โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวกะเหรี่ยงและปยีนมะนา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาวกะเหรี่ยงและปยีนมะนา

ชาวกะเหรี่ยง vs. ปยีนมะนา

กะเหรี่ยง, กาเรน, กายิน, หรือคนยาง (ကရင်လူမျိုး,; กะเหรี่ยง) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง มีภาษาพูดเรียกว่าภาษากะเหรี่ยง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อาศัยอยู่มากในรัฐกะเหรี่ยง ภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า กะเหรี่ยงมีประชากรประมาณร้อยละ 7 ของประชากรชาวพม่าทั้งหมด หรือประมาณ 5 ล้านคน ชาวกะเหรี่ยงจำนวนมากอพยพไปอยู่ในประเทศไทย ส่วนใหญ่อาศัยตามแนวชายแดนไทยพม่า กลุ่มกะเหรี่ยงมักจะสับสนกับ กะยันชนเผ่าที่รู้จักกันดีสำหรับแหวนคอสวมใส่โดยผู้หญิงของพวกเขา แต่พวกเขาเป็นเพียงหนึ่งในกลุ่มย่อยของกะเหรี่ยงแดง (คะเรนนี) ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าคะยาในรัฐกะยาของพม่า บางส่วนของชาวกะเหรี่ยงนำโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) ได้เข้าร่วมสงครามต่อต้านรัฐบาลพม่าตั้งแต่ต้นปี 1949 จุดมุ่งหมายของเคเอ็นยูครั้งแรกเพื่อแยกเป็นอิสระ ตั้งแต่ปี 1976 กลุ่มติดอาวุธได้เรียกร้องรัฐบาลกลางในการปกครองตนเองมากกว่าการที่จะแยกเป็นอิสร. ปยีนมะนา (ပျဉ်းမနား,; Pyinmana) เป็นเมืองแห่งการทำไม้และอ้อย ปยีนมะนาตั้งอยู่ใจกลางของเขตมัณฑะเลย์ของประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้ง อดีตเมืองหลวงทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร รัฐบาลพม่าได้ย้ายเมืองหลวงของประเทศมาตั้งที่พื้นที่สีเขียวทางทิศตะวันตกของตัวเมืองนี้ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ปยีนมะนามีชื่อเดิมว่า แหน่จ่าง, แหน่ฉ่าง และ นีงจาง สองชื่อแรกมีความหมายว่า ดินแดนละเว้น เนื่องจากในสมัยกษัตริย์นั้น หากมีการยกทัพทำศึก เมืองปยีนมะนาก็จะไม่อยู่ในเส้นทางเดินทัพ และหากมีการเก็บภาษีท้องที่ก็จะถูกละเว้นการเก็บส่วย ทั้งนี้เพราะบริเวณนั้นเต็มไปด้วยป่าทึบและชื้นแฉะ ส่วนชื่อสุดท้ายมีความหมายว่า สะพานข้าม เนื่องจากมีสะพานข้ามคลองที่ค้าขายกับเมืองหยั่วเก้าก์ยะ ต่อมาในสมัยอาณานิคม มีการเปลี่ยนชื่อ แหน่ฉ่าง หรือ นีงจาง มาเป็น ปยีนมะนา เนื่องจากเวลาที่สะกดชื่อเมืองนีงจางเป็นภาษาอังกฤษ มักจะสับสนกับชื่อเมืองมยีงฉั่ง เวลาส่งจดหมายก็มักจะสลับที่อยู่บ่อย ๆ ทำให้เสียเวลาและเสียงาน ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาจึงเปลี่ยนจาก นีงจาง เป็น ปยีนมะนา แทน โดยเลือกจากชื่อหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ที่สุด คือ ลางปยีนมะนา ซึ่งพื้นที่นี้อยู่ห่างจากตัวเมืองปยีนมะนาปัจจุบันราว 5 ไมล์ เมืองปยีนมะนาแต่เดิมเคยเป็นฐานที่มั่นเก่าที่นายพลอองซาน บิดาของอองซาน ซูจี นำฝ่ายต่อต้านทำสงครามเอกราชต่อสู้กับการครอบครองของเจ้าอาณานิคมอังกฤษ และญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สาเหตุที่รัฐบาลพม่าประกาศย้ายเมืองหลวงไม่แน่ชัดนัก สาเหตุที่เป็นไปได้อาจเป็นว่าปยีนมะนาได้เปรียบย่างกุ้งในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากอยู่ห่างจากชายฝั่งทะเล เพราะพม่ากลัวการรุกรานแบบเดียวกับที่สหรัฐอเมริกาบุกอิรัก สาเหตุประการอื่นคือปยีนมะนาอยู่ใจกลางประเทศ ทำให้ง่ายต่อการปกครอง และใกล้กับชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ทำให้สั่งการทางทหารได้ง่ายกว่า สาเหตุสุดท้ายคือเป็นคำแนะนำของโหรประจำตัวนายพลตาน ฉ่วย ผู้ครองอำนาจสูงสุดในพม่า มีกระแสข่าวออกมาว่าเมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่าที่ย้ายไปตั้งที่ทำการในบริเวณเมืองปยีนมะนานั้นจะใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ยานโลน (Yan Lon) อันมีความหมายว่า ปลอดภัยจากการต่อสู้ (Secure from Strife) นอกจากนั้นที่ตั้งแห่งใหม่นี้ยังทำบังเกอร์หลบภัยแน่นหนา ติดตั้งขีปนาวุธต่อสู้อากาศยานอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตามภายหลัง รัฐบาลพม่าได้ขนานนามเมืองหลวงใหม่แห่งนั้นว่าเนปยีดอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาวกะเหรี่ยงและปยีนมะนา

ชาวกะเหรี่ยงและปยีนมะนา มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ศาสนาพุทธศาสนาคริสต์

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ชาวกะเหรี่ยงและศาสนาพุทธ · ปยีนมะนาและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ชาวกะเหรี่ยงและศาสนาคริสต์ · ปยีนมะนาและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาวกะเหรี่ยงและปยีนมะนา

ชาวกะเหรี่ยง มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปยีนมะนา มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 3.57% = 2 / (40 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวกะเหรี่ยงและปยีนมะนา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »