรรมโฉบบินจับแมลงปอและแมลงอื่น ๆ กินเป็นอาหารกลางอากาศได้ แต่ก็สามารถจับสัตว์อย่างอื่น เช่น สัตว์เลื้อยคลาน, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แบ่งได้ออกเป็น 5 ชนิด ทุกชนิดเป็นนกที่พบประจำถิ่นได้ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ในประเทศไทยพบ 2 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหยี่ยวแมลงปอ · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวแคระ

หยี่ยวแคระ หรือ เหยี่ยวเล็ก (Pygmy falcon) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จำพวกเหยี่ยว จัดอยู่ในสกุล Polihierax อยู่ในวงศ์เหยี่ยวปีกแหลม (Falconidae) แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหยี่ยวแคระ · ดูเพิ่มเติม »

เหย่เหริน

อักษรสลักเป็นภาษาจีนบนหน้าผา ความว่า "ถ้ำของเหย่เหริน" ในมณฑลหูเป่ย์ตะวันตก เหย่เหริน หรือ ซูเหริน (อังกฤษ: Yeren, Yiren, Yeh Ren; จีน: 野人; พินอิน: Yěrén แปลว่า "คนป่า"; อังกฤษ: Xueren; จีน: 神农架野人; พินอิน: Shénnóngjiàyěrén แปลว่า "คนป่าแห่งเสินหนงเจี้ย") หรือ มนุษย์หมี (อังกฤษ: Man Bear; จีน: 人熊; พินอิน: Ren Xiong) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่เชื่อว่า มีลักษณะคล้ายมนุษย์แต่มีขนดกปกคลุมอยู่ทั่วร่าง อาศัยอยู่ ณ เขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย ในมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน โดยเหย่เหริน มีลักษณะคล้ายอุรังอุตังที่พบบนเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีขนสีน้ำตาลแดงเข้มยาว 3–4 เซนติเมตร มีท้องขนาดใหญ่ ยืนด้วยขาหลังทั้งสองข้าง มีความสูง 5–7 ฟุต หรือ 8 ฟุต แต่มีรายงานว่าสามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ใบหน้ามีลักษณะผสมกับระหว่างมนุษย์และเอป มีส่วนของขาหน้าหรือมือมีนิ้ว 5 นิ้ว โดยที่นิ้วโป้งแยกออกมาเหมือนมนุษย์ เคยมีการพบรอยเท้าของเหย่เหรินมีความยาว 16 นิ้ว มีโครงสร้างที่ใกล้เคียงกับเอป ในตัวผู้มีองคชาตเหมือนผู้ชาย ในขณะที่ตัวเมียมีเต้านมเหมือนผู้หญิง ส่งเสียงร้องได้ดังและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เชื่อกันว่า เหย่เหริน มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์นีแอนเดอร์ธาลที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียเหนือ และเอเชียกลาง เมื่อ 350,000 กว่าปีก่อน ซึ่งเมื่อเทียบกับสัตว์ชนิดอื่นที่คล้ายคลึงกัน เช่น บิ๊กฟุตในอเมริกาเหนือ ในคติของจีนมีศัพท์ที่ใช้เรียกสัตว์ที่มีลักษณะเช่นนี้โดยเฉพาะ โดยมีผู้เชื่อว่าอาจจะมีจำนวนเหย่เหรินมากถึง 1,000–2,000 ตัวอาศัยอยู่ในประเทศจีนตอนกลาง นักวิทยาศาสตร์ชาวจีนที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการมีอยู่ของเหย่เหริน โดยการกล่าวอ้างถึงจากนักท่องเที่ยวที่ได้มาเที่ยวยังเขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย โดยค้นพบรอยเท้าและทำการหล่อเป็นปูนปลาสเตอร์เพื่อศึกษา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีทฤษฎีว่า เหย่เหรินอาจจะเป็นเอปขนาดใหญ่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gigantopithecus blacki ที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียกลาง แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วกว่า 500,000 ปี มีนักวิชาการที่ได้รับทุนจากรัฐบาลให้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของเหย่เหริน สามารถเก็บตัวอย่างขนที่เชื่อว่าเป็นของเหย่เหรินได้เมื่อนำไปเทียบกับขนของลิงหรือเอปที่เป็นที่รู้จัก ปรากฏว่าไม่ตรงกับชนิดใดเลย ในตำนานพื้นบ้านแถบนี้ เหย่เหรินถูกเล่าขานว่าเป็นสัตว์กินเนื้อ และจับมนุษย์ฉีกแขนขากินเป็นอาหารด้วย ปัจจุบันแม้จะมีการสำรวจศึกษาเกี่ยวกับเหย่เหรินมากขึ้น แต่เรื่องของเหย่เหรินก็ยังคงอยู่ในความเชื่อของชาวจีนพื้นถิ่น ซึ่งป่าที่เหย่เหรินอาศัยอยู่นั้นก็ถือได้ว่าเป็นป่าดึกดำบรรพ์ที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์ มีพรรณพืชและพรรณสัตว์โบราณและหายากหลายชนิดอาศัยอยู่ด้วย โดยบางคนที่อ้างว่าเคยพบเห็นเหย่เหริน เป็นเจ้าหน้าที่ของเขตอนุรักษ์ อ้างว่าตนเคยคิดที่จะจับเหย่เหรินด้วยซ้ำ โดยเชื่อว่าเหย่เหรินอาศัยอยู่ในป่าหินซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเขตป่าอนุรักษ์เสินหนงเจี้ย รวมถึงมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นขณะนำพานักท่องเที่ยวบนรถทัวร์ ได้เห็นเหย่เหรินตัวหนึ่งที่มีขนสีดำวิ่งตัดหน้ารถด้วยสองขาหลัง คนขับรถได้ตะโกนบอกว่า "เหย่เหริน ๆ" ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพิ่มเติม พบว่า เหย่เหรินไม่อยู่เป็นกลุ่ม แต่จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ ระหว่างตัวผู้และตัวเมีย โดยปกติจะเดินด้วยสองขาหลัง แต่สามารถใช้ขาทั้งสี่ข้างปีนป่ายได้รวดเร็ว โดยกินอาหารจำพวก ผลไม้, ถั่ว, ข้าวโพด และแมลงบางชนิด ในสถานที่ ๆ ไม่มีใครมาพบเห็น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหย่เหริน · ดูเพิ่มเติม »

เหี้ย

หี้ย เป็นสัตว์เลื้อยคลานในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ประเทศบังกลาเทศ ศรีลังกา และอินเดีย จนถึงอินโดจีน และเกาะต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย (แบ่งออกเป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้ 5 ชนิด ดูในตาราง) โดยอาศัยอยู่ในพื้นที่ใกล้แหล่งน้ำ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเหี้ย · ดูเพิ่มเติม »

เห็ดทะเล

ห็ดทะเล (Mushroom anemones.) เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมไนดาเรียที่อยู่ในอันดับ Corallimorpharia พบอาศัยอยูในแนวปะการังน้ำตื้นของเขตร้อนทั่วโลก มีรูปรางคล้ายดอกไม้ทะเล (Actiniaria) มาก มีแผนปากกลม โดยแผ่นปากจะมีช่องปากอยู่ตรงกลาง และมีฐานสําหรับยึดเกาะ เห็ดทะเลบางชนิดจะมีหนวดที่รอบปากที่สั้นกวาดอกไมทะเลหรือบางชนิดก็ไมมีหนวดรอบปากหรือไม่สามารถมองเห็นจากภายนอกได้ เห็ดทะเลถูกแยกออกจากดอกไม้ทะเล เพราะเห็ดทะเลมีโครงสรางทางสรีรวิทยาของรางกายคล้ายกับปะการังโครงแข็ง (Scleractinia) มากกวาดอกไม้ทะเล แตอยางไรก็ตามเห็ดทะเลไมสามารถสร้างโครงสร้างของรางกายที่เปนหินปูนไดเหมือนกับปะการังโครงแข็ง ดังนั้นนักอนุกรมวิธานจึงแยกเห็ดทะเลไว้ในอันดับ Corallimorpharia เห็ดทะเลอาศัยและเจริญเติบโตบนก้อนหินหรือซากปะการังที่ตายแล้ว เป็นการดำรงชีวิตอยู่กับที่ไม่มีการเคลื่อนย้าย หรืออาจมีการเคลื่อนที่เล็กน้อยเพื่อความ อยู่รอดและการขยายพันธุ์ ในเนื้อเยื่อตามร่างกายของเห็ดทะเลจะมีสาหร่ายเซลล์เดียว คือ ซูแซนทาลี อาศัยอยู่และเป็นความสัมพันธ์แบบพึ่งพา เห็ดทะเลจะได้รับสารอาหารจากการสังเคราะห์แสงของซูแซนทาลีเป็นหลัก บางครั้งพบว่าซูแซนทาลีที่เจริญเติบโตมีจำนวนมากเกินไปเห็ดทะเลก็สามารถกรองกินซูแซนทาลีได้เช่นกัน โดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมในขณะนั้น นอกจากนี้เห็ดทะเลบางชนิดยังสามารถจับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกินเป็นอาหารเช่น ลูกกุ้ง, ลูกปลา ซึ่งเป็นการกินอาหารอาหารของเห็ดทะเลอีกวิธีหนึ่ง เห็ดทะเลมีความสามารถในการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้ดีมาก ส่วนมากที่พบคือการแตกหน่อ เห็ดทะเลจะใช้ฐานเคลื่อนย้ายตัวเองออกจากตำแหน่งเดิมแต่จะทิ้งเนื้อเยื้อส่วนหนึ่งไว้เล็กน้อย เนื้อเยื่อเหล่านี้จะสามารถพัฒนาขึ้นเป็นเห็ดทะเลตัวใหม่ได้ พบว่าเห็ดทะเลบางชนิดที่มีความสมบูรณ์สามารถแตกหน่อได้ถึง 5–6 หน่อในระยะเวลา 1 ปี อีกวิธีหนึ่งที่พบเห็นทั่วไป คือ เห็ดทะเลจะปล่อยตัวเองออกจากวัสดุยึดเกาะ และล่องลอยไปกับกระแสน้ำเมื่อไปตกในสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เห็ดทะเลเหล่านั้นจะสามารถเจริญเติบโตต่อไป เห็ดทะเลมีสีสันสวยงาม และรูปร่างแปลกตา กอรปกับไม่ได้เป็นสัตว์ที่อยู่ในรายชื่อพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า จึงนิยมในการเก็บจากธรรมชาติเพื่อมาเลี้ยงไว้ในตู้ปลาทะเล ซึ่งปัจจุบันทางกรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์เห็ดทะเลเป็นที่สำเร็จได้แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเห็ดทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เอบิลิซอรัส

วาดของเอบิลิซอรัส เอบิลิซอรัส (Abelisaurus) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดในกลุ่มย่อยเอบิซอร์อาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ในยุคครีเตเชียส เป็นสัตว์กินเนื้อสองเท้า มีความยาวประมาณ 7-9 เมตร (25-30 ฟุต) ถูกค้นพบในปีในปี ค.ศ.1995 โดยโรเบอร์โต้ อาเบล อดีตผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์Cipolletti ในประเทศอาร์เจนตินาในแคว้นปาตาโกเนี.

ใหม่!!: สปีชีส์และเอบิลิซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เอปตาเซีย

อปตาเซีย หรือ ดอกไม้ทะเลแก้ว หรือ แอนนีโมนแก้ว (Glass anemones, Glassrose anemones, Rock anemones) เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกดอกไม้ทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Aiptasia จากการสำรวจเมื่อปี ค.ศ. 1831 พบว่าเอปตาเซียมีจำนวนทั้งหมด 17 ชนิด โดยสามารถพบได้ทั่วไปในทะเลเขตร้อน และกึ่งเขตร้อนทั่วไป จำนวนชนิดของเอปตาเซียส่วนใหญ่จะกระจายอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ขณะที่ด้านมหาสมุทรแปซิฟิกมี 2 ชนิด คือ Aiptasia californica และA. pulchella ที่พบได้เฉพาะมหาสมุทรแห่งนี้ เอปตาเซียมีลักษณะทางกายวิภาค คือ มีรูปร่างคล้ายต้นปาล์ม เจริญเป็นตัวเดี่ยว ๆ หรืออาจพบเจริญเป็นกลุ่ม แต่จะไม่มีเนื้อเยื่อเชื่่อมถึงกันเหมือนกับปะการัง เนื้อเยื่อทั้งตัวของเอปตาเซียเรียกว่า โพลิป ซึ่งในโพลิปจะประกอบด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเอปตาเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมอนโตซอรัส

อ็ดมอนโตซอรัส (Edmontosaurus) เป็นพวกไดโนเสาร์ปากเป็ดชนิดหนึ่ง ฟอสซิลของมันพบในทวีปอเมริกาเหนือ อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลาย เมื่อประมาณ 73 ล้านปี ถึง 65 ล้านปีก่อน มันเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างไทรันโนซอรัสและอยู่ร่วมยุคกับไทรเซอราทอปส์ เอ็ดมอนโตซอรัส เป็นหนึ่งในพวกแฮดโดรซอร์ริเด (ไดโนเสาร์ปากเป็ด) ที่ใหญ่ที่สุด ความยาวของมันวัดได้ถึง 13 เมตร (43 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 4.0 ตันมันเป็นที่รู้จักกันจากตัวอย่างฟอสซิล ที่มีสภาพสมบูรณ์ มันมีญาติอย่างอนาโตไททัน (Anatotitan) ซึ่งอาศัยอยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน ฟอสซิลชิ้นแรกของมัน ถูกค้นพบในภาคใต้ ของรัฐอัลเบอร์ตา ประเทศแคนาดา ในปี 1917 เอ็ดมอนโตซอรัส มีชื่อก่อนหน้านี้ว่า annectens ซึ่งตั้งโดย โอลเนียท ชาล มาร์ชในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเอ็ดมอนโตซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เอ๋อเหมยซอรัส

อ๋อเหมยซอรัส (Omeisaurus; 峨嵋龙) เป็นไดโนเสาร์ซอโรพอดขนาดเล็ก ค้นพบฟอสซิลที่ภูเขาเอ๋อเหมย ประเทศจีน ขนาดประมาณ 10-21เมตร ค้นพบในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเอ๋อเหมยซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เอเลียน (สัตว์ประหลาดในแฟรนไชส์เอเลียน)

อเลียน (Alien) หรือเรียกอีกอย่างว่า ซีโนมอร์ฟ XX121 (Xenomorph XX121Alien: The Weyland-Yutani Report) เป็นตัวละครสปีชีส์ปรสิตนอกโลก ซึ่งคือศัตรูตัวเอกของภาพยนตร์ซีรีส์''เอเลียน'' ตัวละครสายพันธุ์นี้ได้รับการเปิดตัวในภาพยนตร์เอเลี่ยน (ค.ศ. 1979) และปรากฏตัวอีกในภาคต่ออย่างเอเลี่ยน 2 ฝูงมฤตยูนอกโลก (ค.ศ. 1986), เอเลี่ยน 3 อสูรสยบจักรวาล (ค.ศ. 1992) และเอเลี่ยน 4 ฝูงมฤตยูเกิดใหม่ (ค.ศ. 1997) เช่นเดียวกับผลงานข้ามฝั่ง อย่างเอเลียน ปะทะ พรีเดเตอร์ สงครามชิงเจ้ามฤตยู (ค.ศ. 2004) และเอเลียน ปะทะ พรีเดเตอร์ 2 (ค.ศ. 2007) ส่วนสิ่งมีชีวิตที่คล้ายคลึงของการออกแบบที่ต่างกันเล็กน้อยที่มีชื่อว่า "เดียคอน" ได้ปรากฏตัวช่วงสั้น ๆ ในภาพยนตร์ของริดลีย์ สก็อตต์ อย่างโพรมีธีอุส จากสองสายพันธุ์ที่แตกต่าง แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่คล้ายกัน มีสายพันธุ์หนึ่งเรียกว่า "นีโอมอร์ฟ" และอีกสายพันธุ์หนึ่งคือ "ซีโนมอร์ฟ XX121" ที่ปรากฏตัวในภาคต่ออย่างเอเลี่ยน: โคเวแนนท์ (ค.ศ. 2017) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแหล่งกำเนิดของสายพันธุ์ นอกจากนี้ เอเลียนยังมีบทบาทอยู่ในวรรณกรรมและเกมวิดีโอเกมที่มาจากแฟรนไชส์ ต่างจากสิ่งมีชีวิตนอกโลกเชื้อสายอื่นในนิยายวิทยาศาสตร์ เอเลียนพวกนี้ไม่ใช่ "ผู้ผลิตเครื่องมือ" พวกมันไม่มีอารยธรรมทางเทคโนโลยีและเป็นสัตว์ประหลาดที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหารโดยไม่มีเป้าหมายที่สูงกว่าการขยายพันธุ์ของพวกมัน และการทำลายล้างทุกรูปแบบอาจก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อพวกมัน โดยแท้จริงแล้ว มันก็ไม่มีความชัดเจนว่าเอเลียนเหล่านั้นจะมีความฉลาดปราดเปรื่องหรือไม่ เหมือนตัวต่อหรือปลวก เอเลียนมีการอยู่รวมกัน กับควีนเอเลียนเพียงหนึ่งเดียวที่เจริญพันธุ์เอเลียนวรรณะนักรบ, เอเลียนวรรณะแรงงาน หรือเอเลียนที่มีความสามารถพิเศษสายพันธุ์อื่น ๆ ส่วนวงจรชีวิตทางชีววิทยาของเอเลียนเกี่ยวข้องกับการฝังตัวหนอนปรสิตภายในร่างเจ้าของบ้าน จากนั้น เหล่าตัวอ่อน "เชสเบิร์สเตอร์" จะปะทุออกจากร่างกายเจ้าของบ้านหลังจากระยะฟักตัวช่วงสั้น ๆ และโตเต็มที่จากวัยเยาว์สู่วัยฉกรรจ์ภายในไม่กี่ชั่วโมง และค้นหาเจ้าของบ้านรายอื่นเพิ่มเพื่อการปลูกถ่าย การออกแบบตัวละครเอเลียนได้ให้เครดิตแก่ศิลปินชาวสวิสผู้มีนามว่าเอช อาร์ กีเกอร์ ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากภาพพิมพ์หินชื่อเนโครนอม IV และได้รับการปรับแต่งสำหรับภาพยนตร์ชุดแรกของซีรีส์ในชื่อเอเลี่ยน ส่วนเอฟเฟกต์ประยุกต์หลักของเอเลียนได้รับการออกแบบและเนรมิตโดยนักออกแบบสเปเชียลเอฟเฟกต์ชาวอิตาลีผู้มีนามว่าการ์โล รัมบัลดี ทั้งนี้ การออกแบบและวงจรชีวิตของสายพันธุ์ดังกล่าวได้รับการแต่งเติมอย่างกว้างขวาง ซึ่งบางครั้งไม่สอดคล้องกัน ตลอดทั้งภาพยนตร์แต่ละเรื่อง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเอเลียน (สัตว์ประหลาดในแฟรนไชส์เอเลียน) · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์รีราซอรัส

อรีราซอรัส (Herrerasaurus) มีชีวิตอยู่ในช่วงต้น ของยุคไทรแอสสิค พบในทวีปอเมริกาใต้ เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในยุคไทรแอสสิค ความ ยาว 5 เมตร คล้ายนก ฟันมีลักษณะแหลมคม คอสั้น กระดูกต้นขายาว กว่ากระดูกหน้าแข้ง มีนิ้วเท้า 4 นิ้ว กระดูกสะโพกชิ้นหน้าเอียงไปทางด้านหลังค่อนข้าง คล้ายกับไดโนเสาร์ที่มีสะโพกเหมือนนก ชื่อของมันมีความหมายว่า กิ้งก่าเฮอร์รีร.

ใหม่!!: สปีชีส์และเฮอร์รีราซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เฮดจ์ฮอก

อก (hedgehog) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็กที่อยู่ในวงศ์ย่อย Erinaceinae ในวงศ์ใหญ่ Erinaceidae เฮดจ์ฮอก มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับเม่น ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ซึ่งอยู่กันคนละอันดับกัน คือ ด้านหลังของลำตัวปกคลุมไปด้วยขนที่มีลักษณะแข็งคล้ายหนาม ซึ่งไว้สำหรับป้องกันตัว แต่เฮดจ์ฮอกมีขนาดที่เล็กกว่ามาก และมีหนามที่สั้นกว่ามาก โดยขนของเฮดจ์ฮอกมีลักษณะเล็กแข็งคล้ายเสี้ยนหรือหนามมากกว่า มีส่วนใบหน้าคล้ายหนู แต่มีจมูกที่เรียวยาวที่ขมุบขมิบสำหรับดมกลิ่นอยู่ตลอด ขนของเฮดจ์ฮอกตลอดทั้งตัวมีประมาณ 7,000 เส้น ในเส้นขนมีลักษณะกลวงแต่แข็งแรงด้วยสารประกอบเคราติน จึงมีน้ำหนักเบา และซับซ้อนเพื่อช่วยในการรับแรงกระแทกของสัตว์ใหญ่ที่เข้ามาจู่โจมหรือรับแรงกระแทกหากตัวเฮดจ์ฮอกต้องตกจากที่สูงPets 101- Hedgehogs, ทางอนิมอลพลาเน็ต.

ใหม่!!: สปีชีส์และเฮดจ์ฮอก · ดูเพิ่มเติม »

เฮดจ์ฮอกยุโรป

อกยุโรป หรือ เม่นแคระยุโรป (European hedgehog, Common hedgehog) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) เป็นเฮดจ์ฮอกที่มีขนาดใหญ่ มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 18-30 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 1.7-5 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 600-800 กรัม มีขนแข็งปกติและยาวมีขนปกคลุมหนามากกว่า 3 เซนติเมตร ขนที่ใต้ท้องเป็นขนอ่อนสีเทา ส่วนที่เป็นขนแข็งสีดำหรือสีน้ำตาลอ่อน พบพระจายพันธุ์ในยุโรปตะวันออก, ตะวันตก, ยุโรปใต้ และบางส่วนในรัสเซีย กินอาหารได้หลากหลายทั้งแมลง, ไส้เดือนดิน, ไข่นก, แมลงปีกแข็ง รวมทั้งหนูหรือกบด้วย ออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยและทำรังในโพรงดินที่ขุดเอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเฮดจ์ฮอกยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เฮดจ์ฮอกสี่นิ้ว

อกสี่นิ้ว หรือ เฮดจ์ฮอกแคระแอฟริกา (Four-toed hedgehog, African pygmy hedgehog) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) เป็นเฮดจ์ฮอกขนาดเล็ก มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 15 เซนติเมตร หางมีความยาว 2.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 500-700 กรัม มีนิ้วที่เท้าหน้า 5 นิ้ว นิ้วเท้าหลัง 4 นิ้ว ขนปกคลุมลำตัวมีความยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร เป็นสีขาวและเทา ส่วนท้องและขาเป็นสีขาว กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาแถบแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันออก เช่น แกมเบีย, โซมาเลีย, โมซัมบิก อาศัยในถิ่นที่มีอากาศแห้ง แบบซาวันน่า มีต้นไม้เพียงเล็กน้อย เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน กินอาหารเช่น แมงมุม, แมลง, พืชบางชนิด, หอยทาก บางครั้งอาจกินแมงป่องหรืองูพิษได้ด้วย เนื่องจากมีรายงานว่ามีความทนทานต่อพิษของสัตว์เหล่านี้ แต่เฮดจ์ฮอกสี่นิ้วก็ตกเป็นอาหารของสัตว์ใหญ่กว่า เช่น ไฮยีน่า, หมาจิ้งจอก รวมทั้งนกเค้าแมวด้วย เฮดจ์ฮอกสี่นิ้วได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยงอย่างแพร่หลาย และเป็นชนิดที่ได้รับความนิยมในประเทศไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และเฮดจ์ฮอกสี่นิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้า

้าฟ้า สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเจ้าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจเรมี เวด

รมี เวด (Jeremy Wade) เกิดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 ที่ซัฟฟอล์ก ประเทศอังกฤษ มีชื่อเต็มว่า เจเรมี จอห์น เวด (Jeremy John Wade) เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรและนักตกปลาจากรายการ River Monsters ที่ออกอากาศทางช่องแอนิมอลแพลนเน็ต (ในประเทศไทยออกอากาศทางช่องดิสคัฟเวอรี ทางทรูวิชันส์) เวดจบการศึกษาด้านสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยบริสตอล และประกาศนียบัตรการเรียนการสอนด้านชีววิทยาจากมหาวิทยาลัยเคนท์ เคยทำงานเป็นครูสอนวิชาชีววิทยาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา และได้เขียนบทความเกี่ยวกับเรื่องทางธรรมชาติและการท่องเที่ยวลงในหนังสือพิมพ์ฉบับต่าง ๆ ปัจจุบัน เจเรมี เวด เป็นพิธีกรและนักตกปลาแบบสุดเหวี่ยงในรายการโทรทัศน์ชุด River Monsters อันเป็นรายการสารคดีที่เดินทางไปในแม่น้ำสายต่าง ๆ ทั่วโลก อาทิ แอฟริกา, อะแลสกา, ประเทศไทย เพื่อตกปลาน้ำจืดขนาดใหญ่หลายชนิด ซึ่งบางชนิดมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย ซึ่งหลายต่อหลายครั้ง เวดต้องเสี่ยงตายและได้รับบาดเจ็บจากการตกปลาในรายการ เช่น เครื่องบินตกในหนองน้ำที่บราซิล, เกือบถูกฟ้าผ่าที่สุรินัม, เย่อกับปลากระเบนราหูจนเอ็นแขนขวาขาดที่ประเทศไทย, เป็นไข้ป่าใจกลางป่าคองโก เป็นต้น สถานะทางครอบครัว ปัจจุบันเวดยังคงเป็น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเจเรมี เวด · ดูเพิ่มเติม »

เทอริสิโนซอรัส

ทอริสิโนซอรัส (Therizinosaurus) เป็นไดโนเสาร์กลุ่มเทอโรพอดชนิดหนึ่ง โดยสายพันธุ์นี้จะไม่กินเนื้อ แต่จะกินพืช มันกินพืชเพราะลักษณะของฟันมัน ทำให้เทอริสิโนซอรัส เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดที่กินพืช เทอริสิโนซอรัสอาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสเมื่อ 72-68 ล้านปีก่อน ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศจีน มองโกเลีย และตะวันออกกลาง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเทอริสิโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เทอโรซอร์

ทอโรซอร์ (Pterosaur; จากภาษากรีก "πτερόσαυρος", "pterosauros", หมายถึง "กิ้งก่ามีปีก") เป็นสัตว์เลื้อยคลานกลุ่มหนึ่ง ที่ชีวิตและอาศัยอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เช่นเดียวกับไดโนเสาร์ มีลักษณะพิเศษคือ สามารถบินได้ โดยใช้ปีกขนาดใหญ่ที่มีพังผืดเหมือนค้างคาวเป็นอวัยวะสำคัญ ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วพร้อมกับไดโนเสาร์ เทอโรซอร์ จัดอยู่ในอันดับ Pterosauria โดยมักจะถูกเรียกว่า "ไดโนเสาร์บินได้" แต่ทั้งนี้เทอโรซอร์มิได้จัดว่าเป็นไดโนเสาร์แต่อย่างใด เหมือนกับ เพลสิโอซอร์, โมซาซอร์ หรืออิกทิโอซอรัส ที่พบในทะเลและมหาสมุทร นอกจากนี้แล้วเทอโรซอร์ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่ง คือ เทอโรแดกทิล โดยคำว่าเทอโรแดกทิลนั้นหมายถึงเทอโรซอร์ในระยะหลังที่มีขนาดใหญ่ และไม่มีฟัน และในทางเทคนิคจะหมายถึงเทอโรซอร์ในสกุล เทอโรแดกทิลัส เทอโรซอร์มีชีวิตอยู่ในช่วงมหายุคมีโซโซอิก สืบทอดเผ่าพันธุ์และครองโลกมาอย่างยาวนานถึง 162 ล้านปี ก่อนจะสูญพันธุ์ไปทั้งหมดในช่วงยุคครีเตเชียสตอนปลายเช่นเดียวกับไดโนเสาร์ ปัจจุบัน นักบรรพชีวินวิทยาได้จำแนกความหลากหลายของเทอโรซอร์ออกได้มากกว่า 200 ชนิด มีความแตกต่างหลากหลายกันออกไปในแต่ละชนิดหรือแต่ละวงศ์ เทอโรซอร์ถูกค้นพบครั้งแรกในรูปแบบซากดึกดำบรรพ์ในยุคศตวรรษที่ 19 ซากดึกดำบรรพ์ของเทอโรซอร์พบได้ในทั่วทุกภูมิภาคของโลก เทอโรซอร์ที่เก่าแก่ที่สุดถือกำเนิดในยุคไทรแอสซิกเมื่อ 228 ล้านปีก่อน โดยบรรพบุรุษของเทอโรซอร์นั้นมีรูปร่างเล็กมาก โดยมีขนาดพอ ๆ กับนกกระจอกในยุคปัจจุบัน เช่น พรีออยแดกกิลุส บัฟฟารีนีโอ ที่มีความกว้างของปีกแค่ 0.5 เมตร เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในป่าทึบกินแมลง เช่น แมลงปอ เป็นอาหาร หรือแครีเรมัส เซซาพลาเนนซิส ที่มีความกว้างของปีก 1 เมตร เทอโรซอร์ในยุคแรกจะมีขนาดลำตัวเล็ก บางจำพวกมีหางยาว เช่น ดิมอร์โฟดอน แมโครนิกซ์ ที่มีความกว้างของปีก 1.2 เมตร น้ำหนัก 1.8 กิโลกรัม มีหางยาวที่แข็ง คอสั้น หัวมีขนาดใหญ่ มีฟันแหลมคม และกระดูกกลวงบางส่วน ทั้งนี่้เชื่อว่าเทอโรซอร์วิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก ๆ ที่กระโดดหรือใช้ชีวิตอยู่บนต้นไม้เป็นหลักด้วยการหากินและหลบหลีกศัตรู เทอโรซอร์ ได้วิวัฒนาการมาเป็นลำดับขั้นตามยุคสมัยไปเรื่อย ๆ เช่น ยุคจูแรสซิก จนกระทั่งถึงยุคครีเตเชียส เทอโรซอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เคตซัลโคแอตลัส นอร์โทรพี มีความสูงเท่า ๆ กับยีราฟ มีความกว้างของปีก 10.5 เมตร พอ ๆ กับเครื่องบินรบเอฟ-16 น้ำหนักตัวถึง 200 กิโลกรัม เฉพาะส่วนหัวรวมถึงจะงอยปากด้วยก็ยาวถึง 3 เมตรแล้ว จัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่บินได้ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา และเชื่อว่าชอบที่จะกินลูกโดโนเสาร์เป็นอาหาร ตามหลักฐานจากการศึกษาซากดึกดำบรรพ์พบว่า เทอโรซอร์ในยุคหลังนั้นมีขนปกคลุมลำตัวบาง ๆ ด้วย จึงเชื่อกันว่าน่าจะเป็นสัตว์เลือดอุ่น ทั้งนี้มีไว้เพื่อเป็นเสมือนฉนวนกักความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย เช่น เจโฮลอปเทอรัส ที่พบในจีน ซึ่งมีลักษณะปากกว้างคล้ายกบ เป็นต้น เทอโรซอร์ใช้ลักษณะการบินแบบเดียวกับค้างคาว เมื่ออยู่กับพื้นจะใช้วิธีการทะยานตัวออกไปจากท่ายืนสี่เท้าโดยรยางค์ของร่างกาย มีตีนขนาดเล็กเพื่อช่วยลดแรงต้าน เมื่อบินสามารถปรับเปลี่ยนท่าทางการบินได้เล็กน้อย เช่น การหดกล้ามเนื้อปีก หรือขยับข้อเท้าเข้าและออก การเปลี่ยนมุมกระดูกข้อปีก เป็นต้น เมื่อเทียบกับนกแล้ว เทอโรซอร์ยังมีกล้ามเนื้อสำหรับการบินมากกว่า และมีสัดส่วนของน้ำหนักร่างกายมากกว่า แม้แต่สมองก็ดูเหมือนจะวิวัฒนาการขึ้นมาเพื่อการบิน โดยมีกลีบสมองขยายใหญ่ขึ้นเพื่อประมวลผลข้อมูลประสาทรับความรู้สึกที่ซับซ้อนจากเยื่อปีก เทอโรซอร์มีไหล่ขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยกล้ามเนื้อ และลักษณะปีกของเทอโรซอร์ประกอบด้วยเยื่อที่ยึดติดกับสีข้างจากไหล่ไล่ลงไปจนถึงข้อเท้าแต่ละข้าง และเหยียดออกโดยนิ้วที่สี่ที่ยืดยาวไปอย่างน่าทึ่งไปตามขอบหน้าของปีก เยื่อปีกร้อยรัดไปด้วยกล้ามเนื้อและเส้นเลือด และเสริมความแข็งแกร่งด้วยพังผืด ลักษณะของเทอโรซอร์นั้นมีความแตกต่างหลากหลายกันมาก บางจำพวกมีหงอนด้วย สันนิษฐานว่ามีไว้สำหรับดึงดูดเพศตรงข้าม โดยว่ามีลักษณะที่แตกต่างหลากหลายกันออกไป เช่น ทูนแพนแดกทิอุส แนวีแกนส์ ซึ่งเป็นเทอโรซอร์ในยุคแรก ๆ และ ทาเลสไซโครมีอุส เซที ที่มีช่วงปีกกว้าง 4 เมตร เชื่อว่ามีหงอนที่มีสีสันที่สดใส จะงอยปากก็มีความหลากหลายแตกต่างออกไปตามแต่ลักษณะการใช้หาอาหาร เช่น บางชนิดมีฟันแหลมคมเต็มปากเห็นได้ชัดเจนใช้สำหรับการจับปลาในน้ำ เช่น แอนเฮงรา พิสเคเตอร์ หรือ ซันแกริปเทอรัส ที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ที่มีจะงอยปากยาวและงอนขึ้นใช้สำหรับสำรวจและช้อนเอาสัตว์ขนาดเล็กที่ไม่มีกระดูกสันหลังหรือครัสเตเชียนกินเป็นอาหาร หรือบางจำพวก หากินโดยการใช้วิธีการยืนในแหล่งน้ำเค็มตื้น ๆ แล้วใช้การกรองกินสัตว์ขนาดเล็ก ๆ จำพวกครัสเตเชียน เหมือนกับวิธีการกินของนกฟลามิงโกในยุคปัจจุบัน หรือบางสกุล เช่น นิกโตซอรัส ซึ่งเป็นเทอโรซอร์ในทะเลลักษณะคล้ายนกอัลบาทรอสที่มีระยะระหว่างปลายปีกสองข้างกว้างเกือบ 3 เมตร มีอัตราส่วนการร่อน หรือระยะทางที่เคลื่อนไปข้างหน้าได้ต่อการลดระดับลงทุกหนึ่งเมตร จัดเป็นนักร่อนชั้นดี และจากการพบลักษณะของซากดึกดำบรรพ์พบว่า เทอโรซอร์บางกลุ่มก็อาศัยอยู่รวมกันเป็นนิคมหรือคอโลนีเหมือนกับนกทะเลหลายชนิดในปัจจุบัน คือ ไคยัวฮารา โครบรัสกิอี โดยพบหลักฐานว่า ตายพร้อมกันถึง 47 ตัว หน้า 26-45, เทอโรซอร์ ปีกพิศวงสุดแสนพิศดาร โดย ริชาร์ด คอนนิฟฟ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเทอโรซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทอโรแดคทิลลัส

ทอโรแดคทิลลัส (Pterodactylus πτεροδάκτυλος) เป็นสกุลหนึ่งของเทอโรซอร์ที่รู้จักกันในชื่อ เทอโรแดคทิล (pterodactyls) ตอนนี้มีอยู่แค่หนึ่งสายพันธุ์คือ Pterodactylus antiquus มีฟอสซิลค้นพบที่บาวาเรีย ประเทศเยอรมัน มีอายุอยู่ในช่วงยุคจูราสซิกตอนปลาย (Tithonian ตอนต้น), ประมาณ 150.8–148.5 ล้านปีก่อน ส่วนใหญ่พบที่ยุโรป และแอฟริกา มันเป็นสัตว์กินเนื้อ และมีความเป็นไปได้ที่จะกินปลา และสัตว์เล็กตัวอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเทอโรแดคทิลลัส · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาอันนัม

ทือกเขาอันนัม เทือกเขาอันนัม (Annamite Range, Annamese Mountains, Annamese Range, Annamese Cordillera, Annamite Mountains, Annamite Cordillera) เป็นเทือกเขาในภูมิภาคอินโดจีน มีความยาวประมาณ 1,100 กิโลเมตร (680 ไมล์) เป็นชายแดนตลอดแนวทิศตะวันตกของประเทศเวียดนามต่อกับลาวและทางตอนเหนือของกัมพูชา มีชื่อเรียกในภาษาเวียดนามว่า "สายเจื่องเซิน" (Dãy Trường Sơn) และ "สายภูหลวง" (ພູຫລວງ) ในภาษาลาว เทือกเขาอันนัมประกอบด้วยภูเขาและยอดเขาเป็นจำนวนมาก โดยยอดเขาที่สูงที่สุด คือ ภูเบี้ย ที่ความสูง 2,819 เมตร และยังเป็นถิ่นที่อยู่ของชนพื้นเมืองต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแหล่งกำเนิดของแม่น้ำหลายสาย ทางด้านชีววิทยา เทือกเขาอันนัมเป็นที่อยู่ของสัตว์ป่าและพรรณไม้ชนิดต่าง ๆ ซึ่งหลายชนิดเป็นการค้นพบใหม่หรือไม่ได้มีศึกษาทางสัตววิทยามาก่อนจำนวนมาก อาทิ ซาวลา (Pseudoryx nghetinhensis), เก้งยักษ์ (Muntiacus vuquangensis), เก้งเจื่องเซิน (M. truongsonensis), หมูป่าอินโดจีน (Sus bucculentus) เป็นต้น โดยตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา มีการค้นพบผีเสื้อ 2 ชนิด, งู 1 ชนิด, กล้วยไม้ 5 ชนิด และพืชชนิดอื่น ๆ อีก 3 ชนิด โดยเฉพาะกล้วยไม้ที่พบนี้ไม่มีสีเขียวหรือไม่มีคลอโรฟิลล์สังเคราะห์ด้วยแสงแต่ดำรงชีพด้วยการกินอินทรีย์สารที่เน่าเปื่อยเป็นอาหารคล้ายพวกฟังไจแทน โดยทางกองทุนสัตว์ป่าโลก (WWF) เชื่อว่า เป็นเพราะป่าดิบชื้นแถบนี้ไม่เคยถูกรบกวนจากมนุษย์มาเป็นเวลานานหลายพันปีแล้ว และเชื่อว่ายังมีอีกหลายชนิดที่ยังไม่ได้ถูกค้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเทือกเขาอันนัม · ดูเพิ่มเติม »

เขียดจิก

ียดจิก หรือ กบบัว หรือ เขียดเขียว หรือ เขียดบัว (Green paddy frog, Red-eared frog, Leaf frog, Common green frog) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดเล็ก ชนิดหนึ่ง ในวงศ์กบนา (Ranidae) มีลำตัวด้านหลังและด้านข้างลำตัวสีเขียว ขอบด้านล่างของด้านข้างลำตัวสีน้ำตาลเข้ม และมีจุดสีเข้มกระจายอยู่ที่ด้านข้างลำตัวกับบนหลังทางส่วนท้ายของลำตัว ขอบปากบนสีขาว ด้านท้องสีขาว แผ่นเยื่อแก้วหูสีน้ำตาล ขาหน้าและขาหลังสีน้ำตาลและมีแถบสีเข้มพาดตามความยาวของขา ขาหน้าเรียวและนิ้วตีนยาว ขาหลังเรียวยาวและนิ้วตีนยาว เมื่อพับขาหลังแนบกับลำตัวไปทางด้านหน้า ข้อตีนอยู่ในตำแหน่งช่องเปิดจมูก นิ้วตีนหน้าไม่มีแผ่นหนังระหว่างนิ้ว นิ้วตีนหลังมีแผ่นหนังเกือบเต็มความยาวนิ้ว มีขนาดจากปลายปากถึงรูก้นประมาณ 70 มิลลิเมตร ลำตัวเรียว ผิวหนังลำตัวเรียบ มีแผ่นหนังหนา สีขาวหรือสีครีมขอบสีน้ำตาลเข้มค่อนข้างกว้างอยู่ที่ขอบด้านนอกลำตัว แผ่นหนังนี้เริ่มต้นจากด้านท้ายตาไปที่ส่วนต้นขาหลัง ลูกอ๊อดมีขนาดตัวปานกลาง ลำตัวยาวและหัวแบน ด้านหลังสีเขียว ท้องและด้านข้างลำตัวสีน้ำตาลและมีลายร่างแหสีน้ำตาลเข็มที่ข้างตัว หางยาวและมีกล้ามเนื้อแข็งแรง แผ่นครีบหางใหญ่และมีลวดลายเป็นร่างแหสีน้ำตาลเข้ม ปากอยู่ด้านล่างแต่ค่อนข้างสูงขึ้นมาทางด้านหน้าของส่วนหัว ช่องปากเล็ก มีตุ่มฟัน ขอบของจะงอยปากบนและของจะงอยปากล่างมีรอยหยัก จะงอยปากล่างใหญ่กว่าจะงอยปากบน ลูกอ๊อดมีนิสัยการกินอาหารแบบผู้ล่าและมีพฤติกรรมล่าเหยื่อที่อยู่ในน้ำ จัดได้ว่าเป็นสมาชิกในวงศ์นี้ที่มีขนาดเล็ก มักอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีกอพืชน้ำขึ้นหนาแน่น เช่น บัว, จอกแหน, ผักตบ เป็นต้น หากินในเวลากลางคืน มีความว่องไวมาก พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค เขียดจิก มีเสียงร้อง "จิ๊ก ๆๆๆๆๆ" ประกอบกับมักหลบซ่อนอยู่ตามกอบัว อันเป็นที่มาของชื่อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเขียดจิก · ดูเพิ่มเติม »

เขียดงู

ียดงู (Caecilians) เป็นอันดับของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Apoda (ในบางข้อมูลจะจัดให้อยู่ในอันดับ Gymnophiona) มีลักษณะโดยรวมของรูปร่าง คือ ลำตัวเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหล มีทั้งอาศัยอยู่บนบก ในโพรงดิน และในน้ำ โดยลดรูปโครงสร้างหลายประการซึ่งเป็นลักษณะที่พบกับสัตว์ที่มีลำตัวเรียวยาวหรืออาศัยอยู่ในโพรง กล่าว คือ หางมีขนาดเล็กมากหรือไม่มีเลย ไม่มีรยางค์ขาหรือฐานรยางค์ แต่ในสกุล Eocaecilia ที่เป็นซากดึกดำบรรพ์มีรยางค์ขา ตามีขนาดเล็กและบางชนิดอยู่ในร่องของกระดูกกะโหลกและถูกชั้นหนังปกคลุมไว้ ปอดข้างซ้ายมีขนาดเล็กหรือไม่มี ขณะที่บางวงศ์ที่อาศัยอยู่ในน้ำจะไม่มีปอด บางชนิดมีเกล็ดฝังตัวอยู่ในร่องที่แบ่งลำตัวเป็นปล้อง การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายใน โดยตัวผู้จะมีอวัยวะถ่ายอสุจิเจริญจากผนังของห้องทวารร่วม บางชนิดวางไข่ในน้ำ และมีระยะเวลาของวัยอ่อนและบางชนิดวางไข่บนบกโดยไม่มีระยะวัยอ่อน ตัวเมียมีพฤติกรรมเฝ้าไข่ แต่เขียดงูส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 75 ออกลูกเป็นตัว วัยอ่อนภายในท่อนำไข่ได้รับสารอาหารจากสิ่งผลิตภายในท่อนำไข่ มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวเป็นปล้อง ปล้องของลำตัวโดยทั่วไปมีจำนานเท่ากับจำนวนปล้องของกระดูกสันหลัง แต่บางชนิดอาจมีปล้องลำตัวจำนวนสองปล้องหรืออาจจะถึงสามปล้องต่อกระดูกสันหลังหนึ่งปล้อง โดยปล้องลำตัวปฐมภูมิเจริญขึ้นมาก่อนต่อจากนั้นจึงมีปล้องลำตัวทุติยภูมิหรือปล้องลำตัวตติยภูมิเจริญขึ้นมาเป็นลำดับต่อมา เกล็ดของเขียดงูประกอบด้วยคอลลาเจนหลายชั้นเรียงซ้อนกันและฝังตัวอยู่ในร่องตรงส่วนลึกที่สุดของปล้องลำตัวปฐมภูมิ โดยเรียงเป็นลำดับต่อเนื่องกันในแนวเฉียง กะโหลกของเขียดงูมีชิ้นของกระดูกยึดติดกันแข็งแรงและส่วนใหญ่ไม่มีช่องเปิดที่กะโหลก นอกจากช่องเปิดของอวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่ ตา, จมูก, หนวด ในบางวงศ์มีช่องเปิดบริเวณขมับ กระดูกกะโหลกจึงขยับได้บ้าง ฟันที่ขากรรไกรบนอยู่บนกระดูกพรีแมคซิลลา กระดูกแมคซิลโลพาลาทีนและกระดูกโวเมอร์ มีอวัยวะรับรู้จำเพาะ คือ อวัยวะที่แลดูคล้ายหนวด ที่เจริญขึ้นมาจากช่องเปิดที่อยู่ระหว่างตากับช่องเปิดจมูก ตำแหน่งของช่องเปิดหนวดแตกต่างกันในแต่ละชนิด ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่ใช้ในการอนุกรมวิธาน สัดส่วนความยาวของหนวดที่โผล่พ้นช่องเปิดออกมาก็แตกต่างกันในแต่ละวงศ์ โดยหนวดเป็นโครงสร้างเชิงซ้อนประกอบด้วยกล้ามเนื้อ, ต่อม และท่อ การเจริญของหนวดสัมพันธ์กับตาและอวัยวะจาคอบสัน ซึ่งทำหน้าที่รับรู้สารเคมี เขียดงูแบ่งออกได้เป็นทั้งหมด 9 วงศ์ ประมาณ 200 ชนิด (ในขณะที่บางข้อมูลแบ่งเพียง 6 วงศ์ หรือ 3 วงศ์) กระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อน ยกเว้นบนเกาะมาดากัสการ์และทางตะวันออกของเส้นสมมติวอลเลซ ในประเทศไทยพบได้ 1 วงศ์ เช่น เขียดงูเกาะเต่า (Ichthyophis kohtaoensis) เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเขียดงู · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา

ตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา เป็นพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งหนึ่งในประเทศไทย ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศ เป็นผืนป่าที่ประกอบไปด้วยผืนป่าสองผืน คือ ป่าฮาลา ในพื้นที่อำเภอเบตง จังหวัดยะลา และอำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส และ ป่าบาลา ในพื้นที่อำเภอแว้ง และอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส แม้ป่าทั้งสองผืนนี้จะไม่ได้ติดเป็นป่าผืนเดียวกัน แต่ทว่าในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ทางเดินศึกษาธรรมชาติ ภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือ ป่าพรุโต๊ะแดง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร เป็นป่าพรุที่มีเนื้อที่มากที่สุดที่ยังเหลืออยู่ในประเทศไทย เนื้อที่ของป่ามีความกว้างประมาณ 8 กิโลเมตร และมีความยาวประมาณ 28 กิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุมอาณาเขตของอำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอเจาะไอร้อง และอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส คิดเป็นเนื้อที่กว่า 125,625 ไร่ (แต่ส่วนที่สมบูรณ์จริง ๆ มีประมาณ 50,000 ไร่) มีแหล่งน้ำสำคัญ 3 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำบางนรา, คลองสุไหงปาดี และคลองโต๊ะแดง (อันเป็นที่มาของชื่อเรียก) ป่าแห่งนี้เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ป่าหลากหลายชนิด ซึ่งหลายชนิดอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ และพื้นที่รอบๆป่าก็เป็นพื้นที่เพาะปลูกข้าว ยาง และผลไม้ต่าง ๆ โดยมีศูนย์วิจัยและศึกษาพันธ์ป่าพรุสิรินธร ซึ่งตั้งอยู่ ณ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก ใช้เวลาเดินทางจากตัวเมืองสุไหงโกลก ผ่านทางหลวงสายสุไหงโกลก - ตากใบ แล้วเลี้ยวซ้ายตรงแยกชวนันท์ ด้วยระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตรจากตัวเมืองสุไหงโกลก เดินศึกษาธรรมชาติยาวกว่า 1,200 เมตร ภายในศูนย์ฯมีเส้นทางเดินศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของป่าผ่าใจกลางป่าพรุ มีหอคอย และศูนย์บริการข้อมูล ตลอดจนซุ้มแสดงประวัติและข้อมูลขอลพืช พันธ์ และสัตว์ต่างๆในพื้นที่ป่าพรุโดยรอบ ใช้เวลาเดินประมาณ 45 - 60 นาที.

ใหม่!!: สปีชีส์และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวน

ตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวน (ซื่อชวนต้าฉงเมาชีซีตี้) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลเสฉวน ประเทศจีน เป็นสถานที่เพาะพันธุ์และบ้านของแพนด้ายักษ์ (หมีแพนด้า) กว่าร้อยละ 30 ของแพนด้ายักษ์ทั่วโลก สัตว์ใกล้ศูนย์พันธุ์หลากหลายสายพันธุ์อื่น ๆ เช่น เสือดาวหิมะ เสือลายเมฆ และแพนด้าแดงอีกด้วย นอกจากนั้นแล้วยังเป็นสถานที่ที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพรรณนานาชนิด ประมาณ 5,000 ถึง 6,000 สปีชีส์ และคาดว่ามีความใกล้เคียงกับป่ายุคเทอร์เชียรี เขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์มีพื้นที่ทั้งหมด 9,245 ตารางกิโลเมตร กินอาณาบริเวณ 7 เขตสงวนธรรมชาติ (自然保护区; Nature Reserve) และ 9 อุทยานทัศนียภาพ (景名胜区; Scenic Parks).

ใหม่!!: สปีชีส์และเขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวน · ดูเพิ่มเติม »

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: สปีชีส์และเขนงนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

เดลฟินเนียม

ลฟินเนียม (Delphinium) เป็นสกุลพืชที่มีด้วยกันราว 300 สปีชีส์ ที่เป็นพืชโตชั่วฤดูยืนต้นประเภทพืชดอกในวงศ์พวงแก้วกุดั่น เป็นพืชที่มีถิ่นฐานทางซีกโลกตอนเหนือ (Northern Hemisphere) และบนที่สูงในบริเวณเขตร้อนในแอฟริกา ชื่อสามัญ “ลาร์คเสปอร์” ใช้ร่วมกับสกุล Consolida ที่ใกล้เคียงกัน ทรงใบเป็นรูปใบปาล์มเป็นอุ้งเป็นสามถึงเจ็ดแฉก กิ่งดอกชลูดขึ้นไป ขนาดของแต่ละสปีชีส์ก็ต่างกันออกไปที่สูงตั้งแต่ 10 เซนติเมตรไปจนถึงสองเมตร แต่ละก้านก็จะมีดอกรอบกระจายออกไปรอบก้าน สีก็มีตั้งแต่สี่ม่วง, น้ำเงิน, ฟ้า ไปจนถึงแดง เหลือง และขาว แต่ละดอกมีคล้ายกลีบนอกห้ากลีบแต่ติดกันตลอดเหมือนถุงที่มีจะงอยตรงปลาย ภายในกลีบนอกก็จะมีกลีบในสี่กลีบ เมล็ดมีขนาดเล็กและมักจะเป็นสีดำเป็นมัน ดอกบานตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ผลิไปจนถึงปลายฤดูร้อน ผสมพันธุ์โดยผีเสื้อและผึ้ง สปีชีส์ส่วนใหญ่เป็นพิษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเดลฟินเนียม · ดูเพิ่มเติม »

เดสเพลโตซอรัส

ลโตซอรัส (Daspletosaurus) เป็นเทอโรพอดในวงศ์ไทรันโนซอรอยเดีย (Tyrannosauroidea) ที่อาศัยอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อประมาณ 77 ถึง 74 ล้านปีก่อนในยุคครีเทเชียส ซากฟอสซิลพบในรัฐอัลเบอร์ต้า และรัฐมอนแทนาเป็นส่วนใหญ่ เดสเพลโตซอรัส เป็นไดโนเสาร์ในวงส์เดียวกับไทรันโนซอรัส ที่มีคุณสมบัติกะโหลกใหญ่พันคม เช่นเดียวกับเทอโรพอดในวงศ์ไทรันโนซอรอยเดียอื่น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเดสเพลโตซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เครย์ฟิช

ำหรับเครย์ฟิชที่พบในทะเล ดูที่: ล็อบสเตอร์ และกุ้งมังกร เครย์ฟิช หรือ หรือ ล็อบสเตอร์น้ำจืด (10088/1372 Crawdad, Mudbug, Freshwater yabby) เป็นกุ้งน้ำจืดจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างโดยรวมลำตัวใหญ่ เปลือกหนา ก้ามใหญ่แลดูแข็งแรง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรป, โอเชียเนียและบริเวณใกล้เคียง เช่น อีเรียนจายา และเอเชียตะวันออก ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานเครย์ฟิชไปแล้วกว่า 500 ชนิด ซึ่งกว่าครึ่งนั้นเป็นเครย์ฟิชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่ก็ยังมีอีกหลายร้อยชนิดที่ยังไม่ได้รับการอนุกรมวิธาน อีกทั้งหลายชนิดยังมีความหลากหลายทางสีสันมากอีกด้วย สำหรับในประเทศไทยไม่มีกุ้งในลักษณะเครย์ฟิช ซึ่งกุ้งน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่สุดที่พบในประเทศไทย คือ กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ซึ่งในลักษณะกุ้งก้ามกรามนี้ ไม่จัดว่าเป็นเครย์ฟ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเครย์ฟิช · ดูเพิ่มเติม »

เคลด

แผนภาพวิวัฒนาการชาติพันธุ์ (Cladogram) หรือพงศาวลีของกลุ่มสิ่งมีชีวิต โดยลำต้น (เส้นตั้ง) ที่ฐานแต่ละฐานจะเป็นบรรพบุรุษร่วมกันสุดท้ายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นลูกหลานภายในพุ่มไม้ที่อยู่เหนือลำต้นนั้น ๆ กลุ่มย่อยสีน้ำเงินและสีแดง (ซ้ายและขวาสุด) เรียกว่า clade เพราะเป็นกลุ่ม "จากชาติพันธุ์เดียว" (monophyletic) โดยแต่ละกลุ่มจะมีบรรพบุรุษร่วมกันที่ฐาน ส่วนกลุ่มย่อยสีเขียวไม่เรียกว่า clade เพราะเป็นกลุ่ม paraphyletic และไม่รวมเอากลุ่มย่อยสีน้ำเงินแม้จะสืบทอดมาจากบรรพบุรุษร่วมกันซึ่งอยู่ที่ฐานของกลุ่มสีเขียว เคลด (clade จาก κλάδος, klados แปลว่า "สาขา") เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่รวมเอาบรรพบุรุษที่มีร่วมกันและลูกหลานของมันทั้งหมด โดยแสดงเป็น "สาขา" เดียวจากต้นไม้ชีวิต บรรพบุรุษร่วมกันอาจเป็นสิ่งมีชีวิตหนึ่งหน่วย กลุ่มประชากร สปีชีส์ (ไม่ว่าจะสูญพันธุ์ไปแล้วหรือยังมีอยู่) เป็นต้น จนไปถึงระดับอาณาจักร เคลดเป็นโครงสร้างซ้อนใน คือจะมีเคลดภายในเคลดเพราะสาขาใหญ่หนึ่ง ๆ จะแยกออกเป็นสาขาย่อย ๆ การแยกออกจะสะท้อนให้เห็นถึงประวัติวิวัฒนาการ เพราะแสดงกลุ่มประชากรที่แยกจากกันแล้ววิวัฒนาการแยกกันต่างหาก ๆ เคลดจะมาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic) ในทศวรรษ 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา วิธีการศึกษาแบบแคลดิสติกส์ (คือใช้แนวคิดแบบเคลด) ได้ปฏิวัติการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต และได้แสดงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการที่น่าทึ่งใจระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ โดยมีผลเป็นนักอนุกรมวิธานพยายามหลีกเลี่ยงการให้ชื่อกับหน่วยที่ไม่ใช่เคลด คือหน่วยที่ไม่ได้มาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic).

ใหม่!!: สปีชีส์และเคลด · ดูเพิ่มเติม »

เคนโทรซอรัส

นโทรซอรัส (Kentrosaurus) ชื่อของมันมีความหมายว่ากิ้งก่าแหลมคม เพราะลำตัวส่วนหน้าของมันมีแผงกระดูอยู่ ส่วนจากหลังถึงหางของมันมีหนามแหลมคมอยู่ อาศัยอยู่ในยุคจูแรสซิกตอนปลาย มันยาว 3-5 เมตร พบที่แอฟริกา อาวุธหลักของมันคือหนามยาวหนึ่งคู่ตรงหาง กินพืชเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สปีชีส์และเคนโทรซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เคแมน

แมน หรือ ไคแมน (Caiman) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในอันดับจระเข้ในวงศ์ย่อย Caimaninae ในวงศ์ Alligatoridae พบกระจายพันธุ์เฉพาะในทวีปอเมริกาใต้ ตั้งแต่ตอนกลางของเม็กซิโกไปจนถึงเอกวาดอร์ และทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีสไปจนถึงอุรุกวัย, ปารากวัย และทางตอนเหนือของอาร์เจนตินา เคแมน มีขนาดที่เล็กกว่าแอลลิเกเตอร์ มีกระดูกฮัยออยด์เป็นชิ้นกว้าง ช่องเปิดจมูกมีช่องเดียวขนาดใหญ่ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำน้ำที่มีกระแสน้ำไม่แรง หลากหลายลักษณะ วางไข่บนกองดินและใช้หางปัดกวาดพรรณพืชต่าง ๆ มากองรวมกัน บางชนิดใช้ความร้อนจากแสงแดดหรือความร้อนจากการเน่าสลายของพรรณพืชสำหรับการฟักไข่ ขนาดเล็กที่สุด มีขนาดโตเต็มที่ 1.7 เมตร ขนาดใหญ่ที่สุดโตเต็มที่ได้ 2-5 เมตร ในสกุลที่สูญพันธุ์ไปแล้ว Purussaurus มีความยาวได้ถึง 12 เมตร และ Mourasuchus ซึ่งมีขนาดใหญ่เหมือนกัน มีจมูกกว้างเหมือนเป็.

ใหม่!!: สปีชีส์และเคแมน · ดูเพิ่มเติม »

เคแมนแคระ

แมนแคระ หรือ ไคแมนแคระ (Dwarf caiman) เป็นสกุลของเคแมนที่จัดอยู่ในสกุล Paleosuchus (/พา-ลี-โอ-ซู-ชัส/) ในวงศ์ Alligatoridae เคแมนแคระ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 1.7 เมตร จัดเป็นสัตว์ในอันดับจระเข้ที่มีขนาดเล็ก อาศัยและกระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำอเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเคแมนแคระ · ดูเพิ่มเติม »

เตตราโครมาซี

ีที่เซลล์รูปกรวยของนกรับได้ (ในตัวอย่างนี้ เป็นของวงศ์นกกระติ๊ด) ซึ่งขยายการเห็นสีของนกไปในช่วงความถี่แสงอัลตราไวโอเลตFigure data, uncorrected absorbance curve fits, from Hart NS, Partridge JC, Bennett ATD and Cuthill IC (2000) Visual pigments, cone oil droplets and ocular media in four species of estrildid finch. Journal of Comparative Physiology A186 (7-8): 681-694. ภาวะ Tetrachromacy เป็นภาวะที่มีทางประสาทต่างหาก 4 ทางในการส่งข้อมูลเกี่ยวกับสี หรือมีเซลล์รูปกรวย 4 ประเภทในตา สัตว์ที่มีภาวะ Tetrachromacy เรียกว่า tetrachromat ในสัตว์ประเภท tetrachromat การเห็นสีต่าง ๆ จะมี 4-มิติ ซึ่งหมายความว่า เพื่อที่จะเทียบสีที่สัตว์เห็น จะต้องใช้การผสมรวมกันของแม่สีอย่างน้อย 4 สี นกหลายประเภทเป็น tetrachromat และแม้แต่สปีชีส์ต่าง ๆ ของปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน และแมลง ก็เป็น tetrachromat ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเตตราโครมาซี · ดูเพิ่มเติม »

เต่า

ต่า คือ สัตว์จำพวกหนึ่งในอันดับ Testudines จัดอยู่ในจำพวกสัตว์เลือดเย็น ในชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการมาแล้วกว่า 200 ล้านปี ซึ่งเต่านั้นถือเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยเต่าจะมีกระดูกที่แข็งคลุมบริเวณหลังที่เรียกว่า "กระดอง" ซึ่งประกอบด้วยแคลเซียมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะสามารถหดหัว ขา และหางเข้าในกระดองเพื่อป้องกันตัวได้ แต่เต่าบางชนิดก็ไม่อาจจะทำได้ เต่าเป็นสัตว์ที่ไม่มีฟัน แต่มีริมฝีปากที่แข็งแรงและคม ใช้ขบกัดอาหารแทนฟัน โดยมากแล้ว เต่า เป็นสัตว์ที่เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ช้า อาศัยและใช้ช่วงชีวิตหนึ่งอยู่ในน้ำ ซึ่งมีอาศัยทั้งน้ำจืด และทะเล แต่เต่าบางจำพวกก็ไม่ต้องอาศัยน้ำเลย เรียกว่า "เต่าบก" (Testudinidae) ซึ่งเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เต่ายักษ์กาลาปากอส (Geochelone nigra) ที่อาศัยอยู่ตามเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะกาลาปากอส ในเอกวาดอร์ (มีทั้งหมด 15 ชนิดย่อย) ในขณะที่เต่าน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เต่าอัลลิเกเตอร์ (Macrochelys temminckii) อาศัยอยู่ตามหนองน้ำในทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่า · ดูเพิ่มเติม »

เต่าบก

ต่าบก (Tortoise, Land turtle) คือ เต่าที่อยู่ในวงศ์ Testudinidae ซึ่งเป็นวงศ์ใหญ่ มีสกุลต่าง ๆ จำนวนมากที่อยู่ในวงศ์นี้ เต่าบก คือ เต่ากลุ่มที่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำหรือใช้ชีวิตอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากจะจมน้ำตายได้ เนื่องจากโดยมากแล้วจะมีกระดองขนาดใหญ่ โค้ง และมีน้ำหนักมาก รวมทั้งเท้าที่ไม่มีพังผืดระหว่างนิ้ว จึงไม่สามารถใช้ว่ายน้ำได้.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าบก · ดูเพิ่มเติม »

เต่าบกอินโดจีน

ต่าบกอินโดจีน (Indochinese tortoise) เป็นสกุลของเต่าบก (Testudinidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Manouria มีลักษณะเด่นคือ มีแผ่นกระดองเห็นชัดเจน มีเดือย 1 อันหรือ 1 คู่บริเวณขาหลังด้านบน ดูเผิน ๆ เหมือนเป็นเต่ามี 5 ขา หรือ 6 ขา ใช้สำหรับในการป่ายปีนบนที่สูง เป็นเต่าที่พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นในภูมิภาคเอเชียตั้งแต่เอเชียใต้ จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ในพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลเป็นพันเมตร เป็นเต่าที่กินพืชต่าง ๆ บนพื้นดินเป็นอาหารหลัก เช่น หน่อไม้, เห็ดรา, ผลไม้ต่าง ๆ และก็สามารถกินเนื้อสัตว์เช่น สัตว์น้ำขนาดเล็ก รวมถึงซากสัตว์ได้ด้วย จัดเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าบกอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

เต่าบกเอเชีย

ต่าบกเอเชีย (Asian tortoises) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าบก ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indotestudo พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย แถบเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จำแนกออกได้เป็น 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าบกเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เต่าบิน

ต่าบิน หรือ เต่าจมูกหมู หรือ เต่าฟลายริเวอร์ (Pig-nosed turtle, Fly river turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Carettochelys insculpta ซึ่งเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Carettochelyidae และสกุล Carettochelys รูปร่างทั่วไปคล้ายตะพาบ คือ กระดองหลังอ่อนนุ่ม แต่ไม่มีกระดูกในชั้นหนังเหมือนตะพาบ สีกระดองสีเทา ในวัยเล็กจะเป็นสีชมพูและจะค่อย ๆ เข้มขึ้นตามอายุ บริเวณขอบกระดอกเป็นหยักเหมือนเต่า ใต้ท้องสีขาว ขาทั้ง 4 ข้างแผ่แบนเป็นครีบ มีเล็บ แต่เล็บไม่อาจเคลื่อนไหวได้ เมื่อวายน้ำจะไม่เหมือนกับเต่าอื่น ๆ คือ จะใช้ครีบคู่หน้าเป็นตัวว่าย และครีบคู่หลังควบคุมทิศเหมือนหางเสือ คล้ายกับเต่าทะเลหน้า 359-360, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (พ.ศ. 2552) โดย วีรยุทธ์ เลาหะจินดา ISBN 978-616-556-016-0 มีจมูกยื่นยาวมาและงุ้มหักลงคล้ายหมู จึงเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร น้ำหนัก 55 กิโลกรัม แพร่กระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำ, ลำคลอง หรือทะเลสาบที่มีความลึกไม่มากนัก ที่เกาะปาปัวนิวกินี และทวีปออสเตรเลียทางตอนเหนือ กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ หรือซากสัตว์ เนื่องจากเป็นเต่าที่มีสายตาไม่ค่อยดี สถานภาพปัจจุบัน ใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว เนื่องจากถูกคุกคามถิ่นที่อยู่อาศัยและถูกจับมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งเป็นเต่าอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันมาก ซึ่งอุปนิสัยของเต่าบินไม่ดุมากนัก เมื่อเทียบกับเต่าหรือตะพาบชนิดอื่น แถมยังเชื่องกับผู้เลี้ยงอีกต่างหาก โดยในที่เลี้ยงสามารถจะเลี้ยงไว้ในน้ำได้ตลอดชีวิต ไม่ต้องขึ้นบกเหมือนเต่าหรือตะพาบทั่วไป แต่เต่าบินก็สามารถปีนขึ้นมาอาศัยอยู่บนบกได้ด้วยเช่นกัน ในปี ค.ศ. 1979 เต่าบินถือเป็นเต่าที่หายากและมีราคาแพงมาก โดยทั่วโลกมีผู้ครอบครองเพียง 5 ตัว ใน 5 ประเทศเท่านั้น ในประเทศไทย มีเพียงตัวเดียวเป็นของ นาวาอากาศโท วิโรจน์ นุตพันธุ์ นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวไทยที่มีชื่อเสียง เป็นเต่าตัวผู้ มีราคา 25,000 บาท ซึ่งทาง น.ท.วิโรจน์ ตั้งใจจะหาเต่าตัวเมียมาผสมพันธุ์เพื่อแพร่ขยายพันธุ์ต่อไป แต่ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เต่าบินตัวนี้ได้ถูกผู้ขโมยไปและนำไปแกงเป็นอาหารรับประทาน แต่ในปัจจุบัน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วที่อินโดนีเซีย โดยแม่เต่าจะถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 25 ปี โดยวางไข่ในเวลากลางคืน บนสันดอนฝั่งแม่น้ำช่วงฤดูแล้ง เอ็มบริโอที่เจริญเป็นเต่าวัยอ่อนโดยสมบูรณ์แล้วยังคงอยู่ภายในเปลือกไข่จนกระทั่งสันดอนถูกน้ำท่วมในช่วงฤดูฝนจึงค่อยฟักตัวออกจาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าบิน · ดูเพิ่มเติม »

เต่าบึง

ต่าบึง หรือ เต่าป่า (Forest turtles, Terrapins.) เป็นสกุลของเต่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Heosemys จัดอยู่ในวงศ์ Geoemydidae (บางข้อมูลหรือข้อมูลเก่าจัดอยู่ในวงศ์ Bataguridae) โดยแยกออกจากสกุล Geoemyda ซึ่งเป็นสกุลส่วนใหญ่ในวงศ์นี้่ เต่าในสกุลนี้เป็นเต่าที่พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย มีทั้งชนิดที่เป็นเต่าอาศัยอยู่บนพื้นดินที่แห้งแล้งหรือเป็นป่าดิบทึบ และที่เป็นเต่าอาศัยอยู่ได้บนบกและในน้ำTurtle taxonomy Working Group (Rhodin, A.G.J., van Dijk, P.P, Iverson, J.B., and Shaffer, H.B.).2010.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าบึง · ดูเพิ่มเติม »

เต่าบึงดำ

ระวังสับสนกับ: เต่าบึงดำลายจุด เต่าบึงดำ (Black marsh turtle.) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานประเภทเต่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Siebenrockiella ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) เต่าในสกุลนี้ เดิมเคยถูกให้มีเพียงชนิดเดียว แต่ปัจจุบันได้จัดให้มี 2 ชนิด โดยมีเต่าป่าฟิลิปปิน ย้ายมาจากสกุล Heosemys โดยสกุลนี้ตั้งขึ้นมาครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าบึงดำ · ดูเพิ่มเติม »

เต่ากระ

ต่ากระ หรือ เต่าปากเหยี่ยว (Hawksbill sea turtle) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลังชั้นสัตว์เลื้อยคลาน และเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Eretmochelys มีลักษณะคล้ายเต่าตนุ (Chelonia mydas) โดยที่เป็นเต่าทะเลขนาดกลาง มีลำตัวไม่ใหญ่มากนัก จะงอยปากแหลมงองุ้มคล้ายกับจะงอยปากของนกเหยี่ยว มีเกล็ดบริเวณหัวด้านหน้า 2 คู่ และเกล็ดบริเวณด้านข้างข้างละ 4 เกล็ด ลักษณะของกระดองมีลวดลายและสีสันสวยงาม ขอบกระดองเป็นหยักโดยรอบ ซึ่งในอดีตมักจะถูกนำไปทำเป็นเครื่องประดับและข้าวของต่าง ๆ เช่น หวี เมื่อโตเต็มที่ จะมีขนาดความยาวประมาณ 100 เซนติเมตร และมีน้ำหนักประมาณ 120 กิโลกรัม เต่ากระพบกระจายพันธุ์ในเขตอบอุ่นในมหาสมุทรทั่วทั้งโลก โดยมักอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งที่สงบเงียบไม่มีการรบกวน จากการศึกษาพบว่า เต่ากระกินทั้งได้พืชและสัตว์ โดยใช้ปากที่งองุ้มนี้กินทั้งสาหร่ายทะเล, หญ้าทะเล รวมทั้งสัตว์น้ำประเภทต่าง ๆ รวมถึงปะการังด้วย วางไข่บนชายหาดครั้งละ 150-250 ฟอง จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และจัดเป็น 1 ใน 4 ชนิดของเต่าทะเลที่พบได้ในน่านน้ำไท.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่ากระ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าญี่ปุ่น

ต่าญี่ปุ่น หรือ เต่าแก้มแดง (Red-eared slider) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ จัดเป็นชนิดย่อยของเต่าแก้มแดง (T. scripta) มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก เหตุที่ได้ชื่อว่า เต่าญี่ปุ่นเพราะว่าในประเทศไทย พ่อค้าชาวญี่ปุ่นเป็นบุคคลแรกที่นำเต่าชนิดนี้มาขาย จึงทำให้ได้ชื่อว่า เต่าญี่ปุ่น ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี มีจุดเด่นคือ รอบ ๆ ดวงตามีสีแดง จึงทำให้ได้ชื่อว่า เต่าแก้มแดง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ แม้กระทั่งลูกเป็ดขนาดเล็กที่กำลังว่ายน้ำอยู่ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปี เต่าขนาดเล็กที่กระดองยังเป็นสีเขียว สีเผือก ซึ่งมีราคาซื้อขายที่แพงมาก''Albino (มัน เผือก มาก)'', โดย เวอร์ริเดียน, ชวิน ตันพิทยคุปต์ คอลัมน์ Aqua Knowledge หน้า 70-73. นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 2 ฉบับที่ 16: ตุลาคม 2011 เต่าญี่ปุ่น นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินมาก ด้วยเป็นที่รู้จักกันดีจากการที่ถูกอ้างอิงถึงในภาพยนตร์การ์ตูนชุด Teenage Mutant Ninja Turtles ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในยุคทศวรรษที่ 80 และ90 ในประเทศไทยมีการเลี้ยงกันมานานกว่า 30 ปี ได้รับความนิยมอย่างยิ่งเนื่องจากความน่ารักในเต่าขนาดเล็กประกอบกับมีราคาถูก แต่ทว่าก็ได้กลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน เนื่องจากเมื่อเต่าโตขึ้นแล้วไม่สวยน่ารักเหมือนอย่างเก่า เจ้าของจึงนำไปปล่อยลงแหล่งน้ำธรรมชาติ กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่น เนื่องจากสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในประเทศไทยได้เป็นอย่างดี และยังทนทานต่อมลภาวะได้ดีกว่าเต่าพื้นเมือง ทำให้แพร่ขยายพันธุ์แย่งอาหารและถิ่นที่อยู่ของเต่าพื้นเมืองไทย รวมถึงยังเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในที่อื่น ๆ ด้วย เช่น กรุงลอนดอน ในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เต่ามะเฟือง

ต่ามะเฟือง หรือ เต่าเหลี่ยม (Leatherback turtle) เป็นเต่าทะเล จัดเป็นเต่าชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ในบรรดาสัตว์เลื้อยคลานทั้งหมดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์อยู่จนถึงปัจจุบัน จึงเป็นเต่าเพียงชนิดเดียวในวงศ์ Dermochelyidae และสกุล Dermochelys เต่ามะเฟืองสามารถแยกออกจากเต่าประเภทอื่นได้โดยการสังเกตที่กระดองจะมีขนาดคล้ายผลมะเฟือง และครีบคู่หน้าไม่มีเล็บ ตั้งแต่ออกจากไข่ ความลึกที่เต่ามะเฟืองสามารถดำน้ำได้ถึง 1,280 เมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่ามะเฟือง · ดูเพิ่มเติม »

เต่ามาตามาต้า

ต่ามาตามาต้า (Mata mata turtle, Matamata turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่าคองู (Chelidae) จัดเป็นเต่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Chelus โดยคำว่า "Mata mata" ที่เป็นชื่อสามัญนั้น มาจากภาษาสเปนแปลว่า "ฆ่ามัน ฆ่ามัน" จัดว่าเป็นเต่าชนิดหนึ่งที่หากินและอาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลา มีรูปร่างแปลกตา นับว่าเป็นนักพรางตัวเข้ากับได้ดีเยี่ยมชนิดหนึ่ง เพราะมีรูปร่างและสีสันกลมกลืนกับธรรมชาติมาก เต่ามาตามาต้ามีส่วนหัวที่แบนแผ่เป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ และผิวหนังขรุขระและมีติ่งเนื้อล้อมรอบทำหน้าที่รับความรู้สึกและตรวจสอบการกระเพื่อมของน้ำ กระดองกว้างและแบนราบมีสันขนาดใหญ่ 3 สัน เรียงตามความยาวของกระดอง ที่เมื่ออยู่ในน้ำแล้วมองดูเหมือนก้อนหิน หรือเปลือกไม้ หรือใบไม้มากกว่า และมีจมูกที่มีความยาวคล้ายหลอด คอยาวเหมือนงู ซึ่งทั้งหมดใช้สำหรับการพรางตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใต้พื้นน้ำ เพื่อรอดักซุ่มเหยื่อ ซึ่งได้แก่ ปลา โดยเต่ามาตามาต้าจะอยู่นิ่ง ๆ อ้าปากรอปลาที่ผ่านเข้ามาในระยะของปาก จะกินปลาด้วยการดูดเข้าไป รวมถึงกินสัตว์อย่างอื่นได้ด้วย เช่น ครัสเตเชียน, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ตลอดจนสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เต่ามาตามาต้า โตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร น้ำหนักกว่า 20 กิโลกรัม นับเป็นเต่าน้ำที่มีขนาดใหญ่อีกชนิดหนึ่ง กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำโอรีโนโก และอเมซอน มักอาศัยอยู่ในน้ำที่มีสภาพเป็นกรดสูงซึ่งเกิดจากการทับถมของเศษซากพืชต่าง ๆ จนน้ำมีสีคล้ายสีน้ำตาลหรือสีชา มีสารแทนนินสูง มีพฤติกรรมเชื่องช้าเป็น อาศัยอยู่โดดเดียว โดยหากินและอาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลา ยกเว้นเมื่อตัวเมียขึ้นมาวางไข่บนบกเท่านั้น โดยวางไข่บนดินเลนประมาณ 12-28 ฟอง อายุที่พร้อมขยายพันธุ์อยู่ที่ 5 ปี ฤดูการวางไข่อยู่ที่ปลายปีราวเดือนตุลาคม-ธันวาคม ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 208 วัน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่ามาตามาต้า · ดูเพิ่มเติม »

เต่ารัศมีดารา

ต่ารัศมีดารา เป็นสกุลของเต่าจำพวกเต่าบก (Testudinidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Astrochelys (/แอส-โตร-เช-ลิส/) พบเพียง 2 ชนิด เท่านั้น บนเกาะมาดากัสการ์ เป็นเต่าที่มีกระดองสวยงาม โดยลายจะเป็นลายสวยเป็นลายใบมีดของคันไถ และเป็นลายรัศมีคล้ายดาว จึงเป็นที่นิยมอย่างยิ่งของนักเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานต่าง ๆ จนกระทั่งเข้าสู่ภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตแล้วในธรรมชาติทั้งคู.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่ารัศมีดารา · ดูเพิ่มเติม »

เต่าราเดียตา

ต่าราเดียตา หรือ เต่ารัศมีดารา (Radiated tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Astrochelys radiata มีกระดองที่มีสีสวยโดยเฉพาะในวัยเล็ก คล้ายกับเต่าในสกุล Geochelone ที่เคยถูกจัดให้อยู่ร่วมสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่ามีลวดลายที่ละเอียดกว่ามากเหมือนกับลายของ "ดาว" โดยเฉพาะในตัวที่มีสีเหลืองมาก จะเรียกว่า "ไฮเยลโล่" จัดเป็นเต่าขนาดกลาง เมื่อโตเต็มที่จะมีขนาดประมาณหนึ่งฟุตครึ่ง น้ำหนักประมาณ 35 ปอนด์ มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศมาดากัสการ์บริเวณตอนใต้ และถูกนำเข้าไปในเรอูว์นียง และมอริเชียส ในสภาพที่เป็นทะเลทราย แต่ก็เป็นเต่าที่ชอบความเย็นและความชื้นพอสมควร เนื่องจากสภาพที่อยู่อาศัยมีสภาพฝนตกชุกอยู่ด้วย กินผักและผลไม้หลากชนิดเป็นอาหาร ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ วางไข่ในหลุมที่ตัวเมียเป็นฝ่ายขุดประมาณ 7-9 ฟอง แล้วเว้นช่วงไป จากนั้นก็จะขุดหลุมใหม่เพื่อวางไข่ ทำอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าไข่จะหมด ใช้เวลาฟักประมาณ 200 วัน ซึ่งไข่จะฟักเป็นตัวเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ เต่าราเดียตา เป็นเต่าบกที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในแง่ของการนิยมเป็นสัตว์เลี้ยง มีราคาซื้อขายที่แพงมาก มีการอนุรักษ์มีสถานะติดอยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) ของไซเตส ในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ในพุ่มไม้หนามทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมาดากัสการ์ แม้จะมีปริมาณในธรรมชาติมากถึง 63,000,000 ตัว แต่ทว่าก็มีปริมาณลดลงเรื่อย ๆ ถึงร้อยละ 47 จากเมื่อ 11 ปีก่อน คาดว่าหากเป็นเช่นนี้ต่อไปภายใน 20 ปี ข้างหน้า เต่าราเดียตาจะสูญพันธุ์ในที่สุด ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยยังไม่มีรายงานการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้สำเร็จ จึงมีการลักลอบเข้ามาจากมาดากัสดาร์ ซึ่งถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหม.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าราเดียตา · ดูเพิ่มเติม »

เต่าริดลีย์

ต่าริดลีย์ (Ridley sea turtle) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานทางทะเลจำพวกเต่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อว่า Lepidochelys ในวงศ์เต่าทะเล (Cheloniidae) เต่าริดลีย์ มีความยาวของกระดอง 70 เซนติเมตร จัดเป็นเต่าทะเลขนาดเล็ก และเป็นเต่าทะเลเพียงสกุลเดียวที่มีพฤติกรรมวางไข่ในเวลากลางวันด้วย ส่วนการวางไข่ในเวลากลางคืนมีปรากฏการณ์พิเศษ โดยเฉพาะที่ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของคอสตาริกา ในคืนข้างแรมที่น้ำขึ้นสูงสุด เต่าริดลีย์จะมารวมตัวกันวางไข่เป็นจำนวนมากได้ถึง 400,000 ตัว ภายในเวลา 6 วัน ในอัตราเฉลี่ยนาทีละ 5,000 ตัว ทั้งไปและมา ถึงขนาดที่ชายหาดเต็มไปด้วยเต่าจนต้องปีนป่ายบนหลังตัวอื่น คิดเป็นประชากรเต่าริดลีย์ 1 ใน 4 โลก ซึ่งการรวมตัวกันวางไข่มากถึงขนาดนี้เรียกว่า "อารีบาดา" (Arribada) ชื่อ "ริดลีย์" มาจาก อาร์ชีย์ คารร์ นักอนุรักษ์และนักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวอเมริกัน เป็นผู้เรียกขาน โดยอธิบายว่าเป็นศัพท์ที่ใช้เรียกทั่วไปในแถบฟลอริดา เต่าริดลีย์ จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าริดลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าสแนปปิ้ง

ต่าสแนปปิ้ง หรือ เต่าฉก (Snapping turtles) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelydra ในวงศ์เต่าสแนปปิ้ง (Chelydridae) จัดเป็นเต่าขนาดใหญ่จำพวกหนึ่ง นอกเหนือไปจากสกุล Macroclemys หรือเต่าอัลลิเกเตอร์ ซึ่งเป็นเต่าน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เป็นเต่ากินเนื้อขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาทั้งอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ โดยอาศัยในแหล่งน้ำระดับน้ำตื้นและขึ้นมาบนบกบ้าง แต่การกินอาหาร, ผสมพันธุ์ และการจำศีลในฤดูหนาวกระทำในน้ำทั้งสิ้น การขึ้นมาบนบกเป็นการแพร่กระจายไปในพื้นที่ใหม่ กินอาหารทั้งพืชและสัตว์ มีพฤติกรรมการหาอาหารต่างไปจากเต่าอัลลิเกเตอร์ตรงที่จะใช้การเคลื่อนย้ายหาเหยื่อหรืออยู่นิ่งกับที่เพื่อให้เหยื่อเข้ามาใกล้ แล้วค่อยฉกงับอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าสแนปปิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหก

ต่าหก (Asian forest tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Manouria emys เมื่อโตเต็มที่มีกระดองยาว 2 ฟุต น้ำหนักประมาณ 30-40 กิโลกรัม กระดองโค้งสูงมาก ขาหน้าด้านบนมีเกล็ดใหญ่ ๆ ขาหลังสั้นทู่มีเล็บกลมใหญ่ และไม่มีเกล็ดขนาดใหญ่ มีเดือยอยู่ระหว่างขาหลังกับหางข้างละอัน เดือยมีกระดูกอยู่ข้างใน สำหรับใช้ยันพื้นดินเวลาปีนขึ้นที่สูงจึงดูคล้ายมีขาเพิ่มอีกสองขา เป็นหกขา จึงเป็นที่มาของชื่อเรียก เต่าหก พบกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงอินโดนีเซีย จัดเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในทวีปเอเชีย แม้จะเป็นเต่าบก แต่ก็ชอบความชื้น ชอบอาศัยอยู่ในโคลนตมหรือใกล้แหล่งน้ำ ในป่าดิบเขา โดยจะขุดหลุมแล้วฝังตัวอยู่ ไม่ค่อยพบในที่ราบ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าหก · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหญ้า

ต่าหญ้า หรือ เต่าสังกะสี หรือ เต่าหญ้าแปซิฟิก (Olive ridley sea turtle, Pacific ridley) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lepidochelys olivacea เป็นเต่าทะเลขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60-70 เซนติเมตร น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30-40 กิโลกรัม กระดองมีสีเขียวมะกอกหรือสีน้ำตาล เกล็ดบนกระดองมีลักษณะซ้อนกันเหมือนสังกะสีมุงหลังคา อันเป็นที่มาของอีกชื่อเรียกหนึ่ง ส่วนท้องมีสีเหลืองออกขาว หัวค่อนข้างโต ดวงตาปูนโปนออกมา กระดองมีความแข็งมาก ริมฝีปากสั้นทู่และคมแข็งแรงมากเพื่อใช้สำหรับขบกัดกินสัตว์มีกระดองซึ่งเป็นอาหารหลัก ส่วนของกระดองและท้องเชื่อมต่อกัน เป็นเต่าทะเลที่ว่ายน้ำได้เร็วมาก โดยอาจว่ายได้ถึง 35 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ในมหาสมุทรแอตแลนติกพบน้อยมาก กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น กุ้ง, ปลา, แมงกะพรุน, ปู, หอย, สาหร่ายทะเลและหญ้าทะเล ในน่านน้ำไทยจะพบได้ในฝั่งทะเลอันดามัน ในอ่าวไทยจะพบได้น้อยกว่า จัดเป็นเต่าทะเลอีกชนิดหนึ่งที่พบได้น้อบมากในน่านน้ำไทย โดยการวางไข่มีรายงานว่าพบที่ฝั่งทะเลอันดามันเท่านั้น โดยไม่พบในฝั่งอ่าวไทย และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหับเอเชีย

ต่าหับเอเชีย (Asian box turtles; 閉殼龜屬; พินอิน: Bì ké guī shǔ) เป็นสกุลของเต่าสกุลหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cuora มีรูปร่างคล้ายโดยรวมคล้ายกับเต่าในวงศ์นี้ส่วนใหญ่ คือ กระดองโค้งกลมเห็นได้ชัด มีลักษณะสำคัญ คือ กระดองส่วนท้องแบ่งออกเป็น 2 ตอน สามารถทำให้พับหับได้เหมือนกล่อง ซึ่งเต่าจะสามารถเก็บส่วนหัว ขาทั้ง 4 ข้าง และหางได้ปิดสนิท เต่าหับเอเชียนั้นมีอยู่ด้วยกันทั้งหมดประมาณ 9 ชนิด กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และตอนใต้ของจีน เช่น มณฑลยูนนาน เป็นเต่าที่สามารถว่ายน้ำได้ดี แต่มักที่จะอยู่บนพื้นดินที่มีความชุ่มชื้นมากกว่า กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เต่าหับเอเชียนอกจากได้รับความนิยมในแง่ของการเป็นสัตว์เลี้ยงแล้ว ยังถือว่าเป็นสัตว์นำโชคอีกด้วย เชื่อว่าจะนำโชคลาภมาสู่ผู้เป็นเจ้าของ โดยเฉพาะหากเต่าหับตัวใดมีหับที่ใต้ท้องมากกว่า 2 ตอน หรือ 3 ตอน และยังนำกระดองไปทำเป็นเครื่องรางของขลังได้อีกด้วย โดยเฉพาะอย่างในเต่าหับเหรียญทอง (C. aurocapitata) โดยที่มาของความเชื่อมาจากชาวจีน.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าหับเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหัวค้อน

ต่าหัวค้อน หรือ เต่าล็อกเกอร์เฮด หรือ เต่าจะละเม็ด (Loggerhead) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caretta caretta จัดเป็นเพียงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Caretta ลักษณะทั่ว ๆ ไปคล้ายเต่าหญ้า (Lepidochelys olivacea) และเต่าตนุ (Chelonia mydas) มาก ต่างกันที่เกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้ามี จำนวน 2 คู่ เท่ากับเต่าหญ้า แต่เกล็ดบนกระดองหลังแถวข้างมีจำนวน 5 แผ่นซึ่งต่างจากเต่าทะเลชนิดอื่น ๆ และรูปทรงของกระดองจะเรียวเล็กลงมาทางส่วนท้ายและเป็นสันแข็งเห็นชัดเจน กระดองมีสีน้ำตาลแดง น้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลส้ม ขอบชายโครงมีสันแข็ง ขณะที่ยังเป็นลูกเต่ากระดองจะยกสูง ที่สำคัญเป็นจุดเด่น คือ มีหัวขนาดใหญ่โตอย่างเห็นได้ชัด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ขาซึ่งเป็นใบพายทั้งคู่หน้าและคู่หลังมีเล็บหนึ่งเล็บในแต่ละข้าง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดกระดองหลังยาวประมาณ 85 เซนติเมตร กระดองท้อง 60 เซนติเมตร มีน้ำหนักตัวประมาณ 70 กิโลกรัม กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำมีเปลือกและหอย เป็นอาหารหลัก พบน้อยมากที่มหาสมุทรแปซิฟิก แต่พบมากที่มหาสมุทรแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบน้อยมาก และไม่พบรายงานว่ามีการขึ้นมาวางไข่เป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว แต่ยังพบได้บ้างที่เขตอบอุ่นทางตอนเหนือของออสเตรเลียและทะเลญี่ปุ่น หรืออินโดนีเซีย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

เต่าอัลลิเกเตอร์

ต่าอัลลิเกเตอร์ในสวนสัตว์พาต้า เต่าอัลลิเกเตอร์ หรือ เต่าอัลลิเกเตอร์ สแนปปิ้ง (Alligator snapping turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์เต่าสแนปปิ้ง (Chelydridae) จัดเป็นเต่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Macrochelys ซึ่งหลายชนิดในวงศ์นี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังนั้นจึงถือได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตชนิดหนึ่ง และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นเกียรติแด่ คอนราด จาค็อบ แทมมินค์ นักสัตววิทยาชาวดัตช์ เต่าอัลลิเกเตอร์ มีส่วนหัวใหญ่ตัน ขากรรไกรรูปร่างเหมือนจะงอยปากและกระดองยาวหนามีสัน 3 สันแลดูคล้ายหลังของอัลลิเกเตอร์ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ กระดองของมีสีเทาเข้ม หรือน้ำตาล, ดำ, หรือสีเขียวมะกอก ในบางครั้งอาจมีตะไคร่น้ำเกาะเพื่อใช้พรางตัว มีลายสีเหลืองบนตาที่ช่วยในการพรางตัวและมีหน้าที่แบ่งส่วนลูกตา รอบ ๆ ดวงตาของถูกล้อมรอบด้วยเนื้อรูปดาวซึ่งดูแล้วเหมือนขนตา ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย โดยตัวผู้นั้นนั้นมีความยาวกระดอง 66 เซนติเมตร และมีน้ำหนักได้ถึง 80 กิโลกรัม ส่วนตัวเมียมีน้ำหนัก 23 กิโลกรัม ความแตกต่างระหว่างเพศสามารถดูได้จากความหนาของโคนหาง โดยเต่าตัวผู้จะมีโคนหางที่หนากว่าเพราะเป็นส่วนที่ซ่อนอวัยวะสืบพันธุ์ไว้ โดยตัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แต่มีบันทึกอย่างไม่เป็นทางการระบุว่ามีน้ำหนักถึง 403 ปอนด์ (ประมาณ 183 กิโลกรัม) พบในแม่น้ำนีโอโช ในรัฐแคนซัส เมื่อปี ค.ศ. 1937 ขณะที่ตัวที่มีบันทึกไว้อย่างเป็นทางการมีน้ำหนักถึง 236 ปอนด์ อยู่ที่สวนสัตว์บรู๊คฟิลด์ ในชิคาโก เต่าอัลลิเกเตอร์ จัดเป็นเต่าน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีแรงกัดของกรามที่รุนแรง โดยเต่าขนาด 1 ฟุต มีแรงกัดถึง 1,000 ปอนด์ ซึ่งเป็นแรงกัดมหาศาลเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจาก จระเข้น้ำเค็ม และ ไฮยีน่า แม้แต่สุนัขขนาดใหญ่ที่ดุร้าย เช่น พิทบูล ยังมีแรงกัดได้เพียง 400-500 ปอนด์เท่านั้น และเมื่อกัดแล้วกรามจะล็อกเพื่อไม่ให้ดิ้นหลุด จนผู้เชี่ยวชาญในการจับเต่าอัลลิเกเตอร์กล่าวว่า หากถูกเต่าอัลลิเกเตอร์กัดแล้ว วิธีเดียวที่จะเอาออกมาได้ คือ ต้องตัดหัวออกแล้วใช้ไม้เสียบเข้าไปในรูจมูกให้ทะลุถึงคอ เพื่อปลดล็อกกราม เต่าอัลลิเกเตอร์ เป็นเต่าที่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของหลายพื้นที่ในภาคตะวันออกและภาคใต้ของสหรัฐอเมริกา กินเนื้อเป็นอาหาร กินปลาและสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยวิธีการซุ่มนิ่ง ๆ ไม่เคลื่อนไหวใต้น้ำ แล้วอ้าปากใช้ลิ้นที่ส่วนปลายแตกเป็น 2 แฉกที่ส่วนปลายสุดของกรามล่าง เพื่อตัวหลอกปลาให้เข้าใจว่าเป็นหนอน เมื่อปลาเข้าใกล้ได้จังหวะงับ ก็จะงับด้วยความรุนแรงและรวดเร็ว นอกจากนี้แล้วเต่าอัลลิเกเตอร์ยังกินเต่าด้วยกัน รวมถึงเต่าอัลลิเกเตอร์ด้วยกันเองเป็นอาหารด้วยจากการขบกัดที่รุนแรง เชื่อกันว่า เต่าอัลลิเกเตอร์มีอายุยืนได้ถึง 200 ปี แต่อายุโดยเฉลี่ยในที่เลี้ยง คือ 20-70 ปี เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 11-13 ปี โดยจะโตไปได้เรื่อย ๆ ตลอดชีวิต โดยเฉพาะในวัยเจริญพันธุ์ แต่เมื่อเลยไปแล้วอัตราการเจริญเติบโตก็จะช้าลง ตัวเมียวางไข่ขนาดเท่าลูกปิงปองได้มากถึง 52 ฟอง แต่โดยเฉลี่ยประมาณ 29-31 ฟอง โดยขุดหลุมฝังไว้ในพื้นดิน ซึ่งไข่จำนวนหนึ่งอาจถูกสัตว์กินเนื้อต่าง ๆ เช่น แรคคูน ขุดขโมยไปกินได้ และด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ทำให้เต่าในธรรมชาติต้องวางไข่ใกล้กับทางรถไฟมากขึ้น เต่าอัลลิเกเตอร์ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และจัดแสดงตามสวนสัตว์ ขณะที่กฎหมายในบางที่เช่น รัฐแคลิฟอร์เนีย ห้ามเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง แต่ในบางพื้นที่ เช่น รัฐลุยเซียนา มีการนำไปปรุงเป็นซุป ถือเป็นอาหารท้องถิ่นอย่างหนึ่ง โดยมีการจับส่งให้แก่ร้านอาหารตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 30 จนถึง ทศวรรษที่ 70-80 ทำให้ประชากรเต่าอัลลิเกเตอร์มีจำนวนที่ลดลงSwamp Thing, "Nick Baker's Weird Creatures".

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าอัลลิเกเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าทะเล

ต่าทะเล (Sea turtle) เป็นเต่าที่อยู่ในวงศ์ใหญ่ Chelonioidea ซึ่งวิวัฒนาการจนสามารถอาศัยอยู่ได้ในทะเลตลอดเวลา โดยจะไม่ขึ้นมาบนบกเลย นอกจากการวางไข่ของตัวเมียเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เต่าดาว

ต่าดาว (Star tortoise, Typical tortoise) เป็นสกุลของเต่าจำพวกเต่าบกสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Geochelone (/จี-โอ-เช-ลอน/) พบกระจายพันธุ์บนบกในป่าทวีปเอเชียและแอฟริกา จัดเป็นสกุลที่เป็นต้นแบบของเต่าบกในอีกหลายสกุลและหลายชนิด ปัจจุบันจำแนกออกได้เป็น 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าดาว · ดูเพิ่มเติม »

เต่าดำ

ต่าดำ หรือ เต่ากา หรือ เต่าแก้มขาว (Black marsh turtle; 粗頸龜) เป็นเต่าชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็ก มีลักษณะ ลำตัวยาวประมาณครึ่งฟุต น้ำหนักไม่ถึงครึ่งกิโลกรัม ลำตัวแบน มีกระดองสีดำ หัว หาง และขามีสีดำ มีลักษณะเด่น คือ มีแต้มสีขาวเหนือตา แก้ม และตามใบหน้าอีกหลายแห่ง อันเป็นที่มาของชื่อ กระดองส่วนบนยาวเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตามแหล่งน้ำประเภทหนองหรือบึง ในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทุกทั่วภาค แต่จะพบได้มากในภาคกลางและภาคใต้ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์น้ำ มีอุปนิสัยชอบหมกตัวอยู่ใต้โคลนในน้ำ นาน ๆ ทีจึงค่อยโผล่มาหายใจบนผิวน้ำ ดังนั้นเวลาพบจึงเห็นตัวสกปรกเลอะโคลนอยู่เสมอ จะขึ้นบกเวลากลางคืน เพื่อต้องการหาทำเลวางไข่ หรือผสมพันธุ์ หรือย้ายที่อยู่ ส่วนกลางวันมักหมกตัวอยู่ในที่รก ชื้นแฉะ หรือตามโคลนใต้พื้นน้ำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์แปลก ๆ ในเต่าที่เป็นเต่าเผือกจะมีราคาซื้อขายที่แพงมาก เพราะถือเป็นสัตว์ที่หายาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าดำ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าคอยาว

ต่าคอยาว หรือ เต่าคองู (Long-necked turtles, Snake-necked turtles) เป็นสกุลของเต่าน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์เต่าคองู (Chelidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelodina มีลักษณะทั่วไปกระดองแบนราบ นิ้วตีนทุกนิ้วมีผังพืดเชื่อมติดกัน เล็บยาว มีส่วนคอเรียวเล็ก ยืดหดได้ หัวมีขนาดเล็ก ดวงตากลมโต เป็นเต่าที่อาศัยและหากินในน้ำเป็นหลัก พบในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไม่แรงหรือแหล่งน้ำนิ่ง บางชนิดพบในแหล่งน้ำกร่อย บางชนิดในฤดูแล้งจะมีพฤติกรรมจำศีลด้วยการซ่อนตัวอยู่ใต้โคลน บางชนิดวางไข่ในน้ำ ซึ่งจัดว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่วางไข่ในน้ำ มีขนาดกระดองประมาณ 15 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในตอนใต้ของปาปัวนิวกินี และออสเตรเลีย พบทั้งหมด 11 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าคอยาว · ดูเพิ่มเติม »

เต่าคองู

ต่าคองู (Snake-necked turtle, Eastern snake-necked turtle, Common long-necked turtle) สัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่าคองู (Chelidae) มีลักษณะเด่น คือ มีส่วนคอที่ยาวมากเหมือนงู หัวมีขนาดเล็ก ตากลมโต ขนาดโตเต็มที่กระดองยาว 30 เซนติเมตร อาศัยในน้ำตื้น ๆ หรือชายน้ำ จะไม่อยู่ห่างน้ำไปไกลเพราะคอที่ยาวจะทำให้การเคลื่อนไหวบนบกทำได้ไม่คล่องตัว ชอบความสะอาด มักจะหมอบราบกับพื้นท้องน้ำ และฝังตัวอยู่ในโคลนที่อ่อนนุ่ม กินอาหารจำพวกปลาหรือสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ด้วยการดูดเข้าไปในปาก พบกระจายพันธุ์บนเกาะปาปัวนิวกินีแถบทางใต้ของเกาะบริเวณช่องแคบทอเรส และตามหนองบึงทั่วไปของออสเตรเลีย เต่าคองูมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 17-50 ปี สืบพันธุ์โดยวางไข่ในเดือนพฤษภาคมและตอนปลายของฤดูฝน ฟักออกเป็นตัวในเดือนพฤศจิกายนหรือธันวาคม ลูกเต่าที่ฟักออกใหม่ มีความยาว 3.7 เซนติเมตร บนกระดองหลังมีจุดด่างสีน้ำตาลดำ เต่าคองูในสวนสัตว์พาต้า เต่าคองู เป็นสัตว์เลื้อยคลานอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง และจัดแสดงตามสวนสัตว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าคองู · ดูเพิ่มเติม »

เต่าคองูเหนือ

ต่าคองูเหนือ (Northern australian snake-neck turtle, Northern snake-necked turtle) สัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่าคองู (Chelidae) เต่าคองูเหนือ กระจายพันธุ์ในอินโดนีเซีย, ออสเตรเลีย และหมู่เกาะพิตแคร์นThomson S. (2000).

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าคองูเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าตนุ

ต่าตนุ (Green turtle) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelonia mydas อยู่ในวงศ์ Cheloniidae และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Chelonia เป็นเต่าทะเลที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่และมีน้ำหนักมากเมื่อโตเต็มที่ โดยมีความยาวตั้งแต่หัวจรดหางประมาณ 1 เมตร น้ำหนักราว 130 กิโลกรัม หัวป้อมสั้น ปากสั้น เกล็ดเรียงต่อกันโดยไม่ซ้อนกัน กระดองหลังโค้งนูนเล็กน้อย บริเวณกลางหลังเป็นแนวนูนเกือบเป็นสัน ท้องแบนราบขาทั้ง 4 แบน เป็นใบพาย ขาคู่หลังมีขนาดเล็กกว่าขาคู่หน้ามาก ขาคู่หน้ามีเล็บแหลมเพียงข้างละชิ้น สีของกระดองดูเผิน ๆ มีเพียงสีน้ำตาลแดงเท่านั้น แต่ถ้าหากพิจารณาให้ละเอียด จะพบว่าเกล็ดแต่ละเกล็ดของกระดองหลังมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลอมเขียว ขอบเกล็ดมีสีอ่อน ๆ เป็นรอยด่างและมีลายเป็นเส้นกระจายออกจากจุดสีแดงปนน้ำตาล คล้ายกับแสงของพระอาทิตย์ที่ลอดออกจากเมฆ จึงมีชื่อเรียกเต่าชนิดนี้ว่าอีกชื่อหนึ่งว่า "เต่าแสงอาทิตย์" ขณะที่ชาวตะวันตกเรียกว่า "เต่าเขียว" อันเนื่องจากมีกระดองเหลือบสีเขียวนั่นเอง พบกระจายพันธุ์ทั้งในมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นับเป็นเต่าทะเลชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดในน่านน้ำไทย โดยมักพบในเขตที่มีอุณหภูมิน้ำที่ค่อนข้างอุ่น คือ สูงกว่า 20 องศาเซลเซียสขึ้นไป เต่าตนุเป็นเต่าที่กินทั้งพืชและสัตว์ แต่จะกินพืชเป็นหลัก โดยกินอาหารจำพวก หญ้าทะเลหรือสาหร่ายทะเล โดยมีสัตว์น้ำขนาดเล็กทั่วไป เช่น ปลาหรือแมงกะพรุน เป็นอาหารรองลงไป โตเต็มที่เมื่ออายุได้ 4-7 ปี เชื่อว่าอายุยืนถึง 80 ปี ฤดูวางไข่ตกอยู่ในราวเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนกันยายนในบริเวณอ่าวไทยและอยู่ในราวเดือนกันยายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ในทะเลอันดามัน จำนวนไข่ต่อครั้งมีตั้งแต่ 70-150 ฟอง เต่าขนาดโตเต็มที่แล้วจะว่ายน้ำหากินไปเรื่อย ๆ แต่จะกลับมาวางไข่บนชายหาดที่ถือกำเนิด เป็นเต่าที่มักพบในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งหรือตามเกาะต่าง ๆ สำหรับในน่านน้ำไทย พบเต่าชนิดนี้ขึ้นวางไข่มากที่เกาะครามและเกาะกระในอ่าวไทย และทางฝั่งทะเลอันดามันพบวางไข่มากที่อุทยานแห่งชาติตะรุเตา บนชายหาดและเกาะหลายแห่งในจังหวัดภูเก็ตและพังง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าตนุ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าซูลคาต้า

ต่าซูลคาต้า หรือ เต่าเดือยแอฟริกัน (Sulcata tortoise, African spurred tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Geochelone sulcata จัดเป็นเต่าบกที่มีความใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกรองมาจาก เต่ายักษ์กาลาปากอส (G. nigra) และเต่าอัลดาบร้า (Aldabrachelys gigantea) จัดเป็นเต่าที่มีลักษณะกระดองที่แบนราบ เมื่อยังอยู่ในวัยเล็กลำตัวมีสีขาวไปจนถึงสีน้ำตาลเหลือง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นและวัยเต็มวัยสีของกระดองจะพัฒนาเป็นสีน้ำตาลและสีเหลือง ขาทั้งสี่ข้างแข็งแรง โดยเฉพาะขาคู่หน้ามีเกล็ดขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน กระจายพันธุ์บริเวณพื้นที่แห้งแล้ง บริเวณขอบทะเลทรายซาฮาร่าตั้งแต่ประเทศมาลี, เซเนกัล ในแอฟริกาตะวันตกไปจนถึงเอธิโอเปีย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้มากกว่า 36 นิ้ว น้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม มีอายุยาวกว่า 100 ปี เป็นเต่าที่กินอาหารหลักได้หลากหลาย โดยมากเป็นหญ้า รวมถึงวัชพืชและผลไม้ชนิดต่าง ๆ รวมถึงพืชในทะเลทราย เช่น กระบองเพชร มีพฤติกรรมที่แตกต่างไปกวาเต่าบกชนิดอื่น ๆ คือ เดินเก่งและเดินได้เร็ว สามารถเดินหาอาหารกินได้วันละหลายชั่วโมง เต่าตัวผู้เมื่อสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ราว 5 ปี หรือมีความยาวประมาณ 15 นิ้ว ในส่วนตัวเมียจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 7 ปี หรือมีความยาวประมาณ 17 นิ้ว ตัวผู้มีโคนหางที่ยาวกว่าตัวเมีย และมีกระดองบริเวณก้นเป็นรูปตัววี อีกทั้งกระดองใต้ท้องมีลักษณะโค้งเว้าเข้าไปด้านใน การสังเกตเพศเห็นได้เมื่อมีอายุได้ 3-4 ปี หรือมีความยาวประมาณ 1 ฟุต มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงต้นฤดูร้อนจนถึงปลายฤดูฝน โดยใช้เวลาผสมพันธุ์นานราว 1 ชั่วโมง เต่าตัวเมียจะวางไข่หลังผสมพันธุ์แล้ว 1 เดือน โดยใช้ขาหลังขุดหลุม ซึ่งอาจมีหลายหลุมเพื่อหลอกสัตว์กินเนื้อชนิดอื่นที่จะมาขโมยไข่ วางไข่ครั้งละ 20-30 ฟอง โดยในแต่ละปีอาจวางไข่ได้ถึงครั้งละ 4-5 ครั้ง และมักจะวางไข่ในช่วงเวลาบ่ายไปจนถึงตอนเย็น ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 90 วัน โดบใช้อุณหภูมิประมาณ 29-31 องศาเซลเซียส ความชื้นอยู่ที่ร้อยละ 75-85 ลูกเต่าเมื่อแรกฟักจะมีความยาวประมาณ 2 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 20-30 กรัม และจะมีถุงไข่แดงติดตัวมาด้วย ซึ่งถุงไข่แดงนั้นจะให้พลังงานแทนอาหาร ใช้เวลานานประมาณหนึ่งสัปดาห์ ถุงไข่แดงนี้จึงจะยุบไป ปัจจุบัน เต่าซูลคาค้าเป็นเต่าบกอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว รวมถึงในประเทศไทยด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าซูลคาต้า · ดูเพิ่มเติม »

เต่าปากแม่น้ำ

ต่าปากแม่น้ำ (River terrapins) เป็นสกุลของเต่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Batagur (/บา-ตา-เกอ/) ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) เป็นเต่าที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำกร่อยใกล้ทะเล เช่น ปากแม่น้ำ หรือชะวากทะเล พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชียในส่วนของเอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าปากแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เต่านา

ำหรับบุคคลดูที่ หม่อมหลวงมิ่งมงคล โสณกุล เต่านา หรือ เต่าสามสัน (Snail-eating turtles) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลาน 2 ชนิดจำพวกเต่าที่อยู่ในสกุล Malayemys ในวงศ์ Bataguridae เป็นเต่าน้ำจืดขนาดเล็ก มีลักษณะเด่น คือ กระดองส่วนบนมีสันนูน 3 เส้น เห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ และมีขอบเรียบ ส่วนหัวมีขนาดใหญ่และมีลายเส้นสีเหลืองหรือสีขาว กระดองส่วนบนมีสีน้ำตาลและขอบสีครีมหรือสีเหลือง กระดองส่วนล่างมีสีเหลือง และแต้มสีดำบนแผ่นเกล็ด ขณะที่สีผิวทั่วไปเป็นสีน้ำตาลเทาหรือดำ บริเวณส่วนหน้าและจมูกมีลายเส้นขีดสีขาว เป็นเต่าที่พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำของภูมิภาคอินโดจีนและแหลมมลายู พบเห็นได้ทั่วไปทั้งนาข้าว, สวนสาธารณะ หรือท้องร่องสวนผลไม้ พื้นที่การเกษตรทั่วไป เป็นเต่าที่กินหอยเป็นอาหารหลักทั้งหอยฝาเดียวและหอยสองฝา โดยใช้ริมฝีปากขบกัดเปลือกหอยให้แตก แล้วใช้เล็บจิกเนื้อหอยออกมากิน และยังกินสัตว์น้ำอย่างอื่นได้ด้วย เดิมทีเต่านาถูกจำแนกไว้เพียงชนิดเดียว แต่ต่อมาได้มีการศึกษาเพิ่มขึ้นโดยนักวิชาการชาวตะวันตก เมื่อปี ค.ศ. 2004 พบว่าแท้จริงแล้วมี 2 ชนิด โดยมีลักษณะแตกต่างกันทางกายวิภาคบางประการ และถิ่นที่แพร่กระจายพันธุ์ คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่านา · ดูเพิ่มเติม »

เต่านาหัวใหญ่

ต่านาหัวใหญ่ หรือ เต่านามลายู (Malayan snail-eating turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกเต่า ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) มีลักษณะกระดองสีน้ำตาลอ่อน หัวมีสีดำมีลายสีขาวเป็นเส้นใหญ่จากจมูกผ่านนัยน์ตาตอนบนและจากปากผ่านนัยน์ตาตอนล่าง 2 ขีด มีลายขาวที่แก้มด้วย ลายเส้นขาวใหญ่นี้เป็นจุดเด่น ผิวหนังทั่วไปและขามีสีเทาดำ ความยาวกระดองเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 1/2 กิโลกรัม เต่านาหัวใหญ่ เป็นเต่าที่พบได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย สามารถพบได้ทั่วไปตั้งแต่นาข้าว, ท้องร่องสวน หรือแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ ทั่วทุกภาคของประเทศ และพบได้ในประเทศใกล้เคียง เช่น กัมพูชา และมาเลเซีย เป็นเต่าที่กินหอยฝาเดียวและหอยสองฝาเป็นอาหารหลัก โดยใช้ปากขบกัดเปลือกหอยให้แตก จากนั้นจึงใช้เล็บฉีกเอาเนื้อหอยออกมากิน เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดเดียวกับเต่านาอีสาน (M. subtrijuga) แต่ต่อมาได้มีการศึกษาใหม่ พบว่าแท้จริงแล้วแยกออกเป็น 2 ชนิด ในปี ค.ศ. 2004.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่านาหัวใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เต่านาอีสาน

ต่านาอีสาน (Mekong snail-eating turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) เป็นเต่านาชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งแยกออกมาในปี ค.ศ. 2004 มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับเต่านาหัวใหญ่ (M. macrocephala) ซึ่งเป็นเต่านาอีกชนิด แต่มีลักษณะที่แตกต่างออกไป คือ มีขีดตามแนวตั้งใต้จมูก 4-5 ขีด ซึ่งมีมากกว่าเต่านาหัวใหญ่ และเส้นขีดที่นัยน์ตาจะเล็กกว่า รวมทั้งมีรูปร่างที่เล็กกว่าด้วย เต่านาอีสาน มีถิ่นกระจายพันธุ์ที่ภาคอีสานของประเทศไทย และพบไปจนถึงลาว, กัมพูชา และเวียดนาม เป็นเต่าที่กินหอยฝาเดียวและหอยสองฝาเป็นอาหารหลัก โดยใช้ปากขบกัดเปลือกหอยให้แตก แล้วใช้เล็บฉีกเอาเนื้อของหอยออกมา พบได้ทั่วไปในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ รวมทั้งพื้นที่ทำการเกษตร เช่น นาข้าว, ท้องร่องสวน ด้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่านาอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

เต่าน้ำบอร์เนียว

ต่าน้ำบอร์เนียว (Malaysian giant turtle, Bornean river turtle, Malayan giant terrapin) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทเต่าชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่านา (Bataguridae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Orlitia เป็นเต่าขนาดใหญ่ กระดองเรียบเป็นรูปไข่สีน้ำตาลเข้มหรือดำ ด้านล่างเป็นสีน้ำตาลเหลืองออกขาว เมื่อโตเต็มที่แล้วขอบกระดองจะราบเรียบ แต่เมื่อยังเป็นวัยที่โตไม่เต็มที่ จะโค้งเป็นโดมมากกว่านี้ และขอบข้างเป็นหยัก มีเล็บนิ้วเท้าที่แหลมคมและเท้าเป็นพังผืด ขนาดโตเต็มที่ ตัวผู้อาจมีความยาวได้กว่า 80 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร น้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียเล็กกว่าเกือบครึ่งตัว โดยมีกระดองยาว 50 เซนติเมตร น้ำหนักเพียง 30 กิโลกรัม จัดเป็นเต่าน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก และใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้และที่พบในทวีปเอเชีย พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของเกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา และคาบสมุทรมลายูตอนล่าง อาจพบได้ถึงภาคใต้สุดของไทย แถบจังหวัดสตูล กินพืช, ผัก, ผลไม้และสัตว์น้ำต่าง ๆ ตลอดจนซากสัตว์ตายลอยน้ำ เป็นสัตว์ที่อยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าน้ำบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

เต่าแพนเค้ก

ต่าแพนเค้ก (Pancake tortoise, African pancake tortoise, Softshell tortoise) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกเต่า ในวงศ์เต่าบก (Testudinidae) จัดเป็นเต่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในสกุล Malacochersus เต่าแพนเค้ก มีลักษณะเด่น คือ กระดองที่หลังได้ลดรูปจนลำตัวแบนราบ และอ่อนนุ่ม เหลือเพียงกระดูกรูปวงแหลมล้อมรอบตัวเป็นช่วงและพื้นผิวด้านบนของกระดองหลังและกระดองท้องเป็นชั้นหนังมีความอ่อนนุ่ม มีลำตัวที่แบนและเตี้ย มีขนาดความยาวประมาณ 6-7 นิ้ว และความสูงเพียง 1.5 นิ้ว เต่าแพนเค้ก มีกระดองที่แบนราบอ่อนนุ่ม และมีน้ำหนักเบา ทำให้เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไวผิดไปจากเต่าบกชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์บริเวณโขดหินในพื้นที่แห้งแล้ง มีสภาพกึ่งทะเลทราย หรือบนภูเขาสูง โดยอาจพบได้บนความสูงระหว่าง 100-6,000 ฟุต จากระดับน้ำทะเล ในแทนซาเนียและเคนยา กินพืชและผักชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยเฉพาะหญ้าและผลไม้ที่ร่วงหล่นบนพื้น นอกจากนี้แล้ว เต่าแพนเค้ก ยังสามารถที่จะเอาลำตัวเข้าหลบซ่อนในซอกหินได้เพื่อหนีศัตรูตามธรรมชาติ ด้วยกระดองที่แบน และเมื่ออยู่ในซอกหินแล้ว สามารถที่จะขยายตัวให้ใหญ่ขึ้นได้ เพื่อไม่ให้ศัตรูลากออกมา ด้วยการสูดอากาศเข้าไปในลำตัว เต่าแพนเค้ก เป็นเต่าที่ปีนป่ายเก่ง และนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าแพนเค้ก · ดูเพิ่มเติม »

เต่าแก้มแดง

ต่าแก้มแดง (Pond slider, Common slider) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปี.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าแก้มแดง · ดูเพิ่มเติม »

เต่าแม่น้ำมาลาวี

ต่าแม่น้ำมาลาวี หรือ เต่าแม่น้ำอเมริกากลาง(Central american river turtle, Mesoamerican river turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงสกุลเดียวและชนิดเดียวเท่านั้น ในวงศ์ Dermatemydidae ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน มีกระดองหลังยาวและโค้งนูน กระดองท้องใหญ่ การหุบขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปบนก้านกระดูกโพรโอติก และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกโพรโอติกที่อยู่ในซัยโนเวียลแคปซูล กระดองท้องไม่มีกระดูกมีโสพลาสทรอน มีกระดูกพลาสทรอนไปเชื่อมต่อกับขอบนอกของกระดองหลังที่มีร่องแบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 10 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องในลักษณะยืดหยุ่นได้ มีความยาวโดยเฉลี่ยตั้งแต่ 30-70 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดของทะเลสาบและแม่น้ำแต่อาจเข้าไปอาศัยในแหล่งน้ำกร่อยได้บ้าง มีอุปนิสัยหากินอยู่ตามพื้นล่างของแหล่งน้ำและไม่ขึ้นมาบนผิวน้ำ โดยใช้พื้นที่ในอุ้งปากและคอหอยแลกเปลี่ยนออกซิเจนด้วยการสูบน้ำเข้าทางปากแล้วผลักดันออกทางช่องเปิดจมูก กินพืชได้หลายชนิด รวมทั้งผลไม้และเมล็ดที่ร่วงลงน้ำ โดยเฉพาะมะเดื่อฝรั่ง ออกหากินในเวลากลางคืนและหลบซ่อนตัวในเวลากลางวันอยู่ที่พื้นล่างของแหล่งน้ำ วางไข่บริเวณชายฝั่งแม่น้ำ ตัวเมียอาจวางไข่ได้ถึง 4 ครั้ง ในฤดูผสมพันธุ์ แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของเม็กซิโกจนถึงตอนเหนือของฮอนดูรัส เต่าแม่น้ำมาลาวีที่สวนสัตว์ปราก ประเทศเช็กเกีย เต่าแม่น้ำมาลาวีถือเป็นเต่าที่หายากและใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตแล้ว นับเป็นเต่าที่หายากที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง โดยเป็นสมาชิกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในวงศ์นี้ ซึ่งสกุลและชนิดอื่น ๆ ได้สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์แล้ว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าแม่น้ำมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เต่าเหลือง

ต่าเหลือง หรือ เต่าเทียน หรือ เต่าแขนง หรือ เต่าขี้ผึ้ง (Elongated tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indotestudo elongata จัดเป็นเต่าบกขนาดกลาง เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม กระดองโค้งสูงพอสมควร ทั่วตัวมีสีขาวหรือเหลืองเป็นส่วนใหญ่ มีแต้มสีดำบ้างประปราย ขอบกระดองของบางตัวมีสีเหลืองใสดูคล้ายขี้ผึ้งหรือเทียน จึงเป็นที่มาของชื่อ ในบางตัวเมื่อโตเต็มที่อาจมีสีน้ำตาลแก่ปน ขามีสีเทาดำ ขาหน้ามีเกล็ดใหญ่ ๆ อยู่ด้านบน ขาหลังสั้นทู่ ขาหน้าและขาหลังไม่มีพังผืดระหว่างนิ้ว แต่มีนิ้วแข็งแรงมาก ตัวผู้มีเกล็ดกระดองเว้าและลึก ขณะที่ตัวเมียราบเรียบกว่า พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และบางส่วนในเอเชียใต้ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค กินพืชและผลไม้เป็นอาหารหลัก แต่ก็สามารถกินเนื้อ เช่น ซากสัตว์หรือหอยได้ด้วย เป็นเต่าที่ชอบความชื้น แต่ไม่ชอบที่จะแช่น้ำ พบได้ในป่าแทบทุกสภาพ แม้กระทั่งในสวนยางพาราหรือสวนปาล์มน้ำมัน วางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง โดยมีฤดูผสมพันธุ์ระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม จากนั้นในเดือนธันวาคมจึงจะวางไข่ โดยจะขุดหลุมลึกประมาณครึ่งตัว ใช้เวลาฟักประมาณ 146 วัน ลูกเต่าที่เกิดมาใหม่กระดองจะมีความนิ่ม จะแข็งเมื่ออายุได้ราวหนึ่งปี เต่าชนิดนี้ ในประเทศไทย สามารถพบเห็นได้ง่าย คือ ที่หมู่บ้านบ้านกอก อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ห่างจากตัวอำเภอเมืองราว 50 กิโลเมตร โดยจะพบเต่าเหลืองอาศัยและเดินไปเดินมาทั่วไปในหมู่บ้าน โดยที่ชาวบ้านไม่ทำอันตรายหรือนำไปรับประทาน เต่าจึงอาศัยอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งชาวบ้านที่นี่เชื่อว่าเต่าเหลืองเป็นเต่าเจ้า เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ และเรียกชื่อเต่าชนิดนี้เป็นภาษาถิ่นว่า "เต่าเพ็ก" จนได้รับชื่อเรียกว่าเป็น "หมู่บ้านเต่า" เต่าเหลือง มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเต่าเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

เซกโนซอรัส

เซกโนซอรัส (Segnosaurus) ชื่อมีความหมายว่ากิ้งก่าวิ่งช้า ยาวประมาณ 6 เมตรอาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลายเมื่อประมาณ 90 ล้านปีก่อน ค้นพบฟอสซิลที่ทวีปเอเชีย เป็นไดโนเสาร์กินพืชที่เชื่องช้า และรักสงบ ปากเป็นจะงอย มีหางยาวและว่ายน้ำเก่ง หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: สปีชีส์และเซกโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์รับแสง

ซลล์รับแสง (photoreceptor cell) เป็นเซลล์ประสาท (นิวรอน) พิเศษในจอประสาทตาที่มีสมรรถภาพในการถ่ายโอนแสงไปเป็นพลังประสาท ความสำคัญทางชีวภาพของเซลล์รับแสงก็คือความสามารถในการแปลงแสงที่เห็นได้ไปเป็นสัญญาณที่สามารถเร้ากระบวนการต่าง ๆ ทางชีวภาพ จะกล่าวให้ชัดเจนกว่านี้ก็คือ มีโปรตีนหน่วยรับแสงในเซลล์ที่ดูดซึมโฟตอน ซึ่งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงในความต่างศักย์ของเยื่อหุ้มเซลล์ เซลล์รับแสงแบบคลาสิกก็คือเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย แต่ละอย่างล้วนแต่ให้ข้อมูลที่ใช้ในระบบการมองเห็นเพื่อสร้างแบบจำลองของโลกภายนอกที่เห็นทางตา เซลล์รูปแท่งนั้นบางกว่าเซลล์รูปกรวย และมีความกระจัดจายไปในจอประสาทตาที่แตกต่างกัน แม้ว่า กระบวนการเคมีที่ถ่ายโอนแสงไปเป็นพลังประสาทนั้นคล้ายคลึงกัน มีการค้นพบเซลล์รับแสงประเภทที่สามในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 ซึ่งก็คือ photosensitive retinal ganglion cell เป็นเซลล์ที่ไม่ได้มีส่วนให้เกิดการเห็นโดยตรง แต่เชื่อกันว่า มีส่วนช่วยในระบบควบคุมจังหวะรอบวัน (circadian rhythms) และปฏิกิริยาปรับรูม่านตาแบบรีเฟล็กซ์ เซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยมีหน้าที่แตกต่างกัน คือ เซลล์รูปแท่งไวแสงเป็นพิเศษ มีปฏิกิริยาต่อโฟตอนเพียงแค่ 6 อนุภาค ดังนั้น ในที่มีระดับแสงต่ำ การเห็นเกิดจากสัญญาณที่มาจากเซลล์รูปแท่งเท่านั้น ซึ่งอธิบายว่า ทำไมเราจึงไม่สามารถเห็นภาพสีได้ในที่สลัว ซึ่งก็คือเพราะมีแต่เซลล์รูปแท่งเท่านั้นที่ทำงานได้ในระดับแสงนั้น และเซลล์รูปกรวยเป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเห็นภาพสี ส่วนเซลล์รูปกรวยต้องใช้แสงระดับที่สูงกว่ามาก (คือต้องมีโฟตอนมากระทบมากกว่า) ก่อนที่จะเกิดการทำงาน ในมนุษย์ มีเซลล์รูปกรวยสามประเภท จำแนกโดยการตอบสนองต่อความยาวคลื่นแสงที่ต่าง ๆ กัน การเห็นสี (ในภาพ) เป็นการประมวลผลจากสัญญาณที่มาจากเซลล์รูปกรวยสามประเภทเหล่านี้ โดยน่าจะผ่านกระบวนการ opponent process เซลล์รูปกรวยสามอย่างนี้ตอบสนอง (โดยคร่าว ๆ) ต่อแสงที่มีความยาวคลื่นขนาดสั้น (S) ขนาดกลาง (M) และขนาดยาว (L) ให้สังเกตว่า การยิงสัญญาณของเซลล์รับแสงนั้นขึ้นอยู่เพียงกับจำนวนโฟตอนที่ได้รับเท่านั้น (กำหนดโดยทฤษฎี principle of univariance) ส่วนการตอบสนองที่ต่าง ๆ กันของเซลล์รูปกรวยขึ้นอยู่กับความเป็นไปได้ของโปรตีนรับแสงของเซลล์ที่จะดูดซึมแสงที่ความยาวคลื่นนั้น ๆ ยกตัวอย่างเช่น เซลล์รูปกรวยแบบ L มีโปรตีนรับแสงที่ดูดซึมแสงที่มีความยาวคลื่นขนาดยาว (หรือออกสีแดง ๆ) แม้ว่า แสงที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าอาจจะทำให้เกิดการตอบสนองในระดับเดียวกัน แต่จะต้องเป็นแสงที่สว่างกว่ามาก จอประสาทตามมนุษย์มีเซลล์รูปแท่งประมาณ 120 ล้านเซลล์ และมีเซลล์รูปกรวยประมาณ 6 ล้านเซลล์ สัตว์ต่าง ๆ สปีชีส์มีอัตราส่วนของเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่า เป็นสัตว์กลางวันหรือสัตว์กลางคืน นอกจากเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยแล้ว ยังมี retinal ganglion cell (ตัวย่อ RGC) ประมาณ 1.5 เซลล์ในมนุษย์ และมี 1-2% ที่ไวแสง บทความนี้กล่าวถึงเซลล์รับแสงของสัตว์มีกระดูกสันหลัง เซลล์รับแสงของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่นแมลงและมอลลัสกามีความแตกต่างจากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งในโครงสร้างและในกระบวนการเคมีชีว.

ใหม่!!: สปีชีส์และเซลล์รับแสง · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์ประสาท

ซลล์ประสาท หรือ นิวรอน (neuron,, หรือ) เป็นเซลล์เร้าได้ด้วยพลัง ของเซลล์อสุจิที่ทำหน้าที่ประมวลและส่งข้อมูลผ่านสัญญาณไฟฟ้าและเคมี โดยส่งผ่านจุดประสานประสาท (synapse) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อโดยเฉพาะกับเซลล์อื่น ๆ นิวรอนอาจเชื่อมกันเป็นโครงข่ายประสาท (neural network) และเป็นองค์ประกอบหลักของสมองกับไขสันหลังในระบบประสาทกลาง (CNS) และของปมประสาท (ganglia) ในระบบประสาทนอกส่วนกลาง (PNS) นิวรอนที่ทำหน้าที่โดยเฉพาะ ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเซลล์ประสาท · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์ประสาทสองขั้ว

ซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar cell, bipolar neuron, bipolar nerve cell, neuron bipolare) เป็นเซลล์ประสาทที่มีส่วนยื่น (extension) ออกไปเป็นสองขั้ว เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึกมีหน้าที่พิเศษในการส่งข้อมูลจากประสาทสัมผัสต่าง ๆ และเพราะเหตุนั้น จึงเป็นส่วนของวิถีประสาทรับความรู้สึกเกี่ยวกับการได้กลิ่น การเห็น การลิ้มรส การได้ยิน และประสาทเกี่ยวกับการทรงตัว ตัวอย่างสามัญของเซลล์ประเภทนี้รวมทั้งเซลล์ประสาทสองขั้วในเรตินา, ปมประสาทของเส้นประสาท vestibulocochlear nerve, และเซลล์มากมายที่ใช้ในการส่งสัญญาณที่ส่งจากระบบประสาทกลาง (efferent) เพื่อควบคุมกล้ามเนื้อ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเซลล์ประสาทสองขั้ว · ดูเพิ่มเติม »

เซอราแซลมัส

ซอราแซลมัส เป็นสกุลหนึ่งของปลาน้ำจืดจำพวกปลาปิรันยา ใช้ชื่อสกุลว่า Serrasalmus ในวงศ์ปลาปิรันยา (Serrasalmidae) ปลาปิรันยาในสกุลนี้จัดเป็นต้นแบบของปลาปิรันยาทั้งหมด และเหมือนกับปลาปิรันยาทุกชนิดคือ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดของทวีปอเมริกาใต้ หากินเป็นฝูง มีซี่ฟันที่แหลมคมและมีรูปร่างเหมือนสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนหรือรูปไข่ แบ่งออกได้เป็น 24 ชนิด จัดเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้.

ใหม่!!: สปีชีส์และเซอราแซลมัส · ดูเพิ่มเติม »

เซอราโตซอรัส

ซอราโตซอรัส (Ceratosaurus - กิ้งก่ามีเขา) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อ (เทอโรพอด) ช่วงปลายยุคจูแรสสิค มีความใกล้ชิดกับสายพันธุ์ของอัลโลซอรัส แต่ขนาดตัวเล็กกว่าครึ่งหนึ่ง ความยาวลำตัวประมาณ 6 เมตร แต่จากการคำนวณคาดว่า ตัวโตที่สุดอาจยาวได้ 8.8 เมตร มีลักษณะ คล้ายอัลโลซอรัส แต่มีส่วนหัวที่โตกว่าเมื่อเทียบกับสัดส่วนลำตัว แขนสั้นและเล็กมี 4 นิ้วไม่น่าใช้เป็นอาวุธได้ และมีเขายื่นออกมาจากเหนือจมูกและดวงตา เป็นเอกลักษณ์และที่มาของชื่อ "กิ้งก่ามีเขา"ของมัน แต่เขาของซีราโตซอรัส เป็นแผ่นกระดูกบางๆ ไม่แข็งแกร่งพอจะเอาไปใช้เป็นอาวุธได้ จึงมีการตั้งข้อสังเกตว่า เขาของมันน่าจะมีไว้เพื่อดึงดูดตัวเมีย ฟันของของเซอราโตซอรัสยาวมากเมื่อเทียบกับขนาดลำตัว แต่แบนและบางกว่า นักล่ายุคเดียวกัน เหมาะกับการตัดเนื้อกิน แต่ไม่สามารถบดกระดูกได้ ทำให้คาดได้ว่า เหยื่อของมันน่าจะเป็นไดโนเสาร์กินพืชขนาดกลาง ที่ฉีกเนื้อกินได้ง่ายกว่า บวกกับการศึกษาที่พบฟอสซิล เชื่อว่า เซอราโตซอรัสมักจะล่าเหยื่อในป่าทึบ ตามลำพังคล้ายๆกับ เสือดาว แม้จะมีขนาดตัวเล็กกว่านักล่าอื่นๆ แต่ก็มีร่างกายแข็งแกร่ง และ ปราดเปรียว จัดได้ว่าเป็นนักล่าตัวยงอีกสายพันธุ์หนึ่ง.

ใหม่!!: สปีชีส์และเซอราโตซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เซเบิล

ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).

ใหม่!!: สปีชีส์และเซเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกสมอง

ปลือกสมอง"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑"หรือ ส่วนนอกของสมองใหญ่ หรือ คอร์เทกซ์สมองใหญ่"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ cerebral ว่า "-สมองใหญ่" หรือ "-สมอง" หรือ เซรีบรัลคอร์เทกซ์ หรือบางครั้งเรียกสั้น ๆ เพียงแค่ว่า คอร์เทกซ์ (แต่คำว่า คอร์เทกซ์ สามารถหมายถึงส่วนย่อยส่วนหนึ่ง ๆ ในเปลือกสมองด้วย) (Cerebral cortex, cortex, Cortex cerebri) เป็นชั้นเนื้อเยื่อเซลล์ประสาทชั้นนอกสุดของซีรีบรัม (หรือเรียกว่าเทเลนฟาลอน) ที่เป็นส่วนของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลังบางพวก เป็นส่วนที่ปกคลุมทั้งซีรีบรัมทั้งซีรีเบลลัม มีอยู่ทั้งซีกซ้ายซีกขวาของสมอง เปลือกสมองมีบทบาทสำคัญในระบบความจำ ความใส่ใจ ความตระหนัก (awareness) ความคิด ภาษา และการรับรู้ (consciousness) เปลือกสมองมี 6 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยเซลล์ประสาทต่าง ๆ กัน และการเชื่อมต่อกับสมองส่วนอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกัน เปลือกสมองของมนุษย์มีความหนา 2-4 มิลลิเมตร ในสมองดอง เปลือกสมองมีสีเทา ดังนั้น จึงมีชื่อว่าเนื้อเทา มีสีดังนั้นก็เพราะประกอบด้วยเซลล์ประสาทและแอกซอนที่ไม่มีปลอกไมอีลิน เปรียบเทียบกับเนื้อขาว (white matter) ที่อยู่ใต้เนื้อเทา ซึ่งประกอบด้วยแอกซอนที่โดยมากมีปลอกไมอีลิน ที่เชื่อมโยงกับเซลล์ประสาทในเขตต่าง ๆ ของเปลือกสมองและในเขตอื่น ๆ ของระบบประสาทกลาง ผิวของเปลือกสมองดำรงอยู่เป็นส่วนพับในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ จนกระทั่งว่า ผิวเปลือกสมองของมนุษย์มากกว่าสองในสามส่วน อยู่ใต้ช่องที่เรียกว่า "ร่อง" (sulci) ส่วนใหม่ที่สุดของเปลือกสมองตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ ก็คือ คอร์เทกซ์ใหม่ (neocortex) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไอโซคอร์เทกซ์ ซึ่งมีชั้น 6 ชั้น ส่วนที่เก่าแก่ที่สุดก็คือฮิปโปแคมปัส หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อาร์คิคอร์เทกซ์ ซึ่งมีชั้น 3 ชั้นเป็นอย่างมาก และแบ่งเขตออกเป็นฟิลด์ย่อยของฮิปโปแคมปัส (Hippocampal subfields) เซลล์ในชั้นต่าง ๆ ของเปลือกสมองเชื่อมต่อกันเป็นแนวตั้ง รวมตัวกันเป็นวงจรประสาทขนาดเล็กที่เรียกว่า "คอลัมน์ในคอร์เทกซ์" (cortical columns) เขตต่าง ๆ ในคอร์เทกซ์ใหม่ สามารถแบ่งออกเป็นเขตต่าง ๆ ที่เรียกว่า เขตบร็อดแมนน์ (Brodmann areas) แต่ละเขตมีลักษณะต่าง ๆ กันเป็นต้นว่า ความหนา ชนิดของเซลล์โดยมาก และตัวบ่งชี้สารเคมีประสาท (neurochemical markers).

ใหม่!!: สปีชีส์และเปลือกสมอง · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกหอย

ปลือกหอยนานาชนิด เปลือกหอย หรือ ฝาหอย หรือ กาบหอย คือ สสารที่เป็นของแข็งที่ห่อหุ้มลำตัวภายนอกของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสคา หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า หอย มีลักษณะแตกต่างกันออกไป ซึ่งหอยจะใช้เป็นเครื่องอำพรางอันตรายจากสัตว์อื่น เป็นสัญลักษณ์สื่อสารระหว่างกัน และช่วยควบคุมอุณหภูมิภายในเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ เปลือกหอยเป็นสิ่งที่ติดตัวกับหอยมานับตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนและฟักออกมาจากไข่ โดยไม่ต้องลอกคราบเหมือนสัตว์ในไฟลัมอาร์โธพอดหรือ ครัสเตเชียน โดยขนาดจะใหญ่ขึ้นมาตามขนาดของตัวหอย เปลือกหอยประกอบด้วยสารจำพวกแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนใหญ่ ส่วนที่เหลือเป็นสารอื่น ๆ เช่น แคลเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมคาร์บอเนต, แมกนีเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมซิลิเกต, โปรตีนประเภทคอนไคโอลิน เปลือกหอยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และเปลือกหอย · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดก่า

ป็ดก่า (White-winged duck, White-winged wood duck) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จำพวกเป็ด อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Asarcornis จัดเป็นเป็ดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ หัวและลำคอตอนบนสีขาว มีจุดกระดำกระด่างสีดำ โดยทั่วไปสีของลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลเหลือบเขียว มีขนเป็นปื้นขาวตรงหัวไหล่เป็นลักษณะเด่น มีรูปร่างเทอะทะ ปีกกว้าง ขาสั้น เพศผู้มีม่านตาสีสดใสเป็นสีเหลืองส้ม ในขณะที่เพศเมียมีม่านตาสีน้ำตาลเข้ม จะงอยปากสีเหลืองเข้มหรือสีส้ม มีประดำเป็นหย่อม ๆ เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์โคนปากจะพองโต เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย น้ำหนักโดยเฉลี่ยเพศผู้ประมาณ 2,945-3,855 กรัม ขณะที่เพศเมีย 1,925-3,050 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, พม่า, ไทย จนถึงหลาย ๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับในประเทศไทยถือเป็นนกในวงศ์ Anatidae ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็ดก่า มีอุปนิสัยแปลกไปจากนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยมักจะอาศัยอยู่ในป่าดิบทึบ และพบได้จนถึงในพื้นที่ ๆ มีความสูงถึง 5,000 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลากลางคืนและกลับสู่ถิ่นที่อยู่ในเวลารุ่งเช้า โดยมักจะจับกิ่งไม้สูง ๆ ใช้เป็นที่หลับนอน มักจับคู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ 5-6 ตัวในแหล่งน้ำที่สงบ ปราศจากการรบกวน แม้จะมีรูปร่างเทอะทะแต่ก็สามารถบินได้ดี และบินหลบหลีกต้นไม้ต่าง ๆ ในป่าดิบได้เป็นอย่างดี ในฤดูผสมพันธุ์ เป็ดก่าจะส่งเสียงร้องขณะบิน การจับคู่ผสมพันธุ์อาจเป็นในรูปแบบผัวเดียวเมียเดียว แต่ยังไม่เป็นที่ยืนยัน วางไข่ครั้งละ 6-13 ฟอง สีของไข่เป็นสีเหลืองอมเขียว มักทำรังตามโพรง เพศเมียเท่านั้นที่กกฟักไข่ ระยะเวลาฟักประมาณ 33-35 วัน ขณะฟักไข่หรือเลี้ยงลูกอ่อนเพศผู้จะอยู่พัวพันเพียงห่าง ๆ เท่านั้น เป็ดก่า ถือเป็นเป็ดป่าที่หายากและเพาะขยายพันธุ์ได้ยากชนิดหนึ่ง มีการขยายพันธุ์ได้ด้วยฝีมือมนุษย์เพื่อการอนุรักษ์ ได้แค่ไม่กี่ครั้ง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเป็ดก่า · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดหางแหลม

ป็ดหางแหลม หรือ เป็ดหอม (Pintail duck, Northern pintail) เป็นนกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Anatidae มีคอยาวกว่าเป็ดชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน ลำตัวป้อมกลม มีปลายหางแหลมจนเห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ ปากและขามีสีเทา ตัวผู้หัวมีสีน้ำตาลเข้ม คอด้านหน้าและอกสีขาว ลำตัวสีเทา สีข้างมีแถบสีเหลือง ขณะที่ตัวเมียมีขนปกคลุมลำตัวสีน้ำตาล และมีขนาดลำตัวเล็กกว่าตัวผู้พอสมควร มีขนาดความยาวประมาณ 56 เซนติเมตร มีพฤติกรรมตอนกลางวันมักลอยตัวรวมกับเป็ดน้ำชนิดอื่น ๆ ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ หากินโดยใช้ปากไช้ตามผิวน้ำ และมุดน้ำโผล่หางแหลมชี้ขึ้นมาให้สังเกตได้ชัดเจน เป็นเป็ดที่วิ่งได้ไกลมาก และสามารถบินขึ้นจากน้ำได้เร็วและคล่องแคล่ว มีการกระจายพันธุ์กว้างไกล ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ จนถึงอเมริกากลาง, บางส่วนในแอฟริกา, ทวีปยุโรป, เอเชียเหนือ และเอเชียกลาง, ตะวันออกกลาง, อนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย์ สำหรับในประเทศไทย ถือเป็นนกอพยพในช่วงฤดูหนาว และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเป็ดหางแหลม · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดหงส์

ป็ดหงส์ (Knob-billed duck, Comb duck) เป็นสัตว์ปีกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Sarkidiornis จัดว่าเป็นเป็ดป่าขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลำตัวประมาณ 76 เซนติเมตร มีจะงอยปากสีดำแถบบนปีกสีบรอนซ์สะดุดตา ตัวผู้มีส่วนหลังสีดำเหลือบสีเขียวแกมฟ้าและสีม่วง ส่วนหัวและลำคอสีขาว มีจุดประสีดำ แถบสีดำรอบด้านหลังคอพาดลงไปถึงด้านข้างของส่วนอก และอีกแถบหนึ่งพาดลงไปด้านข้างของส่วนหาง ขณะบินจะสังเกตเห็นแผ่นหลังส่วนล่างสีออกเทาชัดเจน ในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้มีปุ่มเนื้อที่โคนจะงอยปากด้านบนขยายใหญ่ขึ้นกว่าเดิมมาก จนเห็นได้ชัดเจน ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าและลำตัวสีทึมกว่า และไม่มีแถบสีดำสองแถบบนส่วนคอและที่ใกล้หาง ลูกอ่อนที่อายุน้อยลำตัวไม่ค่อยมีสีเหลือบและบริเวณแถบขาวมีสีคล้ำ มีถิ่นแพร่กระจายพันธุ์กว้างขวางมาก ตั้งแต่ ปากีสถาน, อินเดีย, ศรีลังกา, บังกลาเทศ ไปทางทิศตะวันออกผ่านแคว้นอัสสัม, พม่า ถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีนตอนตะวันตกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังพบในทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้อีกด้วย มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่ในป่าดิบทึบ ชอบที่จะเกาะคอนไม้สูง ๆ อาศัยเป็นที่หลับนอน อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง ซึ่งเป็นครอบครัวประมาณ 4-10 ตัว หากินโดยการไซ้กินหัวและยอดอ่อน ตลอดจนเมล็ดของพืชน้ำ, เมล็ดข้าว, แมลงน้ำ และอาจกินสัตว์น้ำอย่างกบ, เขียด และปลาได้ด้วย มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในราวเดือนกรกฎาคมจนถึงเดือนกันยายน ในประเทศอินเดียมีรายงานว่าพบทำรังในรังเก่าของนกแร้ง และในรูบนกำแพงป้อมเก่า ๆ และบนหน้าผาดิน วางไข่สีครีมจาง ๆ จำนวน 7-15 ฟอง ในประเทศไทย ถือเป็นนกที่หาได้ยากมาก และใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากสูญเสียที่อยู่ในธรรมชาติ และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเป็ดหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดคับแค

ป็ดคับแค (Cotton pygmy goose, Cotton tealAli, Salim; J C Daniel (1983).) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นนกเป็ดน้ำขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีน้ำหนักเต็มที่ประมาณ 160 กรัม และความยาวลำตัวประมาณ 26 เซนติเมตร มีลักษณะเด่น คือ มีสีขาวต่างจากนกเป็ดน้ำชนิดอื่น ปากและขาสีเทา ตัวผู้ บริเวณใบหน้า, คอและลำตัวสีขาว, กระหม่อม และวงรอบคอและหลังสีดำ, ปีกสีเขียว และมีแถบสีขาวเห็นชัดขณะบิน ขณะที่ ตัวเมีย มีสีทึมกว่า และไม่มีวงรอบคอ ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลจาง ๆ มีแถบสีดำลากผ่านตา มีพฤติกรรมหากินรวมฝูงกันกับนกเป็ดน้ำชนิดอื่น ๆ ส่งเสียงร้อง "คว้าก – คว้าก – คว้าก - แอ๊ก" มีจะงอยปากสั้นคล้ายกับห่าน จึงเหมาะสำหรับใช้สำหรับจิกหากินตามผิวน้ำหรือพื้นดิน แต่ก็ดำน้ำได้และดำน้ำเก่ง ในฤดูผสมพันธุ์อาจจะอาศัยอยู่ตัวเดียวหรือเป็นคู่ นอกฤดูผสมพันธุ์อาจจะพบรวมฝูงนับเป็นร้อยถึงพันตัว กระจายพันธุ์อยู่ในอนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ และออสเตรเลียทางตอนเหนือ ในประเทศไทยถือเป็นนกประจำถิ่น เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเป็ดคับแค · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดแมลลาร์ด

ป็ดแมลลาร์ด หรือ เป็ดหัวเขียว (mallard, wild duck) เป็นสัตว์ปีกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) เป็ดแมลลาร์ดมีลักษณะเหมือนเป็ดทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ ตัวผู้บริเวณหัวและคอสีเขียวเข้ม มีแถบสีขาวรอบคอ อกสีน้ำตาลแกมน้ำตาลแดงเข้ม ลำตัวด้านบนสีเทาแกมน้ำตาลอ่อน ตะโพกและขนคลุมโคนขนหางด้านบนเป็นสีดำ ขนหางสีออกขาว ท้องมีสีจางกว่าลำตัวด้านบน ปากสีเหลืองแกมเขียว ขาสีส้ม ขาของตัวเมียเป็นลายสีน้ำตาล มีแถบคาดตาสีดำ ปีกมีแววขนปีกสีน้ำเงิน ปากสีออกน้ำตาลมักมีขอบสีเหลืองหรือสีส้ม ขนหางสีจางกว่าขนคลุมโคนขนหางด้านบน กินทั้งได้พืชและสัตว์ มีความยาวเมื่อโตเต็มที่จากปลายปากถึงปลายหางประมาณ 50-60 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, ยุโรป, ตอนเหนือของทวีปแอฟริกา และทวีปเอเชีย ส่วนในนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย มีผู้นำเข้าไปเผยแพร่จากประเทศอังกฤษ ส่วนในประเทศไทยถือเป็นนกอพยพ แต่ไม่พบรายงานการวางไข่ของเป็ดชนิดนี้ มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง มีจำนวนสมาชิกประมาณ 50-60 ตัว ตามแหล่งน้ำทั่วไป และอาจจะรวมฝูงเข้ากับนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หากินในเวลากลางคืน ส่วนในเวลากลางวันจะว่ายน้ำพักผ่อนในแหล่งน้ำตื้น อาจกินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เข้าไปด้วย มีนิสัยตื่นตกใจง่าย มีความตื่นตัวระแวดระวังภัยสูง สามารถบินขึ้นจากน้ำได้อย่างรวดเร็ว เป็ดแมลลาร์ด ถือเป็นต้นสายพันธุ์ของเป็ดที่เลี้ยงกันในเชิงพาณิชย์อย่างในปัจจุบันนี้ และมีบางส่วนเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเป็ดแมลลาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดแมนดาริน

ป็ดแมนดาริน (Mandarin duck; 鸳鸯; พินอิน: Yuānyāng; オシドリ; 원앙) เป็นนกชนิดหนึ่ง จำพวกเป็ด อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) เป็ดแมนดาริน มีสีสวยมาก โดยเฉพาะในตัวผู้ จนได้ชื่อว่าเป็นนกชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามที่สุดในโลก เป็นนกที่จัดอยู่ในประเภทขนาดกลาง มีความยาวลำตัวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 48 เซนติเมตร ในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะมีสีฉูดฉาดหลายสี ซึ่งแต่ละสีตัดกันเห็นเด่นชัดสวยงามมาก โดยหน้าผากและหัวเป็นสีทองแดง, สีม่วง และเขียวเหลือบเป็นมันเงา และมีขนปีกสีส้มขนาดใหญ่ดูคล้ายเป็นแผงข้างละเส้นงามสะดุดตา และจะสวยงามในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดตัวย่อมลงมาและสีสันไม่ฉูดฉาดเท่า มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ตามหนองบึง และลำห้วยที่มีต้นไม้ขึ้นปกคลุม เพื่ออาศัยเป็นที่หลบซ่อนตัว และจะชอบเกาะอยู่ตามกิ่งไม้ โดยอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ตามแหล่งน้ำ โดยกินพืชน้ำชนิดต่าง ๆ รวมถึงสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร พอสิ้นฤดูหนาวเมื่อพ้นฤดูผสมพันธุ์แล้ว ตัวผู้จะผลัดขนจนดูคล้ายตัวเมีย ซึ่งจะมีลายขีดสีขาวบริเวณท้องและลายขีดสีดำที่โคนปาก เป็ดแมนดาริน วางไข่ครั้งละ 9-12 ฟอง ไข่มีสีเนื้อเป็นมัน ระยะเวลาฟักไข่นาน 28-30 วัน โดยที่ตัวเมียจะเป็นผู้ฟัก กระจายพันธุ์อยู่ในภาคตะวันออกของประเทศจีนแถบลุ่มแม่น้ำอุสซูรี ไปจนถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออก ได้แก่ ไต้หวัน, ญี่ปุ่น และเกาหลี รวมถึงบางส่วนในทวีปยุโรปด้วย เป็ดแมนดาริน เป็นนกที่จับคู่เพียงตัวเดียวตลอดชีวิต ดังนั้นจึงเป็นสัญลักษณ์ของความรักแท้ จนปรากฏเป็นนิทานพื้นบ้านเรื่องต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และยังเป็นสัตว์แห่งความเป็นสิริมงคลตามความเชื่อของชาวจีนอีกด้วย โดยปกติแล้ว เป็ดแมนดาริน ไม่ใช่นกประจำถิ่นของประเทศไทย ในประเทศไทยจะพบก็เพียงเป็นนกอพยพหนีหนาว แต่ก็พบได้น้อยมาก ในแถบภาคเหนือและภาคกลางบางพื้นที่ ด้วยความสวยงาม เป็ดแมนดาริน จึงมักถูกจับเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งในกฎหมายไทย เป็ดแมนดารินเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สปีชีส์และเป็ดแมนดาริน · ดูเพิ่มเติม »

Balistoides

Balistoides เป็นสกุลของปลาทะเลในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) จัดเป็นปลาวัวขนาดใหญ่ มีขนาดลำตัวตั้งแต่ 45 เซนติเมตรขึ้นไป มีอุปนิสัยดุร้าย จนสามารถว่ายไล่หรือกัดทำร้ายนักดำน้ำได้ พบกระจายพันธุ์ในน่านน้ำแถบอินโด-แปซิฟิก แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และBalistoides · ดูเพิ่มเติม »

Bangana lippus

Bangana lippus เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีชื่อสามัญว่า "ปลาเพ้า" ซึ่งเป็นชื่อเรียกรวมกับปลาบางชนิดในสกุลเดียวกัน เช่น B. sinkleri เป็นต้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และBangana lippus · ดูเพิ่มเติม »

Bangana sinkleri

Bangana sinkleri เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีชื่อสามัญว่า "ปลาเพ้า" ซึ่งเป็นชื่อเรียกรวมกับปลาบางชนิดในสกุลเดียวกัน เช่น B. lippus เป็นต้น ปลาชนิด B. sinkleri มีลักษณะลำตัวทรงกระบอก ขนาดประมาณ 19-30 เซนติเมตร หัวโต จะงอยปากสั้นและมีตุ่มเล็ก ๆ ในตัวผู้ ปากกว้างอยู่ด้านล่าง เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ครีบหลังสูง ลำตัวสีเทาหรือเขียวมะกอก ในฤดูผสมพันธุ์จะเปลี่ยนเป็นสีม่วง มีลายจุดสีน้ำตาลแดง ท้องสีขาว อาหารได้แก่ ตะไคร่น้ำหรือสาหร่ายตามพื้นน้ำหรือแก่งหิน มักอาศัยอยู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ 3-9 ตัว ตามซอกหินหรือแก่งน้ำไหลเชี่ยว เป็นปลาที่พบน้อย โดยจะพบเฉพาะบริเวณแม่น้ำโขงที่เดียวเท่านั้น.

ใหม่!!: สปีชีส์และBangana sinkleri · ดูเพิ่มเติม »

Buceros

Buceros เป็นสกุลของนกเงือกขนาดใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในทวีปเอเชีย ประกอบไปด้วย 3 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และBuceros · ดูเพิ่มเติม »

Ceratoscopelus

Ceratoscopelus เป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และCeratoscopelus · ดูเพิ่มเติม »

Cervus

Cervus (/เซอ-วัส/) เป็นสกุลของกวาง ที่พบกระจายพันธุ์ในยูเรเชีย, แอฟริกาเหนือ และบางส่วนของอเมริกาเหนือ เดิมสกุลนี้เคยถูกจัดให้เป็นสกุลหลักของกวาง ร่วมกับสกุลอื่น ๆ คือ Dama, Elaphurus และ Hyelaphus และจนถึงปลายปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และCervus · ดูเพิ่มเติม »

Diaphus

Diaphus เป็นประเภทของปลาตะเกียงและเป็นที่รู้จักมากที่สุด It is the most species rich lanternfish genus.

ใหม่!!: สปีชีส์และDiaphus · ดูเพิ่มเติม »

Electrona

Electrona เป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และElectrona · ดูเพิ่มเติม »

Gene flow

ในสาขาพันธุศาสตร์ประชากร gene flow (การไหลของยีน, การโอนยีน) หรือ gene migration เป็นการโอนความแตกต่างของยีน (genetic variation) ของประชากรกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง ถ้าอัตราการโอนยีนสูงพอ กลุ่มประชากรทั้งสองก็จะพิจารณาว่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ที่เหมือนกัน และดังนั้น จึงเท่ากับเป็นกลุ่มเดียวกัน มีการแสดงแล้วว่า ต้องมี "ผู้อพยพหนึ่งหน่วยต่อหนึ่งรุ่น" เป็นอย่างน้อย เพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มประชากรเบนออกจากกันทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง (genetic drift) กระบวนการนี้เป็นกลไกสำคัญเพื่อโอนความหลากหลายของยีนในระหว่างกลุ่มประชากรต่าง ๆ หน่วยที่ "อพยพ" เข้ามาหรือออกจากกลุ่มประชากรอาจเปลี่ยน ความถี่อัลลีล (allele frequency, สัดส่วนของสมาชิกกลุ่มประชากรที่มีรูปแบบหนึ่งเฉพาะของยีน) ซึ่งก็จะเปลี่ยนการแจกแจงความหลากหลายของยีนระหว่างกลุ่มประชากร "การอพยพ" อาจเพิ่มรูปแบบยีนใหม่ ๆ ให้กับสปีชีส์หรือประชากรกลุ่ม ๆ หนึ่ง อัตราการโอนที่สูงสามารถลดความแตกต่างของยีนระหว่างสองกลุ่มและเพิ่มภาวะเอกพันธุ์ เพราะเหตุนี้ การโอนยีนจึงเชื่อว่าจำกัด การเกิดสปีชีสใหม่ (speciation) เพราะรวมยีนของกลุ่มต่าง ๆ และดังนั้น จึงป้องกันพัฒนาการความแตกต่างที่อาจนำไปสู่การเกิดสปีชีสใหม่ '''gene flow''' ก็คือการโอนอัลลีลจากประชากรกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหนึ่งผ่าน "การอพยพ" ของสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย มีปัจจัยต่าง ๆ ต่ออัตราการโอนยีนข้ามกลุ่มประชากร อัตราคาดว่าจะต่ำในสปีชีส์ที่กระจายแพร่พันธุ์หรือเคลื่อนที่ไปได้ในระดับต่ำ ที่อยู่ในที่อยู่ซึ่งแบ่งออกจากกัน ที่มีกลุ่มประชากรต่าง ๆ อยู่ห่างกัน และมีกลุ่มประชากรเล็ก การเคลื่อนที่ได้มีบทบาทสำคัญต่ออัตราการโอนยีน เพราะสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ได้มีโอกาสอพยพไปที่อื่นสูงกว่า แม้สัตว์มักจะเคลื่อนที่ได้มากกว่าพืช แต่พาหะที่เป็นสัตว์หรือลมก็อาจจะขนละอองเรณูและเมล็ดพืชไปได้ไกล ๆ เหมือนกัน เมื่อระยะแพร่กระจายพันธุ์ลดลง การโอนยีนก็จะถูกขัดขวาง การผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ (inbreeding) วัดโดย สัมประสิทธิ์การผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ (inbreeding coefficient ตัวย่อ F) ก็จะเพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มประชากรบนเกาะจำนวนมากมีอัตราการโอนยีนที่ต่ำ เพราะอยู่ในภูมิภาคแยกต่างหากและมีขนาดประชากรเล็ก ตัวอย่างโดยเฉพาะอย่างหนึ่งก็คือ จิงโจ้สกุล Petrogale lateralis (Black-footed Rock-wallaby) ที่มีกลุ่มซึ่งผสมพันธุ์ภายในสายพันธุ์บนเกาะต่าง ๆ แยกต่างหาก ๆ นอกชายฝั่งของออสเตรเลีย นี่เนื่องจากไปมาหาสู่กันไม่ได้ การโอนยีนจึงเป็นไปไม่ได้ และทำให้ต้องผสมพันธุ์กันในสายพัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และGene flow · ดูเพิ่มเติม »

Gymnoscopelus

Gymnoscopelus เป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และGymnoscopelus · ดูเพิ่มเติม »

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R. (2003) in An Overview of the Siwalik Acheulian & Reconsidering Its Chronological Relationship with the Soanian - A Theoretical Perspective.

ใหม่!!: สปีชีส์และHomo erectus · ดูเพิ่มเติม »

Homo habilis

Homo habilis เป็นมนุษย์เผ่า Hominini มีชีวิตอยู่ในระหว่างช่วงอายุหิน Gelasian และ Calabrian คือครึ่งแรกของสมัยไพลสโตซีนประมาณ 2.1-1.5 ล้านปีก่อน โดยอาจวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษสาย australopithecine ตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์ที่เป็นแบบก็คือซากศพหมายเลข OH 7 ที่พบในปี 2503 (ค.ศ. 1960) ณ โบราณสถาน Olduvai Gorge ในประเทศแทนซาเนีย ต่อมาในปี 2507 จึงได้จัดเป็นสปีชีส์ต่างหากคือ H. habilis (แปลว่า มือชำนาญหรือคล่องแคล่ว handy man) เพราะซากดึกดำบรรพ์มักจะพบพร้อมกับเครื่องมือหินแบบ Oldowan และเชื่อว่า มนุษย์พวกนี้สามารถแปลงหินธรรมชาติให้เป็นเครื่องมือหินได้ เป็นมนุษย์สกุล Homo ที่รูปร่างสัณฐานคล้ายกับมนุษย์ปัจจุบันน้อยที่สุด (คือลักษณะบางอย่างคล้ายกับ australopithecine มากกว่า) โดยยกเว้นสปีชีส์ที่มีปัญหาจัดเข้าในสกุลมนุษย์เช่นกันคือ H. rudolfensis ตั้งแต่นั้นมา การจัดอยู่ในสกุลก็ได้สร้างข้อถกเถียงกันอย่างไม่มีที่ยุติ ขนาดที่เล็กและลักษณะล้าหลังทำให้ผู้ชำนาญการ (รวมทั้ง ริชาร์ด ลีกคีเอง) เสนอว่าควรกัน H. habilis ออกจากสกุล Homo แล้วใส่ไว้ใน Australopithecus โดยจัดเป็น Australopithecus habilis มีการพบส่วนหนึ่งของกระดูกขากรรไกร (หมายเลข LD 350-1) ในปี 2556 ซึ่งหาอายุได้ และอ้างว่า เป็นซากดึกดำบรรพ์ในระหว่างสกุล Australopithecus และสปีชีส์ H. habilis See also.

ใหม่!!: สปีชีส์และHomo habilis · ดูเพิ่มเติม »

Hydrornis

Hydrornis เป็นสกุลของนกขนาดเล็ก จำพวกนกแต้วแร้ว พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมเคยถูกจัดรวมเป็นสกุลเดียวกับสกุล Pitta แต่ในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และHydrornis · ดูเพิ่มเติม »

Hyelaphus

Hyelaphus เป็นสกุลของกวางขนาดเล็กสกุลหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทั่วไปแล้วมีลำตัวสีน้ำตาล ทั้งหมดเป็นชนิดที่ถูกคุกคามในธรรมชาติ และใน 2 จาก 3 ชนิด เป็นชนิดที่พบกระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะเล็ก ๆ แต่เดิมสกุลนี้เคยถูกจัดให้เป็นสกุลย่อยของสกุล Axis แต่ปัจจุบันด้วยหลักฐานทางพันธุกรรมพบว่ากลับมีความใกล้ชิดกับสกุล Rusa มากกว่า จำให้ถูกแยกออกเป็นสกุลต่างหากPitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004).

ใหม่!!: สปีชีส์และHyelaphus · ดูเพิ่มเติม »

Lampanyctus

Lampanyctusเป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และLampanyctus · ดูเพิ่มเติม »

Lateral geniculate nucleus

Lateral geniculate nucleus (ตัวย่อ LGN แปลว่า นิวเคลียสงอคล้ายเข่าด้านข้าง) เป็นศูนย์ถ่ายทอดสัญญาณประสาทหลักจากจอตา ไปยังระบบประสาทกลาง อยู่ในส่วนทาลามัสของสมอง และยังมีส่วนอื่นที่เรียกว่า medial geniculate nucleus ซึ่งเป็นส่วนที่มีหน้าที่คล้ายกันแต่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณเกี่ยวกับเสียง LGN รับสัญญาณโดยตรงจาก.

ใหม่!!: สปีชีส์และLateral geniculate nucleus · ดูเพิ่มเติม »

Latimeria

Latimeria เป็นสกุลเดียวของปลาซีลาแคนท์ที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน มี 2 ชนิด พบที่บริเวณขอบด้านตะวันตกของมหาสมุทรอินเดีย และ อินโดนีเซี.

ใหม่!!: สปีชีส์และLatimeria · ดูเพิ่มเติม »

Makararaja chindwinensis

Makararaja chindwinensis เป็นปลากระเบนชนิดใหม่ของโลก ที่ยังไม่มีชื่อสามัญ จัดอยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Makararaja เป็นปลากระเบนที่ค้นพบในปี ค.ศ. 2006 และทำการอนุกรมวิธานไว้ในปี ค.ศ. 2007 โดย ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ นักมีนวิทยาชาวอเมริกัน เป็นปลากระเบนขนาดเล็ก ซึ่งมีความกว้างของขอบจานราว ๆ 38-50 เซนติเมตร น้ำหนักสูงสุด 3-4 กิโลกรัม สิ่งที่ทำให้ปลากระเบนสกุลนี้แตกต่างไปจากปลากระเบนในสกุลอื่น คือ รูปร่างของจานดูเกือบจะกลม คล้ายกับปลากระเบนในสกุล Pastinachus แต่ปลากระเบนชนิดนี้จะมีเกล็ดจะเล็กละเอียดกว่ามาก จนแทบจะมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น นอกจากนี้ยังมีในส่วนของหางที่ดูหนาหรืออวบอิ่มน้อยกว่าและเรียวกว่าหางของปลากระเบนในสกุล Pastinachus ที่ดูอวบอ้วนกว่ามาก แต่ก็ไม่เล็กเรียวเกินไปเหมือนอย่างเช่นหางปลากระเบนสกุล Himantura เงี่ยงของปลากระเบนสกุลนี้เรียวเล็กมากจนดูคล้ายกับดาบสั้นหรือกริช ตำแหน่งที่ตั้งถึงแม้จะอยู่เลยไปส่วนหลังแต่ยังใกล้กว่าหากเทียบกับปลากระเบนสกุล Pastinachus พบอาศัยอยู่ในแม่น้ำชินด์วิน ซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำอิระวดี ทางตอนเหนือของประเทศพม.

ใหม่!!: สปีชีส์และMakararaja chindwinensis · ดูเพิ่มเติม »

Malo kingi

Malo kingi (/มา-โล-คิง-กี/) เป็นแมงกะพรุนที่มีพิษร้ายแรงมากชนิดหนึ่งของโลก เป็นแมงกะพรุนกล่องจำพวกแมงกะพรุนอิรุคัน.

ใหม่!!: สปีชีส์และMalo kingi · ดูเพิ่มเติม »

Myctophum

Myctophumเป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และMyctophum · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes anamensis

Nepenthes anamensis (ภาษาละติน: Anam.

ใหม่!!: สปีชีส์และNepenthes anamensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × trichocarpa

Nepenthes × trichocarpa (มาจากภาษากรีก: trikho- "ขน, เส้นด้าย", และ -carpus "ผล"), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Dainty Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: สปีชีส์และNepenthes × trichocarpa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: สปีชีส์และNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

Palaemonidae

Palaemonidae เป็นวงศ์ของครัสเตเชียนจำพวกกุ้งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Palaemonidae จัดเป็นวงศ์ขนาดใหญ่ ด้วยมีจำนวนสมาชิกมากมาย พบได้ตั้งแต่ในแหล่งน้ำจืดสนิทบนยอดภูเขาสูง, แม่น้ำ, เขตน้ำกร่อย ไปจนถึงก้นทะเลลึกกว่า 1,300 เมตร ขนาดตั้งแต่ 1 เซนติเมตรไปจนถึงมากกว่า 18 เซนติเมตร โดยชนิดที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium dacqueti) ส่วนชนิดที่อยู่ตามแนวปะการังส่วนใหญ่จะมีความยาวไม่เกิน 5 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สปีชีส์และPalaemonidae · ดูเพิ่มเติม »

Parvilux

Parviluxเป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และParvilux · ดูเพิ่มเติม »

Phascolarctos

Phascolarctos เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง (Marsupialia) จำพวกพอสซัมสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Phascolarctos โดยมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า phaskolos หมายถึง "ถุง" หรือ "กระเป๋า" และ arktos หมายถึง "หมี" โดยตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สปีชีส์และPhascolarctos · ดูเพิ่มเติม »

Polycentrus

Polycentrus (/โพ-ลี-เซน-ทรัส/) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้ (Polycentridae) โดยแบ่งออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: สปีชีส์และPolycentrus · ดูเพิ่มเติม »

Protomyctophum

Protomyctophumเป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และProtomyctophum · ดูเพิ่มเติม »

Retinal pigment epithelium

pigmented layer of retina หรือ retinal pigment epithelium (ตัวย่อ RPE แปลว่า เยื่อบุมีสารรงควัตถุของจอประสาทตา หรือ เยื่อบุมีสารสีของจอประสาทา) เป็นชั้นเซลล์ประสาทด้านนอก (ไปทางสมอง) ของจอประสาทตา RPE มีหน้าที่ในการหล่อเลี้ยงเซลล์ประสาท และยึดอยู่กับชั้น choroid ที่อยู่ถัดออกไปอีกและกับเซลล์รับแสงที่อยู่ถัดเข้าม.

ใหม่!!: สปีชีส์และRetinal pigment epithelium · ดูเพิ่มเติม »

Rhizopus

Rhizopus เป็นสกุลของราที่สร้างเส้นใย พบในดิน ผักและผลไม้ที่กำลังย่อยสลาย มูลสัตว์ และขนมปังเก่า เป็นราที่พบในลูกแป้ง และมีบทบาทในการทำข้าวหมาก Rhizopus สร้างทั้งสปอร์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ สปอแรงจิโอสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ สร้างภายในโครงสร้างคล้ายหัวเข็มหมุดที่เรียกสปอแรงเจียม ภาพโครงร่างของ ''Rhizopus spp.''.

ใหม่!!: สปีชีส์และRhizopus · ดูเพิ่มเติม »

Rucervus

Rucervus (/รู-เซอ-วัส/) เป็นสกุลของกวางที่กระจายพันธุ์ในอินเดีย, เนปาล, อินโดจีน และเกาะไหหลำ ของจีน ส่วนใหญ่สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยจากการทำลายป่า รวมทั้งถูกล่า และมีบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว กวางในสกุลนี้เคยถูกรวมเป็นสกุลเดียวกันกับสกุล Cervus แต่ถูกจัดให้เป็นสกุลต่างหาก ตามหลักของความแตกต่างทางสัณฐานวิทยา ตามหลักฐานทางพันธุกรรมแล้ว ละองละมั่งควรจะใช้สกุล Cervus ขณะที่ทั้ง 2 ชนิดที่เหลือยังใช้ที่สกุล Rucervus อยู่ หรืออย่างน้อยก็ย้ายไปในสกุล AxisPitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004).

ใหม่!!: สปีชีส์และRucervus · ดูเพิ่มเติม »

Superior colliculus

optic tectum หรือเรียกสั้น ๆ ได้ว่า tectum เป็นโครงสร้างคู่ที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในสมองส่วนกลางของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โครงสร้างนี้มักจะเรียกกันว่า superior colliculus (ตัวย่อ SC) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นชั้น ๆ แม้ว่าจำนวนชั้นจะแตกต่างกันไปในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ ชั้นนอก ๆ มีหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัส และรับข้อมูลมาจากทั้งตาและระบบรับความรู้สึกอื่น ๆ ส่วนชั้นที่ลึก ๆ ลงไปมีหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการ (motor) มีความสามารถในการเริ่มการเคลื่อนไหวของตาและเริ่มการตอบสนองในระบบอื่น ๆ ส่วนชั้นในระหว่างกลางมีนิวรอนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสหลายทาง และเกี่ยวกับการสั่งการด้วย หน้าที่ทั่ว ๆ ไปของเทคตัมก็คือ ชี้ทางการตอบสนองทางพฤติกรรมไปยังตำแหน่งต่าง ๆ โดยมีกายเป็นศูนย์กลาง ชั้นแต่ละชั้นของเทตตัมมีแผนที่ภูมิลักษณ์ของโลกรอบตัวที่ใช้พิกัดแบบ retinotopy และการทำงานของนิวรอนจุดหนึ่งในแผนที่ทำให้เกิดการตอบสนองทางพฤติกรรมตรงตำแหน่งในปริภูมิที่สัมพันธ์กับจุดในแผนที่นั้น ในไพรเมต งานศึกษาเรื่องของ SC โดยมากเป็นไปเกี่ยวกับการควบคุมการทอดสายต.

ใหม่!!: สปีชีส์และSuperior colliculus · ดูเพิ่มเติม »

Symbolophorus

Symbolophorusเป็นประเภทของปลาตะเกียง.

ใหม่!!: สปีชีส์และSymbolophorus · ดูเพิ่มเติม »

Tachypleus

Tachypleus เป็นสกุลของแมงดาสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tachypleus โดยจัดอยู่ในวงศ์ Limulidae เป็นแมงดาที่พบในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก มีขนาดใหญ่ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: สปีชีส์และTachypleus · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Speciesสปีชี่ส์สปีชี่ส์ (ชีววิทยา)สปีซีส์ชนิด (ชีววิทยา)ชนิดพันธุ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »