โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาปักเป้าหางวงเดือนและสปีชีส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาปักเป้าหางวงเดือนและสปีชีส์

ปลาปักเป้าหางวงเดือน vs. สปีชีส์

ปลาปักเป้าหางวงเดือน (Ocellated pufferfish; Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No. 27: 1–663.) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) เป็นปลาปักเป้าที่มีขนาดเล็ก ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย ครีบเล็ก ลำตัวสีคล้ำหรือเขียวขี้ม้า มีจุดประสีเหลืองหรือสีจางทั่วตัว หลังมีลายพาดสีคล้ำ ข้างลำตัวมีดวงสีดำใหญ่ ตาสีแดง ครีบหางมีขอบสีแดงหรือชมพู มีขนาดประมาณ 4-5 เซนติเมตร จัดเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Leiodon พบอาศัยอยู่ตามลำธารและแม่น้ำในภาคตะวันตกตั้งแต่จังหวัดแม่ฮ่องสอนไปจนถึงภาคใต้ โดยหลบซ่อนอยู่ตามซอกหินหรือใบไม้ใต้น้ำ อาหารได้แก่ ลูกปลา, ลูกอ๊อด, ปู, หอย และกุ้งขนาดเล็ก เป็นปลาที่ไม่พบบ่อยมากนัก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาปักเป้าแคระ" หรือ "ปลาปักเป้าเขียวจุด" เป็นต้น. ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาปักเป้าหางวงเดือนและสปีชีส์

ปลาปักเป้าหางวงเดือนและสปีชีส์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาปักเป้าหางวงเดือนและสปีชีส์

ปลาปักเป้าหางวงเดือน มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ สปีชีส์ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (16 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาปักเป้าหางวงเดือนและสปีชีส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »