โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เมด อิน ไทยแลนด์

ดัชนี เมด อิน ไทยแลนด์

มด อิน ไทยแลนด์ เป็นเพลงที่แต่งโดย ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด คาราบาว) โดยครั้งแรกอยู่ในอัลบั้ม เมด อิน ไทยแลนด์ ซึ่งออกจำหน่ายในปี พ.ศ. 2527.

28 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2540พ.ศ. 2546พ.ศ. 2552มิวสิกวิดีโอยืนยง โอภากุลรวมเพลงคาราบาวสหรัฐสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ธนะสิทธิ์ พันธุ์พงษ์ไทยธนิสร์ ศรีกลิ่นดีขลุ่ยดนตรีไทยคอนเสิร์ตทำโดยคนไทยคาราบาวโฮะไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมไพรัช เพิ่มฉลาดเพลงเพื่อชีวิตเกริกกำพล ประถมปัทมะเมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนาเส้นทางสายปลาแดกเทียรี่ เมฆวัฒนาเปรม ติณสูลานนท์

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

รวมเพลงคาราบาว

รวมเพลงคาราบาว เป็นอัลบั้มรวมเพลงชุดแรกของวงคาราบาว วางจำหน่ายในปี..

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และรวมเพลงคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์

ื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ (promotional recording, promo (โปรโมชั่นซิงเกิล) คือซิงเกิลที่ออกเผยแพร่ อาจเป็นรูปแบบเสียงหรือวีดิทัศน์ โดยส่วนมากจะใช้กันในสถานีวิทยุหรือสถานีโทรทัศน์เท่านั้น สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์จะถูกส่งโดยตรงไปยังผู้ออกอากาศ เช่น สถานีวิทยุเพลง สถานีโทรทัศน์ หรือนักจัดรายการวิทยุและนักข่าวฝ่ายเพลง ก่อนการเปิดตัวเชิงพาณิชย์ของอัลบัมใหม่โดยตั้งใจให้สื่อต่าง ๆ ออกอากาศ วิจารณ์ หรือเสนอในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจของสาธารณชนในการเปิดตัวในเชิงพาณิชย์ต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่เพื่อเป็นการส่งเสริมการขายเท่านั้น ไม่ใช่สำหรับการขาย นอกจากนี้ยังอาจระบุว่า สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์สามารถกลับไปจำหน่ายต่อแล้วแต่ความต้องการของบริษัท ซึ่งเป็นที่สนใจของนักสะสมแผ่นเพลงเป็นอย่างยิ่ง โดยมีเพียง 1–2 เพลง หรือในบางประเทศอาจรวมรีมิกซ์หลายแบบของซิงเกิลนั้น ๆ ไว้ในแผ่นเดียว นอกจากนี้ในปัจจุบันยังมีการส่งเสริมรูปแบบใหม่บนร้านค้าออนไลน์ซึ่งมีการนับถอยหลังก่อนการวางจำหน่ายอัลบัมใหม่ โดยไอทูนส์และร้านค้าออนไลน์เพลงอื่น ๆ จะมีการจำหน่ายตัวอย่างเพลงจากในอัลบัมใหม่ออกมาให้ลองฟัง ตัวอย่างเช่น หนึ่งสัปดาห์ก่อนวางจำหน่ายอัลบัมจริง ซึ่งเพลงบางส่วนที่ออกวางจำหน่ายก่อนส่วนใหญ่จะเรียกว่า "สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์".

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

ริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร์, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม, สถานีวิทยุ, สื่อสิ่งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน์ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนอยากเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่างๆ ของบริษัทในเครือ เช่นเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน..

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ · ดูเพิ่มเติม »

ธนะสิทธิ์ พันธุ์พงษ์ไทย

นะสิทธิ์ พันธุ์พงษ์ไทย หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ อ้วน คาราบาว เป็นสมาชิกคนล่าสุดของวงคาราบาว เดิมมีชื่อว่า เทพผจญ พันธุ์พงษ์ไทย มีชื่อเล่นว่า อ้วน เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516 ที่อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา จบการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม อ้วนมีความผูกพันกับคาราบาวมาตั้งแต่ยังเด็ก เมื่อน้าของอ้วนเปิดเพลงเพื่อชีวิต รวมทั้งเพลงของคาราบาวให้ได้ยินมาตั้งแต่เด็ก ๆ เฉพาะคาราบาวน้าเปิดเพลงในอัลบั้มชุดที่ 4 ของวงคาราบาว คือ ท.ทหารอดทน เริ่มต้นการเล่นดนตรีจากการเป็นนักดนตรีในวงดุริยางค์ เมื่อเข้าเรียนชั้นประถมศึกษา ที่จังหวัดนครราชสีมาซึ่งเป็นบ้านเกิดของอ้วนเอง อ้วนเล่นดนตรีในฐานะนักดนตรีอาชีพ ด้วยการเป็นแบ๊คอัพให้กับนักร้องในบริษัทแกรมมี่หลายคน เช่น แอม - เสาวลักษณ์ ลีละบุตร, ตั้ม - สมประสงค์ สิงหวนวัฒน์, ก้อย - ศรัณย่า ส่งเสริมสวัสดิ์, ปั่น - ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว หรือ หนู มิเตอร์ ในชื่อวง Power มีโอกาสเข้าร่วมงานกับคาราบาวครั้งแรก จากการชักชวนของดุก - ลือชัย งามสม ในการบันทึกเสียงเพลงประกอบการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 เมื่อปี พ.ศ. 2541 ที่กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพ โดยอ้วนเป็นมือกลอง อีกทั้งยังได้เรียนรู้ทฤษฎีดนตรีเพิ่มเติมจากบรูซ แกสตัน แห่งวงฟองน้ำอีกด้วย ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2545 เมื่อโก้ - ชูชาติ หนูด้วง มือกลองของวงป่วยเป็นโรคปลายเส้นประสาทอักเสบ ต้องรักษาตัวที่โรงพยาบาล ตรงกับช่วงเวลาที่คาราบาวกำลังจะทำอัลบั้มพิเศษชุด คาราบาว อินเตอร์ อ้วนจึงมาทำหน้าที่มือกลองแทน และได้รับการตอบรับเป็นสมาชิกจาก แอ๊ด - ยืนยง โอภากุล หัวหน้าวง เมื่อได้หยิบขลุ่ยขึ้นมาเป่าขณะเล่นคอนเสิร์ตที่กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากเล็งเห็นถึงความสามารถ อ้วนจึงกลายมาเป็นสมาชิกของคาราบาวอย่างเต็มตัว และถือเป็นสมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุด ในคอนเสิร์ต 20 ปี คาราบาว เรื่องราวของคน ดนตรี และเขาควาย เมื่อต้นปี พ.ศ. 2546 นั้น อ.ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี อดีตสมาชิกซึ่งปกติจะเป็นผู้เป่าขลุ่ยและแซกโซโฟนเกิดติดธุระสำคัญที่ประเทศญี่ปุ่น ไม่อาจมาร่วมแสดงได้ อ้วนจึงรับหน้าที่นี้แทน โดยมีเวลาฝึกแซกโซโฟนก่อนคอนเสิร์ตจะเริ่มเพียง 3 วันเท่านั้น ปัจจุบัน อ้วน รับหน้าที่ทั้งเล่นกลอง, คีย์บอร์ด, ขลุ่ย, แซกโซโฟน ตลอดจนร้องประสานด้วย รวมทั้งร้องนำในเพลง สุรชัย 3 ช่า โดยเสมือนตัวแทนของ สุรชัย จันทิมาธร หรือ หงา คาราวาน โดยมีนักดนตรีในดวงใจ คือ อากิระ จิมโบ มือกลองแห่งวง Casiopea วงฟิวชั่นแจ๊สของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และธนะสิทธิ์ พันธุ์พงษ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี

หน้าปกซีดีอัลบั้ม ลมไผ่ เป้า, เทียรี่ ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี เป็นอดีตสมาชิกวงคาราบาว ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันจัดรายการวิทยุประจำที่คลื่นความคิด F.M.96.5 ของอสมท และเป็นวิทยากรประจำรายการคุณพระช่วย ของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และธนิสร์ ศรีกลิ่นดี · ดูเพิ่มเติม »

ขลุ่ย

ลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีโบราณของไทยชนิดหนึ่ง สันนิษฐานว่า อาจจะเกิดขึ้นก่อนหรือในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ร่วมสมัยกับเครื่องดนตรีประเภท กลอง ฆ้อง กรับ พิณเพียะ แคน ขลุ่ย ปี่ ซอ และกระจับปี่ แต่มีหลักฐานชัดเจนปรากฏ ในกฎมนเฑียรบาลสมัยพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) แห่งกรุงศรีอยุธยาว่าห้ามร้องเพลงหรือเป่าขลุ่ย เป่าปี่ สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีตะโพนในเขตพระราชฐานก่อนที่จะมาเป็นขลุ่ยอย่างที่ปรากฏรูปร่างในปัจจุบัน ขลุ่ยได้ผ่านการวิวัฒนาการมาเป็นระยะเวลายาวนาน มาจากปี่อ้อซึ่งตัวปี่หรือเลาทำจากไม้รวกท่อนเดียวไม่มีข้อ และมีลิ้นซึ่งทำด้วยไม้อ้อลำเล็กสำหรับเป่าให้เกิดเสียง หลังจากนั้นจึงปรับเปลี่ยนรูปร่าง และวิธีเป่าจนกลายมาเป็นขลุ่ยอย่างที่เรียกกันในปัจจุบันนี้ว่าเป็นขลุ่ยเพียงออ.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และขลุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีไทย

วงมโหรีโบราณเครื่องหก ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน, อินโดนีเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และดนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทย

อนเสิร์ตทำโดยคนไทย เป็นการจัดคอนเสิร์ตใหญ่ครั้งแรกของวงคาราบาว เมื่อวันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ณ.สนามเวโลโดรม ในสนามกีฬาหัวหมาก ซึ่งเป็นครั้งแรกของศิลปินไทยที่มีการจัดคอนเสิร์ตในสนามกีฬา และถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 อีกด้วย คอนเสิร์ตครั้งนี้มีผู้ชมประมาณ 60,000 คน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และคอนเสิร์ตทำโดยคนไทย · ดูเพิ่มเติม »

คาราบาว

ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

โฮะ

ป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 26 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552 โดยมีเพลงทั้งหมด 12 เพลง เช่นเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้มที่เปรียบเทียบสภาพบ้านเมืองในขณะนั้นกับ แกงโฮะ อาหารประจำภาคเหนือของไทย เมด อิน ไทยแลนด์ '52 ที่นำเพลง เมด อิน ไทยแลนด์ ดั้งเดิมมาแต่งเนื้อใหม่ให้เข้ากับสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน และย้ำเตือนให้คนไทยใช้สินค้าในประเทศ องค์ดำ ซึ่งเป็นอีกเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระนเรศวรมหาราช เช่นเดียวกับเพลง พระนเรศวรมหาราช ในอัลบั้ม ขุนศึก โดยมีดนตรีที่ใกล้เคียงกับเพลง เจ้าตาก และ บางระจันวันเพ็ญ ที่โด่งดัง เพื่อชีวิตติดล้อ ที่ได้ เสก โลโซ มาร่วมแต่งเพลงและเล่นกีต้าร์ด้วย หรือ ควายไทย เพลงที่พูดถึงควาย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวงคาราบาว จากปลายปากกาของ ประภาส ชลศรานนท์ นอกจากนี้ยังมีเพลง Lonely Man Magic Moon ที่คาราบาวนำมาแปลเป็นภาษาไทยด้วย โดยใช้ชื่อภาษาไทยว่า คนเหงาเดือนหง.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และโฮะ · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม

en:Paiboon Damrongchaitam ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม (ชื่อเรียก: อากู๋) ประธานกรรมการบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ผู้ดำเนินกิจการธุรกิจสื่อบันเทิงขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และประธานมูลนิธิดำรงชัยธรรม เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (ชื่อเดิมของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับเรวัต พุทธินันทน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ไพรัช เพิ่มฉลาด

หน้าปกอัลบั้ม ท.ทหารอดทน (ไพรัช เพิ่มฉลาด-ขวาสุด) ไพรัช เพิ่มฉลาด อดีตสมาชิกวงคาราบาว เคยมีผลงานร่วมกับวง 2 ชุด คือ ชุด "ท.ทหารอดทน" ในปี พ.ศ. 2526 และ "เมด อิน ไทยแลนด์" ในปี พ.ศ. 2527 ไพรัช มีชื่อเล่นว่า "หนุ่ม" (แต่นิยมเรียกกันในวงว่า "รัช") เกิดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 ที่จังหวัดเชียงราย เป็นนักดนตรีแบ๊คอัพในห้องอัดของอโซน่า เข้าร่วมวงคาราบาวจากการชักชวนของ อาจารย์ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี โดยเข้าร่วมวงในตำแหน่งมือเบส และกีตาร์ พร้อมกับตัวอ.ธนิสร์เอง, เทียรี่ เมฆวัฒนา และ อำนาจ ลูกจันทร์ (เป้า) ทั้งนี้เนื่องจาก อนุพงษ์ ประถมปัทมะ (อ๊อด) มือเบสอีกคนจากวงเพรสซิเดนท์ที่ได้มีการชักชวนมาก่อนหน้านั้นติดการเล่นอยู่กับวงเพรสซิเดนท์ที่สหรัฐอเมริกา ไพรัชจึงเข้ามาในวงเสมือนตัวแทนของอ๊อด จึงมีผลงานเพียง 2 ชุดเท่านั้นกับวงแต่กลับเป็นที่รู้จักไปทั่วประเทศจากอัลบั้มเมด อิน ไทยแลนด์ ที่สามารถทำยอดขายได้ถึง 5,000,000 ตลับ นอกจากนั้นไพรัชยังได้มีส่วนร่วมกับอัลบั้มชุด กัมพูชา ซึ่งเป็นอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกของ ยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว ซึ่งเป็นหัวหน้าวงอีกด้วย ไพรัช เพิ่มฉลาด เสียชีวิตลงในกลางปี พ.ศ. 2549 ด้วยโรคมะเร็งที่ลิ้น รวมอายุได้ 58 ปี.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และไพรัช เพิ่มฉลาด · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เกริกกำพล ประถมปัทมะ

หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

เมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)

มด อิน ไทยแลนด์ (Made in Thailand) คือสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 5 ของ คาราบาว วางจำหน่ายเมื่อเดือน ธันวาคม..

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และเมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา

มาชิกยุคปัจจุบัน (จากซ้ายไปขวา) อ้วน, หมี, อ๊อด, เล็ก, แอ๊ด, เทียรี่, ดุก, โก้, น้อง (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) เป็นรูปเพื่อใช้โปรโมทอัลบั้มชุดพิเศษ '''เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา''' (พ.ศ. 2547) เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา เป็นอัลบั้มพิเศษอีกชุดหนึ่งของวงคาราบาว วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และเมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางสายปลาแดก

้นทางสายปลาแดก เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 17 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2540 ในรูปแบบซีดีและเทปคาสเซ็ท โดยออกในนามบริษัท กระบือ แอน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และเส้นทางสายปลาแดก · ดูเพิ่มเติม »

เทียรี่ เมฆวัฒนา

ทียรี่ เมฆวัฒนา นักร้องและนักดนตรีชาวไทย สมาชิกวงคาราบาว มีชื่อจริงว่า เทียรี่ สุทธิยงค์ เมฆวัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2501 ที่ประเทศลาว โดยมีพ่อเป็นชาวไทยเชื้อสายจีนชื่อ เอนก เมฆวัฒนา แม่เป็นชาวสวิตเซอร์แลนด์ จากผู้จัดการออนไลน.

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และเทียรี่ เมฆวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: เมด อิน ไทยแลนด์และเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เมด อิน ไทยแลนด์ (เพลง)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »