โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตมีนบุรี

ดัชนี เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

71 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2445พ.ศ. 2474พ.ศ. 2498พ.ศ. 2500พ.ศ. 2505พ.ศ. 2515พ.ศ. 2540พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพฤษภาคมพิกุลกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรถโดยสารประจำทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้าสายสีชมพูสองแถวสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถานีลาดกระบังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาอำเภอบางน้ำเปรี้ยวอำเภอลำลูกกาอำเภอธัญบุรีอำเภอเมืองฉะเชิงเทราจังหวัดพระนครจังหวัดมีนบุรีจังหวัดธนบุรีจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดปทุมธานีธันวาคมถนนกาญจนาภิเษกถนนมีนพัฒนาถนนรามคำแหงถนนร่มเกล้าถนนลาดพร้าวถนนสีหบุรานุกิจถนนหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ถนนหทัยราษฎร์ถนนนิมิตใหม่ถนนเสรีไทยถนนเจ้าคุณทหารทางพิเศษฉลองรัชทางหลวงพิเศษหมายเลข 7ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ...คลองแสนแสบตารางกิโลเมตรปลาตะเพียนทองแม่น้ำเจ้าพระยาแยกรามคำแหง-ร่มเกล้าแยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์แยกเมืองมีนแขวงโรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญเรือโดยสารคลองแสนแสบเขตบางกะปิเขตบางเขนเขตบึงกุ่มเขตลาดกระบังเขตสวนหลวงเขตสะพานสูงเขตสายไหมเขตหนองจอกเขตคลองสามวาเขตคันนายาว ขยายดัชนี (21 มากกว่า) »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

พิกุล

กุล เป็นไม้ยืนต้น มีดอกหอม สีขาว มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ แก้ว (เชียงใหม่) ซางดง (ลำปาง) ตันหยง (นราธิวาส).

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและพิกุล · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตสวนหลวง เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (Kasem Bundit University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2530 ในชื่อ วิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทาง

รถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานคร Benz-Omnibus, 1896 รถโดยสารประจำทาง หรือที่นิยมเรียกกันว่า รถเมล์ เป็นระบบขนส่งมวลชนระบบหนึ่งที่ให้บริการบนถนน โดยมีลักษณะเป็นรถขนาดใหญ่ที่บรรทุกผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก โดยกำหนดเส้นทาง และส่วนใหญ่เรียกชื่อเส้นทางเป็นตัวเลข เช่น สาย1 สาย 2 และมีเก็บค่าโดยสารโดยวิธีต่างๆกันไป จำนวนผู้โดยสารบนรถเมล์จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับขนาดของรถ ตัวอย่างเช่นในประเทศเยอรมันมีรถเมล์ที่ยาวที่สุดในโลกบรรจุผู้โดยสารได้กว่า 200 คน รถโดยสารประจำทางมีเรียกกันหลายชื่อในประเทศไทยเช่น รถเมล์ รถทัวร์ รถสองแถว รถสองแถวใหญ่ หรือ รถสองแถวเล็ก หรือเรียกชื่อเฉพาะตามพื้นที่ เช่น รถสี่ล้อแดง เป็นชื่อเรียกทั้งรถโดยสารและรถรับจ้างในจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและรถโดยสารประจำทาง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและรถไฟฟ้าสายสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

สองแถว

รถสองแถวฮีโน่ สองแถว (dua baris; ສອງແຖວ) เป็นรถยนต์ขนส่งผู้โดยสารใน ประเทศไทย และ ประเทศลาว ดัดแปลงมาจากรถกระบะ หรือ รถบรรทุกขนาดใหญ่ อาจจะใช้สำหรับเป็นแท็กซี่ หรือ รถโดยสารประจำทาง.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและสองแถว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดกระบัง

นีลาดกระบัง (Lat Krabang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ โดยสถานีลาดกระบังเป็นสถานีสุดท้ายก่อนเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและสถานีลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา

ูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เป็นสนามกีฬาที่ตั้งอยู่ในถนนคุ้มเกล้า ซอย 1/5 แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่10มกราคม..2545 เวลาเปิดทำการ - วันจันทร์ - เสาร์ เวลา 08.00 - 21.00น.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางน้ำเปรี้ยว

งน้ำเปรี้ยว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดฉะเชิงเทรา แหล่งน้ำสำคัญของอำเภอคือแม่น้ำบางปะกง แม่น้ำนครนายก คลองแสนแสบ และคลองบางขนาก.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและอำเภอบางน้ำเปรี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลำลูกกา

ลำลูกกา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและอำเภอลำลูกกา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธัญบุรี

ัญบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเป็นแนวยาวขนานไปกับคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปจนสุดเขตจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีความเจริญมากกว่าอำเภอเมืองปทุมธานี เนื่องจากเป็นทางผ่านของการคนนาคมไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเขตเทศบาลนคร 1 แห่ง เขตเทศบาลเมือง 2 แห่ง และเขตเทศบาลตำบลอีก 1 แห่งในพื้นที.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและอำเภอธัญบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองและการบริหารราชการของจังหวัดฉะเชิงเทร.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมีนบุรี

ตจังหวัตมีนบุรีในอดีต จังหวัดมีนบุรี ขึ้นกับมณฑลกรุงเทพ ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2444 โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอคลองสามวา อำเภอแสนแสบ อำเภอหนองจอก และอำเภอเจียรดับ หรือ อำเภอในคลองเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีได้ถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า อำเภอมีนบุรี และได้รับเอาท้องที่ตำบลแสนแสบจากอำเภอลาดกระบังมาอยู่ในการปกครองในปี พ.ศ. 2500 จากนั้นอำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตมีนบุรี เมื่อมีการรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็นแขวง รวม 7 แขวง จนในที่สุด ปี พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็นเขตคลองสามวา ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 ตารางกิโลเมตรเศษ ซึ่งใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร หากจังหวัดมีนบุรียังคงอยู่ในปัจจุบัน จะประกอบด้วยอำเภอดังนี้.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและจังหวัดมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดธนบุรี

ตราประจำจังหวัดธนบุรี จังหวัดธนบุรี เป็นจังหวัดในอดีตที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับจังหวัดพระนคร ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เป็น นครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและจังหวัดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทรา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมีนพัฒนา

ถนนมีนพัฒนา (Thanon Min Phatthana) เป็นถนนสายสั้น ๆ ในท้องที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 700 เมตร เชื่อมระหว่างถนนเสรีไทยกับถนนรามคำแหง (ถนนสุขาภิบาล 3 เดิม) มีจุดเริ่มต้นที่แยกบางชันบนถนนเสรีไทย มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามคลองแสนแสบ ไปสิ้นสุดที่แยกลาดบัวขาวบนถนนรามคำแหง หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตมีนบุรี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนมีนพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรามคำแหง

นนรามคำแหง (Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนร่มเกล้า

นนร่มเกล้า (Thanon Rom Klao) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119 สายมีนบุรี–ลาดกระบัง เดิมมีชื่อว่า "ถนนมีนบุรี–ลาดกระบัง" เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 11.003 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสุวินทวงศ์ในท้องที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนลาดกระบัง ในท้องที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ซึ่งจุดสิ้นสุดของถนนร่มเกล้าในท้องที่เขตลาดกระบังต่อจากนี้ไปจะเป็นทางยกระดับเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจร แต่ในปัจจุบันเป็นถนนแบบ 6 ช่องทางจราจร ยกเว้นช่วงสะพานข้ามคลองแสนแสบและสะพานข้ามทางรถไฟสายตะวันออกจะมีขนาดเพียง 4 ช่องทางจราจร โดยถนนร่มเกล้าฟากตะวันออกในพื้นที่เขตมีนบุรี ตั้งแต่สะพานข้ามคลองแสนแสบถึงเส้นแบ่งเขตมีนบุรีกับเขตลาดกระบัง เป็นเส้นแบ่งแขวงระหว่างแขวงมีนบุรีกับแขวงแสนแ.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ถนนลาดพร้าว

นนลาดพร้าว (Thanon Lat Phrao) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ห้าแยกลาดพร้าว (หรือที่นิยมเรียกว่า "ปากทางลาดพร้าว") ในพื้นที่เขตจตุจักร ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธินและถนนวิภาวดีรังสิต มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษก ผ่านพื้นที่เขตห้วยขวางในระยะสั้น ๆ เข้าพื้นที่เขตวังทองหลาง ผ่านแยกถนนโชคชัย 4 (ลาดพร้าว 53) ซอยลาดพร้าว 71 และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าพื้นที่ระหว่างเขตวังทองหลางกับเขตบางกะปิ ผ่านแยกถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) เข้าพื้นที่เขตบางกะปิ ผ่านสามแยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่สี่แยกบางกะปิตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยจากแยกนี้ไปจะเป็นถนนเสรีไทย ในปี..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสีหบุรานุกิจ

นนสีหบุรานุกิจ (Thanon Sihaburanukit) เป็นถนนสายสั้น ๆ ในแขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกเมืองมีน ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์ และถนนเสรีไทย มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออก ข้ามคลองสามวา เลี้ยวขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปบรรจบกับกับถนนร่มเกล้าบริเวณวัดแสนสุข สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ มีโรงพยาบาลนวมินทร์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ตลาดนัดจตุจักร 2 ตลาดมีนบุรี สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีนบุรี สำนักงานเขตมีนบุรี พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรี โรงเรียนมีนบุรี โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ ศาลจังหวัดมีนบุรี และวัดแสนสุข ในอดีตถนนสายนี้เคยเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3101 แต่ในปัจจุบันดูแลโดยกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตมีนบุรี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนสีหบุรานุกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์

นนหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ (Thanon Mom Chao Sanga Ngam Supradit) เป็นถนนสายสั้น ๆ สายหนึ่งในท้องที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร มีขนาด 6 ช่องทางจราจร ไม่มีเกาะกลาง ระยะทางยาว 1,105 เมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนรามอินทรา มุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านลำรางบึงกระเทียม เข้าเขตนิคมอุตสาหกรรมบางชัน และไปสิ้นสุดที่ถนนเสรีไทยฝั่งตรงข้ามซอยเสรีไทย 60 (วัดบำเพ็ญเหนือ) ถนนหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์เดิมมีฐานะเป็นซอยรามอินทรา 78 (บึงกระเทียม) เป็นซอยขนาด 2 ช่องทางจราจร ต่อมาทางการได้ปรับปรุงและขยายเป็นถนน 6 ช่องทางจราจร มีชื่อเรียกกันทั่วไปว่า "ถนนบึงกระเทียม" ในปี พ.ศ. 2545 คณะกรรมการกลางตั้งชื่อถนน ซอย วงเวียน ทางแยกของเขตมีนบุรีเสนอให้ตั้งชื่อว่า "ถนนหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์" เพื่อเป็นเกียรติแก่หม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ ข้าหลวงรักษาราชการเมืองมีนบุรีและผู้ว่าราชการเมืองมีนบุรีพระองค์แรก กรุงเทพมหานครจึงอนุมัติให้ถนนสายนี้ใช้ชื่อดังกล่าว.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหทัยราษฎร์

นนหทัยราษฏร์ เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างจังหวัดปทุมธานีกับกรุงเทพมหานคร โดยมีระยะทางประมาณ 15กม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนหทัยราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนนิมิตใหม่

นนนิมิตใหม่ (Thanon Nimit Mai) เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่เขตมีนบุรี เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร และอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนนิมิตใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเสรีไทย

นนเสรีไทย (Thanon Seri Thai) เริ่มตั้งแต่เขตบางกะปิ ผ่านเขตบึงกุ่ม เขตคันนายาว ไปสิ้นสุดที่เขตมีนบุรี ในกรุงเทพมหานคร เดิมอยู่ในความดูแลของแขวงการทางกรุงเทพ กรมทางหลวง และได้รับการกำหนดเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3278 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ถนนสายนี้มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกบางกะปิ ปลายถนนลาดพร้าวในเขตบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยมีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนศรีบูรพาที่แยกนิด้า ผ่านเขตบึงกุ่ม ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก (ด้านตะวันออก) ถนนสวนสยาม และตัดกับถนนมีนพัฒนาที่แยกบางชัน ไปสิ้นสุดที่แยกเมืองมีน ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์ และถนนสีหบุรานุกิจในเขตมีนบุรี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนเสรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจ้าคุณทหาร

นนเจ้าคุณทหาร (Thanon Chao Khun Thahan) เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างถนนร่มเกล้ากับถนนฉลองกรุง ในพื้นที่แขวงคลองสามประเวศและแขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร ตลอดระยะถนนเจ้าคุณทหารมีถนนที่สำคัญตัดผ่านดังนี้.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและถนนเจ้าคุณทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษฉลองรัช

ทางพิเศษฉลองรัช เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการตลอดสาย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและทางพิเศษฉลองรัช · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 สายกรุงเทพมหานคร−บ้านฉาง เป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายแรกของประเทศไทย มีระยะทางยาว 125.865 กิโลเมตร ทางสายนี้เป็นโครงข่ายทางหลวงที่มีความสำคัญในการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งกับพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดคับคั่งในถนนสุขุมวิท และถนนเทพรัตน และเป็นทางเชื่อมเข้าสู่ท่าอากาศยานสากลแห่งใหม่ คือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 19 และทางหลวงเอเชียสาย 123 ปัจจุบันทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีเส้นทางตั้งแต่กรุงเทพมหานครไปถึงแค่เพียงเมืองพัทยาเท่านั้น ซึ่งเส้นทางไปยังอำเภอบ้านฉางอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง นอกจากนี้ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในปัจจุบัน ยังถูกกำหนดในเส้นทางอื่นอีก ได้แก่ ทางแยกไปบรรจบถนนเทพรัตน, ทางแยกเข้าชลบุรี, ทางแยกเข้าท่าเรือแหลมฉบัง และทางแยกเข้าพัทยา รวมถึงทางแยกไปบรรจบทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (บ้านอำเภอ) ซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312 สายสนามกีฬาธูปะเตมีย์ - คลอง 16 หรือนิยมเรียกกันว่า ถนนลำลูกกา เริ่มตั้งแต่ทางแยกออกจากถนนพหลโยธินตรงสนามกีฬาธูปะเตมีย์ (ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี) ไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่คลองสิบหก (ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 369 และทางหลวงชนบทหมายเลข นย.4009 รวมระยะทางประมาณ 39.2 กิโลเมตร ถนนแบ่งเป็นสามช่วง ช่วงแรกตั้งแต่แยกถนนพหลโยธิน ไปจนถึงประมาณ 500 เมตรถัดจากแยกถนนนิมิตใหม่ เป็นถนน 6 ช่องทาง มีเกาะกลางถนน ช่วงที่สองไปจนถึงประมาณ 200 เมตรถัดจากสะพานข้ามคลองสิบเป็นถนน 4 ช่องทาง ไม่มีเกาะกลางถนนหรือแผงกั้น ช่วงสุดท้ายไปจนถึงแยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3369 เป็นถนน 2 ช่องทาง ไม่มีเกาะกลางถนนหรือแผงกั้น.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

คลองแสนแสบ

รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 2380 ด้วยพระราชประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังรบ และเสบียงอาหารไปยังญวน (เวียดนาม) ในราชการสงครามไทย-ญวน ซึ่งใช้เวลารบนานถึง 14 ปี ใน คือ อานามสยามยุทธ คลองแสนแสบเป็นเส้นทางโดยสารที่นิยมเป็นอย่างมากเพราะสะดวกและรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันนั้นมีปัญหามลภาวะทางน้ำ ส่งกลิ่นเหม็นเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยการทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ทำให้คลองแสนแสบนั้นมีสภาพที่สกปรกไม่น่ามอง.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและคลองแสนแสบ · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนทอง

ปลาตะเพียนทอง เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Barbonymus altus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายปลากระแห (B. schwanenfeldi) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน กล่าวคือ มีเกล็ดตามลำตัวแวววาวสีเหลืองทองเหลือบแดงหรือส้ม ครีบหางเป็นสีส้มหรือสีแดงสด แต่ปลาตะเพียนทองมีเกล็ดขนาดใหญ่กว่า ครีบหลังและครีบหางไม่มีแถบสีดำ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณไม่เกิน 30 เซนติเมตร ปลาตะเพียนทองพบอยู่ทั่วไปตามห้วยหนองคลองบึงและแหล่งน้ำขนาดใหญ่ของภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมักจะอยู่ปะปนกับปลากระแหและปลาตะเพียนขาว (B. gonionotus) ด้วยกันเสมอ ๆ สำหรับต่างประเทศพบในลาว กัมพูชา และภาคใต้ของเวียดนาม ปลาตะเพียนทองเป็นปลาที่คนไทยรู้จักกันดี โดยนิยมบริโภคเป็นอาหารมายาวนานและใช้สานเป็นปลาตะเพียนใบลาน นอกจากนี้ยังเป็นปลาชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "ปลาตะเพียนหางแดง", "ปลาลำปำ" หรือ "ปลาเลียนไฟ" ในภาษาปักษ์ใต้ ซึ่งเป็นชื่อเรียกซ้ำซ้อนกับปลากระแห.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและปลาตะเพียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แยกรามคำแหง-ร่มเกล้า

แยกรามคำแหง-ร่มเกล้า เป็นสี่แยกที่อยู่ในแขวงมีนบุรีและแขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนรามคำแหงและถนนร่มเกล้า (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119) จากแยกนี้สามารถเข้าถนนร่มเกล้า เพื่อไปยัง ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ได้.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและแยกรามคำแหง-ร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

แยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์

แยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์ หรือแยกการไฟฟ้ามีนบุรี เป็นสามแยกจุดตัดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 (ถนนสุวินทวงศ์) กับถนนรามคำแหง ในพื้นที่แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและแยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกเมืองมีน

แยกเมืองมีน หรือ แยกมีนบุรี เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนรามอินทรา (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304) ต่อเนื่องถนนสีหบุรานุกิจ ซึ่งเป็นเส้นทางเข้าสู่ชุมชนตลาดมีนบุรี กับถนนเสรีไทยต่อเนื่องถนนสุวินทวงศ์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304) ในพื้นที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและแยกเมืองมีน · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและแขวง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

รงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ (อักษรย่อ: ส.ศ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทหญิงล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและโรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

ัณฑ์โรงเรียนเศรษฐบุตร โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ เป็นโรงเรียนในสังกัดมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการสร้างโดยพระยาภักดีนรเศรษฐ (เลิศ เศรษฐบุตร) เคยเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดมีนบุรี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ · ดูเพิ่มเติม »

เรือโดยสารคลองแสนแสบ

ท่าเรือประตูน้ำ เรือโดยสารคลองแสนแสบ เป็นบริการเรือด่วนในคลองแสนแสบ และคลองมหานาค มีเส้นทางระหว่าง ท่าน้ำวัดศรีบุญเรือง ในเขตบางกะปิ จนถึง ท่าสะพานผ่านฟ้าลีลาศ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย โดยมีจุดต่อเรือที่ ท่าประตูน้ำ รวม 28 ท่าเรือ ดำเนินงานโดยกลุ่มเรือหางยาวที่รวมตัวกันในนาม ห้างหุ้นส่วนจำกัด ครอบครัวขนส่ง เปิดให้บริการครั้งแรกในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2533 จากการชักชวนของ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยนั้น เส้นทางการเดินเรือมีความยาวประมาณ 18 กิโลเมตร ให้บริการผู้โดยสารวันละกว่า 4 หมื่นคนทางการเดินเรืออกไปอีก 11 กิโลเมตรถึงมีนบุรี.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเรือโดยสารคลองแสนแสบ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบึงกุ่ม

ตบึงกุ่ม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางตอนกลางของพื้นที.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดกระบัง

ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสวนหลวง

ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสะพานสูง

ตสะพานสูง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตสะพานสูง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสายไหม

ตสายไหม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในกรุงเทพมหานครตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตสายไหม · ดูเพิ่มเติม »

เขตหนองจอก

ตหนองจอก เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหล.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสามวา

ตคลองสามวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีคลองสามวาผ่านกลางพื้นที่และมีคลองซอยเชื่อมระหว่างคลองหลักเป็นก้างปลา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกสิกรรม ปัจจุบันเขตคลองสามวาเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 รองจากเขตสายไหม.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตคลองสามวา · ดูเพิ่มเติม »

เขตคันนายาว

ตคันนายาว เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: เขตมีนบุรีและเขตคันนายาว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มีนบุรีอำเภอมีนบุรี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »