สารบัญ
32 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2135พ.ศ. 2155พ.ศ. 2171พ.ศ. 2174พ.ศ. 2209พ.ศ. 2526พลอย (แก้ความกำกวม)ภาษาอาหรับภาษาฮินดีมรดกโลกมัสยิดมุมตาซ มหัลมเหสีรัฐมนตรีรัฐอุตตรประเทศละหมาดศิลาแลงสถาปัตยกรรมหินหินอ่อนอัคระอนุสรณ์สถานจักรพรรดิชะฮันคีร์จักรพรรดิชาห์ชะฮันจักรวรรดิโมกุลประเทศอินเดียแม่น้ำยมุนาโมราโดมเพชรเอเคอร์เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
- การท่องเที่ยวในประเทศอินเดีย
- สิ่งก่อสร้างในอาครา
- แหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย
- โดม
พ.ศ. 2135
ทธศักราช 2135 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2155
ทธศักราช 2155 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2171
ทธศักราช 2171 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2174
ทธศักราช 2174 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2209
ทธศักราช 2209 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2526
ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พลอย (แก้ความกำกวม)
ลอย โดยทั่วไปหมายถึงแร่รัตนชาติหรืออัญมณีโดยทั่วไปที่ไม่ใช่เพชร "พลอย" สามารถหมายถึง;ชื่อบุคคล.
ดู ทัชมาฮาลและพลอย (แก้ความกำกวม)
ภาษาอาหรับ
ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.
ภาษาฮินดี
ษาฮินดีเป็นภาษาที่พูด ส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อยู่ในกลุ่มย่อย อินโด-อิหร่าน มีวิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขาอินโด-อารยันกลาง ของยุคกลาง และมีวิวัฒนาการทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีได้นำคำศัพท์ชั้นสูงส่วนใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากนี้ เนื่องจากอิทธิพลของชาวมุสลิมในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดียังมีคำที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ และ ภาษาตุรกี เป็นจำนวนมาก และในที่สุดได้ก่อให้เกิดภาษาอูรดูขึ้น สำหรับภาษา"ฮินดีมาตรฐาน" หรือ "ฮินดีแท้" นั้น มีใช้เฉพะการสื่อสารที่เป็นทางการ ขณะที่ภาษาซึ่งใช้ในชีวิตประจำวันในพื้นที่ส่วนใหญ่นั้น ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นย่อย ของภาษาฮินดูสตานี ในแง่ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์นั้น ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู ถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน แตกต่างตรงที่ ภาษาฮินดีนั้นเขียนด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ขณะที่ภาษาอูรดูนั้น เขียนด้วยอักษรเปอร์เซียและอาหรั.
มรดกโลก
ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ.
มัสยิด
มืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น มัสยิด (مسجد มัสญิด) หรือ สุเหร่า (Surau) เป็นศาสนสถานของชาวมุสลิม คำว่า มัสญิด เป็นคำภาษาอาหรับแปลว่า สถานที่กราบ ชาวมุสลิมในแต่ละชุมชนจะสร้างมัสยิดขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา อันได้แก่การนมาซ และการวิงวอน การปลีกตนเพื่อบำเพ็ญตบะ หาความสันโดษ (อิอฺติกาฟ และ คอลวะหฺ) นอกจากนี้มัสยิดยังเป็นโรงเรียนสอนอัลกุรอาน และศาสนา สถานที่ชุมนุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ทำบุญเลี้ยง สถานที่ทำพิธีสมรส และสถานที่พักพิงของผู้สัญจรผู้ไร้ที่พำนัก โดยที่จะต้องรักษามารยาทของมัสยิด เช่นการไม่คละเคล้าระหว่างเพศชายและหญิง การกระทำที่ขัดกับบทบัญญัติห้ามของอิสลาม (ฮะรอม) ทั้งมวล.
มุมตาซ มหัล
ระนางมุมตาซ มหัล มุมตาซ มหัล หรือ มัมทัส มาฮาล (เมษายน ค.ศ. 1593 - 17 มิถุนายน ค.ศ. 1631; เปอร์เซีย/อุรดู: ممتاز محل หมายถึง "เครื่องประดับอันเป็นที่รักแห่งพระราชวัง") เป็นพระนามซึ่งตั้งให้แก่อรชุมันท์ พานู เพคม จักรพรรดินีแห่งอินเดียในราชวงศ์โมกุล พระนางประสูติในอักรา ประเทศอินเดีย ในครอบครัวเปอร์เซียชั้นสูง เป็นพระธิดาของอับดุล ฮะซัน อาซัฟ ข่าน ทำให้พระนางเป็นพระนัดดา (หลานสาว) และในภายหลังเป็นพระสุณิสา (ลูกสะใภ้) ในสมเด็จพระจักรพรรดินีนูร์ ชะฮัน (ผู้ซึ่งในภายหลังเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์)http://persian.packhum.org/persian/main?url.
มเหสี
มเหสี อาจหมายถึง.
รัฐมนตรี
รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.
รัฐอุตตรประเทศ
รัฐอุตตรประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่บริเวณส่วนบนของประเทศโดยมีเขตแดนติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญในศาสนาฮินดู เช่น เมืองพาราณสี อโยธยา (เมืองเกิดของพระราม) มธุรา (เมืองเกิดของพระกฤษณะ) และอัลลาลาบัดหรือเมืองโกสัมพีในสมัยพุทธกาล อุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐอุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ละหมาด
ละหมาด หรือ นมาซ คือการนมัสการพระเจ้า อันเป็นศาสนกิจอย่างหนึ่งในศาสนาอิสลาม เพื่อแสดงถึงความเคารพสักการะ ความขอบคุณ และความภักดีต่ออัลลอฮ์บรรจง บินกาซัน.
ศิลาแลง
การตัดอิฐจากศิลาแลง ในประเทศอินเดีย thumb ศิลาแลง หรือ แม่รัง เป็นวัสดุในธรรมชาติอย่างหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับหิน สีแดง ส้ม หรือน้ำตาลเข้ม มีรูพรุนทั่วไป นับเป็นวัสดุที่มีความสำคัญในการก่อสร้างในอดีต เนื่องจากมีความอ่อนนุ่มและมีความแข็งพอสมควร.
สถาปัตยกรรม
ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.
หิน
หินทราย หิน เป็นของแข็งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นสารผสมที่เกิดจากการเกาะตัวกันแน่นของแร่ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป หรือ เป็นสารผสมของแร่กับแก้วภูเขาไฟ หรือ แร่กับซากดึกดำบรรพ์ หรือของแข็งอื่น ๆ หินมีหลายลักษณะ รูปร่างที่แตกต่างกันออกไป มีสีสันที่ต่างกันออกไป ตามถิ่นที่อยู่ เราสามารถจำแนกหินที่อยู่บนเปลือกโลกทางธรณีวิทยาออกได้เป็น 3 พวกใหญ่ ๆ คือ.
หินอ่อน
หินอ่อนในธรรมชาติ หินอ่อนเกิดจากแคลเซียมคาร์บอเนต(หินปูน)ที่สะสมอยู่ในท้องทะเลหรือมหาสมุทรมาก่อน กระทั่งเกิดการเคลื่อนไหวขึ้นในบริเวณดังกล่าว คือที่ๆ เคยเป็นทะเลหรือมหาสมุทรกลับกลายเป็นภูเขาขึ้นมา และที่ๆ เคยเป็นบกเป็นภูเขามากลับ กลายเป็นทะเล รวมถึงผ่านกระบวนการทางธรณี เช่น เกิดมีแมกมาไหลออกมา และพอดีหินที่สะสมไว้ในทะเลไปโดนกับแมกมาเข้า สำคัญคือแมกมานั้นเต็มไปด้วยความร้อน ความดัน และก๊าซ จึงทำให้แคลเซียมคาร์บอเนต(หินปูน)ละลาย แล้วตกผลึก เกิดเป็นหินอ่อนขึ้นมาได้ในที่สุด แต่ในกรณีที่เกิดการหลอมละลาย แล้วตกผลึกไม่หมดทีเดียว ก็จะเกิดหินปูนคล้ายหินอ่อน และจะพบพวกซากเปลือกหอยทะเลต่างๆ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยอยู่รวมกับตะกอนแคลเซียมคาร์บอเนต หมวดหมู่:หิน.
อัคระ
อัคระ (आगरा Āgrā, آگرہ, Agra) อดีตเมืองหลวงของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "ฮินดูสถาน" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในรัฐอุตตรประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลัคเนา (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐอุตตรประเทศไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง และ ทางทิศใต้ของกรุงนิวเดลี เมืองอัคระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ.
อนุสรณ์สถาน
อนุสรณ์สถาน อนุสรณ์สถานหรืออนุสาวรีย์ คือสถานที่ หรืออาคาร ซึ่งก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ ระลึกถึงเหตุการณ์ หรือคุณความดีของบุคคล ในอดีต อนุสรณ์สถาน มักจะก่อสร้าง เป็น อาคารซึ่งมักใช้เป็นอาคารอเนกประสงค์ เช่นอาจมี พิพิธภัณฑ์ ห้องประชุม ลานอเนกประสงค์ ห้องจัดนิทรรศการ ส่วนประกอบพิธี หรือบริเวณบรรจุอัฐิ เป็นต้น.
จักรพรรดิชะฮันคีร์
นูรุดดีน สะลีม ชะฮันคีร์ (نورالدین سلیم جهانگیر, ราชสมภพ 20 กันยายน ค.ศ. 1569 - สวรรคต 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1627) พระปรมาภิไธย นูรุดดีน มาจากภาษาอาหรับที่มีความหมายว่า แสงแห่งศรัทธา ส่วนชะฮันคีร์ มาจากภาษาเปอร์เซียที่มีความหมายว่า ผู้พิชิตโลก สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์ กับพระนางโชธาพาอี ทรงครองราชย์สมบัติต่อจากพระชนกในปี ค.ศ.
ดู ทัชมาฮาลและจักรพรรดิชะฮันคีร์
จักรพรรดิชาห์ชะฮัน
ีน มุฮัมมัด คุรรัม ชาห์ชะฮันที่ 1 (شاه جہاں, Persian: شاه جهان, शाहजहां ศาหชหำ, ราชสมภพ 5 มกราคม ค.ศ. 1592 - สวรรคต 22 มกราคม ค.ศ. 1666) พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ กับพระนางโชธพาอี (เจ้าหญิงมนมาตีแห่งโชธปุระ) ทรงครองบัลลังก์ต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ.
ดู ทัชมาฮาลและจักรพรรดิชาห์ชะฮัน
จักรวรรดิโมกุล
ักรวรรดิโมกุล (เปอร์เซีย: سلطنت مغولی هند; อูรดู: مغلیہ سلطنت; Mughal Empire) เป็นจักรวรรดิซึ่งปกครองบริเวณอนุทวีปอินเดียในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 จักรวรรดินี้สืบทอดอำนาจมาจากราชวงศ์ตีมูร์ เริ่มก่อตั้งอาณาจักรในปี..
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
แม่น้ำยมุนา
แม่น้ำยมุนา เป็นแม่น้ำในภูมิภาคเอเชียใต้ มี 2 สายซึ่งชื่อคล้ายกันแต่อยู่ต่างประเทศ ได้แก่ แม่น้ำยมุนาแห่งอินเดีย (ภาษาฮินดูสตานี: /jəmʊnaː/ ภาษาอังกฤษ: Yamuna, Jumna) เป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศอินเดีย ได้ชื่อว่าเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู มีต้นกำเนิดทางภาคเหนือของอินเดียบริเวณเทือกเขาหิมาลัย ไหลขนานกับแม่น้ำคงคาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ และไปรวมกันที่เมืองอัลลอฮาบาดในอินเดีย แม่น้ำยมุนาแห่งอินเดียมีความยาวประมาณ 1,376 กิโลเมตร แม่น้ำยมุนาแห่งบังกลาเทศ (ภาษาเบงกาลี: যমুনা ภาษาอังกฤษ: Jamuna, Jomuna) เป็นแม่น้ำสายสำคัญหนึ่งในสามสายของประเทศบังกลาเทศ และเป็นสาขาหลักของแม่น้ำพรหมบุตรที่ไหลมาจากเทือกเขาหิมาลัยผ่านอินเดียตะวันออกไปยังบังกลาเทศ ส่วนที่ไหลผ่านบังกลาเทศนี้เองที่เรียกว่าแม่น้ำยมุนา แม่น้ำสายนี้ไหลมารวมกับแม่น้ำเพดม่าซึ่งเป็นสาขาหลักของแม่น้ำคงคาที่ไหลผ่านบังกลาเทศ เกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ชื่อว่าสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนาแห่งบังกลาเทศมีความยาวประมาณ 205 กิโลเมตร ยมุนา ยมุนา.
โมรา
มรา หรือ อาเกต (agate) (SiO2) เป็นอัญมณีที่มี หลายสี ที่นิยม คือ ฟ้าอมเทาลายขาว หรือฟ้าในเนื้อหิน ในทางอุตสาหกรรมใช้สำหรับตกแต่งทำเป็นเครื่องประดับเนื่องจากคุณสมบัติของหินที่ต้านทานกรด และมีความแข็งสูง ความเชื่อของหินนี้เป็นเหมือนเครื่องรางของขลังตั้งแต่โบราณ ชาวอียิปต์ ถือว่า ช่วยป้องกันภยันตรายให้เจ้าของ และเป็นตัว แทน ทรัพย์สิน เพิ่ม ความมั่งคั่ง.
โดม
มหัวหอมของโบสถ์เซนต์เบซิล โดม (dome) คือส่วนโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะครึ่งทรงกลมหรือใกล้เคียง โดมจะมีลักษณะผิวโค้งและมีฐานเป็นรูปวงกลม โดมสามารถสร้างได้โดยใช้คอนกรีตหรืออิฐ แรงภายในที่กระทำกับโครงสร้างของจะมีลักษณะเป็นแรงอัดในส่วนบนและ แรงดึงในส่วนล่างของโดม.
เพชร
รดิบ เพชร เป็นอัญมณีรูปแบบหนึ่งของคาร์บอน จัดเรียงตัวเป็นทรงแปดหน้า เป็นแร่ที่แข็งที่สุดตามสเกลของโมส์ (Moh's scale) มีค่าความแข็งเท่ากับ 10 เพชรมีหลายสี สีที่นิยมที่สุดคือสีขาวบริสุทธิ์ สีที่หายากคือสีแดง ฟ้า เขียว ส้ม ชมพู เรียก "แฟนซีไดมอนด์" มีราคาสูงมาก การเจียระไนเป็น 52 เหลี่ยมนับว่าสวยที่สุด เพชรเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจ ความแข็งแกร่ง แหล่งของเพชรมีอยู่ทั่วโลก ส่วนมากพบที่บราซิลและแอฟริกาใต้.
เอเคอร์
อเคอร์ (acre) เป็นหน่วยวัดพื้นที่ที่มีใช้ในระบบต่าง ๆ รวมทั้งระบบอังกฤษและระบบธรรมเนียมสหรัฐอเมริกา หน่วยเอเคอร์ที่ใช้กันทั่วไปมากที่สุดมีสองอย่างได้แก่ เอเคอร์สากล (international acre) และในอเมริกาคือ เอเคอร์รังวัด (survey acre) หน่วยเอเคอร์มักใช้กับการรังวัดที่ดินเป็นหลัก หน่วยเอเคอร์มีความสัมพันธ์กับหน่วยตารางไมล์ นั่นคือ 640 เอเคอร์รวมกันเป็น 1 ตารางไมล์ พื้นที่ 1 เอเคอร์มีขนาดเท่ากับ 4,840 ตารางหลา หรือ 43,560 ตารางฟุต หรือประมาณ 4,050 ตารางเมตร (0.405 เฮกตาร์) หรือ ประมาณ 2.53 ไร.
เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก (Seven Wonders of the World) คือ สิ่งก่อสร้างที่มีความยิ่งใหญ่และโดดเด่น ทั้งหมด 7 แห่งด้วยกัน โดยมีการกล่าวถึงครั้งแรกในงานของเฮโรโดตุส (Herodotos หรือ Herodotus เมื่อราว 5 ศตวรรษก่อนคริสตกาล แต่หลังจากนั้นก็การอ้างถึงจากกวีชาวกรีก เช่น คัลลิมาฆุส แห่งคีเรนี, อันทิพาเตอร์ แห่งซีดอน และฟิโล แห่งไบเซนไทน์ เมื่อราวศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ หรือสิ่งมหัศจรรย์ทั้งเจ็ดของโลก ในบัญชีแรก เรียกกันว่า เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ และหลังจากนั้น ยังมีบัญชีเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางและยุคปัจจุบัน โดยไม่ปรากฏผู้จัดทำรายการอย่างชัดเจน.
ดู ทัชมาฮาลและเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
ดูเพิ่มเติม
การท่องเที่ยวในประเทศอินเดีย
- ทัชมาฮาล
สิ่งก่อสร้างในอาครา
- ทัชมาฮาล
แหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย
- กัวเก่า
- ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)
- ชัยปุระ
- ถ้ำอชันตา
- ทัชมาฮาล
- ทางรถไฟสายกาลกา–ศิมลา
- นาลันทา
- ป้อมอาเมร์
- ป้อมแดง
- ฟเตหปุระสีกรี
- ยอดเขานันทาเทวี
- รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย
- สถูปสาญจี
- อุทยานแห่งชาติกาซีรังคา
โดม
- กัมโปซันโตโมนูเมนตาเล
- กัลเลรีอาวิตโตรีโยเอมานูเอเลเซคอนโด
- ควีนวิกทอเรียบิลดิง
- ทัชมาฮาล
- สถานีรถไฟถนนฟินเดอร์
- หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)
- หอศิลป์แห่งชาติ (วอชิงตัน ดี.ซี.)
- หอหลังคาโดม
- อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะ
- ออแตลเดแซ็งวาลีด
- อาคารแห่งหนังสือ
- อิกลู
- โดม
- โดมทรงหัวหอม