โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

19 ตุลาคม

ดัชนี 19 ตุลาคม

วันที่ 19 ตุลาคม เป็นวันที่ 292 ของปี (วันที่ 293 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 73 วันในปีนั้น.

49 ความสัมพันธ์: ชลธร ปรัชญารุ่งโรจน์บวรศักดิ์ อุวรรณโณพ.ศ. 2324พ.ศ. 2405พ.ศ. 2414พ.ศ. 2453พ.ศ. 2470พ.ศ. 2480พ.ศ. 2497พ.ศ. 2509พ.ศ. 2514พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2519พ.ศ. 2526พ.ศ. 2530พ.ศ. 2535พ.ศ. 2538พ.ศ. 2547พ.ศ. 2556พ.ศ. 2560พัชรศรี เบญจมาศรัฐเวอร์จิเนียวลาดีมีร์ กาบูลอฟวันรัฐธรรมนูญวันเทคโนโลยีของไทยสหรัฐสงครามปฏิวัติอเมริกาหม่อง เอฮันส์ เชเฟอร์จอร์จ วอชิงตันจักรกฤษณ์ พณิชย์ผาติกรรมดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์คีนญุนปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนประเทศพม่าประเทศฝรั่งเศสประเทศแอลเบเนียปีอธิกสุรทินนีวเวแซม อัลลาร์ไดซ์เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ดเดวิด วักเนอร์ (นักฟุตบอล)10 เมษายน21 สิงหาคม30 สิงหาคม31 มกราคม7 พฤศจิกายน

ชลธร ปรัชญารุ่งโรจน์

รสธร ปรัชญารุ่งโรจน์ นักร้องและนักแสดงชาวไทย มีผลงานที่เป็นที่รู้จักจากการเป็นนักร้องคู่ในชื่อ ซิสก้า (Siska) สังกัดค่ายกามิกาเซ่ ในเครืออาร์เอส และจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง "ม.3 ปี 4 เรารักนาย" และภาพยนตร์เรื่อง ""มัน เปลี่ยว มาก"" ปัจจุบันศึกษาอยู่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาภาษาอังกฤษธุรกิจ ปัจจุบัน แจมพักงานในวงการบันเทิงชั่วคราว เพื่อเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย คาดว่าจะกลับมามีผลงานในอีกไม่ช้า และแจมกำลังรอสรุปผลงานในค่ายด้วยเพราะมินเพื่อนร่วมวงซิสก้าได้ถอนตัวออกจากค่ายไปแล้ว ปัจจุบันแจมได้ถอนตัวออกจากค่ายกามิกาเซ่อย่างเป็นทางการแล้ว ในปี2016 แจมได้แสดงซิทคอมเรื่อง "วุ่นรักพลพรรคตั้งตัว" ทางช่อง Now26 โดยในเรื่องรับบทเป็น "รินิน" และเป็นพิธีกรรายการท่องเที่ยว "สไตล์ไทย" ปัจจุบันแจมได้เข้ามาเป็นศิลปินภายใต้สังกัด "DEMOLAB (เดโมแล็บ)" ในปีพ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นค่ายเพลงอินดี้ของ ณรงค์ศักดิ์ ศรีบรรฎาศักดิ์วัชรากรณ์ (เอฟู) โดยมีศิลปินชื่อดังในค่ายมากมาย ได้แก่ แก้ว จริญญา, กิ๊บซี่ วนิดา (Girly Berry), กวิน 3.2.1 เป็นต้น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและชลธร ปรัชญารุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและบวรศักดิ์ อุวรรณโณ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2405 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2414 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พัชรศรี เบญจมาศ

ัชรศรี เบญจมาศ (ชื่อเล่น: แมร์) หรือ กาละแมร์ เป็นทั้งพิธีกร ผู้ประกาศ และเป็นคอลัมนิสต์ให้กับนิตยสาร มติชนสุดสัปดาห์ Cleo และ chicmistry.com ในข้อ Good Girl Living in sin ก่อนหน้านั้นเธอเคยเขียนให้กับ เนชั่นสุดสัปดาห์ มาร์ ดีมานด์ ลิซ่า discazine และ i-mono อีกด้วย และยังได้เป็นนักแสดงแสดงภาพยนตร์เรื่อง แก๊งชะนีกับอีแอบ ร่วมกับเพื่อนพิธีกรรายการผู้หญิงถึงผู้หญิง และ ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์ พัชรศรีเกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เรียนจบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนไผทอุดมศึกษา กับโรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์ จากนั้น เข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ก่อนเข้าเป็นนิสิตจุฬาฯ เริ่มฝึกงานในตำแหน่งผู้สื่อข่าวช่อง 3 จบปริญญาตรีนิเทศศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน (วิทยุโทรทัศน์) ปี 2539 พัชรศรีมีชื่อเสียงจากนิสัยที่เปิดเผย และตรงไปตรงมา เธอโด่งดังจากการเขียนหนังสือในปี 2545 เรื่อง "กายกรรมบนเส้นด้าย" และ "ผู้ชายเลวกว่าหมาและไม่ได้มาจากดาวอังคาร" ซึ่งเป็นที่วิจารณ์อย่างมากจากผู้อ่านเพศชาย ตามด้วย "ผู้หญิงยิงฟัน" และหลังจากนั้นก็ได้มีงานเขียนตามออกมาอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น "ผู้หญิงร้าย ผู้ชายรัก" ที่เธอทำหน้าที่เรียบเรียงจากหนังสือ Why Men Love Bitches ก็มียอดขายนับแสนเล่ม โดยหนังสือเล่มล่าสุด คือ “คิด-เช่น-แมร์ ” (Kitchen Mare) นอกจากนี้ ยังมีอีก 2 เล่มที่ร่วมเขียน คือ "บอลเข้าเส้น" กับ "รักแรก" พัชรศรียังเคยเป็นพิธีกรรายการผู้หญิงถึงผู้หญิงทางช่อง 3 ซึ่งเป็นรายการที่สร้างชื่อเสียงให้กับเธอเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ พัชรศรียังได้เป็นต้นแบบให้กับการ์ตูนแอนิเมชั่นเรื่อง "4 Angies" ที่นำบุคลิกของทั้ง 4 สาวจากรายการผู้หญิงถึงผู้หญิงมาเป็นแบบให้กับตัวการ์ตูน และยังเป็นผู้พากย์บรรยายตอนต้นและตอนจบของการ์ตูนในแต่ละตอนอีกด้วย อีกทั้งยังได้ไปปรากฏตัวในวรรณกรรมไทยเรื่อง The White Road Spirit II วรรณอันดับ 1 Sci-Fi Fantasy เมืองไทย ของ ดร.ป๊อป ในบทตัวละคร"แมร์".

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและพัชรศรี เบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐเทนเนสซี ทางทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเคนทักกี และ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ทางทิศตะวันตก เวอร์จิเนียประกอบไปด้วย 95 เคาน์ตี และ 39 เมืองอิสระ จุดสูงสุดในรัฐคือ เมาต์โรเจอส์ และจุดต่ำสุดในรัฐคือมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐเวอร์จิเนีย ตั้งตามชื่อของ สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์ (The Virgin Queen) รัฐเวอร์จิเนียเป็นบ้านเกิดของประธานาธิบดี 8 คน ซึ่งรวมถึง จอร์จ วอชิงตัน และ โทมัส เจฟเฟอร์สัน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและรัฐเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ กาบูลอฟ

วลาดีมีร์ บอริซอวิช กาบูลอฟ (Владимир Борисович Габулов, Гæбулты Борисы фырт Владимир, Gæbulty Borisy fyrt Vladimir, เกิด 19 ตุลาคม ค.ศ. 1983) เป็นผู้รักษาประตูชาวรัสเซีย ปัจจุบันสังกัดสโมสรกลึบบรึคเคอในเบลเยียม เขาเป็นส่วนหนึ่งของทีมชาติในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008, ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 และฟุตบอลโลก 2018 ในฐานะผู้รักษาประตูมือสาม กาบูลอฟมีน้องชายหนึ่งคน ชื่อว่า กอร์กี กาบูลอฟ ซึ่งปัจจุบันก็เล่นฟุตบอลด้วยเหมือนกัน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและวลาดีมีร์ กาบูลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วันรัฐธรรมนูญ

วันรัฐธรรมนูญ (Constitution Day) เป็นวันหยุดราชการเพื่อรำลึกถึงรัฐธรรมนูญของประเทศนั้น ๆ วันรัฐธรรมนูญมักจะถูกจัดให้ตรงกับวันครบรอบการลงลายมือชื่อ การประกาศใช้ หรือการเห็นชอบซึ่งรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและวันรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

วันเทคโนโลยีของไทย

วันเทคโนโลยีของไทย (19 ตุลาคม) เป็นวันเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นหน่วยงานหลักในการจัดงาน และกิจกรรมเกี่ยวกับการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในฐานะที่ทรงเป็น “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย”การใช้คำว่า "พระบิดา" นี้ อาจจะไม่ถูกต้องทางด้านการใช้ภาษาเพราะ "เทคโนโลยีมิใช่เจ้า" จึงไม่มี "พระบิดา" แต่ผู้ใช้คำนี้อาจจะต้องการมุ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในฐานะที่ "ทรงเป็นเจ้า" โดยเรื่องนี้ยังเป็นหัวข้อที่ถกเถียงกันอยู่ในวงการภาษา เก็บความจาก โดยมีการเริ่มจัดงานครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและวันเทคโนโลยีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและสงครามปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อง เอ

พลเอก หม่อง เอ (မောင်အေး), เกิด 25 ธันวาคม พ.ศ. 2480) ผู้นำอันดับสองของรัฐบาลทหารพม่า ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกพม่า ในปี พ.ศ. 2536 และได้รับแต่งตั้งเป็นรองประธานสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น สภาสันติภาพ และการพัฒนาแห่งรัฐ - SPDC) รองจาก พลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย‎ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ถึง พ.ศ. 2554 หมวดหมู่:ทหารชาวพม่า.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและหม่อง เอ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ เชเฟอร์

ันส์ เชเฟอร์ (Hans Schäfer; 19 ตุลาคม พ.ศ. 2470 – 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560), เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวเยอรมัน ซึ่งเล่นให้กับแอร์สเทอเอฟเซเคิล์น ในช่วงปี..

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและฮันส์ เชเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและจอร์จ วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรกฤษณ์ พณิชย์ผาติกรรม

อก จักรกฤษณ์ พณิชย์ผาติกรรม (31 มกราคม พ.ศ. 2516 — 19 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นนักกีฬายิงปืนทีมชาติไทย ประเภทปืนสั้นอัดลมยิงช้า สำเนาจาก หนังสือพิมพ์ข่าวสด, หน้า 12 และเป็นนักแสดง มีผลงานแสดงนำเรื่อง หมากเตะรีเทิร์นส ในบทผู้จัดการฟุตบอลทีมชาติอาวี, ลิ้มโต๊ะเคี่ยม ใน ปืนใหญ่จอมสลัด และ อุปราชมังระ ในขุนรองปลัดชู จักรกฤษณ์ เป็นบุตรชายของมานพ พณิชย์ผาติกรรม อดีตนักกีฬายิงปืนทีมชาติไทย เจ้าของหลายเหรียญทองในกีฬาซีเกมส์ และเอเชียนเกมส์ จาก สยามดารา, 28 กรกฎาคม 2550 จบการศึกษา ปว.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและจักรกฤษณ์ พณิชย์ผาติกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์

ผังดาวโจนส์ 2439-2558 ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ (Dow Jones Industrial Average), เป็นดัชนีตลาดหลักทรัพย์ดัชนีหนึ่ง และเป็นหนึ่งในดัชนีซึ่งถูกสร้างโดยชาลส์ ดาว บรรณาธิการวอลล์สตรีทเจอร์นัล และผู้ร่วมก่อตั้งดาวโจนส์แอนด์คอมพานี ปัจจุบันเป็นของกลุ่มซีเอ็มอีกรุ๊ป ชื่อของดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ถูกตั้งขึ้นตามชื่อของชาลส์ ดาว และเอ็ดเวิร์ด โจนส์ นักสถิติ ดัชนีนี้แสดงถึงการซื้อขายหุ้นของบริษัทมหาชนขนาดใหญ่ 30 บริษัทในสหรัฐอเมริกาในระหว่างช่วงเวลาที่ตลาดหลักทรัพย์เปิดให้ซื้อขายตามปกติ มันเป็นดัชนีตลาดหลักทรัพย์สหรัฐอเมริกาที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับสองรองจากดัชนีคมนาคมดาวโจนส์ ซึ่งถูกสร้างโดยดาวเช่นกัน.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ · ดูเพิ่มเติม »

คีนญุน

ลเอก คีนญุน (ခင်ညွန့်၊ ဗိုလ်ချုပ်ကြီး) เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2482 นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของพม่า สืบต่อตำแหน่งจากพลเอกอาวุโส ตานชเว เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2546 เป็นชาวพม่าเชื้อสายจีน สมรสกับดอคีนวีนชเว สำเร็จการศึกษาจาก Yankin College เมื่อปี..

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและคีนญุน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและปฏิทินสุริยคติ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลเบเนีย

แอลเบเนีย (Albania; Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (Republic of Albania; Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและประเทศแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและปีอธิกสุรทิน · ดูเพิ่มเติม »

นีวเว

นีวเว (Niue; นีวเว: Niuē) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มักเรียกว่า "Rock of Polynesia" นีวเวปกครองตนเอง แต่นอกจากนี้ นีวเวยังอยู่ในความสัมพันธ์เสรี (free association) กับประเทศนิวซีแลนด์ด้วย นั่นหมายความว่าประมุขโดยชอบธรรมของนิวซีแลนด์เป็นประมุขรัฐของนีวเวด้วย และความสัมพันธ์ทางการทูตส่วนใหญ่จะจัดโดยนิวซีแลนด์ นีวเวตั้งอยู่ห่างจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวซีแลนด์ 2,400 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมระหว่างประเทศตองงา ประเทศซามัว และหมู่เกาะคุก.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและนีวเว · ดูเพิ่มเติม »

แซม อัลลาร์ไดซ์

แซม อัลลาร์ไดซ์ (Sam Allardyce; เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1954) " เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและแซม อัลลาร์ไดซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด

ออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด บารอนรัทเทอร์ฟอร์ดแห่งเนลสันที่ 1 เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Ernest Rutherford, 30 สิงหาคม พ.ศ. 2414 - 19 ตุลาคม พ.ศ. 2480) หรือในชื่อที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า ลอร์ด รัทเทอร์ฟอร์ด ได้รับการยกย่องให้เป็น "บิดา" แห่งฟิสิกส์นิวเคลียร์ เขาเป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีการโคจรของอะตอม ชื่อของเขาได้นำไปใช้เป็นชื่อธาตุที่ 104 คือ รัทเทอร์ฟอร์เดียม.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด วักเนอร์ (นักฟุตบอล)

วิด ว๊ากเนอร์ (เกิดวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1971) เป็นผู้จัดการของสโมสรฟุตบอลฮัดเดอส์ฟิลด์ ทาวน์ ในพรีเมียร์ลีก เขาเติบโตในเยอรมนี และลงเล่นสโมสรอาชีพครั้งแรกของเขากับไอน์ทรัค แฟร้งค์เฟิร์ตในปี..

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและเดวิด วักเนอร์ (นักฟุตบอล) · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มกราคม

วันที่ 31 มกราคม เป็นวันที่ 31 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 334 วันในปีนั้น (335 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและ31 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 19 ตุลาคมและ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

19 October19 ต.ค.๑๙ ตุลาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »