โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

ดัชนี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

242 ความสัมพันธ์: ชินวุธ สุนทรสีมะชื่นชอบ คงอุดมบุญยอด สุขถิ่นไทยบุญเทียม เขมาภิรัตน์ชนะ รุ่งแสงชนินทร์ รุ่งแสงพ.ศ. 2476พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคชาติไทยพรรคพลังธรรมพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคกิจสังคมพรรคมวลชนพรรคความหวังใหม่พรรคประชากรไทยพรรคประชาธิปัตย์พรรคไทยรักไทยพรรคเพื่อไทยพฤฒิชัย ดำรงรัตน์พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศพิชัย รัตตกุลพิภพ อะสีติรัตน์พิมล ศรีวิกรม์พิจิตต รัตตกุลพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์พนิช วิกิตเศรษฐ์กรรณิกา ธรรมเกษรกระแส ชนะวงศ์กรณ์ จาติกวณิชกัลยา โสภณพนิชกันตธีร์ ศุภมงคลการุณ โหสกุลการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535...การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535ภูวนิดา คุนผลินมารุต บุนนาคมานะ คงวุฒิปัญญายุรนันท์ ภมรมนตรีรชฏ พิสิษฐบรรณกรรัชดา ธนาดิเรกลลิตา ฤกษ์สำราญลุงขาวไขอาชีพลีลาวดี วัชโรบลวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์วัชระ เพชรทองวิชัย ตันศิริวิชาญ มีนชัยนันท์วิลาศ จันทร์พิทักษ์วินัย สมพงษ์วีระกานต์ มุสิกพงศ์วนัสธนา สัจจกุลศันสนีย์ นาคพงศ์ศิธา ทิวารีศุภชัย พานิชภักดิ์ศุภมาส อิศรภักดีสกลธี ภัททิยกุลสภาผู้แทนราษฎรไทยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สมบัติ รอดโพธิ์ทองสมบุญ ศิริธรสมัย เจริญช่างสมัคร สุนทรเวชสมุทร มงคลกิติสรรเสริญ สมะลาภาสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์สากล ม่วงศิริสามารถ มะลูลีมสามารถ ม่วงศิริสาวิตต์ โพธิวิหคสิทธิ เศวตศิลาสืบแสง พรหมบุญสุมิตร สุนทรเวชสุรชาติ เทียนทองสุรันต์ จันทร์พิทักษ์สุวัฒน์ วรรณศิริกุลสุธรรม แสงประทุมสุธา ชันแสงสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์สุขวิช รังสิตพลสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุเทพ วงศ์กำแหงสุเทพ อัตถากรสนอง นิสาลักษณ์สนธิ บุณยะชัยหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุลหม่อมหลวงเสรี ปราโมชหาญ ลีนานนท์ห้างทอง ธรรมวัฒนะอภิรักษ์ โกษะโยธินอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรรถวิชช์ สุวรรณภักดีอรรคพล สรสุชาติอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์อรอนงค์ คล้ายนกอริสมันต์ พงศ์เรืองรองอรทัย ฐานะจาโรอากร ฮุนตระกูลอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยาอาทิตย์ อุไรรัตน์อิสรา สุนทรวัฒน์อุดมศิลป์ ศรีแสงนามองอาจ คล้ามไพบูลย์อนุชา บูรพชัยศรีอนุสรณ์ ปั้นทองอนุดิษฐ์ นาครทรรพจักรพันธุ์ ยมจินดาจังหวัดพระนครจังหวัดธนบุรีจำลอง ศรีเมืองจิรายุ ห่วงทรัพย์จิตรพล ณ ลำปางจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ธนา ชีรวินิจถวิล ไพรสณฑ์ถนัด คอมันตร์ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยาทหาร ขำหิรัญทักษิณ ชินวัตรทิวา เงินยวงทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ณหทัย ทิวไผ่งามณัฎฐ์ บรรทัดฐานณัฏฐพล ทีปสุวรรณณัฐวุฒิ สุทธิสงครามดำรง ลัทธพิพัฒน์ดนุพร ปุณณกันต์ฉลาด วรฉัตรปกิต พัฒนกุลประชา คุณะเกษมประกอบ จิรกิติประวิช รัตนเพียรประสงค์ สุ่นศิริประจักษ์ สว่างจิตรประทวน รมยานนท์ปราโมทย์ สุขุมปวีณา หงสกุลนพดล ปัทมะนาถยา แดงบุหงานิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์แทนคุณ จิตต์อิสระโกวิทย์ ธารณาโรช วิภัติภูมิประเทศไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์เกษม ศิริสัมพันธ์เรืองวิทย์ ดุษฎีสุรพจน์เล็ก นานาเอกนัฏ พร้อมพันธุ์เจริญ คันธวงศ์เจิมมาศ จึงเลิศศิริเขตบางบอนเขตบางพลัดเขตบางกอกน้อยเขตบางกอกใหญ่เขตบางกะปิเขตบางรักเขตบางขุนเทียนเขตบางคอแหลมเขตบางซื่อเขตบางนาเขตบางแคเขตบางเขนเขตบึงกุ่มเขตพญาไทเขตพระนครเขตพระโขนงเขตภาษีเจริญเขตมีนบุรีเขตยานนาวาเขตราชเทวีเขตราษฎร์บูรณะเขตลาดพร้าวเขตลาดกระบังเขตวัฒนาเขตวังทองหลางเขตสวนหลวงเขตสะพานสูงเขตสัมพันธวงศ์เขตสายไหมเขตสาทรเขตหลักสี่เขตหนองจอกเขตหนองแขมเขตห้วยขวางเขตจอมทองเขตจตุจักรเขตธนบุรีเขตทวีวัฒนาเขตทุ่งครุเขตดอนเมืองเขตดินแดงเขตดุสิตเขตคลองสามวาเขตคลองสานเขตคลองเตยเขตคันนายาวเขตตลิ่งชันเขตประเวศเขตปทุมวันเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายเดโช สวนานนท์เฉลิม อยู่บำรุงเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์เฉลียว วัชรพุกก์เปลื้อง ณ นคร15 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (192 มากกว่า) »

ชินวุธ สุนทรสีมะ

ันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) ในสัดส่วนของพรรคพลังธรรม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมั.อ.ชินวุธเป็นนักเรียนนายร้อยเทคนิคหลักสูตร 5 ปี รุ่นที่ 10 (เข้าศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2486) นอกจากงานราชการทหาร และงานการเมือง นอกจากนี้แล้วยังมีผลงานเขียนหนังสือ ตำราอีกจำนวนมาก ทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ และผลงานวิชาการเกี่ยวกับหลักการวิจัย วิทยานิพน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและชินวุธ สุนทรสีมะ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่นชอบ คงอุดม

ื่นชอบ คงอุดม อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ และเป็นบุตรชายของนายชัชวาลย์ คงอุดม หรือ ชัช เตาปูน อดีต สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานครและผู้บริหาร หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปัจจุบันสังกัด พรรคพลังท้องถิ่นไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและชื่นชอบ คงอุดม · ดูเพิ่มเติม »

บุญยอด สุขถิ่นไทย

ญยอด สุขถิ่นไทย เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้ประกาศข่าว และอดีตนักจัดรายการวิทยุชาวไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและบุญยอด สุขถิ่นไทย · ดูเพิ่มเติม »

บุญเทียม เขมาภิรัตน์

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ บุญเทียม เขมาภิรัตน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย สังกัดพรรคประชากรไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและบุญเทียม เขมาภิรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ รุ่งแสง

นะ รุ่งแสง อดีตนักการเมืองสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ (ส.ส.) และนักธุรกิจการธนาคารชาวไทย นายชนะเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยเป็นทายาทตระกูลคหบดีชาวนาตำบลบางนา ซึ่งปัจจุบันคือ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ ถนนสุขุมวิท (สี่แยกบางนา), ถนนสุขุมวิท 103, ถนนสุขุมวิท 105, ถนนสรรพาวุธ, สองฝั่งคลองบางนา และบริเวณตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเข้าสู่แวดวงธุรกิจด้วยการเป็นผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย โดยมีตำแหน่งสูงสุดเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ จากนั้นในปี พ.ศ. 2511 ได้เข้าสู่แวดวงการเมือง ด้วยการลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร ในสังกัดของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง รวมทั้งได้ดำรงตำแหน่งเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร อีกด้วย และได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516 จากนั้นในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 นายชนะได้ลงรับสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในเขต 8 กรุงเทพมหานคร ก็ได้รับเลือกตั้งไป แต่ก็ต้องพ้นจากตำแหน่งในวันที่ 6 ตุลาคม ปีเดียวกัน เมื่อเกิดเหตุการณ์นองเลือดขึ้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสนามหลวง และก็มีการรัฐประหารขึ้นในวันเดียวกัน ต่อมา ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ โดยได้หมายเลข 4 มีนโยบาย คือ "6 เป้าหมาย 4 แนวทางและ 10 มาตรการ" และใช้คำขวัญในการหาเสียง คือ "เลือกชนะ เพื่อชัยชนะของประชาชน" แต่ก็ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยแพ้ให้แก่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง ผู้สมัครอิสระ หมายเลข 8 ไป โดยนายชนะได้ 241,002 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ได้ 408,233 คะแนน ปัจจุบัน นายชนะได้วางมือจากการเมืองแล้ว แต่ยังมีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการน้ำแห่งชาติ และคณะทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศ.) และมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นนายกสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีหลานชาย คือ นายชนินทร์ รุ่งแสง เป็น..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและชนะ รุ่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

ชนินทร์ รุ่งแสง

นายชนินทร์ รุ่งแสง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองประธานสภากรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและชนินทร์ รุ่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

รรคชาติพัฒนา (National Development Party) เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2525 ในชื่อพรรคปวงชนชาวไทย ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคชาติพัฒนา หลังการยุบสภาในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 เนื่องจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังธรรม

รรคพลังธรรม เป็นพรรคการเมืองขนาดกลาง หัวหน้าพรรคคนแรก คือ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคพลังธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

รรคพลังประชาชน (อักษรย่อ: พปช. People Power Party) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ช่วงก่อนการเข้าร่วมของกลุ่มไทยรักไทย เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 นางสาวสุภาพร เทียนแก้ว เป็นหัวหน้าพรรค, นางสาวปิยะรัตน์ เทียนแก้ว เป็นเลขาธิการพรรค และ พันตำรวจโทกานต์ เทียนแก้ว เป็นประธานกรรมการบริหารพรรค ก่อนการยุบพรรค นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรค นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เป็นเลขาธิการพรรค มี นายยงยุทธ ติยะไพรัช เป็นรองหัวหน้าพรรคคนที่ 1 และมี นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เป็นหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ ต่อมาเดือนเมษายน พ.ศ. 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เพื่อพิจารณากรณี พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ได้ลงมติ 4 ต่อ 1 เห็นชอบตามที่นายอภิชาติ สุขัคคานนท์ ประธาน กกต.ในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมืองเสนอให้ส่งเรื่องถึงอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาเสนอต่อศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยยุบพรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย โดยมติเสียงข้างน้อย 1 เสียง คือ นายสมชัย จึงประเสริฐ กกต.ฝ่ายกิจการสอบสวนสอบสวน ในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย และตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารของแต่ละพรรคเป็นเวลา 5 ปี อันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งของนายยงยุทธ ติยะไพรั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคกิจสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมวลชน

รรคมวลชน (Mass Party) เป็นพรรคการเมืองในอดีตของประเทศไทย จดทะเบียนก่อตั้งพรรคอย่างเป็นทางการกับกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2528 มีการยุบพรรคและจัดตั้งขึ้นใหม่อีก 2 ครั้ง คือ ในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคมวลชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชากรไทย

รรคประชากรไทย (Thai Citizen Party - TCP, ย่อว่า: ปชท.) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2522 ณ บริเวณสนามชัยข้างพระบรมมหาราชวัง โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้าพรรค เพื่อการเลือกตั้งในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยผลการเลือกตั้งในครั้งนั้นพรรคประชากรไทยได้รับเลือกตั้ง 29 ที่นั่ง จากจำนวน 32 ที่นั่งในกรุงเทพมหานคร และอีก 3 ที่นั่งในต่างจังหวัด พรรคประชากรไทยจัดเป็นพรรคการเมืองขนาดเล็ก มีฐานเสียงที่สำคัญอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีบุคคลสำคัญอันเป็นเสมือนเอกลักษณ์ของพรรค คือ นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรค แต่หลังจากปี พ.ศ. 2540 แล้ว พรรคประชากรไทยมีบทบาทการเมืองในระดับประเทศลดลง อีกทั้งมีสมาชิกพรรคจำนวน 12 คน หันไปให้การสนับสนุนนายชวน หลีกภัย ให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 ซึ่งขัดต่อความเห็นของนายสมัคร หัวหน้าพรรค ซึ่งเรียกกันว่า "กลุ่มงูเห่า" ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 นายสมัคร ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งได้เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน มีหัวหน้าพรรค คือ นายสุมิตร สุนทรเวช น้องชายของนายสมัคร ที่ทำการพรรคตั้งอยู่ที่ ถนนศรีวรา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีสมาชิกพรรคจำนวน 69,852 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคประชากรไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพรรคเพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

พฤฒิชัย ดำรงรัตน์

นายแพทย์ พฤฒิชัย ดำรงรัตน์ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายแพทย์ พฤฒิชัย เป็นผู้ร่วมบุกเบิกก่อตั้ง “มูลนิธิทานตะวัน 19” รักษาคนไข้ที่มีฐานะยากจน และผู้ด้อยโอกาส จนได้รับฉายา “หมอ 19 บาท”.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ

นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ (เกิด 5 มิถุนายน พ.ศ. 2518) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 16 และกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพิชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิภพ อะสีติรัตน์

นายพิภพ อะสีติรัตน์ (มกราคม พ.ศ. 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 5 สมัย และ อดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพิภพ อะสีติรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิมล ศรีวิกรม์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมล ศรีวิกรม์ (เกิด 14 เมษายน พ.ศ. 2507) นายกสมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย กรรมการโรงเรียนศรีวิกรม์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไทย และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพิมล ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตต รัตตกุล

ตต รัตตกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพิจิตต รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

พีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์

ผู้ว่า ฯ ในปี พ.ศ. 2547 ที่เยาวราช นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธ์ เกิดวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2491 สมรสกับ นางอุษา ถนอมพงษ์พันธ์ มีบุตร-ธิดา 2 คน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนเทศบาลวัดจักรวรรดิ, มัธยมศึกษา จากโรงเรียนปทุมคงคา, ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมีฟิสิกส์ทางทะเล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโท วิศวอุตสาหกรรม (IIT) สถาบันเทคโนโลยีของอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นอาจารย์ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า บางมด 1 ปี, ธนาคารหวั่งหลี 2 ปี ออกมาทำกิจการค้าเงินตราต่างประเทศ 1 ปี แล้วมาทำงานที่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด, ผู้จัดการสำนักค้าเงินตราต่างประเทศ ธนาคารกรุงเทพ เชี่ยวชาญด้านการเงินจนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า "ขงเบ้งการเงิน" เป็น..กรุงเทพฯ เขต 8 พรรคพลังธรรม ปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

พนิช วิกิตเศรษฐ์

นิช วิกิตเศรษฐ์ (4 กันยายน 2506 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและพนิช วิกิตเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรรณิกา ธรรมเกษร

กรรณิกา ธรรมเกษร ชื่อเล่น แอ้ (11 สิงหาคม พ.ศ. 2490 -) เป็นผู้ประกาศข่าว นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและกรรณิกา ธรรมเกษร · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและกรณ์ จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

กัลยา โสภณพนิช

ณหญิงกัลยา โสภณพนิช (21 กันยายน 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคอีสาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและกัลยา โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

กันตธีร์ ศุภมงคล

ร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและกันตธีร์ ศุภมงคล · ดูเพิ่มเติม »

การุณ โหสกุล

การุณ โหสกุล (4 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 สังกัดพรรคเพื่อไทย ประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการุณ โหสกุล · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

ภูวนิดา คุนผลิน

ร.ภูวนิดา คุนผลิน รองลขาธิการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน อาจารย์มหาวิทยาลัยรังสิต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ (เดิมเป็น ส.ส.เขต 18 กรุงเทพมหานคร พรรคพลังประชาชน) อดีตโฆษกกระทรวงคมนาคมและกระทรวงวัฒนธรรม อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย พี่สาวดีเจนักร้อง ภูวนาท คุนผลินซึ่งเคยสมัคร.ก.เขตวังทองหลาง เขต 1 เมื่อ 23กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและภูวนิดา คุนผลิน · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและมารุต บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

มานะ คงวุฒิปัญญา

มานะ คงวุฒิปัญญา นายมานะ คงวุฒิปัญญา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและมานะ คงวุฒิปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ยุรนันท์ ภมรมนตรี

รนันท์ ภมรมนตรี หรือ แซม เป็นอดีตนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักร้อง และอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2506 ที่จังหวัด กรุงเทพมหานคร โดยมีผลงานการแสดงทั้งภาพยนตร์และละครที่โดดเด่น อาทิ ปีกมาร คู่กับ นาถยา แดงบุหงา, สวรรค์เบี่ยง คู่กับ มนฤดี ยมาภัย, มายาตวัน คู่กับ ชฎาพร รัตนากร เป็นต้น.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและยุรนันท์ ภมรมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

รชฏ พิสิษฐบรรณกร

ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร อดีต ส.ส.พรรคไทยรักไทยและอดีตทหารบกชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2516 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 34 ในตำแหน่งประธานรุ่น, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 45 ในตำแหน่งหัวหน้านักเรียน, ปริญญาโทจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย Santo Thomas, ผ่านหลักสูตรอบรมจากสถาบันพระปกเกล้า เคยรับราชการที่กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 8 จังหวัดเลย และกรมทหารพรานกองทัพภาคที่ 2 ก่อนจะย้ายมารับราชการทหารสังกัดกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยทำหน้าที่ถวายอารักขาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ จากนั้นได้ลาออกจากราชการ เพื่อมาทำงานด้านการเมืองการเมือง โดยได้ลงรับสมัครเลือกตั้งในเขต 4 กรุงเทพมหานคร (เขตพญาไท, เขตราชเทวี) สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยพบกับคู่แข่งคนสำคัญ คือ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ของพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่ง ร.อ.รชฏ สามารถเอาชนะไปได้อย่างเฉียดฉิว (ร.อ.รชฏได้ 30,352 คะแนน, นายพุทธิพงษ์ได้ 28,423 คะแนน) และในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและรชฏ พิสิษฐบรรณกร · ดูเพิ่มเติม »

รัชดา ธนาดิเรก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชดา ธนาดิเรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 33 (บางพลัด บางกอกน้อย) พรรคประชาธิปัตย์ อดีตอาจารย์ประจำ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและรัชดา ธนาดิเรก · ดูเพิ่มเติม »

ลลิตา ฤกษ์สำราญ

รองศาสตราจารย์ ดร.ลลิตา ฤกษ์สำราญ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 2..กรุงเทพฯ หลายสมัย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 เป็นบุตรีของ นายเซี้ยง และนางสั้ง ฤกษ์สำราญ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก จิตวิทยาการศึกษา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็น อดีตอาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ตำแหน่งสุดท้ายเป็น รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 ในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและลลิตา ฤกษ์สำราญ · ดูเพิ่มเติม »

ลุงขาวไขอาชีพ

ลุงขาวไขอาชีพ หรือ วราพงษ์ พงษ์บริบูรณ์ นักธุรกิจ นักประชาสัมพันธ์ นักพูด นักประดิษฐ์ นักสังคมสงเคราะห์ และนักเขียนชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2471 ที่ตำบลหนองควายโซ อำเภอหนองแซงจังหวัดสระบุรี จบชั้นมัธยมต้นที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ และปว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและลุงขาวไขอาชีพ · ดูเพิ่มเติม »

ลีลาวดี วัชโรบล

ร.ลีลาวดี วัชโรบล (ชื่อเล่น: ลี) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองนางสาวไทยและอดีตนักแสดง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและลีลาวดี วัชโรบล · ดูเพิ่มเติม »

วชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์

วชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ นายวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ อดีตโฆษกพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีต..กรุงเทพมหานคร เขต 17 (ลาดพร้าว) และรองโฆษกพรรคไทยรักไทย เกิดวันที่ 15 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ เพชรทอง

นายวัชระ เพชรทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา และเจ้าของคอลัมน์ "วัชรทัศน์" ของ นสพ.แนวหน้า รายวัน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวัชระ เพชรทอง · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ตันศิริ

วิชัย ตันศิริ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวิชัย ตันศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิชาญ มีนชัยนันท์

นายวิชาญ มีนชัยนาน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวิชาญ มีนชัยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวิลาศ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย สมพงษ์

ันเอกวินัย สมพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นนักการเมืองที่มีความซื่อสัตย์ จนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า นายไม้บรรทัด และเป็นผู้ยกเลิกโครงการโฮบเวลล์ และริเริ่มโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวินัย สมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วนัสธนา สัจจกุล

นายวนัสธนา สัจจกุล (ชื่อเดิม ธวัชชัย สัจจกุล) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กหอย หัวหน้าพรรคพลังคนกีฬา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย และอดีตผู้จัดการทีมฟุตบอลทีมชาติไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและวนัสธนา สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศันสนีย์ นาคพงศ์

ันสนีย์ นาคพงศ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคพลังธรรม, อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย, อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ซึ่งมีชื่อเสียงคู่กับจักรพันธุ์ ยมจินดา และเอกชัย นพจิน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและศันสนีย์ นาคพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิธา ทิวารี

นาวาอากาศตรี ศิธา ทิวารี (ชื่อเล่น: ปุ่น; เกิด: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507) ประธานคณะกรรมการบริษัท ทอท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและศิธา ทิวารี · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย พานิชภักดิ์

ัย พานิชภักดิ์ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ อังก์ถัด (UNCTAD) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ก่อนหน้านั้นเคยรับตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการใหญ่องค์การการค้าโลก (WTO) ศุภชัยมีชื่อเรียกย่อ ๆ ที่รู้จักกันทั่วไปว่า ดร.ซุป.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและศุภชัย พานิชภักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภมาส อิศรภักดี

นางสาวศุภมาศ อิศรภักดี โฆษกพรรคภูมิใจไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 13 (หลักสี่) พรรคไทยรักไทยในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและศุภมาส อิศรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

สกลธี ภัททิยกุล

กลธี ภัททิยกุล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 4 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของพลเอกวินัย ภัททิยกุล อดีตเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.).

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสกลธี ภัททิยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 269 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยมีสาเหตุมาจากพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลขาดเอกภาพ ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรค ในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 (4 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 279 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งดขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ เข้ายึดอำนาจการปกครองในประเทศ ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยึดอำนาจจากการปกครองแผ่นดินของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 (22 มีนาคม พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 17 สิ้นสุดสมาชิกภาพ เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ หลังจากนายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 และถือเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในรอบปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "การเลือกตั้ง 2535/2" นั่นเอง การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งหนึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน มีจำนวน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ รอดโพธิ์ทอง

ลตรี สมบัติ รอดโพธิ์ทอง เป็นอดีตแกนกบฏยังเติร์ก เมื่อปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสมบัติ รอดโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

สมบุญ ศิริธร

มบุญ ศิริธร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 1 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ มีฉายาทางการเมืองว่า "หมูหิน".

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสมบุญ ศิริธร · ดูเพิ่มเติม »

สมัย เจริญช่าง

นายสมัย เจริญช่าง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย และอดีตประธานคณะกรรมาธิการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 ได้รับเลือกตั้งเป็น..สมัยแรก ในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสมัย เจริญช่าง · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมุทร มงคลกิติ

ร.สมุทร มงคลกิติ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสมุทร มงคลกิติ · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญ สมะลาภา

รรเสริญ สมะลาภากรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารของไทย ถือเป็นหนึ่งในทีมเศรษฐกิจของพรรคประชาธิปัตย์ ขณะเป็นพรรคฝ่ายค้าน ในสมัยรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร สมัยแรก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสรรเสริญ สมะลาภา · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์

ัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายสมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สากล ม่วงศิริ

นายสากล ม่วงศิริ (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2514) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสากล ม่วงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ มะลูลีม

มารถ มะลูลีม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และประธานคณะกรรมาธิการกิจการชายแดน สภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสามารถ มะลูลีม · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ ม่วงศิริ

ันตำรวจเอกสามารถ ม่วงศิริ (เกิด 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 1 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสามารถ ม่วงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สาวิตต์ โพธิวิหค

วิตต์ โพธิวิหค กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสาวิตต์ โพธิวิหค · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสิทธิ เศวตศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สืบแสง พรหมบุญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบแสง พรหมบุญ อดีตนักวิชาการทางประวัติศาสตร์ นักการศึกษา และนักการเมืองชาวไทย ผ.ดร.สืบแสง เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2484 จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนพิณพลราษฎร์ จังหวัดพิษณุโลก ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยม) ปริญญาโทและปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุนของมูลนิธิเอ็ดวาร์ด ดับเบิลยู เฮเซน และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 77 (วปรอ.377) รับราชการโดยเริ่มจากการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นพระอาจารย์ถวายการสอนวิชาประวัติศาสตร์จีนแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งที่ทรงเป็นนิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้เป็นนายกสมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาได้ย้ายไปเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้เป็นคณบดีระหว่างปี พ.ศ. 2526-พ.ศ. 2528 ผ.ดร.สืบแสง เป็นอาจารย์พิเศษในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ในหลายสถาบันการศึกษา และเป็นรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและยุทธศาสตร์องค์กร และอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต ในปี พ.ศ. 2538 ในทางด้านการศึกษา ได้เป็นผู้วางรากฐานการศึกษา โดยเฉพาะวิชาประวัติศาสตร์ในหลายสถาบัน เป็นกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย และ ประธานคณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยจากเอกสารจีน สำนักนายกรัฐมนตรี ทางด้านการเมือง ได้ร่วมงานกับพรรคพลังใหม่ จากนั้นได้ย้ายเข้าสู่พรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เขต 7 กรุงเทพมหานคร ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ) เมื่อปี พ.ศ. 2553 ต่อมาในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสืบแสง พรหมบุญ · ดูเพิ่มเติม »

สุมิตร สุนทรเวช

มิตร สุนทรเวช หัวหน้าพรรคประชากรไทย น้องชายของ สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุมิตร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุรชาติ เทียนทอง

นายสุรชาติ เทียนทอง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 11 และโฆษกคณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม สภาผู้แทนราษฎร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุรชาติ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

สุรันต์ จันทร์พิทักษ์

ทันตแพทย์ สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นน้องชายของเภสัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ..กทม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุรันต์ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวัฒน์ วรรณศิริกุล

นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และประธานภาคกรุงเทพมหานคร พรรคพลังประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ในสังกัดพรรคประชากรไทย และสังกัดพรรคพลังประชาชน เป็นพรรคสุดท้.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุวัฒน์ วรรณศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุธรรม แสงประทุม

รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุธรรม แสงประทุม · ดูเพิ่มเติม »

สุธา ชันแสง

นายสุธา ชันแสง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชน และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุธา ชันแสง · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์

นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และนักธุรกิจชาวไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุขวิช รังสิตพล

วิช รังสิตพล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคความหวังใหม่ และพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุขวิช รังสิตพล · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ วงศ์กำแหง

รืออากาศตรีสุเทพ วงศ์กำแหง เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดนครราชสีมา ท่านได้รับการศึกษาตั้งแต่เบื้องต้นจนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่จังหวัดบ้านเกิด ความมีแววของการเป็นนักร้องเริ่มมีขึ้นตั้งแต่สมัยที่เป็นนักเรียน โดยมักจะได้รับมอบหมายให้เป็นต้นเสียงร้องเพลงชาติที่โรงเรียนเสมอ ๆ ครั้นเรียนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 แล้ว คุณสุเทพก็ได้ย้ายเข้ามาอาศัยอยู่กับญาติที่กรุงเทพมหานคร และด้วยนิสัยรักการวาดเขียนและงานศิลปะเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ท่านจึงได้สมัครเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง ซึ่งระหว่างที่เรียนอยู่นั้นนอกจากท่านจะแสดงฝีมืออย่างโดดเด่นในทางศิลปะแล้ว ท่านยังเป็นนักร้องเสียงดีประจำห้องเรียนอีกด้วย ในยามว่างท่านมักจะฝึกซ้อมร้องเพลงเสมอตามแบบอย่างของนักร้องที่ท่านชื่นชอบ เช่น วินัย จุลละบุษปะ สถาพร มุกดาประกร ปรีชา บุณยเกียรติ ฯลฯ คุณสุเทพได้มีโอกาสรู้จักและคุ้นเคยกับครูไศล ไกรเลิศ นักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงเนื่องจากบ้านอยู่ใกล้กัน เมื่อครูไศลมองเห็นแววความสามารถของคุณสุเทพก็คิดจะช่วยสนับสนุนส่งเสริมจึงชักชวนให้มาช่วยงาน เช่น ช่วยเขียนโน้ตเพลง เขียนตัวหนังสือ ตลอดจนติดตามไปช่วยงานในธุรกิจบันเทิงต่าง ๆ เสมอ ทำให้คุณสุเทพเริ่มคุ้นเคยกับบุคคลในวงการเพลงมากหน้าหลายตา ทั้งยังได้รับโอกาสให้ร้องเพลงสลับฉากละคร ร้องเพลงตามงานบันเทิงต่าง ๆ รวมไปถึงการทดลองเสียงแทนนักร้องตัวจริงก่อนที่จะทำการอัดเสียงเสมอ จากการที่ร้องเพลงได้อย่างดีเด่น ทำให้คุณสุเทพได้ร้องเพลงบ่อยขึ้นเรื่อย ๆ จนได้รับคัดเลือกให้ร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียงของตนเองบ้าง ต่อมาท่านได้รับการสนับสนุนจาก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ชื่นชอบการร้องเพลงของท่านโดยช่วยส่งเสริมท่านในทางต่าง ๆ ครั้นคุณสุเทพมีอายุครบกำหนดกฎเกณฑ์ทหาร พลอากาศเอกทวีจึงได้ชักชวนให้ท่านเข้ารับราชการในกองทัพอากาศ โดยได้ประจำอยู่ที่วงดุริยางค์ทหารอากาศ ซึ่งมี ครู ปรีชา เมตไตรย์ เป็นผู้ควบคุมวง ระหว่างนั้น คุณสุเทพได้บันทึกแผ่นเสียงมากขึ้นอีก และสถานีวิทยุต่าง ๆ ก็ได้นำเพลงที่ท่านร้องบันทึกแผ่นเสียงนี้ไปเปิดจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากออกจากกองทัพอากาศแล้ว คุณสุเทพก็ได้ร้องเพลงเป็นอาชีพหลักอย่างเต็มตัว ท่านได้เข้าร่วมกับคณะชื่นชุมนุมศิลปิน และได้มีโอกาสร้องเพลงทั้งในรายการวิทยุและโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ ทำให้ชื่อเสียงของท่านเริ่มเพิ่มขึ้น งานต่าง ๆ จึงหลั่งไหลเข้ามาไม่ขาดสาย และยิ่งในช่วงนั้น วงการภาพยนตร์ไทยกำลังเฟื่องฟู ท่านจึงได้งานร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเป็นจำนวนมาก รวมทั้งได้ร่วมแสดงภาพยนตร์บางเรื่องด้วย ท่านได้มีโอกาสร้องเพลงคู่กับนักร้องรุ่นพี่ท่านหนึ่งคือ คุณสวลี ผกาพันธุ์ อยู่เสมอ ในเวลานั้น คุณสวลีเป็นนักร้องยอดนิยมแห่งยุคที่มีแฟนเพลงชื่นชอบมากมาย ดังนั้นเมื่อใครซื้อแผ่นเสียงของคุณสวลีไป ก็มักจะมีเสียงคุณสุเทพติดไปด้วย ชื่อเสียงของคุณสุเทพจึงโด่งดังขึ้นเป็นอย่างมาก ดังนั้น คุณสุเทพจึงถือว่าความสำเร็จในเบื้องต้นส่วนหนึ่งของท่านนั้น ได้รับอานิสงส์มาจากการที่ได้ร้องเพลงคู่กับคุณสวลี ผกาพันธุ์ด้วย จุดเด่นของคุณสุเทพก็คือการที่ท่านมีน้ำเสียงที่ดีเป็นเลิศ มีลีลาในการร้องเพลงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวนุ่มนวลชวนฟัง อีกทั้งอารมณ์ที่แสดงออกมาทางน้ำเสียงและสีหน้านั้นก็สามารถสะกดใจผู้ฟังให้คล้อยตามและเข้าถึงอารมณ์ของเพลงนั้นได้อย่างพิเศษ ประกอบกับการที่ท่านเป็นผู้ที่เอาใจใส่อย่างจริงจังในการทำงาน ทำให้ท่านเป็นนักร้องที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงภายในระยะเวลารวดเร็ว จนได้รับฉายาจาก รงค์ วงษ์สวรรค์ว่า "นักร้องเสียงขยี้แพรบนฟองเบียร์" มีผลงานดีเด่นเป็นเวลาต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี ในช่วงก่อนปีพุทธศักราช 2500 คุณสุเทพได้ร่วมเดินทางไปฮ่องกง และสาธารณรัฐประชาชนจีนกับศิลปินแขนงต่าง ๆ กลุ่มใหญ่ จากนั้น ท่านก็ได้เดินทางต่อไปยังประเทศญี่ปุ่นเพื่อศึกษาทางด้านการวาดรูปที่ท่านเคยรักมาก่อนในอดีต ระหว่างนั้นท่านก็ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนเพลงคนไทยที่นั่น ท่านได้เรียนวาดรูปตามความประสงค์และร้องเพลงขับกล่อมคนไทยที่ไปพำนักยังแดนอาทิตย์อุทัยประมาณ 3 ปี จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย งานร้องเพลงของ สุเทพ วงศ์กำแหง สามารถแบ่งออก 3 ช่วง ตามช่วงเวลาดังนี้.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุเทพ วงศ์กำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ อัตถากร

ทพ อัตถากร (17 ตุลาคม พ.ศ. 2480 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสุเทพ อัตถากร · ดูเพิ่มเติม »

สนอง นิสาลักษณ์

ลเรือตรี สนอง นิสาลักษณ์ อดีตนายทหารเรือ นักการทูต และนักการเมืองไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสนอง นิสาลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุณยะชัย

ลเรือเอกสนธิ บุณยะชัย (20 มิถุนายน พ.ศ. 2460 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย และ อดีตรองผู้บัญชาการทหารเรือ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและสนธิ บุณยะชัย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล

หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและหม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล (30 เมษายน พ.ศ. 2521 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร รองโฆษกพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช อดีตนักการเมืองและนักดนตรีชาวไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและหม่อมหลวงเสรี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ห้างทอง ธรรมวัฒนะ

นายห้างทอง ธรรมวัฒนะ (20 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 - 6 กันยายน พ.ศ. 2542) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย สังกัดพรรคประชากรไทย และอดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและห้างทอง ธรรมวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอภิรักษ์ โกษะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี

อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กทม. เขตจตุจักร พรรคประชาธิปัตย์ ประธานกรรมาธิการกิจการชายแดนไทย กรรมการสภาสถาบันพระปกเกล้า ปัจจุบันเป็นคณะทำงานเศรษฐกิจของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี · ดูเพิ่มเติม »

อรรคพล สรสุชาติ

นายอรรคพล สรสุชาติ อดีตผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (2 สมัย).

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอรรคพล สรสุชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์

นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรอนงค์ คล้ายนก

นางอรอนงค์ คล้ายนก (ชื่อเล่น: แจง; เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512) จบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาจากวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ระดับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง มีประสบการณ์ทำงานเป็นพนักงานของการไฟฟ้านครหลวง และเป็นผู้ช่วยของนายสุพิน คล้ายนก สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตบางแค ผู้เป็นสามี และมีกิจการของตัวเองเกี่ยวกับพลาสติกและบริษัทโฆษณา ปัจจุบัน ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 นางอรอนงค์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในเขต 11 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย เขตภาษีเจริญ เขตบางแค และ เขตหนองแขม คู่กับ นายโกวิทย์ ธารณา และ นายวัชระ เพชรทอง ซึ่งนางอรอนงค์และนายโกวิทย์ได้รับเลือกตั้ง และในการเลือกตั้งในกลางปี พ.ศ. 2554 นางอรอนงค์ได้รับเลือกตั้งอีกครั้ง โดยเป็นฝ่ายชนะ ร.ท.หญิง สุณิสา เลิศภควัต จากพรรคเพื่อไทยไป 48,362 คะแนน ต่อ 43,420 คะแนน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอรอนงค์ คล้ายนก · ดูเพิ่มเติม »

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง เป็น นักร้อง, นักการเมือง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขาเคยเข้าร่วมกับแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเป็นอดีตแกนนำ นป.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง · ดูเพิ่มเติม »

อรทัย ฐานะจาโร

อรทัย ฐานะจาโร (ชื่อเล่น: เหน่ง) เดิมมีชื่อว่า อรทัย กาญจนชูศักดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ที่ย่านเยาวราช โดยเป็นบุตรสาวของนายส่ง กาญจนชูศักดิ์ (หรือที่รู้จักกันโดทั่วไปว่าแชแม้)โปรโมเตอร์มวยชื่อดังและนักธุรกิจโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังยี่ห้อ "ปลามังกร" กับนางฉลวย กาญจนชูศักดิ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนสมถวิล ราชดำริ และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกการบริหารธุรกิจ เมื่อศึกษาจบแล้ว ได้ช่วยงานในกิจการโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังซึ่งเป็นกิจการของครอบครัว และมีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นโปรโมเตอร์มวยร่วมกับนายส่ง ซึ่งเป็นบิดา และเข้าเป็นโปรโมเตอร์เต็มตัวเมื่อนายส่งถึงแก่กรรมไป โดยอาจเรียกได้ว่า เป็นโปรโมเตอร์หญิงคนแรกของไทย โดยมีนักมวยหลายคนในสังกัด ซึ่งมักจะเป็นนักมวยในช่วงชีวิตท้าย ๆ การชกมวยแล้ว เช่น เมืองชัย กิตติเกษม, โนรี จ๊อกกี้ยิม และต่อศักดิ์ ศศิประภายิม ได้เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2537 ด้วยการเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตสัมพันธวงศ์ สังกัดพรรคพลังธรรม และได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ครั้งแรกในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2538 ในเขตสัมพันธวงศ์ พรรคพลังธรรม ซึ่งเป็นยุคที่มี.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นหัวหน้าพรรค มีตำแหน่งทางการเมืองต่าง ๆ อาทิ ตำแหน่ง ผู้ช่วยโฆษกคณะกรรมาธิการการกีฬา คนที่ 2, ผู้ช่วยโฆษกคณะกรรมาธิการการพลังงาน, คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร และ โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี, ประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2544 ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายวัฒนา เมืองสุข) เมื่อปี พ.ศ. 2545 และเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เมื่อปี พ.ศ. 2546, เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (น.พ.สุชัย เจริญรัตนกุล) เมื่อปี พ.ศ. 2548, เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (นายวัฒนา เมืองสุข) เมื่อปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอรทัย ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

อากร ฮุนตระกูล

นายอากร ฮุนตระกูล เกิดวันที่ 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอากร ฮุนตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม และ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสัตยาไสที่ดำเนินการตามแนวทางความเชื่อของตนเอง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช. และเจ้าของฉายา "ดร.ไข่ผง" จากการเคยมีกิจการโรงงานผลิตไข่ผงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอาทิตย์ อุไรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อิสรา สุนทรวัฒน์

อิสรา สุนทรวัฒน์ นายอิสรา สุนทรวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอิสรา สุนทรวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม

ตราจารย์ นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม ปัจจุบันเป็นประธานเครือข่ายองค์กรงดเหล้าและเครือข่ายลดอุบัติเหตุ, ที่ปรึษาคณะกรรมการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม · ดูเพิ่มเติม »

องอาจ คล้ามไพบูลย์

องอาจ คล้ามไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ อดีต..กรุงเทพฯ หลายสมัย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและองอาจ คล้ามไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุชา บูรพชัยศรี

อนุชา บูรพชัยศรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอนุชา บูรพชัยศรี · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ ปั้นทอง

นายอนุสรณ์ ปั้นทอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 14 และประธานคณะกรรมาธิการคุ้มครองผู้บริโภค สภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอนุสรณ์ ปั้นทอง · ดูเพิ่มเติม »

อนุดิษฐ์ นาครทรรพ

นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และรักษาการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอดีตที่ปรึกษาและโฆษกและเลขานุการศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและอนุดิษฐ์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ. 2531-2534 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโทรทัศน์ และอดีตรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและจักรพันธุ์ ยมจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดธนบุรี

ตราประจำจังหวัดธนบุรี จังหวัดธนบุรี เป็นจังหวัดในอดีตที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับจังหวัดพระนคร ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เป็น นครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและจังหวัดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและจำลอง ศรีเมือง · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ห่วงทรัพย์

นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 18 (เขตคลองสามวา) สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตผู้ประกาศข่าวสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและจิรายุ ห่วงทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรพล ณ ลำปาง

ลโท จิตรพล ณ ลำปาง (15 กันยายน พ.ศ. 2462 - ???) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชากรไทย 3 สมัย เป็นนักศึกษาวิทยาลัยการทัพบกรุ่นที่ 9 รุ่นเดียวกับพลเอก เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ และนาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ และมีศักดิ์เป็นหลานของหลวงพ่อเกษม เขมโก รวมทั้งมีบทบาทในการจัดสร้างวัตถุมงคลหลายครั้ง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและจิตรพล ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์

ณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2515 มีชื่อเล่นว่า แบม หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า น้องแบม โฆษกพรรค และรองเลขาธิการพรรคชาติไทย และ รองโฆษกรัฐบาล พิธีการรายการโทรทัศน์ที่เคยรับงานพิธีกรรายการตีสิบ โดยภายหลังจึงลาออกมาทำงานการเมือง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธารินทร์ นิมมานเหมินท์

รินทร์ นิมมานเหมินท์ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและธารินทร์ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์

ร.ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ (ชื่อเล่น:อิ่ม;เกิด 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 20 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนา ชีรวินิจ

นายธนา ชีรวินิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานสภากรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและธนา ชีรวินิจ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล ไพรสณฑ์

วิล ไพรสณฑ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและถวิล ไพรสณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2559) อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและถนัด คอมันตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ลเอก ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา (12 มกราคม พ.ศ. 2456 - ???) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ทหาร ขำหิรัญ

ลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ อดีตนายทหารนาวิกโยธินชาวไทย อดีตนักการเมือง และหนึ่งในคณะราษฎรสายทหารเรือ ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 พล.ร.ต.ทหาร เดิมมีชื่อว่า ทองหล่อ ขำหิรัญ เป็นนายทหารเรือพรรคนาวิกโยธิน ในเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อเช้าตรู่วันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและทหาร ขำหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ทิวา เงินยวง

รองศาสตราจารย์ ทิวา เงินยวง (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2553) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ เป็นมือกฎหมายฝีมือดีคนหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและทิวา เงินยวง · ดูเพิ่มเติม »

ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์

ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2487 ที่อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นพี่ชายของ ประสาร มฤคพิทักษ์ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภา ประธานกรรมการ บริษัท ชีวิตธุรกิจ จำกัด และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทวิทยาศาสตร์ สาขาสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาต่อด้านการพูดและมนุษยสัมพันธ์ที่สถาบันเดล คาร์เนกี กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อศึกษาจบแล้วเดินทางกลับประเทศไทย ได้ก่อตั้งสถาบันพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่ชุมชน เมื่อปี พ.ศ. 2515 ซึ่งถือได้ว่าเป็นสถาบันสอนการพูดแห่งแรก ๆ ของประเทศไทย และยังคงดำเนินกิจการจนถึงปัจจุบัน ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นนักพูด เป็นบุคคลแรกที่จัดการทอล์คโชว์ขึ้นในประเทศไทย เป็นวิทยากรอบรมการพูดและสร้างเสริมบุคลิกภาพ จนทำให้ได้รับการขนานนามว่า "ต้นตำรับนักพูดเมืองไทย" แต่ในช่วงสงครามอิรัก ในปี พ.ศ. 2546 ที่สหรัฐอเมริกาบุกโจมตีอิรักทั้งทางอากาศและภาคพื้นดิน ทินวัฒน์ได้แสดงความเห็นว่า หากสหรัฐอเมริกาต้องการเอาชนะอิรักให้ได้อย่างเด็ดขาด ให้ใช้ระเบิดน้ำมันหมู ทำให้ถูกโจมตีและวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมหลายภาคส่วนถึงความเหมาะสม ทำให้เจ้าตัวต้องแสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกจากการเป็น..ทันที ในทางการเมือง เคยเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคพลังใหม่ ในปี พ.ศ. 2517 และเป็นกรรมการบริหารพรรคกิจประชาคม เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ของพรรคพลังธรรม 4 สมัย และในระบบบัญชีรายชื่อของพรรคไทยรักไทย 1 สมัย เคยเป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และประธานคณะธรรมาธิการการสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2554 ได้มีคำสั่งศาลล้มละลายกลาง โดยธนาคารกรุงเทพเป็นโจทย์ผู้ฟ้องร้อง สั่งให้ทินวัฒน์ และมาลีรัตน์ ภริยา เป็นบุคคลล้มละลาย และมีคำสังให้พิทักษ์ทรัพย์ในบริษัทของเจ้าตัว ปัจจุบัน เป็นพิธีกรดำเนินรายการ เก่ง3 ซึ่งเป็นรายการวิเคราะห์สถานการณ์การเมืองและเรื่องทั่วไปของบ้านเมือง ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไททีวี ช่อง 2 ในเวลาประมาณ 21.00 น. ทุกคืนวันเสาร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ณหทัย ทิวไผ่งาม

ร.ณหทัย ทิวไผ่งาม อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2544 และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและณหทัย ทิวไผ่งาม · ดูเพิ่มเติม »

ณัฎฐ์ บรรทัดฐาน

นายณัฏฐ์ บรรทัดฐาน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของนายบัญญัติ บรรทัดฐาน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและณัฎฐ์ บรรทัดฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ

นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ อดีตผู้อำนวยการพรรคประชาธิปัตย์ และ ประธานสโมสรทีมฟุตบอลบางกอกเอฟซี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและณัฏฐพล ทีปสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร (ส.ส.พระนคร) และกรุงเทพมหานคร (ส.ส.กรุงเทพมหานคร) พรรคประชาธิปัตย์ และนักเขียนสารคดีแนวประวัติศาสตร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ดำรง ลัทธพิพัฒน์

ำรง ลัทธพิพัฒน์ (29 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและดำรง ลัทธพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฉลาด วรฉัตร

รืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดและกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นักเคลื่อนไหวทางการเมือง ผู้ได้รับฉายาว่า "จอมอด".

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและฉลาด วรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ปกิต พัฒนกุล

นายปกิต พัฒนกุล (เกิด 10 มิถุนายน พ.ศ. 2481) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย อดีตสมาชิกวุฒิสภา และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและปกิต พัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประชา คุณะเกษม

ประชา คุณะเกษม 29 ธันวาคม พ.ศ. 2477—8 ตุลาคม พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและประชา คุณะเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ จิรกิติ

ร.ประกอบ จิรกิติ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายประสิทธิ จิรกิติ และนางอิงอร จิรกิติ สมรสกับ นางวรรณา จิรกิติ (สกุลเดิม เบญจรงคกุล) น้องสาวของ นายบุญชัย เบญจรงคกุล อดีตผู้บริหารกลุ่มยูคอมและดีแทค และเป็นพี่สาวนายสมชาย เบญจรงคกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ดร.ประกอบ จิรกิติ เคยทำงานด้านวิชาการเป็นอาจารย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) มีผลงานจนได้ดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ก่อนจะเข้าเป็นผู้บริหารบริษัทหลายแห่งในเครือยูคอม ที่เป็นหนึ่งในธุรกิจสื่อสารยักษ์ใหญ่ของไทย กระทั่งได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ยูไนเต็ด คอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ ยูคอม และต่อมาเป็น กรรมการผู้จัดการบริษัท เลิร์นทูเกเธอร์ จำกัด ธุรกิจการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (e-Learning) ในเครือยูคอม ซึ่งเท่ากับได้ทำงานในสายงานการศึกษาอีกครั้ง ดร.ประกอบ จิรกิติ เคยเข้าสู่วงการเมือง โดยลงสมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 10 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและประกอบ จิรกิติ · ดูเพิ่มเติม »

ประวิช รัตนเพียร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและประวิช รัตนเพียร · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ สุ่นศิริ

นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและประสงค์ สุ่นศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประจักษ์ สว่างจิตร

หตุการณ์กบฏเมษาฮาวาย เมื่อ 1-3 เมษายน พ.ศ. 2524 พันเอก (พิเศษ) ประจักษ์ สว่างจิตร หรือที่นิยมเรียกว่า ผู้การประจักษ์ (12 กันยายน พ.ศ. 2480 – 10 กันยายน พ.ศ. 2546) สำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) หลักสูตรเวสปอยท์ รุ่นที่ 7 ซึ่งได้รับฉายาว่า "กลุ่มยังเติร์ก".อ. (พิเศษ) ประจักษ์ เป็นหนึ่งในแกนนำสำคัญของนายทหาร จปร.7 เป็นนักรบอาชีพที่ผ่านการรบมาอย่างโชกโชนในสมรภูมิอินโดจีน ทั้งในเวียดนาม กัมพูชา ลาว เป็นทหารที่ดุดันเอาจริงเอาจังในการตอบโต้การล่วงละเมิดอธิปไตยของไทย จนเพื่อนในรุ่นเรียกว่า "นักรบบ้าดีเดือด" และชาวบ้านบริเวณชายแดน ไทย-กัมพูชา ตั้งฉายาให้ว่า "วีรบุรุษตาพระยา" แม้จะเป็นคนมุทะลุ ดุดัน แต่รักพวกพ้อง.อ. (พิเศษ) ประจักษ์ เป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ พล.ต.มนูญกฤต รูปขจร ประธานวุฒิสภา, พล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี และ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง.อ. (พิเศษ) ประจักษ์เป็นที่รู้จักของคนทั้งประเทศจากเหตุการณ์ "กบฏเมษาฮาวาย" เมื่อวันที่ 1-3 เมษายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและประจักษ์ สว่างจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ประทวน รมยานนท์

นายประทวน รมยานนท์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม 3 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 1 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 3 สมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและประทวน รมยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ สุขุม

ปราโมทย์ สุขุม (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2483 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกผู้แทนราษฎรเขตคลองสาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายาว่า “สุภาพบุรุษนักการเมือง” จากสื่อมวลชน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและปราโมทย์ สุขุม · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและปวีณา หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นพดล ปัทมะ

นพดล ปัทมะ (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2504 ที่อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา) ทนายความประจำตระกูลชินวัตร เป็นผู้แทนทางกฎหมายในประเทศไทยของ.ต.ท.ดร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและนพดล ปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

นาถยา แดงบุหงา

นาถยา แดงบุหงา มีชื่อจริงว่า นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนักแสดงและนางแบบที่มีชื่อเสียง นอกจากจะเป็นดาราสาวที่ได้รับการยกย่องว่า ทั้งสวย ทั้งเก๋ และเก่ง แล้ว เธอคนนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “เจ้าแม่พรีเซ็นเตอร์” แห่งยุคอีกด้ว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและนาถยา แดงบุหงา · ดูเพิ่มเติม »

นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

นายนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ (พ.ศ. 2463 - พ.ศ. 2536) อดีตเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย ในรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ ช่วง..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

แทนคุณ จิตต์อิสระ

แทนคุณ จิตต์อิสระ มีชื่อเดิมคือ เอกชัย บูรณผานิต (แซ่ผ่าง) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เป็นอาจารย์สอนภาษาจีน เป็นสุดยอดแฟนพันธุ์แท้เรื่องความสัมพันธ์ไทย-จีน ในปี2005 และได้รับเชิญให้เป็นพิธีกรในรายการเดียวกันนี้ ในปี 2007-2008 ภายหลังได้จัดตั้ง "สถาบันฮั่นอี้ หรือ โรงเรียนนวัตกรรมภาษาและปัญญามนุษย์" ในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและแทนคุณ จิตต์อิสระ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิทย์ ธารณา

นายโกวิทย์ ธารณา หรือชื่อที่รู้จักดีในฉายา วิทย์ บางแค แคร์ทุกคน แต่คนบางแค แคร์บางคน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและโกวิทย์ ธารณา · ดูเพิ่มเติม »

โรช วิภัติภูมิประเทศ

ลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและโรช วิภัติภูมิประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์

นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตผู้ร่วมก่อตั้งพรรคพลังธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นเลขาธิการสมัชชาประชาชนแห่งประเทศไทย เป็นชาวจังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ ปี พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์

นายไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2499) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 19 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรืองวิทย์ ดุษฎีสุรพจน์

นายเรืองวิทย์ ดุษฎีสุรพจน์ เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และเป็นประธานกรรมการบริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเรืองวิทย์ ดุษฎีสุรพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก นานา

นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเล็ก นานา · ดูเพิ่มเติม »

เอกนัฏ พร้อมพันธุ์

นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตโฆษก กปปส., อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์, เลขานุการส่วนตัวของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเจริญ คันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ

นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสภากรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเจิมมาศ จึงเลิศศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางบอน

ตบางบอน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองหลักของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพทั่วไปทางด้านตะวันออกของเขตเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง โดยมีย่านการค้าและเขตอุตสาหกรรมภายในพื้นที่ ส่วนทางด้านตะวันตกเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและเขตเกษตรกรรม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางบอน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางรัก

ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางขุนเทียน

ตบางขุนเทียน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพพื้นที่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเขตเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย การค้า และอุตสาหกรรม ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตเกษตรกรรมและมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เนื่องจากเป็นเขตเดียวของกรุงเทพมหานครที่มีพื้นที่ติดกับอ่าวไทย (เป็นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร) และยังมีป่าชายเลนหลงเหลืออยู.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางขุนเทียน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางคอแหลม

ตบางคอแหลม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางคอแหลม · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางซื่อ

ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางนา

ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางแค

ตบางแค เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ ซึ่งถือเป็นเขตเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมดีทางฝั่งธนบุรี ปัจจุบันเขตบางแคเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตคลองสามว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางแค · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบึงกุ่ม

ตบึงกุ่ม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางตอนกลางของพื้นที.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เขตพญาไท

ตพญาไท เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระโขนง

ตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตภาษีเจริญ

ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตยานนาวา

ตยานนาวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตยานนาวา · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

เขตราษฎร์บูรณะ

ตราษฎร์บูรณะ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตราษฎร์บูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดพร้าว

ตลาดพร้าว เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ).

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดกระบัง

ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัฒนา

ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตวังทองหลาง

ตวังทองหลาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตวังทองหลาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสวนหลวง

ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสะพานสูง

ตสะพานสูง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตสะพานสูง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสัมพันธวงศ์

ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตสัมพันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสายไหม

ตสายไหม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในกรุงเทพมหานครตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตสายไหม · ดูเพิ่มเติม »

เขตสาทร

ตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตสาทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตหลักสี่

ตหลักสี่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตหลักสี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตหนองจอก

ตหนองจอก เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหล.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

เขตหนองแขม

ตหนองแขม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม สภาพเศรษฐกิจดั้งเดิมขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากชุมชนเมืองขยายตัวจากพื้นที่ชั้นใน มีผู้ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยและประกอบอาชีพมากขึ้น พื้นที่การเกษตรจึงเริ่มถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสถานที่ราชการ สถานศึกษา โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีโทรทัศน์ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และหมู่บ้านจัดสรร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตหนองแขม · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตจอมทอง

ตจอมทอง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตทวีวัฒนา

ตทวีวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของเขตเป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีลำคลองหลายสายที่สามารถนำน้ำไปใช้ในการทำสวนผลไม้ อย่างไรก็ตาม พื้นที่เกษตรเหล่านั้นกำลังถูกแทนที่ทีละน้อยด้วยโครงการหมู่บ้านจัดสรรซึ่งเรียงรายอยู่ตามถนนสายหลักในพื้นที.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตทวีวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตทุ่งครุ

ตทุ่งครุ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง โดยมีพื้นที่ทำการเกษตรเป็นหลักทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตทุ่งครุ · ดูเพิ่มเติม »

เขตดอนเมือง

ตดอนเมือง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีแหล่งสถาบันราชการอยู่ทางด้านตะวันออกของพื้นที.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสามวา

ตคลองสามวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีคลองสามวาผ่านกลางพื้นที่และมีคลองซอยเชื่อมระหว่างคลองหลักเป็นก้างปลา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกสิกรรม ปัจจุบันเขตคลองสามวาเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 รองจากเขตสายไหม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตคลองสามวา · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองเตย

ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

เขตคันนายาว

ตคันนายาว เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตคันนายาว · ดูเพิ่มเติม »

เขตตลิ่งชัน

ตตลิ่งชัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่รอบนอกทางตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเรียกว่า "ฝั่งธนบุรี" ปัจจุบันจัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ สภาพโดยทั่วไปเป็นเขตอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย แต่ปัจจุบัน พื้นที่เกษตรกรรมกำลังลดลงไปมากจากการสร้างพื้นที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและการสร้างเส้นทางคมนาคม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตประเวศ

ตประเวศ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตศรีนครินทร์ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

เดโช สวนานนท์

วนานนท์ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2476-) นักวิชาการทางกฎหมายและรัฐศาสตร์และอดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาชน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเดโช สวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว วัชรพุกก์

นายเฉลียว วัชรพุกก์ (29 มกราคม พ.ศ. 2464 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเฉลียว วัชรพุกก์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลื้อง ณ นคร

ปลื้อง ณ นคร (4 กันยายน พ.ศ. 2452 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2541) นักวิชาการด้านภาษาไทย เป็นผู้แต่งปทานุกรมนักเรียน และพจนานุกรม เปลื้อง ณ นคร เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2452 ที่จังหวัดสงขลา เป็นบุตรชายคนโตของขุนเทพภักดี (เล็ก) และนางยกฮิ่น ณ นคร มีน้องร่วมบิดามารดา 5 คน ได้แก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและเปลื้อง ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สส. กรุงเทพสส. กทม.สส.กรุงเทพสส.กทม.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »