โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟเตหปุระสีกรี

ดัชนี ฟเตหปุระสีกรี

ฟเตหปุระสีกรี (Fatehpur Sikri) เป็นเมืองตั้งอยู่ในเขตอำเภออัคระ รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ก่อตั้งในปี..

36 ความสัมพันธ์: ชายคาพ.ศ. 2128พ.ศ. 2141พ.ศ. 2144พ.ศ. 2263พระเยซูกลุ่มชนเตอร์กิกกำแพงป้องกันภาษาอาหรับมัสยิดรัฐอุตตรประเทศลัทธิศูฟีลาฮอร์วังศาลสุลต่านสถาปนิกหอหลังคาโดมหินอ่อนหินทรายอัคระองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติฮาเร็มผู้สำเร็จราชการจักรพรรดิชะฮันคีร์จักรพรรดิอักบัรจักรวรรดิโมกุลทะเลสาบคริสต์ศตวรรษที่ 15คันทวยคุชราตตำหนักประเทศอิหร่านประเทศอินเดียป้อมอัคราเรขาคณิต

ชายคา

ือส่วนของหลังคาที่ยื่นออกจากตัวอาคาร ทำหน้าที่ป้องกันแดด และฝน ในงานสถาปัตยกรรมไทย เช่นเรือนไทย หรือโบสถ์ ฯลฯ ส่วนที่เป็นจันทันเอก ที่ยื่นออกมาเป็นชายคา มักจะมีไม้ค้ำยัน หรือคันทวย ที่ค้ำยันส่วนยื่นนี้ไว้เพื่อความแข็งแรงของโครงหลังคา และเพิ่มความสวยงามให้แก่อาคาร ที่ปลายของชายคามักจะปิดทับหัวจันทันส่วนปลายด้วยวัสดุ เรียกกันว่าเชิงชาย และจะมีวัสดุปิดเชิงชายอีกชิ้นหนึ่ง เรียกว่า ปิดเชิงชาย หรือปิดนก โดยทั่วไปมักจะเป็นไม้เนื้อแข็ง แต่ในปัจจุบันจะมีวัสดุประเภทไม้เทียม ซึ่งเป็นวัสดุทำเลียนแบบไม้ ซึ่งมีความคงทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศได้ดี เชิงชายส่วนของชายคาด้านสกัดของอาคารจะเรียกว่าปั้นลม ในอาคารเรียนไทยจะเรียกส่วนของปั้นลมนี้ว่า ตัวเหง.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและชายคา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2128

ทธศักราช 2128 ตรงหรือใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและพ.ศ. 2128 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2141

ทธศักราช 2141 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและพ.ศ. 2141 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2144

ทธศักราช 2144 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและพ.ศ. 2144 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2263

ทธศักราช 2263 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและพ.ศ. 2263 · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเตอร์กิก

กลุ่มชนเตอร์กิก (Turkic peoples) เป็นกลุ่มชนยูเรเชียที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือ กลาง และตะวันตกของยูเรเชียผู้พูดภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษากลุ่มเตอร์กิก, Encyclopædia Britannica, Online Academic Edition, 2008 ชนในกลุ่มชนเตอร์กิกมีลักษณะวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์บางอย่างร่วมกัน คำว่า “เตอร์กิก” เป็นคำที่ใช้แทนกลุ่มชาติพันธุ์/ภาษา (ethno-linguistic group) ของชาติพันธุ์ของสังคมที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบันเช่นชาวอาเซอร์ไบจาน, ชาวคาซัคสถาน, ชาวตาตาร์, ชาวคีร์กีซ, ชาวตุรกี, ชาวเติร์กเมน, ชาวอุยกูร์, ชาวอุซเบกิสถาน, ชาวฮาซารา, ชาวการากัลปัก ชาวโนกาย ชาวการาเชย์-บัลการ์ ชาวตาตาร์ไซบีเรีย ชาวตาตาร์ไครเมีย ชาวชูวาช ชาวตูวัน ชาวบัชกีร์ ชาวอัลไต ชาวยาคุตส์ ชาวกากาอุซ และรวมทั้งประชาชนในรัฐและจักรวรรดิเตอร์กิกในอดีตเช่นฮั่น, บัลการ์, คูมัน, ชนอาวาร์, เซลจุค, คาซาร์, ออตโตมัน, มามลุค, ติมูริด และอาจจะรวมทั้งซฺยงหนู (Xiongnu).

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและกลุ่มชนเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงป้องกัน

วนหนึ่งของกำแพงเมืองจีน กำแพงป้องกัน (Defensive wall) คือระบบป้อมปราการที่ใช้ในการป้องกันเมืองหรือชุมชนจากผู้รุกราน ตั้งแต่สมัยโบราณมาจนถึงสมัยปัจจุบันการสร้างกำแพงป้องกันมักจะสร้างล้อมรอบบริเวณชุมชนที่อยู่อาศัย โดยทั่วไปแล้วก็จะเรียกว่า กำแพงเมือง แต่ก็มีกำแพงที่ไม่ล้อมเมืองแต่จะยืดยาวเลยออกไปจากตัวเมืองเป็นอันมากที่ก็ยังถือว่าเป็นกำแพงป้องกัน เช่นกำแพงเมืองจีน, กำแพงเฮเดรียน หรือ กำแพงแห่งแอตแลนติก กำแพงเหล่านี้ใช้ในการป้องกันภูมิภาคหรือบ่งเขตแดนของอาณาจักร นอกจากวัตถุประสงค์โดยตรงในใช้ในการป้องกันจากข้าศึกศัตรูแล้วกำแพงป้องกันยังเป็นสัญลักษณ์ของฐานะและความเป็นอิสระของหมู่ชน หรือ เมือง หรือ ภูมิภาค ภายในกำแพงที่ล้อมเอาไว้ กำแพงป้องกันที่ยังคงเหลืออยู่มักจะเป็นกำแพงที่สร้างด้วยหิน และก็มีกำแพงที่สร้างด้วยอิฐ และ ไม้ที่ยังคงมีเหลืออยู่ให้เห็น การสร้างกำแพงก็ขึ้นอยู่กับภูมิลักษณ์ (topography) ของที่ตั้งและองค์ประกอบของพื้นที่ เช่นบริเวณริมฝั่งทะเล หรือ แม่น้ำ ซึ่งอาจจะเป็นองค์ประกอบที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของระบบป้องกันที่ผสานไปกับหรือเสริมกำแพงป้องกันได้อย่ามีประสิทธิภาพ กำแพงอาจจะเข้าออกได้โดยการใช้ประตูเมืองที่มักจะเสริมด้วยหอ ในยุคกลางสิทธิของผู้ตั้งถิ่นฐานในการสร้างกำแพงป้องกันเป็นอภิสิทธิ์ที่มักจะต้องได้รับจากประมุขของราชอาณาจักรที่เรียกว่า “สิทธิในการสร้างกำแพงป้องกัน” (Right of crenellation) การสร้างกำแพงป้องกันวิวัฒนาการมาเป็นกำแพงอันใหญ่โต และมาพัฒนากันอย่างจริงจังในสมัยสงครามครูเสด และต่อมาในยุคของความรุ่งเรืองของนครรัฐในยุโรป.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและกำแพงป้องกัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิด

มืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น มัสยิด (مسجد มัสญิด) หรือ สุเหร่า (Surau) เป็นศาสนสถานของชาวมุสลิม คำว่า มัสญิด เป็นคำภาษาอาหรับแปลว่า สถานที่กราบ ชาวมุสลิมในแต่ละชุมชนจะสร้างมัสยิดขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา อันได้แก่การนมาซ และการวิงวอน การปลีกตนเพื่อบำเพ็ญตบะ หาความสันโดษ (อิอฺติกาฟ และ คอลวะหฺ) นอกจากนี้มัสยิดยังเป็นโรงเรียนสอนอัลกุรอาน และศาสนา สถานที่ชุมนุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ทำบุญเลี้ยง สถานที่ทำพิธีสมรส และสถานที่พักพิงของผู้สัญจรผู้ไร้ที่พำนัก โดยที่จะต้องรักษามารยาทของมัสยิด เช่นการไม่คละเคล้าระหว่างเพศชายและหญิง การกระทำที่ขัดกับบทบัญญัติห้ามของอิสลาม (ฮะรอม) ทั้งมวล.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและมัสยิด · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอุตตรประเทศ

รัฐอุตตรประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่บริเวณส่วนบนของประเทศโดยมีเขตแดนติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญในศาสนาฮินดู เช่น เมืองพาราณสี อโยธยา (เมืองเกิดของพระราม) มธุรา (เมืองเกิดของพระกฤษณะ) และอัลลาลาบัดหรือเมืองโกสัมพีในสมัยพุทธกาล อุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐอุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2493 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2377.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและรัฐอุตตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิศูฟี

ลัทธิศูฟี (تصوّف) เป็นลัทธิความเชื่อลัทธิหนึ่งในศาสนาอิสลาม ซึ่งแปลงคำสอนมาจากนิกายสุหนี่ เน้นความเชื่อทางจิตวิญญาณ.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและลัทธิศูฟี · ดูเพิ่มเติม »

ลาฮอร์

ลาฮอร์ (لہور, لاہور, Lahore) เป็นเมืองหลวงของแคว้นปัญจาบ ประเทศปากีสถาน และเป็นเมืองหลวงอันดับ 2 ของประเทศ รองจากการาจี ตั้งขนาบด้วยแม่น้ำราวี มีประชากร 6,318,745 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 5 ของภูมิภาคเอเชียใต้ และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและลาฮอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัง

้านหน้าของพระราชวังดุสิต วัง หรือ พระราชวัง เป็นสิ่งก่อสร้างสำหรับที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยของประมุขของประเทศหรือผู้นำผู้มีตำแหน่งสูงในหลายประเทศในยุโรปเช่นประเทศฝรั่งเศส และ อิตาลี นอกจากนั้นยังเป็นคำที่ใช้สำหรับสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่แต่ไม่จำเป็นต้องใหญ่มากในตัวเมืองที่สร้างสำหรับเจ้านาย หรือผู้มีตระกูล ในปัจจุบันวังหรือพระราชวังหลายแห่งเปลี่ยนไปใช้เป็นพิพิธภัณฑ์หรือสำนักงานรัฐบาล หรือโรงแรม.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและวัง · ดูเพิ่มเติม »

ศาล

ล เป็นองค์กรสาธารณะที่มีหน้าที่ในการวินิจฉัยข้อพิพาทเกี่ยวกับพลเมือง แรงงาน กิจการ และอาชญากรรมภายใต้กฎหมาย ในกฎหมายทั่วไปและกฎหมายพลเมือง ศาลนับว่าเป็นทางออกของข้อพิพาทต่างๆ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ทุกๆ คนมีสิทธิ์ที่จะนำข้อกล่าวหามาใช้ในศาลได้ ในขณะเดียวกัน ผู้ถูกกล่าวหาก็มีสิทธิ์ที่จะแก้ต่างในศาลได้เช่นกัน.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและศาล · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่าน

ลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันกับขันทีอีกสองแบบ สุลต่าน หรือภาษาอาหรับเรียก สุลฏอน (Sultan, سلطان) เป็นชื่อตำแหน่งในหมู่ชนอิสลาม ซึ่งมีความหมายในทางประวัติศาสตร์มากมาย รากคำมาจากภาษาอาหรับซึ่งมีความหมายว่า "ความแข็งแกร่ง" "อำนาจ" หรือ "การปกครอง" มาจากคำนามกริยาว่า سلطة หมายถึง "อำนาจ" ต่อมาใช้เป็นชื่อตำแหน่งของผู้ปกครองประเทศมุสลิมซึ่งมีอำนาจปกครองอย่างเบ็ดเสร็จ (ไม่จำเป็นต้องเชื่อฟังผู้ปกครองอื่นใดที่เหนือกว่า) บางครั้งก็ใช้เรียกผู้ปกครองแว่นแคว้นที่มีอำนาจภายในระบอบการปกครอง ต่อมายังพัฒนาความหมายไปอีกมากมายในหลายบริบท ราชวงศ์หรือดินแดนที่ปกครองโดยสุลต่าน จะเรียกชื่อว่า รัฐสุลต่าน หรือ Sultanate (سلطنة).

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและสุลต่าน · ดูเพิ่มเติม »

สถาปนิก

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม".

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและสถาปนิก · ดูเพิ่มเติม »

หอหลังคาโดม

หร่าอุคบา หรือ “the Great Mosque of Kairouan” ที่ตั้งอยู่ที่ตูนิเซีย หอหลังคาโดม (Cupola) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโครงสร้างขนาดเล็กที่มีลักษณะเหมือนโดมที่ตั้งอยู่ตอนบนของสิ่งก่อสร้าง ที่มักจะใช้สำหรับเป็นที่สังเกตการณ์หรือเป็นช่องระบายอากาศ ที่ตอนบนมักจะเป็นหลังคาหรือโดมที่ใหญ่กว่า “Cupola” มาจากภาษาอิตาลีที่แผลงมาจากภาษาละตินขั้นต่ำ “Cupula” (ภาษาละตินคลาสสิก “Cupella” ที่มาจากภาษากรีก “kypellon”) ที่แปลว่าถ้วยเล็ก (ภาษาละติน “Cupa”) ที่เป็นทรงของเพดานโค้งที่รูปร่างเหมือนถ้วยคว่ำ หอหลังคาโดมมักจะพบในสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดเล็ก ที่อาจจะใช้เป็นหอระฆัง, หอโคม หรือ หอทัศนาเหนือหลังคาหลัก หรือในบางกรณีก็อาจจะใช้ตกแต่งประดับหอ, ยอดแหลม หรือ หอกลมยอดแหลม.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและหอหลังคาโดม · ดูเพิ่มเติม »

หินอ่อน

หินอ่อนในธรรมชาติ หินอ่อนเกิดจากแคลเซียมคาร์บอเนต(หินปูน)ที่สะสมอยู่ในท้องทะเลหรือมหาสมุทรมาก่อน กระทั่งเกิดการเคลื่อนไหวขึ้นในบริเวณดังกล่าว คือที่ๆ เคยเป็นทะเลหรือมหาสมุทรกลับกลายเป็นภูเขาขึ้นมา และที่ๆ เคยเป็นบกเป็นภูเขามากลับ กลายเป็นทะเล รวมถึงผ่านกระบวนการทางธรณี เช่น เกิดมีแมกมาไหลออกมา และพอดีหินที่สะสมไว้ในทะเลไปโดนกับแมกมาเข้า สำคัญคือแมกมานั้นเต็มไปด้วยความร้อน ความดัน และก๊าซ จึงทำให้แคลเซียมคาร์บอเนต(หินปูน)ละลาย แล้วตกผลึก เกิดเป็นหินอ่อนขึ้นมาได้ในที่สุด แต่ในกรณีที่เกิดการหลอมละลาย แล้วตกผลึกไม่หมดทีเดียว ก็จะเกิดหินปูนคล้ายหินอ่อน และจะพบพวกซากเปลือกหอยทะเลต่างๆ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยอยู่รวมกับตะกอนแคลเซียมคาร์บอเนต หมวดหมู่:หิน.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและหินอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

หินทราย

250px หินทราย (Sandstone) เป็นหินมีลักษณะ เนื้อหยาบ จับดูระคายมือ เพราะประกอบด้วยเม็ดทรายขนาดแตกต่างกัน (1/16 – 2 มม.) เม็ดแร่ส่วนใหญ่เป็นแร่ควอร์ตซ์ แต่อาจมีแร่อื่นและเศษหินดินปะปนอยู่ด้วย เพราะมีวัตถุประสารมีความแข็งมากสามารถขูดเหล็กเป็นรอยได้ มีสีต่าง ๆ เช่น แดง น้ำตาล เทา เขียว เหลืองอ่อน อาจแสดงรอยชั้นให้เห็น มีซากดึกดำบรรพ์ เกิดจากการรวมตัวกันของเม็ดทราย ประกอบด้วยควอร์ตซ์เป็นส่วนใหญ่ อาจมีแร่แมกเนไทต์และไมกาปะปนอยู่ วัตถุประสาร (ซีเมนต์) ส่วนมากเป็นพวกซิลิกา (ควอร์ตซ์ หรือ เชิร์ต) แคลไซด์ โดโลไมต์ เหล็กออกไซด์ ซึ่งมักทำให้หินมีสีเหลือง น้ำตาล แดง ในประเทศไทย พบมากทางภาคอีสาน จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี และทางภาคใต้บางแห่ง.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและหินทราย · ดูเพิ่มเติม »

อัคระ

อัคระ (आगरा Āgrā, آگرہ, Agra) อดีตเมืองหลวงของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "ฮินดูสถาน" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในรัฐอุตตรประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลัคเนา (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐอุตตรประเทศไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง และ ทางทิศใต้ของกรุงนิวเดลี เมืองอัคระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ. 2010) ถือเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในรัฐอุตตรประเทศ และอันดับที่ 19 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและอัคระ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเร็ม

ฉากใน “ฮาเร็ม” โดย จิโอวานนิ อันโตนิโอ กวาร์ดิ (Giovanni Antonio Guardi) ฮาเร็ม (Harem) เป็นตุรกีที่มาจากอาหรับ “حرم” (ḥaram) ที่แปลว่า “สถานที่ต้องห้าม, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือที่ปลอดภัย” ที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “حريم” (ḥarīm) ที่แปลว่า “สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ห้ามเข้าสำหรับสมาชิกสตรีในครอบครัว” และคำว่า “حرام ” (ḥarām) ที่แปลว่า “ห้าม หรือ ศักดิ์สิทธิ์” ฮาเร็ม หมายถึงบริเวณสำหรับสตรีโดยเฉพาะสำหรับครอบครัวระบบพหุภริยา (polygyny) ที่เป็นบริเวณที่ต้องห้ามสำหรับบุรุษ คำว่าฮาเร็มมาจากตะวันออกใกล้และนำเข้ามาใช้ทางตะวันตกทางจักรวรรดิออตโตมัน การใช้คำนี้ในสมัยใหม่รวมถึงกลุ่มสตรีที่มีความสัมพันธ์กับบุรุษคนเดียวกัน.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและฮาเร็ม · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการ

ในปัจจุบัน ผู้สำเร็จราชการ หรือ ข้าหลวงใหญ่ (governor-general; governor general) บางแห่งเรียกว่าข้าหลวงต่างพระองค์ (ในอดีตภาษาไทยใช้ว่า เกาวนาเยเนราล) หมายถึง ผู้แทนพระองค์พระประมุขแห่งรัฐเอกราชรัฐหนึ่งที่ได้รับแต่งตั้งให้ปกครองรัฐเอกราชอีกรัฐหนึ่ง ในอดีตตำแหน่งนี้ใช้กับผู้สำเร็จราชการแทนพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีก็ได้ เช่น ผู้สำเร็จราชการอินโดจีนของฝรั่ง.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและผู้สำเร็จราชการ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชะฮันคีร์

นูรุดดีน สะลีม ชะฮันคีร์ (نورالدین سلیم جهانگیر, ราชสมภพ 20 กันยายน ค.ศ. 1569 - สวรรคต 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1627) พระปรมาภิไธย นูรุดดีน มาจากภาษาอาหรับที่มีความหมายว่า แสงแห่งศรัทธา ส่วนชะฮันคีร์ มาจากภาษาเปอร์เซียที่มีความหมายว่า ผู้พิชิตโลก สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์ กับพระนางโชธาพาอี ทรงครองราชย์สมบัติต่อจากพระชนกในปี ค.ศ. 1605 เมื่อมีพระชนมายุได้ 37 พรรษา ก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงก่อการกบฏต่อพระบิดาหลายครั้ง แต่ก็ได้รับพระราชทานอภัยโทษดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและจักรพรรดิชะฮันคีร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอักบัร

ญะลาล อุดดีน มุฮัมมัด อักบัร (جلال الدین محمد اکبر; Jalaluddin Muhammad Akbar, 24 ตุลาคม พ.ศ. 2085 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2248) หรือที่รู้จักในชื่อ อักบัรมหาราช (Akbar the Great) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2099 ถึง พ.ศ. 2148 ด้วยการให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา พระองค์จึงถือเป็นกษัตริย์มุสลิมที่อยู่ในใจประชาชนอินเดียตลอดมา จักรพรรดิอักบัรเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิหุมายุน พระองค์ได้ประสูติกาล ณ รัฐสินธุ์ ขณะที่พระราชบิดาเสด็จหนีไปยังเปอร์เซีย พระองค์ได้ครองราชย์ต่อจากพระบิดาในปี พ.ศ. 2099 ขณะที่มีพระชนมายุเพียง 13 ปีเศษ พระองค์เคยย้ายเมืองหลวงไปยังเมืองลัคเนาเป็นเวลา 13 ปี มีพระสหายคู่พระทัยชาวฮินดูคือ ราชามานสิงห์ ในรัชกาลของพระองค์ทรงได้ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา และไม่บีบบังคับให้ศาสนิกอื่นให้เข้ามานับถือศาสนาอิสลามเช่นดังรัชกาลก่อน โดยทรงยกเลิกกฎเชซิยะห์ ซึ่งเป็นกฎหมายให้ผู้ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามต้องจ่ายภาษีสูงกว่าดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและจักรพรรดิอักบัร · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโมกุล

ักรวรรดิโมกุล (เปอร์เซีย: سلطنت مغولی هند; อูรดู: مغلیہ سلطنت; Mughal Empire) เป็นจักรวรรดิซึ่งปกครองบริเวณอนุทวีปอินเดียในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 จักรวรรดินี้สืบทอดอำนาจมาจากราชวงศ์ตีมูร์ เริ่มก่อตั้งอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและจักรวรรดิโมกุล · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบ

ทะเลสาบกลางสวนเบญจกิตติ ขนาด 200x800 เมตร เมืองชิคาโก และทะเลสาบมิชิแกน 1 ในทะเลสาบทั้ง 5 ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา ทะเลสาบ หรือ บึง เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ที่ล้อมรอบด้วยผืนดิน โดยทั่วไปทะเลสาบจะไม่มีทางไหลออกสู่ทะเล และมีน้ำจืด เรียกกันว่า "ทะเลสาบน้ำจืด" แต่ทะเลสาบบางแห่งอาจไหลออกสู่ทะเลได้ และมีน้ำเค็ม จึงเรียกกันว่า "ทะเลสาบน้ำเค็ม" คำว่า "ทะเลสาบ" ยังครอบคลุมถึงแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น ทะเลสาบขนาดเล็กในสนามกอล์ฟ หรือ ทะเลสาบขนาดเล็กในสวนสาธารณะขนาดใหญ่ หรือ แอ่งเก็บน้ำเหนือเขื่อน และ อ่างเก็บน้ำ ซึ่งนับเป็นทะเลสาบขนาดใหญ.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและทะเลสาบ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 15

ริสต์ศตวรรษที่ 15 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1401 ถึง ค.ศ. 1500.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและคริสต์ศตวรรษที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

คันทวย

ผังคันทวยไม้ที่ Yingzao Fashi จากตำราการก่อสร้าง คันทวย หรือ ทวย (corbel) คือส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมทำหน้าที่ค้ำยันชายคา ระเบียง หรือ หลังคาของสิ่งก่อสร้าง.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและคันทวย · ดูเพิ่มเติม »

คุชราต

ราต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนัก

ตำหนัก หมายถึง เรือนที่อยู่ของเจ้านาย หรือกุฏิของสมเด็จพระสังฆราช กรณีที่เป็นเรือนของเจ้านายชั้นสูงจะใช้คำว่า พระตำหนัก.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและตำหนัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมอัครา

ป้อมอัครา (Agra Fort, आगरा का किला, آگرہ قلعہ) เป็นอนุสรณ์สถานสำคัญ และมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก ตั้งอยู่ที่เมืองอัครา รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย โดยอยู่ห่างจากอีกหนึ่งอนุสรณ์สถานสำคัญที่อยู่ใกล้เคียง คือ ทัชมาฮาล เป็นระยะทางประมาณ 2.5 กิโลเมตร ป้อมอัครานั้นถือเป็นเมืองขนาดเล็กๆที่ห้อมล้อมด้วยป้อมปราการอันใหญ่โต.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและป้อมอัครา · ดูเพิ่มเติม »

เรขาคณิต

รขาคณิต (Geometry; กรีก: γεωμετρία; geo.

ใหม่!!: ฟเตหปุระสีกรีและเรขาคณิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฟาเตห์ปูร์ สิครีฟาเตห์ปูร์ สีกรี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »