โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวกะเหรี่ยง

ดัชนี ชาวกะเหรี่ยง

กะเหรี่ยง, กาเรน, กายิน, หรือคนยาง (ကရင်လူမျိုး,; กะเหรี่ยง) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง มีภาษาพูดเรียกว่าภาษากะเหรี่ยง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อาศัยอยู่มากในรัฐกะเหรี่ยง ภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า กะเหรี่ยงมีประชากรประมาณร้อยละ 7 ของประชากรชาวพม่าทั้งหมด หรือประมาณ 5 ล้านคน ชาวกะเหรี่ยงจำนวนมากอพยพไปอยู่ในประเทศไทย ส่วนใหญ่อาศัยตามแนวชายแดนไทยพม่า กลุ่มกะเหรี่ยงมักจะสับสนกับ กะยันชนเผ่าที่รู้จักกันดีสำหรับแหวนคอสวมใส่โดยผู้หญิงของพวกเขา แต่พวกเขาเป็นเพียงหนึ่งในกลุ่มย่อยของกะเหรี่ยงแดง (คะเรนนี) ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าคะยาในรัฐกะยาของพม่า บางส่วนของชาวกะเหรี่ยงนำโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) ได้เข้าร่วมสงครามต่อต้านรัฐบาลพม่าตั้งแต่ต้นปี 1949 จุดมุ่งหมายของเคเอ็นยูครั้งแรกเพื่อแยกเป็นอิสระ ตั้งแต่ปี 1976 กลุ่มติดอาวุธได้เรียกร้องรัฐบาลกลางในการปกครองตนเองมากกว่าการที่จะแยกเป็นอิสร.

98 ความสัมพันธ์: ชงโคบ้านหัวฝายบ้านค้างภิบาลฟักเขียวฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์พม่าตอนล่างพรรคสหแนวร่วมมอญพระเจ้าอินทวิชยานนท์พะสิมพะโคกระแซกองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธกะเหรี่ยง (แก้ความกำกวม)ภาษายินเชียภูมิศาสตร์ไทยมยองเมียะมะแว้งนกมือปืน 2 สาละวินย่างกุ้งรัฐชานรัฐกะยารัฐกะเหรี่ยงรัฐมอญราชพฤกษ์รายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมารายการแหล่งมรดกโลกในประเทศไทยล้านนาไท 57 เมืองวัดพระบรมธาตุ (จังหวัดกำแพงเพชร)วัดวังก์วิเวการามวัดจันทร์วารีกุญชรศาสนาพุทธในประเทศพม่าสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงสิทธิชนพื้นเมืองหญ้าแพรกอาวุธปืนในเพชรพระอุมาอำเภอกัลยาณิวัฒนาอำเภอฝางอำเภอสามชุกอำเภอท่ายางอำเภอปายอำเภอแม่สะเรียงองค์กรป้องกันแห่งชาติกะเหรี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลโป่งน้ำร้อนผักแว่นผักโขมหนามผ้าไทยจอมพรานจอห์น อิสรัมย์จังหวัดกาญจนบุรี...จังหวัดราชบุรีจังหวัดลำพูนจังหวัดแม่ฮ่องสอนจังหวัดเชียงรายธงชาติพม่าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105ข่อยข้าวโพดดงมรณะด่านเจดีย์สามองค์ครูบาศรีวิชัยความขัดแย้งภายในพม่าคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่าค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาตองอูตำลึงต้นไม้เงินต้นไม้ทองปกาเกอะญอปยีนมะนาประเทศพม่าปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ปลาตูหนานครเชียงใหม่แรมโบ้ 4 นักรบพันธุ์เดือดแป้งพม่าโรงเรียนแม่ทาวิทยาคมไพรมหากาฬไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรีเพชรพระอุมาเพกาเมะทีลาเมาะลำเลิงเมาะตะมะเมืองยองเสือสมิงเหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554เอื้องหมายนาเอคโค่ จิ๋วก้องโลกเขตพะโคเขตมะเกวเขตมัณฑะเลย์เขตย่างกุ้งเขตอิรวดีเขตตะนาวศรีเด็กโต๋เนื้อเรื่องเพชรพระอุมา ขยายดัชนี (48 มากกว่า) »

ชงโค

งโค มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของประเทศจีนรวมถึงฮ่องกงและทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ดังนี้: ชงโค เสี้ยวเลื่อย (ภาคใต้), เสี้ยวดอกแดง (ภาคเหนือ), เสี้ยวหวาน (แม่ฮ่องสอน) กะเฮอ สะเปซี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ในสหรัฐอเมริกานิยมปลูกกันที่รัฐฮาวาย, รัฐแคลิฟอร์เนีย, ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐฟลอริดา และทางตอนใต้ของรัฐเทกซัส ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายที่ระบายน้ำดี มีความชื้นสูง.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและชงโค · ดูเพิ่มเติม »

บ้านหัวฝาย

้านหัวฝาย เป็นบ้าน หมู่ที่ ๒ ตั้งอยู่ในตำบลพระธาตุผาแดง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและบ้านหัวฝาย · ดูเพิ่มเติม »

บ้านค้างภิบาล

้านค้างภิบาล เป็นบ้าน หมู่ที่ 1 ตั้งอยู่ในตำบลพระธาตุผาแดง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและบ้านค้างภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ฟักเขียว

ฟักเขียว หรือ ฟักแฟง (winter melon) หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า "ฟัก" เป็นผักพื้นบ้านพืชล้มลุกจำพวกไม้เถาตระกูลแตงลำ ใบสีเขียวลักษณะหยักหยาบ ดอกมีสีเหลือง ผลกลมยาวมีนวลขาว ปลูกกันมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชียใต้.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและฟักเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์

ฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์ มีชื่อจริงว่า สุรศักดิ์ มะกอแด เกิดที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชาวไทยภูเขาเชื้อสายกะเหรี่ยง ฟ้าใส เป็นนักมวยหมัดหนัก แต่มีจุดอ่อนคือ ออกหมัดช้า เคยติดอันดับรองแชมป์โลกอันดับ 3 มีโอกาสขึ้นชกกับมาร์ติน ออนอริโอ รองอันดับ 4 ชาวฟิลิปปินส์ เพื่อหาผู้ชนะไปชิงแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์ไลต์เวต สหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) ภาคบังคับกับฮวน คาร์ลอส ซัลกาโด (เจ้าของตำแหน่งชาวเม็กซิกัน ณ เวลานั้น) เมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 ผลปรากฏว่าฟ้าใสเป็นฝ่ายแพ้คะแนนลงมาอย่างไม่เป็นเอกฉันท์ 2-1 เสียง ทำให้พลาดโอกาสชิงแชมป์โลกไปอย่างน่าเสียดาย ถึงแม้ต่อมา ฟ้าใสจะไม่เคยชิงหรือป้องกันแชมป์ย่อยของสถาบัน IBF อีกเลย และยังเบนเข็มไปชิงแชมป์ย่อยสถาบันสภามวยโลก (WBC) อีก แต่กลับไม่หลุดไปจากอันดับของ IBF มิหนำซ้ำอันดับกลับขยับขึ้นจากอันดับ 9 ขึ้นมาอยู่อันดับ 5 อีก ต่อมา ฟ้าใสยังได้รับโอกาสอีกครั้งเมื่อได้พบกับ แรนเซส บาร์เตเลมี รองแชมป์อันดับ 2 ชาวคิวบา ในวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 (ตรงกับเช้าวันเสาร์ 22 มิถุนายน ตามเวลาในประเทศไทย) ที่สังเวียนมวยคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองมินนิแอโปลิส รัฐมินนิโซตา สหรัฐอเมริกา โดยผู้ชนะจะขึ้นเป็๋นรองแชมป์โลกอันดับ 1 เพื่อรอชิงแชมป์โลกในภาคบังคับกับ อาร์เกนิส เมนเดซ แชมป์โลกชาวโดมินิกันต่อไป ผลการชกปรากฏว่า ฟ้าใสเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปเพียงยกที่ 2 เท่านั้นเมื่อเป็นฝ่ายโดนหมัดตัดลำตัวเข้าที่ชายโครง.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนล่าง

ม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่าง (Lower Burma; အောက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่านอก (Outer Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่าอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี (เขตอิรวดี, เขตพะโค และเขตย่างกุ้ง) และพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของประเทศ (รัฐยะไข่, รัฐมอญ และเขตตะนาวศรี) ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-เทต-ตา สำหรับผู้ชาย และ อะ-เทียต-ลฮู สำหรับผู้หญิง ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา สำหรับผู้ชาย และ เอาะธู สำหรับผู้หญิง ส่วน อะ-ญา-ตา หมายถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ส่วนในของประเทศ ในทางประวัติศาสตร์ พม่าตอนล่างหมายถึงดินแดนของพม่าที่ถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิบริติชหลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและพม่าตอนล่าง · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหแนวร่วมมอญ

รรคสหแนวร่วมมอญ (Mon United Front) เป็นกลุ่มการเมืองของชาวมอญที่รวมตัวกันเนื่องจากไม่พอใจรัฐบาลพม่าหลังได้รับเอกราช จึงหันไปร่วมมือกับชาวกะเหรี่ยงที่กำลังต่อสู้เพื่อแยกตัวออกจากพม่า ผู้ก่อตั้งกลุ่มคือนายสเว จิน กลุ่มนี้ก่อตั้งเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2490 ที่เมืองมะละแหม่ง และออกหนังสือพิมพ์ชื่อตะนาวศรี ทางรัฐบาลประกาศให้การเคลื่อนไหวของชาวมอญผิดกฎหมาย นายสเว จิน ถูกจับกุม เมื่อนายสเว จิน พ้นโทษจากการถูกจับกุมเมื่อ..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและพรรคสหแนวร่วมมอญ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

พะสิม

ม (ဖာသဳ พะแซม) หรือ บัสเซียน (Bassein) เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขตอิรวดี ห่างจากนครย่างกุ้งมาทางตะวันตกเฉียงใต้ ริมแม่น้ำพะสิม ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี เมืองนี้มีประชากร 237,089 คน (ค.ศ. 2017) ถึงแม้จะเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมอญ แต่ปัจจุบันก็มีชาวมอญเหลืออยู่น้อยมาก กลุ่มชาติพันธุ์หลักในปัจจุบัน ได้แก่ ชาวพม่า พม่าเชื้อสายอินเดีย ชาวกะเหรี่ยง และชาว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและพะสิม · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

กระแซ

กระแซ (Cassay) บ้างเรียก เมเต (Meitei), มีเต (Meetei) หรือ มณิปุรี (Manipuri,, Census of India, 2001 मणिपुरी) เป็นชาติพันธุ์หนึ่งอาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และเป็นประชากรส่วนใหญ่ของรัฐมณีปุระ ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณที่ราบตอนกลางของรัฐมณีปุระ และยังพบอีกว่ามีจำนวนไม่น้อยอาศัยดินแดนข้างเคียงเช่น รัฐอัสสัม, รัฐเมฆาลัย และรัฐตริปุระ ทั้งยังพบการตั้งถิ่นฐานในประเทศอื่น ๆ ใกล้เคียงคือประเทศบังกลาเทศ และพม่า ชาวกระแซจะใช้ภาษามณีปุระ ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาทิเบต-พม่า ทั้งยังเป็นหนึ่งในยี่สิบสองภาษาราชการของประเทศอินเดียตามรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและกระแซ · ดูเพิ่มเติม »

กองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธ

กองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธหรือกองทัพกะเหรี่ยงพุทธประชาธิปไตย (Democratic Karen Buddhist Army; ဒီမိုကရက်တစ် တိုးတက်သော ဗုဒ္ဓဘာသာ ကရင်တပ်မတော်) เป็นองค์กรของชาวกะเหรี่ยงที่นับถือศาสนาพุทธ ก่อตั้งเมื่อเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและกองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

กะเหรี่ยง (แก้ความกำกวม)

กะเหรี่ยง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและกะเหรี่ยง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายินเชีย

ษายินเชีย (Yinchia language) มีผู้พูดในพม่าทั้งหมด 12,000 คน (พ.ศ. 2551) ทางตอนใต้ของรัฐฉาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง ชาวพม่าและชาวไทใหญ่เรียกผู้พูดภาษานี้ว่าเป็นชาวกะเหรี่ยง แต่ในทางภาษาศาสตร์ ภาษานี้อยู่คนละตระกูลกับภาษากะเหรี่ยง เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและภาษายินเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มยองเมียะ

มยองเมียะ (မြောင်းမြ) เป็นเมืองเล็ก ๆ ที่ตั้งอยู่ในเขตอิรวดี ประเทศพม่า สมัยอาณาจักรหงสาวดี ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 เมืองนี้มีสมิงมังละเป็นเจ้าเมือง สมิงมังละเป็นพระสวามีของนางอุ่นเรือน พระขนิษฐาของพระเจ้าฟ้ารั่วและพระเจ้ารามประเดิด กษัตริย์พระองค์ที่ 1 และพระองค์ที่ 2 แห่งอาณาจักรหงสาวดี นอกจากนี้เมืองมยองเมียะยังเป็นบ้านเกิดของบุคคลสำคัญของพม่าถึง 2 คน คือ อู นุ นายกรัฐมนตรีคนแรกของพม่า และคีนจี นักการเมืองและนักการทูตคนสำคัญของพม่า มารดาของอองซาน ซูจี นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในเมืองที่เคยมีการปลูกฝังลัทธิชาตินิยมต่อต้านอาณานิคมอังกฤษ จอร์จ ออร์เวลล์ นักเขียนชาวอังกฤษผู้โด่งดังเคยรับราชการเป็นตำรวจสมัยอาณานิคมในเมืองนี้เมื่อปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและมยองเมียะ · ดูเพิ่มเติม »

มะแว้งนก

มะแว้งนก เป็นพืชในสกุล Solanum เป็นพืชพื้นเมืองในยูเรเชีย เป็นพืชที่ใช้เป็นอาหารและยาได้Mohy-ud-dint, A., Khan, Z., Ahmad, M., Kashmiri, M.A., Chemotaxonomic value of alkaloids in Solanum nigrum complex, Pakistan Journal of Botany, 42(1): 653-660, 2010.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและมะแว้งนก · ดูเพิ่มเติม »

มือปืน 2 สาละวิน

มือปืน 2 สาละวิน (Salween, Gunman II) ภาพยนตร์ไท..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและมือปืน 2 สาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะยา

รัฐกะยา (ကယားပြည်နယ်) หรือชื่อเดิม รัฐกะเรนนี เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและรัฐกะยา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะเหรี่ยง

รัฐกะเหรี่ยง หรือ รัฐกะยีน (ကရင်ပြည်နယ်) เป็นรัฐของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที่พะอาน.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและรัฐกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมอญ

รัฐมอญ (မွန်ပြည်နယ်; တွဵုရးဍုၚ်မန်၊ ရးမညဒေသ) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและรัฐมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชพฤกษ์

ผลของต้นราชพฤกษ์ ราชพฤกษ์ หรือ คูน ลมแล้ง ชัยพฤกษ์ เป็นไม้ดอกในตระกูล Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียใต้ ตั้งแต่ทางตอนใต้ของปากีสถาน ไปจนถึงอินเดีย ศรีลังกา พม่า และ ไทย ดอกราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจำชาติไท.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมา

ตัวละครในเพชรพระอุมา เป็นรายละเอียดของตัวละครจากเพชรพระอุมา แยกตามตัวละครหลักและตัวละครรอง ตามแต่ปรากฏในแต่ละภาค ได้แก่ภาคแรกไพรมหากาฬ - แงซายจอมจักรา ในการออกติดตามค้นหาผู้สูญหายและภาคสมบูรณ์จอมพราน - มงกุฎไพร ในการออกติดตามหาเครื่องบิน บี 52 และระเบิดนิวเคลียร.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและรายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไทยทั้งสิ้น 5 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติ 2 แห่ง.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและรายการแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ล้านนาไท 57 เมือง

ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง ล้านนาไท 57 เมือง ในฐานะหัวเมืองเหนือที่อยู่ใต้การปกครองของพระเจ้ากาวิละ แต่ก็ไม่ได้ระบุว่ามีเมืองใดบ้าง ปัจจุบันมีหลักฐานที่พม่านำไปจากเชียงใหม่ในสมัยที่พม่าปกครองเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ. 2101-2317) และได้แปลเป็นภาษาพม่า ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและล้านนาไท 57 เมือง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระบรมธาตุ (จังหวัดกำแพงเพชร)

วัดพระบรมธาตุ ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชรเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและวัดพระบรมธาตุ (จังหวัดกำแพงเพชร) · ดูเพิ่มเติม »

วัดวังก์วิเวการาม

วัดวังก์วิเวการาม หรือ วัดหลวงพ่ออุตตมะ เป็นวัดที่หลวงพ่ออุตตมะ ร่วมกับชาวบ้านอพยพชาวกะเหรี่ยงและชาวมอญ ได้ร่วมกันสร้างขึ้น ในปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและวัดวังก์วิเวการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดจันทร์

วัดจันทร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านจันทร์ อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ สร้างมานานกว่า 300 ปี มีความโดดเด่น คือ วิหารแว่นตาดำ ลักษณะคล้ายคนสวมแว่นตา และยังเป็นสำนักงานชั่วคราวของที่ว่าการอำเภอกัลยาณิวัฒนา ในช่วงระยะแรกของการจัดตั้งอำเภอ.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและวัดจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วารีกุญชร

วารีกุญชร ในพระราชพิธี ช้างน้ำในจิตรกรรมฝาผนังของวัดคงคาราม จังหวัดราชบุรี ซากช้างน้ำที่เป็นข่าว วารีกุญชร เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ มีรูปร่างเป็นช้างแต่มีเท้าเพียง 88 เท้าหน้า ลำตัวและหางเป็นปลาทั้งหมด หรือมีเท้าครบทั้ง 4 เท้า แต่มีหางเป็นปลา(วารีกุญชรที่มี 4 เท้า บางแห่งเรียกกุญชรวารี) อาศัยอยู่ในทะเลสีทันดร สามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้ดี ประวัติของวารีกุญชรไม่มีที่มาอย่างแน่ชัด จิตรกรรมฝาผนังของวารีกุญชรมักเขียนบนฝาผนังของโบสถ์ตามวัดต่าง ๆ เช่น วัดช่องนนทรี หรือวัดคงคาราม เป็นต้น.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและวารีกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศพม่า

ทธศาสนาในพม่าส่วนใหญ่เป็นนิกายเถรวาทมีผู้นับถือโดยประมาณ 89% ของประชากรภายในประเทศ เป็นประเทศที่นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดในแง่ของสัดส่วนพระสงฆ์ต่อประชากรและสัดส่วนของรายได้ที่ใช้ในศาสนา พบการนับถือมากในหมู่ ชาวพม่า, ชาน, ยะไข่, มอญ, กะเหรี่ยง, และชาวจีนในพม่า พระภิกษุสงฆ์เป็นที่เคารพบูชาทั่วไปของสังคมพม่า ในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในประเทศพม่า ได้แก่ ชาวพม่า และ ชาน พุทธศาสนาเถรวาทมักเกี่ยวข้องกับการนับถือนัตและสามารถเข้าแทรกแซงกิจการทางโลกได้ พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศพม่า เมื่อคราวที่พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ได้อุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 3 เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและศาสนาพุทธในประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง

งชาติทางการของสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง หรือ กะเหรี่ยงเคเอ็นยู (The Karen National Union: KNU; ကရင် အမျိုးသား အစည်းအရုံး) คือ กลุ่มติดอาวุธชาวกะเหรี่ยงในพม่าที่ทำการสู้รบกับรัฐบาลพม่าตามแนวชายแดนไทย ในบริเวณอาณาเขตของพื้นที่ที่เรียกเป็นภาษากะเหรี่ยงว่า "กอซูเล" (Kawthoolei) ฝ่ายเคเอ็นยูได้สู้รบกับพม่ามานานเกินกึ่งศตวรรษมาแล้ว นับตั้งแต่ พ.ศ. 2491 โดยร่วมกับกองกำลังย่อยที่มีชื่อว่า กะเหรี่ยงเคเอ็นแอลเอ (Karen National Liberation Army - KNLA) สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงอยู่ภายใต้การปกครองของนายพลโบเมียะมานานกว่า 30 ปีซึ่งได้ตั้งตนเป็นประธานาธิบดีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2543 (นายพลโบเมียะถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ในโรงพยาบาลในประเทศไทย) สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงสามารถเลี้ยงตนเองโดยการควบคุมตลาดมืดที่ทำการค้าชายแดนกับประเทศไทย หลังจากการลุกฮือต่อต้านเผด็จการของประชาชนชาวพม่าที่เรียกว่า "เหตุการณ์ 8888 ทมิฬ" ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531 และได้ล้มเหลวยุติลงด้วยการปราบปรามอย่างรุนแรงของรัฐบาลเมื่อเดือนกันยายนปีเดียวกัน หลังเหตุการณ์นี้ รัฐบาลพม่าได้หันไปขอความช่วยเหลือจากจีน มีการให้สัมปทานทางการค้าหลายอย่างแก่จีนเพื่อแลกเปลี่ยนกับอาวุธจำนวนมากทำให้กองทัพพม่ามีขนาดใหญ่และเข้มแข็งจากเดิมเป็นอันมาก และในช่วงนี้รัฐบาลพม่าก็ได้เริ่มเปิดการเจรจากับสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงที่ต่อสู้กับรัฐบาลและเปิดโอกาสให้มีการเจรจาเพื่อให้เข้ามาร่วมมือกับรัฐบาลหรือมิเช่นนั้นจะต้องถูกทำลายลงทั้งหมด แต่ฝ่ายกะเหรี่ยงไม่ยอม กองกำลังของสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงอ่อนแอลงมากจากการปราบปรามของฝ่ายรัฐบาลและได้เสียกองบัญชาการที่ "มาเนอพลอ" ใกล้กับชายแดนไทยเมื่อ พ.ศ. 2537 รวมทั้งการยอมเข้าร่วมมือกับรัฐบาลกองกำลังย่อยส่วนหนึ่งของกะเหรี่ยงเคเอ็นแอลเอที่เป็นกะเหรี่ยงฝ่ายนับถือพุทธที่เรียกตนเองว่า กองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธ (Democratic Karen Buddhist Army - DKBA) กองกำลังกลุ่มนี้ได้รับมอบอาณาเขตพื้นที่ส่วนหนึ่งให้ปกครองตนเองเป็นการแลกเปลี่ยนที่ยอมร่วมมือกับรัฐบาล กองกำลังกระเหรียงพุทธนี้เองที่มีส่วนสำคัญช่วยรัฐบาลทหารพม่ายึดกองบัญชาการเคเอ็นยูที่มาเนอพลอได้ เหตุผลที่กะเหรี่ยงกลุ่มนี้อ้างในการเข้ากับฝ่ายรัฐบาลคือการถูกเอาเปรียบ เหลื่อมล้ำและไม่ได้รับความเป็นธรรมจากกะเหรี่ยงฝ่ายเคเอ็นยูซึ่งนับถือศาสนาคริสต์ สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงกับกะเหรี่ยงเคเอ็นแอลเอยังคงร่วมกันต่อสู้กับรัฐบาลพม่าต่อไป โดยจัดตั้งกองกำลังเป็นหน่วยทหารกองโจรขนาดเล็กหลบซ่อนอยู่ตามแนวชายแดนไทยโดยใช้วิธีตั้งค่ายแบบชั่วคราวที่เคลื่อนย้ายหนีได้สะดวก มีการประทะกันประปรายโดยตลอดมาจนถึงปัจจุบัน แม้กองทัพฝ่ายรัฐบาลจะมีขีดความสามารถที่จะกวาดล้างกองกำลังกะเหรี่ยงได้เป็นผลสำเร็จ แต่ก็จะเสียกำลัง ยุทธโปกรณ์และงบประมาณไปมาก ซึ่งอาจทำให้กองทัพพม่าโดยรวมอ่อนแอลง ฝ่ายรัฐบาลทหารพม่าจึงยังคงปล่อยให้เป็นเช่นนี้ไปก่อน การสู้รบของชาวกะเหรี่ยงนับเป็นการสู้รบเพื่ออิสรภาพที่ยาวนานที่สุดในโลก คือนานมากถึง 59 ปี.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิชนพื้นเมือง

ทธิชนพื้นเมือง (Indigenous Rights) หมายถึงสิทธิของกลุ่มชนซึ่งเป็นชนพื้นเมืองอยู่แต่ดั้งเดิมมาก่อนที่ประชาชนซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะอพยพมาตั้งถิ่นฐานหรือทำการรุกรานจับจองเป็นอาณานิคม เช่น ชาวอเมริกันพื้นเมือง (อินเดียนแดง) เผ่าต่าง ๆ ในอเมริกา ชาวอะบอริจินในออสเตรเลีย ชาวมาวรีในนิวซีแลนด์ เป็นต้น โดยที่คำว่าชนพื้นเมือง หมายถึงกลุ่มชนซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่ก่อนการก่อตั้งอาณานิคมหรือรัฐชาติและมีระบบการเมืองและวัฒนธรรมต่างไปจากการเมืองและวัฒนธรรมหลักของรัฐซึ่งพื้นที่ของชนพื้นเมืองนั้นตั้งอยู่ หลักเกณฑ์ที่สหประชาชาติใช้ในการพิจารณาชนพื้นเมือง คือ (อ้างอิงจาก สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและสิทธิชนพื้นเมือง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแพรก

หญ้าแพรก เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และยุโรปใต้ ส่วนชื่อ หญ้าเบอร์มิวดา มาจากการที่หญ้าแพรกเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานในเบอร์มิวดา แต่ไม่ได้เกิดขึ้นที่นั่น ในประเทศไทย ชาวเหนือ เรียกว่า "หญ้าเป็ด" ส่วนชาวกะเหรี่ยง เรียกว่า "หน่อเก่เด".

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและหญ้าแพรก · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธปืนในเพชรพระอุมา

อาวุธปืนในเพชรพระอุมา เป็นการรวบรวมรายละเอียดของปืนที่ใช้ในเรื่องเพชรพระอุมา จากความรู้และทักษะความสามารถทางด้านอาวุธปืนของพนมเทียน ในการนำเอาอาวุธปืนประเภทต่าง ๆ และกระสุนที่ใช้จากประสบการณ์จริง มาผูกเสริมเติมแต่งให้แก่ตัวละครในเพชรพระอุมา รวมทั้งกำหนดลักษณะและผลของการใช้ของปืนแต่ละประเภท ซึ่งปืนที่ใช้ในเพชรพระอุมานั้น มีจำนวนมากมายหลากหลายขนาด รวมทั้งยี่ห้อและรุ่น เช่นปืนไรเฟิล วินเชสเตอร.375 โมเดล 70 ปืนลูกซอง ปืนสั้นกึ่งออโตแมติกหรือแม้แต่ปืนเอ็ม 16 ที่ใช้ในการสงคราม รวมทั้งรายละเอียดและความรู้ทางด้านปืนของแต่ละกระบอก เช่น วิถีกระสุนในการปะทะเป้าหมาย แรงปะทะของปืน ฯลฯ อาวุธปืนที่ใช้ในเพชรพระอุมา มีดังนี้.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและอาวุธปืนในเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกัลยาณิวัฒนา

กัลยาณิวัฒนา (75px) เป็นเขตการปกครองระดับอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัดเชียงใหม่ และอันดับที่ 878 ของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 และตั้งที่ว่าการอำเภอ ณ ตำบลแจ่มหลวงราชกิจจานุเบกษา,.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและอำเภอกัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอฝาง

ฝาง (17px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง ประชากรมีทั้งชาวไทยพื้นราบและชาวไทยภูเขา อำเภอฝางเป็นอำเภอศูนย์กลางความเจริญในเขตเชียงใหม่ตอนบน มีอำเภอบริวารคือ อำเภอแม่อายและอำเภอไชยปราการ มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสองของจังหวัดเชียงใหม่ รองจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มีทั้งประชากรจริงและประชากรแฝง อีกทั้งยังสามารถเดินทางไปจังหวัดเชียงรายได้อย่างสะดวกหลายช่องทาง ทำให้อำเภอฝางจะได้รับความเจริญจากจังหวัดเชียงรายจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนจีนตอนใต้-อินโดจีนในอนาคต ในปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและอำเภอฝาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามชุก

อำเภอสามชุก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นจังหวัดที่เก่าแก่และมีความสำคัญมากแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไท.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและอำเภอสามชุก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่ายาง

ท่ายาง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี ประชากรประมาณร้อยละ 80 เป็นเกษตรกร มีอาชีพปลูกพืช ผลผลิตหลักได้แก่ ข้าว กล้วยหอมทอง กล้วยไข่ กล้วยน้ำว้า มะนาว ชมพู่ อ้อย มะม่วง ถั่ว และมะพร้าว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและอำเภอท่ายาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปาย

อำเภอปาย (25px) เป็นอำเภอขนาดเล็กทางตอนเหนือของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่รู้จักกันดีในด้านความงามของธรรมชาต.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและอำเภอปาย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่สะเรียง

อำเภอแม่สะเรียง (50px) เป็นหนึ่งใน 7 อำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน จัดเป็นอำเภอที่มีความสำคัญของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัด (อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน) มากถึงประมาณ 164 กิโลเมตร โดยสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหุบเขาสลับซับซ้อน ประกอบกับเป็นอำเภอที่ติดกับชายแดนไทยพม่า และเป็นเมืองผ่านไปยังอำเภออื่นๆของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและอำเภอแม่สะเรียง · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรป้องกันแห่งชาติกะเหรี่ยง

องค์กรป้องกันแห่งชาติกะเหรี่ยง (Karen National Defence Organisation; KNDO;ကရင်အမျိုးသား ကာကွယ်ရေး အဖွဲ့အစည်း) เป็นกองกำลังติดอาวุธหนึ่งในสองของสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง ควบคู่กับกองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNLA) องค์กรเริ่มต้นของ KNDO ต่อสู้กับรัฐบาลพม่าตั้งแต..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและองค์กรป้องกันแห่งชาติกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลโป่งน้ำร้อน

องค์การบริหารส่วนตำบลโป่งน้ำร้อน ตั้งอยู่เลขที่ 333 หมู่ที่ 2 ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร 62180 มีพื้นที่ทั้งหมด 296 ตร.กม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและองค์การบริหารส่วนตำบลโป่งน้ำร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ผักแว่น

ผักแว่น เป็นเฟินน้ำชนิดหนึ่ง มีอายุหลายปี พบได้ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดอยู่ในวงศ์ Marsileaceae สกุล Marsilea มีลักษณะเป็นเหง้าเถาเลื้อยไปตามผิวดินหรือผิวน้ำหรือโคลนเลน พบเห็นได้ทั่วไปตามริมน้ำหรือพื้นดินที่มีน้ำขังแฉะ สามารถนำมากินเป็นผักสด มีคุณค่าทางอาหาร และยังมีสรรพคุณทาง.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและผักแว่น · ดูเพิ่มเติม »

ผักโขมหนาม

ผักโขมหนาม มีชื่อภาษาท้องถิ่นในภาคใต้เรียกว่า ผักโหมหนาม ส่วนที่แม่ฮ่องสอนและกะเหรี่ยงเรียกว่า กะเหม่อลอมี แม่ล้อกู่ และที่เขมรเรียกว่า ปะตี ส่วนภาคกลางจะเรียกว่า ผักขมสวน (spiny amaranth, prickly amaranth หรือ thorny amaranth) เป็นพืชล้มลุก ฤดูเดียว อายุสั้นประมาณ 2–4 เดือน หรือเมื่อออกดอก ติดเมล็ดแล้วก็จะค่อยๆ เหี่ยวแห้งตาย หรือเรียกว่าพืชที่มีอายุปีเดียว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและผักโขมหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ผ้าไทย

ผ้าไทย คือผ้าทอมือที่มีการผลิตในประเทศไทย โดยมีเอกลักษณ์เฉพาะในแต่ละท้องถิ่น ประวัติผ้าไทยไม่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากนัก เนื่องจากมีการให้ความสำคัญในด้านอื่นๆ มากกว่า แต่เราพอจะสืบหาประวัติของผ้าไทยในสมัยก่อนได้บ้างจากวรรณคดี จิตรกรรมฝาผนัง และมรดกศิลปะที่คงเหลืออยู่ในบางท้องถิ่น.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและผ้าไทย · ดูเพิ่มเติม »

จอมพราน

อมพราน เป็นตอนที่เจ็ดของ เพชรพระอุมา จำนวน 4 เล่ม ได้แก่จอมพราน เล่ม 1 - 4.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและจอมพราน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น อิสรัมย์

อห์น อิสรัมย์ นักแข่งรถจักรยานยนต์ผาดโผน อดีตแชมเปียนรถจักรยานยนต์โมโตครอสคนแรกของประเทศไทย ในปีแรกที่มีการจัดการแข่งขัน เมื่อ พ.ศ. 2520 และได้ร่วมแข่งขันจักรยานยนต์วิบากทั้งในประเทศและแถบเอเชี.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและจอห์น อิสรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติพม่า

ีเชิญธงชาติใหม่ของสาธารณรัฐสหภาพพม่าขึ้นสู่ยอดเสา ที่หน้าอาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง ประเทศพม่า, 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 (ภาพข่าวจากสำนักข่าวอิรวดี) ธงชาติสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน พื้นสีเหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ ธงนี้ได้เริ่มชักขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในเวลา 15.00 น. ที่กรุงเนปยีดอ และในเวลา 15.33 น. ที่อาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง (อ้างอิงตามเวลาท้องถิ่น) อันเป็นเวลา 17 วัน ก่อนหน้าการเลือกตั้งทั่วไปของพม่า ซึ่งจะมีขึ้นในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ความหมายของสัญลักษณ์ในธงชาติประกอบด้วย สีเขียวหมายถึงสันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า สีเหลืองหมายถึงความสามัคคี สีแดงหมายถึงความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด ดาวสีขาวหมายถึงสหภาพอันมั่นคงเป็นเอก.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและธงชาติพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 สายแม่สอด–แม่สะเรียง เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร และ 4 ช่องจราจรในช่วงผ่านชุมชน มีระยะทาง 230.497 กิโลเมตร มีเส้นทางเริ่มต้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และสิ้นสุดที่อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เส้นทางจะขึ้นเขาสูงชันระหว่าง ตำบลท่าสองยาง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก กับอำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน แนวเส้นทางส่วนใหญ่จะเลียบแม่น้ำเมย ซึ่งเป็นแนวชายแดนไทย-พม่า ซึ่งเกิดความไม่สงบบ่อยครั้งรวมทั้งโจร กะเหรี่ยง เส้นทางนี้จึงไม่ค่อยได้ความนิยมมากนัก.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 · ดูเพิ่มเติม »

ข่อย

อย มีชื่อทางการค้าคือ Siamese rough bush, Tooth brush tree ส่วนชื่อพื้นเมืองอื่นได้แก่ กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ), ข่อย (ทั่วไป), ซะโยเส่ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), ตองขะแหน่ (กะเหรี่ยงกาญจนบุรี), ข่อย(ร้อยเอ็ด), สะนาย (เขมร).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและข่อย · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวโพด

ลักษณะของข้าวโพด ''Zea mays "fraise"'' ''Zea mays "Oaxacan Green"'' ''Zea mays "Ottofile giallo Tortonese”'' ข้าวโพด (Linn.) ชื่ออื่นๆ ข้าวสาลี สาลี (เหนือ) คง (กระบี่) โพด (ใต้) บือเคเส่ะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลำต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.5-2.0 นิ้ว เมล็ดจากฝักใช้เป็นอาหารคนและสัตว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและข้าวโพด · ดูเพิ่มเติม »

ดงมรณะ

งมรณะ เป็นตอนที่สองของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่ดงมรณะ เล่ม 1 - 4.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและดงมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ด่านเจดีย์สามองค์

ป้ายด่านเจดีย์สามองค์ ด่านเจดีย์สามองค์ (ဘုရားသုံးဆူ တောင်ကြားလမ်း) เป็นช่องเขาในทิวเขาตะนาวศรี ตั้งอยู่บนพรมแดนประเทศไทยและประเทศพม่า มีความสูง 282 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและด่านเจดีย์สามองค์ · ดูเพิ่มเติม »

ครูบาศรีวิชัย

รูบาศรีวิชัย หรือ พระสีวิไชย พระมหาเถระซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สร้างถนนทางขึ้นวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและครูบาศรีวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

ความขัดแย้งภายในพม่า

วามขัดแย้งภายในพม่า หมายถึง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในประเทศพม่าปัจจุบัน ซึ่งมีมาตั้งแต่ได้รับเอกราชจากอังกฤษใน..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและความขัดแย้งภายในพม่า · ดูเพิ่มเติม »

คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า

ณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า ในช่วงปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลา

ผู้ลี้ภัยแม่ลา ก่อตั้งขึ้นในปี 2527 อยู่ในอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ในเขตทิวเขาดอยมอนกุจู ปัจจุบันให้ที่อยู่แก่ผู้ลี้ภัย 50,000 คน ซึ่งมีเพิ่มทุกสัปดาห์จากประเทศพม่า ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาเป็นค่ายผู้ลี้ภัยสำหรับชาวพม่าแห่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ผู้ลี้ภัยกว่า 90% มีเชื้อสายกะเหรี่ยง เดิมค่ายตั้งขึ้นหลังฐานทัพสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) แตก ที่หมู่บ้านแม่ลาของไทยตรงพรมแดนในปี 2527 โดยมีประชากร 1,100 คน ไม่นานหลังจากนั้น ค่ายถูกย้ายไปยังจุดอันเป็นที่ตั้งของโซนซีในปัจจุบัน เนื่องจากความกังวลด้านความมั่นคง หลังมาเนอปลอว์แตกในเดือนมกราคม 2538 ค่ายจำนวนหนึ่งถูกโจมตีในการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดน และทางการไทยเริ่มรวบรวมค่ายเพื่อเพิ่มความมั่นคง ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาถูกกำหนดเป็นค่ายหลักในพื้นที่ ในเดือนเมษายน 2538 ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาเพิ่มขนาดจากที่รองรับได้ 6,969 คน เป็น 13,195 คน ในปีต่อมา ค่ายเพิ่มขนาดเป็นสองเท่าอีก เป็น 26,629 คน เนื่องจากผู้ลี้ภัยที่สูญหายไปในการย้ายค่ายกลับมายังค่าย ค่ายแม่ลาถูกมองว่าเป็นศูนย์กลางการศึกษาสำหรับผู้ลี้ภัย ฉะนั้น ประชากรปัจจุบันจึงมีนักเรียนหลายพันคนที่มาศึกษาในค่ายด้วย บ้างมาจากค่ายผู้ลี้ภัยอื่น แต่ส่วนใหญ่มาจากพม่า นักเรียนเหล่านี้ได้รับการลงทะเบียนเป็นผู้อยู่อาศัยชั่วคราว ค่ายถูกโจมตีในปี 2540 โดยกำลังกองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธ (DKBA) ที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยกองทัพพม่า ไม่มีการรุกล้ำอีกหลังจากนั้น แต่กระสุนปืนครกตกในส่วน เอ5 ในเดือนมีนาคม 2541 ทุกฤดูแล้ง พื้นที่นี้ค่อนข้างตึงเครียดกับความมั่นคงของค่าย มีการขู่จะโจมตีด้วยอาวุธ และ/หรือ ความพยายามเผาค่าย พื้นที่รัฐกะเหรี่ยงที่ตั้งอยู่ตรงข้ามค่ายแม่ลานั้นอยู่ห่างไกล โดยไม่มีนิคมขนาดใหญ่หรือโครงสร้างพื้นฐาน กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNLA) ยังมีกองบัญชาการกองพลน้อยที่ 7 อยู่ใกล้เคียง และมีกองรักษาด่านจำนวนมากของกองทัพพม่าและกองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธอยู่ในพื้นที.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลา · ดูเพิ่มเติม »

ตองอู

ตองอู หรือ ตองงู (တောင်ငူ;; เตาง์งู; คำแปล: เมืองในขุนเขา) เป็นเมืองในเขตหงสาวดี ประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือ 220 กิโลเมตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำสะโตง เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอิสระตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14–16 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ตำลึง

ตำลึง ((L.) Voigt) เป็นไม้เลื้อยที่มีมือจับใช้สำหรับเลื้อยเกาะต้นไม้ใหญ่หรือไม้ปักหลัก มีสีเขียวจัดเป็นสมุนไพรไทย ตำลึงมีชื่อท้องถิ่นอื่นอีกคือ ผักแคบ (ภาคเหนือ) แคเด๊าะ (กะเหรี่ยงและแม่ฮ่องสอน) ตำลึง,สี่บาท (ภาคกลาง) ผักตำนิน (ภาคอีสาน).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและตำลึง · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง

''ต้นไม้ทอง'' ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง หรือ ต้นไม้ทองเงิน (bunga mas dan perak "ดอกไม้ทองและเงิน") หรือบุหงามาศ (bunga mas "ดอกไม้ทอง") เป็นเครื่องราชบรรณาการที่ประเทศราชของสยามต้องส่งมาถวายพระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ สามปี เพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ นอกจากนี้ยังใช้เป็นสิ่งของคารวะของเจ้านายหรือขุนนางถวายต่อพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานพระอิสริยยศหรือบรรดาศักดิ์ให้สูงขึ้น เรียกว่า "พุ่มไม้เงินพุ่มไม้ทอง" บ้างก็พบว่ามีการใช้ต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นเครื่องสักการะถวายเป็นพุทธบูชาในวัด ใน..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและต้นไม้เงินต้นไม้ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปกาเกอะญอ

ปกาเกอะญอ (ပှၤကညီ) หรือ กะเหรี่ยงสะกอ (စှီၤ) หรือ กะเหรี่ยงขาว เป็นกลุ่มชาวกะเหรี่ยงที่มีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ พื้นที่แถบลุ่มน้ำต่างๆ บริเวณเทือกเขาตะนาวศรี เขตชายแดนไทย-พม่า มีหลักฐานการอยู่อาศัยมานาน เป็นชนเผ่าดั้งเดิมที่อยู่อย่างกระจัดกระจายมานานกว่า 100-200 ปี เช่น บริเวณลุ่มแม่น้ำวาง อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและปกาเกอะญอ · ดูเพิ่มเติม »

ปยีนมะนา

ปยีนมะนา (ပျဉ်းမနား,; Pyinmana) เป็นเมืองแห่งการทำไม้และอ้อย ปยีนมะนาตั้งอยู่ใจกลางของเขตมัณฑะเลย์ของประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้ง อดีตเมืองหลวงทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร รัฐบาลพม่าได้ย้ายเมืองหลวงของประเทศมาตั้งที่พื้นที่สีเขียวทางทิศตะวันตกของตัวเมืองนี้ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ปยีนมะนามีชื่อเดิมว่า แหน่จ่าง, แหน่ฉ่าง และ นีงจาง สองชื่อแรกมีความหมายว่า ดินแดนละเว้น เนื่องจากในสมัยกษัตริย์นั้น หากมีการยกทัพทำศึก เมืองปยีนมะนาก็จะไม่อยู่ในเส้นทางเดินทัพ และหากมีการเก็บภาษีท้องที่ก็จะถูกละเว้นการเก็บส่วย ทั้งนี้เพราะบริเวณนั้นเต็มไปด้วยป่าทึบและชื้นแฉะ ส่วนชื่อสุดท้ายมีความหมายว่า สะพานข้าม เนื่องจากมีสะพานข้ามคลองที่ค้าขายกับเมืองหยั่วเก้าก์ยะ ต่อมาในสมัยอาณานิคม มีการเปลี่ยนชื่อ แหน่ฉ่าง หรือ นีงจาง มาเป็น ปยีนมะนา เนื่องจากเวลาที่สะกดชื่อเมืองนีงจางเป็นภาษาอังกฤษ มักจะสับสนกับชื่อเมืองมยีงฉั่ง เวลาส่งจดหมายก็มักจะสลับที่อยู่บ่อย ๆ ทำให้เสียเวลาและเสียงาน ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาจึงเปลี่ยนจาก นีงจาง เป็น ปยีนมะนา แทน โดยเลือกจากชื่อหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ที่สุด คือ ลางปยีนมะนา ซึ่งพื้นที่นี้อยู่ห่างจากตัวเมืองปยีนมะนาปัจจุบันราว 5 ไมล์ เมืองปยีนมะนาแต่เดิมเคยเป็นฐานที่มั่นเก่าที่นายพลอองซาน บิดาของอองซาน ซูจี นำฝ่ายต่อต้านทำสงครามเอกราชต่อสู้กับการครอบครองของเจ้าอาณานิคมอังกฤษ และญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สาเหตุที่รัฐบาลพม่าประกาศย้ายเมืองหลวงไม่แน่ชัดนัก สาเหตุที่เป็นไปได้อาจเป็นว่าปยีนมะนาได้เปรียบย่างกุ้งในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากอยู่ห่างจากชายฝั่งทะเล เพราะพม่ากลัวการรุกรานแบบเดียวกับที่สหรัฐอเมริกาบุกอิรัก สาเหตุประการอื่นคือปยีนมะนาอยู่ใจกลางประเทศ ทำให้ง่ายต่อการปกครอง และใกล้กับชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ทำให้สั่งการทางทหารได้ง่ายกว่า สาเหตุสุดท้ายคือเป็นคำแนะนำของโหรประจำตัวนายพลตาน ฉ่วย ผู้ครองอำนาจสูงสุดในพม่า มีกระแสข่าวออกมาว่าเมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่าที่ย้ายไปตั้งที่ทำการในบริเวณเมืองปยีนมะนานั้นจะใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ยานโลน (Yan Lon) อันมีความหมายว่า ปลอดภัยจากการต่อสู้ (Secure from Strife) นอกจากนั้นที่ตั้งแห่งใหม่นี้ยังทำบังเกอร์หลบภัยแน่นหนา ติดตั้งขีปนาวุธต่อสู้อากาศยานอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตามภายหลัง รัฐบาลพม่าได้ขนานนามเมืองหลวงใหม่แห่งนั้นว่าเนปยีดอ.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและปยีนมะนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน คือ ชนิดของปลาที่พบได้ในลุ่มแม่น้ำสาละวิน ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยและประเทศพม่า แม่น้ำสาละวิน นับเป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่มีความยาว 2,800 กิโลเมตร มีจุดกำเนิดที่เทือกเขาหิมาลัยไหลผ่านประเทศจีน, พม่า, ไทย และไหลลงมหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ มีความหลากหลายของชนิดปลาที่พบได้ในแม่น้ำแห่งนี้ ซึ่งรวมถึงแควสาขาของแม่น้ำด้วย เช่น แม่น้ำปาย, แม่น้ำเมย, แม่น้ำยวม, แม่น้ำกษัตริย์, แม่น้ำสุริยะ และรวมไปถึงแม่น้ำอื่นที่อยู่ใกล้เคียงกัน เช่น แม่น้ำบีคลี, แม่น้ำซองกาเลีย, แม่น้ำรันตี โดยหลายชนิดเป็นปลาในสกุลที่พบได้มากในประเทศอินเดียและอนุทวีปอินเดีย ซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงกัน หลายชนิด หลายสกุลก็เป็นปลาที่พบเฉพาะลุ่มแม่น้ำสาละวินที่เดียวด้ว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ (Siamese freshwater batfish, Siamese bat catfish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในอันดับปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตูหนา

ปลาตูหนา หรือ ปลาไหลหูดำ (Shortfin eel, Level-finned eel) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตูหนา (Anguilidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม ลักษณะโดยทั่วไปเหมือนปลาสะแงะ (A. bengalensis) ซึ่งอยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกัน แต่ปลาตูหนามีรูปร่างที่เล็กกว่า ครีบอกของปลาตูหนามีสีคล้ำ ในปลาโตเต็มวัยครีบหลังและครีบก้นมีสีคล้ำด้วยเช่นกัน จึงเป็นที่มาของชื่อว่า "ปลาไหลหูดำ" ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนไม่มีลวดลาย ใต้ท้องสีขาว ขนาดโตเต็มที่ได้ 1.5 เมตร ในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ภาคใต้ฝั่งตะวันตกแถบริมชายฝั่งอันดามัน เรื่อยไปจนถึงประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย และในภาคตะวันตกในชายแดนที่ติดกับประเทศพม่า เช่น จังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน เป็นต้น โดยชาวกะเหรี่ยงเรียกปลาชนิดนี้ว่า "หย่าที" ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกพบได้ตั้งแต่พม่า บังกลาเทศ จนถึงอินเดีย โดยปลาที่พบในประเทศแถบนี้จะเป็นสายพันธุ์ย่อยที่เรียกว่า A. b. pacifica ส่วนปลาที่พบในแถบเอเชียตะวันออกมีชื่อเรียกว่า A. b. bicolor ปลาตูหนามีพฤติกรรมจะกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่แถบป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำ ลูกปลาแรกเกิดมีลำตัวใสเหมือนวุ้นเส้น มีสีแดงเรื่อ จากนั้นเมื่อโตขึ้นจะค่อยอพยพว่ายทวนน้ำมาสู่แหล่งน้ำจืด ซึ่งบางครั้งอาจพบได้ไกลถึงลำธารน้ำตกบนภูเขา ปลาชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างมากโดยเฉพาะชาวไทยเชื้อสายจีนในแถบจังหวัดระนองหรือตรัง ถือเป็นเมนูราคาแพง สามารถนำไปปรุงได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ ย่าง หรือทำน้ำแดง ในต่างประเทศที่นิยมบริโภคได้แก่จีนและญี่ปุ่น โดยหน่วยงานประมงของประเทศเหล่านี้ได้มีการส่งเสริมให้เป็นปลาเศรษฐกิจ มีการทำฟาร์มเพาะขยายพันธุ์ แต่ว่าเนื้อมีกลิ่นคาวมาก จึงนิยมปลาตูหนาญี่ปุ่น (A. japonica) มากกว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและปลาตูหนา · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แรมโบ้ 4 นักรบพันธุ์เดือด

แรมโบ้ 4 นักรบพันธุ์เดือด (Rambo) เป็นภาพยนตร์ภาคสี่ของซีรีส์แรมโบ้ต่อจากภาพยนตร์เรื่อง แรมโบ้ 3 ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและแรมโบ้ 4 นักรบพันธุ์เดือด · ดูเพิ่มเติม »

แป้งพม่า

หญิงชาวพม่าทาตะนะคา แป้งพม่า หรือภาษาพม่าเรียก ตะนะคา (သနပ်ခါး สนป์ขา:; sa.) เป็นแป้งสีนวล ทำจากกาบไม้บด ชาวพม่าทุกเพศทุกวัยใช้ผัดหน้าตลอดจนแขนขาและลำตัวจนเป็นเอกลักษณ์ แป้งพม่ายังแพร่หลายมาถึงประเทศข้างเคียง รวมถึงประเทศไทยด้ว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและแป้งพม่า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนแม่ทาวิทยาคม

รงเรียนแม่ทาวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมแห่งแรกของ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517 โรงเรียนแม่ทาวิทยาคมจึงถือเอาวันที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและโรงเรียนแม่ทาวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

ไพรมหากาฬ

รมหากาฬ เป็นตอนที่หนึ่งของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่ไพรมหากาฬ เล่ม 1 - 4.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและไพรมหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี

แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2) ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี หรือที่ทางราชการเรียกว่า ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทย เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยสยาม ที่ถูกกวาดต้อนและอพยพมาอยู่ตั้งแต่หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2310) หลังการยึดครองของอังกฤษ ชาวไทยเหล่านี้จึงกลายเป็นสัญชาติพม่า แต่ก็ยังไปมาหาสู่กับญาติพี่น้องฝั่งไทยตลอด และมีชาวไทยในเขตตะนาวศรีที่เข้ามาทำคลอดในฝั่งไทย และต้องการให้บุตรเป็นสัญชาติไทย เพราะมีความเกี่ยวดองกับฝั่งไทย และส่วนใหญ่ทางแถบจังหวัดเกาะสอง (วิกตอเรียพอยท์) ของพม่าก็มีชาวไทยมากมาย แต่ในปัจจุบันยังถือว่าชาวไทยกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนไร้สัญชาต.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

เพชรพระอุมา

รพระอุมา เป็นนวนิยายแนวผจญภัยที่มีขนาดความยาวมากที่สุดในประเทศไทย และนับว่าเป็นนวนิยายที่มีความยาวมากที่สุดในโลกรักษ์ชนก นามทอน, เจาะลึกเบื้องหลังเพชรพระอุมา คำนิยมจากบรรณาธิการ, สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม, 2544 บทประพันธ์โดย พนมเทียน ซึ่งเป็นนามปากกาของนายฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และตีพิมพ์ต่อเนื่องในหนังสือพิมพ์รายวัน ใช้ระยะเวลาในการประพันธ์ยาวนานกว่า 25 ปี โดยพนมเทียนเริ่มต้นการประพันธ์เพชรพระอุมาในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 และสิ้นสุดเนื้อเรื่องทั้งหมดในวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2533 รวมระยะเวลาในการประพันธ์ทั้งสิ้น 25 ปี 7 เดือน กับ 2 วัน เพชรพระอุมาถูกนำมาตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มซ้ำใหม่หลาย ๆ ครั้งในรูปแบบของพ็อกเก็ตบุ๊ค จำนวน 48 เล่ม โดยสำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม ลิขสิทธิ์โดยพนมเทียน (เดิมเป็นชนิดปกแข็งจำนวน 53 เล่ม แต่ละเล่มมีความหนาประมาณ 33 ยก หรือ 16 หน้ายก และเมื่อนำมารวมกันทั้งหมดจะมีความหนาประมาณ 1,749 ยก แบ่งเป็นสามภาคได้แก่ ภาคแรก จำนวน 24 เล่ม ภาคสอง จำนวน 15 เล่ม และ ภาคสาม จำนวน 14 เล่ม แต่ปัจจุบันได้รวบรวมเนื้อหาในแต่ละภาคและลดลงคงเหลือเพียงแค่ 48 เล่ม) แบ่งเป็นสองภาคคือภาคแรก จำนวน 24 เล่ม 6 ตอน และภาคสมบูรณ์ จำนวน 24 เล่ม 6 ตอน ตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2541 และทำการปรับปรุงต้นฉบับเดิมพร้อมกับตีพิมพ์ครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2544 และตีพิมพ์ครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2547 อีกทั้งยังมีการทำเป็น eBook โดยสำนักพิมพ์อมรินทร์ในปี พ.ศ. 2556 โดยเนื้อเรื่องต่าง ๆ ของเพชรพระอุมานั้น พนมเทียนได้นำเค้าโครงเรื่องมาจาก คิง โซโลมอน'ส มายน์ส (King Solomon's Mines) หรือ สมบัติพระศุลี นวนิยายของเซอร์เฮนรี่ ไรเดอร์ แฮกการ์ด (H. Rider Haggard) ที่ผจญภัยในความลี้ลับของป่าดงดิบภายในทวีปแอฟริกาพนมเทียน, เจาะลึกเบื้องหลังเพชรพระอุมา เค้าโครงเรื่องจากคิง โซโลมอน'ส มายน์ส (King Solomon's Mines), สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม, 2546 หน้า 11.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

เพกา

กา (ชื่อสามัญ: Broken Bone tree,Damocles tree,Indian Trumpet Flower; ชื่อวิทยาศาสตร์: Oroxylum indicum (L) Kurz) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆดังนี้: ดอก๊ะ ด๊อกก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เบโด (มาเลเซีย-นราธิวาส) มะลิดไม้ มะลิ้นไม้ (เหนือ) ลิ้นฟ้า หมากลิ้นฟ้า บ่าลิ้นไม้ (เลย) เพกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย โดยพบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติในป่าเบญจพรรณและป่าชื้นทั่วๆไป แม้เพกาจะขึ้นอยู่ในหลายประเทศ แต่ดูเหมือนจะมีแต่ชาวไทยเท่านั้นที่นำเพกามากินเป็นผัก เพกาเป็นผักที่อยู่ในหมวดดอกฝัก.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเพกา · ดูเพิ่มเติม »

เมะทีลา

มะทีลา (မိတ္ထီလာ) เป็นเมืองทางตอนกลางของประเทศพม่า อยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ตั้งอยู่ริมทะเลสาบเมะทีลา เป็นสถานที่ตั้งของกองทัพอากาศพม่า มหาวิทยาลัยวิศวกรรมการบินและอวกาศแห่งแรกของประเทศ อยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ไปทางทิศใต้ 121 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเมะทีลา · ดูเพิ่มเติม »

เมาะลำเลิง

มาะลำเลิง หรือ มะละแหม่ง (မော်လမြိုင်) ในเอกสารเก่าของไทยเรียก เมืองพัน เป็นเมืองหลวงของรัฐมอญและเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเมาะลำเลิง · ดูเพิ่มเติม »

เมาะตะมะ

เมาะตะมะ (မုတ္တမမြို့; Mottama) เดิมชื่อ มะตะบัน เป็นเมืองเล็ก ๆ ในรัฐมอญ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งเหนือของแม่น้ำสาละวิน เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดี ในช่วงศตวรรษที่ 13-14 เมืองนี้ในอดีต มีความสำคัญที่ พม่าใช้รวมพลเตรียมทัพจัดขบวน ก่อนจะข้ามลำน้ำสาละวิน ด่านเจดีย์สามองค์ แล้วแบ่งกองกำลัง เพื่อเข้ามาทำสงครามตีเมืองต่างๆ เช่น อยุธยา, ธนบุรี ฯลฯ ในสยาม หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐมอญ.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเมาะตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองยอง

มืองยอง เป็นเมืองหรืออำเภอหนึ่งใน รัฐฉาน ประเทศพม่าขึ้นกับแขวงเมืองพะยาค เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ทั้งเกี่ยวข้องกับ พม่า ล้านนา สยาม ลาว และ เขตสิบสองปันนา ของจีน ผู้ที่อยู่อาศัยในเมือง จะถูกเรียกว่า ชาวลื้อ คนเมืองยองสืบเชื้อสายมาจากผู้คนที่อพยพมาจากเมืองเชียงรุ่งและเมืองอื่น ๆ ในสิบสองพันนา ซึ่งเป็นคนลื้อหรือไทลื้อ และเมื่ออพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญ่ในเมืองลำพูนในปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเมืองยอง · ดูเพิ่มเติม »

เสือสมิง

วาดเสือสมิงของชาวตะวันตกในปี ค.ศ. 1763 เสือสมิง เป็นผีหรือปีศาจตามความเชื่อของชาวไทยและชาวกะเหรี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับป่าและภูติผีวิญญาณสิ่งชั่วร้าย เสือสมิง คือ ผีหรือปีศาจที่มีรูปร่างเป็นเสือโคร่งขนาดใหญ่ อาละวาดกินคนเป็นอาหาร เชื่อว่า เสือสมิงเกิดจากเวทมนตร์คาถาทางไสยศาสตร์ หรือเป็นเสือที่กินคนเข้าไปมาก ๆ แล้ววิญญาณของคนที่ถูกกินไปสิงอยู่ในเสือตัวนั้นจนกลายเป็นเสือสมิง เสือสมิงโดยปกติจะมีร่างเป็นคน แต่สามารถแปลงร่างเป็นเสือได้ในเวลากลางคืน และออกหาเหยื่อ เมื่ออกล่าเหยื่อจะแปลงร่างเป็นบุคคลต่าง ๆ นานา เพื่อล่อลวง เช่น แปลงเป็นลูกเมียของเหยื่อ หรือแม้กระทั่งแปลงเป็นพระธุดงค์ก็มี ในระหว่างเสด็จประพาศต้นในปี พุทธศักราช 2419 ที่ป่าจันทบุรี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชนิพนธ์บันทึกถึงความเชื่อเรื่องเสือสมิงของผู้คนที่อาศัยในแถบนี้ ความตอนหนึ่งว.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเสือสมิง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543

นายเบดาห์หรือปรีดา ผู้นำการก่อการร้ายที่ ร.พ.ศูนย์ราชบุรี จอห์นนี่ (ซ้าย) และ ลูเธอร์ ทู (ขวา) ผู้นำก๊อด'ส อาร์มี่ เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554

หตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องหมายนา

วาด – เอื้องหมายนา เอื้องหมายนา (หรือ Cheilocostus speciosus; Indian Head Ginger) หรือ เอื้องเพชรม้า เป็นพืชล้มลุกอายุหลายฤดู จัดอยู่ในวงศ์เอื้องหมายนา ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ มีเหง้าใต้ดิน ใช้เป็นไม้ประดับได้ เจริญได้ดีทั้งในที่ได้รับร่มเงาบ้าง หรือกลางแสงแดดจัดที่มีความชื้นสูง เอื้องหมายนาเป็นพืชมีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนและเป็นพืชประจำถิ่นในประเทศอินเดีย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเกาะนิวกินี.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเอื้องหมายนา · ดูเพิ่มเติม »

เอคโค่ จิ๋วก้องโลก

อคโค่ จิ๋วก้องโลก (Echo Planet) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ สร้างโดย กันตนา ผลงานกำกับโดย คมภิญญ์ เข็มกำเนิด จากบทภาพยนตร์ของ วรัญญู อุดมกาญจนานนท์ และ คงเดช จาตุรันต์รัศมี เป็นเรื่องราวการผจญภัยของเด็ก 3 คนจาก 2 มุมโลก คือ มหานครนิวซีตี้ แคปิตัลสเตท และจากหมู่บ้านกะเหรี่ยงทางภาคเหนือของประเทศไทย ที่ช่วยกันกอบกู้โลกจากหายนภัยเนื่องจากภาวะโลกร้อน ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์คอมพิวเตอร์แอนิเมชันเรื่องแรกของประเทศไทย ที่สร้างในระบบสามมิติ สเตอริโอสโคปิก (Stereoscopic 3D).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเอคโค่ จิ๋วก้องโลก · ดูเพิ่มเติม »

เขตพะโค

ตพะโค (ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางเหนือของเขตติดต่อกับเขตมาเกวและเขตมัณฑะเลย์ ทางตะวันออกกับรัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ และอ่าวเมาะตะมะ ทางใต้กับเขตย่างกุ้ง และทางตะวันตกกับเขตอิรวดีและรัฐยะไข่ พิกัดภูมิศาสตร์ของเขตพะโคได้แก่ 46°45' เหนือ, 19°20' เหนือ, 94°35' ตะวันออก และ 97°10' ตะวันออก.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเขตพะโค · ดูเพิ่มเติม »

เขตมะเกว

ตมาเกว (မကွေးတိုင်းဒေသကြီး) คือเขตการปกครองแห่งหนึ่งในภาคกลางของประเทศพม่า มีเนื้อที่ 17,306 ตารางไมล์ (44,820 ตารางกิโลเมตร).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

เขตมัณฑะเลย์

ตมัณฑะเลย์ (မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า อยู่ในบริเวณภาคกลาง เมืองหลวงของเขตคือเมืองมัณฑะเลย์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลาง และเมืองหลวงของประเทศคือเนปยีดอซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตนี้.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเขตมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตย่างกุ้ง

ตย่างกุ้ง (ရန်ကုန်တိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณพม่าตอนล่าง มีเมืองหลวงคือย่างกุ้ง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและอดีตเมืองหลวงของประเทศ เมืองที่สำคัญอื่น ๆ เช่น สิเรียมและตวูนเต เขตนี้เป็นพื้นที่มีการพัฒนามากที่สุดของประเทศและเป็นประตูสู่นานาชาติ เขตย่างกุ้งมีเนื้อที่ 10,276.7 ตารางกิโลเมตร (3,967.9 ตารางไมล์).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเขตย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เขตอิรวดี

ตอิรวดี (ဧရာဝတီတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ครอบคลุมพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำของแม่น้ำอิรวดี ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 15° 40' ถึง 18° 30' เหนือ ลองจิจูด 94° 15' ถึง 96° 15' ตะวันออก มีเนื้อที่ 13,566 ตารางไมล์ (35,140 ตารางกิโลเมตร) มีประชากรมากกว่า 6.5 ล้านคน ทำให้เขตอิรวดีมีประชากรมากที่สุดเมื่อเทียบกับรัฐหรือเขตอื่นของพม่า ความหนาแน่นของประชากรเป็น 466 คนต่อตารางไมล์ (180 คนต่อตารางกิโลเมตร) มีเมืองหลวงชื่อพะสิม (Pathein) เขตอิรวดีมีภูเขายะไข่ (ทิวเขาอะระกัน) กระหนาบข้างในพื้นที่ทางทิศตะวันตก และพื้นที่ส่วนใหญ่ถูกแผ้วถางสำหรับการเพาะปลูกข้าว ทำให้มีชื่อเสียงในเรื่องแหล่งผลิตข้าวหลักของประเทศในศตวรรษที่ 21 เขตอิรวดีก็มีทะเลสาบจำนวนหนึ่ง ในบรรดาลำน้ำสาขาที่แยกออกจากแม่น้ำอิรวดี แม่น้ำที่มีชื่อเสียงได้แก่ แม่น้ำงะวูน (Ngawun) แม่น้ำพะสิม และแม่น้ำโต (Toe).

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเขตอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

เขตตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး, ตะนี้นตายี; ဏၚ်ကသဳ หรือ တနၚ်သြဳ) เป็นเขตที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

เด็กโต๋

็กโต๋ เป็นภาพยนตร์นอกกระแส ประเภทสารคดี เมื่อปี..

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเด็กโต๋ · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อเรื่องเพชรพระอุมา

นื้อเรื่องเพชรพระอุมา เป็นเนื้อเรื่องทั้งหมดของนวนิยายเรื่องเพชรพระอุมาจำนวน 48 เล่ม แบ่งเนื้อเรื่องเป็นสองภาคคือภาคแรก จำนวน 6 ตอน 24 เล่ม และภาคสมบูรณ์ จำนวน 6 ตอน 24 เล่ม.

ใหม่!!: ชาวกะเหรี่ยงและเนื้อเรื่องเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กะเหรี่ยง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »