โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาฮินดี

ดัชนี ภาษาฮินดี

ษาฮินดีเป็นภาษาที่พูด ส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อยู่ในกลุ่มย่อย อินโด-อิหร่าน มีวิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขาอินโด-อารยันกลาง ของยุคกลาง และมีวิวัฒนาการทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีได้นำคำศัพท์ชั้นสูงส่วนใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากนี้ เนื่องจากอิทธิพลของชาวมุสลิมในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดียังมีคำที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ และ ภาษาตุรกี เป็นจำนวนมาก และในที่สุดได้ก่อให้เกิดภาษาอูรดูขึ้น สำหรับภาษา"ฮินดีมาตรฐาน" หรือ "ฮินดีแท้" นั้น มีใช้เฉพะการสื่อสารที่เป็นทางการ ขณะที่ภาษาซึ่งใช้ในชีวิตประจำวันในพื้นที่ส่วนใหญ่นั้น ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นย่อย ของภาษาฮินดูสตานี ในแง่ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์นั้น ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู ถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน แตกต่างตรงที่ ภาษาฮินดีนั้นเขียนด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ขณะที่ภาษาอูรดูนั้น เขียนด้วยอักษรเปอร์เซียและอาหรั.

236 ความสัมพันธ์: AGROVOCAlways กอด คือสัญญา หัวใจ ฝากมาชั่วนิรันดร์บริติชราชบอนห้วยชัมนครชัยปุระชาวอินเดียชาวจีนในอินเดียชนะ คณะ มนะพ.ศ. 2508พม่าเชื้อสายอินเดียพระพิฆเนศ มหาเทพแห่งปัญญา 2พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลกพระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)พายุหมุนเขตร้อนพาราณสีพุทธคยากบิลพัสดุ์กระทงลายกรุณา กุศลาสัยกลุ่มภาษาอินโด-อารยันกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านกลุ่มภาษาปาหารีกล้วยนากกวางบึงกวางผากัล โฮ นา โฮ โอ้รักสุดชีวิตกังฟูดังค์ ศึกบาส ทะยานฟ้าการทับศัพท์ภาษาฮินดีการค้าประเวณีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกการเดินทางของจักรพรรดิกุสินารากูเกิล แปลภาษาก็อดเบลสส์ฟีจีฝรั่ง (คน)ภาษาบุนเดลีภาษาพม่าภาษาพระเวทภาษาพรัชภาษากัจฉิภาษากาเนาชีภาษามราฐีภาษามลายูภาษามลายูปัตตานีภาษามัลวีภาษามัลดีฟส์ภาษามาร์วารีภาษามาห์ลภาษามณีปุระ...ภาษามณีปุระพิษณุปุระภาษามคธภาษาราชพังสีภาษาราชการของอินเดียภาษาลัมกังภาษาลาดักภาษาสิงหลภาษาสินธีภาษาหริยนวีภาษาอวธีภาษาอาหรับภาษาอาหรับบาห์เรนภาษาอูรดูภาษาฮรังโกลภาษาฮารัวตีภาษาฮินดูสตานีภาษาฮินดีฟีจีภาษาฮีบรูมิซราฮีภาษาทักขินีภาษาขาริโพลีภาษาดารีภาษาคอเรียภาษาคุชราตภาษาตังซาภาษาประธานไร้รูปภาษาปัญจาบภาษาโภชปุรีภาษาโลทาภาษาโดกรีภาษาไมถิลีภาษาเบงกาลีภาษาเมโมนีภาษาเสาราษฏร์ภาษาเตลูกูภาษาเปอร์เซียภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพภาษาเนวารีภาษาเนปาลมหากาพย์รามเกียรติ์มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556)มะขวิดมะขามเทศมะตูมมัจจุราชมืดโหดมฤตยูมาลัย (พืช)มาธุรี ทีกษิตมาดูบาล่า มายารักมาเฟียรามซิงห์มินต์ป่ามิโคยัน มิก-29มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์รัฐพิหารรัฐมัธยประเทศรัฐราชสถานรัฐหรยาณารัฐหิมาจัลประเทศรัฐอรุณาจัลประเทศรัฐอุตตราขัณฑ์รัฐอุตตรประเทศรัฐฌารขัณฑ์รัฐทรูเชียลรัฐฉัตตีสครห์รัฐนาคาแลนด์ราชคฤห์รามเกียรติ์ (ละครโทรทัศน์)รามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบรายชื่อช่องที่มียอดติดตามสูงสุดในยูทูบรายชื่อภาษารายชื่อภาษาของอินเดียเรียงตามจำนวนคนพูดรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อธงในประเทศอินเดียราเชนทระ ปรสาทราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดินลิขิตแค้นแสนรักลิงค์ (ภาษาศาสตร์)วากยสัมพันธ์วิกิพีเดียภาษาฮินดีสลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้าย...อยู่ที่หัวใจสหราชอาณาจักรสารนาถสาวัตถีสีดา ราม ศึกรักมหาลงกาสถิตย์ ไชยปัญญาสปอร์ตส์อิลลัสเตรเต็ดเทเลวิชั่นเอเชียหมู่บ้านปิปราห์วาหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์หยีน้ำหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหัสตินาปุระหนุมานอภินิหารเจ้าหญิงจันตระการตาอวัธอักษรสินธุอักษรคุรมุขีอักษรเทวนาครีอัลลอฮาบาดอัห์มดาบาดอัคบาร์ จอมจักรพรรดิอินเดียอัคระอังคั่นอาศีษ ศรรมาอาจาดอาณานิคมสิงคโปร์อุบัติรัก นิรันดรอีร์ฟาน ข่านอ่าวเบงกอลอโยธยาอโศกมหาราช (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2558)ฮูส์คอลล์จัณฑีครห์จันทรคุปต์ ศึกรักชิงบัลลังก์จันทน์จามรีจำลอง สารพัดนึกจิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยาจีเมลถั่วดาลทะเลทรายธาร์ทัชมาฮาลทีปิกา ปาทุโกณฑีโน โมริยาดาบทะลุฟ้า ฟัดทะลุเวลาดามันและดีอูดาดราและนครหเวลีดิวโอลิงโกดูม (ภาพยนตร์อินเดีย)ควาลิยัรคาจาล เจนคู่กวนรวนหัวใจรักงูแมวเซาอินเดียตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนตราแผ่นดินของอินเดียตราแผ่นดินในทวีปเอเชียตะโขงอินเดียซันไกซาราห์ ไบรท์แมนซีเอ็นบีซีปฏิทินฮิจเราะห์ประเทศอินเดียปัฏนาปาฏิหาริย์วิญญาณรักเหนือโลกปานีร์นกกระเรียนไทยนกต้อยตีวิดนาธาน โจนส์ (นักมวยปล้ำ)นาคิน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2550)นาคิน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2557)นิทานนกแก้วแบกแดดแม่ชีเทเรซาแม่น้ำทัปตีแจ็กกี ชรอฟฟ์แนวร่วมสมาพันธ์กู้ชาติแห่งอัสสัมโบสถ์พราหมณ์โกสัมพีโยคะสู้ฟัดโรตีโรตีจาไนโอ้ ศิวะ!! ช่วยด้วยโปรุส ศึกสองราชันย์ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไกรไก่เนยไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)ไอศวรรยา รายไทยเชื้อสายอินเดียเชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์เฟมินา มิสอินเดียเพลงชาติเล่ห์ราคะ (ละครโทรทัศน์)เวสาลีเสมกชาเสือชีตาห์เสือโคร่งเบงกอลเสียงกัก ปุ่มเหงือก ไม่ก้องเสียงนาสิก ปลายลิ้นม้วนเสียงเสียดแทรก ริมฝีปากกับฟัน ก้องเสี้ยวดอกขาวเอกซ์เนสส์กรุปเอมิล เคร็บส์เอสเอ็มเอฟเอ็ม. ไนท์ ชยามาลานเอเชียตะวันออกเฉียงใต้Complex Text Layout26 มกราคม ขยายดัชนี (186 มากกว่า) »

AGROVOC

AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1980 โดยเป็นอรรถาภิธานศัพท์พหุภาษาแบบมีโครงสร้าง ในด้านการเกษตร วนศาสตร์ การประมง อาหาร โภชนาการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง (เช่น สิ่งแวดล้อม) อรรถาภิธานนี้เป็นคำศัพท์มาตรฐานที่กำหนดคำดรรชนีให้ถูกต้องตรงกัน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และยังช่วยขยายผลการสืบค้นสารสนเทศให้มีความครอบคลุมและกว้างขวางยิ่งขึ้น ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา AGROVOC เป็นเครื่องมือที่ให้องค์กรต่างๆ ใส่องค์ความรู้ และพัฒนาออนโทโลยี เพื่อให้มีความสามารถในการสืบค้นได้ แต่ในปัจจุบัน AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นแม่ข่ายทางมโนทัศน์ (Concept Server) ซึ่งเปรียบเสมือนอรรถาภิธานคำศัพท์ (Term-based hesaurus) AGROVOC ได้ถูกใช้งานโดยกลุ่มคนทั่วโลก เช่นนักวิจัย บรรณารักษ์ ผู้จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคคลอื่นๆ เพื่อใช้ในการทำดรรชนี การค้นคืน และการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในด้านสารสนเทศทางการเกษตร สิ่งสำคัญก็คือการทำให้การอธิบายเชิงความหมายมีมาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบต่างๆ สามารถทำงานประสานกันได้ และเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้กว้างขึ้น อรรถาภิธานศัพท์เกษตร AGROVOC ประกอบด้วยคำศัพท์ใน 6 ภาษาหลัก คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาจีน ภาษารัสเซีย และได้ถูกแปลเป็นภาษาอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาเช็ก ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาฮังการี ภาษาอิตาลี ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาลาว ภาษาโปแลนด์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสโลวัก และภาษาไทย สำหรับคำศัพท์ในภาษามลายู ภาษามอลโดวา ภาษาเตลูกู ภาษาตุรกี และภาษายูเครน อยู่ในระหว่างดำเนินการ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและAGROVOC · ดูเพิ่มเติม »

Always กอด คือสัญญา หัวใจ ฝากมาชั่วนิรันดร์

Always "กอด" คือสัญญา "หัวใจ" ฝากมาชั่วนิรันดร์ (Always;; ความหมาย: "คุณเท่านั้น") ภาพยนตร์เกาหลีประเภทรัก-ดรามา, โรแมนติก ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและAlways กอด คือสัญญา หัวใจ ฝากมาชั่วนิรันดร์ · ดูเพิ่มเติม »

บริติชราช

ริติชราช (British Raj; ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและบริติชราช · ดูเพิ่มเติม »

บอนห้วย

อนห้วย (Eddoe หรือ Eddo) เป็นพืชล้มลุก หัวใต้ดินแบบหัวเผือก น้ำยางใส ใบเดี่ยว ฐานของก้านใบเป็นแผ่นแบนหุ้มลำต้น ช่อดอกแบบ spadix กาบหุ้มสีเหลือง ดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก ดอกตัวผู้อยู่ปลายช่อ ดอกตัวเมียเกิดที่ส่วนกลางและส่วนโคนของช่อดอก ไม่มีกลีบดอก ผลแบบเบอร์รี ชาวเผ่าลัวะนำลำต้นใต้ดินมาต้มหรือใส่ในแกง บอนห้วยเป็นพืชที่มีพันธุกรรมใกล้เคียงกับเผือกPurseglove, J.W. 1972.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและบอนห้วย · ดูเพิ่มเติม »

ชัมนคร

ัมนคร (Jamnagar) เป็นนครทางชายฝั่งทิศตะวันตกของประเทศอินเดีย ในรัฐคุชราต เป็นเมืองศูนย์กลางปกครองของเขตชัมนคร ชัมนครเป็นเมืองใหญ่ที่สุดทางฝั่งตะวันตกสุดและเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 5 ของรัฐคุชราต รองจากอัห์มดาบาด สุรัต วโททระ (Vadodara) และราชโกต (Rajkot) เมืองตั้งอยู่ทางใต้ของอ่าวกัจฉ์ อยู่ทางทิศตะวันตกของเมืองคานธีนคร เมืองหลวงของรั.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและชัมนคร · ดูเพิ่มเติม »

ชัยปุระ

ัยปุระ (जयपुर, Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและชัยปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอินเดีย

วอินเดีย (Indian people) เป็นประชากรของประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีพลเมืองหนาแน่นในเอเชียใต้หรือ 17.31% ของประชากรโลก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและชาวอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนในอินเดีย

นสูบผิ่นในไชนาทาวน์ในกัลกัตตา พ.ศ. 2488 ชาวจีนในอินเดีย (Chinese in India) หรือชาวอินเดียเชื้อสายจีน เป็นกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจากชาวจีนที่อพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่งในอินเดียเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและชาวจีนในอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ คณะ มนะ

"ชนะ คณะ มนะ" (জন গণ মন, Jôno Gôno Mono; แปลว่า "จิตใจแห่งปวงชน") เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐอินเดีย บทเพลงนี้เขียนขึ้นด้วยภาษาเบงกาลีสันสกฤตและประพันธ์ทำนองโดยรพินทรนาถ ฐากูร นักเขียนรางวัลโนเบลชาวเบงกาลี โดยบทที่นำมาใช้เป็นเพลงชาตินี้นำมาจากบทแรกของเพลงเดิมซึ่งเป็นเพลงสรรเสริญแบบพฺราหฺมะ (ব্রাহ্ম, Brahmo) ของแคว้นเบงกอล มีเนื้อหาทั้งหมด 5 บท เพลงดังกล่าวได้มีการขับร้องอย่างเป็นทางการครั้งแรกในที่ประชุมคองเกรสแห่งชาติของอินเดีย (Indian National Congress) ที่เมืองกัลกัตตา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1911 ภายหลังเพลง "ชนะ คณะ มนะ" ได้รับการยอมรับให้ใช้เป็นเพลงชาติอินเดียอย่างเป็นทางการโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1950 Ganpuley's Memoirs.1983.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและชนะ คณะ มนะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายอินเดีย

วพม่าเชื้อสายอินเดีย เป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนมาก และแทรกซึมไปทั่วประเทศพม่า ซึ่งประเทศพม่า และประเทศอินเดียเคยมีความสัมพันธ์มายาวนานหลายพันปี รวมไปถึงการเป็นประเทศเพื่อนบ้าน การนำนำศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีมาใช้ และอดีตอาณานิคมของอังกฤษร่วมกัน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพม่าเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

พระพิฆเนศ มหาเทพแห่งปัญญา 2

ระพิฆเนศ มหาเทพแห่งปัญญา 2 (Bal Ganesh 2) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันชื่อดังของ บอลลีวู้ด ในเครือของ shemaroo กำกับภาพยนตร์โดย Pankaj Sharma เป็นภาพยนตร์ต่อจากภาคแรก คือ พระพิฆเนศ มหาเทพแห่งปัญญ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพระพิฆเนศ มหาเทพแห่งปัญญา 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก

ระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก (Buddha) หรือ พระพุทธเจ้า (ชื่อละครที่ออกอากาศช่องซีหนัง) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศในประเทศอินเดียช่วงปี ค.ศ. 2015 กล่าวถึงพระพุทธประวัติ (ประวัติของพระพุทธเจ้า) ออกอากาศในประเทศไทยทางช่องเวิร์คพอยท์ ตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2558 ทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 10:00 น. - 11:00 น. และออกอากาศซ้ำในวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18:20 น. นำแสดงโดย ฮีมานซู โซนิ, คาจาล เจน, ซาเมียร์ ธรรมาธิการี, กุนกุน ยุปการี กำกับการแสดงโดย ดร. ภูเมนทรา กุมาร โมที.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)

ระสาสนโสภณ นามเดิม พิจิตร ฉายา ิตวณฺโณ นามสกุล ถาวรสุวรรณ วิทยฐานะ ป..9, น.เอก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

พาราณสี

ราณสี (Bārāṇasī พาราณสี; वाराणसी, Vārāṇasī วาราณสี) เป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสี (Kingdom of Kashi) ในสมัยพุทธกาล ปัจจุบันตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ห่างจากลัคเนาซึ่งเป็นเมืองหลวงของอุตตรประเทศเป็นระยะทาง 320 กิโลเมตร พาราณสีมีแม่น้ำคงคาไหลผ่าน เป็นเมืองที่ศักดิสิทธิ์ที่สุดหนึ่งในเจ็ดเมืองศักดิสิทธิ์ (สัปดาปุริ, Sapta Puri) ในความเชื่อของศาสนาฮินดูและศาสนาเชน พาราณสีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 4,000 ปี เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดียและยังจัดเป็นเมืองที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์โลกด้วย ถือว่าเป็นสุทธาวาสที่สถิตแห่งศิวเทพ ถือว่าเป็นเมืองอมตะของอินเดียและเป็นที่แสวงบุญทั้งของชาวฮินดูและชาวพุทธทั่วโลก ครั้งสมัยอาณานิคม เมืองนี้มีชื่อว่า เบนาเรส (Benares) พาราณสียังเป็นเมืองที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในหลายด้าน โดยมีอาณาเขตครอบคลุมถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า สารน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพาราณสี · ดูเพิ่มเติม »

พุทธคยา

ทธคยา (บาลี: พุทฺธคยา, อังกฤษ: Bodh Gaya, Mahabodhi Temple, बोधगया) คือคำเรียกกลุ่มพุทธสถานสำคัญใน อำเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นพุทธสถานที่มีความสำคัญที่สุด 1 ใน 4 แห่ง ของชาวพุทธ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พุทธสังเวชนียสถานที่มีความสำคัญที่สุดของชาวพุทธทั่วโลก ปัจจุบันบริเวณพุทธศาสนสถานอันเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัดมหาโพธิ อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการร่วม พุทธ-ฮินดู พุทธคยา ปัจจุบันตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำเนรัญชรา ไกลจากฝั่งแม่น้ำประมาณ 350 เมตร (นับจากพระแท่นวัชรอาสน์) พุทธคยามีสัญลักษณ์ที่สำคัญคือองค์เจดีย์สี่เหลี่ยมที่สูงใหญ่ โดยสูงถึง 51 เมตร ฐานวัดโดยรอบได้ 121.29 เมตร ล้อมรอบด้วยโบราณวัตถุ โบราณสถานสำคัญ เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระแท่นวัชรอาสน์ ที่ประทับตรัสรู้ และอนิมิสสเจดีย์ เป็นต้น ซึ่งนอกจากพุทธสถานโบราณแล้ว บริเวณโดยรอบพุทธคยายังเป็นที่ตั้งของวัดพุทธนานาชาติ รวมทั้งวัดไทยคือ วัดไทยพุทธคยา สำหรับชาวพุทธ พุทธคยา นับเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลกที่ต้องการมาสักการะสังเวชนียสถานสำคัญ 1 ใน 4 แห่งของพระพุทธศาสนา โดยในปี พ.ศ. 2545 วัดมหาโพธิ (พุทธคยา) สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ขององค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและพุทธคยา · ดูเพิ่มเติม »

กบิลพัสดุ์

ซากกรุงกบิลพัสด์ประเทศเนปาล กบิลพัสดุ์ (Kapilavatthu กปิลวัตถุ; Kapilavastu กปิลวัสตุ; Kapilavastu) เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้นสักกะ เป็นเมืองของพระเจ้าสุทโธทนะผู้เป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าทรงเจริญเติบโตและประทับอยู่จนกระทั่งพระชนมายุ 29 ปี ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนตอนเหนือประเทศอินเดีย ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญกัน กบิลพัสดุ์ แปลตามศัพท์ว่า "ที่อยู่ของกบิลดาบส"เพราะบริเวณที่ตั้งเมืองนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของดาบสชื่อ กบิล พวกเจ้าศากยะได้มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้ว่ากบิลพัสดุ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่กบิล.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกบิลพัสดุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทงลาย

มล็ดกระทงลาย กระทงลาย หรือกระทุงลาย หรือหมากแตก (ภาษาสันสกฤต: jyotishmati ज्योतीष्मती, ภาษาฮินดี: Mal-kangani माल-कांगनी, ภาษาจีน: deng you teng 灯油藤) เป็นพืชในวงศ์ Celastraceae เป็นพืชที่พบในอินเดีย และในประเทศไทย เป็นไม้เลื้อย ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ดอกแยกเพศ แยกต้น ดอกตัวผู้มีฐานรองดอกรูปถ้วย กลีบดอกสีเขียว ผลกลม แห้งแตก เมล็ดมีเยื่อสีน้ำตาลแดงหรือแดงสด ยอดอ่อนลวกรับประทานกับน้ำพริก ลำต้นใช้เป็นส่วนผสมในยารักษาโรคมาลาเรีย โรคบิด หรือใช้เป็นยากระตุ้นประสาท เมล็ดมีน้ำมัน คั้นมาทำน้ำมันใส่ตะเกียง หรือใช้นวดให้กล้ามเนื้อคลายตัว ในอินเดียใช้น้ำมันของพืชนี้เป็นยา สารสกัดด้วยน้ำจากเมล็ดช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของความจำ เมล็ดรับประทานไม่ได้ ทำให้ระคายคอ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกระทงลาย · ดูเพิ่มเติม »

กรุณา กุศลาสัย

กรุณา กุศลาสัย (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2552) เป็นนักเขียนบทความและสารคดี เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต และวัฒนธรรมอินเดีย ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลศรีบูรพา ประจำปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกรุณา กุศลาสัย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน

ตที่มีผู้พูดกลุ่มภาษาอินโดอารยัน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน จากรายงานใน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน หรืออินโด-อิราเนียนเป็นสาขาทางตะวันออกสุดของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประกอยด้วย 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน กลุ่มภาษาอิราเนียน และกลุ่มภาษาดาร์ดิก มีการใช้คำว่า "อารยัน" ในการอ้างถีงกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านจากทฤษฎีส่วนใหญ่เกี่ยวกับการอพยพของชาวอารยัน คนที่พูดภาษาโปรโต-อินโด-อิราเนียนที่เรียกตัวเองว่าอารยัน ตั้งหลักแหล่งอยู่ทางใต้และตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียนในอินเดียเหนือ ปากีสถาน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน คาดว่าการแพร่กระจายเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์รถม้.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาปาหารี

กลุ่มภาษาปาหารีเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาอินโดอารยันเหนือ เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่ใช้พูดในบริเวณที่ราบของเทือกเขาหิมาลัยจากเนปาลทางตะวันออก ไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตะวันตก ภาษาในกลุ่มนี้แบ่งย่อยเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มตะวันออกประกอบด้วยสำเนียงต่างๆของภาษาเนปาล เช่น โดขาลี กุรขาลี คาสกุรา กลุ่มกลาง ประกอบไปด้วยภาษาที่พูดในรัฐอุตรขัณฑ์และกลุ่มตะวันตกพูดในรัฐหิมาจัลประเทศ ในเนปาล ภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ของชนกลุ่มอินโด-อารยันส่วนใหญ่ที่อยู่ในหุบเขาทางเหนือของอินเดียจนถึงเขตสูงสุดที่สามารถปลูกข้าวได้ ภาษาแม่ของชนเผ่าในบริเวณภูเขาส่วนใหญ่เป็นกลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ภาษาเนปาลมีความแตกต่างจากภาษาปาหารีกลางเพราะได้รับอิทธิพลทั้งทางไวยากรณ์และคำศัพท์จากภาษากลุ่มทิเบต-พม่า ผู้พูดภาษาปาหารีกลางและตะวันตกไม่มีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับภาษากลุ่มทิเบต-พม่า จึงรักษาเอกลักษณ์ของกลุ่มภาษาอินโด-อารยันได้ แม้ว่าชาวปาหารีจะได้พัฒนารูปแบบของตนเองและมีการใช้อย่างแพร่หลาย แต่บางครั้งก็จัดภาษาเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของภาษาฮินดี ชื่อเรียกของภาษาเหล่านี้มีมาก เช่น เนปาลี (ภาษาของชาวเนปาล) กุรขาลี (ภาษาของชาวกุรข่า) ปัรภติยะ (ภาษาของชาวภูเขา) ภาษาปัลปาเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาเนปาล บางครั้งถูกแยกเป็นอีกภาษาหนึ่งต่างหาก มีผู้พูดภาษากลุ่มปาหารีจำนวนมากในหุบเขาทางเหนือของปากีสถาน ระหว่างแคชเมียร์และอัฟกานิสถาน ภาษาเหล่านี้ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาประจำชาติในบริเวณนั้นเช่น ภาษาอูรดูและภาษาปัญจาบ หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หมวดหมู่:ภาษาในเอเชียใต้.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกลุ่มภาษาปาหารี · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนาก

กล้วยนาก (Red bananas) เป็นสายพันธุ์ของกล้วยที่เปลือกสีแดงคล้ำ ลูกเล็กกว่ากล้วยหอมเขียว เนื้อเมื่อสุกเป็นสีเหลืองครีมหรือสีเหลืองอมชมพู นิ่มและหวานกว่ากล้วยพันธุ์อื่นในกลุ่มคาเวนดิช แหล่งปลูกอยู่ในแอฟริกาตะวันออก เอเชีย อเมริกาใต้ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นที่นิยมในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกล้วยนาก · ดูเพิ่มเติม »

กวางบึง

กวางบึง หรือ บาราซิงก้าGrubb, Peter (16 November 2005).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกวางบึง · ดูเพิ่มเติม »

กวางผา

กวางผา (Gorals) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่จำพวกแอนทีโลปสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae ใช้ชื่อสกุลว่า Naemorhedus.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกวางผา · ดูเพิ่มเติม »

กัล โฮ นา โฮ โอ้รักสุดชีวิต

กัล โฮ นา โฮ โอ้รักสุดชีวิต (कल हो ना हो; کل ہو نہ ہو) เป็นภาพยนตร์ของบอลลีวู้ด ที่ถ่ายทำในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา นำแสดงโดย ศาห์รุข ข่าน แซฟ อลี ข่าน ปรีติ ซิณฏา ชยา พัจจัน และ ดารา ซิงห.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกัล โฮ นา โฮ โอ้รักสุดชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

กังฟูดังค์ ศึกบาส ทะยานฟ้า

กังฟูดังค์ ศึกบาสทะยานฟ้า (Kung Fu Dunk หรืออีกไตเติ้ลคือ Slam Dunk), เป็นภาพยนตร์ตลก กำกับโดยผู้กำกับชาวไต้หวันที่มีชื่อว่า จู่ หยินปิง นำแสดงโดย เจย์ โชว และ เฉิง จื้อเหว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกังฟูดังค์ ศึกบาส ทะยานฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาฮินดี

การทับศัพท์ภาษาฮินดีนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและการทับศัพท์ภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณี

ผู้หญิงขายบริการ ในสถานบริการแห่งหนึ่งในเยอรมนี การค้าประเวณี (prostitution) คือธุรกิจหรือวิธีปฏิบัติโดยการทำกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกกับค่าตอบแทน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เงิน ของ บริการ หรือประโยชน์แบบอื่นตามแต่ตกลง หญิงค้าประเวณีนั้นเรียก นครโสเภณี (prostitute) แปลว่า "หญิงงามเมือง" (โสเภณี แปลว่า หญิงงาม) และมักตัดไปเรียกว่า "โสเภณี" เฉย ๆ ส่วนภาษาถิ่นอีสานเรียก "หญิงแม่จ้าง" และภาษาปากเรียก "กะหรี่", "หญิงหากิน" หรือ "อีตัว" เป็นต้น สำนักของเหล่านครโสเภณีเรียก โรงนครโสเภณี, โรงหญิงนครโสเภณี หรือ ซ่องโสเภณี (bawdy house, brothel, disorderly house, house of ill fame หรือ house of prostitution).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและการค้าประเวณี · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit ย่อว่า EAS) เป็นการประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จำนวน 16 ประเทศ โดยมีกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางของจักรพรรดิ

การเดินทางของจักรพรรดิ (La Marche de l'empereur; March of the Penguins) เป็นภาพยนตร์สารคดีฝรั่งเศสเกี่ยวกับธรรมชาติวิทยาที่สร้างในปี ค.ศ. 2005 ที่กำกับและร่วมเขียนโดยลูค ฌาคเคต์ และสร้างร่วมกับ Bonne Pioche และสมาคมเนชันแนลจีโอกราฟิก เนื้อหาของภาพยนตร์เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับวัฏจักรของการผสมพันธุ์ของเพนกวินจักรพรรดิของทวีปแอนตาร์กติกา ในฤดูใบไม้ร่วงเพนกวินที่มีอายุในช่วงที่เหมาะแก่การผสมพันธุ์ (ห้าปีหรือแก่กว่า) ก็จะทิ้งทะเลเพื่อเดินทางไปทำการผสมพันธุ์ยังถิ่นฐานธรรมชาติที่ลึกเข้าไปในแผ่นดินทวีปแอนตาร์กติกาที่เป็นบริเวณที่ทำการเดินทางมาตั้งแต่ในสมัยบรรพบุรุษ เมื่อไปถึงเพนกวินก็จะหาคู่ ถ้าสำเร็จก็จะมีลูกนกเพนกวิน การที่ลูกนกจะอยู่รอดได้ในสภาวะอากาศอันทารุณ ทั้งพ่อและแม่ก็จะต้องเดินทางระหว่างมหาสมุทรและบริเวณผสมพันธุ์หลายเที่ยวเพื่อนำอาหารกลับมาเลี้ยงลูก การเดินทางของจักรพรรดิได้รับรางวัลออสการ์ ในปี ค.ศ. 2005 ในฐานะที่เป็นภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม ดนตรีประกอบภาพยนตร์ต้นฉบับภาษาฝรั่งเศส แต่งและขับร้องโดยเอมิลี ไซมอน นักดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ชาวฝรั่งเศส ส่วนฉบับที่ฉายในสหรัฐอเมริกา ได้เปลี่ยนเป็นดนตรีประกอบ (ไม่มีเพลงร้อง) แต่งโดยอเล็กซ์ วูร์แมน นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ภาพยนตร์ต้นฉบับใช้เสียงนักแสดงพากย์เหมือนกับเสียงเพนวินพูดคุยกัน โดยภาพยนตร์ฉบับที่ฉายในฮังการีและเยอรมนีก็พากย์ในลักษณะนี้เช่นเดียวกัน ส่วนฉบับที่ฉายในสหรัฐอเมริกา ได้เปลี่ยนวิธีพากย์เป็นการบรรยายในแบบสารคดี ใช้เสียงภาษาอังกฤษของมอร์แกน ฟรีแมน, ฉบับที่ฉายในประเทศอินเดีย ใช้เสียงภาษาฮินดีและภาษาอังกฤษของอมิตาภ พัจจัน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและการเดินทางของจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

กุสินารา

กุสินารา หรือ กุศินคร (कुशीनगर, کُشی نگر, Kusinaga, Kushinagar) เป็นที่ตั้งของสังเวชนียสถานแห่งที่ 4 ในสมัยพุทธกาลเป็นเมืองเอกหนึ่งในสองของแคว้นมัลละ อยู่ตรงข้ามฝั่งแม่น้ำคู่กับเมือง ปาวา เป็นที่ตั้งของ สาลวโนทยาน หรือป่าไม้สาละที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานและเป็นสถานที่ถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า กุสินาราจัดเป็นพุทธสังเวชนียสถานที่สำคัญแห่งที่ 4 ใน 4 สังเวชนียสถานของชาวพุทธ เป็นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพานแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ที่ตำบลมถากัวร์ อำเภอกุสินคร หรือกาเซีย หรือกาสยา (Kushinaga; Kasia; Kasaya) ในเขตจังหวัดเทวริยา (Devria; Devriya) รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย สาลวโนทยาน สถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า มาถากุนวะระกาโกฎ (Matha-Kunwar-Ka-Kot) ซึ่งแปลว่า ตำบลเจ้าชายสิ้นชีพ ปรากฏตามคัมภีร์ว่า เมืองนี้เคยเป็นที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้าพระนามว่าผุสสะ เป็นที่เกิดบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์หลายครั้ง เคยเป็นราชธานีนามว่ากุสาวดี ของพระเจ้ามหาสุทัสสนจักรพรรดิ์ ปัจจุบันกุสินารา มีอนุสรณ์สถานที่สำคัญคือสถูปใหญ่ซึ่งพระเจ้าอโศกมหาราชสร้างไว้และบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ วิหารปรินิพพานซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางปรินิพพานอยู่ภายในและมีซากศาสนสถานโบราณโดยรอบมากม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกุสินารา · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเบลสส์ฟีจี

ก็อดเบลสส์ฟีจี หรือ Meda Dau Doka ขอพระเจ้าทรงคุ้มครองฟีจี เป็นเพลงชาติของฟีจี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและก็อดเบลสส์ฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่ง (คน)

ตรกรรมฝาผนังรูปฝรั่งภายในวัดตรีทศเทพวรวิหาร นักท่องเที่ยวฝรั่งที่เกาะคอเขา จังหวัดพังงา ฝรั่ง เป็นคำภาษาไทย ที่ใช้เรียกชาวต่างชาติที่เชื้อสายยุโรป หรือชาวผิวขาวโดยที่มิได้ระบุเชื้อชาติหรือสัญชาติ คำว่า ฝรั่ง นี้ ใช้กันเป็นภาษาปาก หรือภาษาลำลอง ถือเป็นคำที่มีความหมายกลาง ๆ แต่ในบางครั้ง ก็มีความหมายเชิงดูหมิ่นหรือแปลกแยกได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับรูปการณ์ ในสมัยโบราณ จะใช้เรียกกันเต็ม ๆ ว่า พวก ฝรั่งตาน้ำข้าว ซึ่งมีอารมณ์เชิงดูถูกของคนโบราณซ่อนอยู่ จนปัจจุบัน กร่อนลงเหลือเพียง ฝรั่ง นอกจากนี้ คนไทยยังเรียกชาวผิวดำ หรือมีเชื้อสายแอฟริกัน ว่า ฝรั่งดำ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและฝรั่ง (คน) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบุนเดลี

ภาษาบุนเดลี (เทวนาครี: बुन्देली หรือ बुंदेली) เป็นภาษาในตระกูลอินโด-อารยัน ที่จัดเป็นประเภทหนึ่งของภาษาฮินดี มักใช้พูดในบันเดลค์คันด์ เขตการปกครองในรัฐมัธยประเทศและตอนใต้ของรัฐอุตตรประเทศ มีความเกี่ยวข้องกับภาษาพรัช ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในวรรณกรรมของอินเดียเหนือจนถึง คริสต์ศตวรรษที่ 19 เขียนด้วยอักษรเทวนาครี หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาบุนเดลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพระเวท

ษาพระเวท (Vedic Sanskrit) เป็นคำที่ใช้เรียกภาษาของชาวอารยันในยุคเริ่มแรก (ก่อนพ.ศ. 43) ซึ่งเป็นภาษาที่ชาวอารยันใช้เขียนคัมภีร์พระเวทและเป็นต้นตระกูลของภาษาอื่นๆในอินเดีย กล่าวคือเมื่อชาวอารยันติดต่อกับสมาคมกับชาวพื้นเมืองเดิมในอินเดียทำให้เกิดการปะปนกันของภาษาจนวิวัฒนาการเป็นภาษาปรากฤต เช่น ภาษามคธี ภาษาอรรธมคธี ภาษาเศารเสนี ภาษามหาราษฏระ ในยุคนี้เอง นักปราชญ์ชาวอารยันที่ยังใช้ภาษาพระเวทอยู่นั้นเห็นว่า หากปล่อยไว้ภาษาของตนจะปะปนกับภาษาอื่นจนเสียความบริสุทธิ์ของภาษาไป จึงมีการจัดระเบียบภาษาพระเวทขึ้นใหม่โดยวางกฎเกณฑ์ให้เป็นระบบ ตำราไวยากรณ์ที่มีชื่อเสียงคืออัษฏาธยายีของปาณินิ ภาษาที่จัดระเบียบแล้วนี้เรียกภาษาสันสกฤต ส่วนภาษาปรากฤตทั้งหลายนั้นได้วิวัฒนาการมาเป็นภาษาที่ใช้ในอินเดียปัจจุบัน เช่น ภาษาฮินดี ภาษามราฐี ภาษาคุชราต ภาษาเบงกาลี ภาษาปัญจาบ ภาษาอูรดู ภาษาพาชตู ภาษาสิงหล เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาพระเวท · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพรัช

ษาพรัช (ब्रज भाषा; Braj Bhasa) หรือพรัช ภาษา หรือภาษาไทหาอาตี เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันใกล้เคียงกับภาษาฮินดี โดยมากมักถือเป็นสำเนียงของภาษาฮินดี และมีวรรณคดีภาษาฮินดีเขียนด้วยภาษานี้เป็นจำนวนมากก่อนจะเปลี่ยนไปใช้บบภาษาขาริโพลีลลเป็นสำเนียงมาตรฐานหลังจากได้รับเอกราช มีผู้พูดมากกว่า 42,000 คน ในบริเวณ พรัช ภูมีที่เคยเป็นรัฐในสมัยมหาภารตะ หลักฐานจากศาสนาฮินดูโบราณเช่น ภควัตคีตา อาณาจักรของกษัตริย์กัมส์อยู่ในบริเวณพรัช (รู้จักในชื่อวิรัชหรือวิราฏ) ซึ่งเป็นดินแดนที่พระกฤษณะเกิดและใช้ชีวิตวัยเด็กที่นั่น บริเวณดังกล่าวนี้อยู่ในบริเวณอังคระ-มถุรา ซึ่งขยายออกไปได้ไกลถึงเดลฮี ในอินเดียสมัยใหม่ ดินแดนนี้อยู่ทงตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐอุตตรประเทศ ตะวันออกสุดของรัฐราชสถาน และทางใต้สุดของรัฐหรยณะ ปัจจุบัน พรัช ภูมีเป็นที่รู้จักในนามเขตวัฒนธรรมมากว่ารัฐในอดีต ภาษาพรัชเป็นภาษาพื้นเมืองของบริเวณนี้และมีกวีที่มีชื่อเสียงมากมาย ใกล้เคียงกับภาษาอวธีที่ใช้พูดในบริเวณใกล้เคียงคือเขตอวัธมาก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาพรัช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากัจฉิ

ษากัจฉิ เป็นภาษาตระกูลอินโด-อารยัน ใช้พูดในบริเวณกุตฉะ ของรัฐคุชราต มีผู้พูดราว 866,000 คน โดยเป็นภาษาที่ใช้พูดในหมู่ชาวมุสลิมในบริเวณดังกล่าว รวมทั้งชาวขวาชาห์ที่ใช้ในทางศาสน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษากัจฉิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาเนาชี

ภาษากาเนาชี เป็นภาษาหรือสำเนียงในอินเดีย มีผู้พุด 6 ล้านคนในบริเวณกาเนาร์ของรัฐอุตตรประเทศ ใกล้เคียงกับภาษาฮินดี บางครั้งจัดว่าเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาฮินดี ในบางกรณีจัดเป็นภาษาฮินดีตะวันตก ภาษากาเนาชีมีสองสำเนียงคือ สำเนียงติรารีและสำเนียงกาเนาชีพื้นเมืองที่อยู่ระหว่างภาษากาเนาชีมาตรฐานกับภาษาอวธี กาเนาชี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษากาเนาชี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามราฐี

ษามราฐี (मराठी) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลอินเดีย-ยุโรป หรืออินโด-ยูโรเปียน (Indo-European) ที่พูดกันในประเทศอินเดีย และใช้เป็นประจำรัฐอย่างเป็นทางการของรัฐมหาราษฏระและรัฐใกล้เคียง โดยใช้อักษรที่เรียกว่า อักษรเทวนาครี นอกจากนี้ภาษามราฐียังเป็นหนึ่งใน 18 ภาษาประจำชาติอย่างเป็นทางการของอินเดียด้วย โดยมีผู้ใช้เกือบร้อยล้านคน เฉพาะในรัฐมหาราษฏระ มีผู้ใช้ภาษามราฐีราว 90 ล้านคน ทั้งยังนับเป็นภาษาหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน จารึกภาษามราฐีที่เก่าที่สุด พบครั้งแรกในรัฐกรณาฏกะ เป็นจารึก ของอินเดีย สันนิษฐานจารึกไว้เมื่อประมาณ 1,300 ปีที่แล้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามราฐี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูปัตตานี

ษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล) ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี".

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามลายูปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามัลวี

ภาษามัลวี เป็นภาษาในเขตมัลวา ประเทศอินเดีย มีผู้พูดมากกว่าล้านคน เป็นสำเนียงของภาษาราชสถาน 55% ของผู้พูดภาษานี้สามารถเข้าใจภาษาฮินดีที่เป็นภาษาราชการของรัฐมัธยประเทศได้ อัตราการรู้หนังสือของภาษาฮินดีที่เป็นภาษาที่สองคิดเป็น 40% มัลวี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามัลวี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามัลดีฟส์

ษามัลดีฟส์ (Maldivian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันและเป็นภาษาราชการของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดประมาณ 300,000 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในมัลดีฟส์ รวมทั้งภาษามาห์ล (Mahl dialect) ที่ใช้ในลักษทวีป ซึ่งเป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย เรียกชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง ภาษาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของภาษามัลดีฟส์มีหลายภาษา โดยเฉพาะภาษาอาหรับ ที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลาม รวมทั้ง ภาษาสิงหล ภาษามาลายาลัม ภาษาฮินดี ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโปรตุเกส และ ภาษาอังกฤษ คาดว่าภาษามัลดีฟส์และภาษาสิงหลสืบมาจากภาษาเดียวกัน ซึ่งได้สูญพันธุ์ไป เมื่อเกิดภาษาใหม่ 2 ภาษาในช่วงประมาณ..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาร์วารี

ษามาร์วารี เป็นภาษาที่ใช้พูดในรัฐราชสถาน และรัฐใกล้เคียงเช่นรัฐคุชราต ในอินเดีย รวมทั้งในปากีสถาน ใน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามาร์วารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาห์ล

ภาษามาห์ล (މަހަލް) หรือภาษามลิกุ พัส เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรป มีผู้พูดในมลิกุ ประเทศอินเดีย ใกล้เคียงกับภาษามัลดีฟส์มาก แต่ใช้ชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง นักภาษาศาสตร์จัดให้เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาสิงหล ภาษาฮินดีและภาษามราฐี มาห์ล fr:Mahal.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามาห์ล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามณีปุระ

ษามณีปุระ หรือ ภาษาไมไต เป็นภาษากลางในรัฐมณีปุระทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย และเป็นภาษาราชการของรัฐนี้ด้วย มีผู้พูดทั้งหมด 1,391,000 คน พบในอินเดีย 1,370,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐมณีปุระ รัฐอัสสัม รัฐนาคาแลนด์ รัฐตรีปุระ รัฐอุตตรประเทศ ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษาฮินดีได้ด้วย พบในบังกลาเทศ 15,000 คน (พ.ศ. 2546) จะพูดภาษาเบงกาลีหรือภาษาสิลเหติได้ด้วย พบในพม่า 6,000 คน (พ.ศ. 2474) จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ในรัฐมณีปุระ มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้ เขียนด้วยอักษรเบงกาลีหรืออักษรมณีปุระ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เป็นภาษาที่มีการสอนถึงระดับปริญญาเอกในมหาวิทยาลัยแห่งอินเดีย และใช้เป็นภาษาในการสอนปริญญาตรีในรัฐมณีปุระ เป็นภาษาที่ต่างจากภาษามณีปุระพิษณุปุระที่เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามณีปุระพิษณุปุระ

ษามณีปุระพิษณุปุระ (ইমার ঠার/বিষ্ণুপ্রিয়া মণিপুরী) เป็นภาษาในกลุ่มอินโด-อารยัน พูดในบางส่วนของแคว้นอัสสัม, ตรีปุระ, มณีปุระในประเทศอินเดีย และบางส่วนของบังกลาเทศ และพม่าต่างจากภาษามณีปุระหรือภาษาไมไตที่เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามณีปุระพิษณุปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามคธ

ษามคธ (อ่านว่า มะ-คด บางครั้งเรียก มาคธี, มคธี หรือ มคฮี) เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาโภชปุรีและภาษาไมถิลีจัดอยู่ในกลุ่มของภาษาพิหาร ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน มีผู้พูด 13 ล้านคนในเขตมคธของรัฐพิหารและบริเวณใกล้เคียงอื่นๆรวมถึงบางบริเวณในรัฐเบงกอลตะวันตก เขียนด้วยอักษรเทวนาครี ระบบเสียงใกล้เคียงกับภาษาฮินดีและพอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษาฮินดีหรือภาษาพิหารอื่นๆ มีนิทานและเพลงพื้นบ้านมาก เชื่อกันว่ารูปแบบโบราณของภาษามคธคือภาษาที่ใช้พูดในสมัยพุทธกาลและในราชอาณาจักรมคธ พุทธศาสนาเถรวาทใช้ภาษาบาลีซึ่งเป็นอีกชื่อหนึ่งของภาษามคธโบราณ ยังมีภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาบาลีกับภาษามคธ เรียกว่า ภาษาอรธมาคธี (แปลว่า ภาษากึ่งมคธ) ซึ่งใช้ในคัมภีร์ของศาสนาเชน ความต่างของภาษามคธกับภาษาอรธมาคธี อยู่ในรูปแบบเดียวกับความต่างจากภาษาบาลี ภาษามคธยังเป็นชื่อของภาษาปรากฤตที่ใช้ในการแสดงละคร และเป็นภาษาที่ใช้พูดในรัฐพิหารในยุคกลาง เป็นต้นกำเนิดของภาษาเบงกาลี ภาษาโอริยาและภาษาพิหาร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษามคธ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราชพังสี

ษาราชพังสี หรือภาษารังปุรีเป็นภาษาทางตะวันออกของอินเดีย อยู่ในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ใช้พูดโดยชาวราชพังสี 1 ล้านคนในบังกลาเทศและ 5 ล้านคนในอินเดีย ส่วนใหญ่จะพูดได้สองภาษาโดยพูดภาษาเบงกาลีหรือภาษาอัสสัมได้ด้วยมีขบวนการสนับสนุนการใช้ภาษานี้ในเบงกอลตะวันตก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาราชพังสี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราชการของอินเดีย

ประเทศอินเดียมีภาษาพูดที่แตกต่างกันมากมาย ในกลุ่มคนต่าง ๆ กัน มีภาษาอย่างน้อย 30 ภาษา รวมถึงภาษาย่อยอีก 2,000 ภาษาด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาราชการของอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลัมกัง

ษาลัมกัง (Lamkang language) มีผู้พูดในอินเดีย 10,000 คน (พ.ศ. 2542) ในรัฐมณีปุระทางตะวันออกเฉียงใต้ และมีในพม่าตามแนวชายแดนอินเดียแต่ไม่ทราบจำนวน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาฮินดีหรือภาษาอังกฤษได้ และเข้าใจภาษามณีปุระได้ ในอินเดียเขียนด้วยอักษรละติน ในพม่าเขียนด้วยอักษรพม่า เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ใช้ปรบท คำคุณศัพท์ตามหลังคำนาม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาลัมกัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดัก

ษาลาดัก (ภาษาทิเบต: ལ་དྭགས་སྐད་; La-dwags skad) หรือภาษาโภติหรือที่นักภาษาศาสตร์เรียกว่าภาษาทิเบตโบราณตะวันตก เป็นภาษาหลักของชาวลาดักในรัฐชัมมูและกัษมีระ และใช้พูดในบัลติสถาน ภาษาลาดักใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ชาวลาดักเองก็มีวัฒนธรรมหลายอย่างใกล้ชิดกับชาวทิเบต รวมทั้งนับถือศาสนาพุทธแบบทิเบตด้วย อย่างไรก็ตาม ภาษาลาดักกับภาษาทิเบตกลางไม่สามารถเข้าใจกันได้ แม้ว่าจะมีการเขียนที่ถ่ายทอดมาจากภาษาทิเบตโบราณ มีผู้พูดภาษาลาดักในอินเดีย 200,000 คน และอาจจะมีอีกราว 12,000 คนในทิเบตที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน สำเนียงย่อยหลายสำเนียง ส่วนใหญ่ไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้นสำเนียงสโตตสกัตและสำเนียงลาดักบนที่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาทิเบตกลาง.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาลาดัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสิงหล

ษาสิงหล (සිංහල) เป็นภาษาของชาวสิงหล ซึ่งเป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศศรีลังกา เป็นภาษาในสาขาอินโด-อารยันของตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษามัลดีฟส์ของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 15 ล้านคน เจ้าชายวิชายาและพรรคพวกนำชาวสิงหลอพยพเข้าสู่เกาะลังกาเมื่อราว 500 ปีก่อนพุทธศักราช วรรณคดีจำนวนมากในศรีลังกาได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา และวรรณคดีอินเดีย การติดต่อกับชาวทมิฬทำให้มีศัพท์ภาษาทมิฬปนอยู่ นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษ เป็นจำนวนมากเพราะเคยถูกปกครองโดยชาติเหล่านี้ เขียนด้วยอักษรสิงหลที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี รัฐบาลศรีลังกาประกาศให้ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการเมื่อปี พ.ศ. 2499 และบังคับให้โรงเรียนทุกโรงเรียนสอนหนังสือด้วยภาษาสิงหล ทำให้ชาวทมิฬ ไม่พอใ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาสิงหล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสินธี

ษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาสินธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหริยนวี

ษาหริยนวี (อักษรเทวนาครี: हरियाणवी) (ہریانوی), (หรือ हरयाणवी) ชื่ออื่นๆคือ ภาษาชตุ ภาษาพังครุ เป็นภาษาถิ่นของภาษาฮินดี ใช้พูดทางตอนเหนือของรัฐหรยณะ และเดลฮี บางครั้งจะไม่นับภาษาหริยนวี เป็นภาษาใหม่ เพราะใกล้เคียงกับภาษาฮินดี และมีคำศัพท์จากภาษาอูรดูมาก วรรณคดีมีน้อย ส่วนมากเป็นเพลงพื้นบ้าน ภาษานี้มีหลากหลายสำเนียง ที่ต่างกันไปในระดับหมู่บ้าน แม้ว่าจะไม่ถูกแยกจากกันด้วยสิ่งกีดขวางทางภูมิศาสตร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาหริยนวี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอวธี

ษาอวธี (अवधी) เป็นภาษาถิ่นของภาษาฮินดี ใช้พูดในเขตอวัธ ของรัฐอุตตรประเทศ และพบในรัฐพิหาร มัธยประเทศ เดลฮี รวมทั้งในประเทศเนปาลด้วย มีผู้พูดราว 20 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาอวธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับบาห์เรน

ษาอาหรับบาห์เรน (Bahrani Arabic หรือ Baharna Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณบะห์รานีของบาห์เรน และบางส่วนของจังหวัดซาอุดิตะวันออกและในโอมาน ในบาห์เรน สำเนียงนี้เป็นสำเนียงพูดในเมืองหลวงมานามา และในหมู่บ้านบะห์รานี ส่วนอื่นๆจะพูดภาษาอาหรับอ่าวซึ่งใกล้เคียงกับภาษาที่ใช้พูดในคูเวตและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มากกว่า ในซาอุดิอาระเบีย ศูนย์กลางของผู้พูดในสำเนียงอยู่ที่กาติฟและบริเวณใกล้เคียงและแตกต่างจากสำเนียงอัล-ฮาซาซึ่งเป็นสำเนียงส่วนใหญ่ของจังหวัดซาอุดิตะวันออก ความแตกต่างระหว่างภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงใกล้เคียง เกิดจากความแตกต่างทางประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่ของผู้พูดสำเนียงอื่นๆ ในบริเวณนี้เป็นผู้อพยพเข้ามาซึ่งมักจะเป็นชาวเบดูอินเผ่านัจญ์ดี ผู้คนเหล่านี้ปัจจุบันพูดภาษาอาหรับอ่าวที่ต่างจากภาษาอาหรับนัจญ์ดีและภาษาอาหรับของชาวเบดูอินและใกล้เคียงกับภาษาอาหรับบาห์เรนมากกว่า ในบาห์เรน ความแตกต่างหลักระหว่างผู้พูดภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงอื่นๆอยู่ที่รูปแบบของไวยากรณ์ และการเน้นหนัก ภาษาอาหรับบาห์เรนมีคำยืมจากภาษาอื่นๆจากภาษาฮินดี (เช่น bānka, sōmān) หรือภาษาอังกฤษ (เช่น lētar, wīl, tēm รวมทั้งภาษาเปอร์เซียด้วย ซึ่งเป็นผลจากการติดต่อค้าขายกับเปอร์เซียในอดีต.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาอาหรับบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮรังโกล

ษาฮรังโกล (Hrangkhol language) มีผู้พูดทั้งหมด 26,820 คน พบในพม่า 8,120 คน (พ.ศ. 2543) กำลังลดจำนวนลง พบในอินเดีย 18,700 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอัสสัม รัฐตรีปุระ และบางส่วนในรัฐไมโซรัมและรัฐมณีปุระ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้กำลังลดลง โดยหันไปพูดภาษาไมโซ ภาษาฮินดี ภาษาอังกฤษ หรือภาษาอัสสัม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาฮรังโกล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮารัวตี

ภาษาฮารัวตี เป็นสำเนียงของภาษาราชสถาน อยู่ในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ใช้พูดในรัฐราชสถาน และบริเวณใกล้เคียงในรัฐมัธยประเทศ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาราชสถานและภาษาฮินดี ฮารัวตี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาฮารัวตี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดูสตานี

ภาษาฮินดูสตานี (เทวนาครี: हिन्दुस्तानी; อาหรับ: ہندوستانی) เป็นคำที่เกิดในสมัยที่อังกฤษครอบครองอินเดียและปากีสถาน โดยอังกฤษนำภาษาฮินดีกับภาษาอูรดูมารวมกันแล้วให้ชื่อว่าฮินดูสตานี เขียนได้ทั้งอักษรไกถี อักษรเทวนาครี และอักษรอาหรับ แต่คำศัพท์และไวยากรณ์ของสองภาษานั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจากภาษาฮินดีได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต แต่ภาษาอูรดูได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ถือว่าเป็นภาษาใหม่ ปัจจุบันยังคงแยกเป็นภาษาฮินดีซึ่งเป็นภาษาทางการของอินเดีย และภาษาอูรดูซึ่งเป็นภาษาทางการของปากีสถาน ฮินดูสตานี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาฮินดูสตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดีฟีจี

ษาฮินดีฟีจี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นภาษาแม่ของชาวฟีจีเชื้อสายอินเดียกว่า 380,000 คนในประเทศฟีจี (ข้อมูล พ.ศ. 2534) ภาษานี้แตกต่างจากภาษาฮินดีมาตรฐานที่พูดในประเทศอินเดีย ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาฮินดีกับภาษาฮินดีฟีจีเปรียบได้กับความสัมพันธ์ระหว่างภาษาดัตช์กับภาษาแอฟริคานส์ ภาษาฮินดีฟีจีประกอบด้วยภาษาฮินดีถิ่นตะวันออกเป็นหลัก (ภาษาอวธีและภาษาโภชปุรี) และคำยืมภาษาอังกฤษและภาษาฟีจีจำนวนมาก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ในประเทศฟีจีที่ผ่านมา ชาวฟีจีเชื้อสายอินเดียส่วนหนึ่งอพยพไปยังออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ภาษาฮินดีฟีจีจึงติดไปกับพวกเขาด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาฮินดีฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซราฮี

ภาษาฮีบรูมิซราฮี หรือภาษาฮีบรูตะวันออก ใช้อ้างถึงระบบการออกเสียงภาษาฮีบรูในคัมภีร์ไบเบิลที่ใช้ในทางศาสนาของชาวยิวมิซราฮีซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอาหรับหรือทางตะวันออก และโดยมากจะพูดภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาฮินดี ภาษาตุรกี หรือภาษาอื่นๆในตะวันออกกลางและเอเชีย คำนี้ใช้ครอบคลุมภาษาฮีบรูหลายสำเนียง แต่ไม่รวมชาวยิวเซฟาร์ดีที่อยู่ในตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ชาวยิวเซฟาร์ดีนี้เป็นชาวยิวที่เคยอยู่ในสเปนแล้วถูกขับออกมา หมวดหมู่:ภาษาในตะวันออกกลาง หมวดหมู่:ภาษาของชาวยิว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาฮีบรูมิซราฮี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทักขินี

ภาษาทักขินี (ภาษาฮินดี: दक्खिनी) หรือภาษาเทจจนี (ภาษาอูรดู: دکنی) เป็นภาษาถิ่นของภาษาอูรดู ใช้พูดในเขตเดคคัน ทางใต้ของอินเดีย มีศูนย์กลางที่เมืองไฮเดอราบัด รัฐอันธรประเทศ พัฒนาขึ้นจากภาษาในอินเดีย และภาษาเปอร์เซีย มีลักษณะที่ผสมผสานกัน ระหว่างภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู ภาษามราฐี ภาษาคุชราต ภาษากันนาดา ภาษาเตลุกุ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย และภาษาตุรกี เป็นภาษากลางของมุสลิมทางใต้ของอินเดีย ทักขินี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาทักขินี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาขาริโพลี

ษาขาริโพลี หรือภาษาขาทิโพลี ภาษาขาทิ-โพลี หรือสำเนียงขารี (/ /; ภาษาฮินดี: खड़ी बोली; ภาษาอูรดู: كهڑى بولى, ตรงตัว "สำเนียงยืนพื้น")เป็นสำเนียงของภาษาฮินดีมีผู้พูดทางตะวันตกของรัฐอุตรประเทศและเดลฮีในประเทศอินเดีย สำเนียงนี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาอูรดูที่มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกับภาษาฮินดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาขาริโพลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดารี

ษาดารี (Dari; ภาษาเปอร์เซีย: دری Darī, ออกเสียง) หรือ ภาษาเปอร์เซียดารี (Dari Persian; ภาษาเปอร์เซีย: فارسی دری - Fārsīy e Darī) หรือ ภาษาเปอร์เซียตะวันออก เป็นชื่อที่ใช้เรียกภาษาเปอร์เซียสำเนียงหนึ่งที่ใช้พูดในอัฟกานิสถาน และเป็นชื่อทางการที่รัฐบาลอัฟกานิสถานใช้ในรัฐธรรมนูญ ภาษาดารีเป็นภาษาราชการในอัฟกานิสถานรองจากภาษาพัชโต และใช้เป็นภาษากลางในอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาดารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคอเรีย

ภาษาคอเรีย เป็นภาษาในกลุ่มราชสถาน มีผู้พูดราว 25,000 คนในจังหวัดสินธ์ ประเทศปากีสถาน ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดูและใช้ภาษาฮินดีในบทสวด คอเรีย.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาคอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคุชราต

ษาคุชราต (ગુજરાતી คุชราตี) คือภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอินโด-ยุโรเปียน เป็นหนึ่งใน 22 ภาษาทางการ และ 14 ภาษาภูมิภาคของอินเดีย และเป็นหนึ่งในภาษาชนกลุ่มน้อยของปากีสถาน มีผู้พูดภาษาคุชราตประมาณ 46 ล้านคนทั่วโลก มากเป็นอันดับที่ 23 ของโลก โดยที่ 45.5 ล้านคนอาศัยอยู่ในอินเดีย 150,000 คนในยูกันดา 100,000 คนในปากีสถาน 250,000 คนในแทนซาเนีย และ 50,000 คนในเคนยา ภาษาคุชราต คือภาษาหลักของรัฐคุชราตในอินเดีย รวมถึงพื้นที่สหภาพที่ติดกันคือ ดามานและดีอู และ ดาดราและนครหเวลี และยังเป็นภาษาของชุมชนชาวคุชราตในเมืองมุมไบ (บอมเบย์เดิม) นอกจากนี้ยังปรากฏประชาการจำนวนหนึ่งที่พูดภาษาคุชราตได้ในอเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร คุชราตเป็นภาษาแม่ของมหาตมะ คานธี "บิดาของอินเดีย" มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ "บิดาของปากีสถาน" และซาร์ดาร์ วัลลัภภัย ปาเทล "บุรุษเหล็กแห่งอินเดีย".

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตังซา

ษาตาเซหรือภาษาตังซา (Tase language) มีผู้พูดทั้งหมด 100,400 คน พบในพม่า 55,400 คน (พ.ศ. 2543) พบทางตะวันตกเฉียงเหนือของพม่า พบในอินเดีย 45,000 คน (พ.ศ. 2544) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐอรุณาจัลประเทศ และในรัฐอัสสัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาจิงผ่อ-กอนยัก-โบโด สาขาย่อยกอนยัก-โบโด-กาโร มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้ ในอินเดียเขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา คำปรบท แสดงความเป็นเจ้าของและคำนำหน้ามาก่อนคำนาม คำแสดงจำนวนและคุณศัพท์มาทีหลังคำนามที่ขยาย คำแสดงคำถามอยู่ท้ายประโยค มีเสียงวรรณยุกต์ 2 เสียง ผู้พูดภาษานี้บางส่วนจะพูดภาษาฮินดี ภาษาอัสสัม ภาษาพม่า ภาษาอังกฤษ หรือภาษาสิงผ่อได้.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาตังซา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาประธานไร้รูป

ภาษาประธานไร้รูป (ภาษาอังกฤษ: null/empty subject language) เป็นภาษาที่ยอมรับไวยากรณ์ของการมีอนุประโยคอิสระที่ไม่ปรากฏประธานในอนุประโยค อนุประโยคที่ไม่มีประธานโดยชัดแจ้ง กล่าวได้ว่าอนุประโยคนั้นมี ประธานไร้รูป ยกตัวอย่างเช่นในภาษาอิตาลี ประธาน "เธอ" ของประโยคที่สองสามารถทราบได้โดยนัยในภาษาอิตาลี ในทางตรงข้าม ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษจำเป็นต้องมีประธานในประโยค ภาษาประธานไร้รูปบางภาษาเป็นภาษาต่างตระกูลกัน เช่น ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาฮินดี ภาษาอาหรับ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น แม้จะต่างตระกูลกันแต่ก็ล้วนเป็นภาษาประธานไร้รูป หมวดหมู่:ภาษา.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาประธานไร้รูป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปัญจาบ

ษาปัญจาบ หรือ ปัญจาบี หรือ ปัญชาพี (อักษรคุรมุขี: ਪੰਜਾਬੀ Paṁjābī,อักษรชาห์มุขี: پنجابی Panjābī) เป็นภาษาของชาวปัญจาบ และภูมิภาคปัญจาบของประเทศอินเดีย และประเทศปากีสถาน ภาษาปัญจาบเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ในกลุ่มย่อยอินโด-อิเรเนียน เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนภาษาเดียวที่เป็นภาษาวรรณยุกต์ ซึ่งวรรณยุกต์เกิดจากการออกเสียงพยัญชนะชุดต่าง ๆ ด้วยเสียงสูงต่ำที่ต่างกัน ในเรื่องของความซับซ้อนของรูปศัพท์ เป็นภาษาที่ใช้คำประกอบ (agglutinative language) และมักจะเรียงคำตามลำดับ 'ประธาน กรรม กิริยา' ชาวปัญจาบได้ถูกแบ่งระหว่างอินเดียและปากีสถานระหว่างการแบ่งอินเดียเมื่อพ.ศ. 2490 อย่างไรก็ดี ภาษาและวัฒนธรรมปัญจาบมักเป็นปัจจัยที่ทำให้ชาวปัญจาบอยู่รวมกันไม่ว่าจะสัญชาติหรือศาสนาใด มีชาวปัญจาบอพยพจำนวนมากในหลายประเทศเช่น สหรัฐ ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา ภาษาปัญจาบเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของชาวสิกข์ที่ใช้เขียนวรรณกรรมทางศาสนา เป็นภาษาที่ใช้ในดนตรีภันคระที่แพร่หลายในเอเชียใต้.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโภชปุรี

ษาโภชปุรีเป็นภาษาที่พูดกันแพร่หลายทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย คือทางตะวันตกของรัฐพิหาร ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐฌารขัณฑ์ และบริเวณปุรวัณฉัลของอุตรประเทศรวมถึงทางใต้ของเนปาล ภาษาโภชปุรีมีผู้พูดในกายอานา ซูรินาม ฟิจิ ทรินิแดดฯ และมอริเชียสด้วย ภาษานี้ถือว่าไม่ใช่ภาษาถิ่นของภาษาฮินดี เตรียมจะรับรองสถานะเป็นภาษาประจำชาติอีกภาษาหนึ่ง ภาษาโภชปุรีมีคำศัพท์คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู และภาษาตระกูลอินโด-อารยันอื่นๆในภาคเหนือของอินเดีย ภาษาโภชปุรีและภาษาใกล้เคียงได้แก่ ภาษาไมถิลีและภาษามคธีเป็นที่รู้จักโดยรวมว่าภาษาพิหาร ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันออกเช่นเดียวกับภาษาเบงกาลีและภาษาโอริยา ภาษาถิ่นของภาษาโภชปุรีมีราว 3-4 ภาษาในภาคตะวันออกของรัฐอุตรประเท.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาโภชปุรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโลทา

ภาษาโลทา มีผู้พูดราว 80,000 คนในรัฐนาคาแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนกลางของรัฐ อยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาเอา ที่ใช้พูดทางตอนเหนือ และภาษามณีปุรีในรัฐมณีปุระ เขียนด้วยอักษรละติน ที่ประดิษฐ์โดยมิชชันนารีชาวตะวันตก คำศัพท์ได้รับอิทธิพลจากภาษาอัสสัมและภาษาฮินดี มีการแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาโลทาด้วย ลโทา.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาโลทา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโดกรี

ษาโดกรีเป็นภาษาในจัมมูร์และแคชเมียร์ รวมทั้งในรัฐปัญจาบและรัฐหิมาจัลประเทศ มีผู้พูดราว 2.1 ล้านคน แต่ก่อนถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาปัญจาบ แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นอีกภาษาหนึ่งในอดีตเขียนด้วยอักษรตกริ ซึ่งคล้ายกับอักษรสรทะที่ใช้เขียนภาษาแคชเมียร์ ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครีหรืออักษรอาหรับ-เปอร์เซียแบบนัสตาลิก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาโดกรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไมถิลี

ษาไมถิลี จัดอยู่ในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน มีผู้พูดในรัฐพิหารของอินเดีย และเตรายตะวันตกในเนปาล คำว่าไมถิลีมาจากมิถิลาซึ่งเป็นรัฐอิสระในสมัยโบราณ มีกลุ่มผู้พูดภาษาไมถิลีเป็นจำนวนมาก ภาษานี้อยู่ในกลุ่มอินเดียตะวันออก ที่มีพัฒนาการเป็นอิสระจากภาษาฮินดี เขียนด้วยอักษรไมถิลีซึ่งคล้ายกับอักษรเบงกาลีหรือเขียนด้วยอักษรเทวนาครี เคยเขียนด้วยอักษรตีราหุตี แต่เปลี่ยนมาใช้อักษรเทวนาครีในพุทธศตวรรษที่ 25-26 อักษรตีราหุตีเป็นต้นแบบของอักษรไมถิลี อักษรเบงกาลีและอักษรโอร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาไมถิลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเมโมนี

ษาเมโมนี เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ใช้พูดโดยชาวเมโมนน พัฒนามาจากภาษาสันสกฤต ใกล้เคียงกับภาษากัจฉิและภาษาคุชราต มีผู้พูดทั้งในอินเดียและปากีสถาน ชาวเมโมน กาถิวาทีพูดภาษาที่ไม่มีระบบการเขียนซึ่งเรียกว่าภาษาเมโมนีซึ่งเป็นภาษาผสมระหว่างภาษาสินธีและภาษากัจฉิ จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันในเขตเหนือ-ตะวันตก ภาษาสินธีและภาษากัจฉินั้นใช้พูดทั้งผู้ที่เป็นและไม่เป็นมุสลิม แต่ภาษาเมโมนีใช้พูดเฉพาะชาวเมโมน กาถิวาทีที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ที่อพยพจากสินธ์มาสู่พื้นที่ใกล้เคียง คือที่กุตส์และกาเกียวาร์ในคุชราต เมื่อหลายร้อยปีที่ผ่านมา ภาษาที่ใช้ในปัจจุบันมีความใกล้เคียงกับภาษาสินธี แต่มีคำยืมจากภาษาคุชราต ภาษาฮินดูสตานและภาษาอังกฤษ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ในปากีสถาน ภาษาเมโมนีมีการใช้คำและวลีจากภาษาอูรดูมาก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเมโมนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเสาราษฏร์

ษาเสาราษฏร์ เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ใช้พูดทางใต้ของรัฐทมิฬ นาดู มีผู้พูดภาษานี้ราว 310,000 คน (2540).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเสาราษฏร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตลูกู

ษาเตลูกู (Telugu తెలుగు) อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน แต่มีอิทธิพลพอสมควรจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันภายใต้ตระกูล อินโด-ยุโรเปียนและเป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศ (Andhra Pradesh) ของอินเดีย ภาษาเตลูกูเป็นตระกูลภาษาดราวิเดียนที่มีผู้พูดมากที่สุด เป็นภาษาที่พูดเป็นอันดับ 2 รองจากภาษาฮินดี และเป็นหนึ่งใน 22 ภาษาราชการของอินเดีย เขียนด้วยอักษรเตลูกู ชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกภาษาเตลูกูว่า ภาษาอิตาลีของโลกตะวันออก (Italian of the East) เนื่องจากทุกคำในภาษาเตลูกูลงท้ายด้วยเสียงสระ แต่เชื่อว่านักสำรวจชาวอิตาลี นิกโกเลาะ ดา กอนตี (Niccolò Da Conti) ได้คิดวลีนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเตลูกู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ

ษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ (a language is a dialect with an army and a navy) เป็นสำนวนหนึ่งVictor H. Mair, The Columbia History of Chinese Literature, p. 24: "It has often been facetiously remarked...

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนวารี

ษาเนวารี หรือเนปาล ภาษา (नेपाल भाषा, Nepal Bhasa, Newah Bhaye) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งของเนปาล อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า เป็นภาษาในตระกูลนี้เพียงภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรเทวนาครี พูดโดยชาวเนวาร์ ซึ่งอยู่ในหุบเขากาฏมาณฑุ มีความคล้ายคลึงกับภาษากลุ่มอินโด-อิหร่านด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเนวารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนปาล

ษาเนปาล เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่พูดในประเทศเนปาล ประเทศอินเดีย ประเทศภูฏาน และบางส่วนของประเทศพม่า เป็นภาษาราชการของประเทศเนปาล ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของเนปาลพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ และชาวเนปาลอื่น ๆ หลายคนพูดเป็นภาษาที่สอง ชื่อของภาษาเนปาลในภาษาเนปาลคือ คาสกุรา (Khaskura) ชื่ออื่น ๆของภาษานี้มีมากมาย คนที่พูดภาษาอังกฤษเรียกว่า เนปาลี (Nepali) หรือ เนปาลีส (Nepalese) นอกจากนี้ คาสกุรา มีชื่ออื่น เช่น กอร์คาลี (Gorkhali) หรือ กูร์คาลี (Gurkhali) แปลว่าภาษาของชาวกุรข่า และพาร์ตาบิยา (Parbatiya) แปลว่าภาษาของภูเขาภาษาเนปาลมีวรรณกรรมขนาดเล็กในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งรวมถึง "อัธยาตมะ รามายณะ" (Adhyatma Ramayana) ประพันธ์โดย สุนทรานันทะ พร (Sundarananda Bara) (1833) ซึ่งเป็นการรวมนิทานพื้นเมืองที่ไม่ปรากฏผู้แต่ง และรามายณะ โดย ภานุภักตะ (Bhanubhakta) นอกจากนี้ยังมีผลงานแปลจากภาษาสันสกฤต รวมถึงไบเบิลด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและภาษาเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์รามเกียรติ์

มหากาพย์รามเกียรติ์ (Lav Kush) เป็นภาพยนตร์อินเดียขนาดยาวที่ถ่ายทำเมื่อปี ค.ศ. 1997 เนื้อเรื่องกล่าวถึงวรรณกรรมชิ้นเอก และยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก รามายณะ โดยในประเทศอินเดียจะฉายภาคเดียว 3 ชั่วโมงจบ แต่ในประเทศไทยจะฉายแยกเป็น 2 ภาค โดยแบ่งเป็นตอนๆ ตอนแรกใช้ชื่อว่า มหากาพย์รามเกียรติ์ ตอน ทศกัณฐ์ลักนางสีดา และตอนที่สองใช้ชื่อว่า มหากาพย์รามเกียรติ์ ตอน พระรามครองเมือง โดยชื่อภาษาอังกฤษ (Lav Kush) นี้มีความหมายที่ตรงตามคำๆนั้นว่า พระลบ พระมงก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมหากาพย์รามเกียรติ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556)

มหาภารตะ (Mahabharat) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามมหาภารตะ ระหว่างราชวงศ์เการพ กับราชวงศ์ปาณฑพ ละครเรื่องสร้างขึ้นโดยรีเมคจากละครเรื่อง มหาภารตะ ที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2531 นำแสดงโดย ซอรับห์ ราจ เจน, ชาเฮียร์ ชีคห์, พูจา ชาร์มา, อฮัม ชาร์มา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5เป็นตอนแรกในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556) · ดูเพิ่มเติม »

มะขวิด

ผลแห้งของมะขวิดที่ขายในประเทศอินเดีย ผลมะขวิดอยู่บนต้น เปลือกต้นมะขวิด มะขวิด ภาคอีสานเรียกมะยม ภาคเหนือเรียกมะฟิด เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง อยู่ในกลุ่มไม้ยืนต้นผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย สูงถึง 12 เมตร กิ่งแขนงมีหนามเรียวแหลมตรง ยาว 4 เซนติเมตร ใบประกอบ แบบขนนกปลายคี่ ใบออกตรงข้าม มี 2-3 คู่ รูปไข่กลับ ยาวถึง 4 ซม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมะขวิด · ดูเพิ่มเติม »

มะขามเทศ

มะขามเทศ เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย หลักฐานบางแหล่งกล่าวว่าเป็นพืชพื้นเมืองของเม็กซิโก อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ตอนบนจากนั้นจึงแพร่กระจายไปสู่อเมริกาเหนือ กวม ฟิลิปปินส์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาษาเตลูกูเรียกว่า సీమ చింత "seema chintakaya" ชื่ออื่นๆได้แก่ guamúchil / cuamúchil / huamúchil (ในเม็กซิโก ภาษาสเปน), guamá americano (ในเปอร์โตริโก) opiuma (ภาษาฮาวาย), kamachile (ภาษาฟิลิปิโน),கோன புளியங்கா/ கொடுக்காப்புளி kodukkappuli (ภาษาทมิฬ), વિલાયતી આંબલી vilayati ambli (ภาษาคุชราต), जंगल जलेबी jungle jalebi หรือ ganga imli (ภาษาฮินดี), তেঁতুল tetul (ภาษาเบงกาลี), seeme hunase (ภาษากันนาดา) และ विलायती चिंच vilayati chinch (ภาษามราฐี) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นมีหนาม ใบบางและเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ดอกช่อ ขนาดเล็ก สีขาว เห็นเกสรตัวผู้เป็นพู่ชัดเจน ผลเป็นฝักโค้งเป็นปล้องๆ ฝักอ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือแดง เนื้อในเป็นสีชมพูหรือสีขาว รสหวานหรือหวานอมฝาด ถ้าทิ้งไว้นาน เนื้อจะนุ่ม รสหวานจัดขึ้น แต่ถ้านานเกินไปจะมีกลิ่นเหล้าออกมา เมล็ดสีดำ มีปล้องละ 1 เมล็ด ฝักมะขามเทศ มะขามเทศในประเทศไทยแบ่งตามลักษณะฝักเป็นสามกลุ่มคือนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมะขามเทศ · ดูเพิ่มเติม »

มะตูม

ผลมะตูมผ่าครึ่ง มะตูม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos ภาคเหนือเรียกว่า มะปิน ภาคใต้เรียกว่า กะทันตาเถร, ตูม และตุ่มตัง ภาคอีสานเรียกว่า หมากตูม ภาษาเขมรเรียกว่า พะโนงค์ ชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า มะปีส่า นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมะตูม · ดูเพิ่มเติม »

มัจจุราชมืดโหดมฤตยู

มัจจุราชมืดโหดมฤตยู ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์สัญชาติอเมริกัน ในชื่อภาษาอังกฤษว่า The Ghost and the Darkness ที่สร้างมาจากนิยายผจญภัยในป่าแอฟริกา เรื่อง The Man-Eaters of Tsavo ที่เขียนโดย ผู้พันจอห์น เฮนรี่ แพ็ตเตอร์สัน ที่นำเค้าโครงมาจากประสบการณ์จริงของตนเองเกี่ยวกับสิงโตกินคนที่ซาโว นำแสดงโดย วัล คิลเมอร์, ไมเคิล ดักลาส, ทอม วิลคินสัน กำกับโดย สตีเฟ่น ฮ็อปกินส์ ความยาว 135 นาที ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม ประจำปี ค.ศ. 1996 ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมัจจุราชมืดโหดมฤตยู · ดูเพิ่มเติม »

มาลัย (พืช)

มาลัย (ภาษาอูรดู: فالسہ, ภาษาฮินดี: फ़ालसा) เป็นพืชในวงศ์ Tiliaceae เป็นไม้ผลัดใบ เปลือกหยาบสีเทา กิ่งห้อยลง กิ่งอ่อนมีขนแข็งห่อหุ้มหนาแน่น ใบเดี่ยว ร่วงง่าย ใบด้านบนมีขนปกคลุม ด้านล่างมีผงรังแค ดอกช่อ สีเหลือง ผลสดแบบเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมเป็นพูไม่ชัดเจน สีแดงหรือสีม่วง เนื้อผลนุ่ม มีเส้นใย สีขาวแกมเขียว รสเปรี้ยว เป็นไม้พื้นเมืองในแถบเทือกเขาหิมาลัย ในปากีสถานและอินเดียFlora of Pakistan: Pacific Island Ecosystems at Risk: นิยมปลูกในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบทางภาคเหนือของไทยและเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ผลมาลั.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมาลัย (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มาธุรี ทีกษิต

มาธุรี ทีกษิต (माधुरी दीक्षित, เกิดวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) เป็นนักแสดงจากประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมาธุรี ทีกษิต · ดูเพิ่มเติม »

มาดูบาล่า มายารัก

มาดูบาล่า มายารัก (Madhubala - Ek Ishq Ek Junoon) เป็นละครโทรทัศน์ที่ถ่ายทำเมื่อปี ค.ศ. 2016 นำแสดงโดย ทราชติ ทามิ, วิเวียน เทศนา ออกอากาศทางช่อง ไบรต์ทีวี ละครเรื่องนี้ออกอากาศทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 02.00 น. - 04:30 น. ต่อจากละครเรื่อง กอรี เทวีพิทักษ์โลก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมาดูบาล่า มายารัก · ดูเพิ่มเติม »

มาเฟียรามซิงห์

มาเฟียรามซิงห์ (ฮินดี:सिंह इज़ किंग, ปัญจาบ:ਸਿੰਘ ਇਜ਼ ਕਿੰਗ) เป็นภาพยนตร์ของบอลลีวู้ด นำแสดงโดย อักษัย กุมาร และ คัทรีนา ไคฟ์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ ได้มาฉายที่ประเทศไทย ใน เทศกาลภาพยนตร์ตลกโลก เมื่อ ปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมาเฟียรามซิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

มินต์ป่า

thumbnail มินต์ป่า (पुदीना/ Pudina,"Podina" ในภาษาฮินดี) (มินต์ทุ่ง หรือ มินต์ข้าวโพด) เป็นสปีชีส์หนึ่งของมินต์ พบได้ในเขตอากาศอบอุ่นของทวีปยุโรป, ทางตะวันตกและตอนกลางของทวีปเอเชีย สิ้นสุดบริเวณตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย, ทางตะวันออกของไซบีเรีย และทวีปอเมริกาเหนือEuro+Med Plantbase Project: Germplasm Resources Information Network: Flora of NW Europe.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมินต์ป่า · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-29

มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมิโคยัน มิก-29 · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์

อัลคอวาริซมีย์ บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต ในโอกาสระลึกถึงชาตกาลครบรอบ 1,200 ปี อะบู อับดัลลาหฺ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (Abū ʿAbdallāh Muḥammad ibn Mūsā al-Khwārizmī) (ค.ศ. 780-ค.ศ. 850) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ นักภูมิศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นนักเขียน และนักแปล.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพิหาร

หาร คือ รัฐที่อยู่ในประเทศอินเดีย มีพุทธคยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ภาษาที่ใช้ในรัฐพิหาร คือ ภาษาฮินดีถูกแบ่งเป็นสองส่วนด้วยแม่น้ำคงคาซึ่งไหลผ่านจากตะวันตกไปตะวันออก เดิมคือแคว้นมคธ มีสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาหลายแห่ง เช่น พุทธคยา นาลันทา มีความสำคัญด้านคมนาคมขนส่งเพราะเป็นประตูสู่เนปาลและรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ สินค้าเกษตรที่สำคัญคืออ้อย ปอ ชา มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมน้ำตาล สุราและเอทานอล.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐพิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมัธยประเทศ

รัฐมัธยประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ไม่มีเขตติดต่อกับทะเลเนื่องจากตั้งอยู่ตรงกลางประเทศ รัฐมัธยประเทศได้เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดของอินเดียจนถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐมัธยประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐราชสถาน

รัฐราชสถาน คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศติดกับประเทศปากีสถานทางทิศตะวันตะวันออกเฉียงเหนือ รา หมวดหมู่:รัฐราชสถาน หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2499.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐราชสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐหรยาณา

รัฐหรยาณา คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศ เป็นดินแดนที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ เป็นที่ตั้งของทุ่งกุรุเกษตรในมหาภารตะ ห หมวดหมู่:รัฐหรยาณา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2509.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐหรยาณา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐหิมาจัลประเทศ

รัฐหิมาจัลประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศ ติดกับเขตปกครองตนเองทิเบต ประเทศจีน เป็นรัฐที่มีชื่อเสียงทางด้านสิ่งทอและหัตถกรรม เป็นรัฐที่มีปัญหาคอรับชันน้อย รัฐบาลท้องถิ่นมีนโยบายส่งเสริมให้เยาวชนทุกคนได้เรียนชั้นประถมศึกษา และส่งเสริมเทคโนโลยีชีวภาพ หิมา หมวดหมู่:รัฐหิมาจัลประเทศ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐหิมาจัลประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอรุณาจัลประเทศ

ประเทศ รัฐอรุณาจัลประเทศ คือ ดินแดนใต้การปกครองของประเทศอินเดีย แต่ถูกเรียกร้องจากทางการจีนว่าเป็นดินแดนของตนในชื่อว่า ทิเบตใต้ (藏南 ซั่นหนาน) รัฐอรุณาจัลประเทศมีเขตติดต่อกับ รัฐอัสสัมและรัฐนาคาแลนด์ทางใต้ รัฐกะฉิ่น ประเทศพม่าทางตะวันออก ประเทศภูฏานทางตะวันตก และเขตปกครองตนเองทิเบต ประเทศจีนทางทิศเหนือ อรุณาจัลประเทศมีความหมายว่า ดินแดนอาทิตย์อุทัย เนื่องจากตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศอินเดีย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าที่พูดตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นเชื้อสายชาวทิเบต ชาวไท และชาวพม่า โดยมีประชากรร้อยละ 16 เป็นผู้อพยพ เป็นรัฐที่มีชื่อเสียงทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ มีงานศิลปหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐอรุณาจัลประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอุตตราขัณฑ์

รัฐอุตตราขัณฑ์ เป็นรัฐหนึ่งประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศ มีเขตแดนทางทะเลติดต่อกับทิเบต ประเทศจีน ทางทิศเหนือ และประเทศเนปาลทางตะวันออก รัฐอุตตราขัณฑ์เป็นรัฐที่ 27 ของสาธารณรัฐอินเดีย เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543เดิมชื่อรัฐอุตรารัณจัล หรือ "อุตตราญจัล"เปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันเมื่อ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐอุตตราขัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอุตตรประเทศ

รัฐอุตตรประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่บริเวณส่วนบนของประเทศโดยมีเขตแดนติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญในศาสนาฮินดู เช่น เมืองพาราณสี อโยธยา (เมืองเกิดของพระราม) มธุรา (เมืองเกิดของพระกฤษณะ) และอัลลาลาบัดหรือเมืองโกสัมพีในสมัยพุทธกาล อุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐอุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2493 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2377.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐอุตตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฌารขัณฑ์

รัฐฌารขัณฑ์ คือรัฐหนึ่งของประเทศอินเดียที่แยกตัวออกมาจากรัฐพิหาร เมื่อพ.ศ. 2543 ตั้งอยู่ตอนกลางเยื้องไปทางตะวันออกของประเทศ ฌารขัณฑ์ หมวดหมู่:รัฐฌาร์ขัณฑ์ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2543.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐฌารขัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐทรูเชียล

รัฐทรูเชียล (Trucial States; إمارات الساحل المتصالح) เป็นกลุ่มรัฐเชคทางตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเปอร์เซีย ภายหลังรัฐเหล่านี้ได้ร่วมลงนามสงบศึกกับรัฐบาลบริเตน จึงถูกเรียกว่ารัฐทรูเชียลหรือรัฐสงบศึก และเข้าเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐทรูเชียล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฉัตตีสครห์

รัฐฉัตตีสครห์ คือรัฐที่ตั้งอยู่ตรงกลางของประเทศอินเดีย แยกตัวออกมาจากรัฐมัธยประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2543 เป็นรัฐที่ไม่มีเขตแดนติดกับทะเล ชื่อรัฐในภาษาฮินดีแปลว่าปราสาท 36 หลัง ในสมัยพุทธกาลเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นโกศล เป็นรัฐที่มีทรัพยากรแร่ธาตุต่าง ๆ มาก โดยเฉพาะเหล็ก ฉัตตีสครห์ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2543.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐฉัตตีสครห์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนาคาแลนด์

รัฐนาคาแลนด์ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรัฐนาคาแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชคฤห์

ราชคฤห์ (ราชคห; राजगिर ราชคริ; राजगीर ราชคีร; Rajgir; راجگیر) เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้นมคธสมัยพุทธกาล เป็นเมืองในหุบเขา มีภูเขาล้อมรอบ 5 ลูก จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เบญจคีรีนคร ราชคฤห์เป็นเมืองตั้งหลักพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้า โดยพระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดพระเจ้าพิมพิสารผู้ครองนคร เป็นเมืองที่มีประวัติความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนามากที่สุด สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและพระสาวกยังปรากฏอยู่มากมาย เช่น พระคันธกุฎีบนยอดเขาคิชฌกูฏ วัดเวฬุวันซึ่งเป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ถ้ำสุกรขาตาที่พระสารีบุตรได้บรรลุธรรม ถ้ำสัตบรรณคูหาที่ทำสังคายนาครั้งแรก เป็นต้น สถานะเมืองหลวงของราชคฤห์ถูกเปลี่ยนโอนไปอยู่ที่ปาฏลีบุตรตั้งแต่สมัยพระเจ้าอชาตศัตรู ส่งผลให้ราชคฤห์ในปัจจุบันเป็นเพียงเมืองเล็ก ๆ ในรัฐพิหาร มีผู้อยู่อาศัยไม่มาก มีสภาพเกือบเป็นป่า แต่เป็นสถานที่แสวงบุญของชาวพุทธทั่วโลกแห่งหนึ่ง ไฟล์:Rajgirbuddha.jpg|พระพุทธรูปยืนกลางมณฑลโบราณสถานวัดเวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์ ไฟล์:Vulturepeak.jpg|พระคันธกุฎี บนยอดเขาคิชกูฏ ไฟล์:Sattapanni.jpg|ถ้ำสัตบรรณคูหา สถานที่ทำปฐมสังคายนา ไฟล์:Tapodarama.jpg|ตโปธาราม บ่อน้ำโบราณอายุกว่า 2,500 ปี ไฟล์:Vulturepeak1.jpg|พระมูลคันธกุฎิยอดเขาคิชกูฏ เมื่อมองจากสันติสถูป.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและราชคฤห์ · ดูเพิ่มเติม »

รามเกียรติ์ (ละครโทรทัศน์)

รามเกียรติ์ (Ramayan) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 2013 กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา นำแสดงโดย กากัน มาลิค, เนหา ซากัม ออกอากาศทางช่องซีหนัง ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 19.00 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560 ปัจจุบันเปลี่ยนเวลาออกอากาศเป็นเวลา 17: 00 น. เริ่มตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรามเกียรติ์ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

รามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบ

รามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบ (Luv Kush หรือในชื่อว่า อุตตรรามายณะ) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่เริ่มต้นเรื่องราวหลังจากพระรามยกทัพสู้กับพญาทศกัณฐ์จนได้รับชัยชนะ แล้วจึงเสด็จกลับมาครองกรุงอโยธยา นำแสดงโดย อรุณ โกวิล, ทิปิกา สิกขาเรีย, ทารา สิงห์, ศุนิล ลาฮีรี, จายาศิริ กาดก้.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อช่องที่มียอดติดตามสูงสุดในยูทูบ

องที่มียอดติดตามสูงสุดในยูทูบ มีทั้งหมด 50 ช่องจากทั่วโลก นับตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 2013 ช่องที่มียอดติดตามสูงสุดคือ PewDiePie ซึ่งมีผู้ติดตาม 57 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรายชื่อช่องที่มียอดติดตามสูงสุดในยูทูบ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาของอินเดียเรียงตามจำนวนคนพูด

รายชื่อของภาษาของประเทศอินเดียที่มีผู้พูดมากกว่า 10 ล้านคน มีอยู่ด้านล่าง ภาษาอังกฤษมีชาวอินเดียพูดเป็นภาษาที่สองระหว่าง 50 และ 250 ล้านคน ข้อมูลนี้มาจากฐานข้อมูลของ Ethnologue โดยคิดเฉพาะผู้พูดเป็นภาษาแม่ ภาษาที่พูดในอินเดียส่วนใหญ่จะอยู่ในตระกูลอินโด-อารยัน (ประมาณ 74%), ดราวิเดียน (ประมาณ 24%), ออสโตรเอเชียติก (มุนดา) (ประมาณ 1.2%) หรือทิเบโต-เบอร์แมน (ประมาณ 0.6%) โดยที่มีบางภาษาของเทือกเขาหิมาลัยที่ยังไม่ได้จัดประเภท ภาษาอังกฤษ ซึ่งได้นำมาใช้ภายใต้จักรพรรดิอังกฤษ มีบทบาทสำคัญเป็น ภาษากลางที่ไม่ยึดติดกับชนพื้นเมืองใด ๆ ของอินเดียโดยเฉพาะ ก่อนหน้ายุคอาณานิคม ภาษาเปอร์เซีย มีบทบาทสำคัญเป็นภาษาของรัฐบาล การศึกษาและการค้า เนื่องจากข้อบัญญัติของผู้นำมุสลิม และยังคงเป็นภาษาคลาสสิกที่ศึกษาในโรงเรียนอินเดียหลายแห่ง จำนวนอย่างเป็นทางการของ 'ภาษาแม่' ที่พูดในอินเดีย คือ 1,683 ซึ่งจำนวนนี้มีประมาณ 850 ภาษาที่ใช้ประจำวัน ส่วน SIL Ethnologue นับภาษาที่มีชีวิตได้ 387 ภาษาในอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรายชื่อภาษาของอินเดียเรียงตามจำนวนคนพูด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอินเดีย

งในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและรายชื่อธงในประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ราเชนทระ ปรสาท

ร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและราเชนทระ ปรสาท · ดูเพิ่มเติม »

ราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดิน

ราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดิน (อังกฤษ: Razia Sultan) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นใน ..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิตแค้นแสนรัก

ลิขิตแค้นแสนรัก (Rangrasiya) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและลิขิตแค้นแสนรัก · ดูเพิ่มเติม »

ลิงค์ (ภาษาศาสตร์)

ลิงค์ (อ่านว่า ลิง) หรือ เพศทางไวยากรณ์ เป็นคำศัพท์ที่ใช้ในการแบ่งประเภทคำนามในบางตระกูลภาษา โดยเฉพาะตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เช่น ภาษากรีก ภาษาละติน ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต แม้ในภาษาสมัยใหม่ ก็ยังมีการใช้ลิงค์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี เป็นต้น ลิงค์โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 3 จำพวก คือ เพศชาย เพศหญิง และเพศกลาง ตำราไวยากรณ์ของไทย มักจะใช้ศัพท์บาลี หรือสันสกฤต ว่า ปุลลิงค์ (ปุงลิงค์), อิตถีลิงค์ (สตรีลิงค์) และนปุงสกลิงค์ ทั้งนี้ โดยทั่วไปแล้ว ลิงค์ ในทางไวยากรณ์ไม่ได้ผูกพันกับลักษณะทางเพศในเชิงชีววิทยาของสิ่งมีชีวิตแต่อย่างใด หมวดหมู่:ไวยากรณ์.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและลิงค์ (ภาษาศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

วากยสัมพันธ์

ในทางภาษาศาสตร์ วากยสัมพันธ์ (อังกฤษ: syntax) หมายถึง การศึกษาว่าด้วยกฎของความสัมพันธ์ของแบบแผนองค์ประกอบของประโยคในภาษา อันเป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ของภาษา ในภาษาไทย "วากยสัมพันธ์" เป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ไทยที่กำหนดขึ้นเป็นหนึ่งในแบบแผนหรือไวยกรณ์ของภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย 4 แบบแผนหลัก ได้แก่ อักขรวิธี ซึ่งศึกษาว่าด้วยอักษร, วจีวิภาค ศึกษาว่าด้วยคำ, วากยสัมพันธ์ ศึกษาว่าด้วยความสัมพันธ์ของคำในประโยค, และ ฉันทลักษณ์ คือ กฎเกณฑ์ของการเขียนภาษาในรูปแบบต่างๆ วากยสัมพันธ์ ยังเป็นชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยประโยค และความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค การศึกษากฎหรือความสัมพันธ์ของภาษาอย่างเป็นแบบแผน ที่ควบคุมการเรียงคำเป็นวลี และวลีเป็นปร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและวากยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาฮินดี

thumb วิกิพีเดียภาษาฮินดี เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาฮินดี เริ่มสร้างเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาฮินดีมีบทความมากกว่า 13,000 บทความ (กันยายน 2550).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและวิกิพีเดียภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

สลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้าย...อยู่ที่หัวใจ

ลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้...อยู่ที่หัวใจ (Slumdog Millionaire) เป็นภาพยนตร์อังกฤษในปี 2008 กำกับโดย แดนนี บอยล์ กำกับร่วมโดยเลิฟลีน แทนแดน และเขียนบทโดยไซมอน โบฟอย ดัดแปลงจากวรรณกรรม Q & A (2005) ของนักเขียนอินเดีย Vikas Swarup ภาพยนตร์ถ่ายทำที่อินเดีย เป็นเรื่องราวของชายหนุ่มในสลัมเมืองมุมไบ ที่แข่งขันในฮูวอนส์ทูบีอะมิลเลียนแนร์?ของอินเดีย วรรณกรรม Q & A ต้นฉบับ ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยโดย สุทัศน์ นิ่มสกุลรัตน์ ตีพิมพ์เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและสลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้าย...อยู่ที่หัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สารนาถ

รนาถ เป็นพุทธสังเวชนียสถานแห่งที่ 3 (1 ใน 4 แห่งของชาวพุทธ) ตั้งห่างจากเมืองพาราณสี เมืองศูนย์กลางทางศาสนาของศาสนาฮินดู ไปทางเหนือราวเก้ากิโลเมตร อยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน หรือ แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล เหตุที่ได้ชื่อว่าสารนาถ เนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา เริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่มหาชนทั้งหลาย และบ้างก็ว่ามาจากศัพท์ว่า สารงฺค + นาร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและสารนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สาวัตถี

วัตถี (Sāvatthī สาวัตถี; श्रावस्ती Śrāvastī ศราวัสตี; Sravasti) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกศล 1 ใน แคว้นมหาอำนาจใน 16 มหาชนบทในสมัยพุทธกาล เมืองนี้รุ่งเรืองจากการที่เป็นชุมนุมการค้าขาย การทหาร เป็นเมืองมหาอำนาจใหญ่ควบคู่กับเมืองราชคฤห์แห่งแคว้นมคธในสมัยโบราณ ปัจจุบันเมืองนี้เหลือเพียงซากโบราณสถาน คนอินเดียในปัจจุบันลืมชื่อเมืองสาวัตถี (ในภาษาบาลี) หรือ ศราวัสตี (ในภาษาสันสกฤต) ไปหมดแล้ว คงเรียกแถบตำบลที่ตั้งเมืองสาวัตถีนี้เพียงว่า สะเหถ-มะเหถ (Saheth-Maheth) ปัจจุบัน สะเหต-มะเหต ตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย เมืองสวัตถีในสมัยพุทธกาลเป็นเมืองที่ใหญ่พอกับเมืองราชคฤห์และพาราณสี เป็นเมืองศูนย์กลางการค้าขายในสมัยพุทธกาล โดยในสมัยนั้นเมืองสาวัตถีมีพระเจ้าปเสนทิโกศลปกครองร่วมสมัยกับพระเจ้าพิมพิสาร นอกจากนี้เมืองสาวัตถีนับว่าเป็นเมืองสำคัญในการเป็นฐานในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าที่สำคัญ เพราะเป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าประทับนานที่สุดถึง 25 พรรษา เป็นที่ตรัสพระสูตรมากมายและเป็นเมืองที่พระพุทธศาสนามั่นคงที่สุด เพราะมีผู้อุปถัมภ์สำคัญ เช่น พระเจ้าปเสนทิโกศล อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขา เป็นต้น สาวัตถี ปัจจุบันยังมีซากโบราณสถานที่สำคัญปรากฏร่องรอยอยู่ คือวัดเชตวันมหาวิหาร (ซึ่งพระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ถึง 19 พรรษา), บริเวณวังของพระเจ้าปเสนทิโกศล, บ้านของอนาถบิณฑิกเศรษฐี (สถูป), บ้านบิดาขององคุลีมาล (สถูป), สถานที่พระเทวทัตถูกแผ่นดินสูบ (หน้าวัดพระเชตวันมหาวิหาร), ที่แสดงยมกปาฏิหาริย์ แล้วเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อแสดงพระอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดา เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและสาวัตถี · ดูเพิ่มเติม »

สีดา ราม ศึกรักมหาลงกา

ีดา ราม ศึกรักมหาลงกา หรือ สีดาราม ศึกรักมหาลงกา (Siya Ke Ram) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา นำแสดงโดย อาชิช ชาร์มา, มาดิรักศรี มันเดิล ออกอากาศทาง ช่อง 8 ออกอากาศ ทุกวันเสาร์- อาทิตย์ เวลา 10.00 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและสีดา ราม ศึกรักมหาลงกา · ดูเพิ่มเติม »

สถิตย์ ไชยปัญญา

ตย์ ไชยปัญญา เกิดที่จังหวัดเชียงราย เป็นนักวิชาการด้านภาษาสันสกฤตและฮินดี สังกัดคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สอนเกี่ยวกับภาษาฮินดีและวรรณคดีสันสกฤต รวมถึงเป็นอาจารย์พิเศษด้านภาษาฮินดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและสถิตย์ ไชยปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สปอร์ตส์อิลลัสเตรเต็ดเทเลวิชั่นเอเชีย

ปอร์ตส์อิลลัสเตรเต็ด คือรายการกีฬาที่มีเครือข่ายในเอเชี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและสปอร์ตส์อิลลัสเตรเต็ดเทเลวิชั่นเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านปิปราห์วา

หมู่บ้านปิปราห์วา (Piprahwa Village) หมู่บ้านเล็ก ๆ ใน รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ซึ่งมีความสำคัญทางพระพุทธศาสนาเนื่องจากเป็นสถานที่ตั้งสถูปที่เคยบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของ พระพุทธเจ้า หมู่บ้านแห่งนี้เคยเป็นส่วนหนิ่งของ กรุงกบิลพัสดุ์ ที่สร้างขึ้นใหม่แทนที่เดิมที่ถูกกองทัพของ พระเจ้าวิฑูทภะ แห่ง แคว้นโกศล ทำลายจนเสียหายโดยเมื่อคราวถวายพระเพลิงพุทธสรีระได้มีการแบ่งพระบรมสารีริกธาตุออกเป็น 8 ส่วนโดย โทณพราหมณ์ ทางกรุงกบิลพัสดุ์ได้มาขอแบ่งพระบรมสารีริกธาตุพร้อมกับสร้างพระสถูปครอบผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ต่อมาในราว เดือนมกราคม พ.ศ. 2441 เจ้าของที่ดินชาวอังกฤษนามว่า W.C.Peppe ได้ขุดค้นพบสถูปและผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุโดยบังเอิญระหว่างทำการปรับแต่งหน้าดินจากนั้นจึงได้มีการบูรณะสถูปแห่งนี้พร้อมกับนำผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไปถอดภาษาอินเดียโบราณที่ อังกฤษ จนทราบว่าเป็นพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าจึงได้นำพระบรมสารีริกธาตุมาถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2443 พระองค์ทรงแบ่งพระบรมสารีริกธาตุส่วนหนึ่งไปประดิษฐานที่หอพระมณเฑียรธรรม ในพระบรมมหาราชวัง และอีกส่วนหนึ่งไปบรรจุที่พระบรมบรรพต หมวดหมู่:พระพุทธศาสนา.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและหมู่บ้านปิปราห์วา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์

หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ (Andaman and Nicobar Islands; अंडमान और निकोबार द्वीपसमूह; আন্দামান ও নিকোবর দ্বীপপুঞ্জ; அந்தமான் நிக்கோபார் தீவுகள்; అండమాన్ నికోబార్ దీవులు) เป็นหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่มีเกาะรวมกันทั้งหมด 572 เกาะ ตั้งอยู่ในบริเวณอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ในบรรดาเกาะทั้งหมดมีเพียง 38 เกาะเท่านั้นที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ราว 350,000 คน มีเนื้อที่ประมาณ 8,293 ตารางกิโลเมตร ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 92 ของพื้นที่ปกคลุมไปด้วยป่าฝนหนาทึบ โดยมีเกาะนิโคบาร์ใหญ่เป็นศูนย์กลางทางใต้ และมีเกาะอันดามันเป็นศูนย์กลางทางตอนเหนือ และเป็นที่ตั้งของเมืองพอร์ตแบลร์ซึ่งเป็นเมืองหลวงของดินแดนสหภาพ เมืองพอร์ตแบลร์ตั้งอยู่ทางด้านชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะอันดามัน และเมืองพอร์ตแบลร์อยู่ห่างจากเกาะภูเก็ตประมาณ 450 กิโลเมตร ห่างจากเมืองเจนไน 1,190 กิโลเมตร และห่างจากเมืองโกลกาตาราว 1,255 กิโลเมตร หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดีย ทางการอินเดียได้จัดให้หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์เป็นดินแดนสหภาพแห่งหนึ่ง ปัจจุบันอินเดียยังได้ให้ความสำคัญแก่หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ในฐานะจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญยิ่งของกองทัพเรืออินเดียอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

หยีน้ำ

หยีน้ำ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 15-25 เมตร ดอกสีม่วงอมชมพู รูปร่างของดอกคล้ายดอกแคแต่เล็กกว่า ผลเป็นฝักสั้นและแบน เป็นพืชตระกูลถั่ว จึงมีไรโซเบียมอยู่ในปมราก ช่วยในการตรึงไนโตรเจน เป็นพืชพื้นเมืองในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น มาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่ออื่น ๆ ได้แก่ Indian Beech, Pongam Oiltree, Karanj (ภาษาฮินดี), ಹೊಂಗೆ Honge (ภาษากันนาดา), புங்கை Pungai (ภาษาทมิฬ), కానుగ Kānuga (ภาษาเตลูกู), नक्तमाल Naktamāla (ภาษาสันสกฤต) พืชชนิดนี้ใช้ทำไบโอดีเซลในอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและหยีน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

หัสตินาปุระ

วาดท้าวยุธิษฐิระเสด็จกลับกรุงหัสตินาปุระหลังสงครามทุ่งกุรุเกษตร กรุงหัสตินาปุระ (เทวนาครี: हस्‍तिनापुर) เป็นเมืองหนึ่งในเรื่องมหาภารตะ ปัจจุบันอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ในอดีตมีกษัตริย์ปกครองหลายพระองค์ อันประกอบไปด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและหัสตินาปุระ · ดูเพิ่มเติม »

หนุมาน

1.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและหนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

อภินิหารเจ้าหญิงจันตระการตา

อภินิหารเจ้าหญิงจันตระการตา (Prem Ya Paheli – Chandrakanta) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอภินิหารเจ้าหญิงจันตระการตา · ดูเพิ่มเติม »

อวัธ

อวัธ (Awadh; अवध, اودھ) หรืออูธเป็นแคว้นที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ทางตอนเหนือของอินเดียตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำระหว่างแม่น้ำยมุนาทางตะวันตกเฉียงใต้และแม่น้ำคันทักทางตะวันออก คำว่าอวัธมาจากอโยธยางเป็นชื่อเมืองของพระราม อังกฤษเข้ามายึดแคว้นนี้ไปทีละส่วนใน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอวัธ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสินธุ

ตราประทับปรากฏอักษรสินธุ อักษรสินธุเป็นอักษรที่พบในเขตอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุซึ่งเป็นเป็นอารยธรรมแห่งแรกในเอเชียใต้ อารยธรรมนี้เจริญสูงสุดเมื่อราว 2,057 – 1,357 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งนักโบราณคดีเรียกว่ายุคฮารัปปัน บริเวณดังกล่าวรวมดินแดนของประเทศปากีสถานเกือบทั้งหมด บางส่วนของอินเดียไปจนถึงเดลฮีทางตะวันออก, บอมเบย์ทางใต้ และบางส่วนของอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอักษรสินธุ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคุรมุขี

อักษรคุรมุขี หรือ อักษรกูร์มูคี หรือ อักษรเกอร์มุกห์ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาปัญจาบ ประดิษฐ์โดยคุรุนานักเทพ คุรุคนแรกของศาสนาซิกข์ และเผยแพร่โดยคุรุอังกัตเทพ คุรุคนที่ 2 เมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอักษรคุรมุขี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเทวนาครี

อักษรเทวนาครี (देवनागरी อ่านว่า เท-วะ-นา-คะ-รี; Devanagari) พัฒนามาจากอักษรพราหมีในราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 ใช้เขียนภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษามราฐี ภาษาบาลี ภาษาสินธี ภาษาเนปาล และภาษาอื่นๆในประเทศอินเดีย อักษรเทวนาครีมีลักษณะการเขียนจากซ้ายไปขวา มีเส้นเล็กๆ อยู่เหนือตัวอักษร หากเขียนต่อกัน จะเป็นเส้นยาวคล้ายเส้นบรรทัด มีการแยกพยัญชนะ สระ และเครื่องหมายต่าง.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอักษรเทวนาครี · ดูเพิ่มเติม »

อัลลอฮาบาด

อัลลอฮาบาด (Allahabad; ภาษาฮินดี: इलाहाबाद; ภาษาอูรดู: الہ آباد) เป็นเมืองใหญ่เมืองหนึ่งในรัฐอุตตรประเทศ และมีความสำคัญทางศาสนาฮินดูเพราะเป็นจุดที่แม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ทั้งสามสายคือ แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา และแม่น้ำสรัสวดีมาบรรจบกันซึ่งเรียกว่าจุฬาตรีคูณ แต่เดิมเมืองนี้ชื่อเมืองประยาค พบศิลาจารึกสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชเกี่ยวกับคำสอนทางพุทธศาสนา ในสมัยพระเจ้าสมุทรคุปต์ได้บันทึกเพิ่มเติมในด้านที่ว่างอยู่เกี่ยวกับการขยายอำนาจของพระองค์ ต่อมาใน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอัลลอฮาบาด · ดูเพิ่มเติม »

อัห์มดาบาด

อัห์มดาบาด (Ahmedabad) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและอดีตเมืองหลวงของรัฐคุชราต ประเทศอินเดีย เมืองก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอัห์มดาบาด · ดูเพิ่มเติม »

อัคบาร์ จอมจักรพรรดิอินเดีย

อัคบาร์ จอมจักรพรรดิอินเดีย (Jodha Akbar) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงพระราชประวัติของพระเจ้าอัคบาร์มหาราช นำแสดงโดย ราจาต โทกัส, พาริดฮี ชาร์มา ออกอากาศทางช่อง มงคลแชนแนล แทนละครโทรทัศน์เรื่อง นาคิน ที่อวสานลงไป ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้กล่าวถึงเรื่องราวของพระเจ้าอัคบาร์มหาราช จอมจักรพรรดิแห่งอินเดีย ว่าจะได้สมหวังในรักแท้ ระหว่างพระองค์กับหญิงนอกศาสนาหรือไม่ ออกอากาศ ทุกวันจันทร์-ศุกร์ 2 ช่วงเวลา 6.00-6.30น.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอัคบาร์ จอมจักรพรรดิอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อัคระ

อัคระ (आगरा Āgrā, آگرہ, Agra) อดีตเมืองหลวงของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "ฮินดูสถาน" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในรัฐอุตตรประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลัคเนา (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐอุตตรประเทศไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง และ ทางทิศใต้ของกรุงนิวเดลี เมืองอัคระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ. 2010) ถือเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในรัฐอุตตรประเทศ และอันดับที่ 19 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอัคระ · ดูเพิ่มเติม »

อังคั่น

อังคั่น เป็นชื่อเรียกรวมของเครื่องหมายวรรคตอนโบราณ แบ่งเป็นอังคั่นเดี่ยวและอังคั่นคู่ อังคั่นเดี่ยว หรือ คั่นเดี่ยว หรือ ขั้นเดี่ยว (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ ใช้เมื่อจบบท ตอน หรือเรื่อง ทั้งคำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว ใช้สัญลักษณ์เดียวกันกับไปยาลน้อย ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น อังคั่นคู่ หรือ คั่นคู่ หรือ ขั้นคู่ (๚) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนปรากฏในหนังสือไทยโบราณ ใช้ในบทกวีต่างๆ โดยมีไว้ใช้จบตอน นอกจากนี้ยังมีการใช้อังคั่นคู่กับเครื่องหมายอื่น ได้แก่ อังคั่นวิสรรชนีย์ (ฯะ, ๚ะ) ใช้เมื่อจบบทกวี และ อังคั่นวิสรรชนีย์โคมูตร (๚ะ๛) ใช้จบบริบูรณ์ อังคั่นคู่ไม่มีปรากฏบนแป้นพิมพ์ภาษาไทย แต่มีอยู่ในรหัสอักขระ TIS 620 ที่ 0xFA (250) และรหัสยูนิโคดที่ U+0E5A.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอังคั่น · ดูเพิ่มเติม »

อาศีษ ศรรมา

อาศีษ ศรรมา (Ashish Sharma) เป็นนักแสดงชายชาวอินเดีย มีชื่อเสียงโด่งดังจากบท พระราม จากซีรีส์เรื่อง สีดา ราม ศึกรักมหาลงกา บทรุทระ ประตาป ราณาวัต จากซีรีส์เรื่อง ลิขิตแค้นแสนรัก และบทบาท พระเจ้าวัลลภ ในซีรีส์เรื่อง วัลลภ มหากษัตริย์ชาตินักร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอาศีษ ศรรมา · ดูเพิ่มเติม »

อาจาด

อาจาดที่เคียงอยู่ในชุดอาหารอินโดนีเซีย อาจาด เป็นน้ำจิ้มชนิดหนึ่ง ทำจากน้ำส้มสายชูหรือน้ำกระเทียมดอง เพิ่มน้ำตาลและเกลือเล็กน้อย (บางตำรับใช้น้ำเชื่อม) มาตั้งไฟเคี่ยวจนมีลักษณะเหนียวหรือข้น มีแตงกวา หอมแดง พริกชี้ฟ้า หั่นเป็นชิ้น ๆ อยู่ด้วย รับประทานเคียงอาหารจำพวกสะเต๊ะและแกงกะหรี่เพื่อแก้เลี่ยน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอาจาด · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมสิงคโปร์

อาณานิคมสิงคโปร์ หมายถึง ประวัติศาสตร์สิงคโปร์หลังปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอาณานิคมสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุบัติรัก นิรันดร

อุบัติรัก นิรันดร (อังกฤษ: Tumhari Paakhi) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นใน ค.ศ. 2014 นำแสดงโดย ชรัทธา อารยา, โมฮัมหมัด อิกบาล ข่าน ออกอากาศทางช่อง ไลฟ์ โอเค (Life OK) ในอินเดีย ส่วนในไทย จะออกอากาศที่ช่องไบร์ททีวี ต่อจากละครเรื่อง ทุรคา มหาเทวี และเมื่อละครเรื่องนี้จบลง ละครเรื่องต่อไปที่ออกอากาศคือ ราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดิน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอุบัติรัก นิรันดร · ดูเพิ่มเติม »

อีร์ฟาน ข่าน

อีร์ฟาน ข่าน (Irfan Khan) เป็นนักแสดงชาวอินเดีย จบการศึกษาจาก National School of Drama ในนิวเดลี ประเทศอินเดีย เขาแจ้งเกิดเปิดตัวด้วยฉากสั้น ๆ แต่ติดตาตรึงใจใน Salaam Bombay! ของมิร่า แนร์ เมื่อปี 1988 เขากลายเป็นดาราดังของอินเดียด้วยบทนำใน Banegi Apni Baat ละครชุดเฮฮาที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ภาพลักษณ์ของคาห์นที่โดดเด่นไม่เหมือนใครนี่เองที่ส่งให้เขาได้รับบทนำแสดงใน Maqbool ซึ่งดัดแปลง “แม็คเบ็ธ” ของวิลเลียม เชกสเปียร์ ให้เข้ากับโลกใต้ดินของบอมเบย์ เพื่อเข้าถึงผู้ชมอินเดียและประสบความสำเร็จอย่างสูงเมื่อปี 2003 เขายังรับบทเด่นเข้าชิงรางวัลจาก Hassil โดยรับบทเป็นผู้นำนักศึกษาที่ปลุกปั่นพลังมวลชนได้อยู่หมัดและเข้าไปพัวพันกับเรื่องราวความรัก ซึ่งก็เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง บทบาทที่ท้าทายความสามารถของคาห์นอยู่ใน THE WARRIOR ของเอสิฟ คาพาเดีย ผู้กำกับชาวอังกฤษที่สร้างสรรค์ผลงานดราม่าภาษาฮินดี และได้รับรางวัลบาฟต้า สาขา Best British Film เมื่อปี 2003 โดนคาห์นรับบทนำแสดงเป็นชายที่แปรสภาพจากผู้ล่ามาเป็นเหยื่อเมื่อละทิ้งชีวิตที่เต็มไปด้วยความรุนแรงตัดขาดจากการรับใช้เทพผู้นิยมการเข่นฆ่าอย่างทารุณโหดร้าย คาห์นมีผลงานนำแสดงใน The Namesake หรือ หนึ่งดวงใ...สองสายเลือด ของมิร่า แนร์ The Darjeeling Limited ของผู้กำกับเวส แอนเดอร์สัน และ Slumdog Millionaire กำกับโดย แดนนี บอยล์ ได้รับรางวัลนักแสดงยอดเยี่ยม Screen Actors Guild Awards นอกจากนี้ยังร่วมแสดงใน New Rork, I Love You ภาพยนตร์ภาคต่อของ Paris, je t'aime.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอีร์ฟาน ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวเบงกอล

แผนที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งอ่าวเบงกอล เรือประมงในอ่าวเบงกอล เกาะเซนต์มาร์ติน อ่าวเบงกอล ชายหาดมารีนา เจนไน อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) เป็นอ่าวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย มีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยมล้อมรอบด้วยประเทศอินเดียและศรีลังกาทางด้านตะวันตก บังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดียทางด้านเหนือ (ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ) และประเทศพม่า ภาคใต้ของประเทศไทย หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ทางด้านตะวันออก อาณาเขตด้านใต้แผ่ถึงเส้นเขตจินตนาการที่ลากจากดอนดราเฮดตอนใต้ของศรีลังกาไปถึงปลายด้านเหนือของเกาะสุมาตรา อ่าวเบงกอลมีเนื้อที่ 2,172,000 กม² มีแม่น้ำสำคัญหลายสายไหลมาลงทะเล เช่น แม่น้ำคงคา แม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำอิรวดี แม่น้ำโคทาวรี แม่น้ำมหานที แม่น้ำกฤษณา และแม่น้ำกาเวรี เมืองท่าสำคัญของอ่าวเบงกอล ได้แก่ กัททะลูร์ เจนไน กากีนาทะ มะจิลีปัตนัม วิศาขปัตนัม พาราทิพ โกลกาตา จิตตะกอง และย่างกุ้ง.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอ่าวเบงกอล · ดูเพิ่มเติม »

อโยธยา

อโยธยา (เทวนาครี: अयोध्या, อูรดู: ایودھیا) เป็นเมืองเก่าแก่ในประเทศอินเดีย อยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ชาวฮินดูเชื่อว่าพระรามเคยครองราชย์ที่เมืองนี้ อโยธยาตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำสรยุ ทุกปีในเดือนพฤศจิกายนซึ่งเป็นเดือนประสูติของพระรามและเดือนธันวาคมซึ่งเป็นเดือนที่พระรามอภิเษกกับนางสีดาจะมีชาวฮินดูมาแสวงบุญที่อโยธยา ตามความเชื่อของชาวฮินดู อโยธยาเป็นสถานที่ประสูติของพระราม ในปีพ.ศ. 2535 เกิดเหตุจลาจลขึ้น โดยชาวฮินดูได้บุกเข้าทำลายมัสยิดในเมืองอโยธยา ซึ่งตั้งอยู่บนสถานที่ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสถานที่ประสูติของพระราม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอโยธยา · ดูเพิ่มเติม »

อโศกมหาราช (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2558)

อโศกมหาราช (Chakravartin Ashoka Samrat) ละครโทรทัศน์อินเดียฟอร์มยักษ์แนวพีเรียดอิงประวัติศาสตร์ที่นำเสนอพระราชประวัติของ พระเจ้าอโศกมหาราช จักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่แห่ง ราชวงศ์เมารยะ ออกอากาศระหว่างวันที่ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและอโศกมหาราช (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2558) · ดูเพิ่มเติม »

ฮูส์คอลล์

Whoscall แอปพลิเคชันสมาร์ตโฟนสัญชาติไต้หวัน โดย บริษัท Gogolook ที่สามารถบอกผู้ใช้งานได้ถึง เจ้าของสายเรียกเข้าทางโทรศัพท์ ซึ่งสามารถทำให้ผู้ใช้งาน เลือกรับสายที่ต้องการรับและไม่ต้องการรับได้ รวมไปถึงการค้นหาเบอร์แบบออฟไลน์และการบล็อกเบอร์โทรเข้า สามารถดาวน์โหลดได้ทั้งในระบบปฏิบัติการ Android, iOS และ Windows Phone ซึ่งมีภาษาให้เลือกถึง 10 ภาษาในแต่ละประเทศ ทั้งนี้ การทำงานของ Whoscall นั้น เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ขึ้นอยู่กับความเร็วและเสถียรภาพของอินเทอร์เน็ต และเครื่อข่ายของประเทศนั้นๆด้วย Whoscall ได้รับเลือกจาก Google Play ให้เป็น Best Apps ของปี 2013 ใน 8 ประเทศของเอเชีย คำว่า Whoscall นั้น ย่อมาจาก “ Who is calling ?” หรือในภาษาไทยที่แปลว่า “ใครโทรมานะ?” มีให้ดาวน์โหลดแล้ว ฟรี ใน 31 ประเทศ รวมถึง ประเทศ ไต้หวัน, เกาหลีใต้, ฮ่องกง, ญี่ปุ่น, ไทย, และ บราซิล.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและฮูส์คอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

จัณฑีครห์

ัณฑีครห์ (Chandigarh) เป็นเมืองหลวงของสองรัฐคือรัฐปัญจาบและรัฐหรยาณา ชื่อของเมืองแปลว่าปราสาทของจัณฑี ซึ่งเป็นเทวีในศาสนาฮินดู สาเหตุที่ทำให้จัณฑีครห์กลายเป็นเมืองหลวงของสองรัฐพร้อมกัน เนื่องจากการที่อินเดียได้รับการปลดปล่อยจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและจัณฑีครห์ · ดูเพิ่มเติม »

จันทรคุปต์ ศึกรักชิงบัลลังก์

ันทรคุปต์ ศึกรักชิงบัลลังก์ (Chandra Nandini) เป็นละครโทรทัศน์ภาษาฮินดี ออกอากาศครั้งแรกทางช่อง Star Plus ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและจันทรคุปต์ ศึกรักชิงบัลลังก์ · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์

''Pterocarpus santalinus'' จันทน์ (Sandalwood) เป็นชื่อของไม้หอมหลายชนิด ชื่อมาจากภาษาสันสกฤต “candanam” ที่มาจากภาษากรีก “sandanon” ชื่อในภาษาต่าง ๆ ก็ได้แก่: ถ้ากล่าวถึงตามความหมายที่แท้จริงแล้วก็จะเป็นไม้ต้นที่มาจากสกุล Santalum ของวงศ์ย่านตีเมียที่ใช้เพราะเป็นไม้ที่มีน้ำมันหอม (essential oil) ไม้ชนิดนี้มีสีเหลือง หนัก และมีลายละเอียด (fine-grained) จันทน์เป็นไม้เห็นคุณค่าของกลิ่นหอมและคุณสมบัติว่าเป็นยามาเป็นเวลาหลายพันปี บางครั้งไม้ชนิดอื่นที่มีน้ำมันหอมแต่คนละตระกูลก็เรียกว่า “จันทน์” ด้วย จันทน์เป็นไม้ที่มีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและอเมริกาใต้และแคริบเบียน น้ำมันที่ได้จากจันทน์กลั่นที่ประเทศเฮต.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จามรี

มรี (Yak, Grunting ox; як; 犛牛; พินอิน: Máoniú; มองโกล: Сарлаг; ฮินดี: याक) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์วัวและควาย (Bovidae).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและจามรี · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง สารพัดนึก

ร.จำลอง สารพัดนึก ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จำลอง สารพัดนึก เกิดเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและจำลอง สารพัดนึก · ดูเพิ่มเติม »

จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและจิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วดาล

ลมาซูร์ ทำจากถั่วเลนทิลแดง.http://www.sinfulcurry.com/simple-masoor-dal-indian-lentils-recipe/ Simple Masoor Dal – Indian Lentils Recipe ดาล มขานี อาหารของชาวปัญจาบ ดาล (दाल Dāl, दाल Daal, ডাল Dāl, ಬೇಳೆ Bēḷe, दाळ, Dāl, -ml Parippu, डाळ Ḍāḷ, ଡାଲି Daali, பருப்பு Paruppu, పప్పు Pappu, Dāl, دال, ภาษาคุชราต: દાળ) เป็นคำที่ชาวอินเดียใช้เรียกถั่วกระเทาะซีก ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในอาหารอินเดีย คำว่าดาล มาจากภาษาสันสกฤตแปลว่าแยกออก ดาลเป็นการเตรียมอาหารจากถั่วแห้ง ซึ่งเอาเปลือกชั้นนอกออกและยังหมายถึงสตูว์เนื้อสัตว์ที่ใช้ดาลเป็นส่วนประกอบสำคัญ พบในอาหารอินเดีย อาหารเนปาล อาหารปากีสถาน อาหารศรีลังกาและอาหารบังคลาเทศ นิยมกินกับข้าวและผักในภาคใต้ของประเทศอินเดียและนิยมกินกับข้าวและโรตีทางภาคเหนือของอินเดียและปากีสถาน ดาลเป็นแหล่งของโปรตีนสำหรับอาหารที่มีเนื้อน้อยหรือไม่มีเลย ดาลในอาหารศรีลังกาคล้ายกับอาหารอินเดียใต้ ในอินเดียใต้ นิยมใช้ดาลทำอาหารที่เรียกว่า sambar Dal ซึ่งเป็นต้มยำของเม็ดถั่วแดงและผักสุกกับมะขามและผักบางชนิด กินกับข้าว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและถั่วดาล · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายธาร์

ทะเลทรายธาร์ (ฮินดี:थर मरुस्थल, صحراےَ تھر.; Thar Desert) หรือเรียกอีกชื่อว่า ทะเลทรายเกรตอินเดียน (Great Indian Desert) เป็นทะเลทรายขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอินเดียและปากีสถาน มีพื้นที่มากกว่า 200,000 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและทะเลทรายธาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัชมาฮาล

ทัชมาฮาล (ภาษาฮินดี: ताजमहल, ตาช มฮัล รากศัพท์เดิมมาจากภาษาอาหรับ ตาจญ์ (มงกุฎ) และ มะฮัล (สถาน) (ภาษาอาหรับ: تاج محل) เป็นอนุสรณ์สถาน ตั้งอยู่ในเมืองอัครา ประเทศอินเดีย นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและทัชมาฮาล · ดูเพิ่มเติม »

ทีปิกา ปาทุโกณ

ทีปิกา ปาทุโกณ (दीपिका पादुकोण; Deepika Padukone) เกิดวันที่ 5 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและทีปิกา ปาทุโกณ · ดูเพิ่มเติม »

ฑีโน โมริยา

ฑีโน โมริยา (ฮินดี:डीनो मोरिया) เกิดเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2518 นักแสดงภาพยนตร์บอลลีวูดลูกครึ่งอินเดีย-อิตาลี และฑีโน ได้รับบทเป็นนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์เรื่องโอม ศานติ โอมอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและฑีโน โมริยา · ดูเพิ่มเติม »

ดาบทะลุฟ้า ฟัดทะลุเวลา

ทะลุฟ้า ฟัดทะลุเวลา (神話; The Myth) เป็นภาพยนตร์กำลังภายในที่ออกฉายในปี ค.ศ. 2005 ดำเนินงานสร้างโดยเฉินหลง นำแสดงโดยเฉินหลง, เหลียง เจียฮุย, คิม ฮี ซอน, มัลลิกา เซราวัต.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและดาบทะลุฟ้า ฟัดทะลุเวลา · ดูเพิ่มเติม »

ดามันและดีอู

มันและดีอู (દમણ અને દીવ, Damão e Diu) เป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐคุชราต รัฐมหาราษฏระ และดาดราและนครหเวลี เดิมเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส ถูกรวมเข้ากับอินเดียโดยการใช้กำลังทางทหารเมื่อ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและดามันและดีอู · ดูเพิ่มเติม »

ดาดราและนครหเวลี

ราและนครหเวลี (દાદરા અને નગર હવેલી, दादरा आणि नगर हवेली, दादर और नगर हवेली) ดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย เป็นเขตการปกครองที่มีดินแดนส่วนแยกเป็นสองส่วนคือดาดรา และนครหเวลี ซึ่งนครหเวลีถือเป็นดินแดนส่วนใหญ่ที่ถูกโอบล้อมโดยรัฐมหาราษฏระกับรัฐคุชราต ส่วนดาดราเป็นเขตขนาดเล็กที่อยู่ทางตอนเหนือของนครหเวลี เป็นดินแดนส่วนแยกถูกโอบล้อมโดยพื้นที่ของรัฐคุชราตทั้งหมด บางส่วนของพื้นที่ห่างจากเมืองดามันประมาณ 10-30 กิโลเมตร มีเมืองเอกคือ เมืองสิลวั.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและดาดราและนครหเวลี · ดูเพิ่มเติม »

ดิวโอลิงโก

วโอลิงโก (Duolingo) เป็นโปรแกรมเรียนภาษาฟรีที่ใช้ปัญหาเป็นการหาคำตอบเป็นหลัก การให้บริการของโปรแกรมนี้ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้ทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทสำเร็จ ในขณะเดียวกันก็ช่วยแปลเว็บไซต์และเอกสารอื่น ๆ ไปด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ดิวโอลิงโกได้ให้บริการการเรียนภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษาอิตาลี, ภาษาดัตช์, ภาษาไอริช, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาสวีเดนสำหรับผู้ใช้ที่พูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, โปรตุเกส, อิตาลี, กรีก, ดัตช์, รัสเซีย, โปแลนด์, ตุรกี, ฮังการี, โรมาเนีย, ญี่ปุ่น, ฮินดี, อินโดนีเซีย, เกาหลี และเช็ก และยังมีคู่ภาษาอื่น ๆ อีกมากมาย สามารถใช้ได้บนเว็บ, ไอโอเอส, แอนดรอยด์ และวินโดวส์โฟน 8.1 ดิวโอลิงโกได้เริ่มต้นทดสอบระบบครั้งแรกเฉพาะเจ้าหน้าที่ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และมียอดผู้ใช้ที่รอคอยมากกว่า 300,000 คน ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ดิวโอลิงโกได้เปิดตัวสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ในปี 2557 แอปเปิลได้เลือกให้ดิวโอลิงโกเป็นแอปพลิเคชันประจำปี เป็นครั้งแรกที่รางวัลนี้ได้ถูกมอบแก่แอปพลิเคชันทางการศึกษา ดิวโอลิงโกชนะการประกวดแอปพลิเคชันใหม่ที่ดีที่สุดในงาน 2014 Crunchies, และเป็นแอปพลิเคชันทางการศึกษาที่มียอดดาวน์โหลดสูงที่สุดในกูเกิลเพลย์ ปี 2556 และ 2557 ในเดือนมกราคม 2557 ดิวโอลิงโกมียอดผู้ใช้งานรวม 60 ล้านคน ซึ่งมี 20 ล้านคนที่ยังคงใช้งานอยู.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและดิวโอลิงโก · ดูเพิ่มเติม »

ดูม (ภาพยนตร์อินเดีย)

ูม ภาค 1 (ภาษาฮินดี:धूम; ภาษาอูรดู:دھوم; ภาษาอังกฤษ:Blast) เป็นภาพยนตร์ของบอลลีวู้ด ฉายเมื่อ วันที่ 27 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและดูม (ภาพยนตร์อินเดีย) · ดูเพิ่มเติม »

ควาลิยัร

วาลิยัร (Gwalior) เป็นเมืองประวัติศาสตร์และเมืองสำคัญในรัฐมัธยประเทศ ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางใต้ของกรุงเดลี เมืองหลวงของประเทศ เป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ของอินเดีย ตั้งแต่ยุคพระเวทไปจนถึงช่วงกบฏอินเดีย (Indian Rebellion 1857) และบริติชราช บริเวณเก่าของเมืองมีโบราณสถานซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงามสมัยจักรวรรดิ รวมทั้งมีป้อมปราการควาลิยัรที่มีชื่อเสียงตั้งอยู่บนหน้าผาหินทรายสูง 91 เมตร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและควาลิยัร · ดูเพิ่มเติม »

คาจาล เจน

ล เจน (Kajal Jain) เป็นนักแสดงหญิงและเป็นนางแบบชาวอินเดีย เธอมีผลงานเด่นคือภาพยนตร์เรื่อง Yaar Annmulle(2011) แสดงคู่กับ อารยา บับบาร์ และ ยุวราช ฮันส์ แต่ในประเทศไทย เธอโด่งดังจากการแสดงละครเรื่อง พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก ในบทบาท พระนางยโสธรา แสดงคู่กับ ฮีมานซู โซน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและคาจาล เจน · ดูเพิ่มเติม »

คู่กวนรวนหัวใจรัก

คู่กวนรวนหัวใจรัก (बंटी और बबली, بنٹی اور ببلی) เป็นภาพยนตร์ของบอลลีวูด ตัวละครเอกของเรื่อง คือ บันตี้และบัฟลี่ บันตี้เป็นผู้ชาย เดิมชื่อ ราเกซ บัฟลี่เป็นผู้หญิง เดิมชื่อ วิมมี่ ทั้งบันตี้และบัฟลี่ได้หลอกเงินคนทั่วประเทศอินเดีย สุดท้ายก็ถูกนายตำรวจ ดาชราช จับได้ สุดท้ายก็ต้องนำเงินที่หลอกเขามาไปคืนแก่เจ้าของ ภาพยนตร์ เรื่องนี้นำแสดงโดย อภิเษก พัจจัน, รานี มุคาจี, ไอศวรรยา ราย และอมิตาภ พัจจัน หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2548 หมวดหมู่:ภาพยนตร์อินเดีย หมวดหมู่:ภาพยนตร์ตลก หมวดหมู่:ภาพยนตร์ภาษาฮินดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและคู่กวนรวนหัวใจรัก · ดูเพิ่มเติม »

งูแมวเซาอินเดีย

งูแมวเซาอินเดีย หรือ งูพิษรัสเซลล์ (botSomaweera A. 2007. Checklist of the Snakes of Sri Lanka. Peradeniya, Sri Lanka: Department of Zoology, Faculty of Science, University of Peradeniya. at. Retrieved 14 March 2007., Russell's viper at. Retrieved 20 October 2006.) งูพิษชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในทวีปเอเชียในหลากหลายประเทศ จัดเป็นงูเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Daboia ในวงศ์ Viperidae โดยถูกตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่แพทริก รัสเซลล์ นักฟิสิกส์และธรรมชาติวิทยาชาวสกอต และชื่อสกุล Daboia มาจากภาษาฮินดีที่มีความหมายถึง "ซ่อนลวดลาย" หรือ "ผู้แฝงตัว"Weiner ESC, Simpson JA, Editors.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและงูแมวเซาอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอินเดีย

ตราแผ่นดินของอินเดีย เริ่มใช้เมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและตราแผ่นดินของอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศและดินแดนต่างๆในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ตะโขงอินเดีย

ตะโขงอินเดีย หรือ กาเรียล (Gharial, Indian gavial, Gavial; ฮินดี: घऱियाल; มราฐี: सुसर Susar) เป็นสมาชิกเพียงไม่กี่ชนิดที่เหลืออยู่ของวงศ์ตะโขง (Gavialidae) ซึ่งเป็นกลุ่มของจระเข้ที่มีปากแหลมเรียวยาว ตะโขงอินเดียได้รับการจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกคุกคามอยู่ในขั้นวิกฤตโดย IUCNChoudhury, B.C., Singh, L.A.K., Rao, R.J., Basu, D., Sharma, R.K., Hussain, S.A., Andrews, H.V., Whitaker, N., Whitaker, R., Lenin, J., Maskey, T., Cadi, A., Rashid, S.M.A., Choudhury, A.A., Dahal, B., Win Ko Ko, U., Thorbjarnarson, J & Ross, J.P. (2007) Gavialis gangeticus. In: IUCN 2010.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและตะโขงอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ซันไก

ซันไก (Sangai) เป็นละองละมั่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นที่พบในรัฐมณีปุระ ประเทศอินเดีย ที่เดียวเท่านั้น ซันไก ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกโดยนายทหารชาวอังกฤษ คือ ร้อยตรีเพอร์ซี เอลด์ (Percy Eld) ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและซันไก · ดูเพิ่มเติม »

ซาราห์ ไบรท์แมน

ซาราห์ ไบรท์แมน เป็นนักร้องเสียงโซปราโน นักแสดง นักแต่งเพลง และนักเต้นชาวอังกฤษ มีความสามารถในการร้องเพลงหลายภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส ละติน เยอรมัน อิตาลี รัสเซีย ฮินดี และแมนดาริน เป็นนักร้องเสียงโซปราโนที่มียอดขายผลงานมากที่สุด ถึง 30 ล้านอัลบัม และ2 ล้านแผ่นดีวีดี ไบรท์แมนมีชื่อเสียงจากบทบาท "คริสทีน" จากละครเพลง เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า ฉบับปี 1984 ของแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ ที่เขาเขียนบทบาทนี้เป็นพิเศษสำหรับเธอ เวบเบอร์ถึงกับปฏิเสธไม่ยินยอมให้ละครเพลงเรื่องนี้ไปจัดแสดงที่โรงละครบรอดเวย์ หากไบร์ทแมนไม่ได้รับบทคริสทีน ไบร์ทแมนพบกับแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและซาราห์ ไบรท์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอ็นบีซี

200pxคอนซูเมอร์ นิวส์ แอนด์ บิสซิเนส แชนแนล (Consumer News and Business Channel) หรือ ซีเอ็นบีซี (CNBC) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิลที่เสนอข่าวสารเกี่ยวกับตลาดหุ้นทั่วโลก ตลอด 24 ชั่วโมง สังกัด บรรษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2532 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองรัฐนิวเจอร์ซีย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันซีเอ็นบีซีบริหารงานโดย เอ็นบีซียูนิเวอร์แซล ในเครือของสถานีโทรทัศน์เอ็นบีซี ของสหรัฐอเมริกา สำหรับสถานีโทรทัศน์ซีเอ็นบีซีในประเทศไทยนั้นสามารถรับชมผ่าน ทรูวิชั่นส์ ช่อง 73 ระบบดิจิตอล และช่อง 44 ในระบบอนาล็อก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและซีเอ็นบีซี · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินฮิจเราะห์

ปฏิทินฮิจเราะห์ หรือ ปฏิทินอิสลาม หรือ ปฏิทินมุสลิม (อังกฤษ: Islamic calendar) เป็นระบบปฏิทินจันทรคติ ซึ่งประกอบด้วย 12 เดือนทางจันทรคติ ซึ่งในหนึ่งปีจะมี 354 หรือ 355 วัน ใช้กำหนดวันเหตุการณ์ในหลายประเทศมุสลิม (ควบคู่ไปกับปฏิทินเกรโกเรียน) และใช้โดยมุสลิมทั่วโลกเพื่อกำหนดวันที่เหมาะสมในการเฉลิมฉลองวันสำคัญและเทศกาลในศาสนาอิสลาม ปฏิทินฮิจเราะห์เริ่มนับเมื่อศาสดาแห่งอิสลาม นบีมุฮัมมัดอพยพจากมักกะฮ์ไปยังมะดีนะฮ์ หรือที่รู้จักกันว่า hijra, hijrah ในภาษาอังกฤษ ฮิจเราะห์ศักราชจะถูกระบุโดยใช้ตัวย่อ H หรือ AH อันเป็นตัวย่อของวลีภาษาละติน anno Hegirae (ในปีแห่งฮิจเราะห์) ปัจจุบันอยู่ในฮิจเราะห์ศักราช เนื่องจากปฏิทินฮิจเราะห์เป็นปฏิทินจันทรคติ จึงไม่เกิดขึ้นพร้อมกับฤดูกาล โดยในแต่ละปีมีวันคาดเคลื่อนไปจากปฏิทินเกรโกเรียนอยู่ 11 หรือ 12 วัน ทำให้ฤดูกาลจะกลับมาซ้ำเดิมทุก 33 ปีอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและปฏิทินฮิจเราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปัฏนา

ปัฏนา (อังกฤษ: Paṭnā ฮินดี: पटना) (ชื่ออื่น: ปาตลีบุตร, ปาฏลีบุตร, ปัตนะ, มคธ) เป็นเมืองหลวงของรัฐพิหาร รัฐหนึ่งในประเทศอินเดีย ปัฏนาเป็นเมืองเก่าแก่ที่ยังมีผู้อาศัยอยู่ต่อเนื่องยาวนานที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเมื่อ 2,500 ปีก่อน ในสมัยพุทธกาล เมืองแห่งนี้เป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆ ในแคว้นมคธ ที่ตั้งโดยพระเจ้าอชาตศัตรู เพื่อเป็นเมืองหน้าด่านสำหรับการเตรียมทำสงครามกับแคว้นวัชชี หลังจากพุทธกาล เมืองนี้มีความสำคัญ เพราะได้กลายเป็นเมืองหลวงของแคว้นมคธและมีพระมหากษัตริย์ดำรงตำแหน่งพระจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของอินเดีย คือพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งราชวงศ์เมารยะ ผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาให้รุ่งเรือง ทรงอุปถัมภ์การทำตติยสังคายนา ณ อโศการาม โดยให้เมืองปัฏนา (หรือปาตลีบุตร ตามที่เรียกกันในสมัยนั้น) เป็นศูนย์กลางในการส่งสมณทูตออกเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนอื่นๆ ทั่วโลก ซึ่งรวมถึงสุวรรณภูมิ ปัจจุบัน เมืองแห่งนี้ยังคงเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของรัฐพิหาร (แคว้นมคธในสมัยโบราณ) มีพื้นที่เมืองประมาณ 25 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากกว่า 1 ล้าน 8 แสนคน โดยประมาณ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและปัฏนา · ดูเพิ่มเติม »

ปาฏิหาริย์วิญญาณรักเหนือโลก

ปาฏิหาริย์ วิญญาณรัก เหนือโลก (ฮินดี:पहेली, อูรดู:پہیلی,อังกฤษ:Riddle) เป็นภาพยนตร์ของ บอลลีวู้ด ที่ฉายเมื่อ วันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและปาฏิหาริย์วิญญาณรักเหนือโลก · ดูเพิ่มเติม »

ปานีร์

ปานีร์ (Paneer;ਪਨੀਰ; ภาษาฮินดี และภาษาเนปาลี पनीर panīr; Պանիր panir; پنير; پەنییر penîr; پنير panir; peynir) เป็นชีสสดชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมแพร่หลายในอินเดียภาคเหนือและภาคตะวันออก โดยในอินเดียภาคเหนือเรียกเชนะ เป็นที่นิยมในหมู่ผู้รับประทานมังสวิรัตน์เพราะไม่ใช้เอนไซม์จากตับลูกวัวมาช่วยในการแข็งตัว แต่ใช้น้ำมะนาว น้ำส้มหรือหางนมจากการทำปานีร์ครั้งก่อนหน้าใส่ลงในนมที่ต้มจนเดือดแล้วคนไปในทางเดียวกัน นมจะตกตะกอนเป็นก้อน เมื่อบีบน้ำออกและกดทับให้แข็ง จะได้ปานีร์ ในอินเดียใช้ปานีร์ทำอาหารได้หลายอย่าง เช่น แกงใส่ถั่วลันเตา แกงใส่ผักปวยเล้ง รัสมาลัย ปานีร์ย่างหรือข้าวหมกปานีร์ เป็นต้น คำว่าปานีร์มีต้นกำเนิดมาจากภาษาเปอร์เซีย คำใน ภาษาดุรกี peynir คำใน ภาษาเปอร์เซีย panir คำใน ภาษาอาเซอร์ไบจาน panir, และคำใน ภาษาอาร์เมเนีย panir (պանիր) ล้วนมาจากคำว่า "paneer" ซึ่งหมายถึงเนยชนิดหนึ่ง จุดกำเนิดของปานีร์ยังเป็นที่โต้เถียง ทั้งอินเดียในยุคพระเวท ชาวอัฟกัน ชาวอิหร่าน ชาวเบงกอล และชาวอินเดียเชื้อสายโปรตุเก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและปานีร์ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียนไทย

thumb thumb นกกระเรียนไทย หรือ นกกระเรียน (sarus crane) เป็นนกขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่นกอพยพ พบในบางพื้นที่ของอนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศออสเตรเลีย เป็นนกบินได้ที่สูงที่สุดในโลก เมื่อยืนจะสูงถึง 1.8 เมตร สังเกตเห็นได้ง่าย ในพื้นที่ชุ่มน้ำเปิดโล่ง นกกระเรียนไทยแตกต่างจากนกกระเรียนอื่นในพื้นที่เพราะมีสีเทาทั้งตัวและมีสีแดงที่หัวและบริเวณคอด้านบน หากินในที่ลุ่มมีน้ำขังบริเวณน้ำตื้น กินราก หัว แมลง สัตว์น้ำ และสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร นกกระเรียนไทยเหมือนกับนกกระเรียนอื่นที่มักมีคู่ตัวเดียวตลอดชีวิต นกกระเรียนจะปกป้องอาณาเขตและเกี้ยวพาราสีโดยการกางปีก ส่งเสียงร้อง กระโดดซึ่งดูคล้ายกับการเต้นรำ ในประเทศอินเดียนกกระเรียนเป็นสัญลักษณ์ของความซื่อสัตย์ในชีวิตแต่งงาน เชื่อกันว่าเมื่อคู่ตาย นกอีกตัวจะเศร้าโศกจนตรอมใจตายตาม ฤดูผสมพันธุ์หลักอยู่ในฤดูฝน คู่นกจะสร้างรังเป็น "เกาะ" รูปวงกลมจากกก อ้อ และพงหญ้า มีเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบสองเมตรและสูงเพียงพอที่จะอยู่เหนือจากน้ำรอบรัง นกกระเรียนไทยกำลังลดลงอย่างรวดเร็วในคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา คาดกันว่าประชากรมีเพียง 10 หรือน้อยกว่า (ประมาณร้อยละ 2.5) ของจำนวนที่มีอยู่ในคริสต์ทศวรรษ 1850 ประเทศอินเดียคือแหล่งที่มั่นของนกชนิดนี้ ที่ซึ่งนกเป็นที่เคารพและอาศัยอยู่ในพื้นที่การเกษตรใกล้กับมนุษย์ นกกระเรียนนั้นสูญหายไปจากพื้นที่การกระจายพันธุ์ในหลาย ๆ พื้นที่ในอดีต.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและนกกระเรียนไทย · ดูเพิ่มเติม »

นกต้อยตีวิด

นกต้อยตีวิด หรือ นกกระต้อยตีวิด หรือ นกกระแตแต้แว้ด หรือ นกแต้แว้ด (red-wattled lapwing) เป็นนกที่สีสวยน่าดู พบได้ตามพื้นที่โล่งเกือบทุกสภาพทั่วประเทศ อยู่ในวงศ์นกหัวโต (Charadriidae) วงศ์ย่อย Vanellinae หรือ Charadriinae มีเสียงร้องเตือนภัยแหลมดังที่ไม่เหมือนใครว่า "แตแต้แวด" หรือตามคนพูดภาษาอังกฤษว่า did he do it หรือ pity to do it ทำให้มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามเสียงร้องทั้งภาษาไทยและภาษาอื่น ๆ เป็นนกที่มักจะเห็นเป็นคู่ ๆ หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ แต่อาจจะอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ในฤดูหนาวที่ไม่ใช่ฤดูผสมพันธุ์ ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซาก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและนกต้อยตีวิด · ดูเพิ่มเติม »

นาธาน โจนส์ (นักมวยปล้ำ)

นาธาน ดาเรน โจนส์ (Nathan Darren Jones) เกิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1967 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย และนักมวยปล้ำมืออาชี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและนาธาน โจนส์ (นักมวยปล้ำ) · ดูเพิ่มเติม »

นาคิน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2550)

นาคิน (Naaginn) เป็นละครโทรทัศน์อินเดียที่ออกอากาศทางช่อง Zee TV ในอินเดีย ต่อมาสหมงคลฟิล์มได้ซื้อลิขสิทธิ์ แล้วก็นำมาออกอากาศทางช่อง มงคลแชนแนล ในประเทศไทย โดยมีทีมพากย์พันธมิตรให้เสียงพากย์ภาษาไทย นำแสดงโดย ซาชิน ชอร์ฟฟ, ซายันตานี โกช ซึ่งละครเรื่องนี้ออกอากาศต่อจากละครโทรทัศน์เรื่อง ทศกัณฐ์ ที่อวสานลงไป.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและนาคิน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2550) · ดูเพิ่มเติม »

นาคิน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2557)

นาคิน (อังกฤษ: Naagin) เป็นละครโทรทัศน์อินเดียที่ออกอากาศทางช่อง Colour TV ในอินเดีย ต่อมา ช่อง 3 ได้ซื้อลิขสิทธิ์ แล้วก็นำมาออกอากาศทางช่อง ช่อง 3 ในประเทศไทย นำแสดงโดย คินชุก มาฮาจาน, โมนี รอย ซึ่งละครเรื่องนี้ออกอากาศต่อจากละครโทรทัศน์เรื่อง บูเช็คเทียน ที่ย้ายเวลาออกอากาศไป.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและนาคิน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2557) · ดูเพิ่มเติม »

นิทานนกแก้ว

นิทานนกแก้ว ชื่อหนังสือโบราณ เดิมเป็นภาษาสันสกฤต มีชื่อว่า "สุกสัปตติ" (Sukasaptati) หรือ "เจ็ดสิบคตินิทานของนกแก้ว" ต่อมาได้รับการแปลเป็นภาษาอื่น ๆ เช่นภาษาเปอร์เซีย และ ฮินดี ในภาษามลายูหนังสือเล่มนี้มีชื่อว่า "Hikayat Bayan Budiman" หมวดหมู่:นิทาน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและนิทานนกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

แบกแดด

แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد‎ บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและแบกแดด · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำทัปตี

แม่น้ำทัปตี (ฮินดี ताप्ती, มราฐี तापी, તાપ્તી) หรือชื่อดั้งเดิม แม่น้ำตาปี (तापी) เป็นแม่น้ำที่อยู่ทางตอนกลางของประเทศอินเดีย เป็นหนึ่งในแม่น้ำสายสำคัญของประเทศอินเดีย มีความยาวประมาณ 724 กิโลเมตร มีต้นกำเนิดจากหุบเขาทางตอนใต้ของ รัฐมัธยประเทศ ไหลไปทางตะวันตก และไหลลงทะเลอาหรับ ใกล้เมืองสุรัตในรัฐคุชราต.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและแม่น้ำทัปตี · ดูเพิ่มเติม »

แจ็กกี ชรอฟฟ์

แชน อาอุภอี "แจ็กกี" ชรอฟฟ์ (जयकिशन काकुभाई "जैकी" श्रॉफ; Jaikishen Kakubhai "Jackie" Shroff; เกิด 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957) เป็นนักแสดงชาวอินเดีย เขาทำงานด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์อินเดียกว่า 4 ทศวรรษ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและแจ็กกี ชรอฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมสมาพันธ์กู้ชาติแห่งอัสสัม

แนวร่วมสมาพันธ์กู้ชาติแห่งอัสสัม (United Liberation Front of Asom) เป็นกลุ่มก่อการร้ายในอัสสัมซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย กล่าวอ้างว่ามีการก่อตั้งในเขตทางประวัติศาสตร์ของอาหม “รัง ฆาร์” เมื่อ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและแนวร่วมสมาพันธ์กู้ชาติแห่งอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์พราหมณ์

ราหมณ์ หมายถึง เทวสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมของศาสนาฮินดู มีพราหมณ์เป็นผู้ดูแลและประกอบพิธี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและโบสถ์พราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โกสัมพี

กสัมพี (Kosambi) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นวังสะ 1 ใน มหาชนบทในสมัยพุทธกาล เมืองนี้รุ่งเรืองจากการที่เป็นชุมนุมการค้าขายในสมัยโบราณ ปัจจุบันเมืองนี้เหลือเพียงซากโบราณสถาน รูปโค้งพระจันทร์เสี้ยวริมฝั่งแม่น้ำยมุนา ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านโกสัม (Kosam) หรือหมู่บ้านหิสัมบาทตชนบท จังหวัดอัลลฮาบาต รัฐอุตตรประเทศ ของอินเดีย ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 59 กิโลเมตร เมืองนี้ได้เริ่มต้นทำการขุดค้นทางโบราณคดีโดยศาสตรจารย์ จี.อาร.ชาร์มา แห่งมหาวิทยาลัยอัลลาหบาต ในปี พ.ศ. 2492 และมีการสำรวจอีกครั้งในปี พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2499 ปัจจุบันปรากฏหลักฐานที่ได้จากการสำรวจขุดค้นเป็นที่แน่นอนแล้ว โดยยังคงมีซากกำแพงเมืองปรากฏให้เห็นอยู่ และได้ค้นพบวัดโบราณที่สันนิษฐานว่าเป็นวัดโฆสิตารามมหาวิหาร วัดที่สร้างขึ้นในสมัยพุทธกาล ซึ่งมีการค้นพบบาตรดินโบราณ พระพุทธรูป และโบราณวัตถุจำนวนมากภายในแหล่งขุดค้นเมืองโกสัมพีแห่งนี้ โบราณวัตถุส่วนใหญ่ทางการอินเดียได้นำไปเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑ์แห่งเมืองอัลลหบาต.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและโกสัมพี · ดูเพิ่มเติม »

โยคะสู้ฟัด

ู้ฟัด (功夫瑜伽; Kung Fu Yoga)  เป็นการผสมผสานระหว่างภาพยนตร์แอ็คชั่นผจญภัยและตลกระหว่างจีนและอินเดีย ที่กำกับภาพยนตร์โดย สแตนลีย์ ตง นำแสดงโดยเฉินหลง, ทิชา พาตานี, โซนุ ซูด, อไมรา ดัสตัวร์, หลี่ จื้อถิง ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายในประเทศจีน และในประเทศไทยพร้อมกัน คือวันที่ 26 มกราคม 2017.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและโยคะสู้ฟัด · ดูเพิ่มเติม »

โรตี

ผุลกา โรตีแบบกรอบ โรตี เป็นอาหารชนิดหนึ่ง ทำจากแป้ง นวดแล้วนำไปทอดหรือปิ้งเป็นแผ่นบางๆ รับประทานเป็นของหวาน หรือรับประทานพร้อมอาหารคาวอื่นๆ ก็ได้ ในประเทศไทยมักจะคุ้นกับโรตีที่ทอดเป็นแผ่นนุ่ม ราดด้วยนมข้นและน้ำตาลทราย เป็นของหวาน คำว่า โรตี เป็นคำศัพท์ที่พบได้ในหลายภาษา ได้แก่ ภาษาฮินดี, อุรดู, ปัญจาบี, โซมาลี, อินโดนีเซีย และ มลายู ซึ่งล้วนแต่มีความหมายว่า ขนมปัง.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและโรตี · ดูเพิ่มเติม »

โรตีจาไน

รตีจาไนกับแกงแกะ ในสุมาตราตะวันตก โรตี จาเนกับแกงแกะและมันฝรั่งในภัตตาคารอาหารอาเจะห์ โรตีจาไน (มลายูและroti canai) หรือ โรตีจาเน (roti cane) เป็นขนมปังแบนที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดียพบได้ทั้งในมาเลเซียและอินโดนีเซีย พบได้ในภัตตาคารที่ขายอาหารมีนังกาเบาหรืออาหารอาเจะห์ ในสิงคโปร์และมาเลเซียทางใต้เรียกโรตีปราตา ซึ่งคล้ายกับอาหารอินเดียที่เรียกปาโรตตาแบบของรัฐเกรล.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและโรตีจาไน · ดูเพิ่มเติม »

โอ้ ศิวะ!! ช่วยด้วย

อ้ ศิวะ!! ช่วยด้วย (Neeli Chatri Wale) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและโอ้ ศิวะ!! ช่วยด้วย · ดูเพิ่มเติม »

โปรุส ศึกสองราชันย์

ปรุส ศึกสองราชันย์ หรือชื่อเดิมว่า ศึกสองราชันย์ โปรุส VS อเล็กซานเดอร์ (Porus) ละครโทรทัศน์ฟอร์มยักษ์แห่งปี ค.ศ. 2017 จากประเทศอินเดียที่ใช้ทุนสร้างมหาศาลกล่าวถึงพระราชประวัติของพระเจ้าโปรุส และ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช โดยมีจุดสำคัญอยู่ที่ สงครามครั้งสุดท้ายในพระชนม์ชีพของ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ที่ยกทัพไปสู้กับ พระเจ้าโปรุส แห่งเปารวะ นำแสดงโดย ลักช์ ลาลวานี, โรหิต ปุโรหิต, รตี ปันเดย์, อทิตยา เรทิจ, สุหนี ธันกี ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ ทุกวันจันทร์–วันพฤหัสบดี เวลา 21:45 - 22:30 น. และวันศุกร์ เวลา 22:00 - 22:30 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกวันจันทร์ที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและโปรุส ศึกสองราชันย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล

China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ไกร

ำหรับกร่างชนิดอื่น ดูที่: ไทรทอง ไกร หรือ กร่าง (บาลี: นิโครธ; สันสกฤต: บันยัน; ฮินดี: บาร์คาด; Bengal fig, Indian fig, Banyan tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ในสกุล Ficus เช่นเดียวกับโพ (F. religiosa) และไทรย้อยใบแหลม (F. benjamina) ในวงศ์ Moraceae.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและไกร · ดูเพิ่มเติม »

ไก่เนย

ก่เนย (Butter chicken, ภาษาฮินดี: मुर्ग़ मक्खनी) หรือมุร์ข มขานี เป็นอาหารทำจากไก่ของอินเดีย ปรุงในซอสรสเผ็.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและไก่เนย · ดูเพิ่มเติม »

ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)

ลน์ (LINE) เป็นโปรแกรมเมสเซนเจอร์ ที่ญี่ปุ่นซื้อมาจาก Naver Corporation ของเกาหลีhttp://www.cnbc.com/2016/07/13/japanese-messaging-app-line-will-keep-close-ties-to-korean-internet-giant-naver.html ที่มีความสามารถใช้งานได้ทั้งโทรศัพท์มือถือที่มีระบบปฏิบัติการไอโอเอส, แอนดรอยด์, วินโดวส์โฟน ล่าสุดสามารถใช้งานได้บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และแมคโอเอสได้แล้ว ด้วยความที่มีลูกเล่นมากมาย สามารถคุย ส่งรูป ส่งไอคอน ส่งสติกเกอร์ ตั้งค่าคุยกันเป็นกลุ่ม ฯลฯ ทำให้มีผู้ใช้งานโปรแกรมนี้เป็นจำนวนมาก ชาวไทยนิยมใช้เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) · ดูเพิ่มเติม »

ไอศวรรยา ราย

อศวรรยา ราย (Aishwarya Rai, ऐश्वर्या राय, ಐಶ್ವರ್ಯಾ ರೈ; เกิด 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516) หรือ ไอศวรรยา ราย พัจจัน เป็นนักแสดงจากประเทศอินเดีย ก่อนที่เธอได้รับงานเป็นนักแสดง เธอได้เป็นนางแบบมาก่อน มีชื่อเสียงมาจากการประกวดนางงาม ซึ่งได้ตำแหน่งมิสเวิลด์ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและไอศวรรยา ราย · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายอินเดีย

วไทยเชื้อสายอินเดีย คือชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทย เดิมมี 2 กลุ่ม ได้แก่ ชาวซิกข์มีหลายนิกาย และชาวฮินดู.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและไทยเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์

มุฮัมหมัด อัลดุลเลาะห์ ขณะปราศัยเมื่อ พ.ศ. 2518 เชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์ (Shaikh Muhammad Abdullah;शेख़ मुहम्मद अब्‍दुल्‍ला (อักษรเทวนาครี), شيخ محمد عبدالله (อักษรอูรดู)) เป็นมุขมนตรีแห่งรัฐชัมมูและกัษมีระในอินเดียระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟมินา มิสอินเดีย

มิสอินเดีย หรือ เฟมินา มิสอินเดีย (Femina Miss India) เป็นการประกวดนางงามระดับประเทศของอินเดีย ซึ่งจะถูกจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อคัดเลือกนางงามเข้าร่วมการประกวดมิสเวิลด์ ซึ่งกระบวนการการคัดเลือกนั้นจะถูกดำเนินการโดยทีมงานของนิตยสารสำหรับผู้หญิงของเดอะไทมส์ กรุ๊ป (The Times Group) ที่มีชื่อว่า เฟมินา (Femina) ผู้ดำรงตำแหน่งเฟมินา มิสอินเดียในปัจจุบัน คือ ปริยาดารชินิ ชาท์เดอจี (Priyadarshini Chatterjee).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเฟมินา มิสอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติ

ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ประกอบเพลงชาติ มักมีการใช้ภาพประกอบเพลงที่แสดงถึงความฮึกเหิมและปลุกใจให้รักชาติ (ตัวอย่างในที่นี้ เป็นภาพยนตร์เพลงชาติสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2487) เพลงชาติ (National anthem) หมายถึง บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้น เพื่อปลุกเร้าให้หวนระลึกถึงหรือสรรเสริญประวัติศาสตร์ชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ หรือการต่อสู้ของชนในชาติ โดยได้รับการยอมรับจากรัฐบาลของชาตินั้น ๆ อย่างเป็นทางการ หรือความตกลงใจร่วมกันของประชาชนในชาติว่า เพลงดังกล่าวเป็นเพลงประจำชาติของตน ในหนังสือ "เพลงชาติ" โดย สุกรี เจริญสุข ได้กล่าวถึงความหมายของเพลงชาติไว้ 4 ประการ คือ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเพลงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เล่ห์ราคะ (ละครโทรทัศน์)

ล่ห์ราคะ (Ek Hasina Thi) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเล่ห์ราคะ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

เวสาลี

วสาลี หรือ ไวศาลี (Vaishali) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของคณะเจ้าลิจฉวี ที่มีปกครองแคว้นวัชชีด้วยระบอบคณาธิปไตยแห่งแรก ๆ ของโลก (บ้างก็ว่าด้วยระบอบประชาธิปไตย) เมืองนี้เป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยพุทธกาล เป็นเมืองที่มั่นแห่งสำคัญของพระพุทธศาสนาในสมัยนั้น โดยพระพุทธเจ้าเคยเสด็จเยี่ยมเมืองแห่งนี้ในปีที่ 5 หลังการตรัสรู้ ตามการกราบบังคมทูลเชิญจากเจ้าผู้ครองแคว้น และในช่วงหลังพุทธกาล เมืองแห่งนี้ได้ตกเป็นของแคว้นมคธโดยการนำของพระเจ้าอชาตศัตรูพระราชาแห่งเมืองราชคฤห์ และหลังการล่มสลายของราชวงศ์พิมพิสารในเมืองราชคฤห์ พระราชาองค์ต่อมาจึงได้ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธมายังเมืองเวสาลี ทำให้เมืองแห่งนี้เจริญถึงขีดสุด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองนี้ได้เป็นสถานที่ทำทุติยสังคายนาของพระพุทธศาสนา ก่อนที่จะเสื่อมความสำคัญและถูกทิ้งร้างลงเมื่อมีการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองปาฏลีบุตรหรือเมืองปัตนะอันเป็นเมืองหลวงของรัฐพิหารในปัจจุบัน ปัจจุบันเมืองเวสาลีเป็นซากโบราณสถานอยู่ที่ตำบลบสาร์ท หรือเบสาร์ท (Basarh-Besarh) ในจังหวัดไวศาลี ที่เขตติดต่อของอำเภอสดาร์ (Sadar) กับ (Hajipur) ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการจังหวัด เมืองเวสาลีห่างจากหซิปูร์ 35 กิโลเมตร ห่างจากมุซัฟฟาร์ปูร์ 37 กิโลเมตร โดยอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมุซัฟฟาร์ปูร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเวสาลี · ดูเพิ่มเติม »

เสมกชา

มกชา ซิงห์ (อ่านว่า: สะ-เหมฺก-ชา Sameksha Singh) หรือชื่อที่ใช้ในการแสดงว่า เสมกชา (Sameksha) เป็นนักแสดงสาวชาวอินเดีย มีชื่อเสียงโด่งดังจากบท พระนางโอลิมเปียส ในซีรีส์เรื่อง โปรุส ศึกสองราชัน.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเสมกชา · ดูเพิ่มเติม »

เสือชีตาห์

ือชีตาห์ (Cheetah) เป็นเสือเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอก ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110–120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน 20 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว 4,000 ตัวเท่านั้น เสือชีตาห์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acinonyx jubatus และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acinonyx ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเสือชีตาห์ชนิดอื่น ๆ นั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดในยุคน้ำแข็งสุดท้าย จึงทำให้สายพันธุ์กรรมของเสือชีตาห์ทั้งหมดในปัจจุบันใกล้ชิดกันมาก.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเสือชีตาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งเบงกอล

ือโคร่งเบงกอล (เบงกาลี:বাঘ, ฮินดี: बाघ; Bengal tiger, Royal bengal tiger) เป็นเสือโคร่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด รองจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) ที่พบในแถบไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย เสือโคร่งเบงกอลตัวผู้เมื่อมีขนาดใหญ่เต็มที่อาจยาวได้ถึง 360 เซนติเมตร หนัก 180-270 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า และมีน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 140–180 กิโลกรัม การกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียใต้ ในประเทศอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ และกระจายเข้าไปในแถบประเทศพม่าด้วย สถานะในธรรมชาติ จัดเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกล่าเพื่อทำหนังเป็นเครื่องประดับ และกระดูก, อวัยวะ เป็นยาสมุนไพรตามความเชื่อ อย่างไรก็ตาม เสือโคร่งเบงกอลนั้นนับได้ว่าเป็นเสือโคร่งชนิดที่ยังมีเหลืออยู่มากที่สุดในธรรมชาติ คาดว่ามีอยู่ประมาณ 2,000 ตัวในธรรมชาติ ในเขตป่าอนุรักษ์และอินเดียและเนปาล และเป็นเสือที่มนุษย์นำมาเลี้ยงและขยายพันธุ์ได้มากและแพร่หลายที่สุด ในสถานที่เลี้ยง พบว่า เสือโคร่งเบงกอลเป็นเสือโคร่งที่มีความเชื่องและดุร้ายน้อยที่สุด จนสามารถฝึกหัดให้เล่นละครสัตว์ได้ เสือโคร่งเบงกอลขึ้นชื่อว่าเป็นเสือโคร่งที่กินมนุษย์มาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะในอินเดีย การล่าเสือเป็นเกมกีฬาของราชวงศ์ชั้นสูง แม้แต่ในยุคที่อังกฤษเข้ามาปกครองอินเดีย โดยการขี่หลังช้างออกล่าในตามทุ่งหญ้าทั้งหญ้าสูงและหญ้าต่ำ ในคริสต์ทศวรรษที่ 20 มีเสือโคร่งเบงกอลคร่าชีวิตมนุษย์ไปกว่า 1,600 รายต่อปี แม้แต่ในปัจจุบันที่การล่าเสือเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และผู้คนเข้าใจถึงการอนุรักษ์สัตว์ป่ามากขึ้น แต่ทว่าก็ยังคงมีการโจมตีมนุษย์อยู่เป็นระยะ ๆ ของเสือ โดยเฉพาะในสุนทรพนะซึ่งเป็นพื้นที่ป่าชายเลน เสือโคร่งเบงกอลที่นี่มีความดุร้ายและไม่เกรงกลัวมนุษย์ มักจะโจมตีมนุษย์เสมอ ๆ โดยเฉพาะการจู่โจมจากด้านหลัง ชาวพื้นเมืองที่นี่จึงต้องสวมหน้ากากไว้ด้านหลังเพื่อป้องกัน ด้วยการทำให้เสือเข้าใจผิดว่ากำลังถูกจ้องดูอยู่ เสือที่โจมตีมนุษย์ส่วนมากเป็นตัวเมียในช่วงฤดูเก็บน้ำผึ้ง ซึ่งตรงกับฤดูที่เสือโคร่งเบงกอลจะมีลูกพอดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเสือโคร่งเบงกอล · ดูเพิ่มเติม »

เสียงกัก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง

เสียงกัก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง (voiceless alveolar plosive) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ t เสียงนี้มักจะปรากฏในหลายภาษาโดยทั่วไปในลักษณะธรรมดา คือ แต่ในภาษาไทยจะมีสองแบบคือแบบไม่พ่นลม และแบบพ่นลม ภาษาในอินเดียมักจะแบ่งออกเป็นสองแบบเช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่นภาษาฮินดี ภาษาที่ไม่มีเสียงนี้คือ ภาษาฮาวาย (นอกเขตนีอิเฮา) ในภาษาไทย เสียงนี้เมื่ออยู่ในตำแหน่งที่ต่างกันของพยางค์จะแทนได้ด้วยอักษรแทนด้วยอักษรที่แตกต่างกัน เสียงแบบไม่พ่นลมจะแทนด้วย ฏ ต เมื่ออยู่ต้นพยางค์ แต่เมื่ออยู่ท้ายพยางค์จะแทนได้ด้วย จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส ส่วนเสียงแบบพ่นลมจะอยู่ได้เฉพาะตำแหน่งต้นพยางค์ และแทนได้ด้วยอักษร ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะในภาษาไทย.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเสียงกัก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงนาสิก ปลายลิ้นม้วน

ียงนาสิก ปลายลิ้นม้วน เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา โดยเฉพาะกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เช่นภาษาฮินดี ภาษาอูรดู ภาษาทมิฬ ภาษามาลายาลัม ภาษาสันสกฤต ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ n` การทับศัพท์มักใช้ ณ ซึ่งตรงกับการจัดวรรคพยัญชนะของภาษากลุ่มนี้.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเสียงนาสิก ปลายลิ้นม้วน · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก ริมฝีปากกับฟัน ก้อง

เสียงเสียดแทรก ริมฝีปากกับฟัน ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาฮินดี ภาษาเวียดนาม ฯลฯ แต่ไม่มีในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /v/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ v การทับศัพท์ในภาษาไทยมักใช้ ว เมื่อเป็นพยัญชนะต้น และ ฟ เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด เช่น server เขียนว่า เซิร์ฟเวอร์ บางครั้งก็อาจพบการใช้ ฝ ในพจนานุกรมได้เช่นกัน หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเสียงเสียดแทรก ริมฝีปากกับฟัน ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยวดอกขาว

''Bauhinia variegata'' เสี้ยวดอกขาว (ภาษากะเหรี่ยง: โพะเพ่; ภาษาฮินดี:कचनार, ภาษาสันสกฤต: कोविदार ภาษาอูรดู: کچنار) เป็นพืชมีดอกชนิดหนึ่งในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย แพร่กระจายในจีนไปจนถึงปากีสถานและอินเดีย ชื่อสามัญอื่นๆ ได้แก่ กล้วยไม้ต้น (Orchid tree) ต้นเท้าอูฐ (Camel's Foot Tree) และ Mountain-ebony Kachnar (ภาษาฮินดีภาษาปัญจาบ ภาษาอูรดู) หรือ Kanchan(ภาษาเบงกาลี) ในจังหวัดปัญจาบของปากีสถาน เรียกพืชนี้ว่า Kolaar کلاڑ ซึ่งต่างจากชื่อในภาษาอูรดู พันธุ์ ''candida'' ในเมืองไฮเดอราบาด ประเทศอินเดีย เป็นไม้ยืนต้น สูงถึง 10-12 เมตร ใบยาว 10-20 เซนติเมตร และกว้าง กลม เป็นสองซีกแบบใบชงโค ดอกสีชมพูอ่อนหรือสีขาว เส้นผ่านศูนย์กลาง 8-12 เซนติเมตร มี 5 กลีบ ผลยาว มีหลายเมล็ด เป็นพืชที่นิยมใช้ในการจัดสวน และใช้ดึงดูดนกฮัมมิงเบิร์ด เช่น Sapphire-spangled Emerald (Amazilia lactea), Glittering-bellied Emerald (Chlorostilbon lucidus) หรือ White-throated Hummingbird (Leucochloris albicollis) ให้เข้ามาในสวนBaza Mendonça & dos Anjos (2005) แต่ในบางบริเวณ อาจกลายเป็นพืชรุกรานได้.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเสี้ยวดอกขาว · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์เนสส์กรุป

อกซ์เนสส์กรุป เป็นกลุ่มบริษัทที่ดำเนินการในตลาด การเงิน ทั่วโลก กิจกรรมหลักของ EXNESS Group คือ ให้บริการ ซื้อขายออนไลน์ ในตลาด แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ในระดับสากล.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเอกซ์เนสส์กรุป · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็มเอฟ

อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเอสเอ็มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ม. ไนท์ ชยามาลาน

อ็ม.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเอ็ม. ไนท์ ชยามาลาน · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

Complex Text Layout

CTL เป็นอักษรย่อ จาก Complex Text Layout (แปลตามตัว: การออกแบบข้อความซับซ้อน) ในทางคอมพิวเตอร์ ใช้เรียกกลุ่มภาษา ที่ต้องการขั้นตอนที่ซับซ้อนในการแสดงผล บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือบนกระดาษพิมพ์ ตัวอย่างภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาอาหรับ ภาษาฮิบรู ภาษาฮินดี และ ภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและComplex Text Layout · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ภาษาฮินดีและ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

HindiHindi languageภาษาฮินดี : กำเนิดและวิวัฒนาการฮินดีประวัติภาษาฮินดี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »