โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2476

ดัชนี พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

88 ความสัมพันธ์: บ็อบบี ร็อบสันพ.ศ. 2407พ.ศ. 2452พ.ศ. 2454พ.ศ. 2468พ.ศ. 2475พ.ศ. 2477พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2486พ.ศ. 2539พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหากษัตริย์ไทยพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พอล ดิแรกพันธุ์สวลี กิติยากรพิทยา บุณยรัตพันธุ์กบฏบวรเดชรัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476รายนามประธานาธิบดีฟิลิปปินส์รายนามนายกรัฐมนตรีไทยรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีศาลาเฉลิมกรุงสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะหลวงปู่รอด พรหมสาโรอนาคาริก ธรรมปาละฮิลเลวี รอมบินฮิโตะชิ มิซะโกะจอห์น แบร์รีจักรพรรดิคอราซอน อากีโนประจวบ ฤกษ์ยามดีประเทศฟิลิปปินส์ประเทศญี่ปุ่นนารีมาน ศอดิกแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์เจมส์ บราวน์...เจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีสเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรียเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าแก้วนวรัฐ1 สิงหาคม10 มกราคม11 พฤษภาคม11 ตุลาคม13 มกราคม14 กันยายน14 มิถุนายน14 เมษายน15 มิถุนายน16 กุมภาพันธ์16 ธันวาคม17 กันยายน18 กุมภาพันธ์19 มิถุนายน2 กรกฎาคม2 มีนาคม20 มิถุนายน21 มิถุนายน21 มีนาคม22 กุมภาพันธ์23 ธันวาคม24 กันยายน25 กรกฎาคม25 มกราคม25 ธันวาคม26 พฤศจิกายน28 มิถุนายน29 เมษายน3 พฤศจิกายน3 พฤษภาคม30 มกราคม31 กรกฎาคม31 ตุลาคม ขยายดัชนี (38 มากกว่า) »

บ็อบบี ร็อบสัน

ซอร์ โรเบิร์ต วิลเลียม ร็อบสัน (Sir Robert William Robson) (18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933 – 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2009) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เซอร์ บ็อบบี ร็อบสัน เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอังกฤษ เขาเล่นฟุตบอลในตำแหน่งกองหน้า ในเวลาเกือบ 20 ปี เขาลงเล่นให้กับ 3 ทีม ได้แก่ ฟูลัม, เวสต์บรอมวิชอัลเบียน และแวนคูเวอร์รอยัลส์ เขาลงเล่นในนามทีมชาติอังกฤษ 20 นัด และยิงได้ 4 ประตู เขาเป็นที่รู้จักจากการเป็นผู้จัดการทีมที่ประสบความสำเร็จทั้งกับทีมชาติและสโมสร เขาสามารถคว้าแชมป์ลีกได้ใน 2 ประเทศ คือเนเธอร์แลนด์ และโปรตุเกส และคว้าแชมป์ฟุตบอลถ้วยในอังกฤษและสเปน รวมทั้งยังสามารถนำทีมชาติอังกฤษเข้าถึงรอบรองชนะเลิศในฟุตบอลโลก 1990 และประสบความสำเร็จในการคุมทีมชาติไอร์แลนด์ เซอร์ บ็อบบี ร็อบสัน เสียชีวิตลงอย่างสงบในขณะที่มีอายุ 76 ปี ด้วยโรคมะเร็งที่บ้านของเขา เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 หลังจากที่ป่วยมานานถึง 15 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และบ็อบบี ร็อบสัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2407 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) · ดูเพิ่มเติม »

พอล ดิแรก

อล ดิแรก พอล เอเดรียน มัวริซ ดิแรก (Paul Adrien Maurice Dirac; 8 สิงหาคม 2445 -20 ตุลาคม 2527) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวอังกฤษ หนึ่งในผู้ก่อตั้งฟิสิกส์สาขากลศาสตร์ควอนตัม เขาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ลูคาเซียนที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ก่อนจะไปใช้ชีวิตในช่วงสิบปีสุดท้ายของชีวิตที่มหาวิทยาลัยฟลอริดาสเตต เขาเป็นผู้สร้าง "สมการดิแรก" เพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมของแฟร์มิออน นำไปสู่การคาดการณ์ถึงการดำรงอยู่ของปฏิสสาร เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 2476 ร่วมกับ เออร์วิน ชเรอดิงเงอร์ สำหรับการ "ค้นพบรูปแบบใหม่ของทฤษฎีอะตอม".

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพอล ดิแรก · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์สวลี กิติยากร

ท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าพันธุ์สวลี ยุคล; ประสูติ: 24 กันยายน พ.ศ. 2476) ภริยาของหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร เป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และพระอัยยิกาในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา พระราชนัดดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพันธุ์สวลี กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

พิทยา บุณยรัตพันธุ์

ทยา บุณยรัตพันธุ์ นักร้องหญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในอดีต เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดธนบุรี จบการศึกษาในระดับมัธยมบริบูรณ์ ที่โรงเรียนสตรีวัดระฆัง เริ่มร้องเพลงครั้งแรกกับวงดนตรีสุนทราภรณ์ เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และพิทยา บุณยรัตพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏบวรเดช

กบฏบวรเดช เกิดขึ้นเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นับเป็นการกบฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 สาเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่ากับระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงเศรษฐกิจที่นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เสนอ และถูกมองว่าเป็น "คอมมิวนิสต์" ชนวนสำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ เป็นผลนำไปสู่การนำกำลังทหารก่อกบฏโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อันเป็นที่มาของชื่อ "กบฏบวรเดช" โดยในที่สุดฝ่ายรัฐบาลสามารถปราบปรามคณะกบฏลงได้ ส่วนพระองค์เจ้าบวรเดชหัวหน้าคณะกบฏและพระชายาได้หนีไปยังประเทศกัมพูชา อนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่บริเวณหลักสี่ บางเขน กรุงเทพฯ ที่เรียกกันว่า "อนุสาวรีย์หลักสี่" นั้น ชื่อจริงคือ "อนุสาวรีย์ปราบกบฏ" หรือ "อนุสาวรีย์พิทักษ์ธรรมนูญ" ซึ่งรัฐบาลในสมัยนั้น ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ปราบกบฏบวร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และกบฏบวรเดช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476

รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีฟิลิปปินส์

กษัตริย์แห่งสเปน (พ.ศ. 2108 – 2441) และ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2441 – 2489) ได้ดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศฟิลิปปินส์ ก่อนที่จะได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรายนามประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรางวัลโนเบล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่รอด พรหมสาโร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และหลวงปู่รอด พรหมสาโร · ดูเพิ่มเติม »

อนาคาริก ธรรมปาละ

อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407 มรณภาพ 29 เมษายน พ.ศ. 2476) เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ท่านเกิดในครอบครัวผู้มั่งคั่ง บิดาชื่อว่า เดวิด เหววิตรเน เมื่อได้อ่านหนังสือเรื่องประทีปแห่งเอเชียของท่านเซอร์ เอดวินด์ อาโนลด์ ก็เกิดความซาบซึ้ง มีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึงออกเดินทางสู่อินเดีย เมื่อได้เห็นเจดีย์พุทธคยาที่ชำรุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้ง และอยู่ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นนั้น จึงทำการอธิษฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่า จะถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและนำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธทั่วโลกให้ได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และอนาคาริก ธรรมปาละ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิลเลวี รอมบิน

ลเลวี รอมบิน (Hillevi Rombin) ชาวสวีเดน เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2476 ที่เมืองอัปป์ซาลา ประเทศสวีเดน ครองมงกุฎนางงามสวีเดน ปี 1955 และเป็น นางงามจักรวาล ปี 1955 และเป็นนางงามจักรวาลคนแรกของสวีเดนอีกด้วย หลังจากการประกวด เธอมาเป็นนักแสดงที่ ฮอลลีวูด ประเทศสหรัฐอเมริกา เธอประสบอุบัติเหตุเครื่องบินเสียชีวิต พร้อมกับสามีและลูกชายอีก 1 คน เมื่อ วันที่ 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และฮิลเลวี รอมบิน · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโตะชิ มิซะโกะ

ตะชิ มิซะโกะนักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 10 มกราคม พ.ศ. 2476 สถิติการชก 50 ครั้ง ชนะ 31 (น็อค 6) เสมอ 5 แพ้ 14.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และฮิโตะชิ มิซะโกะ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แบร์รี

อห์น แบร์รี ผู้อำนวยเพลง นักแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ชาวอังกฤษ มีชื่อเสียงในฐานะผู้อำนวยเพลง และแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ สูงสุดถึง 12 ภาค จาก 15 ภาคแรก และเป็นผู้แนะนำสตูดิโอผู้สร้าง ให้มอบหมายให้เดวิด อาร์โนลด์ เป็นผู้แต่งดนตรีประกอบต่อมาอีก 5 ภาค จนถึงภาคล่าสุด ผลงานแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์อื่นๆ ของแบร์รี ที่มีชื่อเสียง ได้แก่เรื่อง Midnight Cowboy (1969), King Kong (1976), Somewhere in Time (1980), Out of Africa (1985), Dances with Wolves (1990) และ Chaplin (1992) จอห์น แบร์รี เคยได้รับรางวัลออสการ์ จากผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์ Out of Africa และ Dances with Wolves.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และจอห์น แบร์รี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

คอราซอน อากีโน

มาเรีย คอราซอน ซูมูลอง คอฆวงโค อากีโน (María Corazón Sumulong Cojuangco Aquino, เกิด 25 มกราคม พ.ศ. 2476 ถึงแก่อสัญกรรม 1 สิงหาคม พ.ศ. 2552) หรือรู้จักกันดีในชื่อ คอรีย์ อากีโน (Cory Aquino) ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่สิบเอ็ดของประเทศฟิลิปปินส์ระหว่างปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) ถึงปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) โดยเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศฟิลิปปินส์และของทวีปเอเชีย นางอากีโนขึ้นบริหารประเทศหลังจากที่นางนำแนวร่วมปฏิวัติพลังประชาชน โค่นล้มเผด็จการเฟอร์ดินานด์ มาร์กอส ที่คุมอำนาจมานาน 20 ปี ในสมัยนางอากีโนก็มีรัฐประหารนองเลือดหลายหน แต่ก็ผ่านอำนาจไปสู่นายพลฟิเดล รามอส ได้อย่างราบรื่นในปี พ.ศ. 2535 ซึ่งการตัดสินใจเข้าสู่สนามการเมืองของนางก็เนื่องมาจาก นายเบนนิโย่ อากีโน จูเนียร์ ผู้เป็นสามีของนางถูกลอบสังหารหลังจากเดินทางกลับประเทศ นางอากีโนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2552 หลังจากเข้ารับการรักษาตัวจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นเวลานานหลายปี ซึ่งงานศพของนางจัดขึ้นแบบรัฐพิธีและเปิดให้ประชาชนร่วมไว้อาลัยก่อนจะมีการแห่ไปทั่วกรุงมะนิลา ซึ่งประชาชนทั่วไปต่างแน่นขนัดตามสองข้างทางที่ขบวนผ่าน และทำพิธีฝังแบบส่วนตัว นอกจากนี้ทางรัฐบาลได้มีการประกาศไว้อาลัยให้นางด้วยการลดธงครึ่งเสาเป็นเวลา 10 วัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และคอราซอน อากีโน · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ฤกษ์ยามดี

ประจวบ ฤกษ์ยามดี ชื่อเล่น น้อย (15 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดงชาวไทย ฉายา ดาวร้ายผู้น่ารัก ที่ผู้ชมคุ้นเคยกับบทบาทผู้ช่วยพระเอก-นางเอก หรือผู้ร้ายที่มักกลับใจมาช่วยฝ่ายพระเอกในตอนท้าย ที่มีผลงานบทสมทบในภาพยนตร์ไทยจำนวนมากกว่าร้อยเรื่อง มักรับบทพระรองคู่พระเอก อย่าง มิตร ชัยบัญชา และสมบัติ เมทะนี และยังเป็นดาวร้ายเจ้าของรางวัล 2 ตุ๊กตาทอง ประจวบ ฤกษ์ยามดีในการแสดง ประจวบ ฤกษ์ยามดี เป็นบุตรคนสุดท้อง เป็นน้องชายของ ยุวนุช ฤกษ์ยามดี ดาราละครเวทีชื่อดังในอดีตและประจวบยังเป็นน้องภรรยาของผู้กำกับภาพยนตร์ ทวี ณ บางช้าง หรือครูมารุต เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการทำงานอยู่ในโรงถ่ายหนุมานภาพยนตร์ของ รัตน์ เปสตันยี ต่อมาได้เริ่มต้นในวงการบันเทิงด้วยการแนะนำจากครูมารุต ผู้กำกับมือดีซึ่งเป็นพี่เขยของเขาเอง ได้แสดงในภาพยนตร์เรื่องแรก ชั่วฟ้าดินสลาย (2498) รับบทเป็น ทิพย์ และภาพยนตร์ที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของแฟนๆมากที่สุดได้แก่เรื่อง รักริษยา (2501) กำกับโดย มารุต ได้แจ้งเกิดในบทดาวร้ายจากเรื่องนี้และได้ตุ๊กตาทองจากภาพยนตร์เรื่องนี้ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และประจวบ ฤกษ์ยามดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นารีมาน ศอดิก

นารีมาน ศอดิก (อาหรับ:ناريمان صادق Nārīmān Sādiq, ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1933 —สวรรคต 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) เป็นธิดาของนายฮุสเซน ฟาห์มี ศอดิก เบย์ และนางอาซีลา คามิล โดยนารีมานเป็นพระมเหสีองค์ที่สองของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และนารีมาน ศอดิก · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger; 12 สิงหาคม ค.ศ. 1887 - 4 มกราคม ค.ศ. 1961) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย มีชื่อเสียงในฐานะผู้วางรากฐานกลศาสตร์ควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมการชเรอดิงเงอร์ ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์

แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์ (Katharine, Duchess of Kent) เป็นพระชายาของ เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์ ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ประสูติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และแคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ บราวน์

มส์ โจเซฟ บราวน์ จูเนียร์ (James Joseph Brown, Jr.) (3 พฤษภาคม ค.ศ. 1933 - 25 ธันวาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักร้อง นักแสดง เอนเทอร์เทนเนอร์ ชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในฐานะผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในวงการเพลงป็อปในคริสตวรรษที่ 20 ด้วยเอกลักษณ์ด้านน้ำเสียงและท่าเต้น เขาเป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักเต้น หัวหน้าวง บราวน์เป็นผู้ขับเคลื่อนวงการเพลง เขาเป็นอิทธิพลให้กับศิลปินหลายศิลปิน และยังมีอิทธิพลต่อวงการเพลงป็อปแอฟริกัน อย่างเช่น แอฟโฟรบีต, jùjú และ mbalaxPareles, J. (2006, December 26).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และเจมส์ บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีส

้าชายอ็องรีแห่งออร์เลอ็อง เคานต์แห่งปารีส ดยุกแห่งฝรั่งเศส เป็นประมุขของราชวงศ์ออร์เลอ็องในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และเจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์

อมพล เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเคนต์ (His Royal Highness Prince Edward, Duke of Kent) (เอ็ดเวิร์ด จอร์จ นิโคลัส พอล แพทริค; ประสูติ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2478) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงดำรงฐานันดรศักดิ์เป็น ดยุกแห่งเคนต์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2485 ดยุคแห่งเคนต์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจแทนสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระญาติชั้นที่หนึ่ง บางครั้งทรงเป็นที่รู้จักอย่างดีที่สุดในฐานะประธานสโมสรคร็อกเก็ตและเทนนิสแห่งอังกฤษ (All England Lawn Tennis and Croquet Club) โดยทรงมอบรางวัลเป็นโล่เกียรติยศแก่ผู้ชนะเลิศการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดันชาย อีกทั้งยังทรงเป็นผู้แทนพิเศษด้านการค้าและการลงทุนแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งทรงเกษียณในปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย

้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย (Княгиня Мария Луиза Българска; 13 มกราคม พ.ศ. 2476 —) เป็นพระธิดาในพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี พระองค์เป็นพระเซษฐภคินีใน พระเจ้าซาร์ซิเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มกราคม

วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ10 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ11 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

15 มิถุนายน

วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ15 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กันยายน

วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ17 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ18 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

19 มิถุนายน

วันที่ 19 มิถุนายน เป็นวันที่ 170 ของปี (วันที่ 171 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 195 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ19 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ22 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

23 ธันวาคม

วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ23 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ25 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ25 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ26 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ29 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ3 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2476และ31 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1933

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »