โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด

ดัชนี โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด

รูปผิดปกติแต่กำเนิดของหัวใจ หรือ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (congenital heart disease/defect, CHD) คือภาวะที่มีความผิดปกติของโครงสร้างของหัวใจที่เป็นมาตั้งแต่กำเนิด ผู้ป่วยอาจมีอาการและอาการแสดงได้หลากหลายตามแต่ชนิดของความผิดปกติ โดยอาจมีตั้งแต่ไม่มีอาการใด ๆ ไปจนถึงเสียชีวิตได้ทันทีหลังเก.

3 ความสัมพันธ์: หัวใจหทัยวิทยาความบกพร่องของผนังกั้นหัวใจห้องล่าง

หัวใจ

หัวใจ เป็นอวัยวะกล้ามเนื้อซึ่งสูบเลือดทั่วหลอดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยการหดตัวเป็นจังหวะซ้ำ ๆ พบในสัตว์ทุกชนิดที่มีระบบไหลเวียน ซึ่งรวมสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย หัวใจสัตว์มีกระดูกสันหลังนั้นประกอบด้วยกล้ามเนื้อหัวใจและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นหลัก กล้ามเนื้อหัวใจเป็นกล้ามเนื้อลายที่อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ พบเฉพาะที่หัวใจ และทำให้หัวใจสามารถสูบเลือดได้ หัวใจมนุษย์ปกติเต้น 72 ครั้งต่อนาที ซึ่งจะเต้นประมาณ 2,500 ล้านครั้งในช่วงอายุเฉลี่ย 66 ปี และสูบเลือดประมาณ 4.7-5.7 ลิตรต่อนาที หนักประมาณ 250 ถึง 300 กรัมในหญิง และ 300 ถึง 350 กรัมในชาย คำคุณศัพท์ cardiac มาจาก kardia ในภาษากรีก ซึ่งหมายถึงหัวใจ หทัยวิทยาเป็นแขนงแพทย์เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคและความผิดปกติของหัวใ.

ใหม่!!: โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดและหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

หทัยวิทยา

หทัยวิทยา (cardiology) คือ การแพทย์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจ ซึ่งจะมีทั้งการวินิจฉัยและรักษาโรคเกี่ยวกับหัวใจ เช่น โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (congenital heart defect: CHD) โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะหัวใจวาย โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease) และ ระบบไฟฟ้าของหัวใจ (electrophysiology) แพทย์เฉพาะทางที่ศึกษาด้านนี้เรียกว่า นักหทัยวิทยา หรือ หทัยแพทย์ (cardiologist) ซึ่งต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต แพทย์ประจำบ้านด้านอายุรศาสตร์ และแพทย์ประจำบ้านต่อยอดด้านโรคหัวใ.

ใหม่!!: โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดและหทัยวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ความบกพร่องของผนังกั้นหัวใจห้องล่าง

Ventricular septal defect ความบกพร่องของผนังกั้นหัวใจห้องล่าง (ventricular septal defect, VSD) เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดของหัวใจ เป็นความบกพร่องที่เกิดกับผนังกั้นหัวใจห้องล่าง เกิดเป็นรูเชื่อมระหว่างหัวใจห้องซ้ายล่างกับหัวใจห้องขวาล่าง ผนังกั้นหัวใจห้องล่างอาจแบ่งออกได้เป็นสองส่วนคือส่วนล่างที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ (muscular) และส่วนบนที่ประกอบด้วยเยื่อบางเป็นส่วนใหญ่ (membranous) ส่วนของผนังกั้นหัวใจห้องล่างทั้งสองส่วนนี้มีเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ทำหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าอยู่เป็นปริมาณมากและทำหน้าที่สำคัญในการนำสัญญาณไฟฟ้าของหัวใจ ส่วนที่เป็นเยื่อบางเป็นส่วนที่เกิดความบกพร่องได้ที่สุดและพบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยเด็กโตและผู้ใหญ่ Congenital VSDs are collectively the most common congenital heart defects.

ใหม่!!: โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดและความบกพร่องของผนังกั้นหัวใจห้องล่าง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Congenital heart defectCongenital heart defectsCongenital heart diseaseCongenital heart diseasesรูปผิดปกติแต่กำเนิดของหัวใจหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »