สารบัญ
841 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบริติชแอร์เวย์บริตป็อปบริตนีย์ สเปียส์บริเตนใหญ่บลูมเบิร์กเทเลวิชันบอนน์บัณฑิตวิทยาลัยชาร์มเบรซเลตชาร์ล เดอ โกลชาร์ลี แชปลินชาลส์ ดิกคินส์ชาลเลนเจอร์ 1ชาวอังกฤษชาวเกาหลีชาติชาย เชี่ยวน้อยบิล คลินตันบิล เกตส์บิวพรีนอร์ฟีนชิงช้าสวรรค์ชื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกาบีบีซี เวิลด์นิวส์บียอนเซ่ โนวส์บีเกิลบีเอซิตีฟลายเออร์บีเอ็มไอ (สายการบิน)ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีช็อกโกแลตฟรีดริช เองเงิลส์ฟลอเรนซ์ ไนติงเกลฟัวกราฟาโมทิดีนฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักรฟุตบอลทีมชาติอังกฤษฟุตบอลทีมชาติจีนฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์ฟุตบอลโลก 2014พ.ศ. 2341พ.ศ. 2391พ.ศ. 2430พ.ศ. 2432พ.ศ. 2443พ.ศ. 2447พ.ศ. 2457พ.ศ. 2484พ.ศ. 2487พ.ศ. 2491พ.ศ. 2496พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499... ขยายดัชนี (791 มากกว่า) »
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
ดู สหราชอาณาจักรและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
บริติชแอร์เวย์
Waterside บริติช แอร์เวย์ (อังกฤษ: British Airways) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของสหราชอาณาจักร และเป็นลำดับที่สามของทวีปยุโรป (ตามหลัง แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และ ลุฟต์ฮันซา) และมีเที่ยวบินจากยุโรปข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมากกว่าสายการบินอื่นๆ ท่าอากาศยานหลักของบริติชแอร์เวย์ คือ ลอนดอนฮีทโธรว์ และ ลอนดอนแกตว.
ดู สหราชอาณาจักรและบริติชแอร์เวย์
บริตป็อป
ริตป็อป (Britpop) เป็นแนวเพลงย่อยของป็อปร็อกและออลเทอร์นาทิฟร็อกที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งของอังกฤษช่วงกลางยุค 1990 ในเพลงจะเน้นความเป็นอังกฤษ ท่าทางและสว่างไสวแบบเพลงป็อป ที่ต้องการแสดงปฏิกิริยาต่อเพลงแนวกรันจ์จากอเมริกาและชูเกซซิงจากอังกฤษ วงบริตป็อปที่ประสบความสำเร็จและรู้จักกันมากที่สุดคือ โอเอซิส, เบลอ, พัลป์, และ สเวด ถึงแม้ว่าบริตป็อปจะถูกมองว่าเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดมากกว่าทางวัฒนธรรมในการอ้างถึงแนวดนตรี แต่มีวงบริตป็อปได้อิทธิพลจากดนตรีอื่นเช่นองค์ประกอบจากเพลงป็อปอังกฤษในยุค 1960 แกลมร็อกและพังก์ร็อกในยุค 1970 และอินดี้ป็อปในยุค 1980 แม้กระทั่งทัศนคติและเครื่องแต่งกายที่ได้อิทธิพลจากมอร์ริสซีย์นักร้องนำวงเดอะสมิธส์ที่ได้ทำให้นึกถึงบริเตน บริตป็อปมุ่งเน้นวงดนตรีจากพวกเพลงใต้ดินในช่วงต้นยุค 1990 ที่เกี่ยวข้องกับคูลบริทานเนียซึ่งต่อจากแฟชันแบบสวิงกิงซิกซ์ตีส์และความเสื่อมคลายของดนตรีแบบกีตาร์ป็อปของอังกฤษHarris, pg.
บริตนีย์ สเปียส์
ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ บริตนีย์ (อัลบั้ม) บริตนีย์ จีน สเปียส์ (Britney Jean Spears) เป็นศิลปินเพลงป็อปหญิงชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและบริตนีย์ สเปียส์
บริเตนใหญ่
ริเตนใหญ่ (Great Britain) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะบริติช ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของภาคพื้นทวีปยุโรป มีเกาะไอร์แลนด์ตั้งอยู่ทางตะวันตก เกาะบริเตนใหญ่เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป ล้อมรอบด้วยเกาะเล็กนับร้อยเกาะ บริเตนใหญ่เนื้อที่ส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักร เป็นที่ตั้งของอังกฤษ สกอตแลนด์ และเวลส์ บริเตนใหญ่เป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากเกาะชวาและเกาะฮนชู คำว่าบริเตนใหญ่บางครั้งใช้ในความหมายของสหราชอาณาจักร ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของอังกฤษและสกอตแลนด์ในช่วงพ.ศ.
บลูมเบิร์กเทเลวิชัน
ลูมเบิร์ก เทเลวิชัน (Bloomberg Television) เป็นช่องรายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศในหลายประเทศทั่วโลก โดยช่องรายการนี้ออกอากาศรายการเกี่ยวกับธุรกิจและการเงินตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน โดยช่องข่าวนี้เป็นที่รู้จักกันในรูปแบบของการจัดข้อมูลทางหน้าจอโทรทัศน์ ที่ข้อมูลด้านการตลาดมีสัดส่วนมากกว่าวิดีโอ ช่องรายการนี้ยังเป็นช่องรายการแรกที่ออกอากาศผ่านทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการรับชม โดยผู้ที่เป็นเจ้าของช่องรายการนี้ คือ Bloomberg L.P.
ดู สหราชอาณาจักรและบลูมเบิร์กเทเลวิชัน
บอนน์
อนน์ (Bonn) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างออกไปประมาณ 25 กิโลเมตร ทางใต้ของโคโลญ บนแม่น้ำไรน์ในรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย บอนน์เคยเป็นเมืองหลวงของอดีตประเทศเยอรมนีตะวันตก ในช่วง ค.ศ.
บัณฑิตวิทยาลัย
ัณฑิตวิทยาลัย หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาที่มีระดับการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโทหรือปริญญาเอก) โดยทั่วไปบัณฑิตวิทยาลัย จะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย แต่สำหรับสถาบันอุดมศึกษาที่ไม่มีระดับปริญญาตรี จะเรียกสถาบันนั้นว่า "บัณฑิตวิทยาลัย" แทน การเรียนในระดับบัณฑิตวิทยาลัย จะมีลักษณะที่แตกต่างจากระดับในมหาวิทยาลัยทั่วไป เพราะว่ารับผู้สำเร็จการศึกษามาแล้ว ในกรณีที่เน้นการวิจัย ก่อนการสำเร็จการศึกษาต้องเขียน "วิทยานิพนธ์" (thesis) ในกรณีของปริญญาโท ส่วนในระดับปริญญาเอก จะเรียกว่า "ดุษฎีนิพนธ์" (dissertation) สำหรับกรณีที่เป็นวุฒิทางวิชาชีพ ก็จะเน้นให้ทำปัญหาพิเศษในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ในสหรัฐจะเรียกบัณฑิตวิทยาลัยว่า "Graduate School" หรือ "Grad School" ในขณะที่ สหราชอาณาจักรและประเทศในเครือจักรภพ จะเรียกว่า "Postgraduate School" คำว่า "บัณฑิตวิทยาลัย" ไม่นิยมใช้เรียกสถาบันอุดมศึกษาด้านแพทยศาสตร.
ดู สหราชอาณาจักรและบัณฑิตวิทยาลัย
ชาร์มเบรซเลต
ร์มเบรซเลต (Charmbracelet) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 8 และเป็นอัลบั้มที่ 12 ของศิลปินหญิงชาวอเมริกัน มารายห์ แครี ออกวางขายในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและชาร์มเบรซเลต
ชาร์ล เดอ โกล
ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและชาร์ล เดอ โกล
ชาร์ลี แชปลิน
ซอร์ชาลส์ สเปนเซอร์ แชปลิน จูเนียร์ (Sir Charles Spencer Chaplin, Jr., KBE) หรือรู้จักกันในชื่อ ชาร์ลี แชปลิน (Charlie Chaplin) (16 เมษายน ค.ศ. 1889–25 ธันวาคม ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและชาร์ลี แชปลิน
ชาลส์ ดิกคินส์
ลส์ จอห์น ฮัฟแฟม ดิกคินส์ (Charles John Huffam Dickens; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1812 – 9 มิถุนายน ค.ศ. 1870) นักประพันธ์ชาวอังกฤษ และมีนามปากกาว่า “โบซ” (Boz) เกิดที่เมืองแลนด์พอร์ท แฮมเชียร์ อังกฤษใต้ สหราชอาณาจักร เป็นบุตรเสมียนฝ่ายเงินเดือนกองทัพเรือ ในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและชาลส์ ดิกคินส์
ชาลเลนเจอร์ 1
อฟวี 4030/4 ชาลเลนเจอร์ 1 (FV4030/4 Challenger 1) เป็นรถถังที่เคยประจำการอยู่ในกองทัพสหราชอาณาจักรระหว่างปี..
ดู สหราชอาณาจักรและชาลเลนเจอร์ 1
ชาวอังกฤษ
วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.
ชาวเกาหลี
วเกาหลี เป็นชนชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งซึ่งพูดภาษาเดียวกัน ผลการศึกษาด้านภาษาศาสตร์ และมานุษยวิทยา และแหล่งตำนานต่างๆ แสดงให้เห็นว่า เกาหลีแตกต่างจากจีน หรือญี่ปุ่น ลักษณะเด่นทางร่างกายที่เหมือนกันทำให้เชื่อว่าเกาหลีสืบเชื้อสายมาจากชาวมองโกลหลายเผ่าที่อพยพจากเอเชียกลางเข้ามายังคาบสมุทรเกาหลีในปัจจุบัน ชาวเกาหลีรวมกันเป็นชนชาติเดียวกันตั้งแต่ตอนต้นคริสต์ศักราช ในคริสต์ศตวรรษที่เจ็ด ชาวเกาหลีรวมกันเป็นชาติเดียวรวมอยู่ใต้การปกครองเดียวกันเป็นครั้งแรกในสมัยอาณาจักรชิลลา (57 ปีก่อนคริสต์ศักราช-คริสต์ศักราช 935) ยังส่งผลให้เกิดความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมอย่างใหญ่หลวง ชาวเกาหลีต่อสู้มาอย่างสัมฤทธิ์ผลเป็นเวลาหลายพันปี เพื่อดำรงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และการเมืองของตน แม้จะเผชิญกันเพื่อนบ้านอย่างจีน และความโน้มเอียงที่จะรุกรานของญี่ปุ่นเมื่อไม่นานมานี้ก็ตาม ชาวเกาหลีเป็นชนชาติที่ภาคภูมิใจ ด้วยมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานที่สุดชาติหนึ่งของโลก.
ชาติชาย เชี่ยวน้อย
ติชาย เชี่ยวน้อย อดีตนักมวยสากลอาชีพชาวไทย เป็นแชมป์โลกคนที่ 2 ของไท.
ดู สหราชอาณาจักรและชาติชาย เชี่ยวน้อย
บิล คลินตัน
วิลเลียม เจฟเฟอร์สัน คลินตัน (William Jefferson Clinton) หรือรู้จักในชื่อ บิล คลินตัน (Bill Clinton) เกิดวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เป็นประธานาธิบดีคนที่ 42 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่างค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและบิล คลินตัน
บิล เกตส์
วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สาม (เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955) หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ บิล เกตส์ เป็นนักธุรกิจชาวSomalia และหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์สำหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วมกับพอล แอลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาเรื่องเทคโนโลยี นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้ บิล เกตส์ เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกหลายปีติดต่อกัน วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สามได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการอัศวินแห่งจักรวรรดิบริเตน (KBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2.
บิวพรีนอร์ฟีน
วพรีนอร์ฟีน หรือ bupe (Buprenorphine) เป็นยาในกลุ่ม โอปิออยด์ ที่มีฤทธิ์เป็นตัวทำการ ย่อย(agonist) และปฏิปักษ์ (antagonist) บิวพรีนอร์ฟีนไฮโดรคลอไรด์นำออกทำตลาดครั้งแรกในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและบิวพรีนอร์ฟีน
ชิงช้าสวรรค์
'''ชิงช้าสวรรค์''' ชิงช้าสวรรค์ (Ferris wheel คือ เครื่องเล่นเพื่อความบันเทิงชนิดหนึ่ง มักพบเห็นตามงานวัด สวนสนุก และตามงานเทศกาลต่างๆ ประกอบด้วยวงล้อโลหะขนาดใหญ่คู่ขนานกัน หมุนด้วยแรงกลในแนวตั้งรอบแกนที่ติดอยู่กับที่ มีกระเช้าผู้โดยสารที่ทำจากโลหะ (gondola หรือ capsule) ห้อยติดเป็นช่วงระหว่างโครงของล้อทั้งสอง ชิงช้าสวรรค์ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและชิงช้าสวรรค์
ชื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกา
ื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกา (United States Approved Name หรือ USAN) เป็นชื่อทางการหรือชื่อสามัญที่ใช้เรียก สารประกอบเคมี ที่ใช้ทางเภสัชกรรม ที่มีอยู่ใน ตำรับยา ของ สหรัฐอเมริกา (USP).
ดู สหราชอาณาจักรและชื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกา
บีบีซี เวิลด์นิวส์
ีบีซี เวิลด์ นิวส์ (BBC World News; ชื่อเดิม: BBC World) เป็นช่องรายการข่าวนานาชาติของบีบีซี ช่องรายการนี้มีผู้ชมมากที่สุดในบรรดาช่องรายการของบีบีซี เปิดตัวครั้งแรกในชื่อ โทรทัศน์ภาคบริการโลกของบีบีซี (BBC World Service Television) เมื่อปีค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและบีบีซี เวิลด์นิวส์
บียอนเซ่ โนวส์
ียอนเซ่ จิเซลล์ โนวส์ เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1981 เป็นนักร้องสไตล์อาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง, โปรดิวเซอร์, นักแสดง และ นางแบบ ชาวอเมริกัน โนวส์เกิดและเติบโตที่ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส ในวัยเด็กบียอนเซ่ได้เข้าร่วมในการแสดงหลากหลายเรียนอนุบาลถึงประถม ซึ่งรวมไปถึงการร้องเพลง อันเป็นการปูทางสำหรับอาชีพการเป็นนักร้อง บียอนเซ่เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในช่วงปี 1990 ในฐานะสมาชิกคนสำคัญของเดสทินีส์ไชลด์ วงดนตรีหญิงล้วนแนวอาร์แอนด์บีชื่อดังในยุคนั้น ตลอดชีวิตการทำงานของเธอ มียอดขายเกินกว่า 100 ล้านชุดในฐานะศิลปินเดียว ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและบียอนเซ่ โนวส์
บีเกิล
ีเกิล (Beagle) เป็นสายพันธุ์สุนัขมีถิ่นกำเนิดในประเทศสหราชอาณาจักร อยู่ในจำพวกกลุ่มสุนัขล่าเนื้อ(Hound) มีขนสั้นและหูปรก เป็นสุนัขที่มีประสาทด้านการดมกลิ่นเป็นเลิศ (scent hounds) ด้วยประสาทด้านการดมกลิ่นที่ไวมาก จึงได้มีการฝึกให้เป็นสุนัขตรวจสอบของผิดกฎหมาย อย่างเช่น ยาเสพติด วัตถุระเบิด ฯลฯ แต่บีเกิลยังได้รับความนิยมในฐานะสัตว์เลี้ยงเช่นกัน ด้วยขนาดตัวที่พอเหมาะ เป็นสุนัขอารมณ์ดี และสุขภาพแข็งแรงทนทานต่อโรค สุนัขสายพันธุ์บีเกิลมีมากว่า 2000 ปีแล้ว และมีชื่อเสียงมากในยุคของพระนางอลิซาเบท (Elizabethan era) ซึ่งปรากฏในงานวรรณกรรม จิตรกรรม ภาพยนตร์ โทรทัศน์ และหนังสือการ์ตูนเรื่องสนู๊ปปี้ (Snoopy) ก็เป็นบีเกิลที่มีชื่อเสียงมากที่สุดตัวหนึ่งของโลก.
บีเอซิตีฟลายเออร์
ีเอ ซิตีฟลายเออร์ (BA CityFlyer) เป็นสายการบินลูกของบริติช แอร์เวย์ ให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ และภาคพื้นทวีปยุโรป โดยมีท่าอากาศยานลอนดอนซิตีเป็นท่าอากาศยานหลัก.
ดู สหราชอาณาจักรและบีเอซิตีฟลายเออร์
บีเอ็มไอ (สายการบิน)
ีเอ็มไอ (BMI British Midland Airways) คือสายการบินที่มีฐานอยู่ในสหราชอาณาจักร มีสำนักงานใหญ่อยู่ในโดนิงตัน ฮอลล์ ใกล้กับท่าอากาศยานอีสต์มิดแลนด์ มีจุดหมายปลายทางอยู่ในยุโรป สหรัฐอเมริกา แถบหมู่เกาะแคริบเบียน และประเทศซาอุดีอารเบีย ฐานปฏิบัติการของสายการบินอยู่ที่ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์และท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ ซึ่งเป็นที่ที่มีการจราจรทางอากาศของสายการบินนี้เข้า-ออกคิดเป็น 11%ของเที่ยวบินทั้งหมดของท่าอากาศยานแห่งนี้โดยมากกว่า 2000 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อบริติช มิดแลนด์ ในเดือนมกราคม 2550 บีเอ็มไอได้ซื้อสายการบินบริติช เมดิเตอร์เรเนียน แอร์ไลน์ ทำให้บีเอ็มไอสามารถที่ให้บริการในแถบแอฟริกาและแถบอาหรับได้ บีเอ็มไอ เป็นสมาชิกในองค์การการบินแห่งสหราชอาณาจักรในใบอนุญาตประเภท A อนุญาตให้รับ-ส่งผู้โดยสาร สินค้าและจดหมายบนเครื่องบินมากกว่า 20 ที่นั่ง.
ดู สหราชอาณาจักรและบีเอ็มไอ (สายการบิน)
ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
ช็อกโกแลต
็อกโกแลต ช็อกโกแลต (chocolate; ช็อก(กะ)เล็ต) คือผลิตผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้เขตร้อน ช็อกโกแลตเป็นส่วนผสมของของหวานหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นไอศกรีม ลูกอม คุกกี้ เค้ก หรือว่าพาย ช็อกโกแลตถือได้ว่าเป็นของหวานอย่างหนึ่งที่ถูกใจคนทั่วโลก ช็อกโกแลตทำจากการหมัก คั่ว และบดอย่างละเอียดของเมล็ดโกโก้ซึ่งได้มาจากต้นโกโก้เขตร้อน (tropical cacao tree) ซึ่งมีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและเม็กซิโก ต้นโกโก้นั้นค้นพบโดยชาวอินเดียนแดงและชาวอัซเตก (Aztecs) แต่ในปัจจุบันได้แพร่กระจายและปลูกไปทั่วเขตร้อน เมล็ดของต้นโกโก้นั้นมีรสฝาดที่เข้มข้นมาก ผลผลิตของเมล็ดโกโก้รู้จักกันในนาม "ช็อกโกแลต" หรือบางส่วนของโลกในนาม "โกโก้" ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดโกโก้รู้จักภายใต้หลายชื่อที่แตกต่างกันไปในส่วนต่าง ๆ ของโลก ในอเมริกา อุตสาหกรรมช็อกโกแลตได้จำกัดความไว้.
ฟรีดริช เองเงิลส์
ฟรีดริช เองเงิลส์ (Friedrich Engels) เป็นนักคิดนักเขียนชาวเยอรมัน และนักทฤษฎีสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ เป็นเพื่อนร่วมงานและคู่คิดที่ใกล้ชิดของ คาร์ล มาร์กซ์ โดยร่วมกันวางรากฐานของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์และลัทธิมาร์กซ และมีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงหลักการของลัทธิมาร์กซว่าด้วยวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ และวัตถุนิยมวิภาษวิธี ให้ก้าวหน้าจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปในขบวนการสังคมนิยม.
ดู สหราชอาณาจักรและฟรีดริช เองเงิลส์
ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล
ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล (Florence Nightingale) (เครื่องราชอิสริยาภรณ์ OM, เข็มกาชาดหลวง) (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2363 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2453) ได้รับการขนานนามและเป็นที่รู้จักว่า "สุภาพสตรีแห่งดวงประทีป" (Lady of the Lamp) เนื่องจากภาพลักษณ์ติดตาของผู้คนที่เห็นกิจวัตรการตรวจดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บแม้ยามค่ำคืน และถือว่าเป็นผู้บุกเบิกด้านพยาบาลศาสตร์ยุคใหม่ ยกระดับวิชาชีพพยาบาล นอกจากนี้ยังมีบทบาทผลักดัน การพัฒนาด้านสถิติศาสตร.
ดู สหราชอาณาจักรและฟลอเรนซ์ ไนติงเกล
ฟัวกรา
ฟัวกรา เสิร์ฟแบบปิกนิกพร้อมขนมปัง ฟัวกรา เทียบกับตับห่านปกติ ฟัวกรา (foie gras; แปลว่า "ตับอ้วน") คือตับห่านหรือเป็ดที่ขุนให้อ้วนเป็นพิเศษ ฟัวกราได้ชื่อว่าเป็นอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุดเช่นเดียวกับทรัฟเฟิล มีลักษณะนุ่มมันและมีรสชาติที่แตกต่างจากตับของเป็ดหรือห่านธรรมดา ในปี..
ฟาโมทิดีน
ฟาโมติดีน (famotidine) เป็นฮีสตามีน H2-รีเซพเตอร์ แอนตาโกนิสต์ ที่ยับยั้งการผลิตกรดในกระเพาะอาหาร ใช้รักษาอาการแกซโตรอีโซฟาเจียล รีฟลัก (GERD) และ แผลในกระเพาะอาหาร (PUD) ยาตัวนี้ผลิตและจำหน่ายโดยเมอร์ค&โก (Merck & Co.) มีชื่อาทงการค้าว่าฟาโมติดีน ®, (famotidine ®) วงแหวนอิมิดาโซล(imidazole) ใน ไซเมติดีน ถูกแทนที่ด้วยวงแหวน 2-กัวนิดิโนไทอะโซล (2-guanidinothiazole ring) ทำให้ ฟาโมติดีนมฤทธิ์แรงกว่า ไซเมติดีน 30 เท.
ฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักร
ฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักร หรือมักจะรู้จักในชื่อ ฟุตบอลทีมชาติเกรตบริเตน (และมักจะเข้าใจผิดว่าเป็น ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ) เป็นทีมฟุตบอลสมัครเล่นตัวแทนจากสหราชอาณาจักรในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ในขณะที่ทีมอื่นได้แก่ ทีมชาติอังกฤษ, ทีมชาติสกอตแลนด์, ทีมชาติเวลส์ และ ทีมชาติไอร์แลนด์เหนือ จะทำการแข่งขันในฟุตบอลโลก ยูโร และการแข่งขันฟุตบอลทีมชาติรายการอื่นๆ ที่จัดโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) ทีมชาติสหราชอาณาจักรนี้คว้าเหรียญทองฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้งคือปี 1908 ที่ลอนดอน และปี 1912 ที่ สต็อกโฮล์ม ในปัจจุบันทีมชาติสหราชอาณาจักรนี่ไม่ได้เล่นอีกต่อไปโดยได้ยกเลิกในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักร
ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ
ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ ทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ชาติอังกฤษ สำหรับในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติ ในการแข่งขันฟุตบอลโลก และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป โดยทีมชาติอังกฤษเป็นไม่กี่ทีมที่ไม่มีสิทธิในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เนื่องจากเหตุผลทางการเมืองที่ประเทศอังกฤษไม่ถือว่าเป็นประเท.
ดู สหราชอาณาจักรและฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ
ฟุตบอลทีมชาติจีน
ฟุตบอลทีมชาติจีน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลจีน ทีมชาติจีนนั้นก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและฟุตบอลทีมชาติจีน
ฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์
ฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากรัฐปาเลสไตน์ สำหรับการแข่งขันในระดับชาติ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลปาเลสไตน์ (PFA) โดยเป็นชาติสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (AFC) ในสมัยที่รัฐปาเลสไตน์ยังเป็นดินแดนปาเลสไตน์ในอาณัติที่ปกครองโดยสหราชอาณาจักร สมาคมฟุตบอลปาเลสไตน์ในอาณัติได้ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์
ฟุตบอลโลก 2014
ฟุตบอลโลก 2014 (2014 FIFA World Cup; Copa do Mundo da FIFA 2014) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 20 ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศบราซิลระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน–13 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและฟุตบอลโลก 2014
พ.ศ. 2341
ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.
พ.ศ. 2391
ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2430
ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2432
ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2443
ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2447
ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2457
ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2484
ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2487
ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2491
ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.
พ.ศ. 2496
ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2498
ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2499
ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2500
ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2503
ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2505
ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2508
ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2509
ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2513
ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2515
ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2518
ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2521
ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2522
ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2527
ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2555
ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
พ.ศ. 2560
ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2561
ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พรรคประชาธิปัตย์
รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.
ดู สหราชอาณาจักรและพรรคประชาธิปัตย์
พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)
รรคแรงงาน (Labour Party) เป็น พรรคการเมืองกลาง-ซ้ายในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นหนึ่งในสามพรรคการเมืองใหญ่ของประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู สหราชอาณาจักรและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.
ดู สหราชอาณาจักรและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชพิธีพัชราภิเษก
ระราชพิธีพัชราภิเษก หรือ พัชราภิเษกสมโภช (Diamond Jubilee) เป็นการเฉลิมฉลองเพื่อแสดงการครบรอบ 60 ปี ซึ่งเกี่ยวกับบุคคล (เช่น การครอบรอบแต่งงาน ระยะเวลาการครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์) หรือครบรอบ 75 ปี ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ.
ดู สหราชอาณาจักรและพระราชพิธีพัชราภิเษก
พระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)
ระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช) หรือนามปากกา ปิยโสภณ ปัจจุบันเป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก และรักษาการเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย (ธรรมยุต) ทั้งยังเป็นพระนักวิชาการ, นักเขียนและนักบรรยายธรรมที่ผลิตผลงานออกมาในรูปวีซีดีและหนังสือออกมาสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน เป็นพระนักวิชาการรุ่นใหม่ที่มีผลงานสำคัญคือการหาทุนปั้นศาสนทายาท โดยโครงการนี้ อยู่ที่วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก.
ดู สหราชอาณาจักรและพระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)
พระราชวังบางปะอิน
ระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้.
ดู สหราชอาณาจักรและพระราชวังบางปะอิน
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช
ร้อยเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช หรือ พระองค์พีระ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528) ทรงเป็นนักแข่งรถชาวไทย และทรงเป็นผู้เข้าแข่งขันกีฬาเรือใบในโอลิมปิก 1956, 1960, 1964 และ 1972.
ดู สหราชอาณาจักรและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช
พระสยามเทวาธิราช
ระสยามเทวาธิราช เป็นเทวรูป หล่อด้วยทองคำสูง 8 นิ้ว ประทับยืนทรงเครื่องกษัตริยาธิราช ทรงฉลองพระองค์อย่างเครื่องของเทพารักษ์ มีมงกุฎเป็นเครื่องศิราภรณ์ พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงขรรค์ พระหัตถ์ ซ้ายยกขึ้นจีบดรรชนีเสมอพระอุระ องค์พระสยามเทวาธิราชประดิษฐานอยู่ในเรือนแก้วทำด้วยไม้จันทน์ ลักษณะแบบวิมานเก๋งจีน มีคำจารึกเป็นภาษาจีนที่ผนังเบื้องหลัง แปลว่า "ที่สถิตแห่งพระสยามเทวาธิราช" เรือนแก้วเก๋งจีนนี้ประดิษฐานอยู่ในมุขกลางของพระวิมานไม้แกะสลักปิดทอง ตั้งอยู่เหนือลับแลบังพระทวารเทวราชมเหศวร์ ตอนกลางพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง พระวิมานไม้แกะสลักปิดทองนี้ เรียกว่า พระวิมานไม้แกะสลักปิดทองสามมุข ด้านหน้าขององค์พระสยามเทวาธิราชตั้งรูปพระสุรัสวดี หรือพระพราหมี เทพเจ้าแห่งการดนตรีและขับร้อง มุขตะวันออกของพระวิมาน ตั้งรูปพระอิศวรและพระอุมา มุขตะวันตกของพระวิมาน ตั้งรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ.
ดู สหราชอาณาจักรและพระสยามเทวาธิราช
พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร
ระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ปัจจุบัน บริเวณด้านข้างของพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ปัจจุบัน พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ที่สอง พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรองค์แรก พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน ตรงข้ามกับสระทางด้านตะวันออก ของพระราชวังบางปะอิน พระที่นั่งองค์นี้สร้างด้วยไม้ สไตล์ยุโรป แบบสวิสชาเล่ต์ 2 ชั้น มีกำแพงแก้ว จดหมายเหตุได้กล่าวไว้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเงิน 90 ชั่งเพื่อสร้างพระที่นั่งองค์นี้ และรั้วพระราชวังบางปะอิน เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..
ดู สหราชอาณาจักรและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ (พระนามเดิม: หม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร; ประสูติ: 13 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร
ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร
พอล แอร์ดิช
อล แอร์ดิช (Paul Erdős บางครั้งสะกด Erdos หรือ Erdös; Erdős Pál; 26 มี.ค. พ.ศ. 2456 - 20 ก.ย. พ.ศ. 2539) เป็นนักคณิตศาสตร์ผู้โดดเด่น ทั้งในด้านผลงาน และพฤติกรรมอันแปลกประหลาด ผลงานตีพิมพ์ของเขามีจำนวนมหาศาล มีผู้ร่วมตีพิมพ์รวมแล้วนับร้อยคน และเกี่ยวพันกับหลาย ๆ สาขาในคณิตศาสตร์ อาทิ คณิตศาสตร์เชิงการจัด ทฤษฎีกราฟ ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์แบบคลาสสิก ทฤษฎีการประมาณ ทฤษฎีเซต และ ทฤษฎีความน่าจะเป็น.
ดู สหราชอาณาจักรและพอล แอร์ดิช
พอลล่า เทเลอร์
อลล่า เทเลอร์ (ชื่อจริง: พัลลภา มาร์กาเรต เทย์เลอร์; เกิด: 20 มกราคม พ.ศ. 2526) หรือชื่อภาษาไทย พัลลภา ศุภอักษร เป็นนักแสดงหญิงและนางแบบลูกครึ่งไทย-อังกฤษ.
ดู สหราชอาณาจักรและพอลล่า เทเลอร์
พอลแซ็ธ
ชายหาดช่วงฤดูท่องเที่ยว เดือนกรกฎาคม ปี 2006 ทิวทัศน์ของชายหาดที่มองออกไปเห็นแหลม Pentire อาทิตย์ตกเหนือเกาะ Newlands ทิวทัศน์ของชายหาด มองจากนิวพอลแซ็ธ พอลแซ็ธ (Polzeath) เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ตั้งอยู่บนชายฝั่งทิศเหนือของมณฑลคอร์นวอลล์ สหราชอาณาจักร เป็นสถานที่ที่ดีมากสำหรับการฝึกหัดโต้คลื่น เพราะมีคลื่นซัดเข้ามาจากมหาสมุทรแอตแลนติก มียามชายฝั่งคอยเฝ้าระวังในเวลากลางวัน บางครั้งอาจพบเห็นปลาโลมาได้ และรอบๆชายฝั่งก็เป็นแหล่งอาศัยของนกชายฝั่งหลายชนิด ชายหาดของหมู่บ้านจะจมอยู่ใต้น้ำทั้งหมดเวลาน้ำขึ้นสูง รวมทั้งที่จอดรถด้วยเช่นกัน แต่ก็จะเกิดขึ้นเฉพาะเวลาที่น้ำทะเลหนุนสูงเท่านั้น ในหมู่บ้านมีร้านค้าท้องถิ่นมากมาย ซึ่งมีทุกสิ่งที่จำเป็นสำหรับการพักผ่อนในวันหยุด และยังมีผับ คาเฟ่ และภัตตาคารอยู่อีกจำนวนหนึ่งด้วย หมวดหมู่:สหราชอาณาจักร.
พังก์ร็อก
ังก์ร็อก เป็นดนตรีร็อกประเภทหนึ่ง (โดยมากมักเรียกสั้นๆว่า พังก์) มีการเคลื่อนไหวและเป็นที่รู้จักในช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 พังก์ร็อกได้พัฒนาระหว่างปี 1974 และ 1977 ในสหรัฐอเมริกา,สหราชอาณาจักร และ ออสเตรเลีย โดยมีวงอย่าง เดอะราโมนส์, เซ็กซ์พิสทอลส์ และ เดอะแคลช ที่เป็นที่รู้จักในฐานะแนวหน้าของดนตรีประเภทนี้ ลักษณะดนตรีแบบ พังก์ร็อกมีลักษณะท่วงทำนองที่รุนแรง หยาบกระด้าง ด้วยความขาดทักษะของการเล่นดนตรี ส่วนการร้องก็จะเป็น "ตะโกน"หรือ "บ่น" และแฝงนัยยะของ "การต่อต้าน " และการยกย่อง "ความเป็นเลิศ" เครื่องดนตรีจะประกอบด้วย กีตาร์ไฟฟ้า 1 หรือ 2 ตัว,เบสไฟฟ้าและชุดกลอง มักมีการเล่นแบบ 2 คอร์ด เพลงพังก์มักมีความยาวระหว่าง 2 ถึง 2 นาทีครึ่ง มีบางเพลงมีความยาวน้อยกว่า 1 นาทีก็มี เพลงพังก์ในช่วงแรกรับอิทธิพลจากร็อกแอนด์โรลคือมีท่อนประสานเสียง พังก์ร็อกกลายเป็นกระแสนิยมหลักในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1970 แต่ความโด่งดังในที่อื่นมีในจำกัด จนกระทั่งทศวรรษที่ 80 พังก์ร็อกได้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเล็กๆ ทั่วทุกมุมโลก ส่วนมากจะถูกปฏิเสธจากดนตรีกระแสหลัก ในช่วงปลายยุคทศวรรษที่ 1970 ดนตรีพังก์ร็อกได้แตกแยกแขนง ไปหลากหลายทิศทาง เช่นเพลงแนว นิวเวฟ, โพสต์พังก์ โดยหลายวงได้ทำการทดลองแนวดนตรีไปในทิศทางอื่น เช่นแนวฮาร์ดคอร์พังก์ และ ออย! และ อะนาร์โค-พังก์ เป็นต้น และพังก์ร็อกยุคใหม่ได้พัฒนาไปอีกขึ้น โดยเพลงแนวออลเทอร์นาทิฟร็อกได้รับความนิยมเหมือนตอนที่ได้พังก์ร็อกรับความนิยมในช่วงแรก.
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
พาราเซตามอล
ราเซตามอล (Paracetamol (INN)) หรือ อะเซตามีโนเฟน (acetaminophen (USAN)) ทั้งหมดย่อมาจาก para-acetylaminophenol เป็นยาที่สามารถจำหน่ายได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ (OTC) มีฤทธิ์แก้ปวดและลดไข้ ซึ่งเป็นยาพื้นฐานที่มักใช้เพื่อบรรเทาไข้ อาการปวดศีรษะ และอาการปวดเมื่อย และรักษาให้หายจากโรคหวัดและไข้หวัด พาราเซตามอลประกอบด้วยยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ (NSAIDs) และโอปิออยด์ พาราเซตามอลมักใช้รักษาอาการปวดพื้นฐานถึงการปวดอย่างซับซ้อน โดยทั่วไปพาราเซตามอลจะปลอดภัยต่อมนุษย์หากได้รับในปริมาณที่เหมาะสม แต่หากได้รับปริมาณมากเกินไป (เกิน 1000 มิลลิกรัมต่อโดส หรือ 4,000 มิลลิกรัมต่อวันในผู้ใหญ่ หรือเกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวันสำหรับผู้ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์) จะทำให้เกิดความเสียหายต่อการทำงานของตับได้ แต่ผู้ป่วยบางรายที่รับประทานในปริมาณปกติก็สามารถส่งผลต่อตับได้เช่นเดียวกับผู้ที่รับในปริมาณมากเกินไปเช่นกัน แต่หากกรณีดังกล่าวพบได้น้อยมาก อันตรายจากการใช้ยานี้จะมากขึ้นในผู้ดื่มแอลกอฮอล์ พิษของพาราเซตามอลสามารถทำให้แกิดภาวะตับล้มเหลวซึ่งมีการพบแล้วในโลกตะวันตก อาทิในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และนิวซีแลน.
ดู สหราชอาณาจักรและพาราเซตามอล
พาที สารสิน
ที สารสิน (24 ตุลาคม 2504 -) อดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สายการบินนกแอร์ จำกั.
ดู สหราชอาณาจักรและพาที สารสิน
พิพิธภัณฑ์บริติช
้านหน้าของ '''บริติช มิวเซียม''' ใจกลางของพิพิธภัณฑ์มีการรื้อพัฒนาใหม่ใน ปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ให้เป็นมหาราชสำนักของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ล้อมรอบห้องอ่านหนังสือเดิม ห้องสมุดอันโด่งดังภายในบริติชมิวเซียม บริติชมิวเซียม หรือที่นิยมเรียกกันว่า พิพิธภัณฑ์อังกฤษ (British Museum) ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของมนุษยที่สำคัญที่สุดและใหญ่ที่สุดในโลก มีการก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพิพิธภัณฑ์บริติช
พิธีสารมอนทรีออล
ีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน (Montreal Protocol on Substances That Deplete the Ozone Layer) คือสนธิสัญญาสากลที่กำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง, และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและพิธีสารมอนทรีออล
พีซออฟมี
"พีซออฟมี" (Piece of Me) เป็นซิงเกิลลำดับที่สองของบริทนี่ย์ สเปียร์ส จากอัลบั้มแบล็กเอาต์ อำนวยการผลิตโดย Bloodshy & Avant เพลง "พีซออฟมี" ขึ้นชาร์ต''บิลบอร์ด'' ฮอต 100 และแคนาดาฮอตครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.
พนมเปญ
นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.
กบฏนักมวย
กบฏนักมวย (Boxer Rebellion) หรือ ศึกพันธมิตรแปดชาติ เป็นการก่อความไม่สงบเพื่อต่อต้านจักรวรรดินิยมและคริสต์ศาสนานำโดย "สมาคมอี้เหอถวน" ในสมัยศตวรรษที่ 19 ชาวต่างชาติได้เข้ามาค้าขายในประเทศจีนนานเข้า ชาวต่างชาติก็เริ่มเข้ามามีอิทธิพลในจีนและได้ส่งกำลังทหาร อาวุธที่ทันสมัยและมิชชันนารีเข้าไปเผยแพร่ศาสนาคริสต์ เนื่องจากเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดการรวมกลุ่มของชาวจีนผู้รักชาติเรียกว่า "กบฏนักมวย" ขึ้น นักมวยจะฝึกกังฟูซึ่งพวกเขาเชื่อว่าจะสามารถต่อกรกับผู้รุกรานจาก ยุโรป อเมริกาและญี่ปุ่นได้ กบฏนักมวยได้ทำการลอบสังหารมิชชันนารีชาวตะวันตก ประณามชาวต่างชาติ และเผาโบสถ์ ฯลฯ กบฏนักมวยได้รับการสนับสนุนจากซูสีไทเฮามาก ทั้งด้านการส่งทัพหลวงมาช่วยและเสริมอาวุธยุทธโธปกรณ์ต่างๆ ซึ่งหลังจากกลุ่มกบฏนักมวยถูกปราบได้ไม่นานก็เกิดการโค่นล้มราชวงศ์ชิงขึ้น.
กฎบัตรสหประชาชาติ
กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและกฎบัตรสหประชาชาติ
กฎบัตรแอตแลนติก
อร์ชิลล์พบกับรูสเวลต์บนเรือยูเอสเอส ออกัสตาในการประชุมลับนอกฝั่งนิวฟันด์แลนด์ เชอร์ชิลล์พบกับรูสเวลต์บนเรือราชนาวีพรินซ์ออฟเวลส์ ร่างกฎบัตรแก้ไขลายมือเชอร์ชิลล์ กฎบัตรแอตแลนติก (Atlantic Charter) คำประกาศหลักการแห่งนโยบายแห่งชาติโดยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.
ดู สหราชอาณาจักรและกฎบัตรแอตแลนติก
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู สหราชอาณาจักรและกรุงเทพมหานคร
กรีฑาสถานแห่งชาติ
กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.
ดู สหราชอาณาจักรและกรีฑาสถานแห่งชาติ
กรณ์ จาติกวณิช
กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..
ดู สหราชอาณาจักรและกรณ์ จาติกวณิช
กรดโฟลิก
ฟเลต หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่รู้จักคือ กรดโฟลิก และ วิตามินบี9 (folate, folic acid, vitamin B9) เป็นวิตามินบีชนิดหนึ่ง มีปริมาณที่แนะนำต่อวันอยู่ที่ 400 ไมโครกรัม และมักใช้เป็นอาหารเสริมในช่วงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารก (ซึ่งรวมการไม่มีสมองใหญ่ สมองโป่ง กระดูกสันหลังโหว่) --> และยังใช้รักษาภาวะเลือดจางจากการขาดกรดโฟลิก กว่า 50 ประเทศเสริมกรดโฟลิกในอาหารเพื่อเป็นมาตรการลดอัตรา NTDs ในประชากร การเสริมกรดโฟลิกในอาหารเป็นประจำสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจเล็กน้อย เป็นวิตามินที่สามารถใช้ทานหรือฉีดก็ได้ ยาไม่มีผลข้างเคียงที่สามัญ ยังไม่ชัดเจนว่าการทานในขนาดสูงเป็นระยะเวลายาวนานมีปัญหาหรือไม่ แต่การใช้ขนาดสูงสามารถอำพรางการขาดวิตามินบี12ได้ --> โฟเลตเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อผลิต DNA RNA และกระบวนการสร้างและย่อยสลายกรดอะมิโนซึ่งจำเป็นต่อการแบ่งเซลล์ เนื่องจากมนุษย์ไม่สามารถสร้างกรดโฟลิก ดังนั้นจำต้องได้จากอาหาร การไม่ได้โฟเลตเพียงพอก็จะทำให้เกิดภาวะขาดโฟเลต --> ซึ่งอาจมีผลเป็นภาวะเลือดจางที่มีเม็ดเลือดขนาดใหญ่ (megaloblastic) เป็นจำนวนน้อย --> อาการอาจรวมความล้า หัวใจเต้นเร็ว หายใจไม่ทัน แผลบนลิ้นไม่หาย สีผิวหรือผมเปลี่ยน --> การขาดในช่วงตั้งครรภ์เบื้องต้นเชื่อว่าเป็นเหตุของภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารกเกินครึ่ง การขาดในเด็กอาจเกิดภายในเดือนเดียวที่ทานอาหารไม่ดี ในผู้ใหญ่ระดับโฟเลตทั้งหมดในร่างกายอยู่ที่ระหว่าง 10,000-30,000 ไมโครกรัม (µg) โดยมีระดับในเลือดเกิน 7 nmol/L (3 ng/mL) กรดนี้ค้นพบในระหว่างปี..
กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).
ดู สหราชอาณาจักรและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
กลุ่มรัสเซล
กลุ่มรัสเซล (Russell Group) เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ในสหราชอาณาจักร 18 มหาวิทยาลัยจากสมาชิก 19 แห่ง ติด 20 อันดับแรกของประเทศในด้านงบวิจัย กลุ่มรัสเซลมีมหาวิทยาลัยอันดับต้น ๆ ของสหราชอาณาจักรอยู่เป็นจำนวนมาก ผู้คนมักเปรียบเทียบกลุ่มรัสเซลของสหราชอาณาจักรกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบที่ไม่ค่อยจะสมเหตุผลเท่าไรนัก เนื่องจากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำในสหรัฐอเมริกานั้น ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน (ยกเว้นมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ที่มีบางสาขาได้รับการสนับสนุนจากรัฐ) จึงไม่มีความจำเป็นต้องจัดตั้งกลุ่มล็อบบี้วิ่งเต้น อย่างมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรซึ่งทุกแห่งรับงบประมาณรัฐ (ยกเว้นเพียงแห่งเดียวคือ มหาวิทยาลัยบักกิงแฮม ที่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเต็มรูปแบบ) จุดประสงค์ของกลุ่มรัสเซลคือ เป็นกระบอกเสียงของสมาชิก (โดยเฉพาะการวิ่งเต้นล็อบบี้รัฐบาลและรัฐสภา) และจัดทำรายงานเพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องต่าง ๆ ประเด็นสนใจของกลุ่มได้แก่ ความต้องการเป็นผู้นำในการวิจัยของสหราชอาณาจักร เพิ่มรายรับให้มากที่สุด ดึงพนักงานและนักเรียนที่ดีที่สุด ลดการแทรกแซงจากรัฐบาล และใช้ประโยชน์จากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยให้มากที.
ดู สหราชอาณาจักรและกลุ่มรัสเซล
กลุ่มดาวหมีใหญ่
กลุ่มดาวหมีใหญ่ เป็นกลุ่มดาวที่มีตำนานเกี่ยวข้องกับคัลลิสโตในเทพนิยายกรีก ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุด 7 ดวง ทำให้เกิดดาวเรียงเด่นซึ่งคนไทยเรียกว่า ดาวจระเข้ คนลาว เรียกว่า ดาวหัวช้าง ในสหราชอาณาจักรเรียกว่า คันไถ ในจีนและอเมริกาเหนือ เรียกว่า กระบวยใหญ่ กลุ่มดาวหมีใหญ่ เป็นกลุ่มดาวสำคัญ ช่วยชี้หาดาวเหนือได้ โดยไล่จากขาหน้าขวา (βUMa) ไปทางขาหน้าซ้าย (αUMa) เลยออกไปอีกประมาณ 5 ช่วง นอกจากกลุ่มดาวหมีใหญ่ ยังมีอีกกลุ่มที่ใช้หาดาวเหนือได้คือ กลุ่มดาวแคสซิโอเปีย หรือดาวค้างคาว สำหรับคนในซีกโลกเหนือ กลุ่มดาวหมีใหญ่เป็นกลุ่มดาวที่มองเห็นได้ตลอดทั้งปีเช่นเดียวกับดาวเหนือ แต่ในทางกลับกันเนื่องจากเป็นกลุ่มดาวที่อยู่ในซีกฟ้าเหนือ ผู้ที่อาศัยอยู่ทางซีกโลกใต้มาก ๆ จะเห็นได้ลำบาก เพราะตำแหน่งดาวบนทรงกลมท้องฟ้า จะอยู่ใต้พื้นโลกเกือบตลอดเวลา สิ่งที่น่ารู้อีกอย่างเกี่ยวกับกลุ่มดาวหมีใหญ่คือ กลุ่มดาวหมีใหญ่มีโลกที่สดใสและเป็นสีชมพูตลอดเวลาเนื่องจากกลุ่มดาวหมีใหญ่มีดาวบีตา(β)ชื่อว่า"มีรัก(Merak)".
ดู สหราชอาณาจักรและกลุ่มดาวหมีใหญ่
กวินเน็ธ พัลโทรว์
กวินเน็ธ เคต พัลโทรว์ เกิดวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1972 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน คว้ารางวัลดารานำหญิงลูกโลกทองคำและออสการ์จากภาพยนตร์เรื่อง Shakespeare in Love และยังเคยเป็นนักร้องออกซิงเกิ้ลในเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง Duets พัลโทรว์ย้ายมาอยู่กับสามี คริส มาร์ติน แห่งวงโคลด์เพลย์ที่สหราชอาณาจักร มีลูกด้วยกันสองคนชื่อ แอปเปิ้ล กับ โม.
ดู สหราชอาณาจักรและกวินเน็ธ พัลโทรว์
กอร์โดบา (ประเทศสเปน)
กอร์โดบา (Córdoba) เป็นเมืองในแคว้นปกครองตนเองอันดาลูซีอาทางภาคใต้ของประเทศสเปน และเป็นเมืองหลักของจังหวัดกอร์โดบา มีพิกัดภูมิศาสตร์ตั้งอยู่ที่ 37°88' เหนือ 4°77' ตะวันตก ริมแม่น้ำกวาดัลกีบีร์ ก่อตั้งขึ้นในสมัยโรมันโบราณในชื่อ กอร์ดูบา (Corduba) โดยเกลาดีอุส มาร์เซลลุส (Claudius Marcellus) ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและกอร์โดบา (ประเทศสเปน)
กอล์ฟ
ลูกกอล์ฟและหลุมกอล์ฟ กอล์ฟ คือกีฬาหรือเกมประเภทบอลชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นใช้ไม้หลายชนิดตีลูกบอลให้ลงหลุม จากกฎของกอล์ฟ ระบุว่า "กีฬากอล์ฟประกอบด้วยการเล่นลูกใดลูกหนึ่งด้วยไม้กอล์ฟจากแท่นตั้งทีไปลงหลุมโดยการสโตรคหนึ่งครั้งหรือหลายครั้งต่อเนื่องกันตามกฎข้อบังคับ" กอล์ฟเป็นหนึ่งในกีฬาประเภทบอลเพียงไม่กี่ชนิดที่ไม่มีอาณาเขตการเล่นที่แน่นอน (สนามกอล์ฟแต่ละแห่งสามารถมีรูปร่างและขนาดต่างกัน) ต้นกำเนิดของกอล์ฟนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ระหว่างเนเธอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และจีน โดยมีการเล่นกอล์ฟมาแล้วอย่างน้อยห้าศตวรรษในหมู่เกาะบริเตน กอล์ฟในรูปแบบปัจจุบันได้มีการเล่นในสกอตแลนด์ตั้งแต่พ.ศ.
กองทัพอากาศมาเลเซีย
กองทัพอากาศมาเลเซีย (Royal Malaysian Air Force) มีประวัติความเป็นมาคล้ายกับกองทัพอากาศของประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษประเทศอื่น ๆ คือในช่วงแรกจะเป็นกองทัพอากาศอังกฤษที่ดูแลน่านฟ้าให้ก่อน ซึ่งต่อมาอังกฤษถอนตัวออกไปในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและกองทัพอากาศมาเลเซีย
กองทัพแดง
accessdate.
กองทัพเรือไทย
กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร.
ดู สหราชอาณาจักรและกองทัพเรือไทย
กัลยา โสภณพนิช
ณหญิงกัลยา โสภณพนิช (21 กันยายน 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคอีสาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัต.
ดู สหราชอาณาจักรและกัลยา โสภณพนิช
กากบาทเขียว
กากบาทเขียว สัญลักษณ์หนึ่งของเภสัชกรรม กากบาทเขียว (pharmacy cross) เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรรม นิยมมากในประเทศสหราชอาณาจักรและประเทศฝรั่งเศส หมวดหมู่:สัญลักษณ์ทางเภสัชกรรม.
ดู สหราชอาณาจักรและกากบาทเขียว
กาญจนา นาคสกุล
ตราจารย์กิตติคุณ ดร.กาญจนา นาคสกุล ศาสตราจารย์กิตติคุณ กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทวรรณศิลป์ สาขาภาษาไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญภาษาและวรรณคดีไทย รวมทั้งภาษาและวรรณคดีเขมรมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศ มีผลงานด้านการเขียนเกี่ยวกับภาษาไทยและภาษาเขมรเป็นจำนวนมาก กาญจนาเป็นที่รู้จักกันมากยิ่งขึ้นเมื่อจัดรายการ "ภาษาไทยวันละคำ" โดยหยิบยกคำภาษาไทยที่คนไทยใช้กันผิดพลาดมากมาอธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจและใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องยิ่งขึ้น ในปี 2555 กาญจนาได้เสนอแนวทางการปรับปรุงคำยืมจากภาษาอังกฤษ 176 คำ แต่ได้ถูกคัดค้าน และทางราชบัณฑิตยสถานได้ ประกาศว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน..
ดู สหราชอาณาจักรและกาญจนา นาคสกุล
กาฐมาณฑุ
right กาฐมาณฑุ (काठमाडौं, Kathmandu) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนปาล และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดด้วย เป็นพื้นที่เมืองและชานเมืองที่มีประชากรประมาณ 3.2 ล้านคนในพื้นที่ 3 เมืองในหุบเขากาฐมาณฑุในเนปาลกลาง บนแม่น้ำพาคมตี (Bagmati) อีก 2 เมืองคือปาฏัน (Patan) และภักตปุระ (Bhaktapur) กาฐมาณฑุตั้งที่ 27°43' เหนือ 85°22' ตะวันออก (27.71667, 85.36667) เมืองนี้ยังได้รับการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้เป็นครั้งแรกอีกด้วย และเมืองนี้เป็นเมืองหลวงเมืองเดียวในโลกที่มีตำรวจจราจรเป็นตำรวจหญิง.
การบุกครองนอร์ม็องดี
การรุกรานนอร์ม็องดี คือการรบระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะนาซีเยอรมนีที่ประจำการอยู่ในยุโรปตะวันตก กับกองกำลังสัมพันธมิตรกว่า 3 ล้านนายที่ทำการบุกข้ามช่องแคบอังกฤษมาจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ (ส่วนใหญ่มาจากเมืองพอร์ทสมัธ) มายังหัวหาดนอร์ม็องดีในฝรั่งเศสที่กองทัพเยอรมันยึดมาได้ ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน..
ดู สหราชอาณาจักรและการบุกครองนอร์ม็องดี
การรับรู้รส
ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.
ดู สหราชอาณาจักรและการรับรู้รส
การลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรป
การลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (Référendum sur l'élargissement de la CEE) จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2515 เป็นการลงประชามติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในการผนวกสหราชอาณาจักร เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ และนอร์เวย์เข้ากับประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (Communauté économique européenne (CEE)).
ดู สหราชอาณาจักรและการลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรป
การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา
การจัดอันดับสถานศึกษา การจัดอันดับ (ranking) หรือการให้คะแนน (rating) หลักสูตรหรือสถานศึกษานั้น มีขึ้นเพื่อเป็นชี้ถึงจุดเด่นจุดด้อยของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพการศึกษา คุณภาพงานวิจัย การยอมรับของผู้จ้างงาน งบประมาณการศึกษา เครือข่ายศิษย์เก่า ความเป็นนานาชาติ สัดส่วนนักศึกษาต่อผับในเมือง จำนวนผู้ได้รับรางวัลโนเบล ฯลฯ การจัดอันดับของแต่ละสำนักนั้น จะให้น้ำหนักความสำคัญกับแต่ละตัวชี้วัดแตกต่างกันไปตามประเภทและวัตถุประสงค์ของการจัดอันดับ เช่น โดยทั่วไป ในการจัดอันดับหลักสูตรบริหารธุรกิจ (MBA) จะให้ความสำคัญกับเครือข่ายศิษย์เก่า มากกว่าในการจัดอันดับสถาบันเทคโนโลยี หรือ ในการจัดดับหลักสูตรระดับปริญญาตรี จะให้ความสำคัญกับชีวิตความเป็นอยู่ระหว่างศึกษา มากกว่าในการจัดอันดับหลักสูตรระดับปริญญาโทหรือเอก ตัวชี้วัดที่นำมาใช้ในการจัดอันดับนั้นสามารถแบ่งได้สองประเภทใหญ่คือ แบบอัตวิสัย (subjective) และแบบภววิสัย (objective) โดยแบบแรกนั้นเป็นลักษณะความคิดเห็น เช่น ชื่อเสียงวิชาการในหมู่เพื่อนร่วมอาชีพ ความพอใจของผู้จ้างงาน ส่วนแบบหลังนั้นเป็นข้อมูลที่วัดได้โดยตรง เช่น ขนาดแบนด์วิธอินเทอร์เน็ต จำนวนนักศึกษาต่ออาจารย์ ข้อมูลที่นำมาคำนวณหรือประมวลเป็นตัวชี้วัดนั้น ได้มาจากแหล่งข้อมูลหลายประเภท เช่น ทำการสำรวจ ค้นหาจากสิ่งตีพิมพ์/เว็บไซต์ หรือสอบถามโดยตรงกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานรับผิดชอบของแต่ละประเทศ โดยแหล่งข้อมูลแต่ประเภทก็จะใช้แรงงาน เวลา และค่าใช้จ่ายไม่เท่ากัน รวมถึงมีความครอบคลุมและความน่าเชื่อถือต่างกันไป และแหล่งข้อมูลบางประเภทอาจเหมาะกับตัวชี้วัดชนิดหนึ่งแต่ไม่เหมาะกับตัวชี้วัดอีกชนิดหนึ่ง เหล่านี้เป็นปัจจัยในการเลือกใช้แหล่งข้อมูลของสำนักจัดอันดับ และยังเป็นตัวชี้ว่า ผลการจัดอันดับนั้นน่าเชื่อถือเพียงใด การให้ความสำคัญของอันดับสถานศึกษานั้นแตกต่างกันไปตามประเทศ โดยในสหราชอาณาจักร หนังสือพิมพ์หลายฉบับมีการจัดอันดับสถานศึกษา โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี มีการพิมพ์เป็นคู่มือจำนวนหลายร้อยหน้าทุก ๆ ปี ส่วนในระดับบัณฑิตศึกษา มีหน่วยงานรับผิดชอบของรัฐโดยเฉพาะในการให้คะแนนสถาบันอุดมศึกษาในด้านคุณภาพการศึกษาและคุณภาพการวิจัย ส่วนในสหรัฐอเมริกา อันดับสถานศึกษาส่งผลต่อการเลือกเข้าเรียนของนักเรียน ในขณะที่ในบางประเทศไม่มีการจัดอันดับสถานศึกษา ในประเทศไทย ได้ริเริ่มให้ 2 หน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย คือ หน่วยงานสม.
ดู สหราชอาณาจักรและการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.
ดู สหราชอาณาจักรและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การคูณ
3 × 4.
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
รงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม ภาพ ''เหล็กและถ่านหิน'' โดยวิลเลียม เบลล์ สกอตต์, ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอเมริกา
รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.
ดู สหราชอาณาจักรและการปฏิวัติอเมริกา
การปฏิเสธโรงเรียน
รคกลัวโรงเรียน (school phobia) หรือ การปฏิเสธโรงเรียน (school refusal) เป็นคำที่ใช้ครั้งแรกในสหราชอาณาจักร เพื่ออธิบายการปฏิเสธเข้าศึกษาในโรงเรียน เนื่องจากความความบีบคั้นทางอารมณ์ โรคกลัวโรงเรียนต่างจากการหนีเรียน (truant) ตรงที่เด็กที่กลัวโรงเรียนรู้สึกกังวลหรือกลัวโรงเรียน ขณะที่เด็กหนีเรียนโดยทั่วไปไม่รู้สึกกลัวโรงเรียน แต่มักรู้สึกโกรธหรือเบื่อโรงเรียนมากกว่า โรงพยาบาลเด็กบอสตันมีแผนภูมิแสดงความแตกต่างระหว่างโรคกลัวโรงเรียนกับการหนีเรียน คำว่า "การปฏิเสธโรงเรียน" ถูกประดิษฐ์ขึ้นใช้แทน "โรคกลัวโรงเรียน" ซึ่งเคยใช้อธิบายเยาวชนเหล่านี้ในอดีต การปฏิเสธโรงเรียนเป็นคำที่มีความหมายกว้างกว่า ที่ยอมรับว่า เด็กมีปัญหาในการเข้าโรงเรียนด้วยเหตุผลหลากหลาย อย่างไรก็ดี เหตุผลเหล่านี้อาจมิใช่การแสดงความกลัวที่แท้จริง เช่น การแยกหรือกังวลต่อการเข้าสังคม อาจจะเพราะครูโหดเกินไป Wimmer, M.
ดู สหราชอาณาจักรและการปฏิเสธโรงเรียน
การประชุมเอเชีย–ยุโรป
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเชีย-ยุโรป หรือ อาเซม (Asia-Europe Meeting ย่อว่า ASEM) เป็นการประชุมของกลุ่มประเทศในเอเชียและยุโรป จัดตั้งขึ้นเพื่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของสองกลุ่มประเทศ อาเซมเริ่มต้นจากข้อเสนอใน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและการประชุมเอเชีย–ยุโรป
การประกวดเพลงยูโรวิชัน
การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและการประกวดเพลงยูโรวิชัน
การประกาศสงคราม
การโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์ การประกาศสงคราม คือคำประกาศอย่างเป็นทางการ กระทำโดยชาติใดชาติหนึ่งเพื่อแสดงว่าสถานะทางกฎหมายของการสู้รบระหว่างประเทศได้เกิดขึ้นแล้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและการประกาศสงคราม
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment ย่อว่า EIA) หมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจนำไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจนิยามได้ว่าเป็น "กระบวนการเพื่อการบ่งชี้ ทำนาย ประเมิน และบรรเทาผลกระทบทางชีวกายภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีต่อข้อเสนอการพัฒนาใด ๆ ก่อนที่จะมีการตัดสินใจให้ลงมือดำเนินได้" วัตถุประสงค์ของการประเมินก็เพื่อให้เป็นการประกันได้ว่า ผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจได้พิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบของโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสิ่งแวดล้อม ก่อนทำการอนุมัติให้ดำเนินโครงการที่มีผู้ขออนุญาตดำเนินการ.
ดู สหราชอาณาจักรและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การ์ตูนเน็ตเวิร์ค
การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและการ์ตูนเน็ตเวิร์ค
การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์
การโจมตีท่าเพิร์ลเป็นการโจมตีทางทหารอย่างจู่โจมของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อฐานทัพเรือสหรัฐที่ท่าเพิร์ล ดินแดนฮาวาย ในเช้าวันที่ 7 ธันวาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์
การเปรียบเทียบซีดีรวบรวมซอฟต์แวร์ฟรี
ตารางต่อไปนี้เปรียบเทียบซอฟต์แวร์ฟรีและโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานบนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ดูรายละเอียดของซอฟต์แวร์ และข้อมูลล่าสุดได้ในแต่ละซอฟต์แวร์นั้น หมวดหมู่:การแจกจ่ายซอฟต์แวร์เสรี.
ดู สหราชอาณาจักรและการเปรียบเทียบซีดีรวบรวมซอฟต์แวร์ฟรี
กาดิซ
กาดิซ (Cádiz) เป็นเมืองและเมืองท่าทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสเปนและเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นปกครองตนเองอันดาลูซีอา กาดิซเป็น "ศูนย์กลางบริหารทางทะเลในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ของกองทัพเรือสเปน" ตั้งแต่การเข้ามาของราชวงศ์บูร์บงในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เมืองนี้เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกาดิซและเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยกาดิซ ตามการสำรวจสำมะโนประชากรในปี พ.ศ.
กาแฟ
กาแฟดำ ซึ่งบรรจุในถ้วย กาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากเมล็ดซึ่งได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟ คั่ว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทำให้มีสรรพคุณชูกำลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกำลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบอาระเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยายในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็นหลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหาร ซูฟี ในเยเมน แถบอาระเบีย จาก โลกมุสลิม กาแฟได้แพร่ขยายไปยังทวีปยุโรป อินโดนีเซีย และทวีปอเมริกา ในระหว่างที่กาแฟเริ่มเดินทางจากทวีปอเมริกาเหนือและตะวันออกกลางสู่ทวีปยุโรป กาแฟได้ถูกส่งผ่านไปยังซิซิลีและอิตาลีในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นผ่านตุรกีไปยังกรีซ ฮังการี และออสเตรียในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากอิตาลีและออสเตรีย กาแฟได้แพร่ขยายไปยังส่วนที่เหลือของทวีปยุโรป กาแฟได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคมหลายแห่งตลอดประวัติศาสตร์ ในแอฟริกาและเยเมน มันถูกใช้ร่วมกับพิธีกรรมทางศาสนา ผลที่ตามมาคือ ศาสนจักรเอธิโอเปีย ได้สั่งห้ามการบริโภคกาแฟตลอดกาล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ จักรพรรดิเมเนลิกที่ 2 มันยังได้ถูกห้ามใน จักรวรรดิออตโตมันระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสาเหตุทางการเมือง และมีส่วนเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางการเมืองหัวรุนแรงในทวีปยุโรป ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กใน จีนัส Coffea หลายสปีชีส์ โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ Coffea arabica และกาแฟ "โรบัสต้า" ที่ได้จากชนิด Coffea canephora ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อราสนิมใบกาแฟ (Hemileia vastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งคู่มีการปลูกในละตินอเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นำไปผ่านกรรมวิธีและทำให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่ต้องการ และจะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนำเสนอได้ในหลายวิธี กาแฟเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของโลก โดยในปี คริสต์ศักราช 2004 กาแฟเป็นสินค้าการเกษตรส่งออกที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งในจำนวน 12 ประเทศ และเป็นพืชที่มีการส่งออกอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งมีมูลค่าสูงที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ในปี คริสต์ศักราช 2005 กาแฟได้รับการโต้เถียงบางส่วนในด้านการเพาะปลูกต้นกาแฟและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม และมีการศึกษาจำนวนมากที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกาแฟกับข้อจำกัดทางยาอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดว่ากาแฟให้คุณหรือให้โทษกันแน.
กำจัดจุดอ่อน
กำจัดจุดอ่อน (Weakest Link) คือรายการควิซโชว์ ออกอากาศครั้งแรกในสหราชอาณาจักรทางช่อง BBC Two และ BBC One เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและกำจัดจุดอ่อน
กำแพงแห่งแอตแลนติก
กำแพงแห่งแอตแลนติก (Atlantikwall) เป็นระบบการป้องกันชายฝั่งทะเลที่กว้างขวางและป้อมปราการที่ถูกสร้างขึ้นโดยนาซีเยอรมนี..
ดู สหราชอาณาจักรและกำแพงแห่งแอตแลนติก
กิโยตีน
กีโยตีนในอังกฤษ โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน กิโยตีน (guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก.
กูเกิล
กูเกิล (Google Inc.) (และ) เป็นบริษัทมหาชนอเมริกัน มีรายได้หลักจากการโฆษณาออนไลน์ที่ปรากฏในเสิร์ชเอนจินของกูเกิล อีเมล แผนที่ออนไลน์ ซอฟต์แวร์จัดการด้านสำนักงาน เครือข่ายออนไลน์ และวิดีโอออนไลน์ รวมถึงการขายอุปกรณ์ช่วยในการค้นหา กูเกิลสำนักงานใหญ่ที่รู้จักในชื่อกูเกิลเพล็กซ์ตั้งอยู่ที่เมืองเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีพนักงาน 16,805 คน (31 ธันวาคม 2550) โดยกูเกิลเป็นบริษัทอเมริกันที่ใหญ่ที่สุดที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของดัชนีดาวโจนส์ (ข้อมูล 31 ตุลาคม พ.ศ.
กีฬามหาวิทยาลัยโลก
กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Universiade) เป็นชื่อการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยจากนานาชาติทั่วโลก อยู่ในการกำกับดูแลของ สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Federation of International University Sports - FISU) โดยชื่อ Universiade เป็นการนำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำ คือ university (มหาวิทยาลัย) และ olympiad (โอลิมปิก) มาสนธิกัน การจัดการแข่งขันจะจัดขึ้นทุกสองปี โดยมีกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ซึ่งทั้งสองมหกรรมกีฬานี้จะจัดแข่งขันในปีเดียวกัน แต่ต่างเวลาและสถานที่ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและกีฬามหาวิทยาลัยโลก
กีฬาโอลิมปิก
กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..
ดู สหราชอาณาจักรและกีฬาโอลิมปิก
กีฬาเบสบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน
กีฬาเบสบอลในโอลิมปิก (Baseball) เปิดตัวอย่างไม่เป็นทางการในโอลิมปิกฤดูร้อน 1904 และเป็นกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 เบสบอลมีประวัติเป็นกีฬาสาธิตในโอลิมปิกมาอย่างยาวนานก่อนหน้าที่จะมีการบรรจุให้มีการชิงเหรียญอย่างเป็นทางการโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) เบสบอลในโอลิมปิกมีหน่วยงานดูแล คือ สหพันธ์เบสบอลนานาชาติ (ไอบีเอเอฟ) ชนิดกีฬาเบสบอลมีการแข่งขันครั้งสุดท้ายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ซึ่งจัดในกรุงปักกิ่ง โดยเกาหลีใต้ได้เหรียญทองไป ในการประชุมไอโอซีเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและกีฬาเบสบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน
ก็อดเซฟเดอะควีน
ลงก็อดเซฟเดอะควีน หรือ ก็อดเซฟเดอะคิง เป็นเพลงปลุกใจ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมีของสหราชอาณาจักร เพลงนี้ใช้เป็นหนึ่งในสองเพลงชาติของนิวซีแลนด์ เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ทั้งยังใช้เป็นเพลงคำนับสำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์อังกฤษด้วย หากประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะคิง แต่ถ้าพระราชินีทรงเป็นประมุขก็จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะควีน ในภาษาไทยไม่นิยมแปลชื่อเพลงนี้ออกมาโดยตรง แต่มักเรียกทับศัพท์ว่า ก็อดเซฟเดอะคิง หรือ ก็อดเซฟเดอะควีน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีอังกฤษ ตามลักษณะของเพลง.
ดู สหราชอาณาจักรและก็อดเซฟเดอะควีน
ฐานันดรศักดิ์ยุโรป
รรดาศักดิ์ยุโรป หมายถึงระบบชั้นและชั้นยศของขุนนางในทวีปยุโรป ปัจจุบันยังปรากฏมากอยู่ในสหราชอาณาจักรและยังปรากฏในประเทศอื่นๆ ที่ปกครองด้วยระบอบราชาธิบไตยด้วย เช่นเดนมาร์ก และ สวีเดน เป็นต้น ระบบขุนนางในยุโรปนี้เป็นระบบขุนนางสืบตระกูล ทายาทที่อาวุโสที่สุดจะได้ขึ้นสืบบรรดาศักดิ์ มีสิทธิและเกียรติฐานะเทียบเท่ากับเจ้าบรรดาศักดิ์เดิม ซึ่งแตกต่างกับระบบขุนนางในประเทศในเอเชีย ที่บรรดาศักดิ์ขุนนางจะเป็นสิทธิเฉพาะบุคคลเท่านั้น ไม่มีการสืบทอดไปยังรุ่นลูกหลาน.
ดู สหราชอาณาจักรและฐานันดรศักดิ์ยุโรป
ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง
"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง
ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ
ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.
ดู สหราชอาณาจักรและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ
ภาษาบัลแกเรีย
ษาบัลแกเรียเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นสมาชิกของแขนงใต้ของภาษากลุ่มสลาวิก.
ดู สหราชอาณาจักรและภาษาบัลแกเรีย
ภาษาพม่า
ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.
ภาษาฝรั่งเศส
ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและภาษาฝรั่งเศส
ภาษายิดดิช
ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.
ภาษาศาสตร์
ษาศาสตร์ (linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า นักภาษาศาสตร.
ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง
ษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structured Query Language: SQL, อ่านอย่างย่อว่า เอสคิวแอล, ซีเควล, ซีควล) เป็นภาษาสอบถามที่นิยมมากที่สุดของการจัดการฐานข้อมูล สำหรับสร้าง แก้ไขและเรียกใช้ฐานข้อมูล โดยใช้มาตรฐานของแอนซี (ANSI) และ ไอเอสโอ (ISO) ปัจจุบันการใช้งานใช้ในหลายจุดประสงค์มากกว่าใช้สำหรับจัดการโปรแกรมเชิงวัตถุที่เป็นจุดประสงค์แรกของการสร้างภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง.
ดู สหราชอาณาจักรและภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง
ภาษาสินธี
ษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ..
ภาษาสิเลฏี
ษาสิเลฏี (ชื่อในภาษาของตนเอง সিলটী Silôţi; ภาษาเบงกาลี সিলেটী Sileţi) เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวสิลเหตที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบังกลาเทศ และทางใต้ของรัฐอัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาเบงกาลีจนอาจจะถือเป็นสำเนียงได้ ชาวสิลเหตเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกามรูปในสมัยโบราณ มีลักษณะของภาษาอัสสัม เช่น การคงอยู่ของเสียงเสียดแทรกมากกว่าภาษาในอินเดียตะวันออกอื่นๆ มีการเขียนด้วยอักษรเบงกาลีในปัจจุบัน ภาษาสิเลฏิเป็นภาษาที่เน้นเสียงท้ายคำ และมีคำยืมจากภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม ผู้พูดภาษาสิเลฏิในบังกลาเทศจะได้รับอิทธิพลจากภาษาเบงกาลีสำเนียงมาตรฐานมาก.
ภาษาสเปน
ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ภาษาจีนกวางตุ้ง
ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.
ดู สหราชอาณาจักรและภาษาจีนกวางตุ้ง
ภาษาคุชราต
ษาคุชราต (ગુજરાતી คุชราตี) คือภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอินโด-ยุโรเปียน เป็นหนึ่งใน 22 ภาษาทางการ และ 14 ภาษาภูมิภาคของอินเดีย และเป็นหนึ่งในภาษาชนกลุ่มน้อยของปากีสถาน มีผู้พูดภาษาคุชราตประมาณ 46 ล้านคนทั่วโลก มากเป็นอันดับที่ 23 ของโลก โดยที่ 45.5 ล้านคนอาศัยอยู่ในอินเดีย 150,000 คนในยูกันดา 100,000 คนในปากีสถาน 250,000 คนในแทนซาเนีย และ 50,000 คนในเคนยา ภาษาคุชราต คือภาษาหลักของรัฐคุชราตในอินเดีย รวมถึงพื้นที่สหภาพที่ติดกันคือ ดามานและดีอู และ ดาดราและนครหเวลี และยังเป็นภาษาของชุมชนชาวคุชราตในเมืองมุมไบ (บอมเบย์เดิม) นอกจากนี้ยังปรากฏประชาการจำนวนหนึ่งที่พูดภาษาคุชราตได้ในอเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร คุชราตเป็นภาษาแม่ของมหาตมะ คานธี "บิดาของอินเดีย" มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ "บิดาของปากีสถาน" และซาร์ดาร์ วัลลัภภัย ปาเทล "บุรุษเหล็กแห่งอินเดีย".
ภาษาตุรกี
ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ.
ภาษาโภชปุรี
ษาโภชปุรีเป็นภาษาที่พูดกันแพร่หลายทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย คือทางตะวันตกของรัฐพิหาร ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐฌารขัณฑ์ และบริเวณปุรวัณฉัลของอุตรประเทศรวมถึงทางใต้ของเนปาล ภาษาโภชปุรีมีผู้พูดในกายอานา ซูรินาม ฟิจิ ทรินิแดดฯ และมอริเชียสด้วย ภาษานี้ถือว่าไม่ใช่ภาษาถิ่นของภาษาฮินดี เตรียมจะรับรองสถานะเป็นภาษาประจำชาติอีกภาษาหนึ่ง ภาษาโภชปุรีมีคำศัพท์คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู และภาษาตระกูลอินโด-อารยันอื่นๆในภาคเหนือของอินเดีย ภาษาโภชปุรีและภาษาใกล้เคียงได้แก่ ภาษาไมถิลีและภาษามคธีเป็นที่รู้จักโดยรวมว่าภาษาพิหาร ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันออกเช่นเดียวกับภาษาเบงกาลีและภาษาโอริยา ภาษาถิ่นของภาษาโภชปุรีมีราว 3-4 ภาษาในภาคตะวันออกของรัฐอุตรประเท.
ดู สหราชอาณาจักรและภาษาโภชปุรี
ภาษาโปแลนด์
ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.
ดู สหราชอาณาจักรและภาษาโปแลนด์
ภูเขาไฟกรากะตัว
ูเขาไฟกรากาตัวระหว่างการปะทุในปี ค.ศ. 2008 การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่รอบเกาะกรากาตัว กรากาตัว (Krakatoa) หรือ กรากาเตา (Krakatau) เป็นชื่อภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน การระเบิดครั้งใหญ่ของภูเขาไฟลูกนี้ก่อให้เกิดความหายนะครั้งใหญ่ในประเทศอินโดนีเซีย และเหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและภูเขาไฟกรากะตัว
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา เริ่มแรกนั้นได้รับการก่อตั้งในชื่อ “วิทยาลัยไทยเทคนิค” เมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
มหาวิทยาลัยกลาสโกว์
มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ (อังกฤษ: The University of Glasgow; ละติน: Universitatis Glasguensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1451 เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในสามมหาวิทยาลัยในเมืองกลาสโกว์ สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงในด้านการสอนและการวิจัย และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสก็อตแลนด์ และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ถูกก่อตั้งขึ้นอาณัติจากพระสันตปาปานิโคลัสที่ห้าโดยพระประสงค์ของพระเจ้าเจมส์ที่สอง เพื่อให้สก็อตแลนด์มีมหาวิทยาลัยสองแห่งเช่นเดียวกันกับอังกฤษที่มีอ็อกซฟอร์ดและเคมบริดจ์ ซึ่งทำให้กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดอันดับสี่ในสหราชอาณาจักร และยังเป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากเป็นอันดับสี่ในบริเทนรองจากอ็อกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และเอดินเบอระ อีกด้วย มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นมีสัดส่วนนักเรียนต่างชาติค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ โดยประมาณครึ่งหนึ่งเป็นคนในกลาสโกว์เอง อีก 40% เป็นนักเรียนจากเมืองต่างๆภายใน UK มีเพียงประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ที่มาจากต่างชาติ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของ UK มาหลายศตวรรษ เช่นเดียวกับเอดินเบอระและเซนต์แอนดรูส์ กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกใน UK ที่ก่อตั้งภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยนอกเขตลอนดอนที่มีคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เมืองกลาสโกว์นั้นมีอัตราส่วนวิศวกรต่อประชากรสูงมากเป็นอันดับสามของโลก มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ได้ให้กำเนิดนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกเป็นจำนวนมาก อาทิ ลอร์ดเคลวิน – หนึ่งในผู้พัฒนากฎข้อสองของเทอร์โมไดนามิคส์ และภายหลังได้รับเกียรติให้นำชื่อไปให้เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิเคลวิน เจมส์ วัตต์ – ผู้พัฒนากลจักรไอน้ำจนก่อให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักร จอห์น โลกี แบรด – ผู้ประดิษฐ์โทรทัศน์ โจเซฟ ลิสเตอร์ – หนึ่งในผู้ริเริ่มการผ่าตัดแบบสมัยใหม่ และ โจเซฟ แบลค – นักเคมีที่มีผลงานมากมายรวมไปถึงการค้นพบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ยังมีชื่อเสียงทางด้านสังคมศาสตร์ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าด้านวิศวกรรมศาสตร์เลยแม้แต่น้อย กลาสโกว์นั้นถือได้ว่าเป็นจุดกำเนิดของยุคแสงสว่างอย่างแท้จริง ศาสตราจารย์ฟรานซิส ฮัทชิสัน แห่งมหาวิทยาลัยกลาสโกว์เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utilitarian principle) ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฎีพื้นฐานภายใต้เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Economics) อดัม สมิธ ศิษย์เก่าที่โด่งดังที่สุดของมหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้ผสมผสานทฤษฎีนี้ผนวกกับแนวคิดของเดวิด ฮูม (นักปรัชญาชาวเอดินเบอระ) ก่อให้เกิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ เศรษฐศาสตร์การเมือง และทฤษฎีการค้าเสรี ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอย่างมหาศาลมาจนถึงยุคปัจจุบัน.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยกลาสโกว์
มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ คาเลโดเนียน
มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ คาเลโดเนียน (Glasgow Caledonian University) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเมืองกลาสโกว์ ที่เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของสกอตแลนด์ กลาสโกว์ คาเลโดเนียน เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ใจกลางเมืองกลาสโกว์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักร เนื่องจากกำเนิดขึ้นจากวิทยาลัยช่าง มหาวิทยาลัยนี้จึงเน้นภาคปฏิบัติเป็นหลัก เน้นการเรียนวิชาที่นำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตการทำงานที่แท้จริง ทำให้นักเรียนที่จบการศึกษาจากที่นี่ล้วนแต่ได้รับการยอมรับเป็นอย่างดีจากบรรดานายจ้าง มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ คาเลโดเนียน มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคธุรกิจเป็นอย่างมาก ซึ่งนอกจากจะทำให้มหาวิทยาลัยได้รับทุนทรัพย์สำหรับพัฒนางานวิจัยแล้ว ยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ศึกษาหาความรู้ในทางปฏิบัติได้อย่างเต็มที่ จึงเป็นการช่วยให้นักศึกษาที่จบจากมหาวิทยาลัยมีความสามารถที่จะนำไปใช้ในเชิงธุรกิจได้ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ คาเลโดเนียน เป็นมหาวิทยาลัยใหม่ที่มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับภาคอุตสาหกรรมมาโดยตลอด เมื่อไม่นานมานี้ มหาวิทยาลัยได้มีการปรับปรุงบูรณะตัววิทยาเขตจนกลายเป็นมหาวิทยาลัยที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งของสหราชอาณาจักร และมีอุปกรณ์การทำวิจัยและการเรียนการสอนที่ทันสมัยมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม และบริหารธุรกิจ กลาสโกว์ คาเลโดเนียน ยังเป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในสกอตแลนด์ที่เน้นทางด้านผู้ประกอบการและการบริหารความเสี่ยง ซึ่งเป็นสาขาสำคัญทางการเงิน นอกจากนี้ GCAL ยังมีหลักสูตรสมัยใหม่ที่เน้นเฉพาะสาขาที่นอกจากเป็นที่นิยมแล้ว ยังหาเรียนได้ยากในมหาวิทยาลัยอื่นอีกด้วย เช่น การท่องเที่ยว แฟชั่น การจัดการอีเวนต์ และการคุ้มครองผู้บร.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ คาเลโดเนียน
มหาวิทยาลัยลอนดอน
ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน (University of London) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองในสหราชอาณาจักร ดำเนินงานส่วนใหญ่อยู่ในลอนดอน มีนักศึกษาในวิทยาเขต 135,090 คน และมากกว่า 40,000 ในโครงการ University of London External Programme มหาวิทยาลัยก่อตั้งใน..
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยลอนดอน
มหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์
มหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์ (University of Strathclyde) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเมืองกลาสโกว์ ทางด้านตะวันตกของสกอตแลนด์ มหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์ถูกตั้งขึ้นในปี 1796 ณ ใจกลางเมืองกลาสโกว์ที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักร นอกจากการเน้นทางด้านงานวิจัยแล้ว สแตรธไคลด์ยังเน้นหลักสูตรที่ทันสมัยเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคธุรกิจ ด้วยเหตุนี้ มหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์จึงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและมีความสัมพันธ์อันดีกับภาคธุรกิจมาโดยตลอด สแตรธไคลด์ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรปริญญาโทที่หลากหลายที่สุดแห่งหนึ่งใน UK มหาวิทยาลัยสแตรธไคลค์มีชื่อเสียงทางด้านบริหารธุรกิจเป็นอย่างมาก และเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหราชอาณาจักรที่ริเริ่มคอร์ส MBA แบบหนึ่งปี และผ่านมาตรฐานของ AMBA EQUIS และ AACSB นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์ยังโด่งดังด้านวิศวกรรมเป็นอย่างมาก โดยเมืองกลาสโกว์ถือเป็นเมืองที่ผลิตวิศวกรมากที่สุดเป็นอันดับสองใน UK รองจากลอนดอน และมีอัตราส่วนวิศวกรต่อจำนวนประชากรสูงที่สุดในโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
มหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์
มหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์ เป็นมหาวิทยาลัยวิทยาเขตในอีสต์ซัสเซ็กส์ อังกฤษ สหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2504.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์
มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน
มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน (University of Aberdeen) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1495 เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสามของสกอตแลนด์ และอันดับห้าของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเมืองแอเบอร์ดีน ทางด้านตะวันออกของสกอตแลนด์ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนถูกตั้งขึ้นโดย William Elphinstone องค์พระสันตปาปาแห่งเมืองแอเบอร์ดีน มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีชื่อเสียงทางด้านงานวิจัยและการเรียนการสอนทางด้านการแพทย์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกฎหมาย โดยเฉพาะสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์นั้น ได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องในหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีศูนย์ Medical Science ที่มีความทันสมัยที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนยังเป็นศูนย์กลางการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ของสก็อตแลนด์อีกด้วย มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนมีชื่อเสียงทางด้านกฎหมายเป็นอย่างมากและได้รับการจัดอันดับให้อยู่ใน Top 10 ของ UK โดยนอกจากจะมีหลักสูตรทางด้านกฎหมายสาขาต่างๆที่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นแล้ว ยังมีหลักสูตร Energy law ที่ครอบคลุมทั้ง Oil & Gas, Renewable Energy, Energy Market, Upstream และ Downstream อีกด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน
มหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์
มหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์ (Heriot-Watt University) (อ่านว่า แฮ-เรียด-หวัด มิใช่ เฮริออท-หวัด แบบที่มักเข้าใจผิด) เป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ของสกอตแลนด์ซึ่งตั้งชื่อตาม จอร์จ แฮเรียต นักอุตสาหกรรมและนักการเงินใหญ่ผู้บริจาคเงินปรับปรุงมหาวิทยาลัย และ เจมส์ วัตต์ ผู้พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำคนสำคัญ มหาวิทยาลัยก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์
มหาวิทยาลัยเอดินบะระ
ตึกโอลด์คอลเลจ ที่ตั้งของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ (The University of Edinburgh; Universitas Academica Edinburgensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1583 เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับ 4 ของสกอตแลนด์ ถัดจาก มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูวส์ (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยเอดินบะระ
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
มหาสมุทรอินเดีย
มหาสมุทรอินเดีย เป็นผืนน้ำที่มีขนาดกว้างใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก กินพื้นที่ประมาณ 20% ของพื้นน้ำบนโลก ทางเหนือติดกับตอนใต้ของทวีปเอเชีย (อนุทวีปอินเดีย) ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรอาหรับและทวีปแอฟริกา ทางตะวันออกติดกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แถบทะเลอันดามัน และประเทศออสเตรเลีย ทางใต้ติดกับมหาสมุทรใต้ แยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกาบนเส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรแปซิฟิกที่เส้นเมริเดียน 147° ตะวันออก ตอนเหนือสุดของมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30° เหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยู่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริกาและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นน้ำ 70,560,000 ตารางกิโลเมตร รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย แต่ไม่รวมมหาสมุทรใต้หรือ 19.5% ของมหาสมุทรโลก มหาสมุทรอินเดียมีปริมาตรประมาณ 264,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร หรือ 19.8% ของปริมาณมหาสมุทรโลก มีความลึกเฉลี่ย 3,741 เมตร และมีความลึกสูงสุด 7,906 เมตร.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาสมุทรอินเดีย
มหาตมา คานธี
มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1876 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1900 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1915 มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) มีชื่อเต็มว่า โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (મોહનદાસ કરમચંદ ગાંધી; Mohandas Karamchand Gandhi) เป็นผู้นำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู.
ดู สหราชอาณาจักรและมหาตมา คานธี
มอร์ฟีน
มอร์ฟีน (Morphine) ที่ขายภายใต้ชื่อการค้าหลายชื่อ เป็นยาระงับปวดชนิดยาเข้าฝิ่น ออกฤทธิ์โดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลางเพื่อลดความรู้สึกปวด ใช้ได้ทั้งกับอาการปวดเฉียบพลันและปวดเรื้อรัง มอร์ฟีนยังมักใช้กับอาการปวดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดและระหว่างการคลอด สามารถให้ทางปาก โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ฉีดใต้ผิวหนัง เข้าหลอดเลือดดำ เข้าช่องว่างระหว่างไขสันหลัง หรือทางทวารหนัก ฤทธิ์สูงสุดอยู่ประมาณ 20 นาทีเมื่อให้เข้าหลอดเลือดดำ และ 60 นาทีเมื่อให้ทางปาก ส่วนระยะออกฤทธิ์อยู่ระหว่าง 3 ถึง 7 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังมีสูตรออกฤทธิ์ยาว ผลข้างเคียงรุนแรงที่อาจเกิดได้มีความพยายามหายใจลดและความดันเลือดต่ำ มอร์ฟีนมีศักยะสูงสำหรับการติดยาและการใช้เป็นสารเสพติด หากลดขนาดหลังการใช้ระยะยาว อาจเกิดอาการถอนได้ ผลข้างเคียงทั่วไปมีซึม อาเจียนและท้องผูก แนะนำให้ระวังเมื่อใช้ระหว่างตั้งครรภ์หรือเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพราะมอร์ฟีนจะมีผลต่อทารก ฟรีดริช แซร์ทัวร์เนอร์เป็นผู้แรกที่แยกมอร์ฟีนระหว่าง..
มาม่า
alt.
มารายห์ แครี
ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ มารายห์ แครี (อัลบั้ม) มารายห์ แครี (เกิด 27 มีนาคม ค.ศ. 1970) เป็นนักร้องชาวอเมริกา นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลง และนักแสดง เธอมีผลงานเปิดตัวครั้งแรกในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและมารายห์ แครี
มาร์กาเรต แทตเชอร์
มาร์กาเรต ฮิลดา แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) หรือยศขุนนางอังกฤษคือ บารอเนสแทตเชอร์ (ชื่อเดิม มาร์กาเรต ฮิลดา โรเบิตส์; 13 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมาร์กาเรต แทตเชอร์
มาทิลดา เอ็มเค I
รถถังทหารราบ เอ็มเค 1 มาทิลดา 1 (เอ 11) เป็นรถถังทหารราบของประเทศสหราชอาณาจักรในสงครามโลกครั้งที่ 2.
ดู สหราชอาณาจักรและมาทิลดา เอ็มเค I
มาทิลดา เอ็มเค II
right รถถังขนาดกลางมาทิลดา เอ็มเค II คันนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงปี 1936 ถึง 1938 และมียอดการผลิตทั้งหมด 2987 คันเมื่อการผลิตยุติการผลิตลงในเดือนสิงหาคม 1943 รถถังรุ่นนี้เป็นรุ่นเดียวที่เข้าประจำการตลอดการรบในสงครามโลกครั้งที่ 2.
ดู สหราชอาณาจักรและมาทิลดา เอ็มเค II
มาดริด
มาดริด (Madrid) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศสเปน มีประชากรอาศัยในตัวเมืองประมาณ 3.2 ล้านคน(ตัวเลขเมื่อปี 2005) และประชากรในเขตเมืองทั้งหมดประมาณ 6 ล้านคน (ตัวเลขเมื่อปี 2006) มาดริดยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมาดริดด้ว.
มาเรียแห่งเท็ค
มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมาเรียแห่งเท็ค
มาเลเซียแอร์ไลน์
Malaysia Airlines head office มาเลเซียแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของมาเลเซีย ให้บริการเดินทางทั้งในและนอกทวีป เคยเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับโดยสกายแทรกซ์ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาว มาเลเซียแอร์ไลน์เคยเป็นหนึ่งในสายการบินที่มีผู้คนยอมรับมากที่สุดในโลกตะวันออก จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของเที่ยวบินที่ 370 สูญหายระหว่างทำการบินในเดือนมีนาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและมาเลเซียแอร์ไลน์
มาเลเซียเชื้อสายไทย
วมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือ ชาวสยาม (นิยมเรียกในมาเลเซีย) เป็นชาวไทยถิ่นใต้ที่อาศัยอยู่พื้นที่แถบนี้มาช้านาน โดยการเข้ามาเรื่อย ๆ พอนานเข้าก็กลายเป็นชนกลุ่มหนึ่งในรัฐไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ทางตอนเหนือของรัฐเประก์ และมีจำนวนหนึ่งอาศัยในปีนัง โดยบางส่วนได้ผสมกลมกลืนกับชนพื้นเมืองแถบนี้ด้วย ภายหลังการยกดินแดนส่วนนี้แก่อังกฤษ ชาวไทยกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งตกค้างในประเทศมาเลเซียจนถึงปัจจุบัน แต่ชาวไทยในประเทศมาเลเซียนี้ก็ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทยในอดีตไว้ได้อย่างดี รวมถึงภาษา และศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวมลายูทั่วไป.
ดู สหราชอาณาจักรและมาเลเซียเชื้อสายไทย
มิสไทยแลนด์เวิลด์
มิสไทยแลนด์เวิลด์ (Miss Thailand World) เป็นชื่อของเวทีการประกวดนางงามในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ผู้ดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นตัวแทนประเทศไทย เข้าประกวดนางงามโลก (Miss World) ซึ่งมีคำขวัญประจำการประกวดว่า งามอย่างมีคุณค่า (Beauty with a Purpose) และตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมิสไทยแลนด์เวิลด์
มิสเวิลด์
มิสเวิลด์ (Miss World) เป็นการประกวดนางงามระดับนานาชาติ ก่อตั้งในสหราชอาณาจักรโดย เอริค มอร์ลีย์ ใน ค.ศ. 1951 หรือ พ.ศ. 2494 หลังจากที่เอริค มอร์เลย์เสียชีวิตลงใน ค.ศ.
มิคา
มเคิล ฮอลบรูค เพ็นนิแมน.อาร. (Michael Holbrook Penniman J.R.) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ มิคา เพ็นนิแมน (Mica Penniman) เกิดวันที่ ที่ 18 สิงหาคม 2526 เลบานอน เติบโตในลอนดอน และปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นนักร้องสังกัด Casablanca Records และยูนิเวอร์ซัลมิวสิคกรุ๊ป เริ่มโด่งดังในฐานะนักร้องนักแต่งเพลงตั้งแต่ปลาย ค.ศ.
มินสค์
ริเวณจัตุรัสแห่งชัยชนะในกรุงมินสค์ มินสค์ (Minsk; Мінск; Минск) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวิสลาช (Svislach) และแม่น้ำเนียมีฮา (Niamiha) ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 280.4 เมตร กรุงมินสค์เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเครือรัฐเอกราช (CIS) ในที่เป็นฐานะเมืองหลวงของประเทศ ยังมีสถานะการบริหารพิเศษและยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของจังหวัดมินสค์และเขตมินสค์อีกด้วย ในปี ค.ศ.
มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก
มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก (High School Musical) หรือ มัธยมดนตรี เป็นภาพยนตร์เพลงอเมริกัน ได้รับรางวัลเอ็มมี ออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและมือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก
ยาปฏิชีวนะ
การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ม็ดคุมกำเนิด (Combined Oral Contraceptive Pill, COCP, the Pill) คือยาเม็ดที่มีส่วนผสมของ เอสโทรเจน (ฮอร์โมนเพศหญิง) และโพรเกสทิน (โพรเกสโทรเจนสังเคราะห์) ใช้รับประทานเพื่อยับยั้งภาวะเจริญพันธุ์ (fertility) ในเพศหญิง ยาคุมกำเนิดได้รับอนุญาตให้ใช้เป็นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและยาเม็ดคุมกำเนิด
ยิบรอลตาร์
รอลตาร์ (Gibraltar) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับจุดใต้สุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ในบริเวณช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 6.5 ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสเปน และมีประชากรประมาณ 32,000 คน สถานที่ที่มีชื่อเสียงของยิบรอลตาร์คือ โขดหินยิบรอลตาร์ (Rock of Gibraltar) ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาแห่งหนึ่งของโลก เดิมทียิบรอลตาร์เคยเป็นดินแดนหนึ่งของราชอาณาจักรสเปน จนกระทั่งในปี..
ยุทธการที่ทะเลสาบอีรี
ทธการที่ทะเลสาบอีรี หรือ ยุทธการอ่าวพุท-อิน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน..
ดู สหราชอาณาจักรและยุทธการที่ทะเลสาบอีรี
ยุโรปตะวันตก
แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.
ดู สหราชอาณาจักรและยุโรปตะวันตก
ยูโร
ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ยูเนียนแจ็ก
งสหภาพ (Union Flag) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ยูเนียนแจ็ก (Union Jack) เป็นธงชาติสหราชอาณาจักร ทั้งยังได้รับการใช้อย่างเป็นทางการและกึ่งทางการในรัฐสมาชิกเครือจักรภพบางรัฐ เช่น ในประเทศแคนาดาที่ซึ่งธงนี้มีนามตามกฎหมายว่า "ราชธวัชสหภาพ" (Royal Union Flag) ธงสหภาพยังใช้อย่างเป็นทางการในดินแดนโพ้นทะเลบางดินแดนของอังกฤษ ทั้งยังปรากฏในธงของบางประเทศซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นอังกฤษด้วย ธงสหภาพมีกำเนิดย้อนหลังไปถึงปี 1603 เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ เสวยราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ เป็นอันรวมแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์เป็นสหภาพหนึ่งเดียว กระนั้น แต่ละรัฐยังคงดำรงเอกราชอยู่มิได้ขึ้นแก่กัน วันที่ 12 เมษายน 1606 จึงมีการตราพระราชกฤษฎีกาให้มีธงใหม่เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ระหว่างประเทศอังกฤษและประเทศสกอตแลนด์ พระราชกฤษฎีกานี้ให้รวมธงอังกฤษ (ธงพื้นขาวมีกางเขนสีชาดซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญจอร์จ" อยู่ตรงกลาง) เข้ากับธงสกอตแลนด์ (ธงพื้นน้ำเงินมีกางเขนไขว้สีขาวซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญแอนดรูว" อยู่ตรงกลาง) เรียกว่า "ธงแห่งบริเตนใหญ่" ซึ่งก็คือ ธงผืนแรกแห่งสหภาพ รูปแบบปัจจุบันของธงสหภาพมีขึ้นในสหภาพบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เมื่อปี 1801, from the Flag Institute site.
ดู สหราชอาณาจักรและยูเนียนแจ็ก
ระเบิดพลาสติก
ระเบิดพลาสติก (Plastic explosive หรือ plastique) คือวัตถุระเบิดชนิดพิเศษอย่างหนึ่ง ที่อ่อนนุ่ม ใช้มือกดดัดให้เปลี่ยนรูปได้ ทั้งยังเก็บไว้ในช่วงอุณหภูมิสูงที่กว้างกว่าระเบิดชนิดบริสุทธิ์ ระเบิดพลาสติกนั้นเหมาะเป็นพิเศษกับการระเบิดทำลาย เพราะสามารถขึ้นรูปได้ง่าย สำหรับการตัดโครงสร้างที่แข็งแรง และมีความเร็วสูงพอสำหรับการชุดชนวนและมีความรุนแรงสำหรับการตัดโลหะ แต่จะไม่นิยมใช้ระเบิดพลาสติกสำหรับการทำลายทั่วไป เพราะระเบิดพลาสติกมีราคาแพงกว่าวัตถุระเบิดชนิดอื่นๆ ซึ่งทำงานได้ดีในขอบข่ายงานดังกล่าว นอกจากนี้เมื่อห่อระเบิดไว้ในพลาสติก อานุภาพมักจะต่ำกว่าเมื่อไม่ห่อหุ้ม ระเบิดพลาสติกที่เก่าแก่ที่สุด คือ โนเบล 808 (Nobel 808) ที่พัฒนาขึ้นมาด้วยดีก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และใช้อย่างแพร่หลายโดยหน่วยปฏิบัติการพิเศษของอังกฤษ ในช่วงสงครามดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีใช้โดยบรรจุในระเบิดทำลายรถถังแบบ HESH ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและหลังจากนั้น มีการพัฒนาระเบิดแบบใหม่ขึ้นมาจำนวนหนึ่ง โดยมีส่วนประกอบเป็น RDX ได้แก่ Composition C, C2 และสุดท้ายก็เป็น C3 การใช้ระเบิดที่มี RDX เป็นส่วนประกอบ สามารถผลิตพลาสติกได้หลากหลาย เพื่อลดความไวในการระเบิด และผลิตพลาสติกเป็นส่วนประกอบ ระเบิดซีทรี (C3) มีประสิทธิภาพสูงก็จริง แต่มีจุดอ่อนเมื่ออยู่ในสภาพอากาศหนาวเย็น จะทำให้เกิดการร่วนแตกง่าย เมื่อถึงทศวรรษ 1960 จึงมีการพัฒนาระเบิดซีโฟร์ (C-4) ขึ้นมา เพื่อใช้แทนระเบิดพลาสติก ซึ่งมีส่วนผสมของอาร์ดีเอกซ์เช่นเดียวกัน แต่ใช้ร่วมกับโพลีไอโซบิวทีลีน (polyisobutylene) และได (2-เอทิลเฮกซีล) ซีเบเคต (di (2-ethylhexyl) sebacate) นอกจากนี้ ในช่วงเวลายังมีการพัฒนา Semtex ขึ้น โดยสตานิสลาฟ เบรเบรา จากการผสมสาร RDX กับ PETN และจากนั้นก็เพิ่มเครื่องห่อหุ้มและอุปกรณ์เพิ่มเสถียรภาพ ระเบิดพลาสติกที่มีใช้ในปัจจุบันด้วยกันหลายแบบ ได้แก่ ซีโฟร์ (C-4), PENO, พรีมาชีต (Primasheet) และ Semtex.
ดู สหราชอาณาจักรและระเบิดพลาสติก
รัชดา ธนาดิเรก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชดา ธนาดิเรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 33 (บางพลัด บางกอกน้อย) พรรคประชาธิปัตย์ อดีตอาจารย์ประจำ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ดู สหราชอาณาจักรและรัชดา ธนาดิเรก
รัฐมนตรี
รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.
รัฐมนตรีวงใน
ในสหราชอาณาจักร รัฐมนตรีวงใน (อังกฤษ: Inner Cabinet) หมายถึงคณะรัฐมนตรีที่สำคัญประมาณ 12-15 ตำแหน่ง ซึ่งจะประชุมเพื่อตัดสินใจนโยบายของรัฐบาลร่วมกัน เป็นผู้กำหนดทิศทางนโยบายของรัฐบาล หมวดหมู่:การเมือง หมวดหมู่:การปกครอง.
ดู สหราชอาณาจักรและรัฐมนตรีวงใน
รัฐสภา
ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหม.
ดู สหราชอาณาจักรและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐปะลิส
ปะลิส หรือเดิมสะกดว่า ปลิศ หรือ เปอร์ลิศ (Perlis, ยาวี: فرليس) มีชื่อเต็มคือ เปอร์ลิซอินเดอรากายางัน (Perlis Indera Kayangan; ยาวี: ڤرليس ايندرا كايڠن) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในมาเลเซีย อยู่ทางตอนเหนือสุดของมาเลเซียตะวันตก และติดชายแดนประเทศไทย ประชากรของรัฐมีจำนวน 198,335 คน ในปี 2543 ในจำนวนนี้เป็นชาวมลายูประมาณ 166,200 คนหรือร้อยละ 78, ชาวจีน 24,000 คนหรือร้อยละ 17, ชาวอินเดีย 3,700 คน และอื่น ๆ 5,400 คน) เมืองหลวงของรัฐปะลิสคือ กังการ์ เมืองที่เป็นที่ประทับของเจ้าผู้ครองนครคืออาเรา นอกจากนี้เมืองการค้าสำคัญบริเวณชายไทย-มาเลเซียคือปาดังเบซาร์ ส่วนเมืองท่าของรัฐซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของรัฐคือกัวลาปะล.
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนดอน
อาคารย์วิทยาลัย ออกแบบโดย ดีนิส ลาสดัน ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนดอน (Royal College of Physicians of London) เป็นสถาบันทางการแพทย์ที่เก่าแก่ที่สุดของ ประเทศอังกฤษ (โดยสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดของ สหราชอาณาจักรคือ ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งเอดินบะระ) วิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนดอนก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนดอน
ราชวงศ์วินด์เซอร์
ราชวงศ์วินด์เซอร์ เป็นราชวงศ์ที่เป็นสาขาของ ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน ของเยอรมนี เป็นราชวงศ์ปัจจุบันที่ปกครอง สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และ เครือจักรภพ ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 1 ปี..
ดู สหราชอาณาจักรและราชวงศ์วินด์เซอร์
ราชวงศ์แฮโนเวอร์
ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและราชวงศ์แฮโนเวอร์
ราชวงศ์โกนบอง
ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและราชวงศ์โกนบอง
ราชอาณาจักร
ราชอาณาจักร (kingdom, realm) เป็นชุมชนหรือดินแดนซึ่งมีองค์อธิปัตย์ปกครอง มักใช้เพื่ออธิบายอาณาจักรหรือรัฐอื่นที่ปกครองโดยระบอบกษัตริย์หรือราชวง.
ดู สหราชอาณาจักรและราชอาณาจักร
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
ราชอาณาจักรปรัสเซีย
ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.
ดู สหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรปรัสเซีย
ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
รายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
มุมหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า
รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า เป็นรหัสประเทศสามตัวอักษรกำหนดโดยฟีฟ่า สำหรับประเทศที่เป็นและไม่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า โดยรหัสของฟีฟ่านี้จะมีใช้สำหรับการแข่งขันของฟีฟ่า รวมถึงสหพันธ์ย่อยในแต่ละทวีป และบางครั้งมีการใช้งานในการแข่งขันย่อยของแต่ละประเทศ และรหัสของประเทศจะแตกต่างกับรหัสประเทศของที่ใช้ในการแข่งขันโอลิมปิกและรหัสประเทศตามมาตรฐานไอเอสโอ รหัสของฟีฟ่าจะมีทั้งหมด 208 ประเทศ ในขณะที่รหัสของโอลิมปิกจะมี 204 ประเทศ เนื่องจาก ทีมชาติอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และ ไอร์แลนด์เหนือ แข่งขันฟุตบอลในนามของทีมชาติสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า
รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ
รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ
รายชื่อผลงานอัลบั้มเพลงของเดอะคอรร์ส
หน้านี้รวบรวมผลงานของ เดอะ คอรร์ส ศิลปินกลุ่มจากประเทศไอร์แลนด์ ทั้งอัลบั้ม ซิงเกิล และวิดีโอ โดยจะแสดงตามลำดับการออกวางจำหน่าย รวมถึงอันดับ และระดับยอดขายในชาร์ตของประเทศต่างๆ ได้แก่ Irish Albums Chart (IRL) ของประเทศไอร์แลนด์, UK Albums Chart (UK) ของสหราชอาณาจักร, ชาร์ตเพลงของประเทศฝรั่งเศส (FR), ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (SUI), Media Control Charts ของประเทศเยอรมนี (GER), U.S.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อผลงานอัลบั้มเพลงของเดอะคอรร์ส
รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง
ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง
รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร
แผนที่ประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประมาณการเมื่อปี 2010 นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประกอบด้วยรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษตามมาตรฐาน ISO 3166-1 ดินแดนซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐเอกราชโดยแบ่งแยกมิได้จะถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเอกราชด้วยเช่นกัน แต่ไม่รวมไปถึงองค์กรระหว่างประเทศ อย่างเช่น สหภาพยุโรป ซึ่งมิได้มีสถานะเป็นรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษซึ่งไม่มีประชากรอยู่อาศัยอย่างถาวร อย่างเช่น การอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือแอนตาร์กติกา ประมาณการประชากรทั่วโลกคิดเป็น คน ตัวเลขซึ่งใช้ในรายชื่อดังกล่าวตั้งอยู่บนประมาณการล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาตินั้น ๆ ที่สามารถยึดถือเอาได้ แต่ถ้าหากไม่มีสถิติที่สามารถถือเอาได้ ตัวเลขจะนำมาจากประมาณการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร
รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย
รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย
รายชื่อนามสกุลที่ใช้กันมาก
นามสกุลที่นิยมใช้ในประเทศต่างๆทั่วโลก รายชื่อต่อไปนี้แสดงนามสกุลที่มีการใช้กันมาก(เรียงตามชื่อประเทศ).
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อนามสกุลที่ใช้กันมาก
รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด
หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด
รายชื่อเขตการปกครอง
รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.
ดู สหราชอาณาจักรและรายชื่อเขตการปกครอง
รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ
ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.
ดู สหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ
รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจำนวน 25 ประเทศจากทั้งสิ้น 29 ประเทศทั่วโลกตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยที่จะมาร่วมราชพิธีอันเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายนปีดังกล่าว พระประมุขจาก 13 ประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง 12 ประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน ครั้งนี้นับเป็นการชุมนุมของพระประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
รายการสาขาวิชา
รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและรายการสาขาวิชา
รายการโทรทัศน์
รายการทอล์กโชว์ The Oprah Winfrey Show โดย โอปราห์ วินฟรีย์ รายการโทรทัศน์ เป็นส่วนต่าง ๆ ของการออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ การออกอากาศรายการโทรทัศน์ มีขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและรายการโทรทัศน์
รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..
ดู สหราชอาณาจักรและรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
รถถังพันเทอร์
right พันเทอร์ (Panther) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พันเซอร์ 5 (Panzer V) ชื่ออย่างเป็นทางการคือ Panzerkampfwagen V Panther เป็นรถถังขนาดกลางของนาซีเยอรมนีที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยถูกออกแบบในช่วงปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและรถถังพันเทอร์
รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ
รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ในเมืองกูรีตีบา ประเทศบราซิล เป็นระบบแรกที่มีของรถด่วนพิเศษที่มีแห่งแรกในโลก รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือ บีอาร์ที เป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบหนึ่งที่ใช้รถโดยสาร ให้บริการเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากรถโดยสารประจำทางทั่วไป โดยพัฒนารูปแบบการเดินรถ ตัวรถโดยสาร ตารางการเดินรถ ระบบขนส่งอัจฉริยะ และที่สำคัญคือจะมีช่องทางวิ่งแยกออกมาจากถนนปกติเป็นช่องทางเฉพาะ โดยมีจุดมุ่งหมายให้มีคุณภาพของบริการเทียบเท่ากับระบบขนส่งมวลชนระบบราง ในความเร็วและความจุผู้โดยสารที่เทียบเท่ากับระบบรถไฟฟ้ารางเบา ในขณะที่ต้นทุนการก่อสร้างและการเดินรถโดยสารประจำทางที่ประหยัดกว่า ทั้งยังสามารถจัดเส้นทางการเดินรถได้ยืดหยุ่นมากกว่าระบบราง Select Bus Service website, NY Metropolitan Transit Authority.
ดู สหราชอาณาจักรและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ
รถไฟใต้ดินลอนดอน
รถไฟใต้ดินลอนดอน (London Underground) เป็นระบบขนส่งมวลชนของกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ตัวระบบใช้ไฟฟ้าเป็นหลัก มีทั้งรถไฟบนดินและรถไฟใต้ดินอยู่ภายในสายเดียวกัน ลอนดอนอันเดอร์กราวนด์เป็นรถไฟใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เริ่มเปิดใช้เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและรถไฟใต้ดินลอนดอน
ร็อก
ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.
ลอราตาดีน
ลอราตาดีน (อังกฤษ:Loratadine) เป็นยาที่ใช้รักษา โรคภูมิแพ้ (allergy) นำออกทำตลาดโดย เชอริ่ง (Schering-Plough) มีชื่อทางการค้าหลายชื่อเช่น.
ลอสท์โพรเฟ็ทส์
ลอสท์โพรเฟ็ทส์ (Lostprophets) เป็นวงอัลเทอร์เนทีฟจาก เวลส์, สหราชอาณาจักร ก่อตั้งวงในปี ค.ศ. 1997 เจ้าของรางวัล เคอร์แรง! อวอร์ด ในฐานะวงอังกฤษหน้าใหม่ยอดเยี่ยมประจำปี 2001 จากอัลบั้มเปิดตัว "thefakesoundofprogress".
ดู สหราชอาณาจักรและลอสท์โพรเฟ็ทส์
ลอนดอน
ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.
ลอนดอน (แก้ความกำกวม)
ลอนดอน เป็นเมืองหลวงของสหราชอาณาจักรและประเทศอังกฤษ คำว่า ลอนดอน ยังอาจหมายถึง.
ดู สหราชอาณาจักรและลอนดอน (แก้ความกำกวม)
ลาสต์.เอฟเอ็ม
ลาสต.เอฟเอ็ม (Last.fm สามารถอ่านเป็น ลาสต์เอฟเอ็ม หรือ ลาสต์ดอตเอฟเอ็ม) เป็นสถานีวิทยุบนอินเทอร์เน็ตของสหราชอาณาจักร และเว็บไซต์ชุมชนคนสร้างสรรค์ดนตรี ก่อตั้งเมื่อ..
ดู สหราชอาณาจักรและลาสต์.เอฟเอ็ม
ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถแอนน์ แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อังกฤษ เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่งสหราชอาณาจักร การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร
ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร
ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร คือ ลำดับความสูงต่ำแห่งฐานันดรของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ ไม่ว่าพระราชาหรือพระราชินีจะอยู่ในลำดับที่ 1 แห่งโปเจียมเสมอ ถ้าสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสีของพระองค์ (คือสมเด็จพระราชินีในรัชกาล) จะเป็นลำดับที่ 1 แห่งฝ่ายใน ในทางตรงกันข้ามไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ สำหรับเจ้าชายพระราชสวามี ดังนั้นพระองค์จะทรงพระดำเนินในลำดับที่เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับพระบรมราชโองการ.
ดู สหราชอาณาจักรและลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร
ลิงคอล์น
ลินคอล์น หรือ ลิงคอล์น (Lincoln) สามารถหมายถึง.
ลูกบาศก์มรณะ
ลูกบาศก์มรณะ (Cube) เป็นภาพยนตร์แนวไซไฟสยองขวัญ และเป็นไตรภาคที่ 1 ของภาพยนตร์ชุด ลูกบาศก์มรณะ กำกับการแสดงโดย วินเซนโซ นาตาลี (Vincenzo Natali) ออกฉายครั้งแรกในประเทศแคนาดาเมื่อ 9 กันยายน..
ดู สหราชอาณาจักรและลูกบาศก์มรณะ
ลี ไรอัน
ลี ไรอัน (Lee Ryan)(เกิด 17 มิถุนายน ค.ศ. 1983 ใน Chatham, Kent สหราชอาณาจักร ลี ไรอัน คืออดีตสมาชิกวง บลู วงพ็อพชื่อดังจากเกาะอังกฤษ เขาเป็นสมาชิกอายุน้อยที่สุดของวง แต่มีข่าวลงในหนังสือพิมพ์บ่อยที่สุดในฐานะ “หนุ่มฮ็อตขวัญใจสาวๆ” ตามที่สื่อมวลชนอังกฤษติดยี่ห้อให้เขา มีสาวที่เขาเคยเดทด้วยไม่น้อยกว่า 10 รายที่พยายามขายเรื่องของเขา (กับพวกเธอ) ให้หนังสือพิมพ์แทบลอยด์ (หนังสือกอสซิปดารา).
ล็อกเกอร์บี
ล็อกเกอร์บี (Lockerbie) เป็นเมืองขนาดเล็กมีประชากรประมาณ 4,009 คน (สถิติ ปี พ.ศ. 2544) ตั้งอยู่ในแคว้นสกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ห่างจากเมืองกลาสโกว์ ไปประมาณ 120 กิโลเมตร และห่างจากชายแดนอังกฤษ 32 กิโลเมตร ในวันที่ 21 ธันวาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและล็อกเกอร์บี
วัลลภ สุระกำพลธร
ตราจารย์ ดร. วัลลภ สุระกำพลธร ศาสตราจารย์ วัลลภ สุระกำพลธร (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 —) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิจัยชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะกับงานวิจัยและการออกแบบระบบวงจรที่เหมาะสมกับการทำเป็นวงจรรวม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับการประกาศยกย่องให้รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี..
ดู สหราชอาณาจักรและวัลลภ สุระกำพลธร
วันพ่อ
วันพ่อ เป็นวันสำคัญ ในการฉลองความเป็นพ่อและบุคคลที่นับถือในการเป็นพ่อ วันพ่อแห่งชาตินั้นทั่วโลกจะมีการจัดแตกต่างกันไป โดยในประเทศไทยจัดตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี โดยในกว่า 50 ประเทศจะจัดวันอาทิตย์ที่สามของเดือนมิถุนายน จอห์น บี.
วันจันทร์ทมิฬ
ัชนีหุ้นดาวน์โจนส์ตั้งแต่ 19 ก.ค. 2530 - 19 ม.ค. 2531 ในทางการเงิน วันจันทร์ทมิฬ (Black Monday) หมายถึง วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและวันจันทร์ทมิฬ
วันครู
วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ.
วันเอกราช
วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.
วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วิกฤตการณ์การเมืองไท..
ดู สหราชอาณาจักรและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วิวัฒนาการ
ในด้านชีววิทยา วิวัฒนาการ (Evolution) คือการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง วิวัฒนาการเกิดจากกระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ ความแปรผัน การสืบพันธุ์ และการคัดเลือก โดยอาศัยยีนเป็นตัวกลางในการส่งผ่านลักษณะทางพันธุกรรม อันเป็นพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการ ลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในประชากรเพื่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมเมื่อสิ่งมีชีวิตให้กำเนิดลูกหลานย่อมเกิดลักษณะใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม โดยลักษณะใหม่ที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการหนึ่ง เกิดจากกระบวนการกลายพันธุ์ของยีน และอีกประการหนึ่ง เกิดจากการแลกเปลี่ยนยีนระหว่างประชากร และระหว่างสปีชีส์ ในสิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้นจะผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนยีน อันก่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมที่หลากหลายในสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อความแตกต่างทางพันธุกรรมเกิดขึ้น จนเกิดความแตกต่างมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นลักษณะที่แตกต่างกัน กลไกในการเกิดวิวัฒนาการแบ่งได้ 2 กลไก กลไกหนึ่งคือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) อันเป็นกระบวนการคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมที่จะอยู่รอด และสืบพันธุ์จนได้ลักษณะที่เหมาะสมที่สุด และลักษณะที่ไม่เหมาะสมจะเหลือน้อยลง กลไกนี้เกิดขึ้นเพื่อคัดเลือกลักษณะของประชากรที่เกิดประโยชน์ในการสืบพันธุ์สูงสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตหลายรุ่นได้ผ่านพ้นไป ก็จะเกิดกระบวนการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม กลไกที่สองในการขับเคลื่อนกระบวนการวิวัฒนาการคือการแปรผันทางพันธุกรรม (genetic drift) อันเป็นกระบวนการอิสระจากการคัดเลือกความถี่ของยีนประชากรแบบสุ่ม การแปรผันทางพันธุกรรมเป็นผลมาจากการอยู่รอด และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แม้ว่าการแปรผันทางพันธุกรรมในแต่ละรุ่นนั้นจะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่ลักษณะเหล่านี้จะสะสมจากรุ่นสู่รุ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละน้อยในสิ่งมีชีวิต จนกระทั่งเวลาผ่านไปเป็นระยะเวลานาน จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในลักษณะของสิ่งมีชีวิต กระบวนการดังกล่าวเมื่อถึงจุดสูงสุดจะทำให้กำเนิดสปีชีส์ชนิดใหม่ แม้กระนั้น ความคล้ายคลึงกันระหว่างสิ่งมีชีวิตมีข้อเสนอที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการสืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษ (หรือยีนพูลของบรรพบุรุษ) เมื่อผ่านกระบวนการนี้จะก่อให้เกิดความหลากหลายมากขึ้นทีละเล็กละน้อย เอกสารหลักฐานทางชีววิทยาวิวัฒนาการชี้ให้เห็นว่ากระบวนการวิวิฒนาการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ทฤษฎีอยู่ในช่วงของการทดลอง และพัฒนาในสาเหตดังกล่าว การศึกษาซากฟอสซิล และความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำให้นักวิทยาศาสตร์ช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 19 ส่วนใหญ่เชื่อว่าสปีชีส์มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดในระยะเวลาที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม กระบวนการที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปริศนาต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วไป จนกระทั่งปี พ.ศ.
วิวัฒนาการของมนุษย์
''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H.
ดู สหราชอาณาจักรและวิวัฒนาการของมนุษย์
วิศวกรรมศาสตร์
การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.
ดู สหราชอาณาจักรและวิศวกรรมศาสตร์
วิทยา มีวุฒิสม
ตราจารย์ ดร. วิทยา มีวุฒิสม ศาสตราจารย์ วิทยา มีวุฒิสม (22 กันยายน 2492 -) เกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานการวิจัยทางด้านจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพโดยเฉพาะการสร้างองค์ความรู้ใหม่และนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม เป็นที่ปรึกษาหลายบริษัทและนักจัดรายการวิทยุ ร่วมดำเนินรายการ "ตอบปัญหาสุขภาพ" ที่สถานีวิทยุ วพท.
ดู สหราชอาณาจักรและวิทยา มีวุฒิสม
วิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.
ดู สหราชอาณาจักรและวิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Naresuan University International College - NUIC) เป็นวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งจัดการศึกษาในหลักสูตรนานาชาต.
ดู สหราชอาณาจักรและวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วิคเกอร์-6 ตัน
right.
ดู สหราชอาณาจักรและวิคเกอร์-6 ตัน
วินนี่-เดอะ-พูห์
หมีพูห์ หรือ วินนี-เดอะ-พูห์ (Winnie-the-Pooh) เป็นตัวละครหมีที่สร้างขึ้นโดย เอ. เอ. มิลน์ และตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ 14 ตุลาคม ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและวินนี่-เดอะ-พูห์
วีระชัย แนวบุญเนียร
นายวีระชัย แนวบุญเนียร อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและวีระชัย แนวบุญเนียร
สกา (แนวดนตรี)
กา เป็นแนวเพลงที่เกิดในประเทศจาไมก้า ช่วงปลายทศวรรษที่ 50 ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็น rocksteady และ เร้กเก้ เพลงสกา เป็นการรวมองค์ประกอบเพลงแถบคาริบเบียนอย่าง เม็นโต และ คาลิปโซ เข้ากับ แจ๊ซทางฝั่งอเมริกา กับอาร์แอนด์บี มีลักษณะพิเศษตรงไลน์เบส สำเนียงกีตาร์ และจังหวะเปียโนที่ดูแตกต่างไป สิ่งที่โดดเด่นอีกอย่างคือมีการใช้เครื่องเป่า (อย่างแจ๊ส) เช่น แซกโซโฟน, ทรัมเป็ต, ทรอมโบน เป็นต้น และทศวรรษที่ 60 สกาถูกหมายถึงแนวดนตรีของ Rudeboy ในสหราชอาณาจักร สกาได้รับความนิยมในกลุ่ม ม็อดและพวกสกินเฮด มีวงอย่าง Symarip, Laurel Aitken, Desmond Dekker, และ The Pioneers เป็นต้น.
ดู สหราชอาณาจักรและสกา (แนวดนตรี)
สกินเฮด
กลุ่มสกินเฮด สกินเฮด (Skinhead) คือทรงผมทรงติดหนังหัว เริ่มแรกผู้นิยมไว้ทรงนี้จะเป็น หมู่ชนชั้นกรรมาชีพ ในสหราชอาณาจักร ในช่วงยุคทศวรรษที่ 60 (ปลายปี 2503 และพัฒนาเรื่อยมาจนถึงขีดสุดในอังกฤษช่วงปี 2513) โดยได้รับอิทธิพลมาจากพวกรู้ดบอยส์ในเวสต์อินดีส์ และพวกม็อด ในสหราชอาณาจักร ในทศวรรษถัดมาสกินเฮดแพร่หลายในยุโรป อเมริกาเหนือ และ ทวีปอื่นๆ ต่อมาในช่วงปลายปี 2523 ในสหรัฐอเมริกา เกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย พวกสกินเฮด เริ่มเกลียดชังชาวต่างชาติที่อพยพเข้ามาและประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต พวกสกินเฮดจึงเป็นพวกเหยียดผิว นิยมความรุนแรง และมีส่วนในการฆาตกรรมชาวต่างชาติ พวกรักร่วมเพศ ฯลฯ ในเมืองต่างๆ ของสหรัฐฯ ซึ่งต่อมาก็ได้ที่มาของชื่อสกินเฮด และจะมีรอยสักตามแขนหรือลำตัว ชอบใส่เสื้อแขนยาวของนักบินและรองเท้าหุ้มข้อ มีเชือกรองเท้าสีสันต่างๆกัน เช่น ขาว แดง และเหลือง.
สมาคมบาลีปกรณ์
มาคมบาลีปกรณ์ (The Pali Text Society) ก่อตั้งขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 19.ดร.
ดู สหราชอาณาจักรและสมาคมบาลีปกรณ์
สมเกียรติ อ่อนวิมล
ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเกียรติ อ่อนวิมล
สมเถา สุจริตกุล
มเถา สุจริตกุล สมเถา สุจริตกุล เป็นวาทยากร คีตกร นักประพันธ์เพลงคลาสสิก ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนที่มีชื่อเสียงเป็นสากลคนหนึ่งของเมืองไทย สมเถาเป็นบุตร ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีกิตติคุณคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต อดีตเอกอัครราชทูตไทย และนางถ่ายเถา สุจริตกุล มีน้องสาวสองคนคือ ดร.นฎาประไพ เอื้อชูเกียรติ และเปรมิกา สุจริตกุล สมเถาโตในหลายประเทศในยุโรป ศึกษามัธยมศึกษาจากวิทยาลัยอีตัน สหราชอาณาจักร แล้วสอบชิงทุนมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เข้าศึกษาวิชาดนตรีควบคู่กับ วรรณคดีอังกฤษ จนสำเร็จปริญญาตรีและโท (เกียรตินิยม) เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิอุปรากรกรุงเทพฯ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเถา สุจริตกุล
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดิน
มเด็จพระราชาธิบดี สุลต่าน มีซาน ไซนัล อาบิดีน (พระนามเต็ม: อัล-วาตีกู บิลละฮ์ ตวนกู มีซัน ไซนัล อาบีดิน อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน มะฮ์มุด อัล-มุกตาฟี บิลละฮ์ ชะฮ์) ทรงเป็นเป็นพระมหากษัตริย์มหารายาแห่งรัฐตรังกานู และเป็นพระราชโอรสในสุลต่าน มะห์หมุด อัลมักตาฟี บิลลาห์ ชาห์ พระมหากษัตริย์แห่งตรังกานูองค์ก่อน และพระองค์ทรงเป็นยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 13 ทรงเป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐมาเลเซีย ตั้งแต่วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดิน
สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์
มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์
สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5
มเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 แห่งตองกา (George Tupou V) หรือพระนามเดิม เจ้าชายเซียโอซี เตาฟาอาเฮา มานูมาตาโอโก ตูกูอาโฮ ตูโปอู มกุฎราชกุมารแห่งตองกา (Sia'osi Taufa'ahau Manumata'ogo Tuku'aho Tupou, Crown Prince of Tonga) ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารแห่งราชอาณาจักรตองงา เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5
สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก
มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก (ภาษาซองคา: འཇིགས་མེད་གེ་སར་རྣམ་རྒྱལ་དབང་ཕྱུག་) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏาน รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์วังชุก ทรงได้รับการยกย่องจากชาวภูฏานรวมถึงชาวไทยส่วนใหญ่ว่ามีพระจริยวัตรที่งดงาม และเป็นที่รักยิ่งของประชาชนชาวภูฏาน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังซุก ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากการที่ทรงวางพระองค์อย่างเป็นกันเองในหมู่ประชาชน จึงสร้างความประทับใจแก่พสกนิกรอย่างสูง ถึงแม้ว่าพระองค์ไม่ต้องทรงรับพระราชภารกิจการบริหารประเทศ เนื่องจากสมเด็จพระราชบิดาได้ทรงวางระบอบปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นมาอยู่ก่อนแล้ว แต่พระองค์เองก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์สำคัญ ในการสร้างเอกภาพและเสถียรภาพ ในประเทศที่มีประชากรเพียง 753,947 คน โดยมุ่งเน้นด้านความสุขมวลรวมของประชากรภายในประเทศเป็นสำคัญ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก
สมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน
มเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน อิบนี อัลมัรฮูม ตวนกูซัยยิด ปุตรา จามาลัลลาอิล ยังดีเปอร์ตวน อากงที่ 12 ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 12 แห่งสหพันธรัฐมาเลเซีย และอดีตรายารัฐปะลิสเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 3 แห่งมาเลเซีย เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน
สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา
มเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองกา (4 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 10 กันยายน พ.ศ. 2549) พระมหากษัตริย์แห่งตองงา ทรงเป็นผู้หนึ่งซึ่งนิยมประชาธิปไตย ตองงา เป็นประเทศเดียวที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขในภูมิภาคโอเชียเนีย กินเนสบุคส์ได้บันทึกไว้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีน้ำหนักพระองค์มากที่สุดในโลก คือ 201 กิโลกรัม ใน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา
สมเด็จพระราชินีนาถ
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถ
สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์
้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี
มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี
ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สรรเสริญพระบารมี
ป็นบทเพลงซึ่งบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระบารมีแห่งพระมหากษัตริย์ไทย เคยใช้เป็นเพลงชาติของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสรรเสริญพระบารมี
สรุปเหรียญรางวัลโอลิมปิกตลอดกาล
รุปเหรียญรางวัลโอลิมปิกตลอดกาล เป็นรายชื่อประเทศที่เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ที่ได้รับเหรียญรางวัลและประเทศที่ยังไม่เคยได้รับเหรียญรางวัลใด ๆ เลย ทั้งโอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาว โดยนับถึงการแข่งขันครั้งล่าสุดในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร และโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 ณ เมืองโซชิ ประเทศรัสเซี.
ดู สหราชอาณาจักรและสรุปเหรียญรางวัลโอลิมปิกตลอดกาล
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
ดู สหราชอาณาจักรและสหภาพโซเวียต
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
สหประชาชาติ
หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..
ดู สหราชอาณาจักรและสหประชาชาติ
สะพานมาร์โลว์
มุมมองจากโบสถ์แห่งหนึ่งที่อยู่ใกล้เคียง สะพานมาร์โลว์ เป็นสะพานที่ใช้เฉพาะการสัญจรท้องถิ่น เป็นทางข้ามแม่น้ำเทมส์ระหว่างเมืองมาร์โลว์ในมณฑลบัคกิงแฮมเชอร์ และหมู่บ้านบิชัม มณฑลบาร์คเชอร์ มีสะพานอยู่บริเวณนี้ตั้งแต่สมัยราชกาลสมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร สะพานมาร์โลว์ในปัจจุบันนี้เป็นสะพานแขวน ซึ่ง สถาปนาโดยคุณวิลเลียม เทียร์นีย์ คลาร์ค และสร้างขึ้นในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสะพานมาร์โลว์
สะพานมิลเลนเนียม
นมิลเลนเนียม (Millennium Bridge) สามารถหมายถึงสะพานต่อไปนี้.
ดู สหราชอาณาจักรและสะพานมิลเลนเนียม
สังคมวิทยา
ังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก.
สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา
ื้นที่สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา (Bermuda Triangle) หรืออาจรู้จักกันในชื่อ สามเหลี่ยมปีศาจ (Devil's Triangle) เป็นพื้นที่สมมุติทางตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ซึ่งมีการอ้างว่าอากาศยานและเรือผิวน้ำจำนวนหนึ่งหายสาบสูญไปโดยหาสาเหตุมิได้ในบริเวณดังกล่าว วัฒนธรรมสมัยนิยมได้ให้เหตุผลของการหายสาบสูญว่าเป็นเรื่องของปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติหรือฐานทัพของสิ่งมีชีวิตนอกโลก หลักฐานซึ่งบันทึกไว้ได้ระบุว่า เหตุการณ์การหายสาบสูญของอากาศยานและเรือผิวน้ำส่วนใหญ่ได้รับรายงานอย่างไม่ถูกต้องหรือถูกเสริมแต่งโดยนักประพันธ์ในช่วงหลัง และหน่วยงานของรัฐหลายแห่งได้กล่าวว่า จำนวนและธรรมชาติของการหายสาบสูญไปในพื้นที่ดังกล่าวก็มีลักษณะเช่นเดียวกับการหายสาบสูญไปในมหาสมุทรส่วนอื่น ๆ ของโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา
สารานุกรมบริตานิกา
รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.
ดู สหราชอาณาจักรและสารานุกรมบริตานิกา
สำนักข่าวไทย
ตราสัญลักษณ์สำนักข่าวไทย เริ่มใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 สำนักข่าวไทย (Thai News Agency ชื่อย่อ: สขท.; TNA) เป็นหน่วยงานประกอบกิจการข่าวสาร ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสำนักข่าวไทย
สิทธิบัตรซอฟต์แวร์
ทธิบัตรซอฟต์แวร์จะปกป้องผู้เขียนจากการคัดลอกและอ้างสิทธิในการเขียนซอฟต์แวร์ แต่สิทธิบัตรไม่ได้เกิดขึ้นอัตโนมัติ ผู้เขียนจะต้องร้องขอสิทธิบัตรในแต่ละประเทศหรือภูมิภาค (เช่น สำนักงานสิทธิบัตรแห่งยุโรป) เอง โดยที่ในสิทธิบัตรนี้จะต้องเปิดเผยวิธีการที่จะสร้างและใช้ซอฟต์แวร์ในระดับที่เพียงพอในระดับที่ผู้อื่นที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมนั้นสามารถจะนำไปเขียนใหม่ได้โดยไม่ต้องทดลองใหม่ และใช้ซอฟต์แวร์ถ้าหากการใช้นั้นไม่ได้เป็นไปแบบชัดแจ้ง ขณะที่ ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์นั้นคุ้มครองทันทีโดยผู้เขียนไม่ต้องร้องขอเพื่อป้องกันการคัดลอกรหัสต้นฉบับ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสิทธิบัตรซอฟต์แวร์
สิงคโปร์แอร์ไลน์
อาคารสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (abbreviated 新航) เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีเป็นท่าอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข็งแกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และ"เส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหราชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งรวมถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และลอสแอนเจลิส ด้วยเครื่องบินแอร์บัส เอ 340-500 สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผู้โดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมวดหมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสิงคโปร์แอร์ไลน์
สี่สหายผจญภัย
ี่สหายผจญภัย เป็นวรรณกรรมแปล ที่เขียนโดย อีนิด ไบลตัน ซึ่งเรื่องนี้พิมพ์ขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2487 และพิมพ์ครั้งแรกเสร็จ (นับเล่มสุดท้ายในชุด) เมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสี่สหายผจญภัย
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.
ดู สหราชอาณาจักรและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
ันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
สถานีอวกาศนานาชาติ
นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..
ดู สหราชอาณาจักรและสถานีอวกาศนานาชาติ
สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันประจำประเทศไทย
นเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันประจำประเทศไทย (Deutsche Botschaft Bangkok) ตั้งอยู่เลขที่ 9 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร.
ดู สหราชอาณาจักรและสถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันประจำประเทศไทย
สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย
นเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย (British Embassy Bangkok) เป็นสถานเอกอัครราชทูตของสหราชอาณาจักรในประเทศไทยตั้งอยู่ ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.
ดู สหราชอาณาจักรและสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย
สงครามอิรัก
งครามอิรัก เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศอิรักตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและสงครามอิรัก
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช.
ดู สหราชอาณาจักรและสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน)
งครามอัฟกานิสถาน เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและสงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน)
สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย
อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.
ดู สหราชอาณาจักรและสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..
ดู สหราชอาณาจักรและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สตาร์บัคส์
ตาร์บัคส์ (Starbucks) เป็นร้านกาแฟจากอเมริกาในเมืองซีแอตเทิลในรัฐวอชิงตัน ในปี ค.ศ. 1971 โดย กอร์ดอน โบเคอร์, เจอรี่ บัลด์วิน และซิฟ ซีเกิ้ล โดยตอนแรกใช้โลโก้เป็นรูปไซเรน 2 หาง ก่อตั้งในฐานะร้านขายเมล็ดกาแฟคั่ว ต่อมาปี 1982 สตาร์บัคส์มีสาขา 5 สาขา และโฮเวิร์ด ชูลทส์ได้เข้ามาร่วมงานด้วย โดยดูแลด้านการตลาดและค้าปลีก ซึ่งเขาเป็นผู้แนะนำให้สตาร์บัคส์เปิดเป็นบาร์กาแฟ แต่หลายคนก็ไม่เชื่อในวิสัยทัศน์ของเขา ต่อมาชูลทส์ได้ลาออกจากบริษัท ไปเปิดบาร์กาแฟของตนเองชื่อ อิล จิออร์เนล และจำหน่ายกาแฟของสตาร์บัคส์ ในปี 1987 สตาร์บัคส์ประสบปัญหายุ่งยากจากการไม่สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้ ปี 1988 อิล จิออร์เนลจึงซื้อกิจการด้านค้าปลีกไว้พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สตาร์บัคส์ คอร์ปอเรชั่น และจ้างนักบริหารมืออาชีพเข้ามาดูแล ปี 1992 สตาร์บัคส์ได้เข้าตลาดหลักทรัพย์ และในปี 1996 สตาร์บัคส์ได้เปิดสาขาแรกนอกอเมริกาเหนือที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมากกว่า 1 ใน 3 ของร้านสตาร์บัคส์ทั้งหมดอยู่ในต่างประเทศ โดยเฉลี่ยแล้วสตาร์บัคส์เปิดสาขาใหม่เพิ่มวันละ 2 สาขาระหว่างปี 1987 และ 2007 บริษัทได้เริ่ม Caffe Starbucks เป็นระบบบริการออนไลน์โดยอาศัยเครือข่ายของ เอโอแอล สัญลักษณ์ของสตาร์บัคส์ครั้งแรกนั้นเป็นรูปนางเงือก ซึ่งเป็น นางเงือกไซเรนสองหาง (Norse Siren) ในเทพนิยายปรัมปรา เพื่อให้นึกถึงการผจญภัยในทะเล และปรับเปลี่ยนหลายครั้งและล่าสุดคือ..
สตีเฟน ฮอว์กิง
ตีเฟน วิลเลียม ฮอว์กิง (Stephen William Hawking; 8 มกราคม ค.ศ. 1942 – 14 มีนาคม ค.ศ. 2018) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีและนักจักรวาลวิทยา ศาสตราจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ หนังสือวิทยาศาสตร์ของเขาและการปรากฏตัวต่อสาธารณะได้ทำให้เขาเป็นผู้มีชื่อเสียงด้านวิชาการ ผลงานวิทยาศาสตร์สำคัญของเขาจนถึงปัจจุบันมีการบัญญัติทฤษฎีบทเกี่ยวกับภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงในกรอบของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ร่วมกับโรเจอร์ เพนโรส และการทำนายเชิงทฤษฎีที่ว่าหลุมดำควรปล่อยรังสี ซึ่งปัจจุบันมีชื่อว่า รังสีฮอว์กิง (บางครั้งเรียก รังสีเบเคนสไตน์-ฮอว์กิง) ฮอว์กิงป่วยจากโรคอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส (ALS) ชนิดหายาก ซึ่งเริ่มมีอาการเร็ว แต่ดำเนินโรคช้า ทำให้เขามีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงลงเรื่อย ๆ เป็นเวลาหลายสิบปี ปัจจุบันต้องสื่อสารโดยใช้อุปกรณ์สังเคราะห์เสียงพูด ควบคุมผ่านกล้ามเนื้อมัดเดียวในแก้ม เขาแต่งงานสองครั้งและมีลูกสามคน ฮอว์กิงประสบความสำเร็จกับผลงานวิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป (popular science) ซึ่งเขาอภิปรายทฤษฎีของเขาและจักรวาลวิทยาโดยรวม ซึ่งมีประวัติย่อของกาลเวลา (A Brief History of Time) และจักรวาลในเปลือกนัท (The Universe in a Nutshell) ซึ่งอยู่ในรายการขายดีที่สุดของบริติชซันเดย์ไทมส์ทำลายสถิตินานถึง 237 สัปดาห์ สตีเฟน ฮอว์กิง เสียชีวิตในวันที่ 14 มีนาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและสตีเฟน ฮอว์กิง
สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
สนธิสัญญาเบาว์ริง
หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษและประเทศสยาม (Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam) หรือบนปกสมุดไทย ใช้ชื่อว่า หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง หรือที่มักเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง (Bowring Treaty) เป็นสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำกับสหราชอาณาจักร ลงนามเมื่อ 18 เมษายน..
ดู สหราชอาณาจักรและสนธิสัญญาเบาว์ริง
สแวร์อิทอะเกน
"สแวร์อิทอะเกน" (Swear It Again) เป็นซิงเกิลแรกของเวสท์ไลฟ์ อันดับสูงสุดคืออันดับที่ 1 ของชาร์ตในสหราชอาณาจักร.
ดู สหราชอาณาจักรและสแวร์อิทอะเกน
สแตติน
pmid.
สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน
มสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน (Everton Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลของอังกฤษ มีสนามเหย้าคือกูดิสันพาร์กในเมืองลิเวอร์พูล ซึ่งห่างจากสนามแอนฟีลด์ของลิเวอร์พูลเพียงแค่สวนสาธารณะกั้น เอฟเวอร์ตันเป็นคู่ปรับร่วมเมืองของลิเวอร์พูล สนามประจำทีมเอฟเวอร์ตันชื่อ กูดิสันพาร์ก ซึ่งห่างจากสนามของลิเวอร์พูลเพียงแค่สวนสาธารณะกั้น แฟนฟุตบอลชาวไทยตั้งฉายาให้ว่า "ทอฟฟีสีน้ำเงิน".
ดู สหราชอาณาจักรและสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน
สไปซ์เกิลส์
ปซ์เกิลส์ (Spice Girls) เป็นกลุ่มศิลปินหญิงจากอังกฤษ เริ่มก่อตั้งวงในปี ค.ศ. 1994 ในลอนดอน หลังจากออกซิงเกิลแรก "Wannabe" ก็สร้างปรากฏการณ์ในวงการเพลงป็อปไปทั่วโลก ยอดขายมีมากกว่า 55 ล้านชุดทั่วโลก ถือว่าเป็นกลุ่มศิลปินหญิงที่ประสบความสำเร็จที่สุด สไปซ์เกิลส์ ได้ออกอัลบั้มทั้งหมด 3 สตูดิโออัลบั้ม กับ 10 ซิงเกิล ซึ่งมีซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในสหราชอาณาจักรถึง 9 เพลง, ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ช่วงคริสต์มาสติดต่อกันสามปีซ้อนในสหราชอาณาจักร และซิงเกิลเพลง Wannabe ซึ่งเป็นซิงเกิลที่ขายดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาของวงหญิงล้วน msn.com และมีภาพยนตร์เรื่อง Spiceworld ที่ทำรายได้ 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ พวกเธอยังได้รับรางวัลต่างๆหลายเวที รวมถึง บริท อวอร์ดส ในปี 2016 Spice Girls ได้รวมตัวกันใหม่อีกครั้งเพื่อฉลองที่วงครบรอบ 20 ปี โดยสมาชิกทีตอบรับกลับมารวมตัวใหม่อีกครั้งมีเพียงแค่ เอ็มม่า บันทัน, เมล บี และ เจรี ฮัลลิเวลล์ โดยทั้ง 3 จะเปิดตัวในนาม "Spice Girls GEM" ในเร็วๆนี้ซึ่งคำว่า GEM มาจากชื่อแรกของทั้ง 3 สมาชิกที่กลับมารวมตัวใหม่ในครั้งนี้นำมาประกอบกันใหม่ โดย G ย่อมาจาก Geri, E ย่อมาจาก Emma และ M ย่อมาจาก Mel B.
ดู สหราชอาณาจักรและสไปซ์เกิลส์
สเตรปโตมัยซิน
ตรปโตมัยซิน (Streptomycin) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ซึ่งมีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด รวมถึง วัณโรค, การติดเชื้อ ''Mycobacterium avium'' complex, เยื่อบุหัวใจอักเสบ, บรูเซลโลสิส, การติดเชื้อแบคทีเรียสกุลเบอโคเดอเรีย, กาฬโรค, ไข้กระต่าย, และไข้หนูกัด กรณีวัณโรคระยะแสดงอาการนั้นมักจะใช้สเตรปโตมัยซินร่วมกับไอโซไนอะซิด, ไรแฟมพิซิน, และไพราซินาไมด์ ยานี้สามารถบริหารยาได้โดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำและการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ สเตรปโตมัยซินจัดเป็นยาในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ซึ่งออกฤทธิ์ที่หน่วยย่อย 30 เอสของไรโบโซมแบคทีเรีย ทำให้แบคทีเรียนั้นๆไม่สามารถสร้างโปรตีนที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและเพิ่มจำนวนได้ ส่งผลให้แบคทีเรียเซลล์นั้นๆตายไปในที่สุด อาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้บ่อยจากการได้รับการรักษาด้วยสเตรปโตมัยซิน ได้แก่ อาการรู้สึกหมุน, อาเจียน, อาการชาบริเวณผิว, ไข้, และมีผื่นคัน การใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์อาจทำให้ทารกหูหนวกแต่กำเนิดได้ แต่การใช้ยานี้ในหญิงที่กำลังให้นมบุตรนั้นพบว่าค่อนข้างมีความปลอดภัย ทั้งนี้ ไม่แนะนำให้ใช้สเตรปโตมัยซินในผู้ป่วยที่มีโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้าย เนื่องจากอาจทำให้อาการของโรคแย่ลงได้ สเตรปโตมัยซินถูกค้นพบใน..
ดู สหราชอาณาจักรและสเตรปโตมัยซิน
สเตเดียมออฟไลต์
ตเดียมออฟไลต์ (Stadium of Light) เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลซันเดอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะอังกฤษ.
ดู สหราชอาณาจักรและสเตเดียมออฟไลต์
หมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด
หมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด เป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียนระหว่าง พ.ศ. 2376 ถึง พ.ศ. 2503 ซึ่งประกอบด้วยดินแดนต่างๆ ได้แก่ แอนติกา บาร์บูดา หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน มอนเซอร์รัต เซนต์คิตส์ เนวิส แองกวิลลา และดอมินีกา เฉพาะดอมินีกานั้นเป็นดินแดนของหมู่เกาะแห่งนี้จนถึง พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หรือ หมู่เกาะเวอร์จินของอังกฤษ (British Virgin Islands) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่กว่า 50 เกาะ มีที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางตะวันออกของประเทศจาเมกา เดิมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิดัตช์ (Dutch Empire) ภายหลังอังกฤษเข้ามาครอบครอง เมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
หมู่เกาะพิตแคร์น
หมู่เกาะพิตแคร์น (Pitcairn Islands; พิตแคร์น: Pitkern Ailen) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า พิตแคร์น (Pitcairn) เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิก ประกอบไปด้วยกลุ่มเกาะ 4 กลุ่ม คือ เกาะพิตแคร์น เกาะแฮนเดอร์สัน เกาะดูซี และเกาะโอเอโน เกาะเหล่านี้ล้วนเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรทั้งสิ้น ซึ่งเขตนี้เป็นอาณานิคมสุดท้ายที่ยังหลงเหลืออยู่ของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแปซิฟิก.
ดู สหราชอาณาจักรและหมู่เกาะพิตแคร์น
หมู่เกาะโซโลมอน
หมู่เกาะโซโลมอน (Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร.
ดู สหราชอาณาจักรและหมู่เกาะโซโลมอน
หมีเท็ดดี้
หมีเท็ดดี้ หมีเท็ดดี้ (Teddy bear) คือ ตุ๊กตาหรือของเล่นรูปหมีสำหรับเด็ก ซึ่งมักเป็นของขวัญโดยแฝงนัยให้เด็กมีความอดทน และเข้มแข็ง โดยเฉพาะสำหรับเด็กที่กำลังเจ็บป่วย ไม่สบาย ในปัจจุบันมีการจัดจำหน่ายเป็นคอลเล็กชั่นของหมีเท็ดดี้ และมักมีราคาแพง พิพิธภัณฑ์หมีเท็ดดี้แห่งแรกของโลกตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์
ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ป.ม., ท..ว.,.ป.ร.1(28 ธันวาคม พ.ศ. 2457 — 17 สิงหาคม พ.ศ. 2543) หรือนามเดิม หม่อมหลวงพวงร้อย สนิทวงศ์ เป็นสตรีไทยคนแรกที่เป็นนักประพันธ์เพลง เมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์
หม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์
หม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) หรือนามปากกาที่รู้จักกัน คือ หมึกแดง เป็นผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหาร โดยเฉพาะอาหารไทย ปัจจุบันเป็นเจ้าของภัตตาคาร กรรมการผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการทางโทรทัศน์ ที่ปรึกษาทางด้านอาหาร คอลัมนิสต์ และวิทยากร.
ดู สหราชอาณาจักรและหม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์
หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์
หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตประธานองคมนตรี อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์ ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ..
ดู สหราชอาณาจักรและหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์
หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)
ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)
หอดูดาว
หอดูดาว เป็นสถานที่สำหรับใช้สังเกตการณ์ท้องฟ้าและดวงดาว ในการศึกษาด้านดาราศาสตร์ หรือโหราศาสตร์ หอดูดาวทางดาราศาสตร์ในปัจจุบันมักก่อสร้างเป็นอาคารรูปโดมมีช่องเปิด ภายในมีกล้องโทรทรรศน์เพื่อใช้ขยายภาพท้องฟ้า สาเหตุที่ใช้อาคารมีช่องเปิด ก็เพื่อลดแสงรบกวนจากภายนอก ส่วนอาคารรูปโดมนั้นเหมาะกับประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาวจะไม่มีหิมะค้างอยู่บนหลังคา อาคารโดมอาจติดตั้งกลไกการหมุนเพื่อติดตามดาว.
หอนาฬิกา
หอนาฬิกา (clock tower) เป็นสิ่งก่อสร้างซึ่งประกอบด้วยหน้าปัดนาฬิกาตั้งแต่หนึ่งหน้าขึ้นไป นิยมสร้างไว้กับสถานที่สำคัญต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหอโดด ๆ และผนวกกับอาคารอื่น โดยมากหอนาฬิกามักมีสี่หน้าปัด ภายในมีกลไกนาฬิกาสำหรับต่อเชื่อมกับหน้าปัดภายนอก บางทีอาจมีระฆัง เพื่อตีบอกเวลา ซึ่งอาจตีทุกชั่วโมง หรือตีเป็นระยะ ในสมัยก่อน หอนาฬิกาเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะโดยมากในสมัยนั้นผู้คนยังไม่มีนาฬิกาพกหรือนาฬิกาข้อมือ แต่ปัจจุบันก็ยังคงความสำคัญอยู่ ในฐานะที่หมายตา เช่น หอเอลิซาเบธ ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักร และหอสพัสสกายา (Spasskaya Tower) ที่พระราชวังเครมลิน สหพันธรัฐรัสเซีย สำหรับหอนาฬิกาที่สูงที่สุดในโลกคือ นาฬิกาประจำตึกเอ็นทีที โดโคโม โยโยกิ (NTT DoCoMo Yoyogi Building) ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ส่วนหอนาฬิกาสี่หน้าแบบไม่ตีระฆังที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือหอนาฬิกาอัลเลน-แบร็ดเลย์ (Allen-Bradley Clock Tower) หอนาฬิกาสี่หน้าที่สูงที่สุดในโลก อยู่ที่กรุงวอร์ซอ และทั้งหมดนี้ไม่มีการตีระฆัง จึงทำให้หอบิ๊กเบน คงเป็น หอนาฬิกาสี่หน้าที่มีการตีระฆังที่สูงที่สุดในโลก ส่วนในประเทศไทย มีหอนาฬิกาที่ คือ หอนาฬิกาเฉลิมพระเกียรติ เชียงราย ที่ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ออกแบบ ตีบอกเวลาทุกชั่วโมง พร้อมเปลี่ยนสีไฟและบรรเลงเพลง "เชียงรายรำลึก" ทุกวัน เวลา 19:00 20:00 และ 21:00 นาฬิก.
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภินิหารตำนานแห่งนาร์เนีย ตอน ราชสีห์ แม่มด กับตู้พิศวง
อภินิหารตำนานแห่งนาร์เนีย ตอน ราชสีห์ แม่มด กับตู้พิศวง (The Chronicles of Narnia: The Lion, the Witch and the Wardrobe) ภาพยนตร์ในชุดของ ตำนานแห่งนาร์เนีย จากหนังสือเรื่อง ตู้พิศวง ภาพยนตร์เรื่องนี้ ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาแต่งหน้ายอดเยี่ยม ในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 78.
ดู สหราชอาณาจักรและอภินิหารตำนานแห่งนาร์เนีย ตอน ราชสีห์ แม่มด กับตู้พิศวง
ออลเทอร์นาทิฟร็อก
ออลเทอร์นาทิฟร็อก (alternative rock) ในบางครั้งอาจเรียกว่า ออลเทอร์นาทิฟ (alternative) หรือ ออลต์ร็อก (alt rock) เป็นแนวเพลงร็อกที่เกิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1990 คำว่าออลเทอร์นาทิฟถูกคิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 อธิบายถึงแนวเพลงได้รับแรงบันดาลใจจากพังก์ร็อก โดยอยู่ค่ายเพลงอิสระ ที่ไม่ได้อยู่ในกระแสนิยมในช่วงเวลานั้น ในความหมายทางด้านดนตรี ซึ่งเรียกสั้น ๆ ว่า "อินดี้" ออลเทอร์นาทิฟประกอบด้วยเพลงหลากหลายแนวรวมกันทั้งกรันจ์ บริตป็อป กอทิกร็อก และอินดี้ป็อป ที่ถูกรวมกันโดยลักษณะพื้นฐานของพังก์ที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญของดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกในทศวรรษที่ 1980 ออลเทอร์นาทิฟยุคแรก ๆ ถือกำเนิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา คริสต์ทศวรรษ 1970 ในนามของวงพังก์ร็อกคือวงเดอะ ราโมนส์ ก่อนที่จะมาเป็นออลเทอร์นาทิฟเต็มตัวและแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยมีวงอาร์.อี.เอ็ม.
ดู สหราชอาณาจักรและออลเทอร์นาทิฟร็อก
อองซาน
อองซาน นายพลอองซาน (အောင်ဆန်း, Aung San) หรือ อูอองซาน (U Aung San; 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นนักปฏิวัติ นายพล และนักการเมืองของประเทศพม่า ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศพม่าในยุคปัจจุบัน หรือ "วีรบุรุษเพื่ออิสรภาพของประเทศพม่า" อองซานเกิดในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของสหราชอาณาจักร ซึ่งในช่วงนั้นพม่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียที่เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และได้รับเลือกให้เป็นผู้นำนักศึกษา พ.ศ.
อองซาน ซูจี
อองซาน ซูจี (90px, เกิด 19 มิถุนายน 2488) เป็นนักการเมืองชาวพม่าและประธานพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) ผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีประจำทำเนียบประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2533 NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 59% และที่นั่ง 81% (392 จาก 485 ที่นั่ง) ในรัฐสภา ทว่า เธอถูกควบคุมตัวในบ้านก่อนการเลือกตั้ง เธอยังอยู่ภายใต้การควบคุมตัวในบ้านในประเทศพม่าเป็นเวลาเกือบ 15 จาก 21 ปีตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 จนการปล่อยตัวครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทำให้เธอเป็นนักโทษการเมืองที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งของโลก ซูจีได้รับรางวัลราฟโต (Rafto Prize) และรางวัลซาฮารอฟสำหรับเสรีภาพทางความคิด (Sakharov Prize for Freedom of Thought) ในปี 2533 และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2534 ในปี 2535 เธอได้รับรางวัลชวาหระลาล เนห์รูเพื่อความเข้าใจระหว่างประเทศ (Jawaharlal Nehru Award for International Understanding) โดยรัฐบาลอินเดีย และรางวัลซีมอง โบลีวาร์ระหว่างประเทศ (International Simón Bolívar Prize) จากรัฐบาลเวเนซุเอลา ในปี 2555 รัฐบาลปากีสถานมอบรางวัลชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพื่อประชาธิปไตย (Shaheed Benazir Bhutto Award For Democracy) ในปี 2550 รัฐบาลแคนาดาประกาศให้เธอเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ของประเทศ เป็นคนที่สี่ที่ได้รับเกียรตินี้ ในปี 2554 เธอได้รับเหรียญวัลเลนเบิร์ก (Wallenberg Medal) วันที่ 19 กันยายน 2555 อองซาน ซูจีได้รับเหรียญทองรัฐสภา ซึ่งร่วมกับเหรียญเสรีภาพประธานาธิบดี เป็นเกียรติยศพลเรือนสูงสุดในสหรัฐอเมริกา วันที่ 1 เมษายน 2555 พรรคสันนิบาติแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยประกาศว่าเธอได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งในปีตูลุ้ดดอ (Pyithu Hluttaw) สภาล่างของรัฐสภาพม่า ซึ่งเป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้งกอว์มู (Kawhmu) พรรคของเธอยังได้ที่นั่งว่าง 43 จาก 45 ที่นั่งในสภาล่าง คณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการยืนยันผลการเลือกตั้งในวันรุ่งขึ้น วันที่ 6 มิถุนายน 2556 ซูจีประกาศบนเว็บไซต์ของเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมว่าเธอต้องการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งปี 2558 ทว่า ซูจีถูกห้ามมิให้เป็นประธานาธิบดีภายใต้รัฐธรรมนูญปัจจุบัน ซึ่งมิอาจแก้ไขได้โดยปราศจากการรับรองจากสมาชิกสภานิติบัญญัติทหารอย่างน้อยหนึ่งคน ในปี 2557 นิตยสารฟอบส์จัดให้เธอเป็นหญิงทรงอำนาจที่สุดในโลกอันดับที่ 61 ในการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอองซาน ซูจี
อะลาวด์อัสทูบีแฟรงค์
Allow Us To Be Frank เป็นอัลบั้มที่ 6 จากหนุ่มชาวไอริช เวสท์ไลฟ์ วางแผงเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 ขึ้นอันดับที่ 3 ในสหราชอาณาจักร.
ดู สหราชอาณาจักรและอะลาวด์อัสทูบีแฟรงค์
อะคล็อกเวิร์กออรินจ์
อะคล็อกเวิร์กออรินจ์ (A Clockwork Orange) เป็นภาพยนตร์ไซไฟที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2514 กำกับโดยสแตนลีย์ คูบริก สร้างจากนิยายชื่อเดียวกันของแอนโทนี เบอร์เกสส์ ที่ตีพิมพ์ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอะคล็อกเวิร์กออรินจ์
อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์
อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์ (บางครั้งย่อว่า A7X) เป็นวงดนตรีร็อกชาวอเมริกันจากฮันติงตันบีช รัฐแคลิฟอร์เนีย ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและอะเว็นจด์เซเวนโฟลด์
อัลโด ฟัน ไอก์
อัลโด ฟัน ไอก์ (Aldo Van Eyck; 16 มีนาคม พ.ศ. 2461, ดรีแบร์เคิน, จังหวัดยูเทรกต์, ประเทศเนเธอร์แลนด์ – 13 มกราคม พ.ศ. 2542, ลุเนินอานเดอแฟ็คต์) เป็นสถาปนิกชาวดัตช์ ในวัยเด็กศึกษาอยู่ที่สหราชอาณาจักร แล้วได้ศึกษาต่อด้านสถาปัตยกรรมที่สถาบันเทคโนโลยีสหพันธ์สวิสในเมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลังจากสำเร็จการศึกษา ฟัน ไอก์ ได้เป็นอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมอยู่ที่สถาบันสถาปัตยกรรมอัมสเตอร์ดัมระหว่างปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอัลโด ฟัน ไอก์
อัสตานา
อัสตานา (Астана) เดิมชื่อ อัคโมลา (Ақмола) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศคาซัคสถาน มีประชากร 577,300 คน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ จัดเป็นเมืองเขตการปกครองพิเศษ มีพื้นที่อยู่ในจังหวัดอัคโมลา ตั้งอยู่ริมแม่น้ำอีชิม มีสูงเหนือน้ำทะเล 347 เมตร (1,138 ฟุต) มีสถานที่ที่เป็นจุดสังเกต (แลนด์มาร์ก) คือ หอคอยไบเตเรค (Bayterek).
อังกฤษ (แก้ความกำกวม)
วามสัมพันธ์ของคำว่า "อังกฤษ" "สหราชอาณาจักร" และ "บริติช" อังกฤษ อาจหมายถึง.
ดู สหราชอาณาจักรและอังกฤษ (แก้ความกำกวม)
อันเบรคเอเบิลเดอะเกรเทสฮิต ชุดที่ 1
Unbreakable: The Greatest Hits Vol.
ดู สหราชอาณาจักรและอันเบรคเอเบิลเดอะเกรเทสฮิต ชุดที่ 1
อันเนอ ฟรังค์
อันเนอลีส มารี "อันเนอ" ฟรังค์ (Annelies Marie "Anne" Frank; 12 มิถุนายน 2472 – ประมาณมีนาคม 2488) หรือแอนน์ แฟรงค์ เป็นเด็กหญิงชาวยิว เกิดที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้เขียนบันทึกประจำวันซึ่งต่อมาได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ บรรยายเหตุการณ์ขณะหลบซ่อนตัวจากการล่าชาวยิวในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างที่ถูกเยอรมนีเข้าครอบครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของเธอได้ย้ายไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอันเนอ ฟรังค์
อาร์ชี ปัญจาบี
อัรจนา เการ์ ปัญชาพี (ਅਰਚਨਾ ਕੌਰ ਪੰਜਾਬੀ) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ อาร์ชี ปัญจาบี (Archie Panjabi) เป็นนักแสดงชาวสหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็น "คาลินดา ชาร์มา" ในภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกันเรื่อง ศรีภร.
ดู สหราชอาณาจักรและอาร์ชี ปัญจาบี
อาร์เอ็มเอส ไททานิก
อาร์เอ็มเอส ไททานิก (RMS Titanic) เป็นเรือโดยสารซึ่งจมลงสู่ก้นมหาสมุทรแอตแลนติกเมื่อวันที่ 15 เมษายน..
ดู สหราชอาณาจักรและอาร์เอ็มเอส ไททานิก
อาร์เธอร์ ซี. คลาร์ก
ซอร์ อาร์เธอร์ ชาลส์ คลาร์ก (Sir Arthur Charles Clarke; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1917 - 19 มีนาคม ค.ศ. 2008) เป็นนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ซึ่งผลงานของเขาที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด ได้แก่นิยายชุด จอมจักรวาล (Space Odyssey) และชุด ดุจดั่งอวตาร (Rendezvous with Rama) ผลงานเขียนนวนิยายของคลาร์ก มีความริเริ่มสร้างสรรค์เกี่ยวกับความเป็นไปได้ทางวิทยาศาสตร์ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาเทคโนโลยีในปัจจุบัน สิ่งประดิษฐ์จำนวนมากได้แรงบันดาลใจจากนิยายของคลาร์ก เช่น ดาวเทียม การสำรวจอวกาศ ลิฟต์อวกาศ คลาร์ก อาศัยอยู่ที่กรุงโคลอมโบ ประเทศศรีลังกา เขาเดินทางเข้ามาอยู่ประเทศนี้ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอาร์เธอร์ ซี. คลาร์ก
อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์
อาร์เธอร์ อิกเนเชียส โคนัน ดอยล์ (Arthur Ignatius Conan Doyle) เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 ในเมืองเอดินบะระ แคว้นสกอตแลนด์ แห่งสหราชอาณาจักร และถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์
อาหาร
อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".
อาณาจักร
อาณาจักร (kingdom; dominion) หมายถึง เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของประเทศหนึ่ง อาจจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้.
อาณาจักรอาหม
อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.
ดู สหราชอาณาจักรและอาณาจักรอาหม
อานันท์ ปันยารชุน
อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอานันท์ ปันยารชุน
อาโกรุญญา
มืองอาโกรุญญามองจากประภาคารเฮอร์คิวลีส อาโกรุญญา (A Coruña), ลาโกรุญญา (La Coruña) หรือ โครันนา (Corunna) เป็นเมืองที่สำคัญที่สุดของแคว้นปกครองตนเองกาลิเซียทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน เมืองนี้ยังเป็นเมืองหลักของจังหวัดอาโกรุญญาอีกด้วย ปัจจุบันชื่อทางการของเมืองนี้ใช้รูปสะกดในภาษากาลิเซียเพียงรูปเดียวคือ "อาโกรุญญา" แต่ "ลาโกรุญญา" ซึ่งเป็นรูปสะกดในภาษาสเปนยังคงใช้กันแพร่หลาย อาโกรุญญาเป็นเมืองท่าที่พลุกพล่านบนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและเป็นจุดขนส่งสินค้าเกษตรกรรมจากภูมิภาครอบ ๆ แม้ว่าอุตสาหกรรมหนักส่วนใหญ่จะอยู่บนพื้นฐานของการต่อเรือและโลหการในเมืองเฟร์รอลซึ่งเป็นเมืองข้างเคียง แต่ในเมืองอาโกรุญญาเองก็มีโรงกลั่นน้ำมันอยู่หนึ่งแห่ง ประภาคารเฮอร์คิวลีส ชาวโรมันมาถึงบริเวณเมืองนี้ในศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ผู้อาศัยในนิคมนี้ได้สร้างตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ไว้ และในไม่ช้าเมืองนี้ก็มีความสำคัญขึ้นในการค้าทะเล และในปีที่ 62 ก่อนคริสตกาล จูเลียส ซีซาร์ได้มาที่เมืองนี้ (ขณะนั้นมีชื่อว่า บรีกันติอุม - Brigantium) เพื่อหาลู่ทางการค้าโลหะ และได้สถาปนาการค้ากับดินแดนที่ในปัจจุบันคือประเทศฝรั่งเศส อังกฤษ และโปรตุเกส อาโกรุญญายังเป็นที่ตั้งของประภาคารเฮอร์คิวลีส (Tower of Hercules) ซึ่งเป็นประภาคารที่เปิดทำการต่อเนื่องมาเป็นเวลาเกือบ 1,900 ปี ในช่วงยุคกลาง เมืองนี้เป็นท่าเรือสำคัญแห่งหนึ่งและเป็นศูนย์กลางการผลิตสิ่งทอ ในปี ค.ศ.
อาเคิน
แผนที่เยอรมนีแสดงเมืองอาเคิน อาเคิน (Aachen) เป็นเมืองที่อยู่ด้านตะวันตกสุดของประเทศเยอรมนี ติดกับพรมแดนประเทศเนเธอร์แลนด์และเบลเยียม อยู่ห่างจากเมืองโคโลญมาทางตะวันตก 65 กิโลเมตร พิกัดภูมิศาสตร์ 50°46′ เหนือ 6°6′ ตะวันออก มีประชากร 256,605 คน (เมื่อปี พ.ศ.
อิลดีโว
อิลดีโว คือกลุ่มศิลปินที่นำเทคนิคการร้องแบบโอเปร่าผสมผสานดนตรีแนวป๊อปในแบบโรแมนติก โดยมีวงออร์เคสตราบรรเลงประกอบ อิลดีโวประสบความสำเร็จอันดับที่ 1 ในชาร์ตระหว่างประเทศกว่า 26 แห่ง ยอดขายกว่า 13 ล้านแผ่น ได้รับสถานะทองและทองคำขาวกว่า 104 รางวัลทั่วโลก อิลดีโวประกอบไปด้วยสมาชิกดังต่อไปนี้.
อินดี้ร็อก
อินดี้ร็อก (Indie rock) เป็นแนวเพลงย่อยของร็อก ที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักร และในสหรัฐอเมริกาในคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นคำที่อธิบายถึงการผลิตและการเผยแพร่โดยค่ายเพลงใต้ดินอิสระ เช่นเดียวกับเป็นลักษณะแนวเพลงที่แรกทีมีลักษณะความหมายการผลิตเช่นนี้http://www.allmusic.com/explore/style/indie-rock-d2687 เหตุผลที่ยังคงต้องอยู่กับค่ายอิสระเพื่อต่อต้านระบบทุนของค่ายเพลงใหญ่ ซึ่งค่ายใหญ่เหล่านี้มักจะผูกขาดการทำงานทั้งหมด ตั้งแต่การแต่งเพลง จนทุกขั้นตอน และความจงรักภักดีต่อระบบ DIY นี้เอง ก็ทำให้กิจการของค่ายอิสระเติบโตขึ้นได้ แนวเพลงอินดี้ร็อกมีอิสระในการค้นหาแนวเพลงใหม่ อารมณ์และสาระเนื้อเพลงที่ไม่ปรากฏทั่วไปกับกลุ่มผู้ฟังกระแสหลัก ที่ไม่คำนึงถึงความชอบของผู้ฟังมากนัก และยังเป็นต้นแบบของเพลงใต้ดินอเมริกันและเพลงออลเทอร์นาทิฟร็อก ในคริสต์ทศวรรษ 1980 ซึ่งแนวเพลงอินดี้ร็อกก็ต่างจากออลเทอร์นาทิฟร็อกในช่วงเวลาต่อมาที่วงอย่างเนอร์วาน่า ก้าวเข้าสู่กระแสหลัก ในยุคคริสต์ทศวรรษ 1990 แนวเพลงอินดี้ร็อกพัฒนาแนวทางและมีความใกล้ชิดกับแนวเพลงอย่าง อินดี้ป็อป, ดรีมป็อป, นอยส์-ป็อป, โล-ไฟ, แมธร็อก, โพสต์-ร็อก, สเปซร็อก และอีโม ที่ยังคงก้าวอยู่ในกระแสเพลงใต้ดินเป็นพิเศษ.
อุณหพลศาสตร์
แผนภาพระบบอุณหพลศาสตร์ทั่วไป แสดงพลังงานขาเข้าจากแหล่งความร้อน (หม้อน้ำ) ทางด้านซ้าย และพลังงานขาออกไปยังฮีทซิงค์ (คอนเดนเซอร์) ทางด้านขวา ในกรณีนี้มีงานเกิดขึ้นจากการทำงานของกระบอกสูบ อุณหพลศาสตร์ (/อุน-หะ-พะ-ละ-สาด/ หรือ /อุน-หะ-พน-ละ-สาด/) หรือ เทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamics; มาจากภาษากรีก thermos.
ดู สหราชอาณาจักรและอุณหพลศาสตร์
อีนิด ไบลตัน
อีนิด แมรี ไบลตัน (Enid Mary Blyton) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีคนอ่านและแปลผลงานมากที่สุดในโลก ผลงานของเธอมีผู้นิยมอ่านตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงเด็กโตและผู้ใหญ่ หนังสือที่เธอแต่งได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือกว่า 700 เล่มและเรื่องสั้นกว่า 10000 เรื่อง ได้รับการแปลไปแล้วเกือบ 90 ภาษา ในกว่า 30 ประเทศทั่วโลก เรื่องที่เธอแต่งนั้น โด่งดังมาทั่วโลกกว่าครึ่งศตวรรษ.
ดู สหราชอาณาจักรและอีนิด ไบลตัน
อีนิแอก
อีนิแอก อีนิแอก (ENIAC ย่อมาจาก Electronic Numerical Integrator and Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์อเนกประสงค์เครื่องแรกของโลก พัฒนาโดยกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ.
อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์
อดอลฟัส แคมบริดจ์ อดีตเจ้าชายแห่งเท็ค อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ GCB, GCVO, CMG (Adolphus Cambridge, 1st Marquess of Cambridge; พระอิสริยยศเดิม เจ้าชายอดอลฟัสแห่งเท็ค (Prince Adolphus of Teck) ต่อมาคือ ดยุคแห่งเท็ค; อดอลฟัส ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด จอร์จ ฟิลิป หลุยส์ ลาดิสเลาส์; 13 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์
องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้) (Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม สนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อนุสัญญาแรมซาร์
ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.
ดู สหราชอาณาจักรและอนุสัญญาแรมซาร์
อนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ
อนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ หรือ เทพีเสรีภาพ เป็นอนุสาวรีย์ที่ยิ่งใหญ่ และมีคุณค่าทางจิตใจ ในภาษาอังกฤษ เรียกว่า Statue of Liberty แต่เดิมชื่อว่า Liberty Enlightening the World ตั้งอยู่ ณ เกาะลิเบอร์ตี อ่าวนิวยอร์ก ที่นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นของขวัญที่ชาวฝรั่งเศสมอบให้แก่ชาวอเมริกัน ในวันที่อเมริกาเฉลิมฉลองวันชาติครบ 100 ปี ณ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ
อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล
อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล (America's Next Top Model หรือในชื่อย่อว่า ANTM) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ที่ทำการคัดเลือกหญิงสาวจากรัฐต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา ที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ โดยผู้เข้าแข่งขันต้องขับเคี่ยวกันจากบททดสอบมากมาย ตั้งแต่การถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ที่ล้วนต้องอาศัยความสามารถระดับสูงก่อนจะมาเป็นสุดยอดนางแบบของอเมริกา ซึ่งผู้ชนะในแต่ละฤดูกาลจะได้รับรางวัลดังนี้.
ดู สหราชอาณาจักรและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล
อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง
ซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง (Sir Alexander Fleming) เป็นแพทย์ นักชีววิทยา นักเภสัชวิทยา และนักพฤกษศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและอเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง
ฮอลแลนด์ (แก้ความกำกวม)
อลแลนด์ อาจหมายถึง.
ดู สหราชอาณาจักรและฮอลแลนด์ (แก้ความกำกวม)
ฮัล อแจท
ัล อแจท (HAL Ajeet) เป็นเครื่องบินที่ได้รับการพัฒนามาจากเครื่องบินเจ๊ตขับไล่น้ำหนักเบาแบบฮ็อคเกอร์ ซิดเดลี่ย์ ฟอลแลนด์ ของสหราชอาณาจักร โดยมีสมรรถนะสูงขึ้น มีการพัฒนาอุปกรณ์สื่อสาร-เดินอากาศที่สมบูรณ์ขึ้น และมีประสิทธิภาพในการรบดีขึ้น เครื่องต้นแบบ อแจทบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ.
ฮาร์ดแวร์
ร์ดแวร์ (hardware) อาจหมายถึง; สิ่งประดิษฐ์ทางกายภาพ: และอุปกรณ์เครื่องหนัก หลากหลายประเภท ที่ใช้เทคโนโลยี.
ฮ่องกง
องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.
ฌอน คอนเนอรี
อน คอนเนอรี่ ในงานเทศกาลของชาวสกอตแลนด์ ที่จัดในกรุงวอชิงตันดีซี ฌอน คอนเนอรี่ ในสมัยรับบทเจมส์ บอนด์ ฌอน คอนเนอรี่ (Sean Connery) มีชื่อจริงว่า โธมัส ฌอน คอนเนอรี่ (Thomas Sean Connery) เกิดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและฌอน คอนเนอรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ลขาธิการสถาบันอภิวุฒิโยธิน_วิทยาลัยเทคโนโลยีรัชภาคย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (Assistant professor) ใช้อักษรย่อว่า ผ. เป็นตำแหน่งทางวิชาการที่ใช้ในหลายประเท.
ดู สหราชอาณาจักรและผู้ช่วยศาสตราจารย์
ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.
ดู สหราชอาณาจักรและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
จรวดสกายลาร์ก
Skylark สกายลาร์ก (Skylark) ได้จุดระเบิด ณ ฐานปล่อยจรวดเอสแรงเก (Esrange) ในเมืองกิรูนา (Kiruna) ทางตอนเหนือของสวีเดนเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและจรวดสกายลาร์ก
จอร์จ มาร์แชลล์
อร์จ มาร์แชลล์ ผู้วางแผนฟื้นฟูยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จอร์จ แคตเลตต์ มาร์แชลล์ (George Catlett Marshall – 31 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและจอร์จ มาร์แชลล์
จอห์น ควินซี แอดัมส์
อห์น ควินซี แอดัมส์ (John Quincy Adams) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 6 ของสหรัฐอเมริก.
ดู สหราชอาณาจักรและจอห์น ควินซี แอดัมส์
จอห์น แอดัมส์
อห์น แอดัมส์ (John Adams) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นบิดาของประธานาธิบดีคนที่ 6 ของสหรัฐอเมริกา จอห์น ควินซี แอดัมส์ จอห์นเกิดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและจอห์น แอดัมส์
จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์
อห์น เมย์นาร์ด เคนส์ บารอนแห่งเคนส์ ที่หนึ่ง (John Maynard Keynes, 1st Baron Keynes; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2426 – 21 เมษายน พ.ศ. 2489) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ เกิดที่ เคมบริดจ์, ประเทศอังกฤษ, สหราชอาณาจักร ผู้เสนอแนวคิดเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics) แนวความคิดทางเศรษศาสตร์ของเคนส์มีอิทธิพลต่อทฤษฎีเศรษศาสตร์มหภาคสมัยใหม่เป็นอย่างมาก รวมไปถึงนโยบายเศรษฐกิจที่รัฐบาลนำมาใช้ในการบริหารเศรษฐกิจของประเทศ เริ่มแรกเคนส์ศึกษาเรื่องสาเหตุของวัฏจักรธุรกิจ (business cycles) และเรียกร้องให้มีการใช้นโยบายทางการคลังและการเงินเพื่อผ่อนคลายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยและตกต่ำ เคนส์ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในบิดาของเศรษฐศาสตร์มหภาคยุคใหม่และนับได้ว่าเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลทางความคิดมากที่สุดของศตวรรษที่ยี่สิบ เคนส์ได้ทำงานที่หนังสือ อีโคโนมิคจอร์นัล เป็นที่แรก และได้เขียนหนังสือที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์หลายฉบับ เช่น ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจ้างงาน, ดอกเบี้ย และเงินตรา (The General Theory of Employment, Interest and Money) เขาเป็นผู้ที่สร้างผลงาน ซึ่งพลิกวงการเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก(คือ เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก ในสมัยนั้น) ก็คือ การให้รัฐเข้าไปแทรกแซงและสนับสนุนให้ใช้นโยบายของรัฐ อันได้แก่ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง (Monetary Policy & Fiscal Policy) อันจะกระตุ้นให้เกิด อุปสงค์ที่มีประสิทธิผล (Effective Demand) แทนที่จะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของ กลไกตลาด ที่เป็นแนวความคิดของ อดัม สมิธ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความล้มเหลวได้ ประโยคสำคัญซึ่งท้าทายเศรษฐศาสตร์แบบเดิม คือประโยค "In the long run, we are all dead" (ในระยะยาว พวกเราก็ตายกันหมดแล้ว) ซึ่งสะท้อนเรื่องความไม่สมบูรณ์ของการปรับตัวในระยะยาว เหล่านักเศรษฐศาสตร์ต่างยกให้ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งหลักของสาขาวิชา เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics).
ดู สหราชอาณาจักรและจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์
จอน อึ๊งภากรณ์
อน อึ๊งภากรณ์ จอน อึ๊งภากรณ์ (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2490) ที่ปรึกษาศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ หรือเว็บไซด์ http://freedom.ilaw.or.th/ อดีตกรรมการนโยบายองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ด้านประชาสังคม อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานครที่ทำงานอย่างต่อเนื่องด้านสังคมและการสนับสนุนองค์กรพัฒนาเอกชน เป็นผู้ก่อตั้ง มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ และหนังสือพิมพ์ออนไลน์ประชาไท.
ดู สหราชอาณาจักรและจอน อึ๊งภากรณ์
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..
ดู สหราชอาณาจักรและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1
จักรวรรดิบริติช
ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..
ดู สหราชอาณาจักรและจักรวรรดิบริติช
จักรวรรดินิยม
ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.
ดู สหราชอาณาจักรและจักรวรรดินิยม
จักรวรรดินิยมในเอเชีย
ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..
ดู สหราชอาณาจักรและจักรวรรดินิยมในเอเชีย
จามีเลีย
มีเลีย (Jamelia) มีชื่อจริงว่า จามีเลีย เดวิส (Jamelia Davis) เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม ค.ศ. 1981 เป็นนักร้องอาร์แอนด์บีจากประเทศอังกฤษ เจ้าของเพลงฮิตอย่าง Superstar ซึ่งเพลงนี้ท้อปเท็นหลายประเทศ รวมทั้งขึ้นอันดับ 1 ที่ออสเตรเลียอีกด้ว.
จารกรรม
รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ.
จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์
รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).
ดู สหราชอาณาจักรและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์
จูดี การ์แลนด์
ูดี การ์แลนด์ (Judy Garland, 10 มิถุนายน ค.ศ. 1922 — 22 มิถุนายน ค.ศ. 1969) เป็นนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน ในช่วงยุคทองของภาพยนตร์เพลง (Golden Era of musical film) รับบทเป็นโดโรธี ในเรื่อง เดอะวิซาร์ดออฟออซ (The Wizard of Oz) (1939) และร้องเพลงประกอบ ที่ชื่อ Over the Rainbow ซึ่งทำให้เธอกลายเป็นดาราที่มีชื่อเสียงมาก นับแต่นั้นเป็นต้นมา จูดี การ์แลนด์ มีชื่อจริงว่า แฟรนเซส เอเธล กัมม์ (Frances Ethel Gumm) เกิดที่เมือง แกรนด์แรพิดส์ ในรัฐมินนิโซตา สหรัฐอเมริกา และเสียชีวิตในย่านเชลซี ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ด้วยวัยเพียง 47 ปี จากสาเหตุที่โหมงานหนักทำให้ต้องรับประทานยานอนหลับจนกระทั่งเสียชีวิต.
ดู สหราชอาณาจักรและจูดี การ์แลนด์
จี7
ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.
จีนโพ้นทะเล
วจีนโพ้นทะเล (อังกฤษ: Overseas Chinese; จีน: 華僑 huáqiáo หัวเฉียว, 華胞 huábāo หัวเปา, 僑胞 qiáobāo เฉียวเปา, 華裔 huáyì หัวอี้) คือ กลุ่มคนเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ภายนอกประเทศจีน คำว่าประเทศจีนในที่นี้ หมายความได้ถึง จีนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งดินแดนภายใต้การปกครองของรัฐบาล สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้แก่ ฮ่องกง มาเก๊า และ ไต้หวัน (สาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่า ไต้หวัน เป็นเพียงมณฑลหนึ่งของตน และปัจจุบัน สหประชาชาติ มิได้รับรองฐานะไต้หวันให้เป็นสาธารณรัฐจีนแต่อย่างใ.
ดู สหราชอาณาจักรและจีนโพ้นทะเล
ธรรมชาติวิทยา
ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ธรรมชาติวิทยา หรือ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ หมายถึงคำรวมที่ใช้เรียกสรรพสิ่งทั้งหลายที่ปัจจุบันมองว่าเป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความเฉพาะชัดเจน นิยามเกือบทั้งหมดรวมถึงการศึกษาสิ่งมีชีวิต (เช่น ชีววิทยา รวมทั้งพฤกษศาสตร์และสัตววิทยา) นิยามอื่นได้ขยายเนื้อหารวมไปถึง บรรพชีวินวิทยา นิเวศวิทยา ดาราศาสตร์ หรือชีวเคมี รวมทั้งธรณีวิทยาและฟิสิกส์ หรือแม้แต่อุตุนิยมวิทยา บุคคลผู้สนใจในธรรมชาติวิทยาเรียกว่า "นักธรรมชาติวิทยา".
ดู สหราชอาณาจักรและธรรมชาติวิทยา
ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.
ดู สหราชอาณาจักรและธานินทร์ กรัยวิเชียร
ธุรกิจแบบพีระมิด
ีระมิดแบบคลาสสิกที่แสดงให้เห็นถึงความไม่ยั่งยืนของระบบเนื่องจากจะต้องหาผู้ร่วมลงทุนไม่รู้จบสิ้น ธุรกิจพีระมิด (Pyramid scheme) เป็นธุรกิจที่ทำให้ประชาชนหลายคนได้รับการหลอกลวงมากมายทั่วโลก โดยเป็นธุรกิจที่ใช้การหลอกลวงให้มีการลงทุนซึ่งผู้จัดการธุรกิจสัญญาว่าจะให้ผลตอบแทนที่สูง แต่ผู้จัดการก็มิได้นำไปประกอบการค้าหรือกิจการที่มีอยู่จริง จึงมิได้ทำให้เกิดกำไรจากการลงทุนจริงๆ แต่อย่างใด การตอบแทนให้กับผู้ร่วมลงทุนทำก็แต่โดยการอาศัยเงินที่มาจากการลงทุนของผู้ร่วมลงทุนรายหลังๆ นำไปตอบแทนผู้ร่วมลงทุนรายก่อนหน้า จึงเปรียบเสมือนกับรูปทรงพีระมิด ซึ่งผู้ร่วมลงทุนรายก่อนจะอยู่บนยอดคอยรับเงินตอบแทนจากผู้ร่วมลงทุนหลายหลัง.
ดู สหราชอาณาจักรและธุรกิจแบบพีระมิด
ธงชาติ
งของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งนโปเลียน. ธงชาติประจำประเทศต่างๆ ธงชาติเดนมาร์ก เป็นธงราชการที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ธงชาติ คือธงที่แสดงถึงสัญลักษณ์ของประเทศและดินแดนต่างๆ ปกติแล้วรัฐบาลของประเทศต่างๆ ย่อมเป็นผู้กำหนดแบบธงชาติและข้อบังคับการใช้ธงชาติ หากแต่พลเมืองในแต่ละประเทศก็สามารถใช้ธงชาติในดินแดนของตนเองได้เช่นกัน โดยขึ้นอยู่กับข้อบังคับการใช้ธงตามที่รัฐบาลกำหนดไว้ ธงชาตินิยมใช้ชักตามสถานที่ต่างๆ ทั้งของเอกชนและของรัฐ เช่น โรงเรียน และศาลาว่าการเมือง แต่ในบางประเทศ ได้มีข้อกำหนดการใช้ธงชาติว่าจะชักอยู่บนอาคารอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาคารทางทหารได้ในวันที่กำหนดให้ชักธงบางวันเท่านั้น ตามหลักสากล นิยมแบ่งลักษณะการใช้ธงชาติออกเป็น 3 ประเภทสำหรับใช้บนแผ่นดิน และอีก 3 ประเภทสำหรับใช้ในภาคพื้นทะเล แม้ว่าหลายประเทศมักจะใช้ธงชาติเพียงแบบเดียวในการใช้ธงหลายๆ ลักษณะ และบางทีก็ใช้ธงชาติในหน้าที่ทั้ง 6 ประเภทก็ตาม.
ธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
งชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ซึ่งเป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร มีลักษณะทำนองเดียวกันกับธงของบรรดาอาณานิคมต่างๆ ของสหราชอาณาจักร ซึ่งใช้ธงบลูเอนไซน์หรือธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักรเป็นพื้นฐานในการออกแบบ ลักษณะของธงนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นรูปธงชาติสหราชอาณาจักร พื้นธงเป็นลายระลอกคลื่นสีขาวสลับสีฟ้ารวมกับ 12 แถบ แถบสีละ 6 แถบ หมายถึงมหาสมุทรอินเดีย บนพื้นธงทางด้านปลายธงนั้นมีรูปต้นปาล์มอันเป็นพืชเขตร้อนที่ปรากฏในท้องถิ่น ซ้อนทับด้วยมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพแห่งอังกฤษ) สัญลักษณ์ทั้ง 2 อย่างนี้เป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในภาพตราแผ่นดินประจำอาณานิคม เฉพาะรูปมงกุฎนั้น เมื่อแรกใช้ธงปรากฏว่ารูปมงกุฎมีเพียงสีเหลืองสีเดียว ต่อมาจึงได้เปลี่ยนรูปมงกุฎสีเหลืองพื้นแดงในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
ธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี
งชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี ธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีขาว กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ในพื้นธงสีขาวนั้นประดับด้วยภาพตราราชการของบริติชแอนตาร์กติกเทอร์ริทอรี ธงนี้เป็นธงใช้สำหรับดินแดน สถานีวิจัย และธงสำหรับสำนักงานและศูนย์บัญชาการการสำรวจเขตบริติชแอนตาร์กติกเป็นหลัก สำหรับเรือของคณะสำรวจจะใช้ธงลักษณะคล้ายกันแต่มีพื้นสีน้ำเงินตามอย่างธงเรือราชการของสหราชอาณาจักร ส่วนผู้ตรวจการประจำดินแดนแห่งนี้ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรประดับด้วยภาพตราราชการประจำดินแดนที่กลางธงเป็นเครื่องหมายสำคัญ รัฐบาลสหราชอาณาจักรกำหนดให้มีธงนี้ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี
ธงชาติฟีจี
งชาติฟีจี เป็นธงประจำชาติที่ได้รับอิทธิพลของธงเรือแห่งสหราชอาณาจักร และ มีการบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อฟีจีอยู่ภายใต้อาณานิคมเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร เมื่อ พ.ศ.
ธงชาติพม่า
ีเชิญธงชาติใหม่ของสาธารณรัฐสหภาพพม่าขึ้นสู่ยอดเสา ที่หน้าอาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง ประเทศพม่า, 21 ตุลาคม พ.ศ.
ธงชาติศรีลังกา
งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีทอง ภายในประกอบด้วยแถบสีเขียวและสีแสดแนวตั้งที่ด้านคันธง ส่วนด้านปลายธงเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงเลือดหมู ภายในมีรูปราชสีห์ยืน เท้าหน้าข้างหนึ่งถือดาบ ที่มุมสี่เหลี่ยมแต่ละมุมนั้นมีใบโพธิ์มุมละ 1 ใบ ธงนี้เรียกชืออีกอย่างว่า "ธงราชสิห์" ("Lion Flag") ธงนี้ใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติศรีลังกา
ธงชาติสหรัฐ
23x15px '''"ธงยูเนียนแจ็ค" (Union Jack)''' (50 ดาว) ใช้เป็นธงฉานกองทัพเรือสหรัฐ ค.ศ. 1777–2002 23x15px '''"ธงเฟิร์สเนวีแจ็ค" (First Navy Jack)''' ธงฉานกองทัพเรือสหรัฐในปัจจุบัน ธงชาติสหรัฐ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 10 ส่วน ยาว 19 ส่วน ภายในเป็นแถบสีแดงสลับขาวรวมกัน 13 ริ้ว เป็นริ้วสีแดง 7 ริ้ว สีขาว 6 ริ้ว ที่มุมบนด้านคันธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวจำนวน 50 ดวง เรียงกันตามแนวตั้งเป็นแถวดาว 6 ดวงสลับกับแถวดาว 5 ดวง รวมจำนวนทั้งหมด 9 แถว ธงนี้มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก 3 ชื่อ คือ "The Stars and Stripes" (ธงดาวและริ้ว) "Old Glory", และ "The Star-Spangled Banner" ซึ่งชื่อหลังสุดนี้ ยังเป็นชื่อของเพลงชาติสหรัฐอีกด้วย จำนวนของดาว 50 ดวงในพื้นสีน้ำเงิน หมายถึงรัฐต่าง ๆ สหรัฐทั้ง 50 รัฐ โดยจำนวนดาวจะเปลี่ยนแปลงทุกครั้งเมื่อมีการเพิ่มจำนวนรัฐในความปกครอง ริ้วสีแดงสลับขาวทั้ง 13 ริ้ว หมายถึงอาณานิคม 13 แห่งของสหราชอาณาจักรในอเมริกา ซึ่งได้ร่วมกันประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร และสถาปนาประเทศสหรัฐขึ้น เมื่อ..
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติสหรัฐ
ธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์
งชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แบบปัจจุบันเริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2491 ลักษณะเป็นธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แต่แบบธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้จะมีลักษณะต่างจากแบบที่เริ่มใช้ในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์
ธงชาติอังกฤษ
23px ธงเซนต์จอร์จ วิวัฒนาการของธงสหภาพ (ธงยูเนียนแฟลก) ซึ่งมีธงชาติอังกฤษเป็นส่วนประกอบ ธงชาติอังกฤษ มีชื่อเรียกว่า ธงเซนต์จอร์จ มีลักษณะเป็นกากบาทสีแดง ใช้เป็นสัญลักษณ์ของประเทศอังกฤษตั้งแต่ยุคกลาง โดยได้รับสถานะเป็นธงชาติของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อครั้งราชอาณาจักรอังกฤษรวมกับราชอาณาจักรสกอตแลนด์ภายใต้พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (หรือเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์) ธงเซนต์จอร์จก็ได้รวมกับธงเซนต์แอนดรูว์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของสกอตแลนด์ และเกิดเป็นธงสหภาพหรือยูเนียนแจ็ครุ่นดั้งเดิม ซึ่งธงนี้ต่อมาก็เป็นธงชาติของสหราชอาณาจักร และรวมกับธงเซนต์แพทริกของไอร์แลนด์ ซึ่งเป็นยูเนียนแจ็กรุ่นปัจจุบัน.
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติอังกฤษ
ธงชาติคิริบาส
งชาติคิริบาส เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดงมีรูปนกฟรีเกตใหญ่ (ภาษาอังกฤษ: Great Frigatebird อยู่ในสปีชีส์ Fregata minor, ภาษาคิริบาส: te eitei) บินอยู่เหนือดวงอาทิตย์มีรัศมี 17 แฉกโผล่พ้นน้ำ รูปดังกล่าวนี้เป็นสีทอง ครึ่งล่างของธงเป็นผืนน้ำ มีลักษณะเป็นแถบสีขาวสลับน้ำเงินสีละ 3 แถบ แถบสีดังกล่าวนี้หมายถึงมหาสมุทรแปซิฟิก และหมู่เกาะ 3 หมู่เกาะในประเทศคิริบาส คือ หมู่เกาะกิลเบิร์ต (Gilbert Islands) หมู่เกาะฟีนิกซ์ (Phoenix Islands) และหมู่เกาะไลน์ (Line Islands) รัศมีทั้ง 17 แฉกแทนเกาะทั้ง 16 เกาะของหมู่เกาะกิลเบิร์ตและเกาะบานาบา (เกาะนี้เดิมเรียกว่าเกาะโอเชียน หรือ Ocean Island) ส่วนรูปนกฟรีเกตใหญ่หมายถึงอำนาจและอิสรภาพ ธงนี้มีลักษณะอย่างเดียวกับที่ปรากฏในตราแผ่นดินของคิริบาส ซึ่งออกแบบโดยเซอร์ อาเธอร์ กริมเบิล (Sir Arthur Grimble) ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติคิริบาส
ธงชาติตองงา
ตราแผ่นดิน) ธงชาติประเทศตองงา มีลักษณะเป็นธงสีเหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมบนด้านต้นธงมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีขาว และมีรูปกากบาทสีแดงอยู่ข้างใน ลักษณะโดยรวมคล้ายกับธง ธงพาณิชยนาวีของสหราชอาณาจักร เนื่องจากประเทศนี้อยู่ในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักร จึงเลียนแบบลักษณะของธงอังกฤษหลายอย่างมาใช้ในธงชาติของตนเอง ธงชาตินี้คิดค้นขึ้นในสมัยพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 เมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติตองงา
ธงชาตินอร์เทิร์นไอร์แลนด์
งชาติสหราชอาณาจักร เป็นธงชาติตามกฎหมายเพียงธงเดียวในนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ เนื่องจากสหราชอาณาจักรได้งดเว้น สิทธิในการมีธงชาติของตนเองในนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาตินอร์เทิร์นไอร์แลนด์
ธงชาติแองกวิลลา
งชาติแองกวิลลา เป็นธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของแองกวิลลา ซึ่งเป็นรูปโล่แบ่งพื้นเป็นสีขาวตอนบน สีฟ้าตอนล่าง มีรูปปลาโลมาสีส้ม 3 ตัวขดกันเป็นกงล้อ โดยปลาแต่ละตัวนั้นหันหน้าเข้าหากัน หมายถึง มิตรภาพ ปัญญา และความเข้มแข็ง รูปตราแผ่นดินดังกล่าวนี้มาจากธงชาติของแองกวิลลาในช่วงประกาศแยกตัวเป็นเอกราชในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติแองกวิลลา
ธงชาติไทย
งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.
ธงชาติเซนต์ลูเชีย
งชาติเซนต์ลูเชีย เริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและธงชาติเซนต์ลูเชีย
ธงนีวเว
งนีวเว ธงนีวเว เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเหลือง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักรประดับดาวห้าแฉกสีเหลือง 5 ดวง ประกอบด้วยดาวดวงใหญ่ในวงกลมสีน้ำเงินที่กลางกางเขนรูปธงนั้น 1 ดวง และที่แขนกางเขนตามแนวตั้งและแนวนอนด้านละ 1 ดวง รวม 4 ดวง ลักษณะดังกล่าวถือว่าค่อนข้างจะต่างจากธงที่ได้รับอิทธิพลจากธงเรือของสหราชอาณาจักรอย่างชัดเจน ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.
ธงเซนต์เฮเลนา
งชาติเซนต์เฮเลนา ธงชาติเซนต์เฮเลนา ใช้ตราแผ่นดินประกอบเข้ากับธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร (Blue Ensign) ที่ด้านปลายธง (เนื่องจากว่าดินแดนแห่งนี้เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร) ซึ่งตราแผ่นดินดังกล่าวนั้น ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามการกำหนดให้ใช้ตราแผ่นดินในแต่ละครั้ง ธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและธงเซนต์เฮเลนา
ธนาคารกสิกรไทย
นาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (Kasikornbank Public Company Limited) เป็นธนาคารในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงาน ไปยังสำนักถนนสีลม, สำนักถนนพหลโยธิน, สำนักงานใหญ่ถนนราษฎร์บูรณะ และสำนักถนนแจ้งวัฒนะ ตามลำดับ โดยสำนักงานใหญ่แห่งปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี และมีคำขวัญว่า "บริการทุกระดับประทับใจ" ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,132 สาขา และเป็นธนาคารที่มีรายได้มากที่สุดในประเทศไทย ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.
ดู สหราชอาณาจักรและธนาคารกสิกรไทย
ธนาคารแห่งประเทศจีน
และธนาคารกลางแห่งประเทศจีน ธนาคารแห่งประเทศจีนจำกัด (หุ้นฮ่องกง) (หรือเขียนเป็นตัวย่อว่า 中行; Bank of China หรือ BOC) คือหนึ่งในสี่ธนาคารพาณิชย์ใหญ่ที่รัฐบาลจีนเป็นเจ้าของ ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและธนาคารแห่งประเทศจีน
ทบิลีซี
ทบิลีซี (თბილისი) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศจอร์เจีย และก็ยังเป็นศูนย์กลางการปกครองและย่านเศรษฐกิจของประเทศจอร์เจีย ทบิลีซีมีประชากรประมาณ 1,473,551 คน ประกอบกับมีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เพราะมีแหล่งน้ำมากมายพร้อมกับมีทำเลที่ดีในการปกครองทำให้เมืองแห่งนี้กลายเป็นเมืองหลวงในที.
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ทวีปอเมริกาเหนือ
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.
ดู สหราชอาณาจักรและทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปแอนตาร์กติกา
วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..
ดู สหราชอาณาจักรและทวีปแอนตาร์กติกา
ทหารเรือ
ทหารเรือชาวจีน ทหารเรือ (Navy) เป็นทหารที่ทำการรบโดยใช้เรือ การเรียงลำดับอาวุโสของทหาร 3 เหล่าทัพ ถ้าเป็นแบบสหราชอาณาจักร จะเรียงจาก ทหารเรือ ทหารอากาศ ทหารบก เพราะเป็นมหาอำนาจทางทะเลมาก่อน ทหารเรือจึงเป็นพี่ใหญ่ ทหารเรือ จะมีเรือหลากหลายชนิด ในกองทัพ เช่น เรือดำน้ำ เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือประจัญบาน เป็นต้น.
ทอมัส คาร์ลีลย์
ทอมัส คาร์ลีลย์ ทอมัส คาร์ลีลย์ (Thomas Carlyle, พ.ศ. 2338-2424) เป็นนักอักษรศาสตร์ เกิดที่เมืองเอเคล็กเฟแชน กอลโลเวย์ สกอตแลนด์ตะวันตกเฉียงใต้ สหราชอาณาจักร ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเอดินบะระ และสอนอยู่ที่นั่นเป็นเวลาหลายปีก่อนที่จะเริ่มเขียนบทความให้กับ สารานุกรมเอดินบะระ จนซาบซึ้งในวรรณกรรมเยอรมัน โดยเฉพาะของเกอเธ่ ในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและทอมัส คาร์ลีลย์
ทางยกระดับ
ทางยกระดับอุตราภิมุขในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ทางแยกต่างระดับจัดจ์แฮร์รีเพรเกอร์สัน บนฮาร์เบอร์ฟรีเวย์ (I-110) ในลอสแอนเจลิส ทางยกระดับ หรือ สะพานยกระดับ (เครือจักรภพ) เป็นสะพาน ถนน ทางรถไฟสายหนึ่ง ที่มีโครงสร้างยกระดับจากพื้นดินข้ามถนนหรือทางรถไฟอีกสายหนึ่ง ทั้ง ทางยกระดับ และ ทางลอด รวมเรียกว่า ทางต่างระดั.
ทางด่วน
ทางหลวงรัฐออนแทรีโอหมายเลข 401 ในทางตอนใต้ของรัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา เป็นฟรีเวย์สายสำคัญของประเทศ ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึง (controlled-access highway) หรือ ทางด่วน เป็นทางหลวงประเภทหนึ่งของที่มีความสามารถที่จะรองรับปริมาณการจราจรได้จำนวนหนึ่ง ออกแบบมาเพื่อรองรับการจราจรที่รวดเร็วอย่างปลอดภัย โดยอาจจะเปิดให้ใช้ในลักษณะถนนที่เก็บค่าผ่านทางหรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนมากมักจะเก็บค่าผ่านทาง ซึ่งในแคนาดาและทวีปเอเชียเรียก เอกซ์เพรสเวย์ (expressway) ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เรียก มอเตอร์เวย์ (motorway) และในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียเรียก ฟรีเวย์ (freeway) ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงจะไม่มีการขัดขวางของการจราจรด้วยไฟจราจร ทางแยก และไม่มีการเข้าถึงสถานที่ที่อยู่ติดถนน เป็นอิสระจากจุดตัดที่ผ่านถนน ทางรถไฟ หรือทางเท้าที่ระดับดิน โดยอาจออกแบบเป็นทางยกระดับหรือทางลอดก็ได้ สามารถเข้าและออกจากทางหลวงนี้ได้โดยทางลาดและทางแยกต่างระดับ และมีการแบ่งทิศทางการจราจรด้วยเกาะกลาง อาจเป็นแบบราว กำแพงกั้น หรือเป็นที่ว่างปลูกหญ้า การกำจัดจุดตัดในทิศทางต่าง ๆ ช่วยเพิ่มความปลอดภัยของนักเดินทาง รวมทั้งช่วยเพิ่มความสามารถในการรองรับปริมาณจราจร ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงมีการพัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 ประเทศอิตาลีได้เปิดใช้ เอาโตสตราดา (autostrada) เป็นครั้งแรกในปี..
ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี
ซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ผู้คิดค้นและประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส-ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) (8 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและทิม เบอร์เนิร์ส-ลี
ทิโมธี ดาลตัน
ทิโมธี ดาลตัน มีชื่อเต็มว่า ทิโมธี ปีเตอร์ ดาลตัน (Timothy Dalton; ชื่อเต็ม: Timothy Peter Dalton) เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1946 ที่เมืองโคลินเบย์ แคว้นเวลส์ สหราชอาณาจักร ทิโมธี ดาลตัน เป็นที่รู้จักกันกว้างขวางเมื่อเป็นผู้รับบทเจมส์ บอนด์ คนที่ 4 ต่อจาก โรเจอร์ มัวร์ ในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและทิโมธี ดาลตัน
ทุกหัวใจมีรัก
ทุกหัวใจมีรัก (Love Actually) เป็นภาพยนตร์รักตลก กำกับโดยริชาร์ด เคอร์ทิส นักเขียนบทภาพยนตร์ชาวอังกฤษ เรื่องราวเกี่ยวกับความรักในรูปแบบต่าง ๆ ของกลุ่มคนหลากหลายวิถีชีวิต ที่โยงมาเกี่ยวข้องกันในเทศกาลคริสต์มาส ออกฉายครั้งแรกเมื่อเดือนพฤศจิกายน..
ดู สหราชอาณาจักรและทุกหัวใจมีรัก
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..
ดู สหราชอาณาจักรและทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
ที่ดินบราวน์ฟิลด์
ที่ดินบราวน์ฟิลด์ (Brownfield land) คือที่ดินที่มีหรือเคยมีอสังหาริมทรัพย์ประเภทพาณิชยกรรมหรืออุตสาหกรรมที่ถูกปล่อยปละละเลย ใช้งานไม่สมค่าหรือถูกทิ้งร้างและเป็นเหตุให้การขยาย การฟื้นฟูหรือการพัฒนาเมืองต้องประสบความยุ่งยาก หรือในแง่ของสิ่งแวดล้อมถือเป็นที่ดินที่ยังมีมลภาวะหรือมีมลพิษตกค้าง ในการผังเมืองที่ดินบราวน์ฟิลด์ในสหรัฐฯ หมายถึงที่ดินที่เคยใช้ด้านการอุตสาหกรรมหรือด้านพาณิชยกรรมเฉาะด้านอย่างใดอย่างหนึ่งมาก่อน และเป็นที่ดินที่อาจแปดเปื้อนด้วยของเสีย หรือจากมลพิษที่ไม่เข้มข้นมากนัก และเป็นที่ดินที่มีศักยภาพที่จะนำกลับมาใช้ใหม่ได้หลังการทำความสะอาดแล้ว ที่ดินที่แปดเปื้อนของเสียหรือมลพิษที่มีความเข้มสูงมาก เช่นที่ดินที่ประกาศเป็นพื้นที่หายนะทางมลพิษโดยกฎหมายสิ่งแวดล้อม (ของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า “Superfund” –ที่ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการแก้ไข) หรือเป็นที่ดินที่มีของเสียเป็นพิษตกค้างด้วยความเข้มสูงมากๆ ไม่จัดอยู่ในประเภทของการเป็นที่ดินบราวน์ฟิลด์ สำหรับประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย คำว่าที่ดินบราวน์ฟิลด์มีความหมายเพียงการเป็นที่ดินที่เคยถูกใช้งานมาก่อนเท่านั้น คำว่า “บราวน์ฟิลด์” ซึ่งแปลตรงๆ เป็นภาษาไทยได้ว่า “ทุ่งสีน้ำตาล” (ซึ่งไม่ตรงความหมาย –จึงเรียกว่าบราวน์ฟิลด์ทับศัพท์ไปก่อน) คำนี้มีผู้นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อ..
ดู สหราชอาณาจักรและที่ดินบราวน์ฟิลด์
ทีเชิร์ต
Standard T-Shirt ทีเชิร์ต วิกิพีเดีย ทีเชิร์ต หรือ เสื้อยืด คือเสื้อที่ส่วนใหญ่จะไม่มีกระดุม ปกเสื้อ และกระเป๋า โดยมีลักษณะคอกลมและแขนสั้น ซึ่งแขนของเสื้อส่วนใหญ่จะไม่เลยข้อศอก ถ้าเกินกว่านั้นจะเรียกเสื้อทีเชิร์ตแขนยาว เสื้อทีเชิร์ตโดยทั่วไปจะทำจากผ้าฝ้าย หรือ ผ้าใยสังเคราะห์ โดยมากแล้วทีเชิร์ตจะมีการออกแบบลายด้วยตัวหนังสือหรือรูปภาพ และนิยมใส่กันทั้งผู้ชายและผู้หญิง ทุกกลุ่มอายุ รวมทั้งทารก วัยรุ่น และผู้ใหญ.
ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์
ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์
ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี
ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี (London City Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองนิวแฮม ในอีสลอนดอน ประเทศอังกฤษ รองรับพื้นที่ศูนย์กลางการเงินของลอนดอน และเนื่องจากทางวิ่งของท่าอากาศยานแห่งนี้มีระยะสั้น จึงมีข้อจำกัดด้านขนาดเครื่องบินที่มาใช้บริการ.
ดู สหราชอาณาจักรและท่าอากาศยานลอนดอนซิตี
ท่าอากาศยานนิวคาสเซิล
ท่าอากาศยานนิวคาสเซิล (Newcastle Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองนิวคาสเซิล สหราชอาณาจักร ห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือประมาณ 11 กิโลเมตร (6 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 10 ของสหราชอาณาจักร.
ดู สหราชอาณาจักรและท่าอากาศยานนิวคาสเซิล
ขบวนการอุทยานนคร
แผนภูมิ 3 แม่เหล็กของเอเบเนสเซอร์ เฮาเวิร์ดที่แสดงการตอบคำถามที่ว่า "คนจะไปอยู่ที่ใหน?" ทางเลือกคือ เมือง, ชนบท, หรือ เมือง-ชนบท ขบวนการอุทยานนคร (garden city movement) เป็นแนวคิดทางด้านการวางผังชุมชนเมือง ที่คิดขึ้นในสหราชอาณาจักรเมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและขบวนการอุทยานนคร
ขีปนาวุธข้ามทวีป
มินิตแมน 3 การทดลองขีปนาวุธข้ามทวีป ณ. ฐานทัพอากาศ Vandenberg รัฐแคลิฟอร์เนีย เปิดตัวการทดสอบของ LGM-25C Titan II (ไททัน II) ICBM จากไซโลใต้ดินที่ แวนเดนเบิร์ก AFB (Vandenberg AFB) ระหว่างกลางปี 1970 ขีปนาวุธข้ามทวีป (Intercontinental Ballistic Missile หรือ ICBM) เป็นขีปนาวุธทิ้งตัวพิสัยไกล มีรัศมีทำการระยะไกลระดับข้ามทวีปมากกว่า โดยปกติแล้วขีปนาวุธชนิดนี้จะใช้ในการบรรทุกหัวรบนิวเคลียร์ เพื่อทำลายเป้าหมายในวงกว้างจากระยะไกล ขีปนาวุธชนิดนี้สามารถบรรทุกหัวรบได้มากกว่าหนึ่งหัว และสามารถปล่อยได้จากหลายสถานที่เช่น สถานีปล่อยขีปนาวุธภาคพื้นดิน, เรือดำน้ำ หรือ รถปล่อยขีปนาวุธ ขีปนาวุธข้ามทวีปมีระยะทำการไกลและเร็วกว่าซึ่งแตกต่างจากขีปนาวุธชนิดอื่นอย่างขีปนาวุธพิสัยกลาง, ขีปนาวุธพิสัยไกล้ และขีปนาวุธระดับยุทธวิธี สมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ 5 ประเทศ คือ จีน, ฝรั่งเศส, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ทั้งหมดต่างมีขีปนาวุธข้ามทวีปประจำการเป็นของตัวเอง ขณะที่ อินเดียกับปากีสถาน ปัจจุบันมีขีปนาวุธรพิสัยปานกลางประจำการและกำลังพัฒนาขีปนาวุธข้ามทวีปเป็นของตนเอง เช่นเดียวกับเกาหลีเหนือซึ่งกำลังพัฒนาขีปนาวุธข้ามทวีปอยู่เช่นกัน.
ดู สหราชอาณาจักรและขีปนาวุธข้ามทวีป
ดยุกแห่งคอร์นวอลล์
กแห่งคอร์นวอลล์ (Duke of Cornwall) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกบรรดาศักดิ์แรกที่ได้มีการสถาปนาในอังกฤษ โดยตามธรรมเนียมแล้วจะสงวนไว้เพื่อเป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะสำหรับมกุฎราชกุมารของอังกฤษในอดีตจนกระทั่งปัจจุบัน ดัชชีแห่งคอร์นวอลล์ (Duchy of Cornwall) ถือเป็นดัชชีแห่งแรกในอังกฤษ โดยสถาปนาขึ้นในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและดยุกแห่งคอร์นวอลล์
ดยุกแห่งเอดินบะระ
กแห่งเอดินบะระ (Duke of Edinburgh) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุกในบรรดาศักดิ์แห่งสหราชอาณาจักร (ตั้งตามชื่อเมืองเอดินบะระของสกอตแลนด์) โดยได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งสิ้น 4 สมัย โดยในสมัยปัจจุบันผู้ดำรงตำแหน่งนี้คือเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในอนาคตบรรดาศักดิ์นี้จะเป็นของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ถ้าเจ้าชายชาลส์ยังไม่ได้สืบทอดราชบัลลังก์ ถ้าทรงสืบราชบัลลังก์เรียบร้อยแล้ว ตำแหน่งจะเป็นของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็ก.
ดู สหราชอาณาจักรและดยุกแห่งเอดินบะระ
ดันดี
ันดี (Dundee) เป็นเมืองที่ใหญ่อันดับสี่ของประเทศสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร อยู่ทางด้านเหนือของแม่น้ำเทย์ เมืองดันดีเมืองใหญ่เป็นอันดับสี่ของสกอตแลนด์ที่ตั้งอยู่ใกล้กับปากแม่น้ำเทย์ที่สวยงามซึ่งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเมืองใหญ่เช่น แอเบอร์ดีน เอดินบะระ และกลาสโกว์ได้ด้วยเวลาเพียงหนึ่งชั่วโมง จากเมืองที่มีชื่อเสียงทางด้านการค้าปลีกมาเป็นเวลาช้านานตั้งแต่อดีต ในปัจจุบันเมืองดันดีได้กลายมาเป็นเมืองสำคัญทางด้านศิลปะ การศึกษา และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในหลายสาขาโดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงเช่นการผลิตซอฟต์แวร์นั้นก็ได้กลายมาเป็นอุตสาหกรรมหลักของเมืองดันดีในปัจจุบัน เมืองดันดีเป็นอีกเมืองหนึ่งที่น่าอยู่อาศัยและศึกษาต่อด้วยตัวเมืองและสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและผู้คนที่เป็นมิตร ด้วยเหตุนี้ทำให้เมืองแห่งนี้มีสัดส่วนนักเรียนต่อประชากรทั้งหมดสูงเป็นอันดับหนึ่งของสหราชอาณาจักร นำมาซึ่งความเป็นเมืองที่ให้สดใสและมีชีวิตชีวาของกิจกรรมยามกลางวันและแสงสีในยามกลางคืน เมืองดันดีได้รับการขนานนามว่าเป็น "เมืองแห่งการค้นพบ" (The City of Discovery) ผลงานสำคัญที่ได้ถือกำเนิดในเมืองนี้มีมากมาย ยกตัวอย่างเช่น ยาแอสไพริน แสงไฟฟ้า (electric light) โทรเลขไร้สาย เอกซเรย์ และเรดาร์ เมืองดันดีเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสองแห่งคือ มหาวิทยาลัยดันดีและมหาวิทยาลัยแอเบอร์เทย์ นอกจากดันดีจะเป็นเมืองที่น่าไปศึกษาต่อแล้ว ในปี ค.ศ.
ดิสคัฟเวอรีทราเวลแอนด์ลีฟวิง
Discovery Travel & Living เป็นช่องรายการสารคดีที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว อาหาร การตกแต่ง และเกี่ยวกับการดำรงชีวิต โดยในประเทศไทยสามารถรับชมได้ผ่านทรูวิชั่นส์ แพ็กเกจตามสั่ง ช่อง 566 ในระบบดิจิทัล.
ดู สหราชอาณาจักรและดิสคัฟเวอรีทราเวลแอนด์ลีฟวิง
ดิออบเซิร์ฟเวอร์
ออบเซิร์ฟเวอร์ (The Observer) เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับวันอาทิตย์ฉบับแรกของสหราชอาณาจักร มีแนวคิดทางการเมืองฝ่ายขวาเล็กน้อยจากหนังสือพิมพ์ เดอะ การ์เดียน (The Guardian) ในเครือเดียวกัน และยึดแนวเสรีนิยม / สังคมประชาธิปไตยในเกือบทุกประเด็นปัญห.
ดู สหราชอาณาจักรและดิออบเซิร์ฟเวอร์
ดูไบ
ูไบ (دبيّ, Dubayy; Dubai) เป็นนครใหญ่สุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีพื้นที่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 2 ล้านคน เมืองดูไบถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งบนโลก และมีอัตราการเจริญเติบโตของเมืองสูงมาก.
ครัมเป็ต
ครัมเป็ตร้อนๆทาเนย ครัมเป็ต (Crumpet) เป็นเค้กที่ทำมาจากแป้งหรือมันฝรั่งหมักกับยีสต์ นิยมรับประทานกันทั่วไปในสหราชอาณาจักร มีรูปร่างกลม มีรูพรุนจากฟองอากาศเล็กน้อย กลิ่นหอมอ่อนๆ มักรับประทานขณะร้อนๆ พร้อมกับทาเนย ซึ่งด้านนอกจะยังคงกรอบ ขณะที่ด้านในจะนุ่ม ถือว่าเป็นอาหารมื้อเช้าของชาวอังกฤษทั่วไป หมวดหมู่:อาหาร.
คริสเตียน เบล
ริสเตียน เบล (Christian Bale) มีชื่อจริงว่า คริสเตียน ชาร์ลส ฟิลิป เบล (Christian Charles Philip Bale) แต่เป็นที่รู้จักในชื่อ คริสเตียน มอร์แกน เบล (Christian Morgan Bale; เกิด 30 มกราคม ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและคริสเตียน เบล
ครุยเซอร์ เอ็มเค 2
right ครุยเซอร์ เอ็มเค II (Cruiser Mk II) เอ็มเค II หรือ เอ10 เป็นรถถังที่ได้รับการพัฒนามาจาก เอ็มเค I หรือ เอ9 โดยมีผู้ออกแบบคนเดียวกันคือ เซอร์ จอห์น คาร์เดน.
ดู สหราชอาณาจักรและครุยเซอร์ เอ็มเค 2
ครุยเซอร์ เอ็มเค I
รุยเซอร์ เอ็มเค I (Cruiser Mk I) เอ็มเค I หรือ เอ9 เป็นรถถังลาดตระเวณขนาดกลางของสหราชอาณาจักร ได้รับการออกแบบโดย เซอร์ จอห์น คาร์เดน ในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและครุยเซอร์ เอ็มเค I
ครุยเซอร์ เอ็มเค III
right ครุยเซอร์ เอ็มเค III (Cruiser Mk III) เอ็มเค III หรือ เอ 13 เป็นรถถังลาดตระเวนที่ได้รับการพัฒนาเครื่องยนต์ให้มีกำลังแรงขึ้น เริ่มใช้งานในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและครุยเซอร์ เอ็มเค III
ครุยเซอร์ เอ็มเค IV
right.
ดู สหราชอาณาจักรและครุยเซอร์ เอ็มเค IV
ครุยเซอร์ เอ็มเค VIII ชาลเลนเจอร์
right.
ดู สหราชอาณาจักรและครุยเซอร์ เอ็มเค VIII ชาลเลนเจอร์
คลอแรมเฟนิคอล
ลอแรมเฟนิคอล (Chloramphenicol หรือ 2,2-dichlor-N-acetamide) เป็น ยาปฏิชีวนะ (antibiotic) ได้จาก แบคทีเรีย ชื่อ สเตรปโตมัยซีส เวเนซูเอลี (Streptomyces venezuelae) และปัจจุบันได้จากการสังเคราะห์ คลอแรมเฟนิคอล มีประสิทธิภาพในการต้านจุลินทรีย์ได้หลายชนิด แต่เนื่องจากมันมีผลข้างเคียงที่อันตรายมาก เช่น ทำลายไขกระดูก (bone marrow) และ มะเร็งเม็ดโลหิตขาว (aplastic anemia) ถึงแม้จะมีผลข้างเคียงที่อันตรายแต่องค์การอนามัยโลกก็อนุญาตให้ใช้ คลอแรมเฟนิคอล สำหรับรักษาโรคทางเดินอาหารของเด็กในประเทศโลกที่ 3 กรณีที่ไม่มีทางเลือกใช้ยาที่ดีกว่าและถูกกว่า โรคที่ใช้รักษาได้แก่อหิวาตกโรค (cholera) สามารถทำลายเชื้อ วิบริโอ (vibrio) และลดอาการ ท้องร่วง (diarrhea) มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ วิบริโอ ที่ดื้อยา เตตร้าไซคลิน (tetracycline) ได้ดี และนอกจากนี้ยังใช้ใน ยาหยอดตา (eye drop) เพื่อรักษาโรค เยื่อตาขาวอักเสบ (conjunctivitis).
ดู สหราชอาณาจักรและคลอแรมเฟนิคอล
ความถี่วิทยุ
วามถี่วิทยุ หรือ ย่านความถี่วิทยุ หรือที่นิยมเรียกย่อ ๆ ว่า RF (Radio frequency) นั้นใช้หมายถึง ช่วงสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า หรือย่านความถี่แม่เหล็กไฟฟ้านั่นเอง ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นสามารถถูกสร้างออกมา โดยการจ่ายกระแสไฟฟ้าสลับให้แก่สายอากาศ ความถี่วิทยุถูกแบ่งออกเป็นหลายย่านดังแสดงในตารางต่อไปนี้.
ดู สหราชอาณาจักรและความถี่วิทยุ
ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม
วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..
ดู สหราชอาณาจักรและความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม
คอบร้าโกลด์
ตราสัญลักษณ์คอบร้าโกลด์ 2006 ในโอกาสครบรอบ 25 ปีของการฝึกร่วม/ผสม คอบร้าโกลด์ (Cobra Gold ตัวย่อ: CG) เป็นการฝึกร่วม/ผสมทางการทหารระดับพหุภาคีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในประเทศไทย เริ่มครั้งแรกจากการฝึกทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและคอบร้าโกลด์
คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต
อมมานด์ & คองเคอร์: เรด อเลิร์ต (Command & Conquer: Red Alert) เป็นเกมแนววางแผนการรบเรียลไทม์ ในซีรีส์ คอมมานด์ & คองเคอร์ พัฒนาโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ วางจำหน่ายในปี 1996 สำหรับเครื่อง พีซี (MS-DOS & วินโดวส์ 95) และพอร์ตลงเครื่องเพลย์สเตชัน.
ดู สหราชอาณาจักรและคอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต
คอนเสิร์ตไลฟ์เอท
อนเสิร์ตไลฟ์ 8 (Live 8) เป็นชุดคอนเสิร์ตและงานที่จัดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม และ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ในประเทศกลุ่ม จี 8 และแอฟริกาใต้ คอนเสิร์ตถูกกำหนดให้จัดขึ้นก่อนการประชุมสุดยอดผู้นำของประเทศในจี 8 ที่จะจัดขึ้นที่โรงแรม Gleneagles ใน Perthshire สก็อตแลนด์ ในเดือนกรกฎาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและคอนเสิร์ตไลฟ์เอท
คักกุโระ
ตัวอย่างปริศนาคักกุโระอย่างง่าย เฉลยปริศนาด้านบน คักกุโระ (Kakuro) เป็นปริศนาตรรกะชนิดหนึ่งที่เชื่อกันว่าเป็นการดัดแปลงมาจากปริศนาอักษรไขว้ไปเป็นรูปแบบทางคณิตศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นปัญหาเอ็นพีบริบูรณ์อย่างหนึ่ง จุดประสงค์ของเกมนี้คือการเติมตัวเลขลงในช่องต่างๆ ให้มีผลบวกเท่ากับคำใบ้ที่กำกับไว้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยสามารถเติมได้เพียง 1 ถึง 9 และไม่ให้ซ้ำกันในแนวนั้นของแต่ละคำใบ้ ในประเทศญี่ปุ่น ปริศนาชนิดนี้เป็นที่นิยมมากเป็นอันดับสองรองจากซูโดะกุ คักกุโระ เป็นคำย่อมาจากภาษาญี่ปุ่น คะซัง คุโระซุ ในสหรัฐอเมริกามีการเรียกปริศนานี้ในชื่ออื่นเช่น Cross Addition หรือ Cross Sums ในนิตยสารเดลล์เป็นต้น ส่วนในประเทศไทย นิตยสารในเครือ ปริศนา ของบริษัท สำนักพิมพ์อาทร จำกัด ได้เรียกชื่อเกมนี้ว่า ปริศนาบวกเล.
คาบสมุทรไอบีเรีย
มุทรไอบีเรีย คาบสมุทรไอบีเรีย (Iberian Peninsula; Península Ibérica; Península Ibérica; Península Ibèrica) ตั้งอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 582,860 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปยุโรปรองจากคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ทางทิศเหนือติดกับเทือกเขาพิเรนีสและประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้สุดติดกับช่องแคบยิบรอลตาร์ คาบสมุทรไอบีเรียมีความยาวประมาณ 900 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 900 กิโลเมตร รูปร่างคล้ายสีเหลี่ยมพื้นผ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและเทือกเขา พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณเทือกเขาเซียร์ราเนบาดา เป็นบริเวณแห้งแล้งมากแห่งหนึ่งในคาบสมุทร เมืองที่สำคัญที่อยู่ในคาบสมุทรไอบีเรีย ได้แก่ มาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย เซบียา บิลบาโอ ลิสบอน โปร์ตู และยิบรอลตาร.
ดู สหราชอาณาจักรและคาบสมุทรไอบีเรีย
คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล
มิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล หรือพระนามเดิม คามิลลา โรสแมรี หรือที่รู้จักกันในพระนาม คามิลลา พาร์กเกอร์ โบลส์ (Camilla, Duchess of Cornwall; ประสูติเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล
คาร์ล มากซ์
ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.
ดู สหราชอาณาจักรและคาร์ล มากซ์
คำขวัญประจำชาติ
ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและคำขวัญประจำชาติ
คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ
หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.
ดู สหราชอาณาจักรและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ
คุกกี้
กกี้อีกประเภท คุกกี้ คือขนมอบชิ้นเล็ก ๆ รูปร่างแบน ซึ่งทำจากแป้งสาลี คำว่าคุกกี้มีที่มาจากคำในภาษาดัตช์ koekje ซึ่งหมายถึง "เค้กชิ้นเล็ก ๆ" แรกเริ่มเดิมทีนั้น คุกกี้ทำโดยการแบ่งแป้งขนมเค้กที่ผสมแล้วออกมาส่วนหนึ่ง จากนั้นแบ่งออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วนำเข้าเตาอบ เพื่อทดสอบอุณหภูมิที่จะใช้อบขนมเค้ก คำว่า "คุกกี้" (cookie) ใช้กันในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ในขณะที่ในสหราชอาณาจักรจะเรียกขนมแบบเดียวกันนี้ว่า "บิสกิต" (biscuit).
คุณพุ่ม เจนเซน
ว่าที่นายหมวดตรี ร้อยตำรวจตรี คุณพุ่ม เจนเซน (นามเดิม: ภูมิ เจนเซน; 16 สิงหาคม พ.ศ. 2526 — 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระโอรสคนเดียวในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กับปีเตอร์ เจนเซนและยังเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพี่น้องคือคุณพลอยไพลิน และคุณสิริกิติยา เจนเซน คุณพุ่ม เจนเซนถึงแก่อนิจกรรมจากกรณีพิบัติภัยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและคุณพุ่ม เจนเซน
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.
ดู สหราชอาณาจักรและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
คณะองคมนตรี
ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.
ดู สหราชอาณาจักรและคณะองคมนตรี
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2537 เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยนเรศวรรังสรรค์ วัฒน.
ดู สหราชอาณาจักรและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.
ดู สหราชอาณาจักรและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ค็อทบุส
็อทบุส (Cottbus; ซอร์เบียล่าง: Chośebuz) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐบรันเดนบูร์ก ประเทศเยอรมนี อยู่ห่างจากเบอร์ลินไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 125 ก.ม.
งามพรรณ เวชชาชีวะ
งามพรรณ เวชชาชีวะ (ชื่อเล่น: เจน) นักเขียน นักแปลผู้มีชื่อเสียง และนักธุรกิจเกี่ยวกับลิขสิทธิ์วรรณกรรม เจ้าของ รางวัลซีไรต์ ประจำปี..
ดู สหราชอาณาจักรและงามพรรณ เวชชาชีวะ
งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์
งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ หรือ งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์–จุฬาฯ เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศไทย เริ่มจัดกิจกรรมครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์
ตราประทับ
ตราประทับเครื่อง รูปลูกคลื่น ตราประทับ (postal marking) ในทางไปรษณีย์ หมายถึงการทำเครื่องหมายต่าง ๆ ลงบนซองจดหมาย หรือ สิ่งอื่นที่ส่งทางไปรษณีย์ มีหลายประเภท มีทั้งตราที่ใช้ในงานไปรษณีย์ และตราสำหรับประทับเป็นที่ระลึกในการสะสมแสตมป.
ตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี
ตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี มีลักษณะเป็นตราอาร์ม รูปโล่พื้นสีขาว มีแถบขวางรูปคลื่นสีฟ้า 3 แถบที่ตอนบนของโล่ บนพื้นโล่นั้นแบ่งเป็นช่องสามเหลี่ยมหัวกลับพื้นสีแดง ภายในมีรูปคบเพลิง ถัดจากโล่ขึ้นไปเป็นหมวกเกราะอัศวินโบราณ ประดับด้วยพู่ประดับสีขาว-น้ำเงิน คาดด้วยผ้าโพกสีเดียวกัน ตอนบนสุดนั้นเป็นเครื่องยอดรูปเรือสำรวจชื่อ อาร์เอสเอส ดิสคัฟเวอรี (RRS Discovery) ซึ่งเป็นเรือที่ โรเบิร์ต ฟอลคอน สก็อตต์ และเออร์เนสต์ แชคเคิลตัน นักสำรวจชาวอังกฤษ ใช้เดินทางมาสำรวจขั้วโลกใต้ในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี
ตราแผ่นดินของญี่ปุ่น
ตราแผ่นดินญี่ปุ่น มีชื่อเรียกในภาษาญี่ปุ่นว่า คิกกะมนโช แปลว่า เบญจมาศ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์พระราชวงศ์ญี่ปุ่น ในรัฐธรรมนูญรัชสมัยเมจิได้กำหนดไว้ว่า ไม่มีพระราชวงศ์พระองค์ใดสามารถใช้พระราชลัญจกรนี้ได้นอกจากสมเด็จพระจักรพรรดิเท่านั้น ดังนั้น พระราชวงศ์ญี่ปุ่นจึงต้องใช้ตราประจำพระองค์ที่ดัดแปลงจากพระราชลัญจกรองค์นี้ไปบ้างแทน ส่วนศาลเจ้าชินโตที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์จะใช้ตราดังกล่าวนี้เป็นตราประจำศาลเจ้าด้วยเช่นกัน หากศาลเจ้าชินโตใดไม่ได้มีความสัมพันธ์กับพระราชวงศ์จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตราก่อน จึงจะนำตราดอกเบญจมาศนี้ประกอบเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตราศาลเจ้าได้ ลักษณะของพระราชลัญจกรนี้เป็นรูปดอกเบญจมาศสีเหลืองหรือสีแสดอยู่บนพื้นหลังสีแดงหรือสีดำ หากเป็นตราที่มีลายเส้นในภาพจะใช้สีแดงหรือสีดำตัดเส้นแทนเช่นกัน พระราชลัญจกรนี้หากดอกเบญจมาศมี 14 กลีบ เป็นตราใช้สำหรับพระราชวงศ์ญี่ปุ่น ส่วนพระราชลัญจกรแบบ 16 กลีบนั้นจะใช้สำหรับเข็มเครื่องหมายสมาชิกรัฐสภา ตราหัวกระดาษหนังสือราชการ ตราบนปกหนังสือเดินทาง และอื่นๆ อนึ่ง ประเทศญี่ปุ่นไม่ได้มีกฎหมายระบุลักษณะตราแผ่นดิน พระราชลัญจกรดอกเบญจมาศนี้จึงใช้เป็นตราประจำประเทศโดยธรรมเนียมปฏิบัติ เหมือนกับบางประเทศ เช่น สหราชอาณาจักร ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและไม่มีการกำหนดตราประจำประเทศอย่างเป็นทางการ.
ดู สหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของญี่ปุ่น
ตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์
ตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ ในศตวรรษที่15 ตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ เป็นตราแผ่นดินของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร มี 2 แบบคือ แบบแรกของอังกฤษ แบบที่ 2 รูปโล่แบบพื้นเมือง โดยมีตราแผ่นดินของตัวเองมีความเป็นมาในศตวรรษที่15 คือ เป็นตราแผ่นดินที่ประกาศใช้เป็นทางการ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์
ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นตราอาร์มประจำหมู่เกาะบริติชเวอร์จินซึ่งประกาศใช้โดยพระบรมราชานุญาตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
ตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส
ตราแผ่นดินหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส มีลักษณะเป็นตราอาร์ม พื้นตราเป็นรูปโล่พื้นสีเหลืองขอบสีขาว ภายในดวงตรามีรูปวัตถุ 3 อย่าง ได้แก่ รูปหอยสังข์ที่ด้านซ้ายบน รูปกุ้งมังกรที่ด้านขวาบน และรูปต้นตะบองเพชรที่ตอนกลางล่าง เบื้องซ้ายและเบื้อวขวาของโล่มีรูปนกฟลามิงโกประคองข้าง เหนือโล่นั้นมีรูปนกกระทุงยืนท่ามกลางต้นป่าน 2 ต้น อันเป็นสัญลักษณ์สื่อถึงอุตาสาหกรรมการทำเชือกของประเทศนี้ ดวงตราดังกล่าวนี้เป็นตราอย่างใหญ่ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ได้จากสหราชอาณาจักรเมื่อ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส
ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เป็นตราอาร์มที่สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราประจำอาณานิคมเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ของสหราชอาณาจักรตั้งแต่พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
ตำนานชีวิตดาร์เรน แชน
ตำนานชีวิตดาร์เรน แชน เป็นชุดนวนิยายสยองขวัญแฟนตาซี เขียนโดย ดาร์เรน โอชอนิสซี ชาวไอร์แลนด์ มีทั้งหมด 12 เล่ม แปลเป็นภาษาไทยแล้วจำนวน 12 เล่ม และทาง Universal Studios กำลังจะสร้างสามเล่มแรกเป็นภาพยนตร์ มีกำหนดฉ..
ดู สหราชอาณาจักรและตำนานชีวิตดาร์เรน แชน
ตำนานแห่งนาร์เนีย
ตำนานแห่งนาร์เนีย (The Chronicles of Narnia) เป็นชุดนิยายแฟนตาซีจำนวน 7 เล่ม เขียนโดย ซี.เอส. ลิวอิส ระหว่าง..
ดู สหราชอาณาจักรและตำนานแห่งนาร์เนีย
ตู้ไปรษณีย์
ตู้ไปรษณีย์ บริเวณสำนักงานไปรษณีย์นครหลวงเหนือ ตู้ไปรษณีย์ เป็นตู้สำหรับให้ประชาชนนำจดหมายซึ่งติดแสตมป์ค่าส่งแล้ว มาหยอดเข้าไปในตู้ และจะมีบุรุษไปรษณีย์มารวบรวมจดหมายตามเวลาที่กำหนด เพื่อส่งเข้าระบบไปรษณีย์ต่อไป มีการนำมาใช้ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและตู้ไปรษณีย์
ต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์)
ต้มยำกุ้ง (Tom-Yum-Goong) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้ ที่นำแสดงโดย ทัชชกร ยีรัมย์ หรือ จา พนม ผลงานการกำกับโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว ออกฉายในวันที่ 11 สิงหาคม ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์)
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ซามูไร
ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.
ซานเซบัสเตียน
ตำแหน่งที่ตั้งเมืองซานเซบัสเตียนในประเทศสเปน อ่าวซานเซบัสเตียน ซานเซบัสเตียน (San Sebastián) หรือ โดโนสเตีย (Donostia) เป็นเมืองหลักของจังหวัดกิปุซโกอาในแคว้นประเทศบาสก์ของประเทศสเปน ก่อตั้งขึ้นในตอนกลางของยุคกลาง ในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและซานเซบัสเตียน
ซิกมุนด์ ฟรอยด์
ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, IPA:; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1856 — 23 กันยายน ค.ศ. 1939) เป็นประสาทแพทย์ชาวออสเตรีย ผู้เป็นที่รู้จักในฐานะบิดาแห่งจิตวิเคราะห์ บิดามารดาของฟรอยด์ยากจน แต่ได้ส่งเสียให้ฟรอยด์ได้รับการศึกษา เขาสนใจกฎหมายเมื่อครั้งเป็นนักเรียน แต่เปลี่ยนไปศึกษาแพทยศาสตร์แทน โดยรับผิดชอบการวิจัยโรคสมองพิการ ภาวะเสียการสื่อความ และจุลประสาทกายวิภาคศาสตร์ เขาเดินหน้าเพื่อพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึกและกลไกของการกดเก็บ และตั้งสาขาจิตบำบัดด้วยวาจา โดยตั้งจิตวิเคราะห์ ซึ่งเป็นวิธีการทางคลินิกเพื่อรักษาจิตพยาธิวิทยาผ่านบทสนทนาและระหว่างผู้รับการรักษากับนักจิตวิเคราะห์Ford & Urban 1965, p.
ดู สหราชอาณาจักรและซิกมุนด์ ฟรอยด์
ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)
ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 5 ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ (Symphony No. 5 in C Minor) ของเบโทเฟิน เป็นผลงานที่เขาประพันธ์ขึ้นในช่วง ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)
ซูสีไทเฮา
ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..
ซี-130 เฮอร์คิวลิส
ซี-130 เฮอร์คิวลิส (Lockheed C-130 Hercules) เป็นเครื่องบินลำเลียงใช้เครื่องยนต์เทอร์โบใบพัด 4 เครื่องยนต์ ได้ถูกใช้งานอย่างแพร่หลายและยาวนานที่สุด เครื่องเฮอร์คิวลิสบินครั้งแรกเมื่อ 23 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและซี-130 เฮอร์คิวลิส
ซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3
ซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3 (C-17 Globemaster III) เป็นเครื่องบินขนส่งทางทหารขนาดใหญ่ ซี-17 นั้นถูกสร้างให้กับกองทัพอากาศสหรัฐตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 2523-2533 โดยแมคดอนเนลล์ ดักลาส เครื่องบินนั้นใช้ชื่อเหมือนกับเครื่องบินสองรุ่นก่อนหน้าที่ใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐเช่นกัน นั่นคือซี-74 โกลบมาสเตอร์และซี-124 โกลบมาสเตอร์ 2 ซี-17 ถูกใช้เพื่อทำการลำเลียงอยู่บ่อยครั้ง ทั้งทหารและสินค้า เพื่อส่งไปยังฐานปฏิบัติการหลักหรือฐานปฏิบัติการในแนวหน้าทั่วโลก มันมีความสามารถในการขนส่งหน่วยรบเข้าสู่สมรภูมิได้อย่างต่อเนื่องพร้อมกับดำเนินการส่งเสบียงต่อไป ซี-17ยังสามารถให้การลำเลียงทางยุทธวิธี อพยพคนเจ็บ และการปล่อยพลร่ม.
ดู สหราชอาณาจักรและซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3
ซีลีคอกซิบ
ซีลีคอกซิบ (Celecoxib) เป็นยาประเภท เอ็นเซด (NSAID) ใช้ในการรักษา โรคข้อเสื่อม โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ อาการปวด เฉียบพลัน อาการปวดประจำเดือน อาการผิดปกติในระบบประจำเดือน และลดการเติบโตของเนื้องอกในลำไส้ใหญ่และไส้ตรงในคนไข้ โรคของลำไส้บางชนิด เช่น ติ่งเนื้อในลำไส้ ยานี้ถูกทำตลาดโดย ไฟเซอร์ ซึ่งมี ชื่อทางการค้าว่า Celebrex.
ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน
แสดงแผนปฏิบัติการของฝ่ายสัมพันธมิตรในปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน ทั้งทางอากาศและภาคพื้นดิน ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน (Operation Market Garden) เป็นปฏิบัติการทางทหารของฝ่ายสัมพันธมิตรนำโดยประเทศอังกฤษ ในห้วงวันที่ 17-25 กันยายน..
ดู สหราชอาณาจักรและปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน
ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไท..
ดู สหราชอาณาจักรและปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
ประชาธิปไตย
รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.
ดู สหราชอาณาจักรและประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยเสรีนิยม
รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประชาธิปไตยเสรีนิยม
ประมุขแห่งรัฐ
ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.
ดู สหราชอาณาจักรและประมุขแห่งรัฐ
ประวัติศาสตร์สเปน
ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประวัติศาสตร์สเปน
ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน
ริเวณที่เป็นประเทศอัฟกานิสถานในอดีตในยุคเปอร์เซียเรืองอำนาจ (559–330ก่อน ค.ศ.) '''พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช''' ผู้เข้ามายึดครองจักรวรรดิเปอร์เซียและนำอิทธิพลของกรีกเข้ามา ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน เป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้ ทำให้ในประวัติศาสตร์ของอัฟกานิสถานเกี่ยวข้องกับการอพยพของผุ้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามาในบริเวณนี้ ชนกลุ่มใหญ่ในอัฟกานิสถานเป็นชนเชื้อสายอิหร่านที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู ภาษาดารีเปอร์เซีย อิทธิพลของชาวอาหรับที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลามมีผลต่ออัฟกานิสถานยุคใหม่ นอกจากนั้น อัฟกานิสถานในยุคโบราณยังได้รับอิทธิพลจากกรีซ เอเชียกลาง ชาวปะกัน ชาวพุทธในอินเดีย และชาวฮินดู รวมทั้งผู้นับถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ที่เข้ามาในบริเวณนี้ หลังจากสิ้นสุดยุคจักรวรรดิ อัฟกานิสถานปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ตั้งแต..
ดู สหราชอาณาจักรและประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน
ประวัติศาสตร์อังกฤษ
อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและประวัติศาสตร์อังกฤษ
ประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต
ประวัติอินเทอร์เน็ต เป็นการศึกษาความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ความคิดเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายเดียวที่สามารถให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต่างระบบกันสามารถสื่อสารกันได้นั้นได้มีการพัฒนาผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนด้วยกัน การหลอมรวมกันของการพัฒนาเหล่านั้นได้นำไปสู่เครือข่ายของเครือข่ายทั้งหลายที่รู้จักกันในชื่อว่า อินเทอร์เน็ต การพัฒนาเหล่านั้นมีทั้งในแง่การพัฒนาเทคโนโลยี และการรวมโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายและระบบโทรคมนาคมที่มีอยู่เดิมเข้าด้วยกัน ความคิดเรื่องนี้ในครั้งแรก ๆ ปรากฏขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 หากแต่การนำแนวคิดเหล่านี้ไปปฏิบัติได้จริงนั้นเริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 เมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1980 เทคโนโลยีซึ่งนับได้ว่าเป็นพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตสมัยใหม่นั้นได้เริ่มแพร่หลายออกไปทั่วโลก ในคริสต์ทศวรรษ 1990 การมาถึงของเวิลด์ไวด์เว็บได้ทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตกลายเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป.
ดู สหราชอาณาจักรและประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต
ประวัติศาสตร์ตองงา
ลังกิหนึ่งในมรดกที่จักรวรรดิตูอีโตงาสร้างขึ้น ประวัติศาสตร์ตองงา เป็นประวัติศาสตร์ในหมู่เกาะตองงาที่เรียกว่าราชอาณาจักรตองงาในปัจจุบันนั้น ชาวลาพิตาซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวโพลินีเซียนรวมถึงชาวตองงา ได้อพยพมาตั้งรกรากจากเอเชียใต้ มากว่า 6,000 ปี ตองงามีประเพณีวัฒนธรรมและอารยธรรมเป็นของตัวเอง ได้พัฒนาจากสังคมเล็กจนเป็นสังคมชั้นสูงและโดยมีกษัตริย์ปกครอง ในช่วงระหว่างนั้นได้มีการแลกเปลี่ยนสินค้า การทำสงคราม รวมถึงการถูกยึดครองดินแดนโดยจักรวรรดิตูอิปูโลตูจากประเทศฟิจิและจักรวรรดิมานูอาจากประเทศซามัวสลับกันไป.
ดู สหราชอาณาจักรและประวัติศาสตร์ตองงา
ประเทศ
แผนที่แสดงประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ประเทศ เป็นบริเวณที่ระบุเป็นเอนทิตีต่างหากในภูมิศาสตร์การเมือง ประเทศอาจเป็นรัฐเอกราชหรือรัฐที่ถูกรัฐอื่นยึดครอง เป็นรัฐซึ่งไร้เอกราชหรืออดีตเขตปกครองทางการเมืองเอกราช หรือพื้นที่ภูมิศาสตร์ซึ่งเป็นที่ตั้งของประชาชนที่เดิมไม่ขึ้นต่อกันหรือมีความสัมพันธ์ต่างกันซึ่งมีลักษณะทางการเมืองเป็นเอกลักษณ.
ประเทศบรูไน
รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศบรูไน
ประเทศบอตสวานา
อตสวานา (อังกฤษและBotswana) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบอตสวานา (Republic of Botswana; Lefatshe la Botswana) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ และเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตดังนี้ ทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ ทิศตะวันตกติดกับประเทศนามิเบีย ทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศซิมบับเว.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศบอตสวานา
ประเทศบังกลาเทศ
ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศบังกลาเทศ
ประเทศบาร์เบโดส
ร์เบโดส (Barbados) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียนเล็กน้อย ที่ 13 องศาเหนือและ 59 องศาตะวันตก ตั้งอยู่ค่อนข้างใกล้กับอเมริกาใต้โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลาประมาณ 434.5 กิโลเมตร (270 ไมล์) เกาะที่อยู่ใกล้บาร์เบโดสมากที่สุดคือเซนต์ลูเซีย และเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซึ่งทั้ง 2 ประเทศตั้งอยู่ทางตะวันตก และเมื่อรวมกับบาร์เบโดสแล้ว เกาะเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) ในภูมิภาคแคริบเบียน บาร์เบโดสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานชีวิตและความสามารถในการอ่านออกเขียนได้สูงที่สุดในโลกที่กำลังพัฒนา และจาก UNDP (United Nations Development Programme) บาร์เบโดสเป็นประเทศที่พัฒนาเป็นอันดับ 4 ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้ บาร์เบโดสยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศบาร์เบโดส
ประเทศบาห์เรน
ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศบาห์เรน
ประเทศบาฮามาส
ประเทศบาฮามาส (The Bahamas) หรือชื่อทางการว่า เครือรัฐบาฮามาส (Commonwealth of the Bahamas) เป็นประเทศตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อยู่ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากคำนภาษาสเปนว่า "บาคามาร์" (baja mar) มีความหมายว่า "ทะเลน้ำตื้น" เศรษฐกิจของประเทศมากกว่าร้อยละ 60 ของจีดีพี มาจากธุรกิจการท่องเที่ยว ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรมการเกษตร.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศบาฮามาส
ประเทศฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศฟินแลนด์
ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศฟินแลนด์
ประเทศฟีจี
ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.
ประเทศพม่า
ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..
ประเทศกรีซ
กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.
ประเทศกายอานา
กายอานา (Guyana) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา (Co-operative Republic of Guyana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่แถบชายฝั่งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ประกอบไปด้วยภาคตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกายอานา (ภาษาของชาวเผ่าอินเดียนแดงในอเมริกา หมายถึง ดินแดนแห่งน้ำหลาก) พรมแดนด้านตะวันออกจรดประเทศซูรินาม พรมแดนด้านใต้ติดกับประเทศบราซิล พรมแดนด้านตะวันตกติดกับเวเนซุเอลา และด้านเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีปัญหาพิพาทเรื่องพรมแดนกับเวเนซุเอลา เช่นเดียวกันกับพรมแดนด้านใต้ส่วนใหญ่ที่ติดกับซูรินาม (ตลอดแนวชายฝั่งตอนบนของแม่น้ำโกรันไตน์).
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศกายอานา
ประเทศกาตาร์
กาตาร์ (قطر) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศกาตาร์
ประเทศกานา
กานา (Ghana) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกานา (Republic of Ghana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก พรมแดนด้านตะวันตกจรกประเทศโกตดิวัวร์ ด้านตะวันออกจรดประเทศบูร์กินาฟาโซ ด้านตะวันออกจรดประเทศโตโก โดยมีชายฝั่งทะเลด้านใต้ติดกับอ่าวกินี เดิมเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรมีชื่อเรียกว่า โกลด์โคสต์ (Gold Coast).
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศฝรั่งเศส
ประเทศมอริเชียส
มอริเชียส (Mauritius) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) คือประเทศที่เป็นเกาะนอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ ประมาณ 900 กิโลเมตร (560 ไมล์) และทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 3,943 กิโลเมตร (2,450 ไมล์) นอกจากตัวเกาะมอริเชียสแล้ว สาธารณรัฐมอริเชียสประกอบด้วยเกาะเซนต์แบรนดอน เกาะรอดรีกส์ และหมู่เกาะอากาเลกา มอริเชียสเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแมสการีน มีเกาะเรอูนียงของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร (125 ไมล์).
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศมอริเชียส
ประเทศมอลตา
มอลตา (Malta) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลตา (Repubblika ta' Malta) เป็นประเทศที่เป็นเกาะขนาดเล็กสองเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่มีประชากรหนาแน่น (1,262 คน ต่อตารางกิโลเมตร) มีประชากรทั้งหมด (ล่าสุด พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศมอลตา
ประเทศมัลดีฟส์
มัลดีฟส์ (Maldives; ދިވެހިރާއްޖެ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives; ހިވެދި ގުޖޭއްރާ ޔާއްރިހޫމްޖު) เป็นประเทศที่มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศมัลดีฟส์
ประเทศมาลาวี
รณรัฐมาลาวี (Republic of Malawi; เชวา: Dziko la Malaŵi) มีชื่อเดิมว่า ไนแอซาแลนด์ (Nyasaland) เป็นรัฐประชาธิปไตยที่มีประชากรหนาแน่นอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของแอฟริกา มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศแซมเบียทางตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับประเทศแทนซาเนียทางเหนือ และมีประเทศโมซัมบิกล้อมรอบทางทิศตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศมาลาวี
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศมาเลเซีย
ประเทศยูกันดา
ูกันดา (Uganda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐยูกันดา (Republic of Uganda) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกจดประเทศเคนยา ทางเหนือจดประเทศซูดานใต้ ทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศรวันดา และทางใต้จดประเทศแทนซาเนีย ทางใต้ของประเทศรวมถึงบางส่วนของทะเลสาบวิกตอเรีย ซึ่งมีพรมแดนติดกับเคนยาและแทนซาเนียด้วย ยูกันดาได้ชื่อมาจากอาณาจักรบูกันดาซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมทางใต้ของประเทศ รวมถึงเมืองหลวง กัมปาลา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นคือ อาณาจักรโตโร อาณาจักรบุนโยโร-กิตารา อาณาจักรบูโซกา อาณาจักรอันโกเล อาณาจักรรเวนซูรูรู เมืองหลวงเก่าของประเทศนี้คือเอนเทบบี อันเป็นที่ตั้งของสนามบินแห่งชาติยูกันดาด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศยูกันดา
ประเทศลาว
ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.
ประเทศวานูอาตู
วานูอาตู (บิสลามา, อังกฤษ และVanuatu) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐวานูอาตู (บิสลามา: Ripablik blong Vanuatu; Republic of Vanuatu; République de Vanuatu) เป็นประเทศหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย 1,750 กม.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศวานูอาตู
ประเทศศรีลังกา
รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศศรีลังกา
ประเทศสกอตแลนด์
กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศสกอตแลนด์
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศสิงคโปร์
ประเทศออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศออสเตรเลีย
ประเทศอัฟกานิสถาน
อัฟกานิสถาน (Afghanistan; افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศอัฟกานิสถาน
ประเทศอังกฤษ
อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศอังกฤษ
ประเทศอาร์มีเนีย
อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศอาร์มีเนีย
ประเทศอาร์เจนตินา
อาร์เจนตินา (อังกฤษและArgentina อารฺเฆนตีนา (สเปน)) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐอาร์เจนตินา (Argentine Republic; República Argentina) เป็นหนึ่งในประเทศในทวีปอเมริกาใต้ (ลาตินอเมริกา) ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอนดีสทางทิศตะวันตก และมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ มีพรมแดนจดประเทศปารากวัยและประเทศโบลิเวียทางภาคเหนือ จดประเทศอุรุกวัยและประเทศบราซิลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจดประเทศชิลีทางภาคตะวันตกและภาคใต้ อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ รองจากบราซิล และมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศอาร์เจนตินา
ประเทศอิรัก
ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศอิรัก
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศอินเดีย
ประเทศอียิปต์
รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศอียิปต์
ประเทศจอร์แดน
ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan; المملكة الأردنية الهاشمية) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (Jordan; الأردن Al-Urdunn อัลอุรดุน) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศจอร์แดน
ประเทศจาเมกา
มกา (Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศจาเมกา
ประเทศดอมินีกา
อมินีกา (Dominica) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐดอมินีกา (Commonwealth of Dominica) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่อยู่ในทะเลแคริบเบียน ในภาษาละติน ชื่อนี้หมายถึง "วันอาทิตย์" ซึ่งเป็นวันที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบเกาะนี้ ดอมินีกามีกรุงโรโซ (Roseau) เป็นเมืองหลวง.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศดอมินีกา
ประเทศคอซอวอ
อซอวอ (Косово, Kosovo; Kosovë, Kosova) เป็นภูมิภาคหนึ่งในคาบสมุทรบอลข่าน ติดกับประเทศเซอร์เบียทางทิศเหนือ มอนเตเนโกรทางตะวันตก แอลเบเนียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางใต้ ไม่มีทางออกสู่ทะเล คอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศคอซอวอ
ประเทศคิริบาส
ริบาส (Kiribati ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคิริบาส (Republic of Kiribati; กิลเบิร์ต: Ribaberiki Kiribati) เป็นชาติเกาะที่ตั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนตอนกลาง หมู่เกาะปะการัง 33 แห่งของประเทศกระจายทั่วพื้นที่ 3,500,000 ตารางกิโลเมตรใกล้เส้นศูนย์สูตร ชื่อประเทศที่เขียนในภาษาอังกฤษคือ "Kiribati" ออกเสียงในภาษาพื้นเมืองว่า ซึ่งมาจากการทับศัพท์คำว่า "Gilberts" ของคนในท้องถิ่น เนื่องจากว่าชื่อเดิมในภาษาอังกฤษของหมู่เกาะหลักคือ "หมู่เกาะกิลเบิร์ต" (Gilbert Islands).
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศคิริบาส
ประเทศคูเวต
ูเวต (الكويت) หรือชื่อทางการคือ รัฐคูเวต (دولة الكويت) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ที่มีขนาดเล็กและอุดมไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ริมชายฝั่งอ่าวเปอร์เซีย มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศอิรัก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศคูเวต
ประเทศตรินิแดดและโตเบโก
ตรินิแดดและโตเบโก (Trinidad and Tobago) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก (Republic of Trinidad and Tobago) เป็นชาติที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ตอนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งเวเนซุเอลา 11 กม.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศตรินิแดดและโตเบโก
ประเทศตองงา
ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศตองงา
ประเทศตูวาลู
ตูวาลู (ตูวาลูและTuvalu) หรือเดิมเป็นที่รู้จักกันในชื่อ หมู่เกาะเอลลิซ (Ellice Islands) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่อประเทศแปลว่า "แปดยืนยง" (Eight Standing Together) ในภาษาตูวาลู นอกจากนครรัฐวาติกันแล้ว ตูวาลูเป็นประเทศอิสระที่มีประชากรน้อยที่สุดในโลก เนื่องจากมีความสูงต่ำ (สูงสุดคือ 5 เมตร) เกาะที่ประกอบเป็นประเทศนี้ อาจจะเกิดปัญหาถ้าระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ในช่วงหลายทศวรรษข้างหน้า ประชากรอาจจะอพยพไปที่ประเทศนิวซีแลนด์หรือเกาะนีอูเอซึ่งเป็นเกาะเล็ก ๆ ที่เป็นปกครองตนเองแต่ขึ้นกับนิวซีแลนด์ที่ไม่มีปัญหาจากการเพิ่มของระดับน้ำทะเล แต่มีประชากรน้อยลง.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศตูวาลู
ประเทศซูดาน
ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศซูดาน
ประเทศปากีสถาน
ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศปากีสถาน
ประเทศปาปัวนิวกินี
ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศปาปัวนิวกินี
ประเทศนอร์เวย์
นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศนอร์เวย์
ประเทศนาอูรู
นาอูรู หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐนาอูรู (Republic of Nauru; Ripublik Naoero) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนาอูรูตั้งอยู่ใกล้กับเกาะบานาบาของประเทศคิริบาสมากที่สุด โดยอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตร ไปทางตะวันออก ประเทศนาอูรูเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิกและเล็กเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากประเทศโมนาโกและนครรัฐวาติกัน โดยมีพื้นที่ และมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น 9,488 คนcvv ดินแดนที่เป็นประเทศนาอูรูในปัจจุบันมีชาวไมโครนีเซียและโพลินีเซียเข้ามาอยู่อาศัย ในระยะเวลาต่อมาจักรวรรดิเยอรมนีได้ผนวกดินแดนนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติโดยมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารกิจการต่าง ๆ ในเกาะแห่งนี้ร่วมกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองนาอูรู เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีและได้รับเอกราชในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศนาอูรู
ประเทศนิวซีแลนด์
นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศแกมเบีย
แกมเบีย (The Gambia) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแกมเบีย (Republic of The Gambia) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตก จัดเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในแผ่นดินใหญ่ของทวีปแอฟริกา ถูกล้อมด้วยเซเนกัลสามด้าน ยกเว้นด้านตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีเมืองหลวงชื่อบันจูล แต่เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคือเซเรกุนดา ประเทศนี้ตั้งอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำแกมเบีย ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านกลางประเทศไปลงมหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ 10,500 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรราว 1,700,000 คน ประวัติศาสตร์ของแกมเบียเกี่ยวข้องกับการค้าทาสในอดีตเช่นเดียวกับประเทศในแอฟริกาตะวันตกอื่น ๆ ทำให้เกิดอาณานิคมในบริเวณแม่น้ำแกมเบีย โดยครั้งแรกถูกยึดครองโดยโปรตุเกส ต่อมาจึงถูกยึดครองโดยอังกฤษ อาชีพหลักของประชากรคือเกษตรกรรม การประมงและการท่องเที่ยว ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะยากจน วันที่ 18 กุมภาพัน..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศแกมเบีย
ประเทศแอฟริกาใต้
รณรัฐแอฟริกาใต้ (Republic of South Africa) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่า แอฟริกาใต้ (ต่างจาก "แอฟริกาตอนใต้" ซึ่งเป็นภูมิภาคประกอบไปด้วยหลายประเทศ รวมถึงประเทศแอฟริกาใต้ด้วย) เป็นประเทศอิสระที่อยู่ตอนปลายทางใต้สุดของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับประเทศนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว โมซัมบิก และสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีเลโซโทซึ่งเป็นประเทศที่ถูกล้อมรอบทุกด้านด้วยอาณาเขตของประเทศแอฟริกาใต้ รวมทั้งยังเป็นประเทศส่งออกเพชร, ทองคำ และไวน์ที่ชาวฝรั่งเศสนำเข้ามาอีกด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศแอฟริกาใต้
ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา
แอนติกาและบาร์บูดา (Antigua and Barbuda) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันออก บริเวณรอยต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะหลักสองเกาะ คือ เกาะแอนติกาและเกาะบาร์บูดา ทั้งสองเกาะตั้งอยู่ในตอนกลางของหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) ในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออก ประมาณ 17 องศาเหนือเส้นศูนย์สูตร แอนติกาและบาร์บูดายังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส โดยมีหมู่เกาะกัวเดอลุป ดอมินีกา มาร์ตีนิก เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ บาร์เบโดส เกรเนดา ตรินิแดดและโตเบโกอยู่ทางทิศใต้ เกาะมอนต์เซอร์รัตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่เกาะเซนต์คิตส์และเนวิสทางทิศตะวันตก และมีเกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี เกาะเซนต์มาร์ติน และมีเกาะแองกวิลลาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศแอนติกาและบาร์บูดา
ประเทศแทนซาเนีย
แทนซาเนีย หรือชื่อทางการ สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย (United Republic of Tanzania; Jamhuri ya Muungano wa Tanzania) เป็นประเทศที่อยู่บนชายฝั่งตะวันออกของแอฟริกา มีอาณาเขตทางเหนือจดเคนยาและยูกันดา ทางตะวันตกจดรวันดา บุรุนดี และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และทางใต้จดแซมเบีย มาลาวี และโมซัมบิก ส่วนทางตะวันออกจดมหาสมุทรอินเดีย ประเทศตั้งชื่อมาจากแผ่นดินใหญ่แทนกันยีกาและเกาะแซนซิบาร์ที่อยู่นอกจากชายฝั่งตะวันออก แทนซาเนียเป็นสมาชิกของเครือจักรภพแห่งชาติ ตั้งแต่ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศแทนซาเนีย
ประเทศแคนาดา
แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา
ประเทศแคเมอรูน
แคเมอรูน (Cameroon; Cameroun) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแคเมอรูน (Republic of Cameroon; République du Cameroun) เป็นสาธารณรัฐในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตจรดไนจีเรีย ชาด สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐคองโก กาบอง อิเควทอเรียลกินี.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศแคเมอรูน
ประเทศแซมเบีย
แซมเบีย (Zambia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแซมเบีย (Republic of Zambia) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคแอฟริกาใต้ มีพรมแดนทางด้านเหนือจรดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดแทนซาเนีย ทางด้านใต้จรดโมซัมบิก ซิมบับเว บอตสวานา และนามิเบีย และทางตะวันตกจรดแองโกลา เดิมมีชื่อว่าโรดีเซียเหนือ ชื่อแซมเบียมีต้นกำเนิดมาจากแม่น้ำแซมบีซี.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศแซมเบีย
ประเทศโอมาน
อมาน (Oman; عُمان) หรือชื่อทางการว่า รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman; سلطنة عُمان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตะวันตกติดกับซาอุดีอาระเบีย และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเยเมน มีชายฝั่งบนทะเลอาหรับทางใต้และตะวันออก และอ่าวโอมานทางตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีดินแดนส่วนแยกอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อีกด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศโอมาน
ประเทศโซมาเลีย
ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศโซมาเลีย
ประเทศโปรตุเกส
ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศโปรตุเกส
ประเทศไอร์แลนด์
อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศไอร์แลนด์
ประเทศไอซ์แลนด์
อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศไอซ์แลนด์
ประเทศไซปรัส
ซปรัส (Cyprus; Κύπρος คีโปรส; Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (Republic of Cyprus; Κυπριακή Δημοκρατία; Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศไซปรัส
ประเทศไนจีเรีย
นจีเรีย (Nigeria) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย (Federal Republic of Nigeria) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในแอฟริกา ไนจีเรียได้ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยเมื่อพ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศไนจีเรีย
ประเทศเบลีซ
ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเบลีซ
ประเทศเกรเนดา
กรเนดา (Grenada) เป็นประเทศบนเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเกรเนดา
ประเทศเลโซโท
ลโซโท (โซโทและLesotho) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเลโซโท (โซโท: Mmušo wa Lesotho; Kingdom of Lesotho) เป็นประเทศขนาดเล็กในทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 30,355 ตารางกิโลเมตร (11,720 ตารางไมล์) พรมแดนถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้ทุกทิศทำให้ไม่มีทางออกสู่ทะเล ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือมาเซรู เลโซโทมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นหนึ่งในสามประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศโมร็อกโกและประเทศสวาซิแลน.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเลโซโท
ประเทศเวลส์
วลส์ (Wales; Cymru, ออกเสียง คัมรึ) เป็น 1 ใน 4 ประเทศที่ประกอบเป็นสหราชอาณาจักร (ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ) เวลส์อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ โดยทิศตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทิศใต้ติดกับช่องแคบบริสตอล (Bristol Channel) ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบจอร์เจส (George's Channel) และทางเหนือติดกับทะเลไอริช คำว่า ราชรัฐเวลส์ ยังคงเป็นที่นิยมใช้ ถึงแม้ว่าเจ้าชายแห่งเวลส์จะไม่มีบทบาททางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเวลส์
ประเทศเอสวาตีนี
อสวาตีนี (eSwatini, ออกเสียง:; Eswatini) หรือ สวาซิแลนด์ (Swaziland) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเอสวาตีนี (Umbuso weSwatini; Kingdom of Eswatini) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านขนาดใหญ่ คือ แอฟริกาใต้และโมซัมบิก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเอสวาตีนี
ประเทศเคนยา
นยา (อังกฤษและKenya) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเคนยา (Republic of Kenya; Jamhuri ya Kenya) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตจรดประเทศเอธิโอเปีย (ทางเหนือ) ประเทศโซมาเลีย (ทางตะวันออกเฉียงเหนือ) ประเทศแทนซาเนีย (ทางใต้) ประเทศยูกันดา (ทางตะวันตก) ประเทศเซาท์ซูดานและทะเลสาบวิกตอเรีย (ทางตะวันตกเฉียงเหนือ) และมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือ ไนโรบี.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเคนยา
ประเทศเซียร์ราลีโอน
ซียร์ราลีโอน (Sierra Leone) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน (Republic of Sierra Leone) เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าฟรีทาวน์ มีเนื้อที่โดยประมาณ 71,740 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับสาธารณรัฐกินี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับประเทศไลบีเรีย ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเซียร์ราลีโอน
ประเทศเซนต์ลูเชีย
ซนต์ลูเชีย (Saint Lucia) เป็นประเทศที่เป็นเกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เซนต์ลูเชียเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) โดยอยู่ทางทิศเหนือของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศบาร์เบโดส และทางทิศใต้ของเกาะมาร์ตินีกของฝรั่งเศส ประเทศเซนต์ลูเชียรู้จักในนาม "Helen of the West".
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์ลูเชีย
ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
ซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (Saint Vincent and the Grenadines) เป็นประเทศในภูมิภาคแคริบเบียน มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ มีทางออกสู่ทะเลและเป็นสมาชิกของเครือจักร.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส
ซนต์คิตส์และเนวิส (Saint Kitts and Nevis) หรือชื่อทางการคือ สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส (Federation of Saint Kitts and Nevis) ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) เป็นประเทศเกาะในทะเลแคริบเบียนและเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในซีกโลกตะวันตก เมืองหลวงและหน่วยงานรัฐบาลของสหพันธรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนเกาะเซนต์คิตส์ (หรือเซนต์คริสโตเฟอร์) ที่มีขนาดใหญ่กว่า ส่วนรัฐที่เล็กกว่าคือ เนวิส (Nevis) ตั้งอยู่ห่างจากเกาะเซนต์คิตส์ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 3 กิโลเมตร ตามประวัติศาสตร์แล้ว แองกวิลลาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐด้วย เรียกว่า เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา แม้ว่าทั้งเกาะเซนต์คิตส์และเกาะเนวิสตั้งอยู่ภายในหมู่เกาะลีเวิร์ด แต่ทั้ง 2 เกาะก็ตั้งอยู่ใกล้กับเกาะอื่น ๆ อีกมากมายด้วย ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีเกาะซินต์เอิสตาซียึส เกาะซาบา เกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี และเกาะเซนต์มาร์ติน ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีเกาะแอนติกาและบาร์บูดา และทางตะวันออกเฉียงใต้มีเกาะมอนต์เซอร์รัต ทั้งชื่อ Saint Christopher และ Saint Kitts ปรากฏอยู่ใน.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส
ประเทศเซเชลส์
ประเทศเซเชลส์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซเชลส์ (Republic of Seychelles; République des Seychelles; ครีโอลเซเชลส์: Repiblik Sesel) เป็นประเทศที่เป็นกลุ่มเกาะ ประกอบด้วยเกาะ 115 เกาะในมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงคือกรุงวิกตอเรีย อยู่ห่างจากชายฝั่งของทวีปแอฟริกาทางตะวันออก 1,500 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมาดากัสการ์ หมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ทางทิศใต้ ได้แก่ มอริเชียส ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ คอโมโรสและมายอต และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ มัลดีฟส์ มีเกาะหลักคือ เกาะมาเฮ ประเทศเซเชลล์มีจำนวนประชากรประมาณ 92,000 คน ถูกจัดให้เป็นประเทศเอกราชที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่น้อยที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยประเทศเซเชลส์ได้รับการยอมรับให้เป็นหนึ่งในสมาชิกของสหประชาชาติและสหภาพแอฟริกา รวมถึงเป็นสมาชิกของกลุ่มประชาคมเพื่อการพัฒนาภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (The Southern African Development Community (SADC)) และยังเป็นหนึ่งในเครือจักรภพแห่งประชาชาต.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเซเชลส์
ประเทศเนปาล
ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเนปาล
ประเทศเนเธอร์แลนด์
นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.
ดู สหราชอาณาจักรและประเทศเนเธอร์แลนด์
ปราสาทเดอรัม
ปราสาทเดอรัม มองจากหน้าโบสถ์ ทางเข้าปราสาทเดอรัม มุมมองจากภายในลานปราสาท ป้อมปราสาท ปราสาทเดอรัม (Durham Castle) เป็นปราสาทแบบนอร์มันในเมืองเดอรัม เทศมณฑลเดอรัม สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ตรงข้ามกับโบสถ์เดอรัม บนยอดเนินเขาเหนือแม่น้ำแวร์บนคาบสมุทรเดอรัม.
ดู สหราชอาณาจักรและปราสาทเดอรัม
ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (pound per square inch) หรือชื่อที่ถูกต้องกว่าคือ แรงปอนด์ต่อตารางนิ้ว (pound-force per square inch) สัญลักษณ์ psi (พีเอสไอ) หรือ lbf/sq in เป็นหน่วยวัดความดันซึ่งมีพื้นฐานจากระบบอังกฤษแบบอาวัวร์ดูปัว นิยมใช้ในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา หนึ่งปอนด์ต่อตารางนิ้วคือความดันซึ่งเป็นผลจากแรงหนึ่งแรงปอนด์กระทำต่อพื้นที่หนึ่งตารางนิ้ว 1 lbf/sq in ≈ 6,894.757 Pa ในระบบเอสไอ.
ดู สหราชอาณาจักรและปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ปิโตรเลียม
แหล่งน้ำมันสำรองทั่วโลกที่พิสูจน์แล้วใน ค.ศ. 2009 บ่อปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในเท็กซัส ปิโตรเลียม (petroleum, petra (หิน) + oleum (น้ำมัน) รวมหมายถึง "น้ำมันที่ได้จากหิน") หรือ น้ำมันดิบ เป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน กับสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นของเหลวอื่น ๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยาใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่าย) จำนวนมากทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล การขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม.
ปุรันทาร สิงห์
นแดนของอาณาจักรอาหมในช่วงสุดท้ายก่อนการล่มสลาย ปุรันทาร สิงห์ (Purandar Singha) เป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของอาณาจักรอาหม ครองราชย์ครั้งแรก พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและปุรันทาร สิงห์
ป็อป
นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.
ป้อมพระจุลจอมเกล้า
ป้อมพระจุลจอมเกล้า หรือเรียกสั้นๆว่า "ป้อมพระจุล" เป็นป้อมปราการทางน้ำ ตั้งอยู่ที่ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ สร้างขึ้นเมื่อใด ไม่พบหลักฐานแน่ชัด แต่คาดว่าสร้างขึ้นในราวเดือน มีนาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและป้อมพระจุลจอมเกล้า
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและป๋วย อึ๊งภากรณ์
นพวรรณ เลิศชีวกานต์
นพวรรณ เลิศชีวกานต์ (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 -) ชื่อเล่น นก นักเทนนิสหญิงชาวไทย มีอันดับโลกสูงสุด ประเภทเดี่ยว อันดับ 314 เมื่อปี 2552 ประเภทคู่ อันดับ 606 เมื่อปี 2550 นพวรรณชนะเลิศการแข่งขันในระดับเยาวชนหลายครั้ง และได้รับเลือกให้อยู่ในโครงการ The Rising Stars Programme ของลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย มื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2552 ทางสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ไอทีเอฟ) ได้จัดงานเลี้ยงฉลองนักเทนนิสยอดเยี่ยมประจำปี 2551 ที่โรงแรมพาวิลอง อาร์เมนองเวียง มีนักเทนนิสทั้งอดีตที่มีชื่อเสียงไม่ว่าจะเป็น จอห์น แม็คแอนโร, มาร์ตินา นาฟราติโลวา ก็มาร่วมงานกันพร้อมกับแขกที่เชิญกว่า 500 คน โดยงานนี้ "น้องนก" นพวรรณ เลิศชีวกานต์ ได้รับตำแหน่งนักกีฬาเยาวชนหญิงยอดเยี่ยมไปครอง จากการครองเป็นเบอร์ 1 ของเยาวชนโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและนพวรรณ เลิศชีวกานต์
นการากู
ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์. เนอการากู (โรมัน: Negaraku, ยาวี: نڬاراكو, แปลว่า "แผ่นดินของข้า") เป็นเพลงชาติของสหพันธรัฐมาเลเซีย เพลงนี้ได้รับเลือกให้เป็นเพลงชาติมาเลเชียเมื่อสหพันธรัฐมาลายาได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ.
นักวิทยุสมัครเล่น
"นักวิทยุสมัครเล่น" ภาษาอังกฤษเรียกว่า "amateur radio operator" หมายถึงบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นจากรัฐบาลหรือจากผู้ที่มีอำนาจของแต่ละประเทศ นักวิทยุสมัครเล่นจะใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในสถานีของนักวิทยุสมัครเล่นสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างนักวิทยุสมัครเล่นที่ได้รับอนุญาตเช่นเดียวกัน รวมทั้งใช้ความถี่ที่กำหนดให้เฉพาะกิจการวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น ซึ่งการใช้งานจะต้องเป็นตามเงื่อนไขที่ได้รับอนุญาต นักวิทยุสมัครเล่นจะได้รับการกำหนดสัญญาณเรียกขาน เพื่อระบุตัวตนในการติดต่อสื่อสาร ปัจจุบันมีนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกประมาณ 3 ล้านคน นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกตัวเองว่า "ham" สำหรับที่มาของคำว่า "ham" นั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าเริ่มใช้ตั้งแต่เมื่อใด และนักวิทยุสมัครเล่นมักจะเรียกหรือกล่าวถึงนักวิทยุสมัครเล่นที่เสียชีวิตว่า "silent key".
ดู สหราชอาณาจักรและนักวิทยุสมัครเล่น
นักเรียน
นักเรียนขณะเข้าร่วมประชุมภายในหอประชุม นักเรียน ผู้เรียน นิสิต หรือ นักศึกษา ในความหมายโดยรวมคือผู้ที่เข้าเรียนในสถานศึกษา โดยแบ่งเป็น.
นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Prime Minister of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลในสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินแห่งสหราชอาณาจักร การกำหนดนโยบายและการบริหารราชการแผ่นดินต่างๆถือเป็นความรับผิดชอบของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อพระมหากษัตริย์, รัฐสภา, พรรคการเมือง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถือเป็นหนึ่งในสี่อำมาตย์นายก ซึ่งหมายถึงผู้บริหารสูงสุดทั้งสี่ของรัฐบาล นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันเป็น คนที่ 54 คือ เทเรซา เมย์ หัวหน้าพรรคอนุรักษนิยม ซึ่งได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
นาริตะ
มืองนาริตะ เป็นเมืองในจังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งเป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ให้บริการสำหรับพื้นที่ของกรุงโตเกียวและเมืองโดยรอ.
นาซีเยอรมนี
นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.
ดู สหราชอาณาจักรและนาซีเยอรมนี
นิราศลอนดอน
นิราศลอนดอน เป็นนิราศที่แต่งโดย หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร).
ดู สหราชอาณาจักรและนิราศลอนดอน
นิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์
นิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์ (New7Wonders of the World) เป็นการริเริ่มตั้งแต่ปี 2543 โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการรอบสหัสวรรษในการเลือกสิ่งมหัศจรรย์ของโลกจากการคัดเลือกอนุสรณ์สถานที่มีอยู่ 200 แห่ง การสำรวจความเห็นของประชาชนนี้มี Bernard Weber เป็นผู้นำ และมูลนิธิ New7Wonders เป็นผู้จัดระเบียบ ซึ่งเป็นองค์การตั้งอยู่ในซูริก ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ประกาศผลเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2550 ที่กรุงลิสบอน.
ดู สหราชอาณาจักรและนิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์
นิวเวฟ
บลอนดี (Blondie) ในปี ค.ศ. 1976 จากซ้ายไปขวา: แกรี วาเลนไทน์, เคล็ม เบิร์ก, เดโบราห์ แฮร์รี, คริส สไตน์ และ จิมมี เดสทรี นิวเวฟ เป็นแนวเพลงป็อปร็อกที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 และกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ที่ผูกพันกับพังก์ร็อก โดยทั่วไปคำนี้มีความหมายเดียวกับพังก์ร็อก ก่อนที่จะรวมกับอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีทดลอง ม็อด ดิสโก้ และป็อป ต่อมานิวเวฟได้มีแนวเพลงย่อยได้แก่ นิวโรแมนติกและกอทิกร็อก ในฐานะที่เป็นแนวเพลงที่ได้รวมเอามากจากเสียงของพังก์ร็อกที่เป็นต้นฉบับ และอุปนิสัยของชนกลุ่มน้อย เช่นเน้นเพลงในเวลาสั้นและเราะรานReynolds, Simon "Rip It Up and Start Again PostPunk 1978–1984" p160แต่มันเป็นลักษณะซับซ้อนมากขึ้นในเพลงและเนื้อเพลงทั้ง ลักษณะทั่วไปของดนตรีนิวเวฟ นอกเหนือจากอิทธิพลของพังก์รวมถึงการใช้เครื่องสังเคราะห์เสียง และการผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการจัดแต่งทรงผมและศิลปะหลากหลายขึ้น ในฐานะที่คำว่านิวเวฟมักจะใช้เพื่ออธิบายเพลงซึ่งเป็นที่เล่นโวหารและพิสดาร ลวงและปรากฏที่หัวใจ ผสมผสานในการติดท่อนแบบไพเราะชัดเจน ในลักษณะรูปแบบของแนวเพลงนี้แตกต่างกันอย่างมากตั้งแต่ปี..
นิวเดลี
นิวเดลี (New Delhi; नई दिल्ली) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดี.
นีโอนาซี
นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.
นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น
รูปค้อนเคียว สัญลักษณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียต นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายต่างประเทศของโซเวียต ที่ปรากฏในช่วง ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและนโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น
น้ำมันปาล์ม
น้ำมันปาล์ม (Palm oil) สกัดจาก ปาล์มน้ำมันดิบ เป็นพืชน้ำมันที่ให้ปริมาณน้ำมันสูงถึง 0.6 - 0.8 ตัน/ไร่/ปี เมื่อเปรียบเทียบกับพืชน้ำมันชนิดอื่น สามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อาหารและใช้ในการประกอบอาหารเนื่องจากมีคุณสมบัติทนความร้อนได้สูง ไม่ทำให้เกิดสารก่อมะเร็ง น้ำมันปาล์มมีราคาต่ำกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่ปลอดจากสารตัดแต่งพันธุกรรม (GMOs) น้ำมันปาล์มผลิตได้เองในประเทศการใช้ประโยชน์จากปาล์มน้ำมันจะก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มและรายได้โดยรวมของประเท.
ดู สหราชอาณาจักรและน้ำมันปาล์ม
แบล็กเอาต์ (อัลบั้มบริตนีย์ สเปียรส์)
แบล็กเอาต์ (Blackout) คือ สตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 5 ของบริตนีย์ สเปียรส์ ศิลปินเพลงป็อปหญิงจากสหรัฐอเมริกา ออกจำหน่ายที่ออสเตรเลียในวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและแบล็กเอาต์ (อัลบั้มบริตนีย์ สเปียรส์)
แบงก์ซี่
หนูอนาธิปัตย์ โดย Banksy แบงก์ซี่ (Banksy) เป็นนามแฝงของศิลปินกราฟฟิตี้ชาวอังกฤษที่มีผลงานโดดเด่นจำนวนมาก ผลงานของเขาปรากฏทั่วทั้งลอนดอนและตามที่ต่าง ๆ ทั่วโลก Banksy ใช้เทคนิคต่าง ๆ กันในการสื่อสาร ซึ่งมักจะเป็นเรื่องการเมืองหรือเรื่องตลกขบขัน รูปแบบงานศิลปะข้างถนนดั้งเดิมของเขา ซึ่งผสมผสานกราฟฟิตี้เข้ากับเทคนิคการใช้ stencil ที่มีลักษณะเฉพาะนั้น มีชื่อเสียงอย่างมากในวงการใต้ดิน และยังมีการรายงานทั่วไปในสื่อกระแสหลัก ล่าสุด ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน..
แบ็กโฮม
แบ็กโฮม (Back Home) เป็นอัลบั้มสตูดิโอลำดับที่ 9 ของเวสท์ไลฟ์ บอยแบนด์ชาวไอริช ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.
แมรี เชลลีย์
แมรี เชลลีย์ แมรี เชลลีย์ (30 ส.ค. ค.ศ. 1797 (พ.ศ. 2340) - 1 ก.พ. ค.ศ. 1851 (พ.ศ. 2394)) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ ผู้เขียนนิยายแฟรงเกนสไตน์ แมรี เชลลีย์แต่งงานกับเพอร์ซี เชลลีย์ ผู้เป็นกวีที่มีชื่อในยุคโรแมนต.
ดู สหราชอาณาจักรและแมรี เชลลีย์
แมนเชสเตอร์
แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและแมนเชสเตอร์
แรนิทิดีน
แรนิติดีน (อังกฤษ:Ranitidine) เป็นฮีสตามีน H2-รีเซพเตอร์ แอนตาโกนิสต์ ที่ยับยั้งการผลิตดรดในกระเพาะอาหาร ใช้รักษาอาการแกซโตรอีโซฟาเจียล รีฟลัก (GERD) และ แผลในกระเพาะอาหาร (PUD) ยาตัวนี้ผลิตและจำหน่ายโดยแกลกโซสมิทไคลน์ (GlaxoSmithKline) มีชื่อาทงการค้าว่าแซนแทก®, (Zantac®).
แลบราดอร์ริทรีฟเวอร์
แลบราดอร์ริทรีฟเวอร์ (Labrador Retriever).
ดู สหราชอาณาจักรและแลบราดอร์ริทรีฟเวอร์
แสตมป์
แสตมป์ฝรั่งเศส ที่ใช้ในจักรวรรดิออตโตมัน ช่วงปี พ.ศ. 2445-2463 แสตมป์ หรือ ตราไปรษณียากร (Postage stamp หรือ Stamp) เป็นหลักฐานการชำระค่าบริการไปรษณีย์ มักเป็นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมเพื่อติดบนซองจดหมาย แสตมป์ที่มีรูปร่างหรือทำจากวัสดุอื่นก็มีปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง แสตมป์มักพิมพ์ออกเป็นแผ่น ประกอบด้วยแสตมป์หลายดวง ปกติอยู่ระหว่าง 20 ถึง 120 ดวง มีการปรุรู รอบดวงแสตมป์เพื่อเพิ่มความสะดวกในการฉีก รอยฉีกที่ได้เรียกว่า ฟันแสตมป์ ด้านหลังแสตมป์มีกาวเคลือบอยู่ กระดาษที่ใช้พิมพ์มักมีสิ่งพิเศษไว้เพื่อป้องกันการปลอมแปลง เช่น ลายน้ำ (watermark) หรือ ด้ายสี หากติดแสตมป์เพื่อใช้งานบนซองแล้ว ต้องมีการประทับตราทุกครั้ง เพื่อป้องกันการนำกลับมาใช้อีก การสะสมแสตมป์เป็นงานอดิเรกอย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมาก.
แสตมป์ทั่วไป
แสตมป์ทั่วไปของสหรัฐอเมริกา มีภาพจอร์จ วอชิงตัน ออกใช้เมื่อปี พ.ศ. 2510 แสตมป์ทั่วไป (อังกฤษ definitive stamp) เป็นแสตมป์ที่วัตถุประสงค์ในการพิมพ์เพื่อใช้งาน แทนที่จะพิมพ์ขึ้นเพื่อการสะสมเหมือนแสตมป์ที่ระลึก ลักษณะของแสตมป์ทั่วไป มักมีหลายราคาครอบคลุมอัตราค่าไปรษณีย์ต่าง ๆ กัน มักทยอยพิมพ์และนำออกจำหน่ายต่อเนื่องกันหลายปี และมีการพิมพ์เพิ่มเติมเมื่อแสตมป์ที่มีอยู่ถูกใช้งานจนเหลือน้อย คำว่า definitive stamp เริ่มแพร่หลายช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพื่อใช้แยกความแตกต่างจากแสตมป์ที่ระลึก สำหรับประเทศไทยแสตมป์ทั่วไปส่วนใหญ่เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในสมัยนั้น เรียกว่า แสตมป์พระบรมฉายาลักษณ.
ดู สหราชอาณาจักรและแสตมป์ทั่วไป
แอลัน ทัวริง
แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้ นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้.
ดู สหราชอาณาจักรและแอลัน ทัวริง
แอนดรูว์ แจ็กสัน
แอนดรูว์ แจ็กสัน (Andrew Jackson – 15 มีนาคม พ.ศ. 2310 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2388) มีชื่อเล่นว่า “โอลด์ฮิกกอรี่ (Old Hickory) รัฐบุรุษอเมริกันและประธานาธิบดีคนที่ 7 แห่งสหรัฐอเมริกา (พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและแอนดรูว์ แจ็กสัน
แอนเดรีย คอรร์
แอนเดรีย คอรร์ (Andrea Corr) หรือในชื่อจริงว่า แอนเดรีย เจน คอรร์ (Andrea Jane Corr MBE) (17 พฤษภาคม ค.ศ. 1974) เป็นนักร้องนำของวง เดอะ คอรร์ส และนักแสดงชาวไอริช ซึ่งนอกจากร้องนำแล้ว ยังเล่น tin whistle ให้กับทางวงอีกด้วย ในปี 2005 แอนเดรีย และ เดอะ คอรร์ส ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (MBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เนื่องจากความสามารถทางดนตรี รวมถึงการทำงานการกุศลเพื่อหาเงินช่วยเหลือโรงพยาบาลฟรีแมนในนิวคาสเซิล เหยื่อจากเหตุการณ์ระเบิดในเมืองโอมากห์ ไอร์แลนด์เหนือ และงานการกุศลอื่น.
ดู สหราชอาณาจักรและแอนเดรีย คอรร์
แอ็บบา
แอ็บบา (ABBA) (หรือชื่อเป็นทางการ ᗅᗺᗷᗅ) เป็นวงดนตรีป็อปสัญชาติสวีเดน ก่อตั้งขึ้น ณ กรุงสตอกโฮล์มในปี..
แอเบอร์ดีน
แอเบอร์ดีน แอเบอร์ดีน (Aberdeen,; Aiberdeen; Obar Dheathain) เป็นเมืองที่ใหญ่อันดับสามของสกอตแลนด์ อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหราชอาณาจักร เมืองแอเบอร์ดีนนั้นถูกสร้างขึ้นด้วยหินแกรนิตซึ่งทำให้ตัวเมืองดูเป็นสีเทาเงินระยิบระยับเมื่อถูกแสงแดด โดยมีถนนที่มีชื่อเสียงคือ Aberdeen’s Granite Mile เป็นที่ต้งของร้านค้า ร้านอาหาร และบาร์กว่าแปดร้อยร้าน บรรยากาศในเมืองแอเบอร์ดีนนั้นมักจะถูกกล่าวขานว่ามีสีเทาทะมึนของหินแกรนิต แต่ทว่าจุดเด่นอย่างหนึ่งที่ทำให้เมืองนี้กลายเป็นอีกเมืองหนึ่งที่น่าอยู่คือ สวนสาธารณะที่สวยงามมีสีสันตัดกับตึกรามบ้านช่องอย่างลงตัว โดยเมืองแอเบอร์ดีนได้ชนะเลิศการประกวดสวนดอกไม้หลายครั้งติดต่อกันมาโดยตลอดเป็นระยะเวลานานมากกว่าสิบปี ยกตัวอย่างเช่นรางวัล Best City ใน งาน Royal Horticultural Society’s Britain in Bloom ของสมาคมพืชสวนสหราชอาณาจักร รางวัลชนะเลิศในงาน Bloom Competition ของสกอตแลนด์ และงาน International City in Bloom ทางด้านอุตสาหกรรม นับตั้งแต่ได้มีการขุดพบแหล่งน้ำมันในทะเลเหนือ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมืองแอเบอร์ดีนได้กลายเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมปิโตรเลียมของยุโรป หรือที่เรียกกันว่า "เมืองหลวงน้ำมันแห่งยุโรป" ด้วยเหตุนี้ทำให้อุตสาหกรรมที่ทำรายได้หลัก ๆ ของเมืองในสามสิบปีมานี้ คือธุรกิจที่เกี่ยวกับน้ำมัน นอกจากธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันแล้ว ธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมนี้เช่น ศูนย์อากาศยานเฮลิคอปเตอร์ของเมืองแอเบอร์ดีนนั้น เป็นศูนย์ที่มีเฮลิคอปเตอร์ขึ้นลงมากที่สุดในโลก เมืองแอเบอร์ดีนมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่สองแห่งคือ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนและมหาวิทยาลัยโรเบิร์ตกอร์ดอน ซึ่งมีชื่อเสียงทางด้านงานวิจัยการเกษตร ดิน และที่สำคัญที่สุดคือ อาหารและโภชนาการ โดยมีศูนย์วิจัยที่มีชื่อเสียงคือ สถาบันวิจัย Rowett Research Institute ซึ่งเป็นที่ที่ให้กำเนิดผลงานของนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลหลายคนด้วยกัน.
แฮร์รี่ พอตเตอร์
แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..
ดู สหราชอาณาจักรและแฮร์รี่ พอตเตอร์
แผ่นดินของเรา (เพลงพระราชนิพนธ์)
(Alexandra) เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 34 ทรงพระราชนิพนธ์โอกาสที่เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเคนท์ สหราชอาณาจักร เสด็จเยือนประเทศไทย ใน..
ดู สหราชอาณาจักรและแผ่นดินของเรา (เพลงพระราชนิพนธ์)
แทมมารีน ธนสุกาญจน์
ร.ต.ท.หญิง แทมมารีน ธนสุกาญจน์ (โรมัน: Tamarine Tanasugarn; ชื่อเล่น: แทมมี่; เกิด: 24 พฤษภาคม 2520 —) เป็นนักเทนนิสหญิงมือ 9 ของไทย และอันดับที่ 697 ของโลก อดีตนักเทนนิสมือ 1 ของไทย และเคยมีอันดับโลกสูงสุดอันดับ 19 เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและแทมมารีน ธนสุกาญจน์
แทรชเมทัล
แทรชเมทัล เป็นแนวเพลงย่อยของเฮฟวีเมทัล และเป็นหนึ่งในแนวเอ็กซ์ตรีมเมทัล มีลักษณะเด่นคือความเร็วและความก้าวร้าวในจังหวะของเพลง โดยเฉพาะการเน้นริฟฟ์กีตาร์อย่างรวดเร็ว ซึ่งจำเป็นต้องใช้ความสามารถในเทคนิคอย่างมาก นอกจากนี้ยังรวมถึงการกระเดื่องกลองดับเบิลเบสอย่างรวดเร็ว ต้นกำเนิดของแทรชเมทัลนั้น อยู่ในช่วงปลายทศวรรษที่ 70 และต้นทศวรรษที่ 80 เมื่อวงที่ได้รวมดนตรี นิวเวฟออฟบริติชเฮฟวีเมทัล ได้เกิดเป็นแนวใหม่และพัฒนา มีการเคลื่อนไหวที่แยกตัวไปจากพังค์ร็อก แนวเพลงนี้มีความก้าวร้าวกว่ามากเมื่อเทียบกับ สปีดเมทัล และแนวพวกนี้มักจะมีการผสมผสานข้ามแนวเพลงอย่างชัดเจนจากเมทัล ไปแนวอื่น และได้รับอิทธิพลจากเพลงแนวอื่นที่ไม่ใช่เมทัล เช่น คลาสสิก แจ๊ส ในช่วงกลางทศวรรษที่ 80 ถือเป็นยุคที่รุ่งเรืองของแทรชเมทัลอเมริกัน โดยเฉพาะของ 4 วงแกนหลัก ที่เรียกกันว่า "บิ๊กโฟว์" (Big 4) จากผลงานอัลบั้ม Master Of Puppets ของเมทัลลิก้า,Peace Sells...But Who's Buying? ของเมกาเดธ, Reign in Blood ของ สเลเยอร์ อัลบั้มเหล่านี้เข้าสู่กระแสหลักได้, Among The Living ของ แอนแทรกซ.
แท็บลอยด์
แท็บลอยด์ (tabloid) เป็นรูปแบบของหนังสือพิมพ์เป็นที่นิยมในสหราชอาณาจักร โดยทั่วไปแท็บลอยด์มีขนาดประมาณ 597×375 มิลลิเมตร (ประมาณ 23½×14 3/4 นิ้ว) ต่อหน้าที่กางออกมา แท็บลอยด์ยังคงใช้หมายถึงหนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์เรื่องทั่วไปที่เนื้อหาไม่ซีเรียส เช่น ข่าวดารา หรือ ข่าวกีฬา โดยหนังสือพิมพ์ขนาดแท็บลอยด์ในประเทศไทย เช่น สตาร์ซอคเก้อร์รายวัน บางกอกทูเดย์ ข่าวหุ้น เป็นต้น หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์.
แดเนียล เคร็ก
แดเนียล เคร็ก (Daniel Craig) มีชื่อเต็มว่า แดเนียล รอตัน เคร็ก (Daniel Wroughton Craig) เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ที่เมืองเชสเตอร์ เทศมณฑลเชชเชอร์ ประเทศอังกฤษ มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นเจมส์ บอนด์ คนที่ 6.
ดู สหราชอาณาจักรและแดเนียล เคร็ก
แคริบเบียน
แคริเบียน (The Caribbean) เป็นกลุ่มประเทศและหมู่เกาะต่างในเขตทะเลแคริเบียนซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเม็กซิโก ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวเนซูเอลา มีรัฐอยู่ราวๆ 25 รัฐซึ่งรวมรัฐอิสระและรัฐภายใต้ความคุ้มครอง (dependencies).
แคว้นอันดาลูซิอา
อันดาลูซิอา (Andalucía) เป็นแคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปน โดยเป็นแคว้นที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในจำนวนแคว้นปกครองตนเอง 17 แห่งที่ประกอบขึ้นเป็นประเทศสเปน เมืองหลักของแคว้นคือเซบิยา แคว้นอันดาลูซิอาแบ่งออกเป็น 7 จังหวัด คือ จังหวัดอูเอลบา จังหวัดเซบิยา จังหวัดกาดิซ จังหวัดกอร์โดบา จังหวัดมาลากา จังหวัดฆาเอน จังหวัดกรานาดา และจังหวัดอัลเมริอา อันดาลูเซียมีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับแคว้นเอซเตรมาดูราและแคว้นกัสติยา-ลา มันชา ทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นมูร์เซียและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศโปรตุเกสและมหาสมุทรแอตแลนติก (ตะวันตก-ใต้) และทางทิศใต้ติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (ใต้-ตะวันออก) และมหาสมุทรแอตแลนติก (ใต้-ตะวันตก) ทั้งสองน่านน้ำเชื่อมต่อกันโดยช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตอนใต้สุดซึ่งแยกประเทศสเปนออกจากประเทศโมร็อกโกในทวีปแอฟริกา ยิบรอลตาร์ ดินแดนของสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้มีพรมแดนร่วมกับจังหวัดกาดิซ.
ดู สหราชอาณาจักรและแคว้นอันดาลูซิอา
แคะ
แคะ หรือ ฮากกา (客家 คำว่า แคะ ในภาษาไทยถูกเรียกตามภาษาแต้จิ๋วว่า แขะแก ในภาษาจีนกลางเรียกว่า เค่อเจีย มีความหมายว่า ครอบครัวผู้มาเยือน ส่วนในภาษาจีนแคะเอง เรียกว่า ขักก๊า หรือ ฮากกา) คือ ชนกลุ่มจีนฮั่นกลุ่มหนึ่ง ซึ่งกล่าวกันว่ามีบรรพบุรุษที่มีต้นกำเนิดบริเวณมณฑลเหอหนานและซานซี ทางตอนเหนือของจีนเมื่อราว 2,700 ปีที่แล้ว บรรพบุรุษของชาวจีนแคะอพยพลงใต้ เนื่องจากความไม่สงบทางสังคม การลุกฮือ และการรุกรานจากผู้ยึดครองต่างชาติตั้งแต่ยุคราชวงศ์จิ้น (ค.ศ.
แคทรียา อิงลิช
แคทรียา อิงลิช (Katreeya English, 4 กันยายน พ.ศ. 2519 —) เป็นนักแสดง นางแบบ พิธีกร และนักร้องแนวป็อปชาวไทย มีชื่อเสียงจากผลงานเพลง นอกสายตา โอเคนะคะ และเพลง I Think I (ฉบับภาษาไทย).
ดู สหราชอาณาจักรและแคทรียา อิงลิช
ใจ อึ๊งภากรณ์
ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ รองศาสตราจารย์ ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ (Giles Ji Ungpakorn; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2496 —) เป็นนักเคลื่อนไหวทางวิชาการและการเมืองสัญชาติไทย-อังกฤษ เดิมเคยเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหราชอาณาจักร เพื่อหลบหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชาน.
ดู สหราชอาณาจักรและใจ อึ๊งภากรณ์
โบโกตา
กตา (Bogotá) ชื่อทางการคือ โบโกตาดิสตรีโตกาปีตัล (Bogotá Distrito Capital) (หมายถึง "เขตเมืองหลวงโบโกตา") และยังมีชื่อเรียกว่า ซานตาเฟเดโบโกตา (Santa Fe de Bogotá) เป็นเมืองหลวงของประเทศโคลอมเบีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดของประเทศ คือ 7,321,831 คน (จากการสำรวจปี พ.ศ.
โพรโตพังก์
รโตพังก์ เป็นคำที่ถูกใช้อธิบายถึงแนวเพลงที่มาก่อนพังก์ร็อก และที่มีอิทธิพลต่อวงพังค์ร็อก โดยทั่วไปวงโพรโตพังก์ไม่ถูกเรียกว่าพังก์ วงโปรโตพังก์ คือวงร็อกแอนด์โรลในช่วงทศวรรษที่ 60 ถึงต้นทศวรรษที่ 70 ถึงแม้วงแรก ๆ จะถูกอ้างถึงการาจร็อกบ้าง แต่ต่อมาก็ถูกอ้างว่าได้เป็นอิทธิพลและพัฒนาของพังค์ร็อก วงการาจร็อกหลายวงมีส่วนหนึ่งเป็นวงจากสหราชอาณาจักร ซึ่งบางครั้งก็ถูกเรียกรวมกับแนวแกลมร็อกและยูเค ผับ ร็อก.
โพสต์พังก์
ต์พังก์ (post-punk) เป็นแนวพังก์ร็อกที่เกิดขึ้นปลายทศวรรษที่ 70 เกิดขึ้นหลังพังค์ร็อกได้รับความนิยมในทศวรรษที่ 70 มีการหยิบซาวนด์มาทดลองมากกว่า อย่างเช่น ซาวนด์ของอิเล็กทรอนิกส์ เร้กเก้ แอฟริกันบีต แจ๊ส โฟล์ค เข้าไปใช้ โพสต์พังก์ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณปี 1977-1984 อย่าง ทอล์คกิ้ง เฮด เป็นต้น วงโพสต์พังก์รุ่นใหม่ เช่น เดอะ ฟิวเจอร์เฮดส์, ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์, เดอะ สโตรคส์ เป็นต้น.
โรบอตบอย
รบอตบอย (Robotboy) เป็นการ์ตูนจากประเทศฝรั่งเศสที่ร่วมจัดทำโดยการ์ตูนเน็ตเวิร์กและ โปรดักชันของฝรั่งเศส ALPHANIM ในประเทศไทยฉายผ่านทางช่องการ์ตูนเน็ทเวิร์ค ทรูวิชั่นส์ช่อง 32 เวลา 16:00-16:30 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ (ปัจจุบันเลิกฉายไปแล้ว).
โรม
ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ.
โรงละครครูซิเบิล
รงละครครูซิเบิลและโรงละครลิเซียมซึ่งอยู่ติดกัน โรงละครครูซิเบิล (Crucible Theatre) เป็นชื่อโรงละครแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเชฟฟิลด์ สหราชอาณาจักร อยู่ภายใต้การดูแลของกลุ่มโรงละครเชฟฟิลด์ (Sheffield Theatres Group) โรงละครครูซิเบิลนี้ก่อสร้างและเปิดใช้ครั้งแรกใน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและโรงละครครูซิเบิล
โรงแรม
รงแรม ห้องพักภายในโรงแรม The Oriental Bangkok โรงแรม หมายถึง สถานที่ประกอบการเชิงการค้าที่นักธุรกิจตั้งขึ้น เพื่อบริการผู้เดินทางในเรื่องของที่พักอาศัย อาหาร และบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพักอาศัยและเดินทาง หรืออาคารที่มีห้องนอนหลายห้อง ติดต่อเรียงรายกันในอาคารหนึ่งหลังหรือหลายหลัง ซึ่งมีบริการต่าง ๆ เพื่อความสะดวกของผู้ที่มาพัก ซึ่งเรียกว่า "แขก" (guest) คำว่า hotel หรือ โรงแรมมีที่มาจากภาษาฝรั่งเศสซึ่งแปลว่า คฤหาสน์ โรงแรมแห่งแรกในยุโรปคือ Hotel de Hanri IV (โฮเทล เดอ อองรี กัต) เมื่อปี..
โรเจอร์ มัวร์
รเจอร์ มัวร์ ในบท เจมส์ บอนด์ ในภาพยนตร์บอนด์เรื่อง Mianly Millicent ออกฉายในค.ศ. 1964 โรเจอร์ มัวร์ กับ โทนี่ เคอร์ติส ในซีรีส์ The Persuaders! ในค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและโรเจอร์ มัวร์
โรเจอร์ เฟเดอเรอร์
* โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ (Roger Federer) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1981 เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสวิส เขาเคยขึ้นครองอันดับที่ 1 ของโลกมาตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์
โลกวิไลซ์
ลกวิไลซ์ (Brave New World) เป็นนวนิยายแนวดิสโทเปีย ที่เขียนโดย อัลดัส ฮักซเลย์ ในปี พ.ศ. 2475 เนื้อเรื่องกล่าวถึงการใช้เทคโนโลยีการสืบพันธุ์, สุพันธุศาสตร์, และการควบคุมจิตใจเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม นิยายเรื่องนี้เป็นนิยายที่โด่งดังและเป็นที่จดจำได้มากที่สุดของฮักซเลย์ ฉบับพิมพ์ใหม่เป็นภาษาไทยใช้ชื่อว่า โลกที่เราเชื่อ ชื่อเรื่อง Brave New World มาจากคำพูดของมิแรนดา หนึ่งในตัวละครเอกในบทละครเรื่อง "พายุพิโรธ" (The Tempest) โดยวิลเลียม เชกสเปียร์ "O brave new world, That has such people in it!".
โลกาภิวัตน์
ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและโลกาภิวัตน์
โลตัส
ลตัส (Lotus) อาจหมายถึง.
โอลิมปิกฤดูร้อน
กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.
ดู สหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน
โอลิมปิกฤดูร้อน 1908
มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 4 ประจำปี..
ดู สหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1908
โอลิมปิกฤดูร้อน 1948
มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 11 ประจำปี..
ดู สหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1948
โอลิมปิกฤดูร้อน 2000
มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 24 ประจำปี..
ดู สหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 2000
โอลิมปิกฤดูร้อน 2012
การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 ประจำปี..
ดู สหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
โอลิมปิกฤดูร้อน 2016
กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 (Jogos Olímpicos de Verão de 2016) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 28 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ รีโอ 2016 เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติที่สำคัญในประเพณีโอลิมปิก ซึ่งจัดในที่นครรีโอเดจาเนโร สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5 ถึง 21 สิงหาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
โอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน)
อลึมเพียชตาดิโยน (Olympiastadion แปลว่า สนามกีฬาโอลิมปิก) เป็นสนามกีฬาในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ออกแบบโดยอ็อทโท มาร์ช (Otto March) และลูกชายแวร์เนอร์ มาร์ช (Werner March) สถาปนิกชาวเยอรมัน สนามกีฬาก่อสร้างในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและโอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน)
โฮม (อัลบั้มเดอะคอรร์ส)
ม (Home) เป็นอัลบั้มลำดับที่ 5 ของ เดอะคอรร์ส ศิลปินกลุ่มจากประเทศไอร์แลนด์ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2548 ในยุโรป ภายในอัลบั้มประกอบไปด้วยเพลงเก่าๆ และเพลงพื้นบ้านของไอร์แลนด์ ที่ เดอะคอรร์ส นำกลับมาเรียงเรียงดนตรีและขับร้องใหม่ เพลงส่วนใหญ่ในอัลบั้ม จะคัดมาจากหนังสือเพลงที่ จีน คอรร์ แม่ผู้ล่วงลับของ 4 พี่น้อง เดอะคอรร์ส ได้จดรวบรวมเอาไว้ ในบรรดานั้น มี 2 เพลงเป็นภาษาแกลิก คือ "Buachaill Ón Éirne" กับ "Bríd Óg Ní Mháille" และอีก 3 เพลงที่ไม่ได้หยิบยกมาจากหนังสือเพลงของแม่ ได้แก่ "Heart Like A Wheel" เพลงเก่าของ Kate and Anna McGarrigle "Old Town" เพลงเก่าของฟิล ไลนอตต์ ที่เดอะ คอรร์ส เคยนำไปแสดงในรายการ MTV Unplugged (1999) มาก่อน และอีกเพลงคือ "Dimming Of The Day" เพลงเก่าของริชาร์ด ธอมป์สัน, ARTISTdirect, 7 ก..
ดู สหราชอาณาจักรและโฮม (อัลบั้มเดอะคอรร์ส)
โฮม (เพลงไมเคิล บูเบล)
"โฮม" เป็นซิงเกิลจากไมเคิล บลูเบล ซึ่งในภายหลังได้นำมาร้องใหม่ในหลายฉบับ อาทิ ฉบับของเวสท์ไลฟ์, ฉบับของ Leon Jackson.
ดู สหราชอาณาจักรและโฮม (เพลงไมเคิล บูเบล)
โจนาธาน ไอฟ์
ซอร์ โจนาธาน พอล "โจนี" ไอฟ์ (Sir Jonathan Ive) หรือ โจนี ไอฟ์ (Jony Ive) (เกิดเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1967 ที่ลอนดอน) ปัจจุบันเป็นรองประธานอาวุโสฝ่ายการออกแบบของบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ และเป็นผู้ออกแบบ iMac ซึ่งช่วยกอบกู้วิกฤตการณ์ของแอปเปิล ทีมงานของไอฟ์ออกแบบ iMac ทุกรุ่น, Power Mac เริ่มที่รุ่น G3 ขาวฟ้า, Power Mac G4 Cube, PowerBook นับจากรุ่นไททาเนียม และไอพ็อด ด้านชีวิตส่วนตัว ไอฟ์สมรสแล้ว มีบุตร 2 คน เขาไม่ค่อยเปิดเผยตัวต่อสาธารณชนมากนัก และมักยกผลงานการออกแบบให้เป็นของทีมงาน.
ดู สหราชอาณาจักรและโจนาธาน ไอฟ์
โจเซฟ แพกซ์ตัน
ซอร์โจเซฟ แพกซ์ตัน เซอร์โจเซฟ แพกซ์ตัน (Sir Joseph Paxton; 3 สิงหาคม พ.ศ. 2346 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2408) นักจัดภูมิทัศน์และสถาปนิกชาวอังกฤษ เกิดใกล้เมืองวอเบิร์น เบดฟอร์ดไชร์ สหราชอาณาจักร เป็นบุตรของชาวน.
ดู สหราชอาณาจักรและโจเซฟ แพกซ์ตัน
โทนี แบลร์
แอนโธนี ชาลส์ ลินตัน "โทนี" แบลร์ (Anthony Charles Lynton "Tony" Blair) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคแรงงาน แบลร์สืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพรรคแรงงานหลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าพรรคคนก่อนคือ นายจอห์น สมิท (John Smith) ใน พ.ศ.
โครงการจีโนมมนุษย์
รงการจีโนมมนุษย์ (The Human Genome Project; ตัวย่อ: HGP) เป็นอภิมหาโครงการทางเทคโนโลยีชีวภาพ ที่ได้ศึกษาจัดทำแผนที่ของจีโนมของมนุษย์ ซึ่งมีความละเอียดระดับนิวคลีโอไทด์ หรือ คู่เบส เพื่อที่จะวิเคราะตำแหน่งของหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีนของมนุษ.
ดู สหราชอาณาจักรและโครงการจีโนมมนุษย์
โครงการแมนฮัตตัน
กรุงลอนดอน โครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project หรือชื่อที่เป็นทางการ Manhattan Engineering District) เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับความช่วยเหลือจากสหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา การวิจัยนำโดยนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เจ.
ดู สหราชอาณาจักรและโครงการแมนฮัตตัน
โคลด์เพลย์
ลด์เพลย์ เป็นวงดนตรีร็อกจากลอนดอน, สหราชอาณาจักร ก่อตั้งวงในปี พ.ศ. 2541 มีเพลงดังอย่าง "Yellow", "Clocks", "Speed Of Sound", "In My Place" และ "Viva La Vida" เป็นต้น และเป็นวงดนตรีที่กวาดรางวัลหลายรางวัลมามากมายตลอดเส้นทางอาชีพของพวกเขา โคลด์เพยล์สามารถคว้ารางวัลแกรมมีได้ถึงเจ็ดรางวัลจากการถูกเสนอชื่อเข้าชิง 25 ครั้ง และยังคว้ารางวัลบริตอะวอดส์ได้อีก 8 รางวัล และโคลด์เพลย์มียอดขายถึง 80 ล้านแผ่นทั่วโลก.
โคสท์ทูโคสท์
ท์ทูโคสท์ (Coast to Coast) คือผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 ของเวสท์ไลฟ์ จัดจำหน่ายเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 เพลงที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายของอัลบั้มนี้ได้แก่ My Love, Against All Odds และ I Have A Dream โดยอัลบั้มชุดนี้ได้ก้าวขึ้นสู่อันดับที่ 1 ในสหราชอาณาจักรและ อันดับที่ 40 ในออสเตรเลี.
ดู สหราชอาณาจักรและโคสท์ทูโคสท์
โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์
ซฟี เคานท์เตสแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม โซฟี เฮเลน สกุลเดิม ไรส์-โจนส์ (The Countess of Wessex; ประสูติ 20 มกราคม พ.ศ. 2508) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระชายาในเจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ พระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระองค์ทรงปฏิบัติงานเป็นประชาสัมพันธ์จนกระทั่งปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์
โซมาลีแลนด์
ซมาลีแลนด์ (Jamhuuriyadda Soomaaliland; أرض الصومال, Arḍ aṣ-Ṣūmāl; Somaliland) เป็นดินแดนตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโซมาเลียและติดกับประเทศจิบูตีและประเทศเอธิโอเปียในจะงอยแอฟริกา ประกาศเอกราชจากโซมาเลียตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและโซมาลีแลนด์
โซนี่โมบายล์
ซนี่ โมบายล์ คอมมูนิเคชัน เอบี (ภาษาอังกฤษ:Sony Mobile Communications AB) หรือชื่อเดิมคือ โซนี่ อิริคสัน โมบายล์ คอมมูนิเคชัน เอบี (ภาษาอังกฤษ:Sony Ericsson Mobile Communications AB) เกิดจากการซื้อกิจการบริษัทอิริคสันของบริษัทโซนี่ ทำให้โซนี่ อิริคสันถูกเปลี่ยนชื่อเป็นโซนี่ โมบายล.
ดู สหราชอาณาจักรและโซนี่โมบายล์
โปเกมอน
ปเกมอน หรือในชื่อเต็มว่า พ็อกเก็ต มอนสเตอส์ เป็นสื่อแฟรนไชส์ที่จัดพิมพ์และเป็นของนินเทนโดบริษัทวิดีโอเกมสัญชาติญี่ปุ่นและสร้างโดยซะโตะชิ ทะจิริ เมื่อปี..
ไฟนอลแฟนตาซี IX
ฟนอลแฟนตาซี IX เป็นเกมแนว RPG (Role-playing game) ที่สร้างโดยบริษัทสแควร์จำกัด ในปี พ.ศ. 2543 จัดจำหน่ายใน ญี่ปุ่น โดย สแควร์ และใน ทวีปอเมริกาเหนือ โดย Square Electronic Arts ใน ทวีปยุโรป โดย Infogrames ใน สหราชอาณาจักร และ ออสเตรเลีย โดย Square Europe เกม ไฟนอลแฟนตาซี IX นี้เป็น ไฟนอลแฟนตาซี ภาคสุดท้ายที่เล่นบนเครื่องเกม เพลย์สเตชัน และยังถือเป็นการกลับมาของตัวละคร เช่น วีวี่ มอนสเตอร์ และเนื้อเรื่องของ ไฟนอลแฟนตาซี ยุคคลาสสิกอีกด้วย ถือเป็นการปลุกความทรงจำที่แฟนไฟนอลดียังจำกันได้ขึ้นมาอีกครั้ง.
ดู สหราชอาณาจักรและไฟนอลแฟนตาซี IX
ไฟนอลแฟนตาซี VII: แอดเวนต์ชิลเดรน
หน้าปกดีวีดีของภาพยนตร์แอดเวนต์ชิลเดรน ไฟนอลแฟนตาซี VII แอดเวนต์ชิลเดรน (ญี่ปุ่น: ファイナルファンタジー アドベントチルドレン; อังกฤษ: Final Fantasy VII: Advent Children, FF7AC) เป็นภาพยนตร์ แอนิเมชัน CGI ที่สร้างจากเกม ไฟนอลแฟนตาซี VII ของ เพลย์สเตชัน ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดเกมหนึ่ง ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้ เสนอเรื่องราวของ 2 ปีต่อมาหลังจากตอนจบเกม ภาพยนตร์จะวางแผงในรูปแบบของแผ่น ดีวีดี และ UMD ซึ่งใช้ดูกับเครื่องเกมเคลื่อนที่ PSP ปัจจุบัน ได้วางแผงใน ญี่ปุ่น ไปแล้ว และประสบความสำเร็จอย่างสูง และมีแผนจะวางแผงใน ทวีปอเมริกาเหนือ และ สหราชอาณาจักร สำหรับการวางแผงใน ญี่ปุ่น ได้มีการเลื่อนมาหลายครั้ง สร้างความผิดหวังให้กับแฟนๆ ผู้เฝ้ารออย่างมาก แต่เมื่อวางแผงจริง รูปแบบ Ultimate Edition "Advent Pieces: Limited" ที่ในชุดได้รวมภาพยนตร์แอนิเมชันโอวีเอ Last Order: Final Fantasy VII ที่ทำออกมาจำกัด ก็ได้หมดลงอย่างรวดเร็ว และเป็นที่สุดยอดปรารถนาจนมีการขายต่อกันด้วยราคาสูงกว่าราคาจริงมาก นอกจากนี้ ไฟนอลแฟนตาซี VII แอดเวนต์ชิลเดรน ยังได้ฉายในเทศกาลภาพยนตร์ Festival Internacional de Cinema de Cataluña ที่ประเทศสเปน และได้รับรางวัล Honorary Maria Award เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและไฟนอลแฟนตาซี VII: แอดเวนต์ชิลเดรน
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม
ูลย์ วัฒนศิริธรรม (24 มีนาคม พ.ศ. 2484 — 9 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ใน รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน.
ดู สหราชอาณาจักรและไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม
ไพรม์ไทม์
รม์ไทม์ (prime time) สำหรับวงการโทรทัศน์ หมายถึงช่วงเวลาที่มีผู้ชมมากที่สุด ช่วงเวลานี้จะเป็นช่วงเวลาที่สถานีโทรทัศน์ทำรายได้จากค่าโฆษณามากที่สุด ความหมายของไพรม์ไทม์นั้นอาจแตกต่างออกไปตามภูมิภาค รวมถึงช่วงเวลาก็อาจแตกต่างกันด้วย สำหรับเวลาไพรม์ไทม์ในประเทศไทย เป็นเวลาช่วง 19.00 - 22.30 น.
ไพรัช ธัชยพงษ์
ตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ศาสตราจารย์ ไพรัช ธัชยพงษ์ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 —) เป็นนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย ผู้บุกเบิกการจัดตั้งสถาบันวิจัยระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับผู้บุกเบิกท่านอื่นๆ และทำให้ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีแบบแผนเป็นระบบ ปัจจุบันยังเป็นกรรมการอิสระในธนาคารกสิกรไทยอีกด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและไพรัช ธัชยพงษ์
ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบสัดส่วน.
ดู สหราชอาณาจักรและไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
ไมโครนีเซีย (ภูมิภาค)
แผนที่แสดงที่ตั้งไมโครนีเซีย ไมโครนีเซีย (Micronesia) เป็นชื่อกลุ่มเกาะที่อยู่ทางตอนเหนือของทวีปโอเชียเนีย ส่วนใหญ่ในอดีตมักตกเป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาในฐานะดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติแทบทั้งสิ้น ซึ่งเมื่อก่อนนี้ตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศเยอรมนี ซึ่งต่อมาประเทศญี่ปุ่นได้ไปยึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1และถูกยึดไปในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ยกเว้นสาธารณรัฐคิริบาสเท่านั้นที่เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร ที่สำคัญคือภูมิภาคนี้ยังเป็นสมรภูมิการรบภาคพื้นแปซิฟิกระหว่างประเทศญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาด้วย ทั้งที่ประเทศคิริบาส เกาะเวก เกาะนิวกินี และที่อื่น ๆ ด้วย สำหรับภูมิภาคไมโครนีเซียประกอบด้วย 5 ประเทศและ 2 ดินแดน คือ.
ดู สหราชอาณาจักรและไมโครนีเซีย (ภูมิภาค)
ไมเคิล แจ็กสัน
มเคิล โจเซฟ แจ็กสัน เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแต่งเพลง นักออกแบบท่าเต้น นักแสดง โปรดิวเซอร์เพลงและนักการกุศล ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชาเพลงป็อป" (The King of Pop)อิทธิพลทางดนตรี การเต้นรำ แฟชั่นและผลงานด้านมนุษยธรรม กับชีวิตส่วนตัวที่ถูกเผยแพร่ควบคู่ไปกับความสำเร็จ ทำให้เขาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากว่า 4 ทศวรรษ เขาเป็นลูกคนที่ 8 ของครอบครัวแจ็กสัน ปรากฏตัวครั้งแรกในระดับอาชีพด้านดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกวงเดอะแจ็กสันไฟฟ์ในปี 1964 เขาเริ่มมีผลงานเดี่ยวในปี 1971 ขณะที่ยังคงเป็นสมาชิกของวงอยู่ ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เขากลายเป็นส่วนสำคัญในวัฒนธรรมเพลงป็อป และถือเป็นศิลปินชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่มีผลงานออกอากาศผ่านทางช่องเอ็มทีวี มิวสิกวิดีโอของเขา ประกอบด้วยเพลง "Beat It", "Billie Jean" และ "Thriller" ได้รับการยกย่องสำหรับการทำลายอุปสรรคทางเชื้อชาติ และเปลี่ยนแปลงรูปแบบมิวสิกวิดีโอจากอุปกรณ์การประชาสัมพันธ์ไปเป็นรูปแบบของงานศิลปะ ความนิยมของมิวสิกวิดีโอเหล่านี้ได้ช่วยให้ช่องเอ็มทีวีที่เพิ่งเปิดใหม่นี้มีชื่อเสียง อัลบั้ม Bad ของเขาในปี 1987 นับเป็นอัลบั้มเพลงแรกในประวัติศาสตร์ที่มีเพลงอันดับ 1 ถึง 5 เพลงบนบิลบอร์ดฮ็อต 100 จากอัลบั้มเดียว มิวสิกวิดีโอในรูปแบบใหม่อย่างเพลง "Black or White" และ "Scream" ก็ยังออกอากาศบ่อยทางช่องเอ็มทีวี เขายังสร้างสรรค์สิ่งใหม่ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990 ด้วยชื่อเสียงที่เลื่องลือในฐานะศิลปินเดี่ยวกับลีลาบนเวทีและการแสดง แจ็กสันสร้างความโด่งดังให้กับเทคนิคการเต้นที่ซับซ้อนโดยใช้ร่างกายมากมายหลายๆท่า ซึ่งก่อให้เกิดการแพร่หลายอย่างมาก อย่างเช่นท่าเต้นหุ่นยนต์และท่าเต้นมูนวอล์ก เอกลักษณ์ทางด้านดนตรีและเสียงร้องอันโดดเด่นของเขายังมีอิทธิพลต่อศิลปินหลายแนวเพลง อิทธิพลของเขาได้แพร่กระจายไปสู่คนหลายรุ่นทั่วโลก Thriller ถือเป็นอัลบั้มเพลงที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลสี่อัลบั้มเดี่ยวที่เหลือของเขา ก็ยังติดอันดับอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในโลก ประกอบด้วยชุด Off the Wall (1979), Bad (1987), Dangerous (1991) และ HIStory (1995) แจ็กสันเดินทางไปทั่วโลกเพื่อร่วมกิจกรรมด้านมนุษยธรรม เขาหาเงินนับร้อยล้านดอลลาร์เพื่อมูลนิธิการกุศลของเขา มีซิงเกิลและผลกำไรจากทัวร์คอนเสิร์ตที่เขาสนับสนุนให้กับองค์กร 39 แห่ง บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่าเขาเป็นบุคคลบันเทิงที่มีส่วนร่วมในการกุศลมากยิ่งกว่าดาราหรือศิลปินคนใดๆ ชีวิตส่วนตัวของเขามักปรากฏตัวโดยการปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและพฤติกรรมให้คนอื่นจำไม่ได้ แต่นี่ก็เป็นสิ่งที่ทำลายภาพลักษณ์ที่ดีของเขาด้วยเช่นกัน เขายังถูกข้อกล่าวหาลวนลามทางเพศเด็กในปี 1993 แต่ก็ปิดลงโดยเขาไม่มีความผิดเนื่องจากมีหลักฐานไม่เพียงพอ แจ็กสันมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 และยังมีข้อมูลรายงานขัดแย้งในเรื่องฐานะการเงินของเขาตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 แจ็กสันแต่งงานมาแล้วสองครั้ง มีลูกสามคน ต่อมาในปี 2005 เขามีข้อพิพาทอีกครั้งเรื่องล่วงละเมิดทางเพศและอีกหลายคดี แต่เขาก็ไม่มีความผิด (ซึ่งในภายหลังคู่กรณีหลายรายได้ออกมายอมรับว่า แจ็กสัน ไม่ได้กระทำ และที่กล่าวหา เพราะเป็นเด็ก และถูกผู้ปกครองบังคับ โดยหวังที่จะได้รับเงินค่าเสียหาย) เขาเป็นหนึ่งในไม่กี่ศิลปินที่มีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟมถึงสองครั้ง ผลงานของเขาประสบความสำเร็จได้รับบันทึกสถิติหลายครั้ง กินเนสส์บุ้คเวิลด์เรคคอร์ดจารึกชื่อเขาเป็น "ศิลปินบันเทิงที่ประสบความสำเร็จที่สุดตลอดกาล" เขาเป็นนักร้องคนเดียวจากโลกดนตรีป็อปและร็อกแอนด์โรลที่มีชื่ออยู่ในหอเกียรติยศแดนซ์ฮอลออฟเฟม และยังเป็นศิลปินเพียงคนเดียวที่มีเพลงฮิตติดท็อป 10 บนบิลบอร์ดฮ็อต 100 ทุก 10 ปี ติดต่อกันนานกว่าครึ่งศตวรรษ แจ็กสันชนะรางวัลจากเวทีต่างๆ นับร้อยกว่ารางวัล ทำให้เขาเป็นศิลปินที่คว้ารางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์เพลงป็อปความสำเร็จอื่นๆ ของเขาได้แก่ สถิติในกินเนสบุ้คเวิลด์เรคคอร์ดหลายครั้ง 13 รางวัลแกรมมี่ รางวัลพิเศษ Grammy Legend Award, Grammy Lifetime Achievement Award 26 อเมริกันมิวสิกอวอร์ดส มากกว่าศิลปินคนใดๆ รวมไปถึงรางวัลพิเศษ "ศิลปินแห่งศตวรรษ" และ "ศิลปินแห่งทศวรรษ" 13 ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในฐานะนักร้องเดี่ยว มากกว่าที่ศิลปินชายคนใดจะทำได้ และมียอดขายรวมกว่า 400 ล้านชุดทั่วโลก ไมเคิล แจ็กสัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..
ดู สหราชอาณาจักรและไมเคิล แจ็กสัน
ไลฟ์อินเมมฟิส
ลฟ์อินเมมฟิส (Live In Memphis) คือวิดีโอ/วีซีดีที่ 4 ของเซลีน ดิออน บันทึกภาพเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2540 ระหว่างทัวร์คอนเสิร์ต Falling into You ซึ่งจัดที่ เมมฟิส รัฐเทนเนสซี ซึ่งส่วนมากนำเพลงมาจากอัลบั้มฟอลลิงอินทูยู เซลีน ดิออนระหว่างคอนเสิร์ต "ไลฟ์อินเมมฟิส" นำโดย "เดอะพาวเวอร์ออฟเดอะดรีม" เพลงประจำพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อนปี..
ดู สหราชอาณาจักรและไลฟ์อินเมมฟิส
ไอร์แลนด์เหนือ
อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.
ดู สหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เหนือ
ไอล์ออฟบิวตี ไอล์ออฟสเปลนเดอร์
อล์ออฟบิวตี ไอล์ออฟสเปลนเดอร์ (เป็นเพลงชาติเครือรัฐดอมินีกา ประพันธ์คำร้องโดยวิลเฟรด ออสการ์ มอร์กัน พอนด์ (Wilfred Oscar Morgan Pond) ทำนองโดยเลมิวเอล มักเฟอร์สัน คริสเตียน (Lemuel McPherson Christian) ได้เริ่มใช้ในฐานะเพลงประจำรัฐเมื่อ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและไอล์ออฟบิวตี ไอล์ออฟสเปลนเดอร์
ไอล์ออฟแมน
อล์ออฟแมน (Isle of Man,; Ellan Vannin) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเขตทะเลไอริช (Irish Sea) ในบริเวณศูนย์กลางของหมู่เกาะบริเตน (British Isles) ประมุขแห่งรัฐคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะเจ้าครองนครแห่งแมนน์ (ลอร์ดออฟแมนน์ - Lord of Mann) โดยมีข้าหลวงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ไอล์ออฟแมนนี้ไม่ได้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ แต่กิจการด้านการต่างประเทศ การป้องกันดินแดน และการบริหารระบบธรรมาภิบาลระดับสูงสุด (ultimate good-governance) ของไอล์ออฟแมนอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลสหราชอาณาจักร.
ไอโฟน
อโฟน (iPhone) เป็นโทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตและมัลติมีเดีย ผลิตและจำหน่ายโดยบริษัทแอปเปิล โดยการทำงานของไอโฟนสามารถใช้งานส่งอีเมล ใช้เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่งเอสเอ็มเอส ท่องอินเทอร์เน็ตผ่านทางซอฟต์แวร์ซาฟารี ค้นหาแผนที่ ฟังเพลง และความสามารถอื่น โดยมีอุปกรณ์หลักประกอบด้วย Wi-Fi (802.11b/g) บลูทูธ 2.0 และกล้องถ่ายภาพ 2.0-megapixel ไอโฟนรุ่นแรกมีลักษณะ 2.5G quad band GSM และ EDGE และรุ่นที่สองใช้ UMTS และ HSDPA แอปเปิลได้เปิดเผยไอโฟนรุ่นแรกโดย สตีฟ จอบส์ ในงานแม็คเวิลด์ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.
ไฮสกูล
นักเรียนไฮสคูลอเมริกันในห้องเรียน ไฮสกูล (high school) เป็นชื่อเรียกระบบการศึกษาภาคบังคับส่วนสุดท้าย มีลักษณะเหมือนกับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย โดยจะแตกต่างกันในระยะเวลาในการเรียนตั้งแต่ 3-5 ปี ในประเทศต่างๆที่ใช้ระบบไฮสกูล รวมถึง ออสเตรเลีย บราซิล แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ใน อังกฤษ สิงคโปร์ และ ฮ่องกง เรียกว่า "เซเกินแดรีสกูล" (secondary school).
ไฮโดรโคโดน
รโคโดน (Hydrocodone หรือ dihydrocodeinone มีชื่อทางการค้าว่า Vicodin Anexsia Dicodid Hycodan Hycomine Lorcet Lortab Norco Tussionex Vicoprofen) เป็นสารประกอบในกลุ่มโอปิออยด์ ได้จากธรรมชาติโดยการสกัดจากโอปิแอต โคดีอีน หรือทีบาอีน ไฮโดรโคโดนเป็นยาชนิดรับประทานที่มีฤทธิ์เสพติด บรรเทาปวด และแก้ไอ ปริมาณยาที่ใช้ในการรักษา 5-10 มก.
ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์
ทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไทมส์ไฮเออร์ (Times Higher Education) เป็นหนังสือพิมพ์จากลอนดอน ที่มีการรายงานอันดับสถาบันอุดมศึกษาทุกปี บรรณาธิการคือจอห์น โอ'เลรี.
ดู สหราชอาณาจักรและไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์
ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก
ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก
ไทยเชื้อสายจีน
วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.
ดู สหราชอาณาจักรและไทยเชื้อสายจีน
ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ดู สหราชอาณาจักรและไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ
ไดไฮโดรโคดีอีน
รโคดีอีน (Dihydrocodeine; ชื่อย่อ: DHC หรือ DF-118) เป็นยาบรรเทาปวดสังเคราะห์กลุ่มโอปิออยด์ ใช้แก้ปวดหลังการผ่าตัด อาการหายใจลำบาก หรือเป็นยาแก้ไอ ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้นปี..
ดู สหราชอาณาจักรและไดไฮโดรโคดีอีน
เบชวานาแลนด์
แผนที่ประเทศบอตสวานาซึ่งเมื่อก่อนเรียกว่าเบชวานาแลนด์ เบชวานาแลนด์ (Bechuanaland) เป็นรัฐในอารักขาของสหราชอาณาจักรในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเบชวานาแลนด์
เบลแอนด์เซบาสเตียง
มาชิกวง Belle & Sebastian เบลแอนด์เซบาสเตียง (Belle & Sebastian) เป็นวงดนตรีสัญชาติสก็อต รวมตัวกันที่กลาสโกว์เมื่อ มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากออกอัลบั้มและอีพีจำนวนหนึ่งกับค่ายเพลง Jeepster Records พวกเขาก็เซ็นสัญญากับ Rough Trade Records ในสหราชอาณาจักร และ Matador Records ในสหรัฐอเมริกา ในขณะที่เพลงของวงมักจะถูกจัดอยู่ในแนว "twee pop" (ซึ่งทางวงปฏิเสธว่าไม่ใช่) Belle & Sebastian กลับมีลักษณะร่วมอย่างมากกับวงอินดี้ที่ทรงอิทธิพลอย่าง The Smiths และ Felt รวมทั้งได้รับอิทธิพลจากแนว northern soul และ funk ซึ่งโดยปกติจะไม่ถูกจัดให้อยู่ร่วมกับแนว twee.
ดู สหราชอาณาจักรและเบลแอนด์เซบาสเตียง
เบอร์มิวดา
อร์มิวดา เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาห่างจากรัฐนอร์ทแคโรไลนาไปทางตะวันออก 580 ไมล์ เบอร์มิวดาเป็นดินแดนโพ้นทะเลที่เก่าแก่ที่สุดของสหราชอาณาจักร ที่ยังคงเหลืออยู่ โดยมีชาวอังกฤษมาตั้งรกรากก่อนการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรถึงสองศตวรรษ โดยค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
เบอร์มิงแฮม
แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองเบอร์มิงแฮม ตัวเมืองเบอร์มิงแฮม เบอร์มิงแฮม (Birmingham, เบอมิงงัม) เป็นนครและเขตเมืองในภาคเวสต์มิดแลนด์สของอังกฤษ สหราชอาณาจักร ซึ่งหลายฝ่ายพิจารณาว่าเป็นเมืองรองของอังกฤษ แม้คำอ้างนี้จะถูกท้าทายจากผู้สนับสนุนเมืองแมนเชสเตอร์ เบอร์มิงแฮมเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดใน กลุ่มนครหลัก (core cities) ของอังกฤษ มีประชากรประมาณ 992,400 คน (ตัวเลขประมาณการเมื่อ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเบอร์มิงแฮม
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
เบอร์ลินตะวันตก
แสดงอาณาเขตของกรุงเบอร์ลินที่อยู่ในการปกครองของประเทศต่างๆ โดยที่เบอร์ลินตะวันตกจะแสดงด้วยสีน้ำเงิน ม่วงและฟ้า เบอร์ลินตะวันตก เป็นชื่อเรียกของฝั่งตะวันตกของเมืองเบอร์ลิน ในช่วงปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเบอร์ลินตะวันตก
เชอร์ล็อก โฮมส์
อร์ล็อก โฮมส์ เป็นนวนิยายสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลายคดี โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮมส์ คือ นายแพทย์จอห์น เอช.
ดู สหราชอาณาจักรและเชอร์ล็อก โฮมส์
เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
อร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ (Bertrand Arthur William Russell; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2415 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักตรรกวิทยา ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นนักปรัชญาการศึกษาหัวรุนแรงที่มีบทบาทสำคัญยิ่งคนหนึ่งของอังกฤษ เป็นผู้ที่ได้สร้างผลงานด้านการศึกษาในแนวปฏิรูปไว้มากมายหลายแขนง ซึ่งเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก บรรดานักปรัชญารู้จักเขาในฐานะของผู้ให้กำเนิดทฤษฎีความรู้ (Epistemology หรือ Theory of Knowledge) นักคณิตศาสตร์รู้จักรัสเซลในฐานะบิดาแห่งตรรกวิทยา ผู้เขียนตำราคลาสสิกทางคณิตศาสตร์ คือหนังสือชื่อ Principia Mathematica นักฟิสิกส์รู้จักเขาในฐานะของผู้แต่งตำรา ABC of Relativity สำหรับคนทั่วไปรู้จักรัสเซลล์ในฐานะของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักการเมือง และนักเขียนผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..
ดู สหราชอาณาจักรและเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
เบอร์เซิร์ก
อร์เซิร์ก (Berserk) เป็นชื่อมังงะ แนวดาร์ค แฟนตาซี ของญี่ปุ่น วาดโดยเคนทาโร่ มิอุระ มีการดำเนินเรื่องเกิดขึ้นในยุคกลางของยุโรป โดยได้รับอิทธิพลมาจากโลกแห่งจินตนิมิตด้านมืด มีตัวละครเอกของเรื่องคือ กัทส์ ทหารรับจ้างผู้โดดเดี่ยวและ กริฟฟิท หัวหน้าของกลุ่มทหารรับจ้างที่รวมตัวกันภายใต้ชื่อ กองพันเหยี่ยว เนื้อเรื่องมีสาระสำคัญเกี่ยวกับความโดดเดี่ยวของมนุษย์, ความสัมพันธ์ในเชิงของมิตรภาพ และเต็มไปด้วยการตั้งคำถามเกี่ยวกับมนุษยธรรม รวมถึงประเด็นเรื่องปีศาจและการต่อต้านพระเจ้า นอกจากนี้ยังสื่อให้เห็นถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ทั้งในด้านที่ดีที่สุดและเลวร้ายที่สุด เบอร์เซิร์กได้ชื่อว่าเป็นหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นที่เนื้อหาและภาพมีความรุนแรงสูง รวมถึงมีลายเส้นของภาพที่มีความละเอียดเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็ได้รับความนิยมและมียอดขายมากอันดับต้นๆเช่นกัน ในประเทศญี่ปุ่นลงตีพิมพ์ในนิตยสารยัง แอนิมอล โดยสำนักพิมพ์ฮะคุเซนชะ ส่วนในประเทศไทยมีการตีพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์จัดจำหน่ายครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ซึ่งได้ตีพิมพ์จนถึงฉบับรวมเล่มที่ 37 ต่อมาในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและเบอร์เซิร์ก
เชาวน์ดิศ อัศวกุล
รองศาสตราจารย์ ดร.เชาวน์ดิศ อัศวกุล เป็นนักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญด้านโครงข่ายโทรคมนาคม มีผลงานวิจัยเด่นคือ ระบบการจราจรและขนส่งอัจฉริยะ ที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ICT เพื่อแก้ปัญหาจราจรติดขัด และ โครงการวัดคุณภาพสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กทช.).
ดู สหราชอาณาจักรและเชาวน์ดิศ อัศวกุล
เชน วอร์ด
น วอร์ด (เกิด 15 ตุลาคม ค.ศ. 1984) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวอังกฤษ ผู้ชนะเลิศจากการประกวดแสดงความสามารถ ในรายการ ดิเอกซ์แฟกเตอร์ เปิดตัวครั้งแรกในซิงเกิล "แดตส์มายโกล" ออกขายในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..
เฟรดเดอริค สก็อต อาร์เชอร์
ฟรดเดอริค สก็อต อาร์เชอร์ เฟรดเดอริค สุรยุท อาร์เชอร์ (Frederick Scott Archer) เป็นที่รู้จักของสาธารณชนในฐานะนักประดิษฐ์คนแรกแห่งวงการภาพถ่าย ที่คิดค้น "กระบวนการเพลทเปียก"(wet collodion) ซึ่งได้รับความนิยมจากช่างภาพทั่วไปยาวนานถึง 300 ปี เกือบทั้งชีวิตของอาร์เชอร์ แทบไม่มีเอกสารอะไรที่บันทึกเรื่องราวของเขาไว้เลย หลังจากที่เขาเสียชีวิตลง เรื่องราวชีวิตบางส่วนของเขาได้ถูกเล่าโดยภรรยาของเขา Fanny G.
ดู สหราชอาณาจักรและเฟรดเดอริค สก็อต อาร์เชอร์
เฟรนช์คอนเนกชัน
ร้าน fcuk เฟรนช์คอนเนกชัน (French Connection, FC) หรือรู้จักในชื่อ เอฟซียูเค (fcuk) บริษัทเสื้อผ้าชั้นนำจากอังกฤษ สำนักงานก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเฟรนช์คอนเนกชัน
เพลงชาติ
ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ประกอบเพลงชาติ มักมีการใช้ภาพประกอบเพลงที่แสดงถึงความฮึกเหิมและปลุกใจให้รักชาติ (ตัวอย่างในที่นี้ เป็นภาพยนตร์เพลงชาติสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.
เพลงเกียรติยศ
ลงเกียรติยศ (honors music) เป็นเพลงสำหรับใช้บรรเลงเป็นเกียรติยศแก่บุคคล ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญ หรือผู้มียศทางทหารต่างๆ ในโอกาสต่างๆ ประมุขแห่งรัฐต่างๆ นั้นย่อมได้รับเกียรติจากบรรเลงเพลงเกียรติยศ ซึ่งในบางประเทศก็ใช้เพลงชาติในหน้าที่ดังกล่าวด้วย บางประเทศอาจใช้ "เพลงประจำตำแหน่งประธานาธิบดี" (presidential anthem) หรือ "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) บรรเลงเป็นเพลงเกียรติยศแทน.
ดู สหราชอาณาจักรและเพลงเกียรติยศ
เกาะไอร์แลนด์
แผนที่ ไอร์แลนด์ (Ireland, Éire เอเหรอะ) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของทวีปยุโรป ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแองโกล-ไอริช (หรือแองโกล-เซลติก) พื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ส่วนของเกาะไอร์แลนด์เป็นที่ตั้งของประเทศไอร์แลนด์ ส่วนพื้นที่ที่เหลืออีก 1 ใน 6 ส่วนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ เป็นที่ตั้งของไอร์แลนด์เหนือของสหราชอาณาจักร.
ดู สหราชอาณาจักรและเกาะไอร์แลนด์
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนวิช (South Georgia and the South Sandwich Islands, SGSSI) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ โดยตกเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เภสัชกร
ัชกร (pharmacist) คือผู้ที่มีวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข (health profession) มีหน้าที่จ่ายยา ให้ผู้ป่วย แนะนำการใช้ยา ติดตามการใช้ยาให้ผู้ป่วย และเป็นผู้ผลิตยา เภสัชกรจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหลายสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นทางด้านคลินิก โรงพยาบาล และเภสัชชุมชนซึ่งจะต้องเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ทางเลือกหนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรคือการปฏิบัติงานในร้านขายยาซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของร้านเอง (small business) ในงานด้านนี้เภสัชกรนอกจากจะมีความชำนาญในธุรกิจร้านค้าแล้วยังมีความรู้และข้อมูลการใช้ยาทั้งประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา ตลอดจนการให้ข้อมูลความรู้ให้คำปรึกษาการใช้ยาแก่ชุมชนด้วย เภสัชกรบางครั้งเรียกว่านักเคมี เพราะในอดีตมีการให้ผู้สำเร็จการศึกษาในวิชาเคมีสาขาเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemistry: PhC) มาเป็นเภสัชกรซึ่งเรียกกันว่านักเคมีเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemists) โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ เช่น เครือข่ายร้านขายยาของบู๊ตส์เรียกเภสัชกรของบู๊ตส์ว่า "นักเคมีบูตส์" (Boots The Chemist).
เมลียา
มลียา (Melilla), มริตช์ (เบอร์เบอร์: ⵎⵔⵉⵞ) หรือ มะลีลียะฮ์ (مليلية) เป็นเมืองหนึ่งของประเทศสเปน ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของแอฟริกาเหนือ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ติดต่อกับประเทศโมร็อกโก ชาวสเปนมาตั้งถิ่นฐานที่เมืองนี้ในปี พ.ศ.
เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป
มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.
ดู สหราชอาณาจักรและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป
เรฟ
งานเรฟขนาดใหญ่ในคลังสินค้าขนาดใหญ่ พร้อมด้วย แสงไฟและระบบเสียงที่มีขนาดใหญ่ เรฟ (Rave) เป็นงานสังสรรค์ใหญ่หรืองานเทศกาลที่เล่นโดยดีเจและบางครั้งก็มีผู้เล่น เปิดเพลงอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ แนวเพลงที่เล่นได้แก่ เฮาส์ แทรนซ์ เทคโน ดรัมแอนด์เบส ฮาร์ดคอร์ และอื่นๆ อีกมากมาย มีการควบคุมด้วย การแสดงแสงเลเซอร์ เครื่องฉายภาพ สีแท่งเรืองแสง และเครื่องทำหมอก วัฒนธรรมเรฟ ส่วนใหญ่เริ่มจากงานสังสรรค์ดนตรีแอซิดเฮาส์ ในช่วงกลางถึงปลายยุค 1980 ในเขตชิคาโกในสหรัฐอเมริกา หลังจากศิลปินชิคาโกเฮาส์เริ่มประสบความสำเร็จในต่างประเทศ แพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปยังสหราชอาณาจักร แผ่นดินใหญ่ยุโรป ออสเตรเลียและส่วนที่เหลือของประเทศสหรัฐอเมริก.
เรือบรรทุกอากาศยาน
รือหลวงจักรีนฤเบศร 6, showing size differences of late 20th century carriers 6 เรือบรรทุกอากาศยาน หรือ เรือบรรทุกเครื่องบิน (aircraft carrier) คือ เรือรบที่ออกแบบมาสำหรับใช้เป็นฐานทัพอากาศเคลื่อนที่ให้กับอากาศยาน เรือบรรทุกเครื่องบินนั้นทำให้กองทัพเรือสามารถส่งกำลังทางอากาศออกไปได้ไกลยิ่งขึ้นโดยขึ้นอยู่กับที่มั่นของเรือบรรทุกเครื่องบิน พวกมันพัฒนามาจากเรือที่สร้างจากไม้ที่ถูกใช้เพื่อปล่อยบัลลูนมาเป็นเรือรบพลังนิวเคลียร์ซึ่งสามารถบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งและปีกหมุนได้หลายสิบลำ โดยปกติเรือบรรทุกอากาศยานจะเป็นเรือหลักของกองเรือและเป็นเรือที่มีราคาแพงอย่างมาก มี 10 ประเทศที่ครอบครองเรือบรรทุกอากาศยานโดยแปดประเทศมีเรือบรรทุกอากาศยานเพียงลำเดียวเท่านั้น ทั่วโลกมีเรือบรรทุกอากาศยานที่กำลังทำหน้าที่ 20 ลำโดยเป็นของกองทัพเรือสหรัฐ 10 ลำ บางประเทศในจำนวนนี้ไม่มีเครื่องบินที่สามารถใช้กับเรือบรรทุกอากาศยานและบางประเทศได้เปลี่ยนวัตถุประสงค์ของเรือไป.
ดู สหราชอาณาจักรและเรือบรรทุกอากาศยาน
เรือดำน้ำ
รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..
เร็กเก
Bob Marley ศิลปินเร็กเกที่มีชื่อเสียง เร็กเก (reggae) เป็นแนวดนตรีแอฟริกา-แคริบเบียนซึ่งพัฒนาขึ้นบนเกาะจาเมกา และมีความชิดใกล้เชื่อมต่อกับลัทธิรัสตาฟาเรียน (Rastafarianism) รากดั้งเดิมของเร็กเกสามารถค้นหาได้จากดนตรีประเพณีนิยมของแอฟริกา-แคริบเบียนที่มีพอ ๆ กับดนตรีริธึ่มแอนด์บลูส์ของอเมริกัน เร็กเก้ เป็นดนตรีที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะที่เดียวในโลกของประเทศจาเมกา ซึ่งอิทธิพลทางดนตรีมาจากนิวออร์ลีนส์ ริธึ่มแอนด์บลูส์ มาจากการฟังวิทยุทรานซิสเตอร์ที่รับคลื่นสั้นจากสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รากเหง้าของดนตรีคนแอฟริกา-แคริบเบียน คือเพลงโฟล์กของจาเมกาที่เรียกว่า เมนโต (Mento) มีท่วงทำนองเพลงไปในทางแนวดนตรีคาลิปโซ เนื้อหาของบทเพลงจะพูดถึงการเรียกร้องสิทธิของตัวเองและปัญหาความยากจนต่อประเทศเจ้าอาณานิคมในหมู่เกาะอินดีสตะวันตกในทะเลแคริบเบียน สำหรับจาเมกาตกอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ พลเมืองตกเป็นทาสของคนผิวขาว ก็มีการพัฒนาดนตรีเมนโตนำมาผสมกับอาร์แอนด์บีทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา พัฒนาเปลี่ยนแปลงจังหวะเพิ่มขึ้นจนกลายเป็นดนตรีสกา (Ska) โดยเปลี่ยนแปลงจังหวะให้เพิ่มขึ้น กีตาร์เล่นจังหวะยก และมีการเล่นลัดจังหวะ ถือว่าเป็นการแปลความหมายของดนตรีอาร์แอนด์บีอีกรูปแบบหนึ่ง และเป็นที่นิยมกันอย่างมากในช่วงต้นยุคทศวรรษที่ 60 และได้มีการพัฒนาขึ้นอีกขั้น บีทของดนตรีจึงถูกดึงให้ช้าลงใช้เปียโนและเบสที่มีอิทธิพลดนตรีร็อกเข้ามาจึงเรียกว่า ร็อกสเตดี้ (Rocksteady) จนมาถึงปี 1968 ก็ได้มีการพัฒนาจนถึงขีดสุด ดนตรีเร็กเก้จึงถือกำเนิดขึ้น ภายใต้แนวความคิดของลัทธิรัสตาฟาเรียน ทรงผมฟั่นเชือกหรือเดรด ล็อก และอุดมคติทางการเมืองและสังคม ในการพาชาวแอฟริกา-แคริบเบียน กลับสู่แผ่นดินในทวีปแอฟริกา สกา (Ska) และร็อกสเตดี (Rocksteady) คือพื้นฐานทางแนวดนตรีผู้มาก่อนเร็กเก้ในยุคทศวรรษที่ 60 ก่อนที่ บ็อบ มาร์เลย์ จะทำให้ดนตรีเร็กเก้เป็นที่นิยมไปทั่วโลก ก็เคยบันทึกเสียงในแนวดนตรีร็อกสเตดี้ในช่วงแรกในอาชีพของเขา สไตล์ดนตรีเร็กเก้ที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากเรียกกันว่า รูทส์ เร็กเก้ (roots reggae) หรือ รูทส์ ร็อก เร็กเก้ (roots rock reggae) และใช้กับศิลปินอีกมากมายที่ทำงานในแบบเดียวกันอย่าง Black Uhuru, Burning Spear, Culture, Israel Vibrations, The Skatalites and Toots และ The Maytals ซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมาถึงวง UB40 ในสหราชอาณาจักร ในจาเมกานั้น ดนตรีแนวใหม่ได้ทวีความนิยมมากว่า โดยมีการพัฒนาไปสู่แนวเลิฟเวอร์ส ร็อก (Lovers Rock), แดนซ์ฮอลล์ (Dancehall) และแร็กกามัฟฟิน (Raggamuffin).
เรเดียน
มุมปกติทั่วไปบางมุม วัดในหน่วยเรเดียน เรเดียน (radian) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบสองมิติ ใช้สัญลักษณ์ "rad" หรืออักษร c ตัวเล็กที่ยกสูงขึ้น (มาจาก circular measure) ซึ่งไม่เป็นที่นิยมนัก ตัวอย่างเช่น มุมขนาด 1.2 เรเดียน สามารถเขียนได้เป็น "1.2 rad" หรือ "1.2c " เรเดียนเคยเป็น หน่วยเสริม ของหน่วยเอสไอ แต่ถูกยกเลิกใน พ.ศ.
เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
อเอสบีเอ็น มีรหัสเลข 13 ตัวในบาร์โค้ด เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (International Standard Book Number) หรือ ไอเอสบีเอ็น (ตัวย่อ: ISBN) เป็นรหัสที่กำหนดขึ้นให้ใช้กับสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือทั่วไป มีจุดมุ่งหมายให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของหนังสือแต่ละเรื่อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมข้อมูลสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ในด้านการสั่งซื้อ การขาย การบริการ การเงิน และการนำสินค้าออกจำหน่ายไปยังสำนักพิมพ์ในประเทศต่าง ๆ ระบบ ISBN ถูกสร้างขึ้นในสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
เลดีโรส กิลแมน
ลดี้ โรส วินด์เซอร์ (Lady Rose Windsor) (โรส วิกตอเรีย บริจิตต์ หลุยส์ วินด์เซอร์ เกิด 1 มีนาคม พ.ศ. 2523) พระธิดาคนเล็กในดยุคแห่งกลอสเตอร์ และ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์ เลดี้ โรสเกิด ณ โรงพยาบาลเซนต์แมรี เขตแพดดิงตัน กรุงลอนดอน และเข้าศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียนเซ็นต์จอร์จ เมืองแอสค็อต ปัจจุบันอยู่ในอันดับที่ 22 ของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเลดีโรส กิลแมน
เลโก้
รื่องหมายการค้าของเลโก้ เลโก้ (Lego) เป็นของเล่นในรูปแบบตัวต่อพลาสติก ซึ่งเริ่มผลิตครั้งแรกที่เมืองบิลลุนด์ (Billund) ประเทศเดนมาร์ก โดยช่วงแรกผลิตจากไม้ เลโก้มีลักษณะเป็นชิ้นพลาสติก หลายสีและลักษณะเหมือนก้อนอิฐมีขนาดต่าง ๆ กันที่มีปุ่มและร่องเพื่อการประกอบ โดยไม่ต้องใช้กาว เพื่อให้ผู้เล่นนำไปสร้างสรรค์ต่อเป็นรูปร่างต่าง ๆ ปัจจุบันมีมากกว่า 6,000.
เวลามาตรฐานกรีนิช
วลามาตรฐานกรีนิช หรือ เวลามัชฌิมกรีนิช (Greenwich Mean Time) ชื่อย่อ จีเอ็มที (GMT) แต่เดิมเป็นคำใช้เรียกเวลาสุริยคติมัชฌิมที่หอดูดาวหลวงกรีนิช เมืองกรีนิช สหราชอาณาจักร ปัจจุบันคำนี้มักใช้เพื่อหมายถึงเวลาสากลเชิงพิกัด (ยูทีซี) ในฐานะเขตเวลา แม้ว่าหากถือโดยเคร่งครัดแล้ว ยูทีซีนั้นเป็นมาตรฐานเวลาที่วัดโดยนาฬิกาอะตอม ซึ่งจะเท่ากันเพียงโดยประมาณกับจีเอ็มทีในความหมายเดิม จีเอ็มทียังใช้หมายถึงเวลาสากล (ยูที) ซึ่งเป็นเวลาเชิงดาราศาสตร์ที่กำหนดขึ้นเพื่อทดแทนจีเอ็มทีโดยตรง เวลาเที่ยงวันของมาตรฐานกรีนิชนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกที่กรีนิชเสมอไป ทั้งนี้เนื่องจากการโคจรของโลกเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์มีอัตราเร็วไม่สม่ำเสมอและแกนโลกที่เอียง เวลาเที่ยงวันกรีนิชอาจต่างจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกถึง 16 นาที จึงจำเป็นต้องสมมุติดวงอาทิตย์มัชฌิม ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยจากการปรับการเคลื่อนที่ที่ไม่สม่ำเสมอของดวงอาทิตย์ดวงจริงขึ้นใช้คำนวณแทน ดวงอาทิตย์มัชฌิมนี้เองเป็นที่มาของคำว่า มัชฌิม ในคำว่าเวลามัชฌิมกรีนิช ก่อน ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเวลามาตรฐานกรีนิช
เวลาสากล
วลาที่ถูกแบ่งเป็นเขตเวลา เวลาสากล (UT - Universal Time) คือหน่วยเวลาที่อ้างอิงการหมุนของโลก เป็นหน่วยเวลาสมัยใหม่ที่สืบทอดมาจากเวลาปานกลางกรีนิช (GMT - Greenwich Mean Time) อันได้แก่เวลา Mean Solar Time ของพื้นที่บนเส้นเมริเดียนแห่งกรีนิช (Greenwich) ของสหราชอาณาจักร ซึ่งตรงกับเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ตามหลักภูมิศาสตร์ บางครั้งมีการใช้เวลาปานกลางกรีนิชที่ผิด โดยเข้าใจว่าเป็นหน่วยเวลาเดียวกับเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) เวลาปานกลางกรีนิชนี้สามารถจำแนกเป็นเป็นเวลาพิกัดสากล และ UT1.
เวลาสากลเชิงพิกัด
แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).
ดู สหราชอาณาจักรและเวลาสากลเชิงพิกัด
เวสท์ไลฟ์ (อัลบั้ม)
วสท์ไลฟ์ (Westlife) เป็นอัลบั้มชุดแรกของ เวสท์ไลฟ์ กลุ่มศิลปินบอยแบนด์จากไอร์แลนด์ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเวสท์ไลฟ์ (อัลบั้ม)
เวสต์แบงก์
แผนที่เขตเวสต์แบงก์ เวสต์แบงก์ (West Bank; الضفة الغربية; הגדה המערבית หรือ יהודה ושומרון ซึ่งแปลว่า "จูเดียและซาแมเรีย") เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์แห่งหนึ่งที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เวสต์แบงก์มีพรมแดนทางทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้ร่วมกับรัฐอิสราเอล ส่วนทางทิศตะวันออกข้ามแม่น้ำจอร์แดนไปจะเป็นอาณาเขตของราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน นอกจากนี้ เวสต์แบงก์ยังมีชายฝั่งทะเลตลอดแนวฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลเดดซีอีกด้วย เขตเวสต์แบงก์ (รวมนครเยรูซาเลมส่วนตะวันออก) มีเนื้อที่บนบก 5,640 ตารางกิโลเมตร และมีเนื้อที่พื้นน้ำ 220 ตารางกิโลเมตรซึ่งได้แก่ส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลเดดซี ประมาณการกันว่ามีจำนวนประชากร 2,622,544 คน ณ เดือนมิถุนายน..
เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์
ริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทผลิตสื่อบันเทิงแห่งหนึ่งของไทย มีปัญญา นิรันดร์กุลเป็นประธานบริษัท ประภาส ชลศรานนท์เป็นรองประธานบริษัท ก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัล สถานีโทรทัศน์เวิร์คพอยท์ ใช้ชื่อว่า ช่องเวิร์คพอยท์ (หมายเลข 23) โดยในวันที่ 26 ธันวาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์
เวิลด์ออฟอาวเวอร์โอน
World Of Our Own เป็นอัลบั้มที่ 3 ของบอยแบนด์ชาวไอริช เวสท์ไลฟ์ วางแผงเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2001 โดยอัลบั้มนี้สามารถขึ้นสู่อันดับที่ 1 ในสหราชอาณาจักร ได้แก่ ซิงเกิลเพลง "Uptown Girl", "When You're Looking Like That", "Queen of My Heart", "World of Our Own" และ "Bop Bop Baby" และมีเพลง Evergreen ซึ่งได้ขับร้องใหม่ภายหลังโดย วิล ยัง ในอัลบั้ม From Now On.
ดู สหราชอาณาจักรและเวิลด์ออฟอาวเวอร์โอน
เศรษฐศาสตร์
รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.
ดู สหราชอาณาจักรและเศรษฐศาสตร์
เสน่ห์ จามริก
ตราจารย์ เสน่ห์ จามริก เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ราษฎรอาวุโส นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน ประะธานสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.
ดู สหราชอาณาจักรและเสน่ห์ จามริก
เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548
ในช่วงเวลาเร่งด่วนตอนเช้าของวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เกิดการระเบิดขึ้นสี่ครั้งต่อเนื่อง ที่กรุงลอนดอน ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร รถไฟใต้ดินสามขบวนถูกวางระเบิดภายในช่วงเวลาครึ่งชั่วโมง จากนั้นอีกครึ่งชั่วโมงรถเมล์สองชั้นอีกหนึ่งคันก็ถูกระเบิด ได้รับการยืนยันว่ามีผู้เสียชีวิต 56 ศพ และผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 700 คน เนื่องมาจากการก่อการร้ายนี้ ตัวเลขดังกล่าวคาดว่าน่าจะเพิ่มมากขึ้น เมื่อทางการได้ตรวจสอบผลอย่างละเอียด เหตุการณ์นี้ทำให้มีการสั่งปิดระบบรถไฟใต้ดินของลอนดอน และระบบรถประจำทาง รวมไปถึงถนนอีกหลายสายใกล้กับกับสถานีที่เกิดเหตุ เหตุระเบิดคราวนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับ เหตุการณ์ระเบิดรถไฟที่มาดริด ประเทศสเปน เหตุก่อการร้ายนี้ เป็นการก่อการร้ายที่รุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักร นับตั้งแต่การวางระเบิดเที่ยวบินแพนแอมที่ 103 เหนือเมืองล็อกเกอร์บี ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548
เอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์
right เอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์ (Vickers A1E1 Independent) เอ1อี1 เป็นรถถังที่สร้างขึ้นในสหราชอาณาจักร โดยบริษัทวิคเกอร์ รุ่นต้นแบบผลิตขึ้นในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์
เอฟวี433 แอ็บบอท เอสพีจี
แอ็บบอท เอสพีจีในพิพิธภัณฑ์ที่ลอนดอน ปืนใหญ่สนาม เอฟวี 433 หรือ ปืนใหญ่อัตราจร "แอ็บบอท" (FV 433 Field Artillery, Self-Propelled "Abbot") เป็นปืนใหญ่อัตตาจรแบบหนึ่งจากเอฟวี 432 เอเอฟวีของกองทัพบกอังกฤษ มันใช้โครงสร้างของเอฟวี 430 มากแต่ก็มีป้อมปืนที่หมุนได้รอบด้าน ปืนขนาด 105 ม.ม.ของมันทำให้มันโดดเด่น ชื่อจริงๆ ของมันคือ"อุปกรณ์ปืน 105 ม.ม.
ดู สหราชอาณาจักรและเอฟวี433 แอ็บบอท เอสพีจี
เอฟเอชเอ็ม
อฟเอชเอ็ม (FHM, ย่อมาจาก For Him Magazine) เป็นนิตยสารรายเดือน ออกจำหน่ายครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษ ในปี..
เอลตัน จอห์น
ซอร์ เอลตัน เฮอร์คูลีส จอห์น (Sir Elton Hercules John) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและเอลตัน จอห์น
เอิร์ท
อิร์ท (อ. Earth) อาจหมายถึง:; คำทับศัพท.
เอียน เฟลมมิง
อียน แลนแคสเตอร์ เฟลมมิง (Ian Lancaster Fleming) เป็นนักประพันธ์ชาวอังกฤษ เจ้าของนวนิยายเรื่อง เจมส์ บอนด์ 007 ซึ่งต่อมามีการนำไปสร้างเป็นการ์ตูน และภาพยนตร์อีกมากมาย เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเอียน เฟลมมิง
เอดินบะระ
อดินบะระ (Edinburgh เอดินเบอระ; Dùn Èideann; บางคนอ่าน/เขียนผิดเป็น: เอดินเบิร์ก) เป็นเมืองหลวงของประเทศสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของสกอตแลนด์ เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยกลาง ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงอยู่กลางเมือง เป็นที่ตั้งของปราสาทเอดินบะระอันเป็นทำเลที่ได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ในสมัยก่อน โดยรอบภูเขาถูกปรับพื้นที่เป็นคูเมืองเพื่อประโยชน์ในเชิงการทหาร รอบนอกเป็นที่ราบลดหลั่นเป็นขั้น ๆ กระจายออกโดยรอบ เอดินบะระเป็นที่ตั้งของรัฐสภาแห่งใหม่ของสกอตแลนด์ (เพิ่งแยกออกมาจากรัฐสภาของสหราชอาณาจักร) ตั้งอยู่บนถนนสายหลักของเอดินบะระคือ รอยัลไมล์ (The Royal Mile) ซึ่งสร้างตามแนวสันเขาเชื่อมโยงพื้นที่ประวัติศาสตร์ระหว่างปราสาทเอดินบะระและพระราชวัง สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ บริเวณรอยัลไมล์ ปราสาทเอดินบะระ และสวนพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะปราสาทเอดินบะระเป็นปราสาทที่เป็นสถานที่เปิดตัวของหนังสือเรื่องแฮรี่ พอตเตอร์ เนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงฉากเมืองแม่มดในท้องเรื่อง เอดินบะระเป็นเมืองที่เจริญมากที่สุดเมืองหนึ่งในสหราชอาณาจักร มีศูนย์กลางเมืองตั้งอยู่รอบ ๆ ปราสาทเอดินบะระ เมืองเอดินบะระนั้นขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งเทศกาลต่าง ๆ ตัวอย่างงานสำคัญที่ถูกจัดขึ้นในเมืองเอดินบะระ ได้แก่ เทศกาลศิลปะนานาชาติ Fringe ภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ งานหนังสือเด็ก เพลงแจ๊ส และเพลงพื้นบ้าน ในช่วงเทศกาลเหล่านี้ โดยเฉพาะช่วงเดือนสิงหาคมหรือช่วงหน้าร้อนของสหราชอาณาจักร ที่เมืองเอดินบะระจะมีจัดงานเทศกาลประจำปีที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวมาที่เมืองนี้เป็นจำนวนมาก จนทำให้เมืองเอดินบะระติดอันดับเมืองที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอน นอกจากนั้น เมืองเอดินบะระยังเป็นเมืองที่ได้ชื่อว่าเป็น "เมืองที่เป็นมิตรกับเด็ก" (The Child Friendly City) เนื่องจากภายในเมืองมีสถานที่ท่องเที่ยวที่เหมาะสำหรับเด็กมากมาย เช่น พิพิธภัณฑ์วัยเด็กและเรื่องเล่าของผู้คน (Museum of Childhood and People’s Story) สวนสัตว์ที่มีศูนย์การศึกษาที่เคลื่อนไหวได้จริง (Dynamic Education Centre) โลกแห่งผีเสื้อและแมลง (Butterfly & Insect World) และโลกทะเลลึก (Deep Sea World) เป็นต้น ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ เมืองเอดินบะระเป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอนและใหญ่เป็นอันดับห้าของยุโรป โดยมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึงสามแห่งด้วยกันคือ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ มหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์ และมหาวิทยาลัยเนเปียร์ ภาพ:Edinburgh1.JPG|ปราสาทเอดินบะระ ตั้งอยู่บนยอดเขากลางเมือง ภาพ:Edinburgh2.JPG|อาคารรัฐสภาของสกอตแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเอดินบะร.
เอดเวิร์ด เจนเนอร์
วาดของเอดเวิร์ด เจนเนอร์ เอดเวิร์ด เจนเนอร์ (Edward Jenner; 17 พฤษภาคม 2292 — 26 มกราคม 2366) เป็นแพทย์ชนบทชาวอังกฤษผู้ซึ่งศึกษาธรรมชาติและสภาพแวดล้อมในวัยเด็ก และได้รับการฝึกหัดทางการแพทย์ที่เมืองเบอร์คเลย์ มณฑลกลอสเตอร์เชอร์ สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงในฐานะแพทย์คนแรกที่ศึกษาและค้นพบวัคซีน เพื่อใช้ป้องกันโรคไข้ทรพิษ.
ดู สหราชอาณาจักรและเอดเวิร์ด เจนเนอร์
เอนยา
อนยา พาทริเชีย นี วรีไนน์ (Eithne Patricia Ní Bhraonáin) หรือเอนยา (Enya) (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2504—ปัจจุบัน) เป็นนักร้อง นักดนตรี และคีตกวีชาวไอร์แลนด์ ผู้ได้รับรางวัลแกรมมี่สี่ครั้ง และเป็นศิลปินเดี่ยวที่มียอดจำหน่ายผลงานเป็นอันดับสูงสุดของไอร์แลนด์ ดนตรีของเอนยาได้รับอิทธิพลจากดนตรีเคลติก และมักจัดเป็นดนตรีนิวเอจ เอนยาร่วมงานกับ นิกกี และโรมา ไรอัน มาอย่างยาวนาน โดยเอนยาเป็นผู้ร้องและเล่นดนตรี นิกกีเป็นผู้อำนวยการผลิต และโรมาเป็นผู้ประพันธ์คำร้อง คำว่า Enya เป็นการเขียนทับศัพท์ชื่อของเธอในภาษาแกลิก คือ Eithne ตามการออกเสียง โดยมีความหมายว่า แก่นไม้ กับทั้งยังเป็นชื่อนักบุญศาสนาคริสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 อีกด้ว.
เอไอเอ็ม-120 แอมแรม
รวดนำวิถีเอไอเอ็ม-120 หรือ แอมแรม (AIM-120 Advanced Medium-Range Air-to-Air Missile, AMRAAM) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศเกินระยะตามองเห็น(BVR)รุ่นใหม่ที่สามารถใช้ได้ทั้งตอนกลางวันและกลางคืน มันยังรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่าสแลมเมอร์ในกองทัพอากาสสหรัฐ นาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทรี (Fox Three).
ดู สหราชอาณาจักรและเอไอเอ็ม-120 แอมแรม
เอ็กซิเตอร์
อ็กซิเตอร์ (Exeter) เป็นนครและเมืองเอกของมณฑลเดวอนทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ จากการสำรวจในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและเอ็กซิเตอร์
เอ็มเค IV เชอร์ชิลล์
right.
ดู สหราชอาณาจักรและเอ็มเค IV เชอร์ชิลล์
เอเชียนเกมส์
อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเอเชียนเกมส์
เอเชียนเกมส์ 1954
อเชียนเกมส์ 1954 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 2 จัดขึ้นที่ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 9 พฤษภาคม..
ดู สหราชอาณาจักรและเอเชียนเกมส์ 1954
เฮฟวีเมทัล
ฟวีเมทัล หรือบางครั้งเรียกย่อว่า เมทัล เป็นแนวเพลงร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 และต้นทศวรรษที่ 70 ด้วยรากฐานของดนตรี บลูส์-ร็อก ฮาร์ดร็อก และ ไซเคเดลิกร็อก โดยมีหลายวงได้พัฒนาเฮฟวีเมทัล ให้มีความหนา, หนัก, ดนตรีที่เน้นกีตาร์และกลอง และลักษณะเฉพาะตัวที่มีการโซโล่กีตาร์ที่รวดเร็ว เพลงแนวเฮฟวีเมทัลได้รับความนิยมจากแฟนทั่วโลก ที่แฟนเหล่านั้นจะเรียกตัวเองว่า เมทัลเฮดส์ หรือ เฮดแบงเกอร์ และถึงแม้ว่าวงเมทัลในช่วงต้น ๆ อย่าง เล็ด เซ็พเพลิน, แบล็ค แซบบาธ และ ดีพ เพอร์เพิล จะได้รับความสนใจจากกลุ่มคนฟังหลัก แต่ก็มีบ้างที่พวกเขาจะถูกด่าทอ.
เฮลทูเบอร์มิวดา
ลทูเบอร์มิวดา (– เบอร์มิวดาจงเจริญ) เป็นชื่อของเพลงชาติอย่างไม่เป็นทางการของเบอร์มิวดา ประพันธ์โดยเบตส์ จอห์น (Bettes John) สำหรับเพลงชาติในทางราชการนั้น ใช้เพลงก็อดเซฟเดอะควีน อันเป็นเพลงชาติของสหราชอาณาจักร ซึ่งบังคับใช้ในดินแดนโพ้นทะเลของอังกฤษด้ว.
ดู สหราชอาณาจักรและเฮลทูเบอร์มิวดา
เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน
. อาร.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน
เจมส์ บรูก
ซอร์ เจมส์ บรูก รายาแห่งซาราวะก์ (James Brooke; 29 เมษายน พ.ศ. 2346 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2411) หรือคนไทยในอดีตเรียกว่า เย สัปบุรุษ เป็นนักผจญภัยชาวอังกฤษ และเป็นรายาผิวขาวแห่งซาราวะก์คนแรกที่แต่งตั้งโดยสุลต่านแห่งบรูไน.
เจมส์ วัตต์
มส์ วัตต์ (James Watt) (19 มกราคม ค.ศ. 1736 - 19 สิงหาคม ค.ศ. 1819) วิศวกรและนักประดิษฐ์ ชาวสกอตแลนด์ ผู้ปรับปรุงเครื่องปั่นด้าย Spinning Jenny จนนำสหราชอาณาจักรไปสู่ยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตและการต่อเรือ และทำให้สหราชอาณาจักรเป็นเจ้าอาณานิคมในเวลาต่อมา เครื่องจักรของวัตต์เป็นต้นแบบของเครื่องจักรที่ใช้น้ำมันในปัจจุบัน เขาเป็นผู้บัญญัติศัพท์ แรงม้า เป็นวิธีคำนวณประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักร และชื่อของเขาได้รับไปตั้งเป็น หน่วยกำลังไฟฟ้า ในระบบหน่วยเอสไอ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจมส์ วัตต์
เจมส์ เฮอร์เรียต
มส์ เฮอร์เรียต เป็นนามปากกาของนายสัตวแพทย์ เจมส์ อัลเฟรด (อัลฟ์) ไวจ์ (James Alfred (Alf) Wight) (3 ตุลาคม 1916 – 23 กุมภาพันธ์ 1995) เขาเป็นผู้เขียนหนังสือเกี่ยวกับสัตว์และการรักษาสัตว์หลายเล่มที่ติดอันดับหนังสือขายดี และได้รับการแปลเป็นภาษาไทย โดยปาริฉัตร เสมอแข และจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ เนื้อหาส่วนใหญ่ที่ปรากฏในหนังสือของเขาจะเกิดขึ้นในมณฑล ยอร์คเชอร์ ในตอนเหนือของประเทศอังกฤษ สถานที่ที่เขาเริ่มทำงานหลังจากจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ และอาศัยอยู่จนกระทั่งเสียชีวิต เจมส์ ไวจ์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งราชอาณาจักรบริเตน (OBE) ชั้น Officer เมื่อปี..
ดู สหราชอาณาจักรและเจมส์ เฮอร์เรียต
เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์
เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ นักฟิสิกส์ เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ (James Clerk Maxwell พ.ศ. 2374-2422) นักฟิสิกส์ เกิดที่เมืองเอดินเบิร์ก สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ได้รับการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอดินเบิร์กและเคมบริดจ์ และเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยอาเบอร์ดีน (พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์
เจอร์ซีย์
เจอร์ซีย์ (Jersey) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร เป็นเกาะหนึ่งในหมู่เกาะแชนเนลในช่องแคบอังกฤษ มีเมืองหลวงชื่อ เซนต์เฮลเยอร์ หมวดหมู่:ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:เกาะในทวีปยุโรป จ หมวดหมู่:เจอร์ซีย์.
เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์
้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (HRH the Prince Charles, The Prince of Wales) พระนามเต็ม ชาลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ; พระราชสมภพ 14 พฤศจิกายน..
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์
เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
เจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์
้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ (ริชาร์ด อเล็กซานเดอร์ วอลเตอร์ จอร์จ; ประสูติ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2487) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งกลอสเตอร์ตั้งแต่พระบิดาสิ้นพระชนม์เมื่อปี..
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์
เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์
้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์
เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี
้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี
เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก
รอยัลไฮเนส เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก (HRH The Prince Andrew, Duke of York) (แอนดรูว์ อัลเบิร์ต คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด เมานต์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์
อมพล เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเคนต์ (His Royal Highness Prince Edward, Duke of Kent) (เอ็ดเวิร์ด จอร์จ นิโคลัส พอล แพทริค; ประสูติ 9 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์
้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม เอ็ดเวิร์ด แอนโทนี ริชาร์ด หลุยส์ (HRH Prince Edward, Earl of Wessex; ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์
เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์
้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ (Prince Harry, Duke of Sussex) หรือ เจ้าชายเฮนรี ชาลส์ อัลเบิร์ต เดวิด (Prince Henry Charles Albert David; ประสูติ 15 กันยายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์
เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่
้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ หรือเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าป้า (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2548) เป็นธิดาของเจ้ากาวิละวงศ์ กับเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ และเป็นนัดดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่
เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์
้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์
เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน
้าหญิงมาร์กาเรตโยงมาที่หน้านี้ สำหรับผู้ที่ใช้พระนามว่า "เจ้าหญิงมาร์กาเรต" อื่นๆ ดู เจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม) เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน (มาร์กาเรต โรส; ประสูติ: 21 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน
เจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก
้าหญิงยูเจนีแห่งยอร์ก หรือ ยูเจนี วิกตอเรีย เฮเลนาในฐานะเชื้อพระวงศ์ที่ทรงมีฐานันดรศักดิ์ เจ้าหญิงยูเจนีจึงไม่ทรงมีราชสกุล แต่เมื่อมีการใช้ราชสกุล จะเป็น เมานท์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ (หรือชื่อทางดินแดนของพระชนก คือ "ยอร์ก") (Princess Eugenie of York; ประสูติ 23 มีนาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก
เจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์
ลดี้ อลิซ คริสตาเบล มอนเตกู-ดักลาส-สก็อต (อังกฤษ: Lady Alice Christabel Montagu-Douglas-Scott) หรือ เจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์ (Princess Alice, Duchess of Gloucester, GCB, CI, GCVO, GBE; 25 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์
เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี
้าหญิงอเล็กซานดรา เดอะฮอนอเรเบิล เลดีโอกิลวี (อเล็กซานดรา เฮเลน เอลิซาเบธ โอลกา คริสตาเบล; ประสูติ 25 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี
เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี
้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี (The Princess Anne, Princess Royal; แอนน์ เอลิซาเบธ อลิซ หลุยส์ ประสูติ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ และเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงดำรงพระอิสริยยศ ราชกุมารี เป็นพระองค์ที่เจ็ด และปัจจุบันทรงอยู่อันดับที่สิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อแรกประสูติ พระองค์ทรงอยู่อันดับที่สาม และขึ้นเป็นอันดับที่สองในการเสวยราชสมบัติของพระชนนี จนกระทั่งถึงการประสูติของเจ้าชายแอนดรูว์ ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี
เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก
้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Katherine of Greece and Denmark) หรือว่า เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (Lady Katherine Brandram; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก
เจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก
้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก (Princess Beatrice of York หรือ เบียทริซ เอลิซาเบท แมรี (Beatrice Elizabeth Mary (ประสูติ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กกับ ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก อดีตพระชายาเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ เจ้าหญิงทรงอยู่ในอันดับที่แปดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ และทรงเป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกที่ประสูติในพระราชวงศ์นับตั้งแต่การประสูติของเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี ในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก
เทกกิงแชนเซส
ทกกิงแชนเซส (Taking Chances) คืออัลบั้มภาษาอังกฤษของเซลีน ดิออน ออกจำหน่ายในวันที่ 7 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ทั่วโลก เป็นอัลบั้มภาษาอังกฤษชุดที่ 13 และเมื่อนับรวมอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสแล้ว อัลบั้มนี้เป็นอัลบั้มที่ 35 ในส่วนของรูปแบบกล่องนักสะสมอันประกอบไปด้วยซีดี, ดีวีดี และน้ำหอม ออกจำหน่ายในวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเทกกิงแชนเซส
เทกกิงแชนเซส (เพลง)
"เทกกิงแชนเซส" (Taking Chances) เป็นผลงานการประพันธ์ของคารา ดิโอกัวร์ดิ และ เดวิด สจวต บันทึกเสียงครั้งแรกโดยวงพลาตตินัมเวียรด์ และออกจำหน่ายในูปแบบซิงเกิลอิสระในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเทกกิงแชนเซส (เพลง)
เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์
อนเสิร์ตทัวร์เทกกิงแชนเซส (Taking Chances Tour) คือคอนเสิร์ตทัวร์ปัจจุบันของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา เพื่อสนับสนุนอัลบั้มภาษาอังกฤษ เทกกิงแชนเซส ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์
เทสโก้ โลตัส
ทสโก้ โลตัส (Tesco Lotus) เป็นกลุ่มไฮเปอร์มาร์เก็ตในประเทศไทย ดำเนินการตั้งแต่ปี 2537 เดิมใช้ชื่อว่า โลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (Lotus Supercenter) โดยเครือเจริญโภคภัณฑ์ ในนามของบริษัท เอก-ชัย ดิสทริบิวชั่นซิสเทม จำกัด เปิดให้บริการสาขาแรกที่ซีคอนสแควร์ เครือเจริญโภคภัณฑ์ขายหุ้นส่วนใหญ่ให้กับกลุ่มเทสโก้เมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเทสโก้ โลตัส
เทนนิสวิมเบิลดัน
ัญลักษณ์ของการแข่งขัน การแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดัน (The Championships, Wimbledon) เป็นการแข่งขันเทนนิสที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยจะจัดการแข่งขันขึ้นในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคมของทุกปี วิมเบิลดันเป็นการแข่งขันเทนนิสแกรนด์สแลมรายการที่สามของปี ถัดจากออสเตรเลียนโอเพน และเฟรนช์โอเพน ก่อนจะปิดท้ายปีด้วยรายการยูเอสโอเพน และเป็นการแข่งขันแกรนด์สแลมรายการเดียวในปัจจุบันที่แข่งขันบนคอร์ทหญ้า การแข่งขันวิมเบิลดันเริ่มจัดมาตั้งแต่ ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเทนนิสวิมเบิลดัน
เท็นเยียส์ไทม์
"เท็นเยียส์ไทม์" (Ten Years Time) คือซิงเกิลที่ 2 ของแกเบรียลจากอัลบั้มสตูดิโอชุดที่ 4 เพลย์ทูวิน เป็นซิงเกิลของแกเบรียลที่ขึ้นชาร์ตอันดับต่ำที่สุด และเป็นครั้งแรกที่พลาดจากชาร์ต ท็อป 40 ของสหราชอาณาจักร โดยอันดับสูงสุดคืออันดับที่ 43 และทำได้แค่เพียงติดท็อป 75 เป็นเวลา 1 สัปดาห์เท่านั้น โรเบิร์ต โอ คอนเนอร์ นักร้องและนักประพันธ์เพลงชาวอังกฤษ ได้นำเพลง "เท็นเยียส์ไทม์" ของแกเบรียล มาขับร้องใหม่ ลงในอัลบั้ม ดิสแตนซ์ และบรรจุลงในแผ่นซิงเกิล สเปนด์เดอะไนต์ ออกจำหน่ายเมื่อเดือนพฤศจิกายน..
ดู สหราชอาณาจักรและเท็นเยียส์ไทม์
เขื่อนอัสวาน
ื่อนอัสวาน เขื่อนอัสวาน (السد العالي as-Sad al-'Aly; Aswan Dam) เป็นเขื่อนขนาดใหญ่ของประเทศอียิปต์ สร้างโดยการสนับสนุนของสหภาพโซเวียต เป็นเขื่อนขนาดใหญ่อันดับ 2 ของโลก.
ดู สหราชอาณาจักรและเขื่อนอัสวาน
เขตวัลลูน
ตวัลลูน (Région wallonne; Wallonische Region; Wallonië) เรียกอีกอย่างว่า "วาโลเนีย" เป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของประเทศเบลเยียม ร่วมกับเขตฟลามส์และเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียมเหมือนในกรณีของเขตฟลามส์ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับชุมชนฟลามส์ นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมีประชาคมผู้ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือนามูร์ มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจากสหราชอาณาจักรในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 วัลลูนถือเป็นครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่าเขตฟลามส์อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เมืองหลวงของวาโลเนียตั้งอยู่ที่นามูร์ แต่เขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดนั้นคือลีแยฌ ส่วนเขตเทศบาลเดียวที่มีประชากรมากที่สุดคือ ชาร์เลอรัว เมืองใหญ่ต่างๆในวาโลเนียนั้นตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำซอมบร์ และแม่น้ำเมิส อันประกอบด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดกว่าสองในสามของเขต อันเป็นเขตอุตสาหกรรมในอดีตของเบลเยียม ด้านทิศเหนือนั้นเป็นที่ราบลุ่มภาคกลางของเบลเยียม ซึ่งเหมือนกับเขตฟลามส์ อันมีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเขตอาร์เดนน์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขาสลับอย่างหนาแน่น พรมแดนของเขตวัลลูนทางด้านเหนือนั้นติดกับเขตฟลามส์ และประเทศเนเธอร์แลนด์ ด้านใต้และตะวันตกจรดกับประเทศฝรั่งเศส ส่วนทิศตะวันออกนั้นติดกับประเทศเยอรมนี และประเทศลักเซมเบิร์ก.
เขตเวลา
ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.
เดอะบลิตซ์
อะบลิตซ์ (The Blitz) หมายถึงการทิ้งระเบิดเกือบทุกเมืองทั้งใหญ่และเล็กในสหราชอาณาจักรโดยนาซีเยอรมันอย่างหนักและต่อเนื่องในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.
เดอะบีเทิลส์
อะบีเทิลส์ (The Beatles) เป็นวงร็อกแอนด์โรลจากเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ในปี 1960 ประกอบด้วยสมาชิก ร้องนำและมือกีตาร์ จอห์น เลนนอน ร้องนำและมือเบสพอล แม็กคาร์ตนีย์ มือกีตาร์ จอร์จ แฮร์ริสัน และมือกลอง ริงโก สตาร์ บีเทิลส์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางให้เป็นวงร็อกที่มีอิทธิพลที่สุดแห่งยุคและเป็นหนึ่งในวงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในตอนเริ่มต้นแนวดนตรีของพวกเขาจะเป็นแบบสกิฟเฟิลและร็อกแอนด์โรล แต่ในเวลาต่อมาบีเทิลส์ก็ได้สรรค์สร้างแนวเพลงอีกหลากหลาย นับแต่ไปจนถึงไซเคเดลิก บางครั้งก็ผสมแนวดนตรีคลาสสิกหรือเครื่องดนตรีแบบอื่นๆ ด้วยกระแสนิยมของบีเทิลส์อย่างสูง จนถึงกลับเรียกกระแสเหล่านี้ว่า "บีเทิลมาเนีย" (Beatlemania) โดยเฉพาะในช่วงยุค 60 - 70 เดอะบีเทิลส์เริ่มสร้างชื่อเสียงจากเล่นคอนเสิร์ตในคลับที่ลิวเวอร์พูลและฮัมบูร์กในช่วง 3 ปีของ 1960 โดยมีเพลงฮิตที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกอย่าง "เลิฟมีดู" (Love Me Do) ในช่วงปลายปี 1962 พวกเขาได้ฉายา "เดอะแฟปโฟร์" (the Fab Four) ในขณะที่กระแสบีเทิลมาเนียก็เริ่มเกิดขึ้นมาพปีต่อมา และในช่วงก่อนปี 1964 พวกเขาก็ได้กลายมาเป็นไไแห่งวงการดนตรีนานาชาติ ไกลไปจนถึงตลาดเพลงป๊อปของสหรัฐอเมริกา ในปี 1965 เดอะบีเทิลส์ได้สร้างงานดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ชิ้นชเอกทั้งหของนวัตกรรมดนตรีและอิทธิพลทางดนตรีสมัยใหม่ เช่น Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt.
ดู สหราชอาณาจักรและเดอะบีเทิลส์
เดอะฮู
อะฮู (The Who) เป็นวงดนตรีร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 ได้รับการยอมรับ และมีอิทธิพลต่อวงการดนตรี มีชื่อเสียงในการแสดงสด สมาชิกสำคัญในวงประกอบด้วย พีท ทาวเซนด์ (กีตาร์), โรเจอร์ ดาลเทรย์ (ร้องนำ, ฮาร์โมนิกา), จอห์น เอนทวิสเทิล (เบส) และ คีธ มูน (กลอง).
เดอะซิมป์สันส์
อะซิมป์สันส์ (The Simpsons) เป็นรายการการ์ตูนซิตคอมในสหรัฐอเมริกา สร้างโดย แม็ตต์ เกรนิง สำหรับ บริษัทฟ็อกซ์บรอดแคสติง มีเนื้อเรื่องตลกเสียดสีวิถีชีวิตชนชั้นกลางของชาวอเมริกัน โดยผ่านตัวละครในครอบครัวคือ โฮเมอร์, มาร์จ, บาร์ต, ลิซา และ แม็กกี โดยมีเนื้อหาเกิดที่เมืองที่ชื่อ สปริงฟิลด์ ที่ถากถางมุมมองของสังคมมนุษย์ วัฒนธรรมอเมริกัน สังคมทั้งหมดและวงการโทรทัศน์ แนวความคิดเรื่องตัวละครเกิดจากเกรนิง ก่อนที่เขาจะนำไปสร้างขึ้นเป็นตอนสั้น ๆ โดยผู้สร้าง เจมส์ แอล.
ดู สหราชอาณาจักรและเดอะซิมป์สันส์
เดินอากาศไทย
ริษัท เดินอากาศไทย จำกัด (Thai Airways Company Limited ชื่อย่อ: บดท.; TAC) เป็นอดีตสายการบินแห่งชาติภายในประเทศไทย โดยทำการบินหลักที่ท่าอากาศยานดอนเมือง และมีคำขวัญว่า เพียงงีบหนึ่ง ก็ถึงแล้ว (Just a nap, you'll be there) ปัจจุบันโอนกิจการไปรวมกับการบินไทย เมื่อปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเดินอากาศไทย
เคมบริดจ์
มบริดจ์ (Cambridge) เป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร และเป็นศูนย์กลางการปกครองของเคมบริดจ์เชียร์ เมืองอยู่ห่างจากลอนดอนไปทางเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 80 กม.
เครือเจริญโภคภัณฑ์
รือเจริญโภคภัณฑ์ (Charoen Pokphand Group) ย่อเป็นซีพี เป็นกลุ่มธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีธุรกิจหลักคืออาหารและการเกษตรผ่านทางบริษัทลูก เจริญโภคภัณฑ์อาหาร หรือ CPF ซึ่งมีรายรับ 116.5 พันล้านบาท และกำไร 6.747 พันล้านบาท (ข้อมูลปี 2005) นอกจากธุรกิจการเกษตรแล้ว เครือเจริญโภคภัณฑ์ยังทำธุรกิจอื่นๆ อีกหลายชนิด เช่น ธุรกิจค้าปลีกร้านเซเว่น อีเลฟเว่น,ธุรกิจค้าส่งห้างแมคโคร, ธุรกิจโทรคมนาคมในบริษัททรู คอร์ปอเรชั่น เป็นต้น.
ดู สหราชอาณาจักรและเครือเจริญโภคภัณฑ์
เครื่องคิดเลข
็ดส่วน ที่สามารถดำเนินการทางเลขคณิตพื้นฐานได้ เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่มีจอภาพผลึกเหลวแบบดอตเมทริกซ์ เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์ มักเรียกโดยย่อว่า เครื่องคิดเลข หรือ เครื่องคำนวณ คือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับดำเนินการทางเลขคณิตพื้นฐานหรือซับซ้อน มักมีขนาดเล็ก พกพาได้ และราคาไม่แพง เครื่องคิดเลขสมัยใหม่พกพาสะดวกกว่าคอมพิวเตอร์เป็นส่วนมาก อย่างไรก็ตาม พีดีเอก็มีขนาดพอ ๆ กับเครื่องคิดเลขมือถือและอาจมีบทบาทเข้ามาแทนที่ เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์แบบโซลิดสเตตเครื่องแรกผลิตขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 ซึ่งสร้างโดยใช้หลักการของเครื่องมือคำนวณในประวัติศาสตร์ อย่างเช่นลูกคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อประมาณ 2000 ปีก่อนคริสตกาล และเครื่องคิดเลขเชิงกลที่ประดิษฐ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้น เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์มีพัฒนาการควบคู่ไปกับคอมพิวเตอร์แอนะล็อกในสมัยนั้น เครื่องคิดเลขขนาดกระเป๋าเริ่มจำหน่ายในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากหำอินเทลประดิษฐ์ไมโครโพรเซสเซอร์ชิ้นแรก (อินเทล 4004) ให้กับเครื่องคิดเลขของบิซซิคอม (Busicom) เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่มีหลากหลายแบบตั้งแต่ขนาดเท่าบัตรเครดิต ราคาถูก แจกฟรี ไปจนถึงขนาดตั้งโต๊ะ แข็งแรง มีเครื่องพิมพ์ในตัว เครื่องคิดเลขเป็นที่นิยมในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 เนื่องจากการคิดค้นวงจรรวมทำให้เครื่องคิดเลขมีขนาดเล็กลงและราคาถูกลง ในช่วงปลายทศวรรษนั้น ราคาของเครื่องคิดเลขก็ลดลงจนถึงระดับที่ประชาชนทั่วไปสามารถซื้อได้ และกลายเป็นเครื่องมือสามัญในโรงเรียน ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ย้อนไปจนถึงยูนิกซ์รุ่นแรก ๆ ก็บรรจุโปรแกรมคำนวณเลขมาด้วยอย่าง ดีซี (dc) และ ภาษาฮอก (hoc) และฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการคำนวณก็ถูกบรรจุลงในอุปกรณ์ประเภทพีดีเอแทบทุกชนิด นอกเหนือจากเครื่องคิดเลขสำหรับจุดประสงค์ทั่วไปแล้ว ก็ยังมีเครื่องคิดเลขที่ออกแบบมาเพื่อตลาดเฉพาะทาง ตัวอย่างเช่น เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์ที่บรรจุฟังก์ชันการคำนวณตรีโกณมิติและสถิติ เป็นต้น เครื่องคิดเลขบางชนิดก็สามารถประมวลพีชคณิตคอมพิวเตอร์ได้ เครื่องคิดเลขกราฟิกก็สามารถใช้วาดกราฟของฟังก์ชันที่นิยามบนเส้นจำนวนจริงหรือมิติที่สูงกว่าในปริภูมิแบบยุคลิดได้ ในปี..
ดู สหราชอาณาจักรและเครื่องคิดเลข
เคที เหลียง
หลียง เพ่ย์ชือ (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2530) หรือ เคที เหลียง (Katie Leung) เป็นนักแสดงสัญชาติสกอตแลนด์ มีเชื้อชาติฮ่องกง เป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์เรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์ในบทบาทของโช แชง.
ดู สหราชอาณาจักรและเคที เหลียง
เคเอฟซี
อฟซี (KFC) หรือ ไก่ทอดเคนทักกี (Kentucky Fried Chicken) เป็นภัตตาคารอาหารจานด่วนหลายสาขาที่เน้นอาหารประเภทไก่ทอดและมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่หลุยส์วิลล์ รัฐเคนทักกี สหรัฐอเมริกา เคเอฟซีเป็นภัตตาคารหลายสาขาที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากแมคโดนัลด์ ด้วยจำนวนร้าน 18,875 ร้านใน 118 ประเทศนับถึงเดือนธันวาคม..
เซก้า
ซก้า (Sega; セガ.) เป็นบริษัทผลิตวิดีโอเกมทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สัญชาติญี่ปุ่น เดิมทีเซก้าทำธุรกิจทั้งเกมคอนโซลและเกมอาเขต แต่หลังจาก ค.ศ.
เซลีน ดิออน
ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com.
ดู สหราชอาณาจักรและเซลีน ดิออน
เซอร์รีย์
เซอร์รีย์ (Surrey) คือ มณฑลหนึ่งทางตอนใต้ของสหราชอาณาจักร เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ มีอาณาเขตติดต่อกับมณฑลบาร์คเชอร์ เกรตเตอร์ลอนดอน (Greater London) แฮมป์เชอร์ เค้นท์ อีสต์ซัสเซกซ์ และเวสต์ซัสเซกซ์ เมืองเอกคือกิลด์ฟอร์ด หมวดหมู่:สหราชอาณาจักร หมวดหมู่:เซอร์รีย์.
เซคันด์ไลฟ์
ซคันด์ไลฟ์ (Second Life: SL) เป็นโลกเสมือนบนอินเทอร์เน็ต เริ่มให้บริการเมื่อราว พ.ศ. 2546 พัฒนาโดยบริษัทลินเดนรีเสิร์ช (นิยมเรียกกันว่า ลินเดนแล็บ) และได้รับความสนใจในทางสากลผ่านสื่อข่าวเป็นกระแสหลักในช่วงปลายปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเซคันด์ไลฟ์
เซนต์เฮเลนา
ซนต์เฮเลนา เป็นเกาะภูเขาไฟและอยู่ในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักร อยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะใกล้เคียงก็อยู่ในเครือจักรภพเช่นกัน ทั้งเกาะแอสเซนซันและตริสตัน ดา กุนญา เซนต์เฮเลนาเป็นที่รู้จักเมื่อครั้งที่จักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ตแห่งฝรั่งเศส ถูกเนรเทศไปที่เกาะนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและเซนต์เฮเลนา
เซ็กซ์พิสทอลส์
ซ็กซ์ พิสทอลส์ (Sex Pistols) เป็นวงแนวพังค์ร็อกจากประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นในลอนดอน ในปี ค.ศ. 1975 พวกเขาเป็นพวกริเริ่มการเคลื่อนไหวพังค์เข้ามาใน สหราชอาณาจักร และเป็นแรงบันดาลใจให้แก่พังค์และนักร้องแนวเพลงอัลเทอร์เนทีฟ ถึงแม้ว่าวงเซ็กซ์ พิสทอลส์จะทำงานได้แค่ 2 ปีครึ่ง และออกจัดจำหน่ายเพลงออกมาได้ สี่ ซิงเกิ้ลและ หนึ่งสตูดิโออัลบั้ม Never Mind the Bollocks, Here's the Sex Pistols, พวกเขายังได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ที่มีอิทธิพลมากในประวัติศาสตร์ของ เพลงสมัยนิยม.
ดู สหราชอาณาจักรและเซ็กซ์พิสทอลส์
เนชั่นแนลจีโอกราฟิกแชนแนล
นชั่นแนล จีโอกราฟิก แชนแนล (National Geographic Channel) เป็นช่องรายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศสารคดีต่างๆ จาก National Geographic Society และรายการสารคดีอื่นๆ ที่คล้าย ดิสคัฟเวอรี่ แชนแนล ดังเช่น ธรรมชาติ, วิทยาศาสตร์ และประวัติศาสตร.
ดู สหราชอาณาจักรและเนชั่นแนลจีโอกราฟิกแชนแนล
เนกิ สปริงฟิลด์
นกิ สปริงฟิลด์เค็ง อะกะมะสึ; 2551, 31 ตุลาคม: 168-169 (Negi Springfield) เป็นตัวละครเอกจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง คุณครูจอมเวท เนกิมะ!.
ดู สหราชอาณาจักรและเนกิ สปริงฟิลด์
เนสซี
รคดี เนสซี หรือ สัตว์ประหลาดล็อกเนสส์ (Nessie, Loch Ness Monster) คือสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่เชื่อว่าอาศัยอยู่ในทะเลสาบเนสส์ (ล็อกเนสส์) ในสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร.
เนโท
องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..
Dr. Strangelove
Dr.
ดู สหราชอาณาจักรและDr. Strangelove
GB
GB อาจหมายถึง.
Ghost in the Shell 2: Innocence
Ghost in the Shell 2: Innocence เป็นภาพยนตร์อะนิเมะภาคต่อของ Ghost in the Shell เข้าฉายในญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 2004 ในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่17 กันยายน ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและGhost in the Shell 2: Innocence
ISO 4217
ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.
M
M (ตัวใหญ่:M ตัวเล็ก:m) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 13.
.il
.il เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศอิสราเอล เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2528 ดูแลโดยสมาคมอินเทอร์เน็ตแห่งอิสราเอล อิสราเอลเป็นประเทศที่สามที่ได้จดทะเบียนโดเมนอินเทอร์เน็ตต่อจากสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ที่ได้จดทะเบียนในปีเดียวกัน.
.uk
.uk เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับสหราชอาณาจักร เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2528.
1 กรกฎาคม
วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.
1 มกราคม
วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).
1 สิงหาคม
วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.
1 ธันวาคม
วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.
10 พฤษภาคม
วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.
10 กรกฎาคม
วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันที่ 191 ของปี (วันที่ 192 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 174 วันในปีนั้น.
10 มิถุนายน
วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ10 มิถุนายน
11 พฤศจิกายน
วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ11 พฤศจิกายน
11 มิถุนายน
วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ11 มิถุนายน
11 สิงหาคม
วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.
12 พฤษภาคม
วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.
12 กันยายน
วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.
12 เมษายน
วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.
13 ตุลาคม
วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.
14 พฤศจิกายน
วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ14 พฤศจิกายน
15 มิถุนายน
วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ15 มิถุนายน
16 สิงหาคม
วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.
17 กรกฎาคม
วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.
18 พฤษภาคม
วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.
18 มิถุนายน
วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ18 มิถุนายน
18 ตุลาคม
วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.
18 เมษายน
วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.
19 มีนาคม
วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.
19 ธันวาคม
วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.
2 มิถุนายน
วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.
2 เมษายน
วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.
20 ตุลาคม
วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.
2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์)
2001 จอมจักรวาล (2001: A Space Odyssey) เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากนิยายวิทยาศาสตร์ในชุด จอมจักรวาล ของ อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก เรื่อง 2001 จอมจักรวาล เกี่ยวกับการเดินทางไปยังดาวเสาร์ของมนุษย์ในปี ค.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและ2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์)
21 เมษายน
วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.
22 มกราคม
วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).
24 พฤศจิกายน
วันที่ 24 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 328 ของปี (วันที่ 329 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 37 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ24 พฤศจิกายน
24 พฤษภาคม
วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.
24 ธันวาคม
วันที่ 24 ธันวาคม เป็นวันที่ 358 ของปี (วันที่ 359 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 7 วันในปีนั้น.
24 ตุลาคม
วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.
25 กันยายน
วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.
26 กันยายน
วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.
27 พฤศจิกายน
วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ27 พฤศจิกายน
27 กรกฎาคม
วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.
29 กุมภาพันธ์
วันที่ 29 กุมภาพันธ์ เรียกวันนี้ว่าเป็นวัน อธิกวาร (leap day) ในเกรกอเรียน ปี..
ดู สหราชอาณาจักรและ29 กุมภาพันธ์
29 มิถุนายน
วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ29 มิถุนายน
29 มีนาคม
วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.
3 มิถุนายน
วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.
30 มกราคม
วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).
30 สิงหาคม
วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.
30 เซ็นต์แมรีแอกซ์
ตึก 30 เซ็นต์แมรีแอกซ์ ด้วยความสูง 180 เมตร ทำให้เป็นตึกที่สูงอันดับ 6 ในลอนดอน 30 เซ็นต์แมรีแอกซ์ (30 St Mary Axe) ตึกระฟ้าในนครลอนดอน สหราชอาณาจักร สูง 180 เมตร (590 ฟุต) ออกแบบโดย นอร์มัน ฟอสเตอร์ และคู่หู เคน ชัตเติลเวิร์ธ ตึก 30 เซ็นต์แมรีแอกซ์ รู้จักกันในชื่อของ Swiss Re Tower ตามชื่อของบริษัท Swiss Re บริษัทประกันภัยชั้นนำของโลกที่เป็นเจ้าของพื้นที่ส่วนใหญ่ในตึก และรู้จักในชื่อไม่เป็นทางการว่า เกอร์คิน (Gherkin) ซึ่งเป็นแตงกวาประเภทหนึ่งตามรูปทรงของตัวตึก ตัวอาคารออกแบบโดยบริษัทสถาปนิก ฟอสเตอร์แอนด์พาร์ตเนอร์ส โดยออกแบบในลักษณะรูปทรงโคนเพื่อให้ลู่ลม ก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ.
ดู สหราชอาณาจักรและ30 เซ็นต์แมรีแอกซ์
4 พฤษภาคม
วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.
4 มิถุนายน
วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.
4 สิงหาคม
วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.
5 พฤษภาคม
วันที่ 5 พฤษภาคม เป็นวันที่ 125 ของปี (วันที่ 126 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 240 วันในปีนั้น.
5 มิถุนายน
วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.
5 สิงหาคม
วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.
5 เมษายน
วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.
6 กรกฎาคม
วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.
6 กุมภาพันธ์
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู สหราชอาณาจักรและ6 กุมภาพันธ์
6 สิงหาคม
วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.
7 พฤศจิกายน
วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.
ดู สหราชอาณาจักรและ7 พฤศจิกายน
7 กรกฎาคม
วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น.
7 มิถุนายน
วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.
8 เมษายน
วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.
9 กรกฎาคม
วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ U.K.UKUnited KingdomUnited Kingdom of Great Britain and Northern Irelandสหราชอาณาจักรอังกฤษสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือสหราชอาณาจักรเกรตบริเตนและนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ประเทศสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ
พ.ศ. 2500พ.ศ. 2503พ.ศ. 2505พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2513พ.ศ. 2515พ.ศ. 2518พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2527พ.ศ. 2530พ.ศ. 2533พ.ศ. 2540พ.ศ. 2544พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พรรคประชาธิปัตย์พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชพิธีพัชราภิเษกพระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)พระราชวังบางปะอินพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชพระสยามเทวาธิราชพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพอล แอร์ดิชพอลล่า เทเลอร์พอลแซ็ธพังก์ร็อกพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพาราเซตามอลพาที สารสินพิพิธภัณฑ์บริติชพิธีสารมอนทรีออลพีซออฟมีพนมเปญกบฏนักมวยกฎบัตรสหประชาชาติกฎบัตรแอตแลนติกกรุงเทพมหานครกรีฑาสถานแห่งชาติกรณ์ จาติกวณิชกรดโฟลิกกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มรัสเซลกลุ่มดาวหมีใหญ่กวินเน็ธ พัลโทรว์กอร์โดบา (ประเทศสเปน)กอล์ฟกองทัพอากาศมาเลเซียกองทัพแดงกองทัพเรือไทยกัลยา โสภณพนิชกากบาทเขียวกาญจนา นาคสกุลกาฐมาณฑุการบุกครองนอร์ม็องดีการรับรู้รสการลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรปการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการคูณการปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอเมริกาการปฏิเสธโรงเรียนการประชุมเอเชีย–ยุโรปการประกวดเพลงยูโรวิชันการประกาศสงครามการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมการ์ตูนเน็ตเวิร์คการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์การเปรียบเทียบซีดีรวบรวมซอฟต์แวร์ฟรีกาดิซกาแฟกำจัดจุดอ่อนกำแพงแห่งแอตแลนติกกิโยตีนกูเกิลกีฬามหาวิทยาลัยโลกกีฬาโอลิมปิกกีฬาเบสบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนก็อดเซฟเดอะควีนฐานันดรศักดิ์ยุโรปฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาบัลแกเรียภาษาพม่าภาษาฝรั่งเศสภาษายิดดิชภาษาศาสตร์ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้างภาษาสินธีภาษาสิเลฏีภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาจีนกวางตุ้งภาษาคุชราตภาษาตุรกีภาษาโภชปุรีภาษาโปแลนด์ภูเขาไฟกรากะตัวมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหาวิทยาลัยกลาสโกว์มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ คาเลโดเนียนมหาวิทยาลัยลอนดอนมหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนมหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์มหาวิทยาลัยเอดินบะระมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มหาสมุทรอินเดียมหาตมา คานธีมอร์ฟีนมาม่ามารายห์ แครีมาร์กาเรต แทตเชอร์มาทิลดา เอ็มเค Iมาทิลดา เอ็มเค IIมาดริดมาเรียแห่งเท็คมาเลเซียแอร์ไลน์มาเลเซียเชื้อสายไทยมิสไทยแลนด์เวิลด์มิสเวิลด์มิคามินสค์มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรักยาปฏิชีวนะยาเม็ดคุมกำเนิดยิบรอลตาร์ยุทธการที่ทะเลสาบอีรียุโรปตะวันตกยูโรยูเนียนแจ็กระเบิดพลาสติกรัชดา ธนาดิเรกรัฐมนตรีรัฐมนตรีวงในรัฐสภารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรัฐปะลิสราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนดอนราชวงศ์วินด์เซอร์ราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชวงศ์โกนบองราชอาณาจักรราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรปรัสเซียราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่ารายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อผลงานอัลบั้มเพลงของเดอะคอรร์สรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อนามสกุลที่ใช้กันมากรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายชื่อเขตการปกครองรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีรายการสาขาวิชารายการโทรทัศน์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรถถังพันเทอร์รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษรถไฟใต้ดินลอนดอนร็อกลอราตาดีนลอสท์โพรเฟ็ทส์ลอนดอนลอนดอน (แก้ความกำกวม)ลาสต์.เอฟเอ็มลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักรลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักรลิงคอล์นลูกบาศก์มรณะลี ไรอันล็อกเกอร์บีวัลลภ สุระกำพลธรวันพ่อวันจันทร์ทมิฬวันครูวันเอกราชวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วิวัฒนาการวิวัฒนาการของมนุษย์วิศวกรรมศาสตร์วิทยา มีวุฒิสมวิทยาการคอมพิวเตอร์วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวรวิคเกอร์-6 ตันวินนี่-เดอะ-พูห์วีระชัย แนวบุญเนียรสกา (แนวดนตรี)สกินเฮดสมาคมบาลีปกรณ์สมเกียรติ อ่อนวิมลสมเถา สุจริตกุลสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดินสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุกสมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีนสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสรรเสริญพระบารมีสรุปเหรียญรางวัลโอลิมปิกตลอดกาลสหภาพโซเวียตสหรัฐสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สหประชาชาติสะพานมาร์โลว์สะพานมิลเลนเนียมสังคมวิทยาสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาสารานุกรมบริตานิกาสำนักข่าวไทยสิทธิบัตรซอฟต์แวร์สิงคโปร์แอร์ไลน์สี่สหายผจญภัยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซียสถานีอวกาศนานาชาติสถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันประจำประเทศไทยสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทยสงครามอิรักสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน)สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสตาร์บัคส์สตีเฟน ฮอว์กิงสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกสนธิสัญญาเบาว์ริงสแวร์อิทอะเกนสแตตินสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันสไปซ์เกิลส์สเตรปโตมัยซินสเตเดียมออฟไลต์หมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดหมู่เกาะบริติชเวอร์จินหมู่เกาะพิตแคร์นหมู่เกาะโซโลมอนหมีเท็ดดี้หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์หม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หอดูดาวหอนาฬิกาอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอภินิหารตำนานแห่งนาร์เนีย ตอน ราชสีห์ แม่มด กับตู้พิศวงออลเทอร์นาทิฟร็อกอองซานอองซาน ซูจีอะลาวด์อัสทูบีแฟรงค์อะคล็อกเวิร์กออรินจ์อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์อัลโด ฟัน ไอก์อัสตานาอังกฤษ (แก้ความกำกวม)อันเบรคเอเบิลเดอะเกรเทสฮิต ชุดที่ 1อันเนอ ฟรังค์อาร์ชี ปัญจาบีอาร์เอ็มเอส ไททานิกอาร์เธอร์ ซี. คลาร์กอาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์อาหารอาณาจักรอาณาจักรอาหมอานันท์ ปันยารชุนอาโกรุญญาอาเคินอิลดีโวอินดี้ร็อกอุณหพลศาสตร์อีนิด ไบลตันอีนิแอกอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อนุสัญญาแรมซาร์อนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลอเล็กซานเดอร์ เฟลมมิงฮอลแลนด์ (แก้ความกำกวม)ฮัล อแจทฮาร์ดแวร์ฮ่องกงฌอน คอนเนอรีผู้ช่วยศาสตราจารย์ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจรวดสกายลาร์กจอร์จ มาร์แชลล์จอห์น ควินซี แอดัมส์จอห์น แอดัมส์จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์จอน อึ๊งภากรณ์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรวรรดิบริติชจักรวรรดินิยมจักรวรรดินิยมในเอเชียจามีเลียจารกรรมจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จูดี การ์แลนด์จี7จีนโพ้นทะเลธรรมชาติวิทยาธานินทร์ กรัยวิเชียรธุรกิจแบบพีระมิดธงชาติธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีธงชาติฟีจีธงชาติพม่าธงชาติศรีลังกาธงชาติสหรัฐธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ธงชาติอังกฤษธงชาติคิริบาสธงชาติตองงาธงชาตินอร์เทิร์นไอร์แลนด์ธงชาติแองกวิลลาธงชาติไทยธงชาติเซนต์ลูเชียธงนีวเวธงเซนต์เฮเลนาธนาคารกสิกรไทยธนาคารแห่งประเทศจีนทบิลีซีทวีปยุโรปทวีปอเมริกาเหนือทวีปแอนตาร์กติกาทหารเรือทอมัส คาร์ลีลย์ทางยกระดับทางด่วนทิม เบอร์เนิร์ส-ลีทิโมธี ดาลตันทุกหัวใจมีรักทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีที่ดินบราวน์ฟิลด์ทีเชิร์ตท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานลอนดอนซิตีท่าอากาศยานนิวคาสเซิลขบวนการอุทยานนครขีปนาวุธข้ามทวีปดยุกแห่งคอร์นวอลล์ดยุกแห่งเอดินบะระดันดีดิสคัฟเวอรีทราเวลแอนด์ลีฟวิงดิออบเซิร์ฟเวอร์ดูไบครัมเป็ตคริสเตียน เบลครุยเซอร์ เอ็มเค 2ครุยเซอร์ เอ็มเค Iครุยเซอร์ เอ็มเค IIIครุยเซอร์ เอ็มเค IVครุยเซอร์ เอ็มเค VIII ชาลเลนเจอร์คลอแรมเฟนิคอลความถี่วิทยุความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคอบร้าโกลด์คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ตคอนเสิร์ตไลฟ์เอทคักกุโระคาบสมุทรไอบีเรียคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลคาร์ล มากซ์คำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคุกกี้คุณพุ่ม เจนเซนคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติคณะองคมนตรีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยค็อทบุสงามพรรณ เวชชาชีวะงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ตราประทับตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีตราแผ่นดินของญี่ปุ่นตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จินตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ตำนานชีวิตดาร์เรน แชนตำนานแห่งนาร์เนียตู้ไปรษณีย์ต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์)ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซามูไรซานเซบัสเตียนซิกมุนด์ ฟรอยด์ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)ซูสีไทเฮาซี-130 เฮอร์คิวลิสซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3ซีลีคอกซิบปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดนปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549ประชาธิปไตยประชาธิปไตยเสรีนิยมประมุขแห่งรัฐประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานประวัติศาสตร์อังกฤษประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ตประวัติศาสตร์ตองงาประเทศประเทศบรูไนประเทศบอตสวานาประเทศบังกลาเทศประเทศบาร์เบโดสประเทศบาห์เรนประเทศบาฮามาสประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟินแลนด์ประเทศฟีจีประเทศพม่าประเทศกรีซประเทศกายอานาประเทศกาตาร์ประเทศกานาประเทศฝรั่งเศสประเทศมอริเชียสประเทศมอลตาประเทศมัลดีฟส์ประเทศมาลาวีประเทศมาเลเซียประเทศยูกันดาประเทศลาวประเทศวานูอาตูประเทศศรีลังกาประเทศสกอตแลนด์ประเทศสิงคโปร์ประเทศออสเตรเลียประเทศอัฟกานิสถานประเทศอังกฤษประเทศอาร์มีเนียประเทศอาร์เจนตินาประเทศอิรักประเทศอินเดียประเทศอียิปต์ประเทศจอร์แดนประเทศจาเมกาประเทศดอมินีกาประเทศคอซอวอประเทศคิริบาสประเทศคูเวตประเทศตรินิแดดและโตเบโกประเทศตองงาประเทศตูวาลูประเทศซูดานประเทศปากีสถานประเทศปาปัวนิวกินีประเทศนอร์เวย์ประเทศนาอูรูประเทศนิวซีแลนด์ประเทศแกมเบียประเทศแอฟริกาใต้ประเทศแอนติกาและบาร์บูดาประเทศแทนซาเนียประเทศแคนาดาประเทศแคเมอรูนประเทศแซมเบียประเทศโอมานประเทศโซมาเลียประเทศโปรตุเกสประเทศไอร์แลนด์ประเทศไอซ์แลนด์ประเทศไซปรัสประเทศไนจีเรียประเทศเบลีซประเทศเกรเนดาประเทศเลโซโทประเทศเวลส์ประเทศเอสวาตีนีประเทศเคนยาประเทศเซียร์ราลีโอนประเทศเซนต์ลูเชียประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสประเทศเซเชลส์ประเทศเนปาลประเทศเนเธอร์แลนด์ปราสาทเดอรัมปอนด์ต่อตารางนิ้วปิโตรเลียมปุรันทาร สิงห์ป็อปป้อมพระจุลจอมเกล้าป๋วย อึ๊งภากรณ์นพวรรณ เลิศชีวกานต์นการากูนักวิทยุสมัครเล่นนักเรียนนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรนาริตะนาซีเยอรมนีนิราศลอนดอนนิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์นิวเวฟนิวเดลีนีโอนาซีนโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้นน้ำมันปาล์มแบล็กเอาต์ (อัลบั้มบริตนีย์ สเปียรส์)แบงก์ซี่แบ็กโฮมแมรี เชลลีย์แมนเชสเตอร์แรนิทิดีนแลบราดอร์ริทรีฟเวอร์แสตมป์แสตมป์ทั่วไปแอลัน ทัวริงแอนดรูว์ แจ็กสันแอนเดรีย คอรร์แอ็บบาแอเบอร์ดีนแฮร์รี่ พอตเตอร์แผ่นดินของเรา (เพลงพระราชนิพนธ์)แทมมารีน ธนสุกาญจน์แทรชเมทัลแท็บลอยด์แดเนียล เคร็กแคริบเบียนแคว้นอันดาลูซิอาแคะแคทรียา อิงลิชใจ อึ๊งภากรณ์โบโกตาโพรโตพังก์โพสต์พังก์โรบอตบอยโรมโรงละครครูซิเบิลโรงแรมโรเจอร์ มัวร์โรเจอร์ เฟเดอเรอร์โลกวิไลซ์โลกาภิวัตน์โลตัสโอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูร้อน 1908โอลิมปิกฤดูร้อน 1948โอลิมปิกฤดูร้อน 2000โอลิมปิกฤดูร้อน 2012โอลิมปิกฤดูร้อน 2016โอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน)โฮม (อัลบั้มเดอะคอรร์ส)โฮม (เพลงไมเคิล บูเบล)โจนาธาน ไอฟ์โจเซฟ แพกซ์ตันโทนี แบลร์โครงการจีโนมมนุษย์โครงการแมนฮัตตันโคลด์เพลย์โคสท์ทูโคสท์โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์โซมาลีแลนด์โซนี่โมบายล์โปเกมอนไฟนอลแฟนตาซี IXไฟนอลแฟนตาซี VII: แอดเวนต์ชิลเดรนไพบูลย์ วัฒนศิริธรรมไพรม์ไทม์ไพรัช ธัชยพงษ์ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณไมโครนีเซีย (ภูมิภาค)ไมเคิล แจ็กสันไลฟ์อินเมมฟิสไอร์แลนด์เหนือไอล์ออฟบิวตี ไอล์ออฟสเปลนเดอร์ไอล์ออฟแมนไอโฟนไฮสกูลไฮโดรโคโดนไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไทยเชื้อสายจีนไขศรี ภักดิ์สุขเจริญไดไฮโดรโคดีอีนเบชวานาแลนด์เบลแอนด์เซบาสเตียงเบอร์มิวดาเบอร์มิงแฮมเบอร์ลินเบอร์ลินตะวันตกเชอร์ล็อก โฮมส์เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์เบอร์เซิร์กเชาวน์ดิศ อัศวกุลเชน วอร์ดเฟรดเดอริค สก็อต อาร์เชอร์เฟรนช์คอนเนกชันเพลงชาติเพลงเกียรติยศเกาะไอร์แลนด์เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชเภสัชกรเมลียาเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเรฟเรือบรรทุกอากาศยานเรือดำน้ำเร็กเกเรเดียนเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือเลดีโรส กิลแมนเลโก้เวลามาตรฐานกรีนิชเวลาสากลเวลาสากลเชิงพิกัดเวสท์ไลฟ์ (อัลบั้ม)เวสต์แบงก์เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์เวิลด์ออฟอาวเวอร์โอนเศรษฐศาสตร์เสน่ห์ จามริกเหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548เอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์เอฟวี433 แอ็บบอท เอสพีจีเอฟเอชเอ็มเอลตัน จอห์นเอิร์ทเอียน เฟลมมิงเอดินบะระเอดเวิร์ด เจนเนอร์เอนยาเอไอเอ็ม-120 แอมแรมเอ็กซิเตอร์เอ็มเค IV เชอร์ชิลล์เอเชียนเกมส์เอเชียนเกมส์ 1954เฮฟวีเมทัลเฮลทูเบอร์มิวดาเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจมส์ บรูกเจมส์ วัตต์เจมส์ เฮอร์เรียตเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์เจอร์ซีย์เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอนเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์กเจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวีเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์กเทกกิงแชนเซสเทกกิงแชนเซส (เพลง)เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์เทสโก้ โลตัสเทนนิสวิมเบิลดันเท็นเยียส์ไทม์เขื่อนอัสวานเขตวัลลูนเขตเวลาเดอะบลิตซ์เดอะบีเทิลส์เดอะฮูเดอะซิมป์สันส์เดินอากาศไทยเคมบริดจ์เครือเจริญโภคภัณฑ์เครื่องคิดเลขเคที เหลียงเคเอฟซีเซก้าเซลีน ดิออนเซอร์รีย์เซคันด์ไลฟ์เซนต์เฮเลนาเซ็กซ์พิสทอลส์เนชั่นแนลจีโอกราฟิกแชนแนลเนกิ สปริงฟิลด์เนสซีเนโทDr. StrangeloveGBGhost in the Shell 2: InnocenceISO 4217M.il.uk1 กรกฎาคม1 มกราคม1 สิงหาคม1 ธันวาคม10 พฤษภาคม10 กรกฎาคม10 มิถุนายน11 พฤศจิกายน11 มิถุนายน11 สิงหาคม12 พฤษภาคม12 กันยายน12 เมษายน13 ตุลาคม14 พฤศจิกายน15 มิถุนายน16 สิงหาคม17 กรกฎาคม18 พฤษภาคม18 มิถุนายน18 ตุลาคม18 เมษายน19 มีนาคม19 ธันวาคม2 มิถุนายน2 เมษายน20 ตุลาคม2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์)21 เมษายน22 มกราคม24 พฤศจิกายน24 พฤษภาคม24 ธันวาคม24 ตุลาคม25 กันยายน26 กันยายน27 พฤศจิกายน27 กรกฎาคม29 กุมภาพันธ์29 มิถุนายน29 มีนาคม3 มิถุนายน30 มกราคม30 สิงหาคม30 เซ็นต์แมรีแอกซ์4 พฤษภาคม4 มิถุนายน4 สิงหาคม5 พฤษภาคม5 มิถุนายน5 สิงหาคม5 เมษายน6 กรกฎาคม6 กุมภาพันธ์6 สิงหาคม7 พฤศจิกายน7 กรกฎาคม7 มิถุนายน8 เมษายน9 กรกฎาคม