โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาละติน

ดัชนี ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

885 ความสัมพันธ์: Aบราซีเลียบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีบรีฌิต มาครงบอร์โดบอร์เนียวเหนือบอสตันบันทึกดูมสเดย์ชั้นไบวาลเวียบายาโดลิดชาลอมชาวแฟรงก์บาเลนเซียชื่อธาตุที่เป็นระบบชื่อตั้งไร้คำบรรยายชุดอักษร DejaVuบทสดุดีช่องคลอดฟร็องซัว ราเบอแลฟล็อกซ์ฟอราเมน แมกนัมฟอร์ด มอนดิโอฟอสฟอรัสฟองน้ำฟังก์ชันเครื่องหมายพรมผนังบาเยอพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระวรสารลอร์ชพระวรสารลินดิสฟาร์นพระวรสารเคลล์สพระสันตะปาปาพระทรมานของพระเยซูพระคาร์ดินัลพระเยซูพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 4 แห่งโปรตุเกสพฤกษาพักตร์พฤศจิกายนพิสุทธินิยมทางภาษาพิตต์สเบิร์กพูลชิเนลลากฎกระทรวงกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกรกฎาคมกระจงกระทรวงยุติธรรมสหรัฐกระดูกพิสิฟอร์มกระดูกลูเนทกระดูกฮาเมตกระดูกข้อมือ...กระดูกปีกสะโพกกระดูกแคปปิเตตกระดูกไหปลาร้ากระดูกไตรกีตรัลกระดูกเอทมอยด์กระเพาะอาหารกรันต์ อัลเลนกรีมัวร์กรดกรดฟอร์มิกกรดโฟลิกกลุ่มชนเจอร์แมนิกกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาอิตาลิกกลุ่มภาษาโรมานซ์กลุ่มภาษาเตอร์กิกกลุ่มดาวภูเขากลุ่มดาวนาฬิกากลุ่มดาวแกะกลุ่มนิวเคลียส pulvinarกลีบท้ายทอยกลีบข้างกล้องสองตากล้ามเนื้อกล้ามเนื้อลีเวเตอร์ เลบิไอ ซุพีเรียริส อลีควี นาไซกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอกวางผากวีโด ดา ซีเอนากษัตริย์อาเธอร์กอลกองทัพอากาศเวเนซุเอลากันยายนกันดั้มวิงการบริการสังคมการกุเหตุความจำเสื่อมการมีคนรักหลายคนการรับรู้การรู้เองการละเมอพูดการหมัก (ชีวเคมี)การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรสการออกเสียงประชามติการอุปถัมภ์การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์การข่มขืนกระทำชำเราการตรวจลงตราการตั้งชื่อทวินามการตั้งชื่อดาวฤกษ์การตั้งครรภ์การปกครองของบริษัทในอินเดียการปฏิสนธินอกร่างกายการประชุมเลือกสันตะปาปาการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยงการไล่ผีให้โรแลนด์ โดการเห็นด้วยตาเดียวการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตากางเขนแพตตีกิ้งก่ากิ้งก่าบินกูร์ปีปกูเกิล แปลภาษาญาบิรฝูงชนวุ่นวายภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสภาวะสมองเสื่อมภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติภาษาฟิลิปีโนภาษาฟินิเชียภาษาฝรั่งเศสภาษารัสเซียภาษาลาดิโนภาษาสันสกฤตภาษาสูญแล้วภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาอิตาลีภาษาฮีบรูภาษาคลาสสิกภาษาตากาล็อกภาษาตุรกีภาษาโบราณภาษาเอสกิโมภาษาเปอร์เซียภาษีมหาวิทยาลัยบราวน์มหาวิทยาลัยบริสตอลมหาวิทยาลัยพิตต์สเบิร์กมหาวิทยาลัยกลาสโกว์มหาวิทยาลัยลัฟบะระมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยทัฟส์มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอนมหาวิทยาลัยซันเดอร์แลนด์มหาวิทยาลัยปารีสมหาวิทยาลัยนอร์ทัมเบรียมหาวิทยาลัยนอตทิงแฮมมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์มหาวิทยาลัยไลเดินมหาวิทยาลัยเชฟฟีลด์มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมมหาวิทยาลัยเกิททิงเงินมหาวิทยาลัยเลสเตอร์มหาวิทยาลัยเทกซัส อาร์ลิงตันมหาวิทยาลัยเคนต์มหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตันมหาสมุทรแปซิฟิกมหาหิงคุ์มหานวดารามะลิมักซ์ บอร์นมามโบมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มามาร์ก ซักเคอร์เบิร์กมาร์ติน ลูเทอร์มาตุฆาตมินิ (แก้ความกำกวม)มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์มูรมูรมนุษยศาสตร์มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยามนุษย์ยัติภังค์ยิบรอลตาร์ยุคครีเทเชียสยูโทเปีย (หนังสือ)ยีราฟ (สกุล)รอยเว้าเรเดียสรอยเว้าเซมิลูนาร์ระบบระบบพิกัดคาร์ทีเซียนระบบพ่อปกครองลูกรัฐมิสซูรีรัฐมีนัสเชไรส์รัฐรีโอเดจาเนโรรัฐสันตะปาปารัฐออริกอนรัฐออนแทรีโอรัฐผู้คัดเลือกเทรียร์รัฐโอคลาโฮมารัฐเพนซิลเวเนียรัฐเวอร์จิเนียรัฐเซาเปาลูราชรัฐแอนติออกราชอาณาจักรสกอตแลนด์ราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)ราชอาณาจักรฮังการีราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ดราชอาณาจักรโบฮีเมียราชอาณาจักรโรมันราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1385-1569)ราชอาณาจักรเยอรมนีราชอาณาจักรเลอองราชนาวีรายชื่อภาษารายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อธงในประเทศไนจีเรียรายชื่อของธาตุตามหมายเลขรายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์รายชื่อตอนในคุณครูจอมเวท เนกิมะ! และเนกิมะ!?รายชื่อตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายพระนามพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์รายพระนามเทวดาเจอร์แมนิกรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรุ่งอรุณรูปสิบเหลี่ยมรูปหลายเหลี่ยมรูปเก้าเหลี่ยมรถพยาบาลรถแทรกเตอร์ลอเร็มอิปซัมละตินลักษณะการวางท่าลัคส์ ไคลน์ลาเวนเดอร์ลิงค์ (ภาษาศาสตร์)ลิงโลกใหม่ลูกโลกลูกเกดวรรณคดีวัลเกตวัฒนธรรมวังเชอนงโซวันวันพระพิโรธวันทาพระราชินีวาเรซีวิกิพีเดียภาษาละตินวิญญาณนิยมวิลลา เคเธอร์วิลเลียม วอลเลซวิลเลียม เชกสเปียร์วิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของคอเคลียวิศวกรรมศาสตร์วิหารคดวิทยาศาสตร์วิตรูวิอุสวจีวิภาควีนา อะมอริสวีเวรียอาวงศ์พิกุลวงศ์วัวและควายวงศ์หอยจุกพราหมณ์วงศ์งูพิษเขี้ยวหลังวงศ์ปลาสลิดหินวงศ์ปลาตูหนาวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ศาลเจ้าศิลปศาสตรบัณฑิตศิษยาภิบาลสกุลบาร์โบดีสสกุลพุนทิกรุสสกุลยอสกุลวูลเปสสกุลแมวสกุลแมวลายหินอ่อนสกุลเสือลายเมฆสกุลเจตมูลเพลิงสมัยคลาสสิกสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสหภาพแอฟริกาใต้สหรัฐสหัสวรรษสัพะ พะจะนะ พาสา ไทสัญลักษณ์พาราลิมปิกสัมมนาสังคมวิทยาสัตวแพทย์สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกสัตว์ประหลาดสัตว์ปีกสามก๊กสาธารณรัฐกอสปายาสาธารณรัฐโรมันสาธารณรัฐโนลีสาธารณรัฐเวนิสสาธารณรัฐเจนัวสิทธิโดยสายโลหิตสิทธิโดยแผ่นดินสิทธิเก็บกินสิงหาคมสิงโตสุญญากาศสูติศาสตร์สีเงิน (มุทราศาสตร์)สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตกสงครามโคโลญสตรีโกยสตัดเฮาเดอร์สปริงบ็อกสปาสปิริตสนธิสัญญายูเทรกต์ส่วนกลางของกระดูกอัลนาส่วนลงตัวส่วนต้นของกระดูกอัลนาส่วนต้นของกระดูกต้นแขนสเลเยอร์สเปกตรัมหญ้าไฟตะกาดหมายหมึกสายหมู่เกาะบริติชเวอร์จินหม้อข้าวหม้อแกงลิงหม้อแกงลิงหยาดน้ำค้าง (สกุล)หลักการตั้งชื่อทางดาราศาสตร์หลักสูตรหอยเบี้ยจักจั่นหอหลังคาโดมหูชั้นในรูปหอยโข่งหีบแฟรงค์หนังสือกำหนดเทศกาลหนึ่งเดียวสู่ทั้งปวง ทั้งปวงสู่หนึ่งเดียวหนูหินห้องเก็บศพใต้โบสถ์อลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือดอวัยวะเพศออมนิทริกซ์ออลอโมตซ์ออสตราเลเซียออโรรา (ดาราศาสตร์)อะนิเมะอะเวอักษรรูปลิ่มอักษรฮีบรูอักษรซูเมอร์อักษรเวเนติกอัลยอลีอัลโตอัลเลลูยาอัณฑะอัตราเร็วของแสงอันดับย่อยเม่นอันดับวานรอันดับสัตว์กินแมลงอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องอันดับปลาหลังเขียวอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำอันดับปลาโรนันอันดับปลาไหลไฟฟ้าอันดับนกตะขาบอันโตนิโอ สตราดิวารีอาการชอบน้ำปัสสาวะอาการกลัวเลขสิบสามอาการปวดขาที่เกิดจากประสาทอาการปวดเค้นหัวใจอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรียอาร์คิมิดีสอาสนวิหารอาสนวิหารรูอ็องอาสนวิหารอาวีญงอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออกอานาโตเลียอาเมลี นอตงอิกิโตสอิกซ์ตรีโมไฟล์อิสเตรียอิคะเริสอินทรีหางขาวอุปสรรค (ไวยากรณ์)อควาวิตอนันต์อนุกรมวิธานอ๊อกซฟอร์ดอเมริโก เวสปุชชีอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)ฮอโลคอสต์ฮิสเปเนียผักชีล้อมผังอาสนวิหารฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัวผ้าพัชมีนาจอกศักดิ์สิทธิ์จอห์น (ชื่อ)จอห์น มิลตันจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราชจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิลจักรราศีจักรวรรดิพาลไมรีนจักรวรรดิสวีเดนจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันตะวันตกจักรวรรดิไบแซนไทน์จังหวัดช็องปาญจาการ์ตาจาเซน โซโลจิตวิทยาบุคลิกภาพจุลจิตรกรรมในเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีธัชวิทยาธันวาคมธารน้ำแข็งธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จินธงชาติเบลีซธงชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชธงชาติเซอร์เบียทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาทวีปอเมริกาทอมัส แบ็กกิตทอรัสทอรัส (เรขาคณิต)ทองคำทองเหลืองทอเลมี (ชื่อ)ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทูเบอรัส สเคลอโรซิสทีโค บราขอเชิญท่านผู้วางใจขันทีขั้นตอนวิธีฮังกาเรียนขีปนาวุธข้อเขียนวอยนิชข้าวทริทิเคลีดยุกดวงจันทร์ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)ดะเตะ มะซะมุเนะดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียดัชชีซาวอยดัชชีเบอร์กันดีดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรียดาวพฤหัสบดีดาวพุธดาวฤกษ์ดาวศุกร์ดาวหางดาวทรายหนามดาวซิริอุสดาวเบอร์นาร์ดดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนดีทรอยต์ด้านหน้าอาคารคริสต์มาสคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสครูครับ เราจะสู้เพื่อฝันควอเลียความรอบคอบความส่องสว่างของอุปราคาความจำความตกลงชั่วคราวความตลกขบขันความเหนือกว่าเทียมความเห็นพ้องความเจ็บปวดความเฉื่อยคอมมอนบรัชเทลพอสซัมคอร์ก (เมือง)คอร์ปัส คาโลซัมคอร์เทกซ์คอนสแตนติโนเปิลคันทวยคากูเระคิริชิตังคำขวัญประจำชาติคำประกาศอาร์โบรธคิวมูโลนิมบัสคิเมียราคุณครูจอมเวท เนกิมะ!คณะภราดาลาซาลคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสคณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตาคซันโทสคนต่างด้าวคนเลี้ยงผึ้งค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้องูหางกระดิ่งงูปล้องฉนวนตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีตราแผ่นดินของสเปนตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ดตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จินตราแผ่นดินของอันดอร์ราตราแผ่นดินของซานมารีโนตราแผ่นดินของโมนาโกตราแผ่นดินของเบลีซตอร์ปิโดตะกร้าเกสรตัวคูณตัวเลข IUPACตัวเขียนตากิตุสตุลาคมต้นฝิ่นต้นสมัยกลางฉบับพระเจ้าเจมส์ซังตูสซันตามาริอาดัลมาร์ (บาร์เซโลนา)ซาบาซาราห์ ไบรท์แมนซานเตียโกเดกอมโปสเตลาซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)ซิลเวอร์ไนเตรตซิทรูลีนซินซินแนติซีควินท์ซ่อนกลิ่นปฏิทินก่อนเกรโกเรียนปฏิทินฮิจเราะห์ประชานประมุขในนามประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์อานาโตเลียประวัติศาสตร์คริสตจักรของชาวอังกฤษประเทศกรีซประเทศฝรั่งเศสประเทศมอริเชียสประเทศสเปนประเทศอันดอร์ราประเทศอียิปต์ประเทศดอมินีกาประเทศซูรินามประเทศปานามาประเทศแคนาดาประเทศโมนาโกประเทศโปรตุเกสประเทศเบลีซประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเซเชลส์ปรัศนีปรากปริญญาเอกปลาบาร์บปลาพาราไดซ์ (สกุล)ปลากระสูบจุดปลากระโทงดาบปลากะพงขาว (สกุล)ปลากัด (สกุล)ปลากัดอมไข่สงขลาปลาก้างพระร่วงปลาราฟิโอดอนปลาลีโปรินัสปลาสำลีปลาหมอลายเมฆปลาหมอคิวปิโดปลาหมอแคระแรมโบลิเวียปลาหมูกระโดงสูงปลาหวีเกศพรุปลาทูน่าปลาทูน่าแท้ปลาข้อมือนางปลาตะพัดพม่าปลาตะเพียนลายมาเลย์ปลาฉลามหลังหนามปลาฉลามหางยาวหน้าหนูปลาฉลามหางยาวธรรมดาปลาฉนากจะงอยปากแคบปลาปักเป้าดำแม่น้ำโขงปลาปักเป้าตาแดงปลาแซลมอนปลาโมลาปลาไหลกัลเปอร์ปลาเอินฝ้ายปลาเทวดาปลาเขือปวยร์โตรีโกปอนด์ (หน่วยมวล)ปะการังปัญหาการยุติการทำงานปัญจตันตระปิตุฆาตปุ่มกระสันปุ่มลิ้นปูขน (ปูก้ามขน)ปูเสฉวนบกปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อตปนาลีนกกระจอกบ้านนกกระเรียนไทยนกกะรางหัวขวานนกกางเขนนกยูงไทยนกล่าเหยื่อนกแต้วแร้วป่าโกงกางนกเขาชวานกเค้าแมวหูสั้นนอสตราเดมัสนักบินอวกาศนักบุญเจอโรมนิวเบดฟอร์ดนิติภาวะนิติศาสตร์นิติเวชศาสตร์นิ้วกลางนิ้วนางนีโครโนมิคอนนครลอนดอนน้ำมันน้ำดีแบกแดดแบทแมน บีกินส์แบ่งแยกแล้วปกครองแฟร็กทัลแกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์แมนเชสเตอร์แม่น้ำดานูบแม่น้ำไนล์แม่น้ำเอมส์แม่น้ำเซกูราแม็ทธิว แพริสแร็กคูนแร็มบรันต์แวร์ซายแสกหน้าแอบบีย์แอมบิแกรมแอมเพอร์แซนด์แอล. แอล. ซาเมนฮอฟแอดวานซ์ออสเตรเลียแฟร์แอดแดกซ์แองกลิคันแอนาเล็มมาแอนทิโลปแอนโทนีอธิการแอนเดรียส เวซาเลียสแฮร์รี่ พอตเตอร์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์แฮลิแฟกซ์แทนาทอสแท็กซี่แคม (อวัยวะเพศ)แคลอรีมิเตอร์แคลนนาดแควาเลียร์ผู้หัวเราะแคว้นกาลิเซียแคว้นกาตาลุญญาแคว้นอาบรุซโซแคว้นตอสคานาแคว้นโรนาลป์แคนทอนแคนเดลาแคนเซอร์ เดธมาสค์แซนดีเอโกใบสั่งยาโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์โบสถ์คริสต์โพรคัล ฮารัมโกเมนโยฮันน์ เซบาสเตียน บาคโยฮันเนส เอเวลิอุสโรมพินาศโรมโบราณโรคพยาธิกีเนียโรคพุพองโรคริดสีดวงทวารโรคหัดเยอรมันโรคซึมเศร้าโรคนิ่วไตโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์โรงเรียนสันติวิทยา (จังหวัดเชียงราย)โรงเรียนเซนต์คาเบรียลโรงเขียนหนังสือโรซาลินด์ แฟรงคลินโลก (ดาวเคราะห์)โลกัส (คณิตศาสตร์)โล่ (มุทราศาสตร์)โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทโอมาฮาโอริคัลคุมโอ๊กโอโรบัสโฮเซ รีซัลโทมัส ยังโทรสารโทรทัศน์โทษประหารชีวิตโคโรนอยด์ โพรเซสโคโรนาโคโรนาไวรัสโคเปอร์นิเซียมโซเดียมโปรเตสแตนต์โนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ไฟรเออร์ไกอาไก่เถื่อนไมยราบไมโครแรปเตอร์ไส้ติ่งไอยคุปต์ไอร์แลนด์เหนือไทรออปส์ไททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิสไทแรนโนซอรัสไซท์ไกสท์เบรฟฮาร์ท วีรบุรุษหัวใจมหากาฬเบรุตเบลลินโซนาเบอร์มิวดาเบอซ็องซงเพกาซัสแฟนตาซีเพอร์คัชชันเกมลูกแก้วเกรฟแอกเซนต์เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกาเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชเกีย คาเรนส์เกเลนเมริดา (ประเทศสเปน)เมลียาเมืองหลวงเมนซาอินเตอร์เนชันแนลเมเปิลเยอรมันเรควีม (บราห์ม)เยื่อดูราเยื่อเพียเรกนันส์อินเอกเซลซิสเรลิกเรโหโบอัมเลอมูเอล กัลลิเวอร์เลียงผาเลนเนิร์ดเวทมนตร์ใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ!เสือชีตาห์เสือลายเมฆเส้นทแยงมุมเส้นเวลาของคณิตศาสตร์เหยี่ยวออสเปรเหรียญฟิลด์สเหรียญของแครอนเหล็กเอกอัครสมณทูตเอมิล เคร็บส์เอรัสมุสเอลฟ์เอสิกส์เอนยาเฮราคลีโอโพลิสเฮลเวติกาเฮอร์เมทิคาเฮียโรนีมัส บ็อคเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจมส์ วัตต์เจ้าหญิงเอสเตลล์ ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์เทพปกรณัมโรมันเทือกเขาแอลป์เท็มปูระเขตร ศรียาภัยเขตอัครบิดรเขนงนายพรานเด เวอร์มิส มิสเทรีสเดอะ ก็อดฟาเธอร์เดอะ ก็อดฟาเธอร์ ภาค 2เครือจักรภพแห่งอังกฤษเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียเครื่องวัดแดดเคาน์ตีอิเดสซาเคาน์ตีตริโปลีเคซีนเคแมนแคระกูว์วีเยเค็นซะบุโร โอเอะเซลล์ (ชีววิทยา)เซนต์จอห์น (รัฐนิวบรันสวิก)เซ็มเปอร์ ฟิเดลิสเปเรซ ปราโดเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์เนบิวลาเนยแข็งเนินปราสาทเนเธอร์แลนด์ของสเปนBitstream VeraChironex fleckeriCommotio cordisGeneralissimoHomo erectusLALateral geniculate nucleusMaine Central InstituteNepenthes alataNepenthes albomarginataNepenthes anamensisNepenthes aristolochioidesNepenthes × cinctaNepenthes × ferrugineomarginataNepenthes × pangulubauensisNepenthes bicalcarataNepenthes campanulataNepenthes densifloraNepenthes distillatoriaNepenthes fallaxNepenthes flavaNepenthes fuscaNepenthes glabrataNepenthes glanduliferaNepenthes globosaNepenthes gracilisNepenthes gracillimaNepenthes hamataNepenthes mantalingajanensisNepenthes maximaNepenthes mindanaoensisNepenthes miraNepenthes paniculataNepenthes pectinataNepenthes peltataNepenthes petiolataNepenthes philippinensisNepenthes rajahNepenthes sanguineaNepenthes saranganiensisNepenthes spathulataNepenthes spectabilisNepenthes talangensisNepenthes tenaxNepenthes tentaculataNepenthes tenuisNepenthes truncataNepenthes ventricosaNepenthes villosaNepenthes xiphioidesNomen dubiumNon nobis solumPost hoc ergo propter hocSuperior colliculusVena comitansXmasЦ110111213141516171819220212223242526272829330313233343536373839456789 ขยายดัชนี (835 มากกว่า) »

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและA · ดูเพิ่มเติม »

บราซีเลีย

ราซีเลีย (Brasília) เป็นเมืองหลวงของประเทศบราซิล ได้รับการก่อตั้งเป็นเมืองหลวงในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและบราซีเลีย · ดูเพิ่มเติม »

บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ทางอากาศมองเห็นดีเอโกการ์ซีอา บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี (British Indian Ocean Territory) หรือ หมู่เกาะชาโกส เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งอยู่ครึ่งทางระหว่างแอฟริกากับอินโดนีเซีย อาณาเขตครอบคลุมอะทอลล์ทั้ง 6 แห่งที่เชื่อมต่อถึงกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะชาโกส มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะดีเอโกการ์ซีอา ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของกองกำลังผสมสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

บรีฌิต มาครง

รีฌิต มารี-โกลด มาครง (Brigitte Marie-Claude Macron; สกุลเมื่อแรกเกิด: ทรอเญอ, สกุลเดิม: โอซีแยร์; 13 เมษายน พ.ศ. 2496) เป็นครูสอนระดับมัธยมศึกษาชาวฝรั่งเศส และเป็นภริยาของแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส ปัจจุบันเธอสอนวิชาวรรณคดีที่ลีเซแซ็ง-หลุยส์-เดอ-กงซาก (Lycée Saint-Louis-de-Gonzague) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในปารี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและบรีฌิต มาครง · ดูเพิ่มเติม »

บอร์โด

อร์โด (Bordeaux,, บางครั้งในไทยมีสะกดว่า บอร์โดซ์ และ บอร์กโดซ์) เป็นเมืองท่าตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลักของจังหวัดฌีรงด์และของแคว้นนูแวลากีแตน มีชื่อเสียงอย่างมากมายจากไร่องุ่นที่พบเห็นในตลอดเส้นทางเข้าสู่เมืองและไวน์ประจำแคว้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 โดยสถานที่ทำไวน์สำคัญ ๆ ที่ผู้รักไวน์ชาวไทยน่าจะรู้จักก็คือ แซ็งเตมีลียง, โปยัก (Pauillac), แซ็งแต็สแต็ฟ (Saint-Estèphe) และโซแตร์น (Sauternes) มีแม่น้ำการอนไหลผ่านและออกสู่มหาสมุทรแอตแลนติกที่เมืองซูลัก-ซูร์-แมร์ และยังมีท่าเรือปอร์เดอลาลูน (Port de la Lune) ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปีค.ศ. 2007 อีกด้วย สถานที่ท่องเที่ยวสำคัญภายในเมือง ส่วนมากเป็นสิ่งก่อสร้างที่ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่อดีตกาล เช่น สิ่งก่อสร้างสมัยโรมันอย่าง Palais Gallien, ถนนคนเดินที่ยาวที่สุดในยุโรปที่ La rue Sainte-Catherine, ประตูเมืองสุดคลาสสิกอย่าง Porte Cailhau เป็นต้น บอร์โดถูกสร้างขึ้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช โดยเดิมมีชื่อว่า "บูร์ดีกาลา" (Burdigala) ในภาษาละติน ทำให้ทุกแห่งในเมืองเต็มไปด้วยประวัติศาสตร์อันยาวนาน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและบอร์โด · ดูเพิ่มเติม »

บอร์เนียวเหนือ

อร์เนียวเหนือ เป็นรัฐในอารักขาในการดูแลของบริษัทบอร์เนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ระหว่างปีค.ศ. 1882 - 1946 หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนสถานะเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรโดยใช้ชื่อว่าบอร์เนียวเหนือของอังกฤษจนถึงปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและบอร์เนียวเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

บอสตัน

อสตัน (Boston) เป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตนิวอิงแลนด์ บอสตันเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด มั่งคั่งที่สุด และมีวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ ธุรกิจที่สำคัญในบอสตัน ได้แก่ การศึกษา สถานพยาบาล การเงิน และเทคโนโลยี บอสตันได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางการศึกษาที่สำคัญแห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 100 แห่งในเมืองบอสตัน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยที่สำคัญและมีชื่อเสียงอื่นๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยบอสตัน วิทยาลัยบอสตัน มหาวิทยาลัยทัฟส์ และ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ทีมกีฬาหลายทีมประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงในบอสตัน ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและบอสตัน · ดูเพิ่มเติม »

บันทึกดูมสเดย์

ันทึกดูมสเดย์ (Domesday Book) เป็นบันทึกจากการสำรวจสำมะโนประชากรในอังกฤษที่ทำเสร็จใน ค.ศ. 1086 ตามพระราชโองการในพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 การสำรวจดูมสเดย์ก็คล้ายกับการสำรวจสำมโนประชากรที่ทำกันในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และ 21 บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันกล่าวว่าขณะที่ประทับอยู่ที่กลอสเตอร์ระหว่างคริสต์มาสในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและบันทึกดูมสเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นไบวาลเวีย

ั้นไบวาลเวีย (ชั้น: Bivalvia) เป็นมอลลัสคาชั้นหนึ่ง ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยวิวัฒนาการให้อาศัยอยู่ได้ทั้งในทะเลและน้ำจืด มีชื่อเรียกในภาษาสามัญว่า หอยฝาคู่ หรือ หอยสองฝา หรือ หอยเปลือกคู่ หรือ หอบกาบคู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและชั้นไบวาลเวีย · ดูเพิ่มเติม »

บายาโดลิด

ปลาซามายอร์ (จัตุรัสหลัก) และศาลาว่าการของเมืองบายาโดลิด บายาโดลิด (Valladolid) เป็นเมืองอุตสาหกรรมในที่ราบภาคกลางค่อนไปทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำปีซวยร์กา ซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำดวยโร ในเขตทำไวน์ที่ชื่อว่ารีเบราเดลดวยโร (Ribera del Duero) โดยมีฐานะเป็นเมืองหลักของทั้งจังหวัดบายาโดลิดและแคว้นกัสติยา-เลออน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและบายาโดลิด · ดูเพิ่มเติม »

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและชาลอม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแฟรงก์

หนังสือสำหรับทำพิธีศาสนา “Gelasian Sacramentary” จากราว ค.ศ. 750 แฟรงก์ (Franks, Franci) เป็นกลุ่มชนเจอร์มานิกตะวันตกที่เริ่มก่อตัวขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยมีถิ่นฐานอยู่ทางเหนือและทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำไรน์ตอนล่าง ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์เมโรแว็งเชียง ชนแฟรงก์ก็ก่อตั้งสถาบันพระมหากษัตริย์เจอร์มานิกที่มาแทนจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 รัฐของชนแฟรงก์และมารวมตัวกันเป็นอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่กลายมาเป็นจักรวรรดิคาโรลินเจียนและรัฐต่างๆ ที่ตามมา ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่มแฟรงเคีย “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจากภาษาละติน “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับภาษาอังกฤษเก่า “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและชาวแฟรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

บาเลนเซีย

ลาว่าการเมือง บาเลนเซีย (Valencia) มีชื่อทางการและชื่อท้องถิ่นว่า วาเล็นซิอา (บาเลนเซีย: València) เป็นเมืองหลวงของแคว้นบาเลนเซียและจังหวัดบาเลนเซีย เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศสเปนและเป็นย่านอุตสาหกรรมใหญ่ริมชายฝั่งโกสตาเดลอาซาอาร์ (Costa del Azahar) ในปี พ.ศ. 2549 เฉพาะเมืองนี้มีจำนวนประชากรคือ 807,396 คน ส่วนประชากรในเขตมหานคร (เขตเมืองรวมกับเมืองบริวาร) มีจำนวน 1,807,396 คน เมืองบาเลนเซียมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน มีฤดูร้อนที่แห้งอบอุ่นและอากาศหนาวที่ไม่รุนแรง มีสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงคือ สโมสรฟุตบอลบาเลนเซี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อธาตุที่เป็นระบบ

ื่อธาตุที่เป็นระบบ (systematic element name) เป็นชื่อชั่วคราวสำหรับธาตุที่เพิ่งสังเคราะห์ได้หรือยังสังเคราะห์ไม่ได้ โดยสัญลักษณ์ธาตุได้จากชื่อที่เป็นระบบ เนื่องจากบางครั้งการตั้งชื่อธาตุนำไปสู่ปัญหาที่เกี่ยวพันกับทางการเมือง ทำให้สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC) ต้องสร้างระเบียบในการตั้งชื่อและสัญลักษณ์ธาตุชั่วคราวที่เป็นกลาง โดยได้จากเลขอะตอมแต่ละตัวของธาตุนั้น ๆ โดยชื่อเลขแต่ละตัวอาจใช้รากศัพท์ภาษาละตินหรือภาษากรีกเพื่อหลีกเลี่ยงความใกล้เคียงกัน เช่น เลข 5 ใช้รากศัพท์ภาษากรีก "เพนท์" (pent) แทนรากศัพท์ภาษาละติน "ควินท์" (quint) เพื่อไม่ให้สับสนกับ "ควอด" (quad) ซึ่งหมายถึงเลข 4 และมีกฎในการลดทอนตัวอักษร 2 ข้อคือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและชื่อธาตุที่เป็นระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อตั้งไร้คำบรรยาย

ื่อตั้งไร้คำบรรยาย (Nomen nudum) เป็นคำในภาษาละตินที่แปลว่า "ชื่อที่ปราศจาก" ใน อนุกรมวิธาน ถูกใช้เพื่อแสดงถ้อยคำที่ดูเหมือน ชื่อวิทยาศาสตร์และมีความมุ่งหมายให้มันเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ในเวลาต่อมา แต่ยังไม่สามารถเป็นได้เพราะที่มีการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ออกไปยังไม่มีรายละเอียดที่เพียงพอ และด้วยเหตุนี้จึงเป็น "ปราศจาก" เพราะ ชื่อตั้งไร้คำบรรยาย ยังไม่ใช่ชื่อวิทยาศาสตร์ที่ผู้เขียนสามารถตีพิมพ์ลงไปให้ถูกต้องได้ ถ้าผู้เขียนตีพิมพ์โดยใช้ชื่อ ชื่อตั้งไร้คำบรรยาย เป็นคนแรก และภายหลังถูกรับรองด้วยรายละเอียดที่ใช้ได้และเหตุผลที่เพียงพอ วันที่ตีพิมพ์, เหตุผล, รายละเอียด จะกลายเป็นวันที่ที่อนุกรมวิธานตั้งชื่อนี้ขึ้น ของระบบชื่ออนุกรมวิธานสัตว์สากล (International Code of Zoological Nomenclature (ICZN)) ให้นิยามว่า: และระเบียบของระบบชื่ออนุกรมวิธานสัตว์: อภิธานของระบบชื่ออนุกรมวิธานพืชสากล (International Code of Botanical Nomenclature (ICBN)) ให้นิยามว่า.

ใหม่!!: ภาษาละตินและชื่อตั้งไร้คำบรรยาย · ดูเพิ่มเติม »

ชุดอักษร DejaVu

ตัวอย่างอักษรจาก DejaVu ชุดอักษร DejaVu (DejaVu) เป็นชุดตัวอักษรหรือไทป์เฟซที่ดัดแปลงมาจาก Bitstream Vera โดยเพิ่มแบบตัวอักขระอื่นๆ นอกเหนือจากตัวอักษรภาษาละติน โดยครอบคลุมตัวอักษรของภาษาต่างๆ ตามมาตรฐานยูนิโคด เพื่อให้เป็นฟอนต์ที่ครอบคลุมจำนวนภาษาให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ชุดอักษร DejaVu ยังเปิดรับไทป์เฟซของภาษาอื่นๆ เพิ่มเติมอยู่เรื่อยๆ (ปัจจุบันยังไม่มีภาษาไทย) ปัจจุบัน DejaVu ถูกใช้เป็นฟอนต์ปริยายในลินุกซ์ดิสทริบิวชันหลายตัว ชุดอักษร DejaVu ประกอบด้วยชนิดอักษรมาตรฐาน Serif, Sans-serif, Monospace และชนิด Serif Condensed กับ Sans Condensed ที่ยังอยู่ในระยะทดลองใช้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและชุดอักษร DejaVu · ดูเพิ่มเติม »

บทสดุดี

ทสดุดี (Panegyric) คือ สุนทรพจน์อย่างเป็นทางการ หรือต่อมาหมายถึงบทเขียนที่ใช้ในการกล่าวสรรเสริญบุคคลหรือปรัชญาความคิด และเป็นงานที่เป็นที่ทำการศึกษากันมากที่ไม่ใช่บทยกย่อง (eulogy) และมิใช่งานเขียนที่มีจุดประสงค์ในการวิพากษ์ “Panegyric” มาจากภาษากรีก “πανηγυρικός” ที่แปลว่า “สุนทรพจน์ที่เหมาะกับที่ประชุมใหญ่” (ศาสนชุมนุมของกรีก (Panegyris)) ในเอเธนส์สุนทรพจน์ดังกล่าวมักจะกล่าวเนื่องในโอกาสที่มีเทศกาลหรือการกีฬาระดับชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการปลุกเร้าใจพลเมืองให้เห็นดีเห็นงามไปกับการกระทำอันเป็นวีรบุรุษของบรรพบุรุษ บทสดุดีที่มีชื่อเสียงที่สุดก็ได้แก่บทสดุดี “Olympiacus” โดย จอร์จิอัส, “Olympiacus” โดย ลิเซียส และ “Panegyricus” และ “Panathenaicus” โดยอิโซคราทีส แต่ไม่ได้กล่าวจริง การกล่าวสดุดีเนื่องในโอกาสงานศพเช่นสุนทรพจน์ที่เขียนโดยนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกธูซิดิดีสที่กล่าวโดยเพรีคลีสก็อยู่ในประเภทที่เรียกว่า “บทสดุดี” ในสมัยโรมันโบราณบทสดุดีจำกัดใช้ในการสรรเสริญผู้ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น และใช้ “บทสรรเสริญผู้ตาย” (funeral oration) สำหรับผู้เสียชีวิตไปแล้วเท่านั้น ตัวอย่างของบทสดุดีที่มีชื่อเสียงในภาษาลาตินก็ได้แก่บทสดุดีที่กล่าวโดยพลินิผู้เยาว์ในวุฒิสภาโรมันเนื่องในโอกาสที่ได้รับตำแหน่งเป็นกงสุล ที่มีเนื้อหาบางส่วนพาดพิงไปถึงบทยกย่องจักรพรรดิทราจัน เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 3 และระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียนก็เกิดมีประเพณีการสรรเสริญคุณสมบัติของความเป็นมหาวีรบุรุษของพระจักรพรรดิที่กำลังทรงราชย์อยู่ในงานเทศกาลทางวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและบทสดุดี · ดูเพิ่มเติม »

ช่องคลอด

องคลอด (Vagina) รากศัพท์มาจากภาษาละติน หมายถึง สิ่งหุ้ม หรือ ฝัก โดยทั่วไปในภาษาปาก คำว่า "ช่องคลอด" มักใช้เรียกแทน "ช่องสังวาส" หรือ "อวัยวะเพศหญิง" หรือ "แคม" ในภาษาทางการ "ช่องคลอด" หมายถึง โครงสร้างภายใน ส่วน "ช่องสังวาส" และคำอื่น ๆ หมายถึง "อวัยวะเพศหญิงภายนอก" เท่านั้น ในภาษาสแลง มีคำหยาบและคำต้องห้ามหลายคำใช้เรียกแทน ช่องคลอด หรือ ช่องสังวาส ในภาษาไทย เช่น หี, หอย ฯลฯ หรือในภาษาอังกฤษ เช่น cunt, pussy ฯลฯ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและช่องคลอด · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ราเบอแล

ฟร็องซัว ราเบอแล ฟร็องซัว ราเบอแล (François Rabelais; ประมาณ ค.ศ. 1483 – 9 เมษายน ค.ศ. 1553) เป็นนักเขียน แพทย์ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวฝรั่งเศส มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ Gargantua and Pantagruel.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฟร็องซัว ราเบอแล · ดูเพิ่มเติม »

ฟล็อกซ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฟล็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอราเมน แมกนัม

ฟอราเมน แมกนัม(Foramen Magnum, มาจากภาษาละติน แปลว่า รูขนาดใหญ่) ในทางกายวิภาคศาสตร์ เป็นช่องเปิดขนาดใหญ่รูปวงรีที่อยู่ที่ฐานของกะโหลกศีรษะ บนกระดูกท้ายทอย (Occipital Bone) ซึ่งเป็นทางผ่านของเมดัลลา ออบลองกาตา (Medulla Oblongata) ซึ่งติดต่อกับไขสันหลัง นอกจากช่องนี้จะเป็นทางผ่านของเมดัลลา ออบลองกาตาแล้ว ยังเป็นทางผ่านของหลอดเลือดแดงเวอร์ทีบรัล (Vertebral Arteries), หลอดเลือดแดงแอนทีเรียร์สไปนัล (Anterior Spinal Artery), และหลอดเลือดแดงโพสทีเรียร์สไปนัล (Posterior Spinal Artery), เยื่อคลุม (Membrana Tectoria) และเอ็นเอลาร์ (Alar Ligaments).

ใหม่!!: ภาษาละตินและฟอราเมน แมกนัม · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์ด มอนดิโอ

ฟอร์ด มอนดิโอ (Ford Mondeo) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ผลิตโดยบริษัทฟอร์ดมอเตอร์ เริ่มผลิตตั้งแต่ พ.ศ. 2535 และมีจำหน่ายอยู่ทั่วโลก โดยมาแทนที่รถยนต์นั่งขนาดกลางรุ่นเก่า ฟอร์ด เซียรา (Ford Sierra) ซึ่งเลิกผลิตในปี พ.ศ. 2535 คำว่า "Mondeo" มาจากภาษาละตินที่แปลว่า โลก ฟอร์ด มอนดิโอ เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ผลิตขึ้นสำหรับตลาดยุโรปเท่านั้น แต่เคยมีขายในตลาดเอเชีย รวมถึงประเทศไทย ซึ่งฟอร์ด มอนดิโอเคยมีขายในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2537-2542 แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก ฟอร์ด มอนดิโอ มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 5 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฟอร์ด มอนดิโอ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอสฟอรัส

ฟอสฟอรัส (phosphorus) เป็นธาตุอโลหะ เลขอะตอม 15 สัญลักษณ์ P ฟอสฟอรัสอยู่ในกลุ่มไนโตรเจน มีวาเลนซ์ได้มาก ปรากฏในหลายอัลโลโทรป พบทั้งในหินฟอสเฟต และเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกเซลล์ (ในสารประกอบในดีเอ็นเอ) เนื่องจากสามารถทำปฏิกิริยาได้สูง จึงไม่ปรากฏในรูปอิสระในธรรมชาติ คำว่า ฟอสฟอรัส มาจากภาษากรีกแปลว่า 'ส่องแสง' และ 'นำพา' เพราะฟอสฟอรัสเรืองแสงอ่อน ๆ เมื่อมีออกซิเจน หรือมาจากภาษาละติน แปลว่า 'ดาวประกายพรึก' ค้นพบประมาณปี 1669 โดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน เฮนนิก แบรนด์ ในขณะที่ภาษาไทยในสมัยก่อน เรียก ฟอสฟอรัส ว่า 'ฝาสุภเรศ' ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะอยู่ในหมู่ที่ VA หมู่เดียวกับธาตุไนโตรเจนในธรรมชาติไม่พบฟอสฟอรัสในรูปของธาตุอิสระ แต่จะพบในรูปของสารประกอบฟอสเฟตที่สำคัญได้แก่หินฟอสเฟต หรือแคลเซียมฟอสเฟต (Ca2(PO4)2) ฟลูออไรอะปาไทต์ (Ca5F (PO4)3) นอกจากนี้ยังพบฟอสฟอรัสในไข่แดง กระดูก ฟัน สมอง เส้นประสาทของคนและสัตว์ ฟอสฟอรัสสามารถเตรียมได้จากแคลเซียมฟอสเฟต โดยใช้แคลเซียมฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับคาร์บอนในรูปถ่านโค๊ก และซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2) ในเตาไฟฟ้า ฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของรากพืช โดยธาตุฟอสฟอรัสจะช่วยให้รากของพืชแข็งแรง และแผ่กระจายได้รวดเร็วขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลำต้นแข็งแรงตามไปด้วย ปกติแล้วธาตุฟอสฟอรัสจะมีอยู่ในดินมากพออยู่แล้ว เป็นธาตุที่ไม่ค่อยเคลื่อนที่ในดินหรือละลายน้ำได้ยากซึ่งจะทำให้พืชดูดเอาไปใช้ได้ยากด้วย แม้แต่ปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินโดยตรงก็ประมาณกันไว้ว่า 80-90 % ของธาตุฟอสฟอรัสทั้งหมดนั้นจะถูกดินยึดไว้โดยการทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน ดังนั้น ธาตุฟอสฟอรัสในดินมีกำเนิดมาจากการสลายตัวผุพังของแร่บางชนิดในดิน การสลายตัวของสารอินทรียวัตถุในดินก็จะสามารถปลดปล่อยฟอสฟอรัสออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืชที่ปลูกได้เช่นเดียวกับไนโตรเจน ดังนั้น การใช้ปุ๋ยคอกนอกจากจะได้ธาตุไนโตรเจนแล้วก็ยังได้ฟอสฟอรัสอีกด้วย ธาตุฟอสฟอรัสในดินที่จะเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ จะต้องอยู่ในรูปของอนุมูลของ สารประกอบที่เรียกว่า ฟอสเฟตไอออน (H2PO4- และ HPO4-) ซึ่งจะต้องละลายอยู่ในน้ำในดิน สารประกอบของฟอสฟอรัสในดินมีอยู่เป็นจำนวนมากแต่ส่วนใหญ่ละลายน้ำยาก ดังนั้นจึงมักจะมีปัญหาเสมอว่าดินถึงแม้จะมีฟอสฟอรัสมากก็จริงแต่พืชก็ยังขาดฟอสฟอรัส เพราะส่วนใหญ่อยู่ในรูปที่ละลายน้ำยากนั่นเอง นอกจากนั้นแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินชอบที่จะทำปฏิกิริยากับอนุมูลฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ ดังนั้นปุ๋ยฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้เมื่อใส่ลงไปในดินประมาณ 80-90% จะทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินกลายเป็นสารประกอบที่ละลายน้ำยากไม่อาจเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ ดังนั้นการใส่ปุ๋ยฟอสเฟตจึงไม่ควรคลุกเคล้าให้เข้ากับดินเพราะยิ่งจะทำให้ปุ๋ยทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินได้เร็วยิ่งขึ้น แต่ควรจะใส่แบบเป็นจุดหรือโรยเป็นแถบให้ลึกลงไปในดินในบริเวณรากของพืชปุ๋ย ฟอสเฟตนี้ถึงแม้จะอยู่ใกล้ชิดกับรากก็จะไม่เป็นอันตรายแก่รากแต่อย่างใด ปุ๋ยคอกจะช่วยป้องกันไม่ให้ปุ๋ยฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินและสูญเสีย ความเป็นประโยชน์ต่อพืชเร็วจนเกินไป พืชเมื่อขาดฟอสฟอรัสจะมีต้นแคระแกร็นใบมีสีเขียวคล้ำ ใบล่าง ๆ จะมีสีม่วงตามบริเวณขอบใบ รากของพืชชะงักการเจริญเติบโต พืชไม่ออกดอกและผล พืชที่ได้รับฟอสฟอรัสอย่างเพียงพอจะมีระบบรากที่แข็งแรงแพร่กระจายอยู่ในดิน อย่างกว้างขวาง สามารถดึงดูดน้ำและธาตุอาหารได้ดี การออกดอกออกผลจะเร็วขึ้น ฟอสฟอรัสช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง สร้างแป้งและน้ำตาล เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่สำคัญหลายชนิด ช่วยเสริมสร้างส่วนที่เป็นดอก การผสมเกสร ตลอดจนการติดเมล็ด สร้างระบบรากให้แข็งแรง ช่วยในการแตกกอ และช่วยให้ลำต้นแข็งแรงไม่ล้มง่าย ช่วยให้พืชดูดใช้ธาตุไนโตรเจนและโมลิบดีนัมได้ดีขึ้น ธาตุนี้มักพบในรูปที่พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ เนื่องจากจะถูกตรึงอยู่ในดิน ส่วนใหญ่พืชจะแสดงอาการขาดธาตุนี้บ่อยครั้ง แม้ว่าในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสอยู่เป็นจำนวนมากก็ตามถ้าขาดธาตุฟอสฟอรัสราก พืชจะไม่เจริญ มีรากฝอยน้อย ต้นเตี้ย ใบและต้นมีสีเข้มและบางครั้งมีสีม่วงหรือแดงเกิดขึ้น พืชแก่ช้ากว่าปกติ เช่น การผลิดอก ออกผลช้า มีการแตกกอน้อย การติดเมล็ดน้อย หรือบางครั้งไม่ติดเมล็.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฟอสฟอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ฟองน้ำ

ฟองน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกเดียวในไฟลัมพอริเฟอรา (Porifera มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน - porus หมายถึง รู และ ferre หมายถึง พยุงหรือค้ำเอาไว้) เป็นสัตว์หลายเซลล์ที่มีวิวัฒนาการต่ำสุด มีรูปร่างคล้ายแจกันที่มีรูพรุนเล็ก ๆ ทั่วตัวซึ่งเป็นช่องทางให้น้ำผ่านเข้าไปในลำตัว มีเซลล์เรียงกันเป็นสองชั้นแต่ยังไม่มีเส้นประสาทและกล้ามเนื้อที่แท้จริง ไม่มีอวัยวะและทางเดินอาหาร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล มีบางชนิดเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด ตัวอ่อนของฟองน้ำนั้นมีเซลล์ที่สามารถว่ายไดน้ำได้ เรียกระยะนี้ว่า แอมพิบลาสทูลา (Amphiblastula) โดยจะว่ายน้ำไปเกาะตามก้อนหิน เมื่อเจริญเติบโตแล้วจะกลายเป็นฟองน้ำที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ฟองน้ำในปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 7,000 สายพันธุ์ มักพบในเขตน้ำลึกกลางมหาสมุทร (ลึกประมาณ 8,500 เมตร) ต้นกำเนิดของฟองน้ำอาจย้อนไปถึงยุคพรีคัมเบรียน (Precambrian) หรือประมาณ 4,500 ล้านปีที่แล้ว พิสูจน์โดยซากฟอสซิลของฟองน้ำ นอกจากนี้แล้ว ฟองน้ำยังถือว่าเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนสูงสุดในบรรดาอาณาจักรสัตว์ทั้งหมดอีกด้วย โดยมีอายุยืนได้ถึงหมื่นปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฟองน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชันเครื่องหมาย

กราฟของฟังก์ชันเครื่องหมาย ในทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเครื่องหมาย (sign function) คือฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์อย่างหนึ่งที่ดึงเครื่องหมายออกมาจากจำนวนจริง เขียนแทนด้วย sgn และเพื่อไม่ให้สับสนกับฟังก์ชันไซน์ (sine) ซึ่งออกเสียงเหมือนกันในภาษาอังกฤษ ฟังก์ชันนี้จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ซินยุม หรือ ซิกนัม (signum) มาจากภาษาละติน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฟังก์ชันเครื่องหมาย · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนังบาเยอ

วนหนึ่งของพรมผนังบาเยอ พรมผนังบาเยอ (Bayeux Tapestry; Tapisserie de Bayeux) เป็นผืนผ้ากว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 70 เซนติเมตรที่ปักเป็นภาพการนำไปสู่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษนำโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 1066 และเหตุการณ์ระหว่างสงครามเอง คำบรรยายในพรมผนังบาเยอเป็นภาษาละติน ปัจจุบันผ้าผืนนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ที่เมืองบาเยอในประเทศฝรั่งเศส เอกสารฉบับแรกที่กล่าวถึงพรมผนังบาเยออยู่ในเอกสารการสำรวจสิ่งของของมหาวิหารบาเยอเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและพรมผนังบาเยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรสารลอร์ช

ระวรสารลอร์สช (Codex Aureus of Lorsch หรือ Lorsch Gospels) เป็นหนังสือพระวรสารวิจิตรที่เขียนเป็นภาษาละติน ที่เขียนขึ้นราวระหว่าง ค.ศ. 778 - ค.ศ. 820 ในราวรัชสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญผู้เป็นประมุขของจักรวรรดิแฟรงค์ หลักฐานแรกที่กล่าวถึงเป็นหลักฐานที่ปรากฏที่แอบบีลอร์สชในเยอรมนีซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ที่เขียนขึ้น ตามบันทึกที่ว่า “Evangelium scriptum cum auro pictum habens tabulas eburneas” ในบันทึกรายการของหอสมุดของแอบบีที่รวบรวมขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระวรสารลอร์ช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรสารลินดิสฟาร์น

ระวรสารลินดิสฟาร์น (Lindisfarne Gospels, Lindisfarne Gospels - หอสมุดบริติช, ลอนดอน) เป็นหนังสือพระวรสารวิจิตรที่เขียนเป็นภาษาละติน ที่เขียนขึ้นที่ลินดิสฟาร์นในนอร์ทธัมเบรียเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 “พระวรสารลินดิสฟาร์น” ประกอบด้วยพระวรสารทั้งสี่ฉบับของพันธสัญญาใหม่ พระวรสารฉบับนี้ถือว่าเป็นงานศิลปะชิ้นที่งดงามที่สุดของงานศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ของราชอาณาจักร ซึ่งเป็นลักษณะงานศิลปะที่ผสานระหว่างศิลปะแองโกล-แซ็กซอนและศิลปะเคลติกที่เรียกว่าศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอนหรือศิลปะเกาะ พระวรสารเป็นงานฉบับสมบูรณ์ขาดก็แต่หน้าปกดั้งเดิม และอยู่ในสภาพที่ดีเมื่อคำนึงถึงอายุของหนังสือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระวรสารลินดิสฟาร์น · ดูเพิ่มเติม »

พระวรสารเคลล์ส

ระวรสารเคลล์ส หรือ พระวรสารโคลัมบา (Leabhar Cheanannais Book of Kells หรือ Book of Columba) เป็นหนังสือพระวรสารวิจิตรที่เขียนเป็นภาษาละตินที่ประกอบด้วยพระวรสารทั้งสี่ฉบับของพันธสัญญาใหม่พร้อมด้วยเนื้อหาอื่นๆ และตาราง “พระวรสารเคลล์ส” ที่เป็นงานที่เขียนขึ้นโดยนักบวชเคลต์เมื่อราวปี ราว ค.ศ. 800 หรือไม่นานก่อนหน้านั้น เป็นงานศิลปะชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของงานเขียนอักษรวิจิตรของยุโรปและเป็นงานที่แสดงถึงจุดสุดยอดของงานเขียนหนังสือวิจิตรของสมัยศิลปะเกาะ และเป็นสมบัติของชาติชิ้นสำคัญของไอร์แลนด์ เนื้อหาของพระวรสารส่วนใหญ่นำมาจากคัมภีร์ไบเบิลฉบับภาษาละติน แต่ก็มีหลายส่วนที่มาจากพระคัมภีร์ไบเบิลฉบับก่อนหน้านั้นที่เรียกกันว่า “คัมภีร์ไบเบิลฉบับภาษาละตินเดิม” (Vetus Latina) ภาพวาดและงานตกแต่ง “พระวรสารเคลล์ส” เป็นฝีมือที่งดงามกว่าพระวรสารฉบับอื่นใดของหนังสือวิจิตรของสมัยศิลปะเกาะ ทั้งในด้านความหรูหราและความซับซ้อน การตกแต่งรวมธรรมเนียมนิยมของการเขียนรูปสัญลักษณ์ของศิลปะคริสต์ศาสนา เข้ากับลวดลายสอดผสานอันเป็นแบบฉบับของศิลปะเกาะอันหรูหรา รูปลักษณ์ของมนุษย์, สัตว์ และ สัตว์ในตำนาน พร้อมด้วยเงื่อนเคลติค และ ลายสอดประสานอันเต็มไปด้วยสีสันอันสดใสทำให้งานหนังสือวิจิตรเป็นงานที่เต็มไปด้วยพลังและมีชีวิตจิตใจ องค์ประกอบของสิ่งตกแต่งข้างเคียงเหล่านี้ผสานไปด้วยสัญลักษณ์ทางคริสต์ศาสนา ซึ่งเป็นการช่วยเน้นเนื้อหาของภาพหลักที่ต้องการที่จะสื่อให้ผู้อ่านหรือผู้ชมไปด้วย “พระวรสารเคลล์ส” ปัจจุบันมีด้วยกันทั้งหมด 340 สี่หน้ายกและตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระวรสารเคลล์ส · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระทรมานของพระเยซู

“การตรึงพระเยซูที่กางเขน” โดย ลูคัส ครานาค ราว ค.ศ. 1538 พระทรมานของพระเยซู (Passion of Jesus) เป็นศัพท์ทางเทววิทยาคริสเตียนที่บรรยายเหตุการณ์ความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและทางจิตใจของพระเยซูในช่วงเวลาก่อนที่จะทรงถูกพิจารณาคดี และถูกตัดสินให้ถูกประหารชีวิตโดยการตรึงกางเขน การตรึงพระเยซูที่กางเขนถือเป็นเหตุการณ์สำคัญที่เป็นหัวใจของความเชื่อในคริสต์ศาสนา รากศัพท์ของคำว่า “Passion” มาจากภาษาละติน “passus” (ซึ่งมีรากมาจาก “pati, patior” ที่แปลว่า “ความทรมาน” ที่เกิดจากภายนอก), เป็นคำที่เริ่มใช้ครั้งแรกในข้อเขียนทางคริสต์ศาสนาในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ที่บรรยายความทุกข์ทรมานของพระเยซู แต่คำว่า “Passion” มามีความหมายกว้างขึ้นในสมัยต่อมา ส่วนวลี “ความระทมของพระเยซู” (“Agony of Jesus”) มีความหมายเฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสวนเกทเสมนี -- “พระเยซูในสวนเกทเสมนี” ที่ทรงอธิษฐานสวดภาวนาในสวนก่อนที่จะทรงถูกจับ “ความระทม” จึงหมายถึงสภาวะทางจิตใจ ข้อเขียนในพระวรสารในสารบบที่บรรยายถึงพระมหาทรมานเรียกว่า “Passion” หรือ “พระทรมานของพระเยซู” พระวรสารอื่นที่บรรยายเหตุการณ์นี้ก็ได้แก่พระวรสารนักบุญเปโตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระทรมานของพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พระคาร์ดินัล

ตราประจำสมณศักดิ์พระคาร์ดินัล คาร์ดินัล (Cardinal) เป็นสมณศักดิ์ชั้นสูง รองจากพระสันตะปาปา ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาพระสันตะปาปา ในการปกครองคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตำแหน่งนี้อาจเทียบเท่ากับสมเด็จพระราชาคณะในศาสนาพุทธ หรือสมาชิกวุฒิสภาในทางโลก ในสมัยก่อนตำแหน่งคาร์ดินัลมักเป็นฆราวาส แต่นับตั้งแต่ตราประมวลกฎหมายพระศาสนจักรฉบับล่าสุด (ค.ศ. 1917–83) เฉพาะบาทหลวงและมุขนายกเท่านั้นที่มีสิทธิ์เป็นพระคาร์ดินัลได้ หน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งของพระคาร์ดินัลคือ เข้าร่วมการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่ แทนตำแหน่งที่ว่างลง และตนเองก็มีสิทธิ์ได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาด้วย พระคาร์ดินัลอาจมีตำแหน่งมุขนายกหรือเป็นหัวหน้าปกครองคณะบาทหลวง คณะนักบวชคาทอลิกชาย-หญิง และคริสต์ศาสนิกชนฆราวาส ในมุขมณฑลที่ท่านปกครองด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระคาร์ดินัล · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 4 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าอัลฟอนโซที่ 4 แห่งโปรตุเกส พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 7 แห่งราชอาณาจักรโปรตุเกส เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 4 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษาพักตร์

ันทวยพฤกษพักตร์ในรูปของลายใบอาแคนธัสรองรับประติมากรรมนายอาชาแห่งแบมเบิร์กภายในมหาวิหารแบมเบิร์กที่แกะสลักเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 พฤกษาพักตร์ หรือ รุกขามนุษย์ (Green Man) คือประติมากรรม, จิตรกรรม หรือรูปสัญลักษณ์อื่นๆ ของใบหน้าที่ล้อมรอบไปด้วยใบไม้ กิ่งไม้ หรือเถาไม้เลื้อย ที่งอกออกมาจากจมูก ปาก หรือส่วนอื่นๆ ของใบหน้า ไม้ที่งอกออกมาอาจจะมีดอกมีผลด้วยก็ได้ การตกแต่งด้วยพฤกษพักตร์มักจะใช้สำหรับเป็นสิ่งตกแต่งของสถาปัตยกรรม พฤกษาพักตร์มักจะพบในรูปของประติมากรรมทั้งภายนอกและภายในคริสต์ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ของคฤหัสน์ นอกจากนั้น “The Green Man” ยังเป็นชื่อที่นิยมใช้กันสำหรับสิ่งก่อสร้างสารธาณะ และปรากฏในหลายรูปหลายลักษณะเช่นบนป้ายโรงแรมเล็กๆ ที่บางครั้งอาจจะเป็นรูปเต็มตัวที่ไม่แต่จะเป็นเพียงเป็นใบหน้าเท่านั้น ลักษณะพฤกษาพักตร์มีด้วยกันหลายแบบหลายลักษณะ และพบในวัฒนธรรมต่างๆ ทั่วโลก พฤกษาพักตร์มักจะเป็นเทพารักษ์ที่เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่มีมาในวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วก็มักจะตีความหมายกันว่าพฤกษาพักตร์เป็นนัยยะของการเกิดใหม่ที่เป็นสัญลักษณ์ของวัฏจักรของการเจริญเติบโตเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิของแต่ละปีที่มาถึง บ้างก็สันนิษฐานว่าพฤกษาพักตร์เป็นตำนานที่พัฒนาขึ้นมาต่างหากจากความเชื่ออื่นๆ ในสมัยโบราณ และวิวัฒนาการต่อมาจนแตกแยกกันออกไปในวัฒนธรรมต่างๆ ที่เห็นได้จากตัวอย่างในของพฤกษาพักตร์ในสมัยต่างๆ ของประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพฤกษาพักตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน

กายน เป็นเดือนที่ 11 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤศจิกายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพิจิก และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีธนู แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวตาชั่ง ผ่านกลุ่มดาวแมงป่องระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน โดยประมาณ และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงูในปลายเดือน เดือนพฤศจิกายนในภาษาอังกฤษ November มาจากภาษาละติน novem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 9 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

พิสุทธินิยมทางภาษา

หน้าแรกของพจนานุกรมภาษาฝรั่งเศสฉบับที่ 6 ของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศส (Académie française) ตีพิมพ์เมื่อปีค.ศ. 1835 วัตถุประสงค์หลักของบัณฑิตยสถานนี้ คือ การทำให้ภาษาฝรั่งเศสบริสุทธิ์ พิสุทธินิยมทางภาษา หรือ ความพิถีพิถันในภาษา (linguistic purism, linguistic protectionism) เป็นคตินิยมที่มีจุดมุ่งหมายจะทำให้ภาษาใดภาษาหนึ่ง "บริสุทธิ์" หรือ "สะอาด" ที่สุด โดยนิยาม “ภาษาบริสุทธิ์” หรือ “ภาษาสะอาด” ว่าเป็นภาษาที่ปราศจากคุณสมบัติทางภาษาจากภาษาต่างชาติ ในคตินิยมนี้ จึงมีการอนุรักษ์ภาษาโดยการขจัดสิ่ง ที่เห็นว่ามาจากภาษาต่างชาติ ซึ่งสามารถอยู่ในทุกระดับของระบบภาษา เช่น ไวยากรณ์ การออกเสียง หรือ คำศัพท์ เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่วัตถุประสงค์หลักในการกำจัด มักจะเป็นคำศัพท์ พิสุทธินิยมทางภาษา มักมีความเกี่ยวข้องกับชาตินิยม ซึ่งมักเกิดขึ้นควบคู่กับการสถาปนารัฐชาต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพิสุทธินิยมทางภาษา · ดูเพิ่มเติม »

พิตต์สเบิร์ก

ตต์สเบิร์ก (Pittsburgh) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา และเป็นเคาน์ตีซีตของแอลลิเกนีเคาน์ตี ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐ ตรงจุดบรรจบของแม่น้ำแอลลิเกนีและแม่น้ำโมนังกาฮีลาซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น้ำโอไฮโอ เป็นเมืองที่มีเขตเมืองใหญ่เป็นอันดับ 22 ของสหรัฐอเมริกา มีประชากร 305,704 คน (สำรวจเมื่อ ค.ศ. 2010) เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์สำคัญในเรื่องการผลิตเหล็กกล้า ปัจจุบันมีเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ด้านสุขภาพ การศึกษา เทคโนโลยี หุ่นยนต์ และการให้บริการการเงิน เมืองได้มีการปรับปรุงเมือง ในสถานที่ที่เคยเป็นย่านอุตสาหกรรมที่ทิ้งร้าง เปลี่ยนมาเป็นสำนักงานและย่านช็อปปิ้ง เช่นบริเวณเซาท์ไซด์เวิกส์ และเบเกอรีสแควร์ ฝรั่งเศสสร้างป้อมดูเคนขึ้นที่บริเวณเมืองนี้ใน ค.ศ. 1754 ต่อมาอังกฤษได้ยึดป้อมในปี ค.ศ. 1758 และเปลี่ยนชื่อมาเป็นพิตต์ จนเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานในปี ค.ศ. 1760 และตั้งเป็นเมืองในปี ค.ศ. 1816.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพิตต์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พูลชิเนลลา

thumb พูลชิเนลลา (Pulcinella; Polichinelle; Punchinello หรือ Punch) เป็นตัวละครตลกจากเรื่องชวนหัว Commedia dell'arte ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีลักษณะเด่นคือจมูกแหลมยาวเหมือนจะงอยปากนก ชื่อ พูลชิเนลลา มาจากลักษณะเด่นที่จมูกเหมือนจะงอยปาก ภาษาละตินเรียกว่า pullus gallinaceus ซึ่งแผลงเป็น "Pulliciniello" และ "Pulcinella" นอกจากนี้ยังมาจากศัพท์ภาษาอิตาลี pulcino แปลว่า ไก่ บางก็ว่าแผลงมาจากชื่อ Puccio d'Aniello เป็นชาวเมืองอะเซอรา (Acerra) ในแคว้นกัมปาเนีย ที่ปรากฏอยู่ในภาพเขียนของอันนิบาเล คารัคชี ตัวตลกพูลชิเนลลามักสวมเครื่องแต่งกายสีขาว และสวมหน้ากากสีดำ ตัวละครลักษณะคล้ายกันนี้มีชื่อเรียกต่างๆ กันในภาษาอื่นๆ เช่น Kasper ในเยอรมนี, Jan Klaassen ในเนเธอร์แลนด์, Mester Jakel ในเดนมาร์ก, Vasilache ในโรมาเนีย, Vitéz László ในฮังการี ตัวละครนี้ปรากฏในบทละครชวนหัวเป็นจำนวนมาก และถูกแปลงเป็นหุ่นกระบอก ในอังกฤษมีชื่อว่า มิสเตอร์พันช์ ในเรื่อง Punch and Judy และเป็นตัวเอกในบัลเลต์สองเรื่องของอิกอร์ สตราวินสกี คือเรื่อง พูลชิเนลลา และ เปทรูชก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและพูลชิเนลลา · ดูเพิ่มเติม »

กฎกระทรวง

กฎกระทรวง (ministerial regulation) เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรประเภทหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ หรือแห่งกฎหมายที่มีฐานะเสมอกัน เป็นต้นว่า ประมวลกฎหมาย พระราชกำหนด กฎกระทรวงนั้นเดิมเรียกว่า กฎเสนาบดี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกฎกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎข้อแรกและข้อที่สองของนิวตัน เขียนเป็นภาษาละติน จาก ''Philosophiae Naturalis Principia Mathematica'' ฉบับดังเดิม ค.ศ. 1687 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเป็นกฎทางกายภาพ สามข้อที่เป็นรากฐานของกลศาสตร์ดั้งเดิม ใช้สำหรับการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกับแรงที่กระทำต่อวัตถุนั้น และการเคลื่อนที่เนื่องจากแรงเหล่านั้น โดยในกฎข้อแรกเป็นการนิยามความหมายของแรง กฎข้อที่สองเป็นการเสนอการวัดแรงในเชิงปริมาณ และกฎข้อที่สามเป็นการอ้างว่าไม่มีแรงโด่ดเดี่ยว ในสามร้อยปีที่ผ่านมากฎทั้งสามข้อได้รับการตีความในหลาย ๆ ด้าน และสามารถสรุปได้ดังนี้ ---- ---- ไอแซก นิวตัน ได้ทำการรวบรวมกฎการเคลื่อนที่ทั้งสามข้อไว้ในหนังสือ Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica (Mathematical Principles of Natural Philosophy) ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม

กรกฎาคม เป็นเดือนที่ 7 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกรกฎาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกรกฎ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีสิงห์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกรกฎาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่และปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวปู เดิมเดือนนี้ใช้ชื่อว่า ควินตีลิส (Quintilis) ในภาษาละติน และเป็นเดือนที่ 5 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น "July" ตามชื่อของจูเลียส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เกิด และอ่านออกเสียงว่าจูลีจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

กระจง

กระจง หรือ ไก้ (Mouse-deer, Chevrotain) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเคี้ยวเอื้องขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Tragulus (/ทรา-กู-ลัส/) ในวงศ์ Tragulidae โดยคำว่า Tragulus มาจากคำว่า Tragos หมายถึง "แพะ" ในภาษากรีก ขณะที่ ulus ในภาษาละตินหมายถึง "เล็ก" มีน้ำหนักตัวประมาณ 0.7–8.0 กิโลกรัม (1.5–17.6 ปอนด์) มีความยาวประมาณ 40–75 เซนติเมตร (16–30 นิ้ว) จัดเป็นสัตว์กีบคู่ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก แต่ชนิดที่เล็กที่สุดของกระจงก็ยังมีขนาดใหญ่กว่าแอนทีโลปในสกุล Neotragus ในทวีปแอฟริกาNowak, R. M. (eds) (1999).

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระจง · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรมสหรัฐ

กระทรวงยุติธรรมสหรัฐ (United States Department of Justice: DOJ) เป็นกระทรวงบริหารกลางในรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา รับผิดชอบการบังคับใช้กฎหมาย และการบริหารงานยุติธรรมในสหรัฐ เหมือนกับกระทรวงยุติธรรมหรือกระทรวงมหาดไทยในประเทศอื่น กระทรวงยุติธรรมสหรัฐบังคับบัญชาหน่วยงานผู้บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง ซึ่งรวมถึงสำนักงานสอบสวนกลาง (Federal Bureau of Investigation: FBI) และสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (Drug Enforcement Administration: DEA) กระทรวงรับผิดชอบสืบสวนกรณีฉ้อโกงทางการเงิน จัดการแทนสหรัฐในอรรถคดีต่าง ๆ เช่น ในศาลสูงสุด และดำเนินระบบเรือนจำกลาง กระทรวงยังรับผิดชอบทบทวนการบังคับใช้กฎหมายระดับท้องถิ่นตามรัฐบัญญัติการบังคับใช้กฎหมายและควบคุมอาชญากรรมรุนแรง ค.ศ. 1994 (Violent Crime Control and Law Enforcement Act of 1994) หัวหน้าของกระทรวง คือ อัยการสูงสุด (Attorney General) ซึ่งประธานาธิบดีเสนอชื่อให้วุฒิสภารับรองเป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรี ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน คือ เจฟฟ์ เซสชัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระทรวงยุติธรรมสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกพิสิฟอร์ม

กระดูกพิสิฟอร์ม (Pisiform bone) หรือ กระดูกเลนติฟอร์ม (Lentiform bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในข้อมือ มีขนาดเล็ก รูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่วลันเตา กระดูกนี้เป็นกระดูกข้อมือแถวต้น อยู่บริเวณที่กระดูกอัลนา (ulna) เชื่อมกับกระดูกข้อมือ กระดูกนี้เกิดข้อต่อกับกระดูกไตรกีตรัล (triquetral) เท่านั้น กระดูกพิสิฟอร์มจัดเป็นกระดูกในเอ็นกล้ามเนื้อ (sesamoid bone) รากศัพท์ของชื่อ พิสิฟอร์ม (pisiform) มาจากภาษาละตินว่า pīsum แปลว่า ถั่วลันเตา (pea).

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกพิสิฟอร์ม · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกลูเนท

กระดูกลูเนท หรือ กระดูกรูปเสี้ยวพระจันทร์ (Lunate bone; Semilunar bone) เป็นกระดูกในที่อยู่ภายในมือของมนุษย์ มีลักษณะเด่นคือมีความเว้าและรูปร่างเหมือนพระจันทร์เสี้ยว ตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของกระดูกข้อมือแถวต้น (proximal row) อยู่ระหว่างกระดูกสแคฟฟอยด์ (scaphoid) และกระดูกไตรกีตรัล (triangular bone) คำว่า ลูเนท (lunate) มาจากรากศัพท์ภาษาละตินคำว่า luna ที่แปลว่า ดวงจันทร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกลูเนท · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกฮาเมต

กระดูกฮาเมต (hamate bone or unciform bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในข้อมือของมนุษย์ซึ่งมีลักษณะเด่นคือมีรูปร่างคล้ายลิ่ม และทีส่วนยื่นของกระดูกที่มีรูปร่างคล้ายตะขอออกมาจากพื้นผิวด้านฝ่ามือ กระดูกนี้เป็นกระดูกข้อมือ (carpus) ในแถวหลังที่วางตัวอยู่ทางด้านใกล้กลาง (ด้านนิ้วก้อย) ซึ่งมีฐานอยู่ด้านล่างติดกับกระดูกฝ่ามือชิ้นที่ 4 และ 5 ส่วนยอดชี้ขึ้นด้านบนและไปทางด้านข้างลำตัว รากศัพท์ของชื่อกระดูกมาจากภาษาละติน hamus แปลว่า ตะขอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกฮาเมต · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกข้อมือ

ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กระดูกข้อมือ (Carpal bones; Carpus) เป็นกลุ่มของกระดูกชิ้นเล็กๆที่เรียงตัวอยู่ระหว่างกระดูกของส่วนปลายแขนและกระดูกฝ่ามือ (Metacarpal bones) และเป็นกระดูกที่ประกอบกันเป็นส่วนประกอบหลักของข้อมือ (wrist) กระดูกส่วนใหญ่ของกลุ่มกระดูกข้อมือจะมีรูปร่างคล้ายลูกเต๋า โดยที่พื้นผิวทางด้านหลังมือ (dorsal surface) และฝ่ามือ (palmar surface) จะมีลักษณะขรุขระเนื่องจากมีเอ็นและปลอกหุ้มเอ็น (tendon sheath) พาดผ่าน ขณะที่พื้นผิวด้านอื่นๆจะค่อนข้างเรียบเพื่อต่อกับกระดูกชิ้นอื่นๆได้อย่างสนิท สำหรับในมนุษย์ จะมีกระดูกข้อมือจำนวน 8 ชิ้น ซึ่งจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือกระดูกข้อมือที่ติดต่อกับกระดูกเรเดียส จะเรียกว่า กระดูกข้อมือแถวแรก (proximal row) ซึ่งมีจำนวน 4 ชิ้น ส่วนอีกกลุ่มจะติดต่อกับกระดูกฝ่ามือ จะเรียกว่ากระดูกข้อมือแถวหลัง (distal row) ซึ่งมีจำนวน 4 ชิ้นเช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกข้อมือ · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกปีกสะโพก

กระดูกปีกสะโพก หรือ กระดูกไอเลียม (ilium) เป็นกระดูกของเชิงกราน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนตัวกระดูก (body) และส่วนปีก (ala) รอยแยกระหว่าง 2 ส่วนนั้นเป็นเส้นโค้งที่อยู่บนพื้นผิวด้านใน เรียกว่า เส้นคาร์คูเอท (arcuate line) และเบ้าหัวกระดูกต้นขา (acetabulum) บนพื้นผิวด้านนอก ชื่อของกระดูกนี้ในภาษาละตินซึ่งแปลว่า ขาหนีบ (groin).

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกปีกสะโพก · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกแคปปิเตต

กระดูกแคปปิเตต (Capitate bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในข้อมือของมนุษย์ กระดูกนี้นับว่าเป็นกระดูกข้อมือที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ตรงกลางของข้อมือ ส่วนบนมีลักษณะเป็นหัวกระดูกกลม ซึ่งรับกับส่วนของกระดูกสแคฟฟอยด์ (scaphoid) และกระดูกลูเนท (lunate) และถัดลงมาเป็นส่วนคอดเรียกว่า คอกระดูก และด้านล่างเป็นตัวกระดูก รากศัพท์ของชื่อกระดูก มาจากภาษาละติน capitātus แปลว่า มีหัว มาจาก capit- แปลว่า หัว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกแคปปิเตต · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกไหปลาร้า

ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) เป็นกระดูกแบบยาว (long bone) ชิ้นหนึ่งที่เป็นส่วนประกอบของกระดูกส่วนไหล่ (shoulder girdle) ชื่อของกระดูกไหปลาร้าในภาษาอังกฤษ Clavicle เป็นคำที่มาจากภาษาลาติน clavicula ซึ่งแปลว่า กุญแจเล็กๆ เนื่องจากกระดูกชิ้นนี้จะมีการหมุนรอบแกน ในแนวนอนคล้ายกับการไขกุญแจ ขณะที่แขนกางออก กระดูกไหปลาร้ายังเป็นกระดูกที่สามารถมองเห็น แนวของกระดูกได้จากภายนอกอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในเพศหญิงซึ่งมีไขมันในบริเวณรอบๆกระดูกน้อยกว่า นอกจากในมนุษย์แล้ว กระดูกไหปลาร้ายังพบในสัตว์สี่ขา (tetrapods) ชนิดอื่นๆ แต่อาจมีรูปร่างเล็กกว่าหรืออาจไม่พบเลย กระดูกไหปลาร้าจะเจริญในสัตว์ที่ใช้ส่วนรยางค์หน้าในการหยิบจับ แต่จะไม่เจริญมากนักในสัตว์ที่ใช้รยางค์หน้าในการรองรับน้ำหนักหรือการวิ่ง กระดูกไหปลาร้าเปรียบเสมือนไม้ค้ำ ประคองแขนทั้งสองข้างไว้ ทำให้แขนสามารถเคลื่อนไหว ได้อย่างเป็นอิสระอยู่บนลำตัว กระดูกชิ้นนี้อยู่ในตำแหน่ง ที่ง่ายต่อการกระแทก บาดเจ็บ และรับแรงกระแทกที่ส่งผ่านมาจาก แขนไปสู่ลำตัว กระดูกไหปลาร้าจึงเป็นกระดูกชิ้นที่หักบ่อยที่สุดในร่างกาย โดยมักจะหักเนื่องจาก ล้มหรือตกจากที่สูง โดยลงกระแทกบริเวณไหล่ หรือกระแทกในท่าแขนที่เหยียดออก แรงจะส่งผ่านไปตามแขน ไหล่ ไปสู่กระดูกไหปลาร้า และจะหักในส่วนที่อ่อนแอที่สุด (คือรอยต่อระหว่าง 1/3กลาง กับ 1/3ด้านนอก) หลังจากหักจะถูกกล้ามเนื้อและน้ำหนักของแขนดึงให้ผิดรูปไป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกไหปลาร้า · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกไตรกีตรัล

กระดูกไตรกีตรัล (Triquetral bone; หรืออาจเรียกว่า triquetrum bone, cuneiform bone, pyramidal bone, cubital bone, three-cornered bone, และ triangular bone) เป็นกระดูกที่อยู่บริเวณข้อมือ อยู่บริเวณด้านใกล้กลาง (medial side) ของกระดูกข้อมือแถวต้น ระหว่างกระดูกลูเนท (lunate) และกระดูกพิสิฟอร์ม (pisiform) กระดูกนี้อยู่ด้านอัลนา (ด้านนิ้วก้อย) ของมือ แต่ไม่เกิดข้อต่อกับกระดูกอัลนา กระดูกไตรกีตรัลเกิดข้อต่อกับกระดูกพิสิฟอร์ม, กระดูกฮาเมต (hamate), และกระดูกลูเนท กระดูกนี้มีโอกาสหักมากเป็นอันดับที่ 3 เมื่อเกิดกระดูกข้อมือหัก กระดูกไตรกีตรัลมีลักษณะเด่นคือ มีรูปร่างคล้ายพีระมิด และที่เด่นชัดที่สุดคือรอยบุ๋มรูปวงรีที่อยู่บนพื้นผิวด้านหน้า ซึ่งเป็นบริเวณเกิดข้อต่อกับกระดูกพิสิฟอร์ม กระดูกนี้อยู่ด้านบนและด้านอัลนาของข้อมือ ในการคลำกระดูกนี้เพื่อตรวจ มือต้องอยู่ในท่าเบนไปทางนิ้วหัวแม่มือเพื่อให้กระดูกไตรกีตรัลเลื่อนออกจากสไตลอยด์ โพรเซสของกระดูกอัลนา (ulnar styloid process) กระดูกไตรกีตรัลอาจหาได้ยากเพราะว่ากระดูกนี้วางตัวอยู่ใต้กระดูกพิสิฟอร์ม รากศัพท์ของชื่อกระดูกนี้มาจากภาษาละติน triquetrus ซึ่งแปลว่า สามเหลี่ยม (three-cornered).

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกไตรกีตรัล · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกเอทมอยด์

กระดูกเอทมอยด์ (ethmoid bone; ethmos แปลว่า ตะแกรง) เป็นกระดูกที่ประกอบเป็นกะโหลกศีรษะซึ่งกั้นระหว่างโพรงจมูก (nasal cavity) และสมอง (brain) ตั้งอยู่ที่เพดานของจมูก ระหว่างเบ้าตาทั้งสองข้าง กระดูกชิ้นนี้มีน้ำหนักเบาเนื่องจากมีโครงสร้างเป็นกระดูกเนื้อโปร่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระดูกเอทมอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

กระเพาะอาหาร

กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะของทางเดินอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการย่อยอาหารที่ผ่านการเคี้ยวภายในช่องปากมาแล้ว กระเพาะอาหารยังเป็นอวัยวะที่มีสภาพแวดล้อมเป็นกรด โดยมักจะมีค่าพีเอชอยู่ที่ประมาณ 1-4 โดยขึ้นกับอาหารที่รับประทานและปัจจัยอื่น ๆ นอกจากนี้ในกระเพาะอาหารยังมีการสร้างเอนไซม์เพื่อช่วยในการย่อยอาหารอีกด้วย ในศัพท์ทางการแพทย์จะเรียกโครงสร้างที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหารโดยขึ้นต้นด้วยคำว่า gastro- และ gastric ซึ่งเป็นคำในภาษาละตินที่หมายถึงกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกระเพาะอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

กรันต์ อัลเลน

Charles Grant Blairfindie Allen ชาร์ลส์ กรันต์ แบลร์ฟินดี อัลเลน (Charles Grant Blairfindie Allen) (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2390 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2422) เกิดในแคนาดา แต่ไปเรียนหนังสือในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และอังกฤษ เมื่ออายุ 25 ปี เขาไปเป็นอาจารย์สอนวิชาตรรกศาสตร์ (รวมทั้งปรัชญา จริยศาสตร์ ภาษาละตินและภาษากรีก) ในมหาวิทยาลัยในจาไมกาอยู่สองสามปี จากนั้นก็กลับยุโรป เขาแต่งงานใหม่ และใช้ชีวิตในแคว้นเคนต์ ประเทศอังกฤษ ส่วนในหน้าหนาวจะไปอยู่ในบ้านทางตอนใต้ของฝรั่งเศส นักเขียนยุควิกตอเรียซึ่งผลิตงานมากมายหลากหลายผู้นี้ เคยเขียนเพื่อเงินถ่ายเดียวไว้หลายเรื่อง (โดยมากเป็นนวนิยายสืบสวนและเขียนโดยใช้นามปากกา) รวมถึงหนังสือท่องเที่ยวอีกจำนวนหนึ่ง เพื่อตอบสนองความอยากเขียนความเรียงในประเด็นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และแสดงความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดอเทวนิยม รวมทั้งสนับสนุนลัทธิเสรีนิยม ในทศวรรษ 1890 เขากลายเป็นที่รู้จักไปทั่วจากหนังสือ The woman who did เรื่องราวของหญิงหัวสมัยใหม่ผู้พึ่งตนเองได้ และมีลูกโดยไม่ได้แต่งงาน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกรันต์ อัลเลน · ดูเพิ่มเติม »

กรีมัวร์

กรีมัวร์ (grimoire) เป็นตำราไสยเวท เกี่ยวกับสูตรยาวิเศษ (potion) วิธีสร้างเครื่องราง ของขลังอื่น ๆ รวมไปถึงวิธีการร่ายเวทมนต์ การทำสเน่ห์ การทำนายทายทัก และการเรียกหรือเชิญสิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น เทพ ภูต สัมภเวสี หรือ ปีศาจ มาเข้าทรง คำว่า "กรีมัวร์" (grimoire) เชื่อกันว่ามีที่มาจากคำภาษาฝรั่งเศส grammaire ซึ่งในสมัยโบราณใช้เรียกหนังสือทุกเล่มที่แต่งเป็นภาษาลาติน แต่ในฝรั่งเศสราวศตวรรษที่ 18 คำว่า กรีมัวร์ เริ่มใช้ในความหมายที่เกี่ยวกับหนังสือเวทมนต์ และได้ใช้ในความหมายนี้เรื่อยมา โดยเฉพาะตำราเขียนด้วยมือที่เป็นภาษาลาติน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกรีมัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

กรด

กรด (อังกฤษ: acid, มาจากภาษาละติน acidus/acēre หมายถึง "เปรี้ยว") เป็นสสารซึ่งทำปฏิกิริยากับเบส โดยทั่วไป กรดสามารถระบุได้ด้วยรสเปรี้ยว,สมบัติทำปฏิกิริยากับโลหะอย่างแคลเซียม และเบสอย่างโซเดียมคาร์บอเนต กรดที่ละลายน้ำมี pH น้อยกว่า 7 โดยที่กรดจะแรงขึ้นตามค่า pH ที่ลดลง และเปลี่ยนกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเป็นแดง ตัวอย่างทั่วไปของกรด รวมไปถึง กรดน้ำส้ม (น้ำส้มสายชู), กรดซัลฟิวริก (ในแบตเตอรีรถยนต์), และกรดทาร์ทาริก (ในการทำขนม) ดังสามตัวอย่างข้างต้น กรดสามารถเป็นได้ทั้งสารละลาย ของเหลวหรือของแข็ง สำหรับแก๊ส อย่างเช่น ไฮโดรเจนคลอไรด์ ก็เป็นกรดได้เช่นกัน กรดแรงและกรดอ่อนเข้มข้นบางตัวมีฤทธิ์กัดกร่อน แต่มีข้อยกเว้น เช่น คาร์บอรีนและกรดบอริก นิยามกรดโดยทั่วไปมีสามนิยาม ได้แก่ นิยามอาร์เรเนียส นิยามเบรินสเตด-ลาวรี และนิยามลิวอิส นิยามอาร์เรเนียสกล่าววว่า กรดคือ สสารที่เพิ่มความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) ในสารละลาย นิยามเบรินสเตด-ลาวรีเป็นการขยายขึ้น คือ กรดเป็นสสารซึ่งสามารถทำหน้าที่ให้โปรตอน กรดส่วนมากที่พบในชีวิตประจำวันเป็นสารละลายในน้ำ หรือสามารถละลายได้ในน้ำ และสองนิยามนี้เกี่ยวเนื่องที่สุด สาเหตุที่ pH ของกรดน้อยกว่า 7 นั้น เป็นเพราะความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่า 10-7 โมลต่อลิตร เนื่องจาก pH นิยามเป็นลอการิทึมลบของความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไออน ดังนั้น กรดจึงมี pH น้อยกว่า 7 ตามนิยามเบรินสเตด-ลาวรี สารประกอบใดซึ่งสามารถให้โปรตอนง่ายสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นกรด ตัวอย่างมีแอลกอฮอล์และเอมีน ซึ่งมีหมู่ O-H หรือ N-H ในทางเคมี นิยามกรดลิวอิสเป็นนิยามที่พบมากที่สุด กรดลิวอิสเป็นตัวรับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ตัวอย่างกรดลิวอิส รวมไปถึงไอออนลบโลหะทั้งหมด และโมเลกุลอิเล็กตรอนน้อย เช่น โบรอนฟลูออไรด์ และอะลูมิเนียมไตรคลอไรด์ ไฮโดรเนียมไอออนเป็นกรดตามทั้งสามนิยามข้างต้น ที่น่าสนใจคือ แม้แอลกอฮอล์และเอมีนสามารถเป็นกรดเบรินเสตด-ลาวรีได้ตามที่อธิบายข้างต้น ทั้งสองยังทำหน้าที่เป็นเบสลิวอิสได้ เนื่องจากอะตอมออกซิเจนและไนโตรเจนมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกรด · ดูเพิ่มเติม »

กรดฟอร์มิก

กรดฟอร์มิก หรือกรดมด (Formic acid) เป็นกรดคาร์บอกซิลิกชนิดหนึ่งที่โครงสร้างไม่ซับซ้อน มีสูตรโมเลกุลว่า CH2O2 และเรียกตามระบบ IUPAC ว่า กรดเมทาโนอิก (Methanoic acid), พบตามธรรมชาติในสัตว์จำพวกมดและผึ้ง ซึ่งมีไว้สำหรับป้องกันตัวจากศัตรู, โดยคำว่า "formic" ได้มาจากคำในภาษาละตินว่า formica ซึ่งแปลว่ามดนั่นเอง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกรดฟอร์มิก · ดูเพิ่มเติม »

กรดโฟลิก

ฟเลต หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่รู้จักคือ กรดโฟลิก และ วิตามินบี9 (folate, folic acid, vitamin B9) เป็นวิตามินบีชนิดหนึ่ง มีปริมาณที่แนะนำต่อวันอยู่ที่ 400 ไมโครกรัม และมักใช้เป็นอาหารเสริมในช่วงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารก (ซึ่งรวมการไม่มีสมองใหญ่ สมองโป่ง กระดูกสันหลังโหว่) --> และยังใช้รักษาภาวะเลือดจางจากการขาดกรดโฟลิก กว่า 50 ประเทศเสริมกรดโฟลิกในอาหารเพื่อเป็นมาตรการลดอัตรา NTDs ในประชากร การเสริมกรดโฟลิกในอาหารเป็นประจำสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจเล็กน้อย เป็นวิตามินที่สามารถใช้ทานหรือฉีดก็ได้ ยาไม่มีผลข้างเคียงที่สามัญ ยังไม่ชัดเจนว่าการทานในขนาดสูงเป็นระยะเวลายาวนานมีปัญหาหรือไม่ แต่การใช้ขนาดสูงสามารถอำพรางการขาดวิตามินบี12ได้ --> โฟเลตเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อผลิต DNA RNA และกระบวนการสร้างและย่อยสลายกรดอะมิโนซึ่งจำเป็นต่อการแบ่งเซลล์ เนื่องจากมนุษย์ไม่สามารถสร้างกรดโฟลิก ดังนั้นจำต้องได้จากอาหาร การไม่ได้โฟเลตเพียงพอก็จะทำให้เกิดภาวะขาดโฟเลต --> ซึ่งอาจมีผลเป็นภาวะเลือดจางที่มีเม็ดเลือดขนาดใหญ่ (megaloblastic) เป็นจำนวนน้อย --> อาการอาจรวมความล้า หัวใจเต้นเร็ว หายใจไม่ทัน แผลบนลิ้นไม่หาย สีผิวหรือผมเปลี่ยน --> การขาดในช่วงตั้งครรภ์เบื้องต้นเชื่อว่าเป็นเหตุของภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารกเกินครึ่ง การขาดในเด็กอาจเกิดภายในเดือนเดียวที่ทานอาหารไม่ดี ในผู้ใหญ่ระดับโฟเลตทั้งหมดในร่างกายอยู่ที่ระหว่าง 10,000-30,000 ไมโครกรัม (µg) โดยมีระดับในเลือดเกิน 7 nmol/L (3 ng/mL) กรดนี้ค้นพบในระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและกรดโฟลิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเจอร์แมนิก

การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มชนเจอร์แมนิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิตาลิก

ซินี ใต้ (S. Picene) กลุ่มภาษาอิตาลิก เป็นสมาชิกของสาขาเซนตุม (Centum) ของกลุ่มภาษาอินโด-ยุโรเปียน ซึ่งรวมถึงกลุ่มภาษาโรมานซ์ (มีภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี และภาษาสเปน กับภาษาอื่น ๆ) และภาษาที่สูญพันธุ์บางภาษา อิตาลิกมี 2 สาขา คือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มภาษาอิตาลิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาโรมานซ์

ภาษาโรมาเนีย กลุ่มภาษาโรมานซ์ เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน และเป็นกลุ่มภาษาที่กลายพันธุ์มาจากภาษาละติน ประกอบด้วย ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาโรมาเนีย และ ภาษากาตาลา เป็นต้น มีผู้พูดภาษาในกลุ่มนี้ทั่วโลกมากกว่า 700 ล้านคน รโมานซ์ หมวดหมู่:กลุ่มภาษาโรมานซ์.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มภาษาโรมานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มภาษาเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวภูเขา

กลุ่มดาวภูเขา เป็นกลุ่มดาวจาง ๆ ในซีกฟ้าใต้ เดิมมีชื่อภาษาละตินว่า Mons Mensae (ภูเขาเทเบิล) ตั้งโดยนิโกลา-ลุย เดอ ลากาย ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมายถึงภูเขาเทเบิลในแอฟริกาใต้ สถานที่ที่ลากายทำการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ บางส่วนของเมฆแมเจลแลนใหญ่อยู่ในพื้นที่ของกลุ่มดาวนี้ (อีกส่วนอยู่ในกลุ่มดาวปลากระโทงแทง) หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวภูเขา.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มดาวภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวนาฬิกา

กลุ่มดาวนาฬิกา เป็นกลุ่มดาวในซีกฟ้าใต้ เดิมมีชื่อภาษาละตินว่า Horologium Oscillitorium ตั้งโดยนีกอลา หลุยส์ เดอ ลากาย ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 เพื่อเป็นเกียรติแก่คริสตียาน เฮยเคินส์ ผู้คิดค้นนาฬิกาลูกตุ้ม หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวนาฬิกา.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มดาวนาฬิกา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวแกะ

กลุ่มดาวแกะ (♈) เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในจักรราศี ชื่อในภาษาละติน Aries หมายถึงแกะ อยู่ระหว่างกลุ่มดาวปลาทางด้านทิศตะวันตก กับกลุ่มดาววัวทางด้านทิศตะวันออก มี่ชื่อในภาษาละตินว่า Ram และมีสัญลักษณ์คือ 20px ตั้งชื่อโดยปโตเลมี หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวแกะ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มดาวแกะ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนิวเคลียส pulvinar

กลุ่มนิวเคลียส pulvinar (pulvinar nuclei, pulvinar thalami, nuclei pulvinaris) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า pulvinar เป็นกลุ่มนิวเคลียสที่อยู่ในทาลามัส pulvinar ปกติจัดอยู่ในกลุ่มนิวเคลียส lateral thalamic nuclei ในสัตว์ฟันแทะและสัตว์กินเนื้อ แต่เป็นคอมเพล็กซ์ต่างหากในไพรเมต เป็นคำที่ย่อมาจากคำในภาษาละตินว่า "pulvinus" ซึ่งแปลว่า เบาะ ในศาสนาของโรมโบราณ เป็นคำที่หมายถึงเก้าอี้ยาวมีเบาะสำหรับให้เทพใช้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลุ่มนิวเคลียส pulvinar · ดูเพิ่มเติม »

กลีบท้ายทอย

มองกลีบท้ายทอย หรือ กลีบท้ายทอย (occipital lobe, lobus occipitalis) เป็นกลีบสมองที่เป็นศูนย์ประมวลผลของการเห็นในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งโดยมากประกอบด้วยเขตต่างๆ ทางกายวิภาคของคอร์เทกซ์สายตา คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม เป็นส่วนเดียวกับ เขตบร็อดแมนน์ 17 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า V1 ซึ่งในมนุษย์ อยู่ที่สมองกลีบท้ายทอยใกล้กลาง (medial) ภายในร่องแคลคารีน (calcarine sulcus) เขต V1 นั้น บ่อยครั้งดำเนินต่อไปทางด้านหลังของสมองกลีบท้ายทอย และบ่อยครั้งเรียกว่า คอร์เทกซ์ลาย (striate cortex) เพราะเป็นเขตที่ระบุได้โดยริ้วลายขนาดใหญ่ของปลอกไมอีลิน ที่เรียกว่า ลายเจ็นนารี (Stria of Gennari) ส่วนเขตมากมายอื่นๆ ที่ทำหน้าที่ประมวลผลทางสายตาที่อยู่นอก V1 เรียกว่า เขตคอร์เทกซ์สายตานอกคอร์เทกซ์ลาย (extrastriate cortex) ซึ่งแต่ละเขตมีกิจเฉพาะของตนในการประมวลข้อมูลทางสายตา รวมทั้งการประมวลผลด้านปริภูมิ ด้านการแยกแยะสี และการรับรู้การเคลื่อนไหว ชื่อของสมองกลีบท้ายทอย (occipital lobe) เป็นชื่อสืบมาจากกระดูกท้ายทอย (occipital bone) ซึ่งมาจากคำในภาษาละตินว่า ob ซึ่งแปลว่า "ท้าย" และ caput ซึ่งแปลว่า "ศีรษะ".

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลีบท้ายทอย · ดูเพิ่มเติม »

กลีบข้าง

มองกลีบข้าง (parietal lobe หรือ parietal cortex, lobus parietalis) ในประสาทกายวิภาคศาสตร์ เป็นกลีบสมองหนึ่ง อยู่เหนือสมองกลีบท้ายทอย (occipital lobe) และหลังสมองกลีบหน้า (frontal lobe) สมองกลีบข้างผสมผสานสัญญาณรับความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึกทั้งหลาย มีหน้าที่เฉพาะในการประมวลความรู้สึกเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial sense) และการนำทาง (navigation) ตัวอย่างเช่น สมองกลีบข้างประกอบด้วยคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (somatosensory cortex) และทางสัญญาณด้านล่าง (dorsal stream) ของระบบการเห็น ซึ่งทำให้คอร์เทกซ์กลีบข้างสามารถสร้างแผนที่ของวัตถุที่เห็น โดยที่วัตถุมีตำแหน่งสัมพันธ์กับร่างกาย (เช่นเห็นว่าอยู่ทางซ้ายหรือทางขวาของกาย) มีเขตหลายเขตของสมองกลีบข้างที่มีความสำคัญในการประมวลผลทางภาษา และด้านหลังต่อจากร่องกลาง (central sulcus) ก็คือรอยนูนหลังร่องกลาง (postcentral gyrus) ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้ความรู้สึกทางกาย คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายมีแผนที่เป็นรูปมนุษย์ที่บิดเบือน ที่เรียกว่า cortical homunculus (homunculus มาจากภาษาละตินที่แปลว่า "คนตัวเล็ก ๆ") โดยที่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมีขนาดเท่ากับเขตที่คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายมีพื้นที่ให้สำหรับส่วนนั้นของร่างกายSchacter, D. L., Gilbert, D. L. & Wegner, D. M. (2009).

ใหม่!!: ภาษาละตินและกลีบข้าง · ดูเพิ่มเติม »

กล้องสองตา

A typical Porro prism binoculars design. '''1''' - Objective '''2-3''' - Porro prisms '''4''' Eyepiece กล้องสองตาแบบกาลิเลโอ กล้องสองตาแบบกาลิเลโอ กล้องสองตา (binoculars มาจากภาษาละติน bi- "สอง" และ oculus "ตา") คือ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่องดูวัตถุที่อยู่ห่างไกลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยอาศัยเลนส์และปริซึม ปริซึมทำหน้าที่สะท้อนและหักเหแสง กลับภาพจากภาพหัวกลับให้เป็นภาพหัวตั้ง ภาพที่ได้จึงต่างจากที่เห็นในกล้องโทรทรรศน์ธรรมดา ข้อกำหนดของกล้องสองตาแต่ละกล้อง มักบอกด้วยตัวเลขสองตัวคั่นกลางด้วยกากบาท "×" เช่น "7×50" หมายถึงกล้องสองตานี้มีกำลังขยาย 7 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์วัตถุมีขนาด 50 มิลลิเมตร กล้องสองตามีขนาดตั้งแต่ 3×10 ที่มักใช้ในโรงละคร ขนาด 7×50 หรือ 10×50 ที่มักใช้ส่องดูกลางแจ้ง และอาจมีขนาดใหญ่ถึง 20×80 หรือ 20×140 กล้องขนาดใหญ่มีน้ำหนักมาก ทำให้เมื่อยแขนได้ จึงต้องอาศัยระบบขาตั้งกล้องที่ช่วยให้ภาพไม่สั่นไหว หมวดหมู่:ทัศนูปกรณ์ oc:Jumelles.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกล้องสองตา · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อ

การจัดลำดับของกล้ามเนื้อโครงสร้าง กล้ามเนื้อ (muscle; มาจากภาษาละติน musculus "หนูตัวเล็ก") เป็นเนื้อเยื่อที่หดตัวได้ในร่างกาย เปลี่ยนแปลงมาจากเมโซเดิร์ม (mesoderm) ของชั้นเนื้อเยื่อในตัวอ่อน และเป็นระบบหนึ่งของร่างกายที่สำคัญต่อการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย แบ่งออกเป็นกล้ามเนื้อโครงร่าง (skeletal muscle), กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle), และกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) ทำหน้าที่หดตัวเพื่อให้เกิดแรงและทำให้เกิดการเคลื่อนที่ (motion) รวมถึงการเคลื่อนที่และการหดตัวของอวัยวะภายใน กล้ามเนื้อจำนวนมากหดตัวได้นอกอำนาจจิตใจ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น การบีบตัวของหัวใจ หรือการบีบรูด (peristalsis) ทำให้เกิดการผลักดันอาหารเข้าไปภายในทางเดินอาหาร การหดตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจมีประโยชน์ในการเคลื่อนที่ของร่างกาย และสามารถควบคุมการหดตัวได้ เช่นการกลอกตา หรือการหดตัวของกล้ามเนื้อควอดริเซ็บ (quadriceps muscle) ที่ต้นขา ใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจแบ่งกว้างๆ ได้เป็น 2 ประเภทคือ กล้ามเนื้อ fast twitch และกล้ามเนื้อ slow twitch กล้ามเนื้อ slow twitch สามารถหดตัวได้เป็นระยะเวลานานแต่ให้แรงน้อย ในขณะที่กล้ามเนื้อ fast twitch สามารถหดตัวได้รวดเร็วและให้แรงมาก แต่ล้าได้ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกล้ามเนื้อ · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อลีเวเตอร์ เลบิไอ ซุพีเรียริส อลีควี นาไซ

กล้ามเนื้อลีเวเตอร์ เลบิไอ ซุพีเรียริส อัลลีค นาไซ (levator labii superioris alaeque nasi muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่บนใบหน้า ชื่อของกล้ามเนื้อเป็นภาษาละตินแปลว่า กล้ามเนื้อที่ยกริมฝีปากบนและยกปีกจมูก กล้ามเนื้อนี้เป็นกล้ามเนื้อที่มีชื่อยาวที่สุดในบรรดากล้ามเนื้อในร่างกายของสัตว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกล้ามเนื้อลีเวเตอร์ เลบิไอ ซุพีเรียริส อลีควี นาไซ · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ

ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ · ดูเพิ่มเติม »

กวางผา

กวางผา (Gorals) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่จำพวกแอนทีโลปสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae ใช้ชื่อสกุลว่า Naemorhedus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกวางผา · ดูเพิ่มเติม »

กวีโด ดา ซีเอนา

กุยโด ดา เซียนา หรือ กุยโด ดิ กราเซียโน (Guido da Siena หรือ Guido di Graziano) เป็นจิตรกรยุคศิลปะไบแซนไทน์ของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 13 กุยโด ดา เซียนาอาจจะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงลักษณะการเขียนจิตรกรรมเช่นเดียวกับชิมาบูเยที่สามารถทำสำเร็จต่อมา แต่ประเด็นนี้ยังไม่เป็นที่ตกลงกันได้ งานที่เป็นที่รู้จักกันของกุยโดเป็นงานจิตรกรรมแผงที่ปัจจุบันแบ่งออกเป็นหลายชิ้น วัดซานโดเมนนิโคในเซียนามีภาพเขียนชิ้นใหญ่ contains a large painting of the “” พร้อมกับเทวดาหกองค์ด้านบน คอนแวนต์เบ็นนาดิคตินในเซียนาเช่นกันมีส่วนที่เป็นสามเหลี่ยมเหนือภาพเขียนเป็นภาพพระมหาไถ่ในท่าประทานพร (in benediction) กับเทวดาสององค์ ภาพสองชิ้นนี้เดิมเป็นภาพเดียวกันที่เดิมเป็นบานพับภาพ แผงหลังของภาพมีคำจารึกภาษาละตินที่บ่งชื่อจิตรกรว่าคือ “Guido de Senis” และปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและกวีโด ดา ซีเอนา · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริย์อาเธอร์

รูปปั้นกษัตริย์อาเธอร์ ที่โบสถ์ Hofkirche, Innsbruck, ออสเตรีย ออกแบบโดย Albrecht Dürer และสร้างโดย Peter Vischer ผู้พ่อ ในคริสต์ทศวรรษ 1520Barber, Richard (2004), ''The Holy Grail: Imagination and Belief'', London: Allen Lane, ISBN 978-0713992069. กษัตริย์อาเธอร์ (King Arthur) เป็นกษัตริย์อังกฤษผู้มีชื่อเสียงโด่งดังในตำนานเล่าขานในฐานะวีรบุรุษในยุคกลาง ซึ่งได้ปกป้องเกาะบริเตนจากการรุกรานของชาวแซกซันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 5ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 รายละเอียดส่วนใหญ่เกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าขาน ตำนานพื้นบ้าน และวรรณกรรมที่แต่งขึ้น นักประวัติศาสตร์ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ากษัตริย์อาเธอร์มีตัวตนอยู่ในประวัติศาสตร์จริงหรือไม่Higham, N. J. (2002), King Arthur, Myth-Making and History, ลอนดอน: Routledge, ISBN 978-0415213059.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกษัตริย์อาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กอล

แผนที่ของ กอล ราว 100 ปีก่อนคริสตกาล แสดงให้เห็นตำแหน่งสัมพันธ์กับเผ่าเคลติก กอล (Gaul) เป็นชื่อเก่าแก่ในประวัติศาสตร์ ใช้ในยุคโรมันเพื่อเรียกขานดินแดนทางยุโรปตะวันตก ซึ่งปัจจุบันเทียบได้ประมาณบริเวณประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม และอาจรวมไปถึงหุบเขาโพ ในสวิตเซอร์แลนด์ตะวันตก บางส่วนของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนีทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ในภาษาอังกฤษ คำว่า กอล อาจหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนั้น (ภาษาฝรั่งเศสเรียก Gaulois) พลเมืองในอดีตสามารถพูดภาษากอล (Gaulish) ได้อย่างกว้างขวาง (เป็นภาษาที่พัฒนามาจากเคลติกยุคต้น) โดยแพร่หลายในดินแดนบริเตน ไอบีเรีย ไอร์แลนด์ ไปจนกระทั่งถึงอนาโทเลียกลางในยุคโรมัน คำในภาษาละตินของ กอล ยังคงมีใช้อยู่ในคำภาษากรีกยุคใหม่สำหรับใช้เรียกประเทศฝรั่งเศส คือ กัลเลีย (Gallia) กอลภายใต้การนำของ Brennus บุกยึดโรมันได้ในราวทศวรรษ 390 ก่อนคริสตกาล ในแดนอีเจี้ยน มีการอพยพครั้งใหญ่ของชาวกอลตะวันออก จากดินแดนเทรซ ทางตอนเหนือของกรีซ ในราวปี 281 ก่อนคริสตกาล ผู้นำของชาวกอลอีกคนหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า Brennus เหมือนกัน เป็นผู้นำของกองทัพขนาดใหญ่ ได้หวนกลับจากการทำลายล้างวิหารอพอลโลในเมืองเดลฟีในกรีซในวินาทีสุดท้าย เล่ากันว่าเขาได้รับเตือนโดยเสียงฟ้าร้องและสายฟ้า ในเวลาเดียวกับที่ชาวเคลต์กำลังอพยพ นักรบกว่า 10,000 นาย พร้อมด้วยบรรดาผู้หญิง เด็ก และทาส ได้เดินทางผ่านดินแดนเทรซพอดี ชาวกอลสามกลุ่มใหญ่ได้เดินทางข้ามดินแดนเทรซไปยังเอเชียไมเนอร์ตามคำเชิญของ Nicomedes ที่ 1 กษัตริย์แห่ง Bithynia พระองค์ได้ส่งคำร้องขอความช่วยเหลือเพื่อสู้กับน้องชายของพระองค์เอง ในเวลาต่อมาชาวกอลก็ตั้งถิ่นฐานลงทางตะวันออกของ Phrygia และ Cappadocia ในแคว้นอนาโทเลียกลาง ดินแดนซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ กาลาเทีย (Galatia).

ใหม่!!: ภาษาละตินและกอล · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอากาศเวเนซุเอลา

กองทัพอากาศเวเนซุเอลา ถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2463 แม้ในอดีตจะใช้ยุทโธปกรณ์จากหลายประเทศ แต่ด้วยความขัดแย้งระหว่างอดีตผู้นำของเวเนซุเอลา ฮูโก้ ชาเวซ กับ สหรัฐอเมริกา ทำให้เวเนซุเอลาต้องหันไปซื้อยุทโธปกรณ์จากประเทศจีนและรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกองทัพอากาศเวเนซุเอลา · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน

กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกันยายน · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มวิง

มบิลสูทกันดั้มวิง (Mobile Suit Gundam Wing) เป็นแอนิเมชันทางโทรทัศน์ความยาว 49 ตอน ออกอากาศ พ.ศ. 2538 ในประเทศไทยเคยแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. และ ยูบีซีคิดส์ ช่อง 26 (ปัจจุบันคือ ยูบีซีสปาร์ค ช่อง 28) ของสถานีเคเบิลโทรทัศน์ ยูบีซี โดยในอดีตบริษัท ไทก้า เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์และจำหน่ายเฉพาะในรูปแบบของ วีซีดี โดยในปัจจุบันลิขสิทธิ์ได้อยู่กับทาง เด็กซ์ และจำหน่ายในรูปแบบของ วีซีดี และ ดีวีดี อีกรอบโดยยังคงใช้เสียงพากย์ของทาง ไทก้า เหมือนเดิม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกันดั้มวิง · ดูเพิ่มเติม »

การบริการสังคม

การบริการสังคม มาจากวลี "Pro Bono" ซึ่งมาจากคำภาษาละตินที่หมายถึง “เพื่อประโยชน์สุขส่วนรวม” วลีเต็มคือ "Pro bono publico" ซึ่งเดิมเป็นวลีที่ใช้กับการให้บริการทางกฎหมาย หรือบริการทางวิชาชีพอื่นที่เป็นการอาสาสมัครโดยไม่รับค่าตอบแทนใดๆ ถือเป็นการให้บริการแก่สังคม ในบางกรณี ผู้อาสาให้คำปรึกษา หรือ “pro bono counsel’’ อาจช่วยเหลือบุคคลคนหรือกลุ่มบุคคลในด้านคดีทางกฎหมาย หรือช่วยเขียนคำร้องหรือคำอุทธรณ์ นักกฎหมายในสหรัฐฯถูกกำหนดให้อาสาให้บริการแก่สังคมในลักษณะนี้อย่างน้อย 50 ชั่วโมงต่อปี โดยถือเป็นส่วนของจรรยาบรรณของนักกฎหมาย การอาสาให้บริการแก่สังคมในรูปแบบนี้ได้แพร่หลายไปสู่จรรยาบรรณของนักวิชาชีพสาขาอื่นๆ โดยเฉพาะสาขาการออกแบบและวางแผนในวิชาชีพสถาปัตยกรรมและผังเมืองและอื่นๆ การให้บริการแก่สังคมในความหมายของ pro bono ได้ปรากฏเป็นส่วนสำคัญในปณิธาณของมหาวิทยาลัยเกือบทุกแห่งในประเทศไทย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์กฎหมาย หมวดหมู่:คำศัพท์จากภาษาละติน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการบริการสังคม · ดูเพิ่มเติม »

การกุเหตุความจำเสื่อม

ในจิตวิทยาหรือจิตเวชศาสตร์ การกุเหตุความจำเสื่อม"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" (confabulation มากจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า "การเล่าเรื่อง") เป็นความปั่นป่วนของความจำที่ปรากฏโดยคำพูดหรือการกระทำที่ไม่ตรงกับประวัติ ภูมิหลัง หรือสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยที่ไม่ได้มีเจตนาที่จะหลอกลวง การกุเหตุความจำเสื่อมต่างจากการโกหกเพราะไม่มีเจตนาที่จะหลอกลวง และบุคคลนั้นไม่รู้ว่า ข้อมูลของตนนั้นไม่ตรงกับความจริงMoscovitch M. 1995.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการกุเหตุความจำเสื่อม · ดูเพิ่มเติม »

การมีคนรักหลายคน

หัวใจที่ไม่สิ้นสุด การมีคนรักหลายคน หรือ พอลีแอเมอรี (polyamory, จาก ภาษากรีก แปลว่า "หลากหลาย"และ ภาษาละติน แปลว่า "ความรัก") เป็นการปฏิบัติหรือความปรารถนา จะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กันมากกว่าหนึ่งคนโดยที่ทุกคนที่เกี่ยวข้องรับรู้ มีการอธิบายไว้ว่า เป็น "ความยินยอม จริยธรรม และการมีคู่ครองหลายคนอย่างมีความรับผิดชอบ" คนที่แสดงตัวเป็น พอลีแอเมอรี ปฏิเสธว่า มุมมองทางเพศและการมีความสัมพันธ์กับบุคคลเดียว เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับความรัก และความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง ในระยะยาว รูปแบบของพอลีแอเมอรีมีความหลากหลาย สะท้อนถึงทางเลือกและปรัชญาของบุคคลที่เกี่ยวข้อง แต่ด้วยแก่นหรือค่านิยม เช่น ความรัก ความสนิทสนม ความซื่อสัตย์สุจริตความเท่าเทียมกัน การสื่อสารและข้อผูกมัด ความสับสนเกิดขึ้นเมื่อใช้พอลีแอเมอรีในความหมายที่กว้างขึ้น โดยใช้เป็นคำที่ครอบคลุมรูปแบบต่าง ๆ ของการมีหลายคู่ครองโดยสมัครใจ ความสัมพันธ์หลายคู่ (รวมถึงพอลีแอเมอรี) หรือความสัมพันธ์ทางเพศหรือโรแมนติกที่ไม่ผูกขาดกับบุคคลเดียว พอลีแอเมอรีในขบวนไพรด์พาเรดที่ลอนดอน ปี 2016.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการมีคนรักหลายคน · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้

ลูกบาศก์เนกเกอร์และแจกันรูบินสามารถมองเห็น/รับรู้ได้มากกว่า 1 แบบ การรับรู้ หรือ สัญชาน (Perception จากคำภาษาละตินว่า perceptio) เป็นการจัดระเบียบ ระบุ และแปลผลข้อมูลจากประสาทสัมผัสเพื่อใช้เป็นแบบจำลองและเข้าใจข้อมูลหรือโลกรอบ ๆ ตัว การรับรู้ทุกอย่างจะต้องเกี่ยวกับสัญญาณประสาทที่ส่งไปยังระบบประสาท โดยสัญญาณก็จะเป็นผลของการเร้าระบบรับความรู้สึกทางกายภาพหรือทางเคมี ยกตัวอย่างเช่น การเห็นจะเกี่ยวกับแสงที่มากระทบจอตา การได้กลิ่นจะอำนวยโดยโมเลกุลที่มีกลิ่น และการได้ยินจะเกี่ยวกับคลื่นเสียง การรับรู้ไม่ใช่เป็นเพียงแค่การรับสัญญาณทางประสาทสัมผัสเฉย ๆ แต่จะได้รับอิทธิพลจากการเรียนรู้ ความทรงจำ ความคาดหวัง และการใส่ใจของบุคคลนั้น ๆ การรับรู้สามารถแบ่งเป็นสองส่วน คือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการรับรู้ · ดูเพิ่มเติม »

การรู้เอง

isbn.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการรู้เอง · ดูเพิ่มเติม »

การละเมอพูด

การละเมอพูด (อังกฤษ: sleep talking, somniloquy มาจากคำในภาษาละติน somnus ("หลับ") และ loquor ("พูด")) คือ การพูดในขณะที่กำลังนอนหลับ อาจพูดด้วยเสียงที่ดังมาก พูดแบบปกติ หรือพูดแบบลากคำยาวๆ ก็ได้ โดยการละเมอพูดนี้สามารถเกิดขึ้นได้หลายครั้งระหว่างการนอนหลับ ซึ่งคำที่พูดนั้นอาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ โดยส่วนใหญ่มักพบในเด็กเล็กมากถึง 50% และถ้าหากสิ่งที่พูดออกมานั้นมีการใส่อารมณ์หรือพูดคำหยาบคายอาจเป็นสัญญาณที่บ่งถึงความผิดปกติในการนอนหลับอื่นๆ ได้ หมวดหมู่:ความผิดปกติของการนอนหลับ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการละเมอพูด · ดูเพิ่มเติม »

การหมัก (ชีวเคมี)

งที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก สำหรับความหมายอื่นดูที่ การหมักดอง การหมัก (Fermentation; มาจากภาษาละติน Fervere หมายถึง "เดือด") เป็นกระบวนทางชีวเคมีภายในเซลล์ เพื่อสร้างพลังงานจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารประกอบอินทรีย์ด้วยเอนไซม์ โดยมีสารอินทรีย์เป็นทั้งตัวให้และตัวรับอิเล็กตรอน ซึ่งต่างจากการหายใจแบบใช้ออกซิเจนที่ใช้ออกซิเจนที่เป็นสารอนินทรีย์เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ในครั้งแรกคำว่าการหมักใช้อธิบายลักษณะที่เกิดจากการทำงานของยีสต์ในน้ำผลไม้ เพราะยีสต์ย่อยสลายน้ำตาลในสภาวะที่ไร้ออกซิเจน จึงเกิดฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ผุดขึ้นมาเหมือนน้ำเดือด เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในหนังสือ alchemy แต่เริ่มใช้ในความหมายปัจจุบันเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการหมัก (ชีวเคมี) · ดูเพิ่มเติม »

การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส

การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส (concubinage) หมายถึง ภาวะที่หญิงมีความสัมพันธ์เชิงสมรสกับอีกบุคคลหนึ่ง ซึ่งฝ่ายหนึ่งมักมีสถานะทางสังคมสูงกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ความสัมพันธ์เชิงสมรสหมายความว่าไม่ได้สมรสกันจริง ๆ แต่อยู่กินกันอย่างคู่สมรส ซึ่งหากเป็นการจดทะเบียนสมรสซ้อนจะกลายเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายไทย แต่หากไม่จดทะเบียนสมรสก็จะไม่มีสิทธิตามกฎหมาย ข้อนี้นับเป็นข้อเสียของการเป็นเมียหรือผัวที่ผิดกฎหมายของผู้อื่น ในกรณีปรกติแล้วมักเป็นเรื่องระหว่างหญิงกับชาย โดยชายนั้นมักมีภริยาอย่างเป็นทางการหรือ "เมียหลวง" อยู่แล้ว และก็อาจมีภริยาลับอยู่อีกหลายคนด้วย ซึ่งภริยาลับนี้ก็มักมีสถานะทางสังคมต่ำต้อยกว่าภริยาหลวง กับทั้งตัวภริยาลับและบุตรที่เกิดแต่นางภริยาลับนี้ฝ่ายชายจะให้การสนับสนุนอย่างออกนอกหน้าก็มิได้ เพราะผิดทั้งจริยธรรม จารีตประเพณีในบางท้องถิ่น และกฎหมายของบางท้องถิ่นด้วย เช่น กฎหมายไทยมิได้ให้สิทธิภริยาลับเสมอภริยาหลวง แต่ในความเป็นจริงแล้ว ใครเป็นภริยาลับของใครสังคมก็มักรู้กันอยู่แก่ใจและบางทีก็เอาไปซุบซิบนินทากันอย่างสนุกปากอีกด้วย คำว่า "ภริยาลับ" (concubine) เป็นศัพท์ทางนิติศาสตร์ แต่ในภาษาอังกฤษคำว่า "concubine" นั้นใช้ได้กับทั้งหญิงทั้งชายที่ไปเป็นภริยาลับหรือสามีลับของบุคคลอื่น นอกจากนี้ ในภาษาไทยยังมีคำเรียก "ภริยาลับ" อีกหลาย ๆ คำ เช่น อนุภริยา, อนุภรรยา, เมียน้อย หรือ เมียเก็.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติ

การออกเสียงประชามติ (referendum) คือ การนำร่างกฎหมาย ร่างรัฐธรรมนูญ และนโยบายที่สำคัญของประเทศ ไปผ่านการตัดสินเพื่อแสดงความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบโดยประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย นับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่อแนวทางการปกครองประเทศ และถือเป็นประชาธิปไตยทางตรงแบบหนึ่งซึ่งประชาชนมีส่วนมีเสียงโดยตรงในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการออกเสียงประชามติ · ดูเพิ่มเติม »

การอุปถัมภ์

การอุปถัมภ์ ในความหมายโดยทั่วไป คือ การค้ำจุน การค้ำชู การสนับสนุน การเลี้ยงดู ในทางการเมืองซึ่งใช้คำว่า ระบบอุปถัมภ์ หมายถึง การได้รับสิทธิพิเศษจากผู้ใหญ่หรือญาติมิตรของตน เป็นระบบที่ตรงกันข้ามกับระบบความชอบธรรมซึ่งนิยมใช้เป็นหลักในปัจจุบัน ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมในยุโรปช่วงศตวรรษที่ 5 – 16 และในสังคมไทยจะมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกันในสมัยพระบรมไตรโลกนาถจนถึงรัชกาลที่ 5 แห่งรัตนโกสินทร์ คำว่า “ผู้อุปถัมภ์” (patron) เป็นคำที่มาจากภาษาละติน คือ pratronus หมายถึง บุคคลผู้มีอำนาจให้ความยินยอมหรือรับรอง (sanction) โดยคนเหล่านี้ต้องเข้ามาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ที่มีอำนาจด้อยกว่าหรือเป็น “ผู้รับอุปถัมภ์” (client) ที่ต้องการความช่วยเหลือหรือป้องกัน โดยผู้อุปถัมภ์จะให้ประโยชน์กับผู้รับอุปถัมภ์โดยหวังจะได้ประโยชน์ตอบแทนกลับมาในรูปแบบของสินค้า ความจงรักภักดี การสนับสนุนทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ในเชิงตอบแทนซึ่งกันและกัน (reciprocal relationships) โดยทั่วไปความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสองฝ่ายนี้ ฝ่ายผู้รับอุปถัมภ์มักจะเป็นผู้เสียเปรียบเพราะโดยคำจำกัดความว่าเป็นผู้ที่อ่อนแอกว่าทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง (Kurian, 2011: 1199-1200).

ใหม่!!: ภาษาละตินและการอุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ หรือ การจำแนกชั้นทางชีววิทยา (Systematics) หมายถึงการจัดกลุ่มและหมวดหมู่สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่สูญพันธุ์ไปแล้ว การจำแนกในยุคปัจจุบันอาศัยรากฐานจากระบบการจำแนกของ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ผู้จัดกลุ่มสปีชีส์ต่าง ๆ โดยดูจากลักษณะเฉพาะทางกายภาพ การจัดกลุ่มแบบนี้ได้มีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับหลักดาร์วิน ส่วนมากเป็นผลมาจากการศึกษาอนุกรมวิธานระดับโมเลกุลด้วยการวิเคราะห์จีโนม ในการแบ่งอย่างกว้างๆจะแบ่งได้ 2 ระดับ คือ ลำดับขั้นสูง และ ลำดับขั้นต่ำ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

การข่มขืนกระทำชำเรา

การข่มขืนกระทำชำเรา (rape) เป็นการทำร้ายร่างกายทางเพศซึ่งปกติเกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์หรือการใช้การล่วงล้ำทางเพศแบบอื่นต่อบุคคลโดยปราศจากความยินยอมของบุคคลเหล่านั้น การกระทำดังกล่าวอาจโดยใช้กำลังทางกาย การบีบบังคับ การละเมิดอำนาจหรือต่อบุคคลที่ไม่สามารถให้ความยินยอมสมบูรณ์ได้ เช่น ผู้ที่หมดสติ ไร้ความสามารถหรืออายุต่ำกว่าอายุที่ยอมให้มีการร่วมประเวณีได้ตามกฎหมาย คำว่า "ข่มขืนกระทำชำเรา" บางครั้งใช้แทนคำว่า "การทำร้ายร่างกายทางเพศ" ได้ อุบัติการณ์การข่มขืนกระทำชำเราที่ตำรวจบันทึกทั่วโลกในปี 2553 แปรผันระหว่าง 0.2 ต่อ 100,000 คนในประเทศอาเซอร์ไบจาน ถึง 92.9 ต่อ 100,000 คนในประเทศบอตสวานา โดยมีค่า 6.3 ต่อ 100,000 คนในประเทศลิทัวเนียเป็นมัธยฐาน United Nations.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการข่มขืนกระทำชำเรา · ดูเพิ่มเติม »

การตรวจลงตรา

การตรวจลงตรา หรือ วีซ่า (Visa) (Visa มาจากภาษาละติน หมายถึง เอกสารที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว) เป็นเอกสารซึ่งประเทศใดประเทศหนึ่งได้ออกให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งภายใต้การพิจารณาของประเทศนั้นๆ แต่เพียงผู้เดียว เพื่อเป็นการแสดงว่าได้อนุญาตให้ต่างด้าวบุคคลนั้นสามารถเดินทางเข้าประเทศผู้ได้ออกตรวจลงตรานั้นได้ ภายในช่วงระยะเวลาและขอบเขตของจุดประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ในการยื่นคำร้องขอรับการตรวจลงตรา ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองขณะเดินทางเข้าประเทศผู้ออกตรวจลงตรา ปกติแล้วจะมีการประทับตรวจลงตราไว้ในหนังสือเดินทาง อาจเป็นในรูปแบบแผ่นสติ๊กเกอร์ ตราประทับ หรืออาจอยู่ในรูปเอกสารอื่นใดที่ไม่ได้ประทับลงในหนังสือเดินทาง ในปัจจุบันการตรวจลงตราในบางประเทศเป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ผ่านเครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งจะไม่ปรากฏเครื่องหมายใดๆในหนังสือเดินทาง หรือไม่มีเอกสารที่แสดงถึงการได้รับตรวจลงตราแล้ว การตรวจลงตราอาจเป็นเอกสารที่แสดงว่าบุคคลหนึ่งได้รับอนุญาตให้เดินทางเข้าหรือเดินทางออกจากพื้นที่ของประเทศอันเป็นของผู้ออก การเดินทางในอดีตก่อนสงครามโลก ไม่ต้องใช้การตรวจลงตรา ครั้นมีสงครามเกิดความหวาดกลัวในเรื่องสายลับจึงทำให้ประเทศต่างๆ จำเป็นต้องทำการตรวจสอบบุคคลก่อนที่จะอนุญาตให้เดินทางเข้าสู่ประเทศของตน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการตรวจลงตรา · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อทวินาม

ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม (Binomial nomenclature) เป็นระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ชื่อแต่ละชื่อในระบบนี้เรียกว่า ชื่อทวินาม (Binomial name) หรือ ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) คือชื่อที่ใช้เรียกแทนสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ ชื่อทวินามจะเป็นภาษาละติน ประกอบด้วยคำศัพท์ 2 คำ คือ สกุล และ สปีชีส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับสิ่งมีชีวิตที่ต้องการระบุ โดยรายละเอียดปลีกย่อยอาจแตกต่างกันออกไปบ้าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการตั้งชื่อทวินาม · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อดาวฤกษ์

การตั้งชื่อดาวฤกษ์ (และวัตถุท้องฟ้าอื่นๆ) ดำเนินการโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ชื่อดาวฤกษ์จำนวนมากที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้สืบทอดมาแต่อดีตก่อนจะมีการก่อตั้งสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล แต่ยังมีชื่ออื่นๆ โดยเฉพาะชื่อของดาวแปรแสง (รวมทั้งโนวาและซูเปอร์โนวา) ซึ่งได้รับการตั้งชื่อเพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา อย่างไรก็ดี ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่แล้วไม่มีชื่อเรียก แต่จะเรียกขานกันด้วยหมายเลขรหัสแคตาล็อก บทความนี้จะกล่าวถงกระบวนการที่ใช้ในการตั้งชื่อดาวฤกษ์โดยสังเขป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการตั้งชื่อดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งครรภ์

การตั้งครรภ์ คือ การเจริญของลูกตั้งแต่หนึ่ง ที่เรียก เอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ ในมดลูกของหญิง เป็นชื่อสามัญของการตั้งครรภ์ในมนุษย์ การตั้งครรภ์แฝดเกี่ยวข้องกับการมีเอ็มบริโอหรือตัวอ่อนมากกว่าหนึ่งในการตั้งครรภ์ครั้งเดียว เช่น ฝาแฝด การคลอดปกติเกิดราว 38 สัปดาห์หลังการเริ่มตั้งท้อง หรือ 40 สัปดาห์หลังเริ่มระยะมีประจำเดือนปกติครั้งสุดท้ายในหญิงซึ่งมีความยาวรอบประจำเดือนสี่สัปดาห์ การร่วมเพศหรือเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทำให้เกิดการเริ่มตั้งท้อง เอ็มบริโอเป็นลูกที่กำลังเจริญในช่วง 8 สัปดาห์แรกหลังเริ่มตั้งท้อง จากนั้นใช้คำว่า ทารกในครรภ์ จนกระทั่งคลอด นิยามทางการแพทย์หรือกฎหมายของหลายสังคมมีว่า การตั้งครรภ์ของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ไตรมาสเพื่อง่ายต่อการอ้างอิงช่วงการเจริญก่อนเกิด ไตรมาสแรกมีความเสี่ยงการแท้งเอง (การตายธรรมชาติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์) สูงสุด ในไตรมาสที่สองเริ่มเฝ้าสังเกตและวินิจฉัยการเจริญของทารกในครรภ์ได้ง่ายขึ้น ไตรมาสที่สามมีการเจริญของทารกในครรภ์เพิ่มและการเจริญของแหล่งสะสมไขมันของทารกในครรภ์ จุดความอยู่รอดได้ของทารกในครรภ์ (point of fetal viability) หรือจุดเวลาที่ทารกในครรภ์สามารถดำรงชีวิตได้นอกมดลูก ปกติตรงกับปลายไตรมาสที่ 2 หรือต้นไตรมาสที่ 3 ทารกที่คลอดก่อนจุดนี้มีความเสี่ยงสูงต่อภาวะทางการแพทย์หรือตาย ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร 40% ของการตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ และระหว่าง 25% ถึง 50% ของการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจเหล่านี้เป็นการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดในสหรัฐอเมริกา หญิง 60% ใช้การคุมกำเนิดระหว่างเดือนที่เกิดการตั้งครร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการตั้งครรภ์ · ดูเพิ่มเติม »

การปกครองของบริษัทในอินเดีย

การปกครองของบริษัทในอินเดีย หรือบางครั้งเรียกว่า กัมปานีราช (Company Raj) หมายถึงการปกครองดินแดนในอนุทวีปอินเดียของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ซึ่งเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี 1757 ภายหลังกองทหารของบริษัทมีชัยชนะในยุทธการที่ปลาศีและได้ภาคเบงกอลมาครอบครอง และในปี 1765 บริษัทก็ได้รับสิทธิในการเก็บรายได้ในเบงกอลและพิหาร ต่อมาในปี 1773 บริษัทได้ตั้งกัลกัตตาเป็นเมืองหลวง และมีราชสำนักอังกฤษได้แต่งตั้งข้าหลวงต่างพระองค์คนแรกขึ้น หลังได้เบงกอลและพิหารมาครอบครอง บริษัทก็ได้ส่งกองทหารไปเจรจาให้รัฐต่างๆยินยอมให้บริษัทเข้าไปทำผลประโยชน์ตามเงื่อนไขที่บริษัทต้องการ รัฐใดที่ยินยอมก็จะยังมีคงอำนาจในการปกครองตนเอง ถึงกระนั้น รัฐมากมายในอินเดียตัดสินใจต่อสู้กับบริษัทและต่างพ่ายแพ้ เจ้าผู้ครองรัฐถูกริบอำนาจและรัฐตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของบริษัท บริษัทได้ยุติบทบาทในการปกครองอนุทวีปอินเดียไปภายหลังการก่อกบฎโดยชาวพื้นเมืองในปี 1857 ซึ่งนำมาสู่การตราพระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858 ซึ่งรัฐบาลสหราชอาณาจักรได้เข้ามาปกครองอินเดียโดยตรงแทน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการปกครองของบริษัทในอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิสนธินอกร่างกาย

แสดง การปฏิสนธิภายนอกร่างกาย (IVF) การปฏิสนธินอกร่างกาย หรือ เด็กหลอดแก้ว (In Vitro Fertilisation/Fertilization - IVF) คือเทคนิคของการปฏิสนธิสังเคราะห์ โดยการนำเซลล์ไข่ซึ่งถูกปฏิสนธิภายนอกร่างกายของผู้หญิง วิธีการนี้คือวิธีหลักๆ ในการแก้ไขปัญหาการที่ผู้หญิงนั้นไม่สามารถมีบุตรได้ (Infertility) โดยสรุปแล้ว กระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับการควบคุมกระบวนการการผลิตไข่ของสตรี ด้วยการนำไข่ออกมาจากผู้หญิง และปล่อยให้สเปิร์ม นั้นทำปฏิสนธิกับไข่ของเพศหญิงภายในภาชนะบรรจุของเหลว หลังจากนั้น จึงถ่ายไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว หรือเอ็มบริโอ ไปยังมดลูกของผู้ป่วย เพื่อทำให้การตั้งครรภ์นั้นสมบูรณ์ "In Vitro" เป็นภาษาละตินแปลว่า "ภายนอกสิ่งมีชีวิต" (ในที่นี้มักถูกแปลว่าอยู่ภายในแก้ว หรือภายในหลอดทดลอง) ซึ่งตรงข้ามกับ in vivo แปลว่า "ภายในสิ่งมีชีวิต" แต่ในความเป็นจริงแล้วทั้งแก้วและหลอดทดลองต่างไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆ กับการทำเด็กหลอดแก้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการปฏิสนธินอกร่างกาย · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมเลือกสันตะปาปา

การประชุมเลือกสันตะปาปากระทำกันในโบสถ์น้อยซิสทีนมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1492 การประชุมเลือกสันตะปาปา (Papal conclave) คือการประชุมโดยคณะพระคาร์ดินัล (College of Cardinals) เพื่อเลือกตั้งมุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) ซึ่งเป็นพระสันตะปาปาองค์ใหม่หลังจากที่ตำแหน่งว่างลง พระสันตะปาปาถือกันว่าเป็นผู้สืบตำแหน่งมาจากนักบุญเปโตร ซึ่งชาวคาทอลิกเชื่อว่าเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก และเป็นตำแหน่งที่ถือกันว่าเป็นประมุขของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบนโลกมนุษย์ การเลือกตั้งนี้ถือว่าเก่าแก่ที่สุดที่ดำเนินการต่อเนื่องกันมาในการเลือกตั้งประมุขของคริสตจักรBaumgartner, Frederick J. 2006 November 1.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการประชุมเลือกสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (หรือ การทำให้เชื่อง) หรือ การปรับตัวเป็นไม้เลี้ยง (domestication, domesticus) เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างพืชหรือสัตว์ กับมนุษย์ผู้มีอิทธิพลในการดูแลรักษาและการสืบพันธุ์ของพวกมัน เป็นกระบวนการที่ประชากรสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมผ่านรุ่นโดยการคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) เพื่อเน้นลักษณะสืบสายพันธุ์ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยมีผลพลอยได้เป็นความเคยชินของสิ่งมีชีวิตต่อการพึ่งมนุษย์ ทำให้พวกมันสูญเสียความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ ชาลส์ ดาร์วินเข้าใจถึงลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จำนวนไม่มากจำนวนหนึ่ง ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงต่างจากบรรพบุรุษพันธุ์ป่า เขายังเป็นบุคคลแรกที่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการคัดเลือกพันธุ์แบบตั้งใจ ที่มนุษย์เลือกลักษณะสืบสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยตรงเพื่อจะได้ลักษณะตามที่ต้องการ กับการคัดเลือกที่ไม่ได้ตั้งใจ ที่ลักษณะมีวิวัฒนาการไปตามการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือตามการคัดเลือกอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงจะต่างจากสิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าทางพันธุกรรม และในบรรดาสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ก็ยังมีความแตกต่างกันระหว่างลักษณะสืบสายพันธุ์ที่นักวิจัยเชื่อว่า จำเป็นในระยะต้น ๆ ของกระบวนการปรับนำมาเลี้ยง (domestication trait) และลักษณะที่พัฒนาขึ้นต่อ ๆ มาหลังจากที่สิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าและพันธุ์เลี้ยงได้แยกออกจากกันแล้ว (improvement trait) คือลักษณะที่จำเป็นโดยทั่วไปมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงทั้งหมด และเป็นลักษณะที่คัดเลือกในระยะต้น ๆ ของกระบวนการ ในขณะที่ลักษณะที่พัฒนาต่อ ๆ มาจะมีอยู่ในบางพวกของสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ถึงแม้ว่าอาจจะมีแน่นอนในพันธุ์ (breed) ใดพันธุ์หนึ่งโดยเฉพาะ หรือในกลุ่มประชากรในพื้นที่โดยเฉพาะ การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (domestication) ไม่ควรสับสนกับการทำสัตว์ให้เชื่อง (taming) เพราะว่า การทำให้เชื่องเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของสัตว์ป่า ให้กลัวมนุษย์น้อยลงและยอมรับการมีมนุษย์อยู่ใกล้ ๆ ได้ แต่ว่าการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง เป็นการเปลี่ยนพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ที่นำมาเลี้ยงอย่างถาวร เป็นการเปลี่ยนความรู้สึกของสัตว์ต่อมนุษย์โดยกรรมพันธุ์ สุนัขเป็นสิ่งมีชีวิตแรกที่ปรับนำมาเลี้ยง และแพร่หลายไปทั่วทวีปยูเรเชียก่อนการสิ้นสุดสมัยไพลสโตซีน ก่อนการเกิดขึ้นของเกษตรกรรม และก่อนการนำสัตว์อื่น ๆ ต่อ ๆ มามาเลี้ยง ข้อมูลทั้งทางโบราณคดีและทางพันธุกรรมแสดงนัยว่า การแลกเปลี่ยนยีน (gene flow) ที่เป็นไปทั้งสองทางระหว่างสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงกับพันธุ์ป่า เช่น ลา ม้า อูฐทั้งพันธุ์โลกเก่าและโลกใหม่ แพะ แกะ และหมู เป็นเรื่องสามัญ และเพราะความสำคัญของการนำสิ่งมีชีวิตมาเลี้ยงต่อมนุษย์ และคุณค่าของมันโดยเป็นแบบจำลองของกระบวนการวิวัฒนาการและของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีนี้ จึงดึงดูดความสนใจของนักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ รวมทั้งโบราณคดี บรรพชีวินวิทยา มานุษยวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสาขาต่าง ๆ สุนัขและแกะเป็นสิ่งมีชีวิตพันธุ์แรก ๆ ที่มนุษย์ปรับนำมาเลี้ยง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

การไล่ผีให้โรแลนด์ โด

การไล่ผีให้โรแลนด์ โด (Exorcism of Roland Doe) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเชิงเหนือธรรมชาติที่เกี่ยวกับภูตผีปีศาจ อันเป็นที่มาของภาพยนตร์เรื่อง The Exorcist ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและการไล่ผีให้โรแลนด์ โด · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นด้วยตาเดียว

การเห็นด้วยตาเดียว (Monocular vision) เป็นการมองเห็นที่ใช้ตาแต่ละข้างต่างคนต่างมอง การใช้ตาเช่นนี้ เทียบกับการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา ขอบเขตภาพจะใหญ่ยิ่งขึ้น ในขณะที่การรับรู้ความใกล้ไกลจะจำกัด ตาของสัตว์ที่เห็นด้วยตาเดียวปกติจะอยู่ที่ด้านข้างของศีรษะ ทำให้สามารถเห็นภาพจากข้างทั้งสองพร้อม ๆ กัน คำภาษาอังกฤษว่า monocular มาจากคำภาษากรีกว่า mono ซึ่งแปลว่า หนึ่ง และคำภาษาละตินว่า oculus ซึ่งแปลว่า ต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการเห็นด้วยตาเดียว · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา

quote.

ใหม่!!: ภาษาละตินและการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา · ดูเพิ่มเติม »

กางเขนแพตตี

กางเขนแพตตี (Cross Pattée, Cross Patty, Cross Pate) เป็นสัญลักษณ์รูปแบบหนึ่งของกางเขนคริสเตียน ซึ่งมีลักษณะของแขนแคบเข้าตรงช่วงกลางของกางเขน โดยจะเริ่มจากเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้ง และจะค่อยๆ กว้างออกที่บริเวณช่วงปลายทั้งสี่ด้าน โดยได้พบหลักฐานการใช้สัญลักษณ์กางเขนแพตตีในงานศิลปะยุคกลางตอนต้น อาทิเช่น งานปกสมุดทำด้วยโลหะซึ่งจัดสร้างโดยพระราชินีเธโอเดลินดา เพื่อใช้ถวายให้กับมหาวิหารมอนซา ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและกางเขนแพตตี · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่า

กิ้งก่า (Lizard, Iguana, Gecko, Skink; ภาษาไทยถิ่นเหนือ: จั๊กก่า; ภาษาไทยถิ่นอีสาน: กะปอม) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในอันดับย่อย Lacertilia หรือ Sauria ในอันดับใหญ่ Squamata หรือ อันดับกิ้งก่าและงู โดยสัตว์ในอันดับนี้รวมถึงงูที่อยู่ในอันดับย่อย Serpentes ด้วย เหตุที่จัดอยู่ในอันดับเดียวกันเพราะมีลักษณะร่วมบางประการมากถึง 70 อย่าง คำว่า "Lacertilia" มาจากภาษาละตินคำว่า "lacerta" ในความหมายเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วกิ้งก่ามี 4 ขา มีเกล็ดปกคลุมลำตัว แต่บางสกุลหรือบางชนิดก็ไม่มีขาหรือมีแต่ก็เล็กมากจนสังเกตได้ยาก เช่น จิ้งเหลนด้วง ในวงศ์จิ้งเหลน (Scincidae) หรือในวงศ์ Amphisbaenidae กิ้งก่าโดยมากแล้วเป็นสัตว์กินเนื้อ โดยจะกินแมลงและสัตว์ขาปล้องเป็นหลัก แต่สำหรับในวงศ์ที่มีขนาดใหญ่ เช่น วงศ์เหี้ย (Varanidae) จะกินสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย แต่ขณะที่บางชนิด เช่น อีกัวน่าเขียว (Iguana iguana) ที่พบในอเมริกากลางและทวีปอเมริกาใต้ กินพืชและผักเป็นอาหารหลัก กิ้งก่าพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกมุมโลก ยกเว้นในบริเวณอาร์กติก แถบขั้วโลกเหนือและทวีปแอนตาร์กติกา แถบขั้วโลกใต้ มีขนาดแตกต่างกันมากตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตร จนถึงเกือบ 3 เมตร ในมังกรโคโมโด (Varanus komodoensis) ที่หนักได้ถึงเกือบ 100 กิโลกรัม ซึ่งนับเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในอันดับย่อยนี้ ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานไว้แล้วกว่า 19 วงศ์ ประมาณ 555 สกุล รวมทั้งหมดราว 4,184 ชนิด ซึ่งจำนวนนี้ไม่แน่นอน เพราะมีการสำรวจค้นพบชนิดใหม่ ๆ ขึ้นทุกปี โดยวงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุด คือ Scincidae ที่มีประมาณ 1,000 ชนิด รองลงไป คือ Gekkonidae หรือ ตุ๊กแกกับจิ้งจก มีประมาณ 900 ชนิด ส่วนในวงศ์ Agamidae ก็มีประมาณเกือบ 500 ชน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกิ้งก่า · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบิน

ำหรับ Draco ที่หมายถึงกลุ่มดาว ดูที่: กลุ่มดาวมังกร กิ้งก่าบิน (Flying dragon, Flying lizard) หรือ กะปอมปีก ในภาษาอีสานและลาว เป็นสกุลของกิ้งก่าในวงศ์ Agaminae ในวงศ์ใหญ่ Agamidae ใช้ชื่อสกุลว่า Draco กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีประสิทธิภาพในการร่อนมากที่สุด ด้วยมีแผ่นหนังขนาดใหญ่อยู่ทางด้านข้างลำตัวและได้รับการค้ำจุนด้วยกระดูกซี่โครง 5-7 ซี่ โดยมีกล้ามเนื้ออิลิโอคอสทาลิสทำหน้าที่ดึงกระดูกซี่โครง 2 ซี่แรกไปทางด้านหน้า แต่กระดูกซี่โครงชิ้นอื่นได้เชื่อมต่อกับกระดูกซี่โครงสองซี่แรกด้วยเส้นเอ็น สามารถทำให้แผ่นหนังทั้งหมดกางออกได้ เมื่อเริ่มร่อน ตัวของกิ้งก่าในระยะแรกจะทำมุม 80° ช่วงนี้กิ้งก่าจะยกหางขึ้น ต่อมาจึงลดหางลงและแผ่กางแผ่นหนังด้านข้างลำตัวและทำมุมที่ลงสู่พื้นเหลือ 15° เมื่อลงสู่พื้นหรือเกาะบนต้นไม้ จะยกหางขึ้นอีกครั้งและหมุนตัว กิ้งก่าบินที่ทิ้งตัวจากต้นไม้สูง 10 เมตร สามารถร่อนได้เป็นระยะทางไกลกว่า 60 เมตร และลงเกาะบนต้นไม้หรือพื้นที่ที่อยู่ต่ำลงได้จากเดิมได้ 2 เมตร กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นกิ้งก่าขนาดเล็ก มีความยาวลำตัวส่วนมากไม่เกิน 20 เซนติเมตร แต่หางจะมีความยาวมากกว่าลำตัว พบกระจายพันธุ์ในป่าของเอเชียใต้ และเอเชียอาคเนย์ เช่น ภาคอีสานในประเทศไทย และพบได้ชุกชุมในป่าดิบของแหลมมลายู มีทั้งหมด 31 ชนิด พบได้ในประเทศไทยหลายชนิด อาทิ กิ้งก่าบินปีกส้ม (D. maculatus), กิ้งก่าบินคอแดง (D. blanfordii), กิ้งก่าบินสีฟ้า (D. volans) โดยคำว่า Draco นั้น มาจากคำว่า "มังกร" ในภาษาละติน ผู้ที่อนุกรมวิธาน คือ คาโรลัส ลินเนี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกิ้งก่าบิน · ดูเพิ่มเติม »

กูร์ปีป

กูร์ปีป (Curepipe) เป็นเมืองในประเทศมอริเชียส ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ เมืองตั้งอยู่บนที่ราบสูง เรียกว่า "ที่ราบตอนกลาง" (Central Plateau) จากข้อมูลประชากรในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและกูร์ปีป · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาละตินและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ญาบิร

อะบูมูซา ญาบิร บินฮัยยาน ที่ชาวตะวันตกเรียกว่า เกเบอร์ (Geber) ขึ้นชื่อลือชาว่าเป็นบิดาแห่งเคมี ท่านเป็นนักเคมีที่ยิ่งใหญ่มากตำราชื่อ Kitab al-Kimya, Kitab al-Sab'een เป็นตำราถูกแปลเป็นภาษาของยุโรบหลายภาษา เช่น ภาษาลาติน ภาษาฮีบรู ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส มีอิทธิผลต่อนักเคมีชาวยุโรปต่อมาอีกหลาย ศตวรรษ ญาบิร บินฮัยยาน เกิดราวปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและญาบิร · ดูเพิ่มเติม »

ฝูงชนวุ่นวาย

220x220px ฝูงชนวุ่นวาย หรือ ม็อบ (mob) หมายถึง การรวมตัวกันของผู้คนอย่างไร้ระเบียบ ซึ่งในทางพฤตินัยมักเกิดขึ้นเพราะความกริ้วโกรธหรือไม่พึงพอใจ และบางครั้งก็เป็นส่วนหนึ่งของการจลาจล อันจะเรียกว่าฝูงชนวุ่นวายได้นั้น มักถือเอาจำนวนผู้รวมตัวกันว่ามากกว่าสิบคนขึ้นไป ในทางสังคมศาสตร์ คำว่า "ฝูงชุนวุ่นวาย" นั้นมีความหมายแค่เพียงตามตัวอักษรเช่นนั้นเท่านั้น แต่คนทั่วไปมักเข้าใจว่าเป็นการรวมตัวกันเพื่อประท้วง เรียกร้อง หรือกระทำการใด ๆ อันไม่ค่อยสงบเรียบร้อยนักเป็นต้น คำว่า "mob" ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากศัพท์ภาษาละตินว่า "mobile vulgus" หมายความว่า ฝูงชนวุ่นวาย หมวดหมู่:นิติศาสตร์ หมวดหมู่:รัฐศาสตร์ หมวดหมู่:สังคมศาสตร์ de:Mob (Personen) en:Crowd fr:Foule he:המון hr:Rulja ja:集団 pl:Tłum ru:Толпа sk:Dav sv:Massa (sociologi).

ใหม่!!: ภาษาละตินและฝูงชนวุ่นวาย · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดาBelkin, pp.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะสมองเสื่อม

วะสมองเสื่อม หรือ โรคสมองเสื่อม (มาจากภาษาละติน de- "ออกไป" และ mens มาจาก mentis "จิตใจ") เป็นภาวะการเสื่อมถอยของหน้าที่การรับรู้อันเนื่องมาจากความเสียหายหรือโรคที่เกิดในสมองซึ่งมักเกิดจากการเสื่อมถอยไปตามอายุ แม้ว่าภาวะสมองเสื่อมจะเกิดขึ้นโดยปกติในประชากรผู้สูงอายุ แต่ก็อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ใหญ่ในทุกระยะ สำหรับกลุ่มอาการที่คล้ายคลึงกันอันเนื่องมาจากหน้าที่ของสมองผิดปกติในประชากรที่อายุน้อยกว่าวัยผู้ใหญ่จะเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ความผิดปกติในพัฒนาการ (developmental disorders) ภาวะสมองเสื่อมเป็นกลุ่มอาการที่ไม่จำเพาะซึ่งเกิดจากความเสื่อมของการรับรู้ไม่ว่าจะเป็นความจำ, ความใส่ใจ, ภาษา, และการแก้ปัญหา ซึ่งหน้าที่การรับรู้ในระดับสูงจะได้รับผลกระทบก่อน ในระยะท้ายๆ ของภาวะสมองเสื่อมผู้ป่วยจะมีอาการไม่รับรู้เวลา (ไม่รู้ว่าเป็นวัน เดือน หรือปีอะไร) สถานที่ (ไม่รู้ว่ากำลังอยู่ที่ไหน) และบุคคล (ไม่รู้จักบุคคลว่าเป็นใคร) กลุ่มอาการของภาวะสมองเสื่อมนั้นจัดแบ่งออกได้เป็นประเภทย้อนกลับได้ และย้อนกลับไม่ได้ ซึ่งขึ้นกับสมุฏฐานโรค (etiology) ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมน้อยกว่าร้อยละ 10 ซึ่งสามารถกลับมาเป็นปกติหลังจากการรักษาได้ สาเหตุของโรคเกิดจากการดำเนินโรคที่จำเพาะที่แตกต่างกัน เช่นเดียวกับการทำหน้าที่ผิดปรกติของอวัยวะอื่นๆ เช่น อาการหายใจสั้น, ดีซ่าน, หรืออาการปวดซึ่งเกิดมาจากสมุฏฐานต่างๆ กัน หากแพทย์เก็บประวัติผู้ป่วยได้ไม่ดีอาจทำให้สับสนกับกลุ่มอาการเพ้อ (delirium) เนื่องจากมีอาการแสดงที่คล้ายคลึงกันมาก อาการป่วยทางจิต (mental illness) บางชนิด เช่น ภาวะซึมเศร้า (depression) และโรคจิต (psychosis) อาจทำให้เกิดอาการแสดงซึ่งต้องแยกออกจากภาวะสมองเสื่อมและอาการเพ้อ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาวะสมองเสื่อม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ

international auxiliary language (มักย่อในภาษาอังกฤษเป็น IAL หรือ auxlang หรืออาจเรียกว่า interlanguage) คือภาษาที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างคนจากหลากหลายประเทศ ที่ไม่ได้ใช่ภาษาแม่ร่วมกัน โดยมีหลายภาษาที่ถือว่าเข้าข่าย ในอดีตเช่น ภาษากรีก ภาษาละติน และในปัจจุบันเช่น ภาษาจีนมาตรฐาน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ เป็นต้น แต่เนื่องจากภาษาเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการเอาชนะทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจของประเทศเจ้าของภาษา บางคนจึงต้องการให้มีภาษาประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษเป็นทางออกของปัญหานี้ โดยภาษาประดิษฐ์ที่มักถูกกล่าวถึงคือ ภาษาเอสเปรันโต ภาษาอินเทอร์ลิงกวา และภาษาอิดอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟิลิปีโน

ษาฟิลิปปินส์ หรือ ภาษาฟิลิปีโน (Filipino) เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2504 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาฟิลิปีโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินิเชีย

ษาฟินิเชีย เป็นภาษาที่มีจุดกำเนิดในชายฝั่งที่เรียก "Pūt" ในภาษาอียิปต์โบราณ "คานาอัน" ในภาษาฟินิเชีย ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก และเรียก "ฟินิเชีย"ในภาษากรีกและภาษาละติน เป็นภาษากลุ่มเซมิติกสาขาคานาอัน ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก บริเวณดังกล่าวปัจจุบันอยู่ในเลบานอนและซีเรีย และอิสราเอลทางตอนเหนือ เป็นที่รู้จักจากจารึกต่างๆในไบบลอสและหนังสือที่เขียนด้วยภาษาต่างๆ จารึกภาษาฟินิเชียเก่าสุดพบในไบบลอส อายุราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งพบทั้งใน เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล ไซปรัส เกาะซิซิลี ตูนีเซีย โมร็อกโก แอลจีเรีย มอลตา และที่อื่นๆในคาบสมุทรไอบีเรีย การถอดความภาษาฟินิเชียใช้ความรู้ภาษาฮีบรูเป็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดิโน

ษาลาดิโน (Ladino) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาสเปนมาก โดยเฉพาะภาษาสเปนโบราณ (คัสติลเลียน) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาลาดิโนกับภาษาสเปน เทียบได้กับภาษายิดดิชกับภาษาเยอรมัน ผู้พูดส่วนใหญ่เป็นชาวยิวเซฟาร์ดิก ตัวอย่างเช่น ชาวยิวในเทสซาโลนิกี อิสตันบูล และอิสมีร์ โครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีบางส่วนมาจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษาสลาฟใต้ ขึ้นกับว่าผู้พูดอาศัยอยู่ที่ใด ภาษาลาดิโนมีเสียงที่มาจากภาษาสเปนโบราณที่กลายเป็นเสียงจากเพดานอ่อน /x/ ในภาษาสเปนสมัยใหม่ ภาษาลาดิโนมีหน่วยเสียง /x/ ที่ได้จากภาษาฮีบรู ในบางบริเวณมีการสร้างคำที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น muestro จาก nuestro (ของเรา) โครงสร้างทางไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีการเพิ่มส่วนจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษากลุ่มสลาฟใต้ ขึ้นกับบริเวณที่ใช้พูด ภาษาลาดิโนเป็นภาษาที่ใกล้ตายเนื่องจากผู้พูดเป็นภาษาแม่มีอายุมากและไม่ถ่ายทอดภาษาให้รุ่นต่อไป ชุมชนชาวยิวเซฟาร์ดิกในประเทศต่างๆมีความพยายามฟื้นฟูภาษานี้โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับดนตรี สาเหตุที่ทำให้เป็นภาษาที่ใกล้ตายอีกอย่างหนึ่งคือการกลมกลืนไปกับภาษาสเปนสมัยใหม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาลาดิโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสูญแล้ว

กคำนิยามจำนวนหนึ่ง ภาษาสูญแล้ว (extinct language) คือภาษาที่ปัจจุบันไม่มีผู้พูดแล้ว ในขณะที่ ภาษาตายแล้ว (dead language) คือภาษาที่ไม่มีผู้พูดในฐานะภาษาหลักแล้ว โดยปกติแล้วกระบวนการที่จะนำไปสู่การเป็นภาษาสูญนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อภาษาหนึ่ง ๆ ได้ผ่านการตายของภาษาในระหว่างที่ถูกแทนที่ด้วยภาษาอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาคอปติกที่ถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับ และภาษาชนพื้นเมืองอเมริกันจำนวนมากที่ถูกแทนที่ด้วยภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน หรือโปรตุเกส ในหลายกรณี ภาษาสูญแล้วยังถูกใช้เพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ กฎหมาย หรือศาสนาเช่น ภาษาสลาโวนิกคริสตจักรโบราณ อเวสตะ คอปติก ทิเบตโบราณ กีเอซ ลาติน บาลี สันสกฤต นั้นเป็นภาษาในภาษากลุ่มสูญแล้วจำนวนมากที่ถูกใช้ในฐานะภาษาทางศาสน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาสูญแล้ว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคลาสสิก

ษาคลาสสิก (classical language) หมายถึง ภาษาเก่าแก่ที่เป็นรากฐานของภาษาอื่น ๆ เช่น ภาษาสันสกฤต ภาษาละติน แม้ปัจจุบันจะไม่ได้มีการใช้สนทนากัน แต่ก็ถือว่ามีคุณค่าในทางวรรณคดี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโบราณ

ษาโบราณ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสกิโม

ษาเอสกิโม (Inuit languages; เอสกิโม: ไฟล์:nm_inuit.gif) เป็นภาษาเฉพาะของเอสกิโมเชื้อชาติสเปนอยู่ส่วนเหนือสุดของทวีปอเมริกาเหนือ,กรีนแลนด์,ประเทศแคนาดา,อะแลสกา ฯลฯ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาเอสกิโม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษี

ษี (tax, มาจากภาษาละติน taxo, "ข้าประเมิน") เป็นเงินหรือสิ่งของอื่นที่รัฐหรือสถาบันปฏิบัติหน้าที่เทียบเท่ารัฐเรียกเก็บจากผู้เสียภาษี ซึ่งอาจเป็นปัจเจกบุคคลหรือนิติบุคคลก็ได้ กฎหมายมีบทลงโทษผู้ที่ไม่เสียภาษี ระบอบต่ำกว่ารัฐ (subnational entity) จำนวนมากยังมีการเรียกเก็บภาษีเช่นกัน ภาษีประกอบด้วยภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และอาจจ่ายเป็นรูปตัวเงินหรือการใช้แรงงานที่เทียบเท่า (มักเป็นการใช้แรงงานที่ไม่มีค่าตอบแทน แต่ไม่เสมอไป) ภาษีอาจนิยามได้ว่า "ภาระที่เป็นตัวเงินซึ่งตกแก่ปัจเจกบุคคลหรือเจ้าของทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนรัฐบาล เป็นการชำระซึ่งเรียกเอาจากองค์การใช้อำนาจนิติบัญญัติ"Black's Law Dictionary, p. 1307 (5th ed. 1979).

ใหม่!!: ภาษาละตินและภาษี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยบราวน์

มหาวิทยาลัยบราวน์ รัฐโรดไอแลนด์ มหาวิทยาลัยบราวน์ (Brown University) เป็นหนึ่งในกลุ่มมหาวิทยาลัยไอวีลีก ตั้งอยู่ที่เมืองโพรวิเดนซ์ รัฐโรดไอแลนด์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2307 ในชื่อ "วิทยาลัยโรดไอแลนด์" นับเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ลำดับที่ 3 ของ นิวอิงแลนด์, ลำดับที่ 7 ของสหรัฐฯ เป็นมหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาโดยไม่จำกัดเชื้อชาติศาสนา และเป็นมหาวิทยาลัยแรกในกลุ่มไอวีลีกที่สอนสาขาวิศวกรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2390).

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยบราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยบริสตอล

มหาวิทยาลัยบริสตอล (University of Bristol) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่ ตั้งในใจกลางเมือง (และเคาน์ตี) บริสตอล สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงด้านแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และมีนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลหลายท่าน อาทิ พอล ดิแรก ฮันส์ เบเทอ ฯลฯ มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยอิฐแดง (Red brick university) ร่วมกับมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งในยุคเดียวกัน และเป็นสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยในสหราชอาณาจักร ยิ่งไปกว่านั้น มหาวิทยาลัยได้เป็นสมาชิกกลุ่มโคอิมบรา ซึ่งเป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาโบราณในยุโรปอีกด้วย มหาวิทยาลัยบริสตอลมีประวัติการก่อตั้งยาวนาน และมีชื่อเสียงทางวิชาการอย่างยิ่ง ซึ่งจะเห็นได้จากจำนวนสมาชิกราชบัณฑิตยสถานด้านแพทยศาสตร์ 21 คน ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถานอังกฤษ 13 คน สมาชิกราชวิทยสมาคม ถึง 40 คน อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยมีจำนวนนักศึกษาน้อยกว่ามหาวิทยาลัยเวสต์ออฟอิงแลนด์ซึ่งเป็นสถาบันข้างเคียง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยบริสตอล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพิตต์สเบิร์ก

มหาวิทยาลัยพิตต์สเบิร์ก มหาวิทยาลัยพิตต์สเบิร์ก (University of Pittsburgh) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ในเมืองพิตต์สเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยพิตต์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ (อังกฤษ: The University of Glasgow; ละติน: Universitatis Glasguensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1451 เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในสามมหาวิทยาลัยในเมืองกลาสโกว์ สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงในด้านการสอนและการวิจัย และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสก็อตแลนด์ และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ถูกก่อตั้งขึ้นอาณัติจากพระสันตปาปานิโคลัสที่ห้าโดยพระประสงค์ของพระเจ้าเจมส์ที่สอง เพื่อให้สก็อตแลนด์มีมหาวิทยาลัยสองแห่งเช่นเดียวกันกับอังกฤษที่มีอ็อกซฟอร์ดและเคมบริดจ์ ซึ่งทำให้กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดอันดับสี่ในสหราชอาณาจักร และยังเป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากเป็นอันดับสี่ในบริเทนรองจากอ็อกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และเอดินเบอระ อีกด้วย มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นมีสัดส่วนนักเรียนต่างชาติค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ โดยประมาณครึ่งหนึ่งเป็นคนในกลาสโกว์เอง อีก 40% เป็นนักเรียนจากเมืองต่างๆภายใน UK มีเพียงประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ที่มาจากต่างชาติ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของ UK มาหลายศตวรรษ เช่นเดียวกับเอดินเบอระและเซนต์แอนดรูส์ กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกใน UK ที่ก่อตั้งภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยนอกเขตลอนดอนที่มีคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เมืองกลาสโกว์นั้นมีอัตราส่วนวิศวกรต่อประชากรสูงมากเป็นอันดับสามของโลก มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ได้ให้กำเนิดนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกเป็นจำนวนมาก อาทิ ลอร์ดเคลวิน – หนึ่งในผู้พัฒนากฎข้อสองของเทอร์โมไดนามิคส์ และภายหลังได้รับเกียรติให้นำชื่อไปให้เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิเคลวิน เจมส์ วัตต์ – ผู้พัฒนากลจักรไอน้ำจนก่อให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักร จอห์น โลกี แบรด – ผู้ประดิษฐ์โทรทัศน์ โจเซฟ ลิสเตอร์ – หนึ่งในผู้ริเริ่มการผ่าตัดแบบสมัยใหม่ และ โจเซฟ แบลค – นักเคมีที่มีผลงานมากมายรวมไปถึงการค้นพบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ยังมีชื่อเสียงทางด้านสังคมศาสตร์ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าด้านวิศวกรรมศาสตร์เลยแม้แต่น้อย กลาสโกว์นั้นถือได้ว่าเป็นจุดกำเนิดของยุคแสงสว่างอย่างแท้จริง ศาสตราจารย์ฟรานซิส ฮัทชิสัน แห่งมหาวิทยาลัยกลาสโกว์เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utilitarian principle) ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฎีพื้นฐานภายใต้เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Economics) อดัม สมิธ ศิษย์เก่าที่โด่งดังที่สุดของมหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้ผสมผสานทฤษฎีนี้ผนวกกับแนวคิดของเดวิด ฮูม (นักปรัชญาชาวเอดินเบอระ) ก่อให้เกิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ เศรษฐศาสตร์การเมือง และทฤษฎีการค้าเสรี ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอย่างมหาศาลมาจนถึงยุคปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยลัฟบะระ

มหาวิทยาลัยลัฟบะระ (Loughborough University, อักษรท้ายนาม: Lough) เป็นมหาวิทยาลัยขนาดเล็กตั้งที่ตำบลลัฟบะระ แคว้นเลสเตอร์เชอร์ และมีวิทยาเขตย่อยในกรุงลอนดอน ตั้งเมื่อ..2509 โดยยกฐานะจากวิทยาลัยเทคโนโลยีชั้นสูงที่ตั้งมาแต..2452 History (เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยบรูเนลลอนดอน) ต่อมาในแปี..2539 ได้ตัดคำ เทคโนโลยี ออกจากชื่อมหาวิทยาลัยเพื่อแสดงถึงจำนวนสาขาวิชาที่มากขึ้น มหาวิทยาลัยฯ มีชื่อเสียงทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยลัฟบะระ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน

มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน (Humboldt-Universität zu Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงเบอร์ลิน เดิมทีเรียกว่า มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยทัฟส์

ัญลักษณ์มหาวิทยาลัยทัฟส์ 200px มหาวิทยาลัยทัฟส์ (Tufts University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง เมดฟอร์ด บริเวณชานเมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2395 (ค.ศ. 1852) โดย ชาลส์ ทัฟส์ ในชื่อ "วิทยาลัยทัฟส์" (Tufts College) โดยบริจาคที่ดินของตัวเองสร้างวิทยาลัยบริเวณวอลนัตฮิลล์จุดที่สูงสุดที่เมืองเมดฟอร์ด ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยทัฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน

University College London (UCL) เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ ตั้งอยู่ ณ​ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ยังเป็นสถาบันหนึ่งในสังกัดมหาวิทยาลัยกรุงลอนดอน UCL ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง และมีจำนวนนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาที่ลงทะเบียนปัจจุบันมากที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1826 ในฐานะมหาวิทยาลัยลอนดอน และ UCL ได้ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในกรุงลอนดอน และมหาวิทยาลัยแห่งแรกในประเทศอังกฤษที่รับนักศึกษาเข้าเรียนโดยไม่คำนึงถึงศาสนา และเพศของผู้เข้าเรียน โดยให้สิทธิสตรีเทียบเท่ากับบุรุษ ในปี 1836 UCL ได้เปลี่ยนฐานะเป็นวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยลอนดอนซึ่งเกิดจากการรวมตัวของวิทยาลัยอื่นๆในกรุงลอนดอนเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยเดียวกัน วิทยาเขตหลักของ UCL ตั้งอยู่ที่ Bloomsbury ในพื้นที่ลอนดอนส่วนกลาง Central London นอกจากนี้ยังมีสถาบันต่างๆ และโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในที่ต่างๆ ทั่วกรุงลอนดอนที่เป็นของ UCL รวมไปถึงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในวิทยาเขตใน Adelaide, ออสเตรเลีย และ Doha, กาต้าร์ UCL เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการแข่งขันสูงในการสมัครเข้าศึกษา และได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง ทั้งในระดับประเทศ และในระดับนานาชาติ ศิษย์เก่าของ UCL ที่เป็นบุคคลสำคัญ เช่น ผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์ และผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างของ DNA รวมไปถึงผู้ก่อตั้งกาน่า, ญี่ปุ่นสมัยใหม่ และไนจีเรีย ผู้ค้นพบแก๊สมีตระกูล ถึงปัจจุบัน UCL มีอาจารย์ ศาสตราจารย์ และนักวิจัย ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบล รวมทั้งสิ้น 29 ท่าน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยซันเดอร์แลนด์

มหาวิทยาลัยซันเดอร์แลนด์ (University of Sunderland) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดเล็กในสหราชอาณาจักร ตั้งที่เมืองซันเดอร์แลนด์ จังหวัดไทน์แอนด์เวียร์ ก่อตั้งขึ้นจากวิทยาลัยเทคนิคซันเดอร์แลนด์ มหาวิทยาลัยจัดเป็นมหาวิทยาลัยใหม่ (New Universities) ที่มีต้นกำเนิดจากวิทยาลัยเทคนิคเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยหลายแห่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยซันเดอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนอร์ทัมเบรีย

มหาวิทยาลัยนอร์ทัมเบรีย นิวคาสเซิล (Northumbria University Newcastle) หรือเรียกทั่วไปว่า มหาวิทยาลัยนอร์ทัมเบรีย (Northumbria University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดเล็ก มีความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบ การจัดการ และสาขาวิชาซึ่งต้องปฏิบัติ มหาวิทยาลัยยกฐานะจากวิทยาลัยเทคนิคนิวคาสเซิล เมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยนอร์ทัมเบรีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม

มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม (University of Nottingham) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่มากในสหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงด้านแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ตั้งที่เมืองนอตทิงแฮม มณฑลนอตทิงแฮมเชอร์ นอกจากที่ตั้งในเมืองนอตทิงแฮมแล้ว มหาวิทยาลัยยังขยายการสอนไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศจีนอีกด้วย มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮมก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์

มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ (University of Manchester) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่มาก มีชื่อเสียงด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และแพทยศาสตร์ ตั้งที่เมืองแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร โดยการรวมกันระหว่างมหาวิทยาลัยวิกตอเรียแมนเชสเตอร์ และมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแมนเชสเตอร์ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมีนักศึกษาจำนวนมากที่สุดในสหราชอาณาจักรทั้งจำนวนรวมทุกระดับ ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา (ไม่นับมหาวิทยาลัยเปิด (Open University)) นอกจากนี้ยังเป็นที่นิยมอย่างมากในบรรดานักศึกษานอกสหภาพยุโรปอีกด้วย มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ และบูรพสถาบันทั้งสอง เป็นสถานที่ทำงานของนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลจำนวนหลายท่าน อาทิ เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด โจเซฟ จอห์น ทอมสัน นีลส์ บอร์ เจมส์ แชดวิก ฯลฯ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

ในตัวมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมืองเบิร์กลีย์ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซานฟรานซิสโก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1868) และเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดากลุ่มมหาวิทยาลัยในแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มีชื่อเสียงในหลากหลายด้านเช่น ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม วิทยาศาสตร์ รวมถึงมีการค้นพบไซโคลตรอน (cyclotron) โดย เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ และมีการค้นพบธาตุเคมี 17 ธาตุใหม่ การพัฒนาอินเทอร์เน็ต การพัฒนายูนิกซ์ BSD และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลกลำดับที่ 4 สำหรับการจัดอันดับของ ของปี 2012 และ อันดับที่ 5 สำหรับการจัดมหาวิทยาที่มีชื่อเสียงของ ของปี 2013 สำหรับนักศึกษาที่อาศัยอยู่ใน California จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 12,876 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ส่วนนักศึกษาปริญญาตรีที่มาจากที่อื่นจะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 35,754 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์

มหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ หมายถึงมหาวิทยาลัยในสกอตแลนด์ที่ก่อตั้งในช่วงยุคกลาง คือก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประกอบด้วย.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลเดิน

มหาวิทยาลัยไลเดิน (Leiden University ย่อว่า LEI; Universiteit Leiden) ตั้งอยู่ที่เมืองไลเดิน เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศเนเธอร์แลนด์ มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยไลเดิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชฟฟีลด์

มหาวิทยาลัยเชฟฟีลด์ (University of Sheffield) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยในสหราชอาณาจักร ตั้งที่ใจกลางเมืองเชฟฟีลด์ อันมีฐานะเป็นอำเภอในจังหวัดเซาท์ยอร์กเชอร์ ถือกำเนิดจากการรวมกันระหว่างวิทยาลัยอุดมศึกษาเชฟฟีลด์ และวิทยาลัยแพทย์เชฟฟีลด์ มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในสถาบันอุดมศึกษาสองแห่งที่มีในเมือง โดยอีกแห่งที่มีจำนวนนักศึกษามากกว่า คือ มหาวิทยาลัยเชฟฟีลด์แฮลลัม (Sheffield Hallam University) ซึ่งตั้งห่างออกไปทางตะวันออกราว 500 เมตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยเชฟฟีลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่ ตั้งที่เมืองเบอร์มิงแฮม อันมีสถานะเป็นอำเภอในจังหวัดเวสต์มิดแลนด์ มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยอิฐแดง (Red Brick Universities) และเป็นมหาวิทยาลัยอิฐแดงแห่งแรก ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน

มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน (University of Göttingen) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาวิทยาลัยเกออร์ก-เอากุสต์แห่งเกิททิงเงิน (Georg-August-Universität Göttingen) เป็นมหาวิทยาลัยในเมืองเกิททิงเงิน รัฐนีเดอร์ซัคเซิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเลสเตอร์

มหาวิทยาลัยเลสเตอร์ (University of Leicester) เป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่เน้นวิจัยในเมืองเลสเตอร์ แคว้นเลสเตอร์เชอร์ สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ. 2500 โดยยกฐานะจากวิทยาลัยอุดมศึกษาเลสเตอร์ เลสเตอร์เชอร์ และรัตแลนด์ซึ่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2464 มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในฐานะผู้คิดค้นการพิมพ์ลายนิ้วมือพันธุกรรมจนนำไปสู่การค้นพบโครงพระบรมอัฐิของสมเด็จพระราชาธิบดีริชาร์ดที่ 3 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในที่ร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยเลสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทกซัส อาร์ลิงตัน

(Latin for "Cultivated mind is the guardian genius of democracy") | established.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยเทกซัส อาร์ลิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคนต์

มหาวิทยาลัยเคนต์ (University of Kent) (เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยเคนต์ ณ แคนเทอเบอรี) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดกลาง ตั้งที่นอกเมืองแคนเทอร์เบอรี จังหวัดเคนต์ เปิดสอนด้านการจัดการ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และกฎหมาย มหาวิทยาลัยเคนต์ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2508 จึงถือเป็นมหาวิทยาลัยใหม่ (new universities) หรือมหาวิทยาลัยกระจก (plate glass universities) ร่วมกับมหาวิทยาลัยอื่นอีกหลายแห่ง มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกเครือข่ายแซนแทนเดอร์, สมาคมมหาวิทยาลัยเครือจักรภพ และยูนิเวอร์ซิตียูเค (Universities UK) และถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยใหม่ 100 อันดับแรก รวมถึงมีคะแนนความพอใจของนักศึกษาเกินกว่า 90% จากแบบสำรวจนักศึกษาแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตัน

มหาวิทยาลัยเซาท์แฮมป์ตัน (University of Southampton, ชื่อย่อ UoS หรือ Soton) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยในสหราชอาณาจักร มีที่ตั้งในเมืองเซาท์แฮมป์ตัน และเมืองวินเชสเตอร์ จังหวัดแฮมป์เชอร์ มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยอันดับต้นของสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยเซาท์แฮมป์ตันถือกำเนิดจากสถาบันฮาร์ตเลย์ (Hartley Institute) ซึ่งตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาหิงคุ์

ลักษณะขวดมหาหิงคุ์ที่ใช้ประกอบอาหาร มหาหิงคุ์ (हींग. ถอดรูปได้เป็น หีค หรือ หีงคะ ชื่อภาษาอังกฤษคือ asafoetida หรือเรียกสั้น ๆ ว่า hing) เป็นยางที่หลั่งจากพืชหลายชนิดในสกุลมหาหิงคุ์ (Ferula) ซึ่งมีถิ่นกำเนิดในประเทศอิหร่าน อัฟกานิสถาน และนิยมเพาะปลูกใกล้กับประเทศอินเดีย มหาหิงคุ์มีกลิ่นเหม็นฉุน รสเผ็ดร้อน นิยมใช้ทำยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อในเด็ก นอกจากนี้ยังใช้เป็นยาระบาย ยาแก้ไข้หวัด และใช้ผสมอาหารได้อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหาหิงคุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหานวดารา

ำลองจากศิลปินแสดงให้เห็นมหานวดารา SN 2006gy ที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศรังสีเอกซ์จันทราจับภาพได้ อยู่ห่างจากโลก 240 ล้านปีแสง มหานวดารา นิพนธ์ ทรายเพชร, อารี สวัสดี และ บุญรักษา สุนทรธรรม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมหานวดารา · ดูเพิ่มเติม »

มะลิ

มะลิ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถาในวงศ์มะลิ มีประมาณ 200 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแถบทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะดอกและกลิ่นมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดหรือพัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมะลิ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ บอร์น

มักซ์ บอร์น (Max Born, 11 ธันวาคม ค.ศ. 1882 - 5 มกราคม ค.ศ. 1970) เป็นนักฟิสิกส์ผู้มีส่วนพัฒนาทฤษฎีด้านกลศาสตร์ควอนตัม และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมักซ์ บอร์น · ดูเพิ่มเติม »

มามโบ

มามโบ (Mambo ออกเสียงแบบอเมริกัน /ˈmɑmboʊ/ แบบบริติช /ˈmæmbəʊ/) เป็นชื่อจังหวะดนตรีและการเต้นรำของชาวคิวบา มีความหมายว่า "conversation with the gods" มาจากชื่อหมอผีลัทธิวูดูในเฮติ แถบตะวันตกของทวีปแอฟริกา ซึ่งย้ายถิ่นฐานมาอยู่แถบทะเลแคริบเบียนพร้อมกับการค้าทาสตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ดนตรีมามโบสมัยใหม่ เริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1938 พร้อมกับจังหวะการเต้นที่เรียกว่า "มามโบ" พัฒนามาจากรูปแบบการเต้นแบบพื้นเมืองแอฟริกา แต่งโดย Orestes López และ Cachao López พี่น้องนักดนตรีชาวคิวบา ผู้ได้รับการยกย่องเป็น ผู้ให้กำเนิดดนตรีมามโบ โดยผสมผสานดนตรีแอฟริกัน-คิวบัน กับดนตรีจังหวะสวิงของอเมริกัน มีทั้งจังหวะเร็ว และช้า ดนตรีมามโบได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เมื่อเปเรซ ปราโด (Perez Prado) นักเปียโนและนักแต่งเพลงชาวคิวบา นำดนตรีแนวนี้มาเล่นในคาสิโนในฮาวานา เมื่อเปเรซ ปราโด ย้ายไปอยู่ที่เม็กซิโกในปี ค.ศ. 1948 เขาเริ่มบันทึกแผ่นเสียงในสังกัด RCA Victor และทำให้ดนตรีมามโบเป็นที่นิยมในวงกว้าง และข้ามฝั่งไปในสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1951 เปเรซ ปราโด ได้รับฉายาว่าเป็น "ราชาแห่งมามโบ" (หรือ Mambo King) ลักษณะเด่นของดนตรีมามโบของเปเรซ ปราโด คือ ใช้แซกโซโฟนให้จังหวะ และใช้เครื่องเป่าทองเหลือง (ทรอมโบนและทรัมเปต)ให้ทำนอง มีเปียโน กลอง และเครื่องเคาะเป็นส่วนประกอบ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมามโบ · ดูเพิ่มเติม »

มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา

อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย (Erzherzogin Maria Lucia von Österreich., Archduchess Maria Lucia of Austria, Marie Louise d'Autriche, Maria Luisa d'Austria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลูโดวิก้า ลีโอโพลดีน่า ฟรานซิสก้า เธเรเซีย โยเซฟา ลูเซีย, (Maria Ludovika Leopoldina Francisca Theresia Josepha Lucia von Habsburg-Lorraine (Bonaparte)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย ก่อนที่จะทรงอภิเษกสมรสกับจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของจักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ของนโปเลียน จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส (impératrice Marie Louise des Français) และเมื่อปีพ.ศ. 2360 พระองค์ทรงเป็น ดัชเชสแห่งปาร์มา ปิอาเซนซ่า และกูแอสตาลล่า (Maria Luigia, Duchessa di Parma, Piacenza, e Guastalla) นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีมารี อังตัวเนตแห่งฝรั่งเศสอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก

มาร์ก เอลเลียต ซักเคอร์เบิร์ก (Mark Elliot Zuckerberg) เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1984 ที่ ประเทศอเมริกา เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก เขาร่วมก่อตั้งเฟสบุ๊กร่วมกับเพื่อนอีก 4 คน ขณะกำลังศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา นิตยสารไทม์ ได้ให้เขาเป็นบุคคลแห่งปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ลูเทอร์

มาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther) (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2026 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088) เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกายลูเทอแรนซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมาร์ติน ลูเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาตุฆาต

มาตุฆาต (matricide) หมายถึง การฆ่ามารดาของตัวเอง คำว่า "มาตุฆาต" มาจากการรวมกันของ 2 คำคือ มาตุ (แม่) และ ฆาต (ฆ่า) สำหรับคำในภาษาอังกฤษ matricide มาจากการรวมกันของคำในภาษาละติน mater (แม่) และคำปัจจัย -cida (ฆ่า) ในทางกฎหมาย การทำมาตุฆาตมีโทษถึงประหารชีวิตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 และเป็น 1 ใน อนันตริยกรรม (กรรมที่หนักที่สุด) 5 อย่างของพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมาตุฆาต · ดูเพิ่มเติม »

มินิ (แก้ความกำกวม)

มินิ (mini) เป็นคำอุปสรรคภาษาละติน มีความหมายว่า "เล็กๆ" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมินิ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์

อัลคอวาริซมีย์ บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต ในโอกาสระลึกถึงชาตกาลครบรอบ 1,200 ปี อะบู อับดัลลาหฺ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (Abū ʿAbdallāh Muḥammad ibn Mūsā al-Khwārizmī) (ค.ศ. 780-ค.ศ. 850) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ นักภูมิศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นนักเขียน และนักแปล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มูรมูร

ในปิศาจวิทยา มูรมูร (Murmur) เป็นดยุกหรือเอิร์ลแห่งนรกผู้มีอสูรใต้บังคับบัญชา 30 กองและเป็นปิศาจตนที่ 54 ในบท อาร์สโกเอเทีย จากหนังสือกุญแจย่อยของโซโลมอน ชื่ออื่นๆของมูรมูรก็คือ มูรมุส (Murmus) และ มูรมุกซ์ (Murmux) มูรมูรจะสอนปรัชญาและสามารถเรียกวิญญาณของคนที่ตายไปแล้วให้ปรากฏต่อผู้อัญเชิญเพื่อถามคำถามต่างๆได้ตามต้องการ มูรมูรจะปรากฏตัวเป็นทหารผู้มีกริฟฟอนหรือแร้งเป็นพาหนะ ก่อนมูรมูรปรากฏตัวนั้นจะมีทูตเป่าแตรทรัมเป็ตนำมาด้วยสองตน ชื่อมูรมูรนั้นมาจากภาษาละติน หมายถึงเสียงกระซิบ เสียงพึมพำ หรือ เสียงแตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมูรมูร · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

นักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเดสิเดอริอัส อีราสมัส ราว ค.ศ. 1523 เขียนโดยฮันส์ โฮลไบน์ (ผู้ลูก) มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance humanism) คือขบวนการทางปัญญาของยุโรปซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญตัวหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เริ่มขึ้นที่ฟลอเรนซ์ในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ขบวนการมนุษยนิยมเริ่มขึ้นเมื่อผู้คงแก่เรียนชาวยุโรปเริ่มพบวรรณกรรมภาษาลาตินและกรีกกันขึ้นมาใหม่ ในระยะแรกนักมนุษยนิยมก็เพียงแต่เป็นปัญญาชนหรือครูที่สองวรรณกรรมภาษาลาติน แต่เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 มนุษยนิยมก็พัฒนาขึ้นมาเป็นหลักสูตรการศึกษา — “หลักสูตรการศึกษามนุษยนิยม” (studia humanitatis) — ที่ประกอบด้วยการศึกษาไวยากรณ์, วาทศาสตร์, ปรัชญาจริยธรรม, กวีนิพนธ์ และประวัติศาสตร์ จากงานที่เขียนโดยผู้ประพันธ์เป็นภาษาลาตินและกรีก นักมนุษยนิยมมักจะเป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการปรัชญาที่นิยมกันก่อนหน้านั้นที่เรียกว่าอัสสมาจารย์นิยม (Scholasticism) ซึ่งเป็น “ผู้ร่ำเรียน” (schoolmen) ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในอิตาลี, ปารีส, อ๊อกซฟอร์ด และอื่นๆ การศึกษาของกลุ่มอัสสมาจารย์นิยมพัฒนามาจากความสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์และปรัชญาของกรีกโบราณและอาหรับยุคกลาง ตัวอย่างของผู้นำในกลุ่มนี้ก็ได้แก่ทอมัส อควีนาสผู้ที่พยายามสังเคราะห์ปรัชญาของอริสโตเติลในบริบทของลัทธิคาทอลิก แต่แตกต่างจากหลักของมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ก็ตรงที่นักอัสสมาจารย์นิยมมิได้พึ่งวรรณกรรม หรือ ตำราประวัติศาสตร์จากสมัยกรีกโรมันเท่ากันกับเมื่อมาถึงสมัยมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ การกลับมาพบและกลับมาให้ความสนใจกับวรรณกรรม และ ตำราประวัติศาสตร์, วาทศิลป์ และ เทวปรัชญาที่ยังไม่ได้รับการศึกษาโดยนักปรัชญาอัสสมาจารย์นิยม ทำให้มนุษยนิยมเรอเนสซองซ์เปลี่ยนแนวทางทางวัฒนธรรมและทางปรัชญาของยุโรปอย่างสิ้นเชิง ทางด้านปรัชญานักมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์มักจะเน้นบทเขียนของเพลโต ที่บางชิ้นนำกลับมาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่เริ่มเสื่อมโทรมลงเป็นครั้งแรก และให้ความสนใจน้อยกว่าในปรัชญาของอริสโตเติลที่ได้รับการศึกษาอย่างลึกซึ้งแล้วโดยนักอัสสมาจารย์นิยมในระหว่างยุคกลางตอนกลางแล้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาละตินและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัติภังค์

ัติภังค์ หรือ เครื่องหมายขีด (hyphen) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นขีดแนวนอนสั้นๆ กลางบรรทัด ยาวไม่เกิน 2 ตัวอักษร หากยาวกว่านั้นจะเรียกว่ายัต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและยัติภังค์ · ดูเพิ่มเติม »

ยิบรอลตาร์

รอลตาร์ (Gibraltar) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับจุดใต้สุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ในบริเวณช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 6.5 ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสเปน และมีประชากรประมาณ 32,000 คน สถานที่ที่มีชื่อเสียงของยิบรอลตาร์คือ โขดหินยิบรอลตาร์ (Rock of Gibraltar) ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาแห่งหนึ่งของโลก เดิมทียิบรอลตาร์เคยเป็นดินแดนหนึ่งของราชอาณาจักรสเปน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคครีเทเชียส

ูแรสซิก←ยุคครีเทเชียส→ยุคพาลีโอจีน ยุคครีเทเชียส (Cretaceous) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ยุคครีเทเชียสอยู่ถัดจากยุคจูแรสซิก คือประมาณ 145.5 ± 4.0 ล้านปีก่อน และอยู่ก่อนหน้ายุคพาลีโอจีน หรือประมาณ 65.5 ล้านปีก่อนถึง 23.03 ล้านปีก่อน ถือเป็นยุคที่ยาวนานที่สุดและกินเวลาเกือบครึ่งหนึ่งของมหายุคมีโซโซอิก จุดสิ้นสุดของยุคครีเทเชียสเป็นรอยต่อระหว่างมหายุคมีโซโซอิกกับมหายุคซีโนโซอิก ชื่อ ครีเทเชียส มาจากภาษาลาติน creta แปลว่าชอล์ก ยุคนี้กำหนดโดยนักธรณีวิทยาชาวเบลเยียม ฌ็อง โดมาลิวส์ ดัลลัว (Jean d'Omalius d'Halloy) เมื่อ ค.ศ. 1822 โดยอาศัยชั้นหินในแอ่งปารีส และตั้งชื่อดังกล่าวจากปริมาณชาล์ก ซึ่งเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล โดยเฉพาะค็อคโคลิท ที่พบในยุคครีเทเชียสตอนบน ในทวีปยุโรปและบนเกาะอังกฤษ ยุคครีเทเชียสเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของไดโนเสาร์ และเมื่อปลายยุคครีเทเชียสเมื่อ 65 ล้านปีก่อน เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ทำให้สิ่งมีชีวิตถึง 94% สูญพันธุ์ ซึ่งรวมถึงไดโนเสาร์ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและยุคครีเทเชียส · ดูเพิ่มเติม »

ยูโทเปีย (หนังสือ)

ูโทเปีย (Utopia) เป็นชื่อหนังสือของเซอร์ทอมัส มอร์ ในปี ค.ศ. 1516 ซึ่งเขียนเป็นภาษาละติน เป็นงานเขียนร้อยแก้วพรรณนาถึงสังคมบนเกาะในจินตนาการแห่งหนึ่ง เล่าเรื่องเกี่ยวกับศาสนา ความเชื่อ ลักษณะทางสังคมและการปกครองบนเกาะแห่งนั้น ชื่อของเกาะนำมาจากคำภาษากรีกว่า ou (οὐ), "ไม่" และ tópos (τόπος), "สถานที่" กับคำ suffix ว่า -ía (-ία) ได้เป็นคำว่า Outopía (Οὐτοπία; หรือในภาษาละตินว่า Ūtopia) มีความหมายว่า "ดินแดนที่ไม่มีจริง" น่าสังเกตว่า คำว่า ยูโทเปีย ในภาษาอังกฤษ ออกเสียงเหมือนกันทุกประการกับ Eutopia (Εὐτοπία) มีความหมายว่า "สถานที่ดี" ตัวของมอร์เองเคยเขียนไว้ในคำแนบของหนังสือเขาว่า Wherfore not Utopie, but rather rightely my name is Eutopie, a place of felicitie (ไม่ใช่คำว่า Utopie (ไม่มีจริง) ชื่อที่ถูกต้องของผมคือ Eutopie ดินแดนที่น่าชื่นชมยินดี) การตีความชื่อนี้ก็คือ ยูโทเปีย เป็นสังคมอันแสนสมบูรณ์แบบ แต่มันก็ไม่มีทางจะไปถึงได้ อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปแล้วว่า สังคมในงานเขียนของมอร์ไม่ใช่ "สังคมสมบูรณ์แบบ" ของเขา ทว่าเขาเพียงแต่สร้างภาพของสังคมที่ตรงกันข้ามกันระหว่างดินแดนในจินตนาการซึ่งมีแนวคิดการปกครองที่ไม่เหมือนใคร กับการเมืองอันยุ่งเหยิงวุ่นวายในยุคสมัยของเขา เพื่อเป็นโครงร่างสำหรับการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับสภาพสังคมกันต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและยูโทเปีย (หนังสือ) · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟ (สกุล)

thumb ยีราฟ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Giraffa) เป็นสกุลหนึ่งของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Giraffidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีลักษณะเด่น คือ เป็นสัตว์ที่ตัวสูง ขายาว ลำคอยาว มีเขา 1 คู่ ตัวมีสีเหลืองและสีน้ำตาลเข้มเป็นลาย มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ตัวผู้มีความสูง 4.8 ถึง 5.5 เมตร (16-18 ฟุต) และมีน้ำหนักถึง 900 กิโลกรัม (2,000 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดและความสูงน้อยกว่าเล็กน้อย จัดเป็นสัตว์บกที่มีความสูงที่สุดในโลก ยีราฟ มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ไม่ผลัดเขา ที่เขามีขนปกคลุมอยู่ เขาของยีราฟเป็นสิ่งแสดงถึงความแตกต่างระหว่างเพศ เขาของยีราฟตัวผู้ด้านบนมีลักษณะตัดราบเรียบและมีความใหญ่อวบกว่า ขณะที่ของตัวเมียจะมีขนสีดำปกคลุมเห็นเป็นพุ่มชัดเจน มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงราว 15-20 ตัว หรือมากกว่านั้น ในทุ่งโล่งร่วมกับสัตว์กินพืชชนิดอื่น ๆ เช่น แอนทิโลป, ม้าลาย หรือนกกระจอกเทศ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3 ปีครึ่ง ตั้งท้องนาน 420-461 วัน ลูกยีราฟหย่านมเมื่ออายุได้ 10 เดือน เมื่อคลอดออกมาแล้วจะสามารถยืนและเดินได้ภายในเวลาไม่นานเหมือนสัตว์กีบคู่ทั่วไป และวิ่งได้ภายในเวลา 2-3 วัน ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 4 เต้า ยีราฟจะเป็นสัดทุก ๆ 14 วัน แต่ละครั้งเป็นอยู่ราว 24 ชั่วโมง มีอายุขัยเฉลี่ย 20-30 ปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและยีราฟ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

รอยเว้าเรเดียส

รอยเว้าเรเดียส (radial notch, lesser sigmoid cavity; ละติน: incisura radialis) เป็นรอยเว้าแคบๆ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่อยู่ทางด้านข้างของโคโรนอยด์ โพรเซส (coronoid process) ซึ่งจะรับกับส่วนต้นของกระดูกเรเดียสเพื่อประกอบเป็นข้อต่อเรดิโออัลนาส่วนต้น (Proximal radioulnar joint) ซึ่งเกี่ยวข้องการการพลิกและการหมุนของปลายแขน รอยเว้านี้มีลักษณะเว้าจากด้านหน้าไปด้านหลัง และมีส่วนยื่นซึ่งให้เป็นจุดเกาะของเอ็นแอนนูลาร์ (annular ligament).

ใหม่!!: ภาษาละตินและรอยเว้าเรเดียส · ดูเพิ่มเติม »

รอยเว้าเซมิลูนาร์

รอยเว้าเซมิลูนาร์ หรือ รอยเว้าโทรเคลียร์ (Semilunar notch, Trochlear notch, Greater sigmoid cavity; ละติน: incisura semilunaris) เป็นรอยเว้าขนาดใหญ่บนกระดูกอัลนา เกิดจากโอเลครานอน โพรเซส (olecranon) และโคโรนอยด์ โพรเซส (coronoid process) และทำหน้าที่เป็นบริเวณรองรับกับโทรเคลียร์ (trochlea) ของปลายกระดูกต้นแขน ประมาณตรงกลางของรอยเว้านี้เป็นรอยขรุขระแบบฟันเลื่อยซึ่งเป็นบริเวณรอยต่อของโอเลครานอนและโคโรนอยด์ โพรเซส รอยเว้านี้เว้าในแนวบนลงล่าง และแบ่งออกเป็นส่วนใกล้กลางและส่วนด้านข้างโดยสันตื้นซึ่งวิ่งจากยอดของโอเลครานอนไปยังยอดของโคโรนอยด์ โพรเซส โดยส่วนใกล้กลางจะมีขนาดใหญ่กว่าและค่อนข้างเว้าในแนวขวาง และส่วนด้านข้างจะนูนในด้านบนและค่อนข้างเว้าในด้านล่าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรอยเว้าเซมิลูนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบ

ระบบ (play storeSystem, าติน systēma, ในภาษากรีก systēma,, ดูเพิ่มเติมได้จากบทความเกี่ยวกับ องค์ประกอบ หรือ "composition") ระบบ คือ ชุดของสิ่งที่มีปฏิสัมพันธ์ หรือ การพึ่งพาซึ่งกันและกัน ของสิ่งที่มีการดำรงอยู่ที่แตกต่างและ อย่างเป็นอิสระ ที่ได้ถูกควบรวมในรูปแบบบูรณาการทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน

ตัวอย่างระบบพิกัดคาร์ทีเซียนที่มีจุด (2,3) สีเขียว, จุด (-3,1) สีแดง, จุด (-1.5,-2.5) สีน้ำเงิน, และจุด (0,0) สีม่วงซึ่งเป็นจุดกำเนิด ในทางคณิตศาสตร์ ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน (Cartesian coordinate system) เป็นระบบที่ใช้กำหนดตำแหน่งของจุดแต่ละจุดบนระนาบโดยอ้างถึงตัวเลข 2 จำนวน ซึ่งแต่ละจำนวนเรียกว่า พิกัดเอกซ์ และ พิกัดวาย ของจุดนั้น และเพื่อที่จะกำหนดพิกัดของจุด จะต้องมีเส้นแกนสองเส้นตัดกันเป็นมุมฉากที่จุดกำเนิด ได้แก่ แกนเอกซ์ และ แกนวาย ซึ่งเส้นแกนดังกล่าวจะมีหน่วยบ่งบอกความยาวเป็นระยะ ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนยังสามารถใช้ได้ในปริภูมิสามมิติ (ซึ่งจะมี แกนแซด และ พิกัดแซด เพิ่มเข้ามา) หรือในมิติที่สูงกว่าอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและระบบพิกัดคาร์ทีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบพ่อปกครองลูก

ปิชาธิปไตย (Paternalism) เป็นคำศัพท์ที่ใช้เรียกลักษณะการปกครองแบบโบราณที่ผู้ปกครองเป็นเสมือน “พ่อ” และประชาชนเปรียบเสมือน “ลูก” ในทางคำศัพท์จะใช้เรียกแทนพฤติกรรมของบุคคล องค์กร หรือการปกครองที่จำกัดสิทธิเสรีภาพและความอิสระของประชาชน ในบางความหมายจะใช้แทนการเรียกระบบสังคมที่จำกัดสิทธิของคนบางกลุ่มและให้คนบางกลุ่มที่เป็นส่วนน้อยของสังคมมีสิทธิพิเศษที่เหนือกว่าคนส่วนใหญ่ หรือใช้เรียกกฎหมายที่เข้ามาจำกัดสิทธิส่วนบุคคลมากเกินไป เช่น กฎหมายห้ามขายสุราและของมึนเมาในวันสำคัญทางศาสนา เป็นต้น ทั้งนี้การแปลคำว่า Paternalism เป็น “ปิตาธิปไตย” เนื่องจาก Paternalism มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินคำว่า Pater หมายถึง พ่อ ซึ่งเมื่อรวมกับคำว่า –ism หมายถึง ลัทธิ ทำให้กลายเป็นคำว่าปิตาธิปไตย แต่ต้องไม่สับสนกับคำว่า Patriarchy หรือ ระบบนิยมชาย ที่หมายถึงระบบสังคมที่ลักษณะบางอย่างแสดงออกถึงการให้คุณค่าความเป็นชายมากกว่าและทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ (Kurian, 2011: 1196).

ใหม่!!: ภาษาละตินและระบบพ่อปกครองลูก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมิสซูรี

รัฐมิสซูรี เป็นรัฐที่อยู่ทางตอนกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา ล้อมรอบด้วยรัฐไอโอวา อิลลินอยส์ เคนทักกี เทนเนสซี อาร์คันซอ โอคลาโฮมา แคนซัส และเนแบรสกา มิสซูรีเป็นรัฐที่มีจำนวนประชากรเป็นอันดับที่ 18 ของประเทศ ประกอบด้วย 114 เคาน์ทีและ 1 เมืองอิสระ เมืองหลวงของรัฐคือ เจฟเฟอร์สัน ซิตี้ เมืองขนาดใหญ่ของรัฐเรียงตามลำดับ คือ เซนต์หลุยส์ แคนซัสซิตี สปริงฟิลด์ และโคลัมเบีย ดั้งเดิมนั้น มิสซูรีเป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศสจากการซื้อหลุยส์เซียนาและต่อมากลายเป็นดินแดนมิสซูรี ส่วนของดินแดนมิสซูรีได้เข้าร่วมเป็นสหพันธ์ลำดับรัฐที่ 24 ในวันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐมิสซูรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมีนัสเชไรส์

รัฐมีนัสเชไรส์ (Minas Gerais) เป็น 1 ใน 26 รัฐของบราซิล เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 และร่ำรวยที่สุดเป็นอันดับ 2 มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับ 4 เมืองหลวงของรัฐคือเมืองเบโลโอรีซอนตี ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของรัฐ รัฐเป็นผู้ผลิตหลักทางด้านกาแฟและนม ของประเทศ ยังมีมรดกสถาปัตยกรรมและศิลปะอาณานิคมในเมืองประวัติศาสตร์อย่างเช่น Ouro Preto, Diamantina, Tiradentes และ Serro ทางทิศใต้ของรัฐเป็นจุดท่องเที่ยว สปาน้ำแร่ อย่างในเมือง Caxambu, São Lourenço, São Thomé das Letras, Monte Verde และมีอุทยานแห่งชาติ Caparaó, Canastra, Ibitipoca และ Aiuruoca ภูมิประเทศของรัฐประกอบด้วยภูเขา หุบเขาและมีพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์อย่างกว้างขวาง ส่วนในเมือง Serra do Cipó, Sete Lagoas, Cordisburgo และ Lagoa Santa มีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญอย่าง ถ้ำและน้ำตก มีถ้ำที่มีชื่อเสียงอยู่ในรัฐนี้มากม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐมีนัสเชไรส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐรีโอเดจาเนโร

รัฐรีโอเดจาเนโร หรือ รัฐรีอูดีจาเนรู (Rio de Janeiro) เป็น 1 ใน 26 รัฐของประเทศบราซิล ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดกับรัฐมีนัสเชไรส์ทางทิศเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับรัฐเอสปีรีตูซันตูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และติดกับรัฐเซาเปาลูทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันออกและใต้ รัฐรีโอเดจาเนโรมีพื้นที่ 43,653 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐรีโอเดจาเนโร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสันตะปาปา

รัฐสันตะปาปา (Papal States; Pontifical States; Stati Pontificii) หรือ รัฐคริสตจักร (State(s) of the Church; Stato Ecclesiastico; Stato della Chiesa; Stati della Chiesa') “รัฐสันตะปาปา” เป็นหนึ่งในรัฐทางประวัติศาสตร์ของอิตาลีตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 จนกระทั่งอิตาลีรวมตัวกันเป็นประเทศเดียวกันในปี ค.ศ. 1861 โดยการนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย (หลังจากนั้นรัฐพระสันตะปาปาก็ยังมีอยู่จนปี ค.ศ. 1870) รัฐสันตะปาปาเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของพระสันตะปาปา ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดมีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมบริเวณประเทศอิตาลีสมัยใหม่ที่รวมทั้งโรมันยา, มาร์เก, อุมเบรีย และลาซีโอ อำนาจในการปกครองนี้เรียกว่า อำนาจการปกครองของพระสันตะปาปา (Temporal power) ที่ตรงข้ามกับอำนาจทางศาสนา “Papal States” มักจะเป็นคำที่นิยมมากกว่า ส่วน “Papal State” มักจะใช้กับนครรัฐวาติกันซึ่งเป็นอาณาบริเวณภายในตัวกรุงโรม นครรัฐวาติกันก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐออริกอน

รัฐออริกอน (Oregon) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกของประเทศ ภูมิประเทศในรัฐมีความหลากหลายตั้งแต่ ป่า และ ชายฝั่งทะเล รวมถึงที่ราบลุ่มและทะเลทราย เมืองหลวงของรัฐคือ เซเลม และเมืองสำคัญในรัฐได้แก่ พอร์ตแลนด์ ยูจีน และ ออริกอนซิตี มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยรัฐพอร์ตแลนด์ หรือ Portland State University มหาวิทยาลัยออริกอน ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ พอร์ตแลนด์ เทรลเบรเซอรส์ ในปี 2551 ออริกอนมีประชากรประมาณ 3,747,455 คน ชื่อรัฐออริกอน ออกเสียงตามคนในรัฐออริกอนว่า /ˈɔr.ə.g(ə)n/ (ออริกัน) โดยชื่อมักจะถูกออกเสียงเป็น /ˈɔr.ə.ˌgɑn/ (ออริกอน) โดยในรัฐจะเห็นชื่อรัฐเขียนเป็น "Orygun" เพื่อบอกให้นักท่องเที่ยวรู้คำอ่านของชื่อรัฐอย่างถูกต้อง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐออริกอน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐออนแทรีโอ

รัฐออนแทรีโอ (Ontario) เป็นรัฐ ตอนกลางของประเทศแคนาดา มีขนาดใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบจากจำนวนประชากร และใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากรัฐควิเบก เมื่อเทียบจากพื้นที่ ออนแทรีโอมีเขตติดต่อกับรัฐแมนิโทบาทางตะวันตก และรัฐควิเบกทางตะวันออก และสหรัฐอเมริกา (ทางตะวันตกและทางตะวันออก) ของรัฐมินนิโซตา, รัฐมิชิแกน, รัฐโอไฮโอ, รัฐเพนซิลเวเนีย (ฝั่งตรงข้ามของทะเลสาบอีรี) และรัฐนิวยอร์กทางตอนใต้และตะวันออก พรมแดนระหว่างรัฐออนแทรีโอและสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่จะเป็นเขตแดนทางธรรมชาติ เริ่มจาก Lake of the Woods และต่อเนื่องกับเกรตเลกส์ ทั้ง 4: สุพีเรีย, ฮูรอน (รวมถึงอ่าวจอร์เจียน), อิรี และ ออนแทรีโอ จากนั้นก็แม่น้ำเซนต์ลอว์เรนซ์ ใกล้กับคอร์นวอลล์ รัฐออนแทรีโอถือเป็นรัฐเดียวที่ติดต่อกับเกรตเลกส์ เมืองหลวงของรัฐออนแทรีโอคือ เมืองโทรอนโต เป็นเมืองที่มีพลเมืองหนาแน่นที่สุดในแคนาดา และเป็นเขตเมืองใหญ่ เมืองออตตาวาซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศแคนาดา ก็ตั้งอยู่ในรัฐออนแทรีโอนี้ และจากการสำรวจจำนวนประชากรในปี 2006 พบว่ามีประชากร 12,960,282 ครัวเรือน ในรัฐออนแทรีโอ ซึ่งนับเป็น 38.5% ของพลเมืองทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐออนแทรีโอ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐผู้คัดเลือกเทรียร์

รัฐผู้คัดเลือกเทรียร์ (Kurfürstentum Trier, Electorate of Trier) เดิมเป็นอัครมุขมณฑลโรมันคาทอลิกที่มีมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 ต่อมาเป็นราชรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และประมุขได้เป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือก จนถึงต้นปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐผู้คัดเลือกเทรียร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอคลาโฮมา

รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐโอคลาโฮมา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเพนซิลเวเนีย

รัฐเพนซิลเวเนีย รัฐทางตอนกลาง ของสหรัฐอเมริกา เครือรัฐเพนซิลเวเนีย (Commonwealth of Pennsylvania) เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกของสหรัฐอเมริกา รัฐเพนซิลเวเนียเป็นรัฐหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวข้องที่สุดรัฐหนึ่ง เป็นที่ประกาศอิสรภาพของอเมริกา โดยมีฟิลาเดลเฟียเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของสหรัฐอเมริกาก่อนการจัดตั้งวอชิงตัน ดีซี ชื่อของรัฐมาจากภาษาละติน ตั้งโดย เควกเกอร์ วิลเลียม เพนน์ เมืองหลวงของรัฐคือ แฮร์ริสเบิร์ก และเมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย และพิตส์เบิร์ก รวมไปถึงเมืองเฮอร์ชีย์ที่ตั้งของโรงงานชอกโกแลตเฮอร์ชีย์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน มหาวิทยาลัยพิตส์เบิร์ก และ มหาวิทยาลัยลีไฮฮ์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย อีเกิลส์ และ พิตส์เบิร์ก สตีลเลอรส์ ในปี 2550 เพนซิลเวเนียมีประชากร 12,432,792 คน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐเพนซิลเวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐเทนเนสซี ทางทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเคนทักกี และ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ทางทิศตะวันตก เวอร์จิเนียประกอบไปด้วย 95 เคาน์ตี และ 39 เมืองอิสระ จุดสูงสุดในรัฐคือ เมาต์โรเจอส์ และจุดต่ำสุดในรัฐคือมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐเวอร์จิเนีย ตั้งตามชื่อของ สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์ (The Virgin Queen) รัฐเวอร์จิเนียเป็นบ้านเกิดของประธานาธิบดี 8 คน ซึ่งรวมถึง จอร์จ วอชิงตัน และ โทมัส เจฟเฟอร์สัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเซาเปาลู

รัฐเซาเปาลู (São Paulo) เป็นรัฐในบราซิล มีความสำคัญด้านอุตสาหกรรมและมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจบราซิล ตั้งชื่อตาม พอลแห่งทาร์ซัส ถือเป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุด ร่ำรวยที่สุด และเมืองหลวงของรัฐ เซาเปาลู เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ มักถูกขนานนามว่า "หัวรถจักรแห่งบราซิล" เพียงรัฐเดียวมีค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ อยู่ที่ 33.9% เป็นรัฐที่มีค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสูงสุด นอกจากนั้นยังมีดัชนีการพัฒนามนุษย์มากที่สุด และมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัวเป็นอันดับ 2 มีอัตราการตายแรกเกิดต่ำสุดอันดับ 2 และมีอัตราการไม่รู้หนังสือต่ำสุดอันดับ 4 ในเหล่ารัฐของบราซิล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรัฐเซาเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐแอนติออก

ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) ที่มีอาณาบริเวณบางส่วนที่อยู่ในตุรกีและซีเรียปัจจุบันเป็นนครรัฐครูเสด ที่ก่อตั้งระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ที่รุ่งเรืองระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชรัฐแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรสกอตแลนด์

ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ (Rìoghachd na h-Alba; Kinrick o Scotland; Kingdom of Scotland) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรประหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)

ราชอาณาจักรอิตาลี (Kingdom of Italy, Regnum Italiae หรือ Regnum Italicum) เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นโดยชนลอมบาร์ดผู้เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลีหลังจากที่ราชอาณาจักรออสโตรกอธถูกทำลายในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี

ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1946) (ฮังการี: Magyar Királyság) เป็นราชอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด

ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด หรือ ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด (Regnum Langobardorum, Kingdom of the Lombards หรือ Lombard Kingdom, ภาษาเยอรมันเก่า Langbardland) เป็นราชอาณาจักรในยุคกลางตอนต้นที่ก่อตั้งโดยชนลอมบาร์ดที่ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลี ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ดรุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 568 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 774 มีเมืองหลวงอยู่ที่ปาเวีย (ต่อมา: มิลาน และ มอนซา).

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโบฮีเมีย

ราชอาณาจักรโบฮีเมีย (Kingdom of Bohemia; České království; Königreich Böhmen; Regnum Bohemiae) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในตอนกลางของทวีปยุโรปที่ได้รับการก่อตั้งโดยสารตราทองแห่งซิซิลีที่ออกโดยจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1212 ที่เป็นพระราชโองการที่ยกฐานะดัชชีโบฮีเมียขึ้นเป็นราชอาณาจักร ราชอาณาจักรโบฮีเมียจึงเป็นสมาชิกอิสระของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ต่อมาก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรียและมาถูกยุบในปี ค.ศ. 1918 เมื่อจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีล่มสลายลง เมื่อพระเจ้าคาร์ลที่ 3 แห่งโบฮีเมียทรงสละราชสมบัติ การประชุมสภาแห่งชาติปลดราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงินและประกาศให้เป็นสาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1 ราชอาณาจักรโบฮีเมียเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินของพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย (Lands of the Bohemian Crown) ที่รวมทั้ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมัน

ราชอาณาจักรโรมัน (ละติน: Regnum Romanum) เป็นอาณาจักรที่มีผู้ปกครองเป็นกษัตริย์แห่งโรมซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรโรมันไม่เป็นที่ทราบแน่นอนเพราะไม่มีหลักฐานใดใดจากสมัยนั้นนอกจากประวัติศาสตร์ที่มาเขียนขึ้นภายหลังระหว่างสมัยสาธารณรัฐโรมันและในสมัยจักรวรรดิโรมันและส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาที่มาจากตำนาน แต่ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรโรมันเริ่มด้วยการก่อตั้งกรุงโรมที่เชื่อกันว่าเกิดขึ้นในปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชและมาสิ้นสุดลงด้วยการโค่นราชบัลลังก์และการก่อตั้งสาธารณรัฐในปี 509 ก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1385-1569)

ราชอาณาจักรโปแลนด์ หรือ ราชอาณาจักรโปแลนด์แห่งยากีลโล (Królestwo Polskie, Kingdom of Poland หรือ Kingdom of Poland of the Jagiellons) เป็นราชอาณาจักรโปแลนด์ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อโยไกลา แกรนด์ดยุคแห่งลิทัวเนียขึ้นครองราชบัลลังก์โปแลนด์ในปี ค.ศ. 1385 พระราชบัญญัติสหภาพเครโวรวมราชอาณาจักรโปแลนด์เดิมและอาณาจักรแกรนด์ดยุคแห่งลิทัวเนียภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรได้รับการยืนยันอีกครั้งในพระราชบัญญัติสหภาพลูบลินในปี ค.ศ. 1569 ที่ไม่นานนักก็ตามด้วยการสิ้นสุดการครองราชบัลลังก์โปแลนด์โดยราชวงศ์ยากีลโล (Jagiellon dynasty) ที่ดำเนินมาราวสองร้อยปี และราชวงศ์เจดิมินิด (Gediminids dynasty) ผู้ครองลิทัวเนียมาราวสี่ร้อยปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1385-1569) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยอรมนี

ออทโทที่ 1 มหาราช ราชอาณาจักรเยอรมนี (ละติน: Regnum Teutonicum) เป็นอาณาจักรอัครสังฆราชที่สืบเนื่องมาจากราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออกในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ดินแดนทางตะวันออกของจักรวรรดิแฟรงค์ที่ได้รับการแยกตัวออกมาตามสนธิสัญญาแวร์เดิงในปี ค.ศ. 843 แทบจะไม่ได้เป็นของจักรวรรดิแฟรงค์อย่างเต็มตัว ที่เป็นบริเวณที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวแซ็กซอน, ชาวบาวารี, ชาวทูริงกี, ชาวอลามานนิ และ ชาวฟริซี เมื่อราชบัลลังก์ตกไปเป็นของราชวงศ์ที่ไม่ใช่แฟรงค์ (ลุดอล์ฟิง) คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน) หรือ "Teutonicorum" ก็เริ่มนำเข้ามาใช้อย่างไม่เป็นทางการ เมื่อมาถึงยุคกลางตอนกลาง อาณาจักรดยุคแบบเยอรมัน (Stammesherzogtum) ก็เริ่มมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เมื่อรัฐต่างๆ ของคาโรแล็งเชียงแยกตัวออกไปจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนเหลือแต่เยอรมนี ที่มีประมุขที่ยังคงถือตำแหน่งพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิ ราชอาณาจักรเยอรมนีก็กลายเป็นคำที่พ้องกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมาถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งชาติเยอรมัน" ก็มีสองความหมายที่เป็น "จักรวรรดิ" และ "ราชอาณาจักร" เมื่อมองในบริบทนี้แล้วราชอาณาจักรเยอรมนีก็ดำรงตัวเป็นราชอาณาจักรต่อมาจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806 คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน หรือ กษัตริย์เยอรมัน) เริ่มนำมาใช้อย่างเป็นทางการในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่างที่เกิดข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ (Investiture Controversy) ที่อาจจะเป็นการใช้เป็นเครื่องมือในการต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิไฮน์ริคที่ 4 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พระจักรพรรดิก็เริ่มใช้สร้อย "rex Romanorum" (พระมหากษัตริย์แห่งชนโรมัน) ในพระราชอิสริยยศเพื่อเป็นการเน้นพระราชอำนาจและการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเมื่อได้รับเลือกตั้ง โดยสภาผู้เลือกตั้งพระจักรพรรดิที่ประกอบด้วยพรินซ์อีเล็คเตอร์เจ็ดองค์ ตำแหน่งนี้ใช้ในเยอรมนี อิตาลี และ เบอร์กันดีที่เป็นรัฐที่มีราชสำนัก กฎหมาย และรัฐบาลของตนเอง แต่อยู่ในเครือข่ายของจักรวรรดิมาจนกระทั่งถึงสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียในปี ค.ศ. 1648 หรือจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806.

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเลออง

ราชอาณาจักรเลออง เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนคาบสมุทรไอบีเรีย สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 910 โดย เจ้าชายคริสเตียนแห่งอัสตูเรียส ที่ล่มสลายลงไปก่อนหน้านี้ โดยเลอองเป็นหนึ่งในแกนนำที่ช่วยขับไล่ชาวมุสลิมออกไปจากสเปน และภายหลังได้รวมเป็นส่วนหนึ่งกับราชอาณาจักรคาสตีลในปี ค.ศ. 1230 ก่อนที่จะล่มสลายลงเพราะสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนในปี ค.ศ. 1301 หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป ล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชอาณาจักรเลออง · ดูเพิ่มเติม »

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและราชนาวี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศไนจีเรีย

ตารางข้างล่างแสดงเป็นภาพธงชนิดต่างๆ ที่ใช้ในประเทศไนจีเรี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อธงในประเทศไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อของธาตุตามหมายเลข

หมวดหมู่:เคมี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อของธาตุตามหมายเลข · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์

วทมนตร์คาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์ เกิดขึ้นในชุดวรรณกรรมโดยผู้ประพันธ์ เจ. เค. โรว์ลิง การกล่าวถึงหลักของ "เวทมนตร์คาถา" ในเรื่องนั้นประกอบด้วยท่าทางประกอบการใช้ไม้กายสิทธิ์ของตัวละคร ประกอบกับการร่ายเวทมนตร์โดยออกเสียงหรือในใจ ในหนังสือและชุดภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้อง ชื่อของเวทมนตร์คาถาหรือการเปล่งเสียงส่วนใหญ่นำมาจากตันติภาษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาษาละติน ชื่อเหล่านี้ไม่ได้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ในภาษาใด ๆ วลีที่ใช้ในการร่ายเวทมนตร์ส่วนใหญ่คล้ายกับคำภาษาละตินที่มีความหมายแต่ไม่ใช่คำภาษาละตินในตัวของมันเอง ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม ได้มีการเสนอแนวคิดการร่ายเวทมนตร์โดยไม่ต้องออกเสียง (คาถาไร้เสียง) ทำให้เวทมนตร์คาถาบางบทไม่มีการออกเสียง โดยก่อนหน้านั้น ทุกคาถาที่ร่ายออกมาโดยตัวละครสำคัญล้วนมีการท่องคาถาอย่างเหมาะสม แม้ผู้ใช้เวทมนตร์ผู้ใหญ่ระดับก้าวหน้าอาจใช้คาถาโดยไม่ต้องเปล่งเสียงออกมาในหนังสือเล่มก่อน ๆ ด้วยเหตุนี้ คำร่ายคาถาซึ่งใช้สำหรับเวทมนตร์บางบทที่พบในเจ้าชายเลือดผสมและเรื่องต่อเนื่อง เครื่องรางยมทูต จึงไม่มี เวทมนตร์คาถาที่อยู่ในรายการด้านล่างนี้เรียงตามคำร่ายคาถาในภาษาอังกฤษ โดยมีชื่อทั่วไปอยู่ในวงเล็บ คาถาบางบทไม่รู้คำร่ายคาถา และเพียงกล่าวถึงในข้อความเฉพาะชื่อไม่เป็นทางการ ซึ่งอาจเป็นเพราะปรากฏในเรื่องเฉพาะเมื่อร่ายแบบไม่เปล่งเสียงเท่านั้น หรือเพราะไม่เคยกล่าวถึงในหนังสือ เพียงแต่กล่าวถึงเท่านั้น เวทมนตร์คาถาส่วนใหญ่ที่ร่ายระหว่างตัวละครผู้ใหญ่ในหนังสือทั้งเจ็ดเล่มดูเหมือนจะไม่เปล่งเสียงออกมาเลย มีเพียงผลของคาถาเท่านั้นที่สามารถระบุได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในคุณครูจอมเวท เนกิมะ! และเนกิมะ!?

รายชื่อตอนของอะนิเมะ เรื่อง คุณครูจอมเวท เนกิมะ! และ เนกิมะ!?.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อตอนในคุณครูจอมเวท เนกิมะ! และเนกิมะ!? · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!

'''ตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!''' แถวที่ 1 - เบลเฟกอล, ซันซัส, สเพลฮี สควอลโล, โรคุโด มุคุโร, โคชิม่า เคน, คาคิโมโตะ จิคุสะ แถวที่ 2 - มิอุระ ฮารุ, ยามาโมโตะ ทาเคชิ, ซาวาดะ สึนะโยชิ, รีบอร์น, ดร.จามาล แถวที่ 3 - เบียงกี้, ซาซางาวะ เคียวโกะ, โกคุเดระ ฮายาโตะ, ซาซางาวะ เรียวเฮ แถวที่ 4 - บาจิล, ฟูตะ, ดีโน่, ฮิบาริ เคียวยะ แถวที่ 5 - อี้ผิง, แรมโบ้ ตัวละครจากการ์ตูนมังงะและอะนิเมะเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! (Reborn!; 家庭教師ヒットマンREBORN!の登場人物) ซึ่งเขียนโดยอากิระ อามาโนะ เรื่องราวตั้งอยู่ในเมืองสมมุติชื่อ นามิโมริ ในยุคปัจจุบันของญี่ปุ่น ตัวละครหลักของเรื่องมีเชื้อสายญี่ปุ่น แต่มีความสัมพันธ์กับแก๊งมาเฟียอิตาลี โดยตัวละครอื่นๆในเรื่องมีเชื้อสายอิตาเลียน รวมทั้งตัวร้ายส่วนใหญ่ของเรื่อง โครงเรื่องมีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวิตของซาวาดะ สึนะโยชิ เด็กนักเรียนธรรมดาจนกระทั่งรีบอร์น นักฆ่ามือของวองโกเล่ แฟมิลี่ มาเฟีย แห่งอิตาลี ได้มาทำการฝึกฝนให้สึนะเป็นหัวหน้าแก๊งมาเฟีย รุ่นที่ 10 ของวองโกเล่ แฟมิลี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์

ระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐแห่งราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ตามธรรมเนียม พระมหากษัตริย์แห่งชาวสกอตพระองค์แรกคือ สมเด็จพระเจ้าเคนเนธ แม็คอัลปินที่ 1 (ซีเนียด แม็คอัลปิน) ผู้ทรงสถาปนารัฐเอกราชขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายพระนามพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเทวดาเจอร์แมนิก

ในลัทธิเพเกินเจอร์แมนิก ศาสนาพื้นเมืองของกลุ่มชนเจอร์แมนิกโบราณซึ่งอยู่อาศัยในเจอร์แมนิกยุโรป มีเทวดาหลายพระองค์ บทความนี้เสนอรายการครอบคลุมของเทวดาเหล่านี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายพระนามเทวดาเจอร์แมนิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งอรุณ

รุ่งอรุณ (Chinese trumpet vine) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ อยู่ในวงศ์แคหางค่าง และอยู่ในสกุล Campsis เดิมรุ่งอรุณมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bignonia grandiflora Thunb.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรุ่งอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

รูปสิบเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปสิบเหลี่ยม (decagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มี 10 ด้าน และมี 10 มุม ในภาษาอังกฤษ คำว่า "decagon" มาจากคำศัพท์ภาษากรีก เอนเนอา + โกนอน δεχα, เก้า + γωνον, มุม) ส่วนคำว่า nonagon นั้น มาจากภาษาละติน โนนุส (deca "ที่เก้า" + gonon "มุม") รูปสิบเหลี่ยมปกติ หรือ รูปสิบเหลี่ยมด้านเท่า นั้นมีมุมภายในมุมละ 144° ส่วนพื้นที่ของรูปสิบเหลี่ยมด้านเท่า มีความยาวด้าน a เท่ากั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรูปสิบเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปหลายเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปหลายเหลี่ยม (อังกฤษ: polygon) ตามความหมายดั้งเดิม หมายถึงรูปร่างอย่างหนึ่งที่เป็นรูปปิดหรือรูปครบวงจรบนระนาบ ซึ่งประกอบขึ้นจากลำดับของส่วนของเส้นตรงที่มีจำนวนจำกัด ส่วนของเส้นตรงเหล่านั้นเรียกว่า ขอบ หรือ ด้าน และจุดที่ขอบสองข้างบรรจบกันเรียกว่า จุดยอด หรือ เหลี่ยม (corner) ภายในรูปหลายเหลี่ยมบางครั้งก็เรียกว่า เนื้อที่ (body) รูปหลายเหลี่ยมเป็นวัตถุในสองมิติ ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งของพอลิโทป (polytope) ที่อยู่ใน n มิติ ด้านสองด้านที่บรรจบกันเป็นเหลี่ยม เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการเกิดมุมที่ไม่เป็นมุมตรง (180°) ถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว ส่วนของเส้นตรงทั้งสองจะถูกพิจารณาว่าเป็นด้านเดียวกัน ความคิดทางเรขาคณิตพื้นฐานได้ถูกดัดแปลงไปในหลากหลายทาง เพื่อที่จะทำให้เข้ากับจุดประสงค์เฉพาะ ตัวอย่างเช่นในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คำว่า รูปหลายเหลี่ยม ถูกนำไปใช้และมีการเปลี่ยนแปลงความหมายไปโดยเล็กน้อย ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการบันทึกและจัดการรูปร่างภายในคอมพิวเตอร์มากขึ้น รูปหลายเหลี่ยม หลายชน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรูปหลายเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปเก้าเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปเก้าเหลี่ยม (อังกฤษenneagon หรือ nonagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มี 9 ด้าน และมี 9 มุมจำนวน ในภาษาอังกฤษ คำว่า "enneagon" มาจากคำศัพท์ภาษากรีก เอนเนอา + โกนอน (εννεα, เก้า + γωνον, มุม) ส่วนคำว่า nonagon นั้น มาจากภาษาละติน โนนุส (nonus "ที่เก้า" + gonon "มุม") รูปเก้าเหลี่ยมปกติ หรือ รูปเก้าเหลี่ยมด้านเท่า นั้นมีมุมภายในมุมละ 140° ส่วนพื้นที่ของรูปเก้าเหลี่ยมด้านเท่า มีความยาวด้าน a เท่ากั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและรูปเก้าเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รถพยาบาล

รถพยาบาลสมัยใหม่ของหน่วยรถพยาบาลโบฮีเมียใต้ สาธารณรัฐเช็ค เป็นรถดัดแปลงจากรถตู้โฟล์กสวาเกนคราฟต์เตอร์ รถพยาบาลในประเทศอิตาลี รถพยาบาล (Ambulance) เป็นยานพาหนะสำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไปยัง ไปจากหรือระหว่างสถานที่รักษาโรคหรือการบาดเจ็บ และในบางกรณีอาจใช้เพื่อทำการดูแลรักษาอาการป่วยนอกโรงพยาบาล คำนี้มักใช้ในบริบทของรถพยาบาลฉุกเฉินที่ใช้บนถนน อันเป็นส่วนหนึ่งของบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ดูแลอาการป่วยหรือบาดเจ็บเฉียบพลันกับผู้มีปัญหาสุขภาพอย่างร้ายแรง แต่บริบทสามารถขยายไปนอกเหนือจากรถที่มีไฟฉุกเฉินและไซเรน เป็นต้นว่ารถพยาบาลไม่ฉุกเฉินสำหรับขนส่งผู้ป่วย หรือยานพาหนะประเภทฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉินอื่น ๆ เช่นรถบรรทุก รถตู้ จักรยาน จักรยานยนต์ รถเก๋งยาว รถบัส เฮลิคอปเตอร์ อากาศยานปีกตรึง เรือเล็ก หรือเรือพยาบาล คำว่า Ambulance มีรากศัพท์จาก ภาษาละตินว่า "ambulare" แปลว่า "เดินหรือเคลื่อนไปเรื่อย ๆ" ซึ่งชี้ให้เห็นว่าการแพทย์ในระยะแรกเป็นกรณีที่ผู้ป่วยถูกเคลื่อนย้ายหรือเข็นไป โดยความหมายเดิมหมายถึงโรงพยาบาลเคลื่อนที่ที่ติดตามกำลังพลไปในการรบ ในช่วงสงครามกลางเมืองอเมริกัน ใน ค.ศ. 1870 พาหนะที่ใช้ขนผู้บาดเจ็บไปจากสมรภูมิจะเรียกว่าดู้พยาบาลในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย โรงพยาบาลสนามก็ยังถูกเรียกว่าเป็นรถพยาบาล รวมถึงในสงครามเซอร์เบีย-ตุรกี ค.ศ. 1876 แม้ตู้พยาบาลจะถูกเรียกว่าเป็นรถพยาบาลตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและรถพยาบาล · ดูเพิ่มเติม »

รถแทรกเตอร์

รถแทรกเตอร์กำลังไถ่ดินที่ ประเทศสโลวีเนีย รถแทรกเตอร์ (tractor) เป็นยานพาหนะวิศวกรรมออกแบบมาเพื่อออกแรงฉุดลาก (หรือทอร์ก) โดยเฉพาะ ที่ความเร็วต่ำ มีจุดประสงค์เพื่อลากรถลากหรือเครื่องยนต์ที่ใช้ในการเกษตรหรือการก่อสร้าง โดยทั่วไป คำดังกล่าวใช้อธิบายยานพาหนะในไร่นาที่ช่วยผลิตพลังงานกลและออกแรงดึงโดยใช้เครื่องยนต์เพื่อทำการเกษตร โดยเฉพาะการไถนา ซึ่งทำมาแต่เดิม แต่ปัจจุบันใช้ได้กับงานที่หลากหลายมากขึ้น เครื่องมือการเกษตรอาจพ่วงอยู่ข้างหลังหรือผูกติดกับรถแทรกเตอร์ และรถแทรกเตอร์จะผลิตแรงถ้าอุปกรณ์เหล่านั้นทำงานด้วยเครื่องยนต์เหมือนกัน คำว่า แทรกเตอร์ มาจากคำนามภาษาละตินที่แสดงความเป็นผู้กระทำว่า trahere หมายถึง "การดึง" การใช้คำนี้ครั้งแรกที่มีการบันทึกไว้มีความหมายว่า "เครื่องยนต์หรือยานพาหนะสำหรับลากเกวียนหรือคันไถ" ปรากฏในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและรถแทรกเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอเร็มอิปซัม

การใช้โลเร็มอิปซัมเพื่อดึงความสนใจของบุคคลไปยังรูปแบบการจัดวางกราฟิกในเว็บเพจ ในการพิมพ์และกราฟิกดีไซน์ ข้อความ ลอเร็มอิปซัม (lorem ipsum) เป็นข้อความแทนที่ (placeholder text) ที่ใช้สำหรับการแสดงลักษณะองค์ประกอบของกราฟิกหรือสื่อนำเสนอ เช่น ฟอนต์ การพิมพ์และการจัดหน้า และเพื่อลดความสนใจต่อข้อความที่นำมาแสดง ข้อความลอเร็มอิปซัมเป็นข้อความส่วนหนึ่งในภาษาละตินที่แต่งโดยซิเซโรโดยมีการตัดต่อคำให้ดูเหมือนเป็นข้อความที่ไม่มีความหมายและไม่ใช่ภาษาละตินที่ถูกต้อง แม้ว่าข้อความลอเร็มอิปซัมจะก่อให้เกิดข้อสังเกตว่ามีลักษณะเหมือนภาษาละตินคลาสสิก แต่ข้อความดังกล่าวก็หามีเจตนาที่จะมีความหมายไม่ ในเอกสารต่าง ๆ ถ้าข้อความสามารถอ่านได้ บุคคลจะพุ่งความสนใจไปยังข้อความเสียจนไม่สนใจการจัดหน้าและรูปแบบ ดังนี้ผู้พิมพ์จึงใช้ข้อความลอเร็มอิปซัมเพื่อแสดงไทป์เฟซหรือลักษณะการออกแบบ เพื่อให้บุคคลพุ่งความสนใจไปที่รูปแบบการพิมพ์ มิใช่ข้อความ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและลอเร็มอิปซัม · ดูเพิ่มเติม »

ละติน

ละติน หรือ ลาติน (Latin) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและละติน · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณะการวางท่า

ลักษณะการวางท่า (Attitude) ในมุทราศาสตร์ “ลักษณะการวางท่า” คือลักษณะท่างทางการวางร่างกายของสัตว์, สัตว์ในตำนาน, มนุษย์ หรือสิ่งที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์ที่ปรากฏเป็นเครื่องหมาย, ประคองข้าง หรือ เครื่องยอด ลักษณะการวางท่าบางท่าก็จะใช้เฉพาะสัตว์ที่ล่าเหยื่อและเป็นสัตว์ที่จะพบบ่อยบนตราอาร์มคือสิงโต และบางท่าก็จะใช้สำหรับสัตว์ที่เชื่องเท่านั้นเช่นกวาง บางท่าก็ใช้สำหรับนกส่วนใหญ่จะเป็นท่าสำหรับสัตว์ที่พบบ่อยในการสร้างตราคือนกอินทรี คำว่า “naiant” (ว่ายน้ำ) แม้ว่าจะใช้สำหรับปลาแต่ก็ใช้กับหงส์, เป็ด หรือห่านได้ ถ้าเป็นนกก็บรรยายต่อไปถึงตำแหน่งของปีก หรือ คำว่า “segreant” ก็จะใช้เฉพาะสัตว์ในตำนาน หรือ คำว่า “rampant” (ยืนผงาด) ก็จะใช้กับสัตว์ปีกเช่นกริฟฟิน และ มังกร นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีท่าที่บอกทิศทางที่แตกต่างไปจากทิศทางที่วางท่าตามปกติ สัตว์หรือสิ่งที่มีลักษณะเหมือนสัตว์โดยทั่วไปจะว่างท่าด้านข้างหันขวาไปทางโล่ (ซ้ายของผู้ดู) ถ้าเป็นมนุษย์และสิ่งที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์โดยทั่วไปก็จะเป็นท่า “affronté” (มองตรงมายังผู้ดู) นอกจากจะระบุว่าเป็นท่าอื่นในนิยามของตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและลักษณะการวางท่า · ดูเพิ่มเติม »

ลัคส์ ไคลน์

ลักส์ ไคลน์ อายุ 16 ปี ขณะที่อยู่ที่แพลนท์ ลัคส์ ไคลน์ ตัวละครหนึ่งในการ์ตูนซีรีส์กันดั้ม เรื่องกันดั้มซี้ด และ กันดั้มซี้ดเดสทินี พากษ์เสียงโดย ทานากะ ริเอะ ลัคส์ ไคลน์ เจ้าหญิงผมสีชมพูผู้มาพร้อมเสียงเพลง บุตรีของ ซีเกล ไคลน์ อดีตประธานสภาความมั่นคงแห่งแพลนท์ ปรากฏตัวครั้งแรก เธอเป็นโคออดิเนเตอร์ผู้มีพลังซีด และเป็นผู้หญิงที่มีความเข้มแข็ง ฉลาด อ่อนโยนใจดี กล้าหาญ และใช้เสียงเพลงขับกล่อมชาวโคออดิเนเตอร์ ลักส์มีอิทธิพลต่อจิตใจชาวแพลนท์มาก เธอโดนตามไล่ล่าในฐานะกบฏซึ่งช่วยเหลือ คิระในการขโมยฟรีดอม ชื่อของเธอ (Lacus) มาจากภาษาละตินที่แปลว่า "ทะเลสาบ" ใน กันดั้มซี้ดเดสทินี เธอเป็น"ราชินีสีขาว"บนกระดานหมากรุกของกิลเบิร์ต ดูแรลดัล ในชื่อตอนที่แปดของ กันดั้มซี้ด เธอถูกเรียกว่า "ผู้ขับร้องแห่งกองทัพศัตรู".

ใหม่!!: ภาษาละตินและลัคส์ ไคลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาเวนเดอร์

ลาเวนเดอร์ (Lavandula) เป็นสกุลของพืชดอก ประกอบไปด้วยพืช 39 ชนิด ในวงศ์มินต์ (Lamiaceae) เป็นพืชพื้นเมืองในยุคโบราณซึ่งถูกค้นพบจากเคปเวิร์ดและหมู่เกาะคานารี ทางตอนใต้ของยุโรปข้ามไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา, เมดิเตอร์เรเนียน, เอเชียตะวันตกเฉียงใต้จรดไปอินเดียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและลาเวนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิงค์ (ภาษาศาสตร์)

ลิงค์ (อ่านว่า ลิง) หรือ เพศทางไวยากรณ์ เป็นคำศัพท์ที่ใช้ในการแบ่งประเภทคำนามในบางตระกูลภาษา โดยเฉพาะตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เช่น ภาษากรีก ภาษาละติน ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต แม้ในภาษาสมัยใหม่ ก็ยังมีการใช้ลิงค์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี เป็นต้น ลิงค์โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 3 จำพวก คือ เพศชาย เพศหญิง และเพศกลาง ตำราไวยากรณ์ของไทย มักจะใช้ศัพท์บาลี หรือสันสกฤต ว่า ปุลลิงค์ (ปุงลิงค์), อิตถีลิงค์ (สตรีลิงค์) และนปุงสกลิงค์ ทั้งนี้ โดยทั่วไปแล้ว ลิงค์ ในทางไวยากรณ์ไม่ได้ผูกพันกับลักษณะทางเพศในเชิงชีววิทยาของสิ่งมีชีวิตแต่อย่างใด หมวดหมู่:ไวยากรณ์.

ใหม่!!: ภาษาละตินและลิงค์ (ภาษาศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ลิงโลกใหม่

ลิงโลกใหม่ (New world monkey) เป็นอันดับย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับไพรเมต (Primates) หรือ อันดับวานร จำนวนมากหนึ่ง ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Platyrrhini ลิงที่อยู่ในวงศ์ใหญ่นี้ มีลักษณะโดยรวม คือ มีขนาดลำตัวที่เล็กกว่าลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) มีฟันกราม 3 ซี่ มีหางยาว ใช้ในการเกาะเกี่ยวต้นไม้ได้เป็นอย่างดี และมีรูจมูกชิดกัน ลักษณะของจมูกแบน ซึ่งคำว่า "rhinth" นั้นเป็นภาษาละตินแปลว่า "จมูก" อันเนื่องจากลักษณะของลิงโลกใหม่จะมีโพรงจมูก และรูจมูกจะอยู่ออกไปทางด้านข้าง พบกระจายพันธุ์ในซีกโลกที่เรียกว่า "โลกใหม่" คือ ทวีปที่เพิ่งถูกค้นพบ ได้แก่ อเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ ลิงโลกใหม่ นับได้ว่ามีสายวิวัฒนาการเป็นของตัวเอง ซึ่งแยกไปจากลิงโลกเก่าและไพรเมตจำพวกอื่น ๆ มีพฤติกรรมหากินและอาศัยอยู่บนต้นไม้เป็นหลัก ในหลายชนิด อาจมีรูปร่างไม่คล้ายลิงที่คุ้นเคย แต่คล้ายกับสัตว์อย่างอื่นมากกว่า เช่น กระรอก ลิงที่อยู่ในวงศ์ลิงโลกใหม่นั้น อาทิ ลิงสไปเดอร์, ลิงมาโมเซท, ลิงฮาวเลอร์, ลิงไลออนทามาริน เป็นต้น ซึ่งลิงโลกใหม่ ยังสามารถแยกออกเป็นวงศ์ต่าง ๆ ได้อีก 5 วงศ คือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและลิงโลกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกโลก

ลูกโลก ลูกโลก (Globe) เป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ใช้สำหรับการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ โดยจำลองลักษณะของโลกหรือเทห์ฟ้าโดยอาจทำมาจากกระดาษ, พลาสติกหรืออื่น ๆ ลูกโลกทำหน้าที่คล้ายแผนที่แต่ต่างจากแผนที่ตรงที่ลูกโลกจะไม่บิดเบือนความจริงแต่จะเป็นเพียงการลดขนาดของโลกหรือเทห์ฟ้านั้น ๆ จึงทำให้สามารถแสดงภาพรวมอย่างสภาพภูมิประเทศ ขนาดประเทศและลักษณะทางกายภาพได้เหมือนจริงมากกว่า แต่ก็มีข้อเสียด้วยเช่นกันคือลูกโลกจะไม่สามารถมองภาพรวมทั้งหมดของโลกในเวลาเดี่ยวกันได้อีกทั้งยังพกพาได้ลำบากด้วยนั้นเอง ลูกโลกมีสองแบบคือลูกโลกธรรมดาหรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า terrestrial globe แปลตรงตัวว่าโลกบกกับอีกแบบคือทรงกลมฟ้าในภาษาอังกฤษเรียกว่า celestial globeแปลตรงตัวว่าโลกท้องฟ้าซึ่งปกติแล้วจะแสดงกลุ่มดาวบนท้องฟ้าหรือแสดงดวงดาวบนท้องฟ้าและตำแหน่งของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่น่าสนใจ คำว่า globe มาจากภาษาละตินคำว่า globus ซึ่งมีความหมายว่าทรงกลม ลูกโลกนั้นมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนาน บุคคลที่กล่าวถึงลูกโลกเป็นครั้งแรกคือสตราโบซึ่งได้อธิบายไวใน The Globe of Crates เมื่อ 150 ปีก่อนคริสต์ศักราช มาร์ติน เบไฮม์เป็นคนผลิตลูกโลกที่เก่าแก่ที่สุดชื่อว่าเออดาเฟล (Erdapfel) เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและลูกโลก · ดูเพิ่มเติม »

ลูกเกด

ลูกเกด คือองุ่นแห้ง ที่มีการผลิดในหลายพื้นที่ทั่วโลก และสามารถรับประทานเปล่าๆ หรือจะใช้ในการทำอาหาร การอบขนม และการหมักบ่มก็ได้ ทั้งยังเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้อีกด้วย ใน สหราชอาณาจักร ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และแคนาดา คำว่า "raisin" จะเอาไว้ใช้เรียกองุ่นแห้งเม็ดใหญ่สีเข้ม และ "sultana" จะใช้เรียกองุ่นแห้งที่มีสีเหลือทอง และคำว่า "currant" ใช้เรียกองุ่นไข่ปลาเม็ดแห้งพันธุ์ Black Corinth.

ใหม่!!: ภาษาละตินและลูกเกด · ดูเพิ่มเติม »

วรรณคดี

วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) วรรณคดีเป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะสามารถยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวรรณคดี · ดูเพิ่มเติม »

วัลเกต

วัลเกต (Vulgate) คือคัมภีร์ไบเบิลที่เขียนเป็นภาษาละตินเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 ที่ส่วนใหญ่เป็นผลงานของนักบุญเจอโรมผู้ที่ได้รับคำสั่งจากสมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 1 ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและวัลเกต · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วังเชอนงโซ

วังเชอนงโซ (Château de Chenonceau) ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านเชอนงโซ (Chenonceaux) ในจังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส วังเดิมสร้างบนโรงป่นแป้งเก่าบนฝั่งแม่น้ำแชร์ และสร้างมาก่อนหน้าที่จะมีหลักฐานทางเอกสารเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 11 วังปัจจุบันออกแบบโดยฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert De l'Orme) สถาปนิกเรอเนซองซ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวังเชอนงโซ · ดูเพิ่มเติม »

วัน

วัน คือหน่วยของเวลาที่เท่ากับ 24 ชั่วโมง ถึงแม้หน่วยนี้จะไม่ใช่หน่วยเอสไอ แต่ก็มีการยอมรับเพื่อใช้ประกอบกับหน่วยเอสไออื่น ซึ่งหน่วยเวลาที่เป็นหน่วยเอสไอคือ วินาที คำว่า วัน มาจากภาษาไทยเดิม (ลาว: ວັນ วัน, ไทใหญ่:ဝၼ်း วั้น) คำว่า day ในภาษาอังกฤษมาจากคำในภาษาอังกฤษเก่า dæg ซึ่งสะกดคล้ายกับภาษาอื่น ๆ ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ตัวอย่างเช่น dies ในภาษาละตินและ dive ในภาษาสันสกฤต ซึ่งกลายเป็น ทิวา ในภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวัน · ดูเพิ่มเติม »

วันพระพิโรธ

ตรกรรม ''การพิพากษาครั้งสุดท้าย'' โดยฮันส์ เมมลิง วันพระพิโรธ (ละติน: Dies irae ดีเอสอีเร) เป็นเพลงสวดละตินซึ่งสันนิฐานว่าน่าจะเขียนขึ้นโดยพระชาวอิตาลี ทอมมาโซ เด แกลาโน (Tommaso da Celano) แห่งคณะฟรันซิสกัน ไม่ก็ของลาตีโน มาลาบรังกา ออร์ซีนี (Latino Malabranca Orsini) แห่งคณะดอมินิกัน เพลงสวดนี้น่าจะเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 แต่ก็มีความเป็นไปได้ว่าจะเก่ากว่านั้น เพลงสวดกล่าวถึงการพิพากษาครั้งสุดท้ายและแตรของอัครทูตสวรรค์กาบรีเอลเบิกวิญญาณที่หน้าบัลลังก์พระเจ้า เพลงสวดนี้ได้ปรากฏเป็นเนื้อร้องในเรควีเอ็มโดยโมซาร์ท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวันพระพิโรธ · ดูเพิ่มเติม »

วันทาพระราชินี

“วันทาพระราชินี” (Hail Holy Queen, Salve Regina) เป็นบทภาวนาอ้อนวอนถึงพระนางมารีย์พรหมจารี พระมารดาของพระเยซู สามารถใช้ได้ตั้งแต่ตั้งแต่ช่วงทำวัตรเย็นของวันสมโภชพระตรีเอกภาพจนถึงทำวัตรบ่ายของวันเสาร์ก่อนวันอาทิตย์สัปดาห์แรกของเทศกาลเตรียมรับเสด็จ (en:Advent) และยังเป็นบทภาวนาที่ใช้สวดปิดการสวดสายประคำอีกด้วย บุญราศีแฮร์มันน์แห่งไรเชเนา นักพรตคณะเบเนดิกตินท่านหนึ่งในสมัยกลางได้แต่งบทภาวนานี้ขึ้นเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระนางในช่วงวิกฤตของชีวิต บทภาวนา วันทาพระราชินี ในตอนแรกได้ถูกประพันธ์เป็นภาษาละตินเพื่อบรรยายสภาพมนุษย์ที่ต้องการความช่วยเหลือ มนุษย์ทั้งชายและหญิงกำลัง “ถอนใจคร่ำครวญ ร่ำไห้ในเหวน้ำตานี้” เขาทั้งหลายจึงร้องตะโกนเช่นเดียวกับประชากรอิสราเอล ร้องหาพระยาห์เวห์เมื่อถูกชาวอียิปต์กดขี่ข่มเหง และพระองค์ทรงตอบสนอง โดยเสด็จมาช่วยเขาให้พ้นความทุกข์ทรมาน (เทียบ อพย3:7-8) หลังจากที่ได้บรรยายสภาพมนุษย์ผู้ต้องการความช่วยเหลือแล้ว บท “วันทาพระราชินี” ไม่วอนขอพระแม่ให้ทรงฟังเสียงร้องแสดงความทุกข์ทรมานของ “ผู้เป็นลูกหลานที่ถูกเนรเทศของเอวา” แต่วอนขอว่า “โปรดเถิดพระแม่ผู้ทรงช่วยเหลือเกื้อกูลลูก โปรดทอดพระเนตร..

ใหม่!!: ภาษาละตินและวันทาพระราชินี · ดูเพิ่มเติม »

วาเรซี

วาเรซี (Varese, ละติน Baretium, archaic Väris, Varés ใน วาเรซีโน) เป็นนครและเทศบาลทางทิศเหนือ-ตะวันตกในแคว้นลอมบาร์เดีย ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี อยู่ห่างจากมิลานทางเหนือ 55 กม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวาเรซี · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาละติน

ลโก้วิกิพีเดียภาษาละติน วิกิพีเดียภาษาละติน (Vicipaedia) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาละติน ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาละตินมีบทความมากกว่า 114,765 บทความ (1 เมษายน 2558).

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิกิพีเดียภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

วิญญาณนิยม

วิญญาณนิยม (จาก ภาษาลาติน anima, "ลมหายใจ, วิญญาณ, ชีวิต") คือ ความเชื่อทางศาสนาที่ว่า วัตถุสิ่งของ สถานที่ หรือ สัตว์ทั้งหลาย ต่างมีสารัตถะทางจิตวิญญาณ (spiritual essence) ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ลัทธิวิญญาณนิยมเชื่อว่าสรรพวัตถุและสรรพสัตว์ (ซึ่งรวมถึง ต้นไม้ ก้อนหิน ลำธาร สภาพอากาศ งานหัตถกรรมของมนุษย์ และแม้แต่คำพูด) ล้วนแต่มีวิญญาณ มีชีวิต และ/หรือมีเจตจำนง (agency) เป็นของตัวเอง ลัทธิวิญญาณนิยมเป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยมีอยู่ก่อนศาสนาจัดตั้งทุกรูปแบบ และถือกันว่าเป็นมุมมอง/ทัศนคติทางจิตวิญาณ หรือของความเชื่อเหนือธรรมมชาติอย่างแรกที่เกิดขึ้นในโลก ซึ่งพบหลักฐานเกี่ยวกับความเชื่อนี้ย้อนหลังไปถึงยุคหินเก่า ซึ่งเป็นสมัยมนุษย์ยังท่องเที่ยวไปตามพื้นที่ต่างๆเพื่อล่าสัตว์ หรือเก็บรวมรวบของป่า และสื่อสารกับจิตวิญญาณของธรรมชาติ ในแง่นี้ความเชื่อแบบศาสนาเชมัน (shaman) หรือลัทธิที่นับถือพ่อมดหมอผีว่าเป็นผู้ที่สื่อสารกับธรรมชาติได้ จึงมีความเกี่ยวข้องและเป็นส่วนหนึ่งของระบบความเชื่อแบบวิญญาณนิยม ในวิชามานุษยวิทยาว่าด้วยศาสนาวิญญาณนิยม เป็นคำที่ถูกใช้เพื่อสื่อถึงระบบความเชื่อดั้งเดิมของชาวพื้นเมือง โดยเฉพาะเวลาที่นำไปเปรียบเทียบกับระบบความเชื่อทางจิตวิญญาณ หรือศาสนาจัดตั้งที่เกิดขึ้นภายหลัง เนื่องจากแต่ละวัฒนธรรมจะมีตำนานความเชื่อ นิทานเทพปกรณัม และพิธีกรรมที่แตกต่างกันไป แนวคิด "วิญญาณนิยม" จึงใช้สื่อถึงสายใยความต่อเนื่องในระดับรากฐานของทัศนคติทางจิตวิญญาณ หรือในเรื่องเหนือธรรมชาติของชนพื้นเมือง ที่ไม่ได้รับอิทธิพลจากความคิดความเชื่อ หรือคำสอนของลัทธิที่มาจากภายนอก จนถึงขนาดว่าบางครั้งทัศนคติทางวิญญาณดังกล่าวอาจจะฝังรากลึกลงไปในระบบความเชื่อของชนพื้นเมืองนั้นมาแต่ปฐมกาล จนทำให้ชนพื้นเมืองดังกล่าวไม่มีคำที่ใช้เรียกระบบความเชื่อนั้นในภาษาของตน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิญญาณนิยม · ดูเพิ่มเติม »

วิลลา เคเธอร์

วิลลา เคเธอร์(Willa Cather) วิลลา ซิเบิร์ต เคเธอร์ (Willa Siebert Cather 7 ธันวาคม ค.ศ. 1873 – 24 เมษายน ค.ศ. 1947)เป็นนักเขียนหญิงชาวอเมริกันผู้มีถิ่นกำเนิดในรัฐเวอร์จิเนีย เธอเป็นพี่คนโตของน้องๆ อีกห้าคน เมื่อวิลลาอายุได้ 10 ขวบ ครอบครัวของเธอย้ายถิ่นฐานไปตั้งรกรากทำฟาร์มอยู่ที่รัฐเนแบรสกา แต่เพียงสองปีต่อมาครอบครัวเคเธอร์ก็ย้ายเข้ามาอยู่ในเมือง ซึ่งผู้คนและการใช้ชีวิตในดินแดนทุ่งหญ้าตอนเหนือของอเมริกานี้เองที่กลายมาเป็นส่วนสำคัญในงานเขียนของเธอภายหลัง หลังจากจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยแห่งเนแบรสกา-ลิงคอล์นแล้ว วิลลาได้ย้ายไปอยู่รัฐเพนซิลเวเนีย โดยยึดอาชีพครูสอนภาษาอังกฤษและภาษาละตินในโรงเรียนมัธยม ต่อมาก็เข้ามาอยู่นิวยอร์ก ทำงานเป็นบรรณาธิการนิตยสารชั้นนำในยุคนั้น คือ McClure’s (ค.ศ. 1906-1912) งานเขียนของวิลลามีทั้งบทกวี เรื่องสั้น บทความ ตลอดจนนวนิยายซึ่งมีทั้งหมดรวม 12 เรื่อง ในจำนวนนั้นเรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังได้แก่ O Pioneers!, My Antonia และ Death Comes to the Archbishop มีอีกสองเรื่องถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ นอกจากนี้นวนิยายเรื่อง One of Ours ก็คว้ารางวัลพูลิตเซอร์มาให้แก่เธอในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิลลา เคเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม วอลเลซ

ซอร์ วิลเลียม วอลเลซ (William Wallace; Uilleam Uallas; Norman French: William le Waleys) (ประมาณ พ.ศ. 1813 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 1848) เป็นอัศวินและผู้รักชาติชาวสก็อต ผู้นำการต่อต้านการครอบครองสกอตแลนด์โดยอังกฤษระหว่างสงครามอิสรภาพของสกอตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซได้รับการยกย่องเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ของสก็อตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซ เป็นแรงดลใจในงานกวีนิพนธ์ชื่อ "The Acts and Deeds of Sir William Wallace, Knight of Elderslie" โดยนักดนตรีเร่รอนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชื่อ "แฮรี่ผู้ตาบอด" (Blind Harry) ซึ่งภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่อง Braveheart..

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิลเลียม วอลเลซ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เชกสเปียร์

วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิลเลียม เชกสเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H. erectus/ergaster เป็นกลุ่มมนุษย์ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะคือมนุษย์โบราณ H. heidelbergensis/rhodesiensis หลังจากนั้น มนุษย์สปีชีส์ ''Homo sapiens'' ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern human) ก็เกิดขึ้นโดยมีวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณในยุคหินกลาง (แอฟริกา) คือประมาณ 300,000 ปีก่อน ตามทฤษฎี "กำเนิดมนุษย์ปัจจุบันเร็ว ๆ นี้จากแอฟริกา" มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการในทวีปแอฟริกาแล้วจึงอพยพออกจากทวีปประมาณ 50,000-100,000 ปีก่อน (ต่างหากจากมนุษย์ในยุคก่อน ๆ) ไปตั้งถิ่นฐานแทนที่กลุ่มมนุษย์สปีชีส์ H. erectus, H. denisova, H. floresiensis และ H. neanderthalensis ในที่ต่าง ๆ ที่เป็นเชื้อสายของมนุษย์ที่อพยพออกมาจากทวีปแอฟริกาในยุคก่อน ๆ โดยอาจได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณก่อน ๆ เหล่านั้น หลักฐานโดยดีเอ็นเอในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิวัฒนาการของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของคอเคลีย

ำว่า คอเคลีย มาจากคำภาษาละตินที่แปลว่า "หอยโข่ง/หอยทาก, เปลือก, หรือเกลียว" ซึ่งก็มาจากคำกรีก คือ kohlias ส่วนคำปัจจุบันที่หมายถึง หูชั้นในรูปหอยโข่ง พึ่งเริ่มใช้ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 คอเคลียของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะมีอวัยวะของคอร์ติ ซึ่งมีเซลล์ขนที่แปลแรงสั่นที่วิ่งไปในน้ำที่ล้อมรอบ ให้เป็นกระแสไฟฟ้าที่ส่งไปยังสมองเพื่อประมวลเสียง ส่วนอวัยวะที่มีรูปเป็นหอยโข่งประมาณว่าเกิดในต้นยุคครีเทเชียสราว ๆ 120 ล้านปีก่อน นอกจากนั้นแล้ว เส้นประสาทที่วิ่งไปยังคอเคลียก็เกิดในยุคครีเทเชียสเหมือนกัน วิวัฒนาการของคอเคลียในมนุษย์เป็นเรื่องสำคัญทางวิทยาศาสตร์เพราะว่าดำรงเป็นหลักฐานได้ดีในซากดึกดำบรรพ์ ในศตวรรษที่ผ่านมา ทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักชีววิทยาเชิงวิวัฒนาการ และนักบรรพชีวินวิทยา ได้พยายามพัฒนาเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อข้ามอุปสรรคในการทำงานกับวัตถุโบราณที่บอบบาง ในอดีต นักวิทยาศาสตร์จำกัดมากในการตรวจดูตัวอย่างโดยไม่ทำให้เสียหาย แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ระดับไมโคร (micro-CT scanning) ช่วยให้สามารถแยกแยะซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์จากซากตกตะกอนอื่น ๆ และเทคโนโลยีรังสีเอกซ์ ก็ช่วยให้ตรวจสมรรถภาพการได้ยินของสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วได้ และช่วยสร้างความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับทั้งบรรพบุรุษมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ ที่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิวัฒนาการของคอเคลีย · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิหารคด

วิหารคดที่วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร วิหารคด คือส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมพุทธศาสนสถาน มีลักษณะเป็นวิหารล้อมรอบลานด้านในของวิหารหลักและคดเป็นข้อศอกตรงมุม มีลักษณะเทียบได้กับ ระเบียงฉันนบถ ในสถาปัตยกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิหารคด · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิตรูวิอุส

''วิทรูเวียนแมน'' เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี วิตรูวิอุส มีชื่อเต็มว่า มาร์กุส วิตรูวิอุส ป็อลลิโอ (Marcvs Vitrvvivs Pollio; เกิดในช่วง 80-70 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 25 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักเขียน สถาปนิก และวิศวกรแห่งอาณาจักรโรมัน เป็นบุคคลที่มีบันทึกเกี่ยวกับประวัติชีวิตส่วนตัวน้อยมาก สิ่งที่คนรุ่นหลังรู้จักเกี่ยวกับตัวเขาคือผ่านผลงานของเขา วิตรูวิอุสเกิดในสถานภาพราษฎรโรมันเต็มตัว ได้เข้ารับราชการทหารและประจำอยู่ในกองวิศวกรรมซึ่งมีหน้าที่สร้างเครื่องกลต่าง ๆ เพื่อใช้ในการทำสงคราม ต่อมาได้รับการว่าจ้างจากจักรพรรดิเอากุสตุสให้ทำงานกับราชสำนัก วันเวลาของการเสียชีวิตของวิตรูวิอุสนั้นนักประวัติศาสตร์ไม่สามารถหาหลักฐานที่ชัดเจนได้ แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ว่า ในยุคสมัยที่เขาอยู่นั้น เขาไม่ได้เป็นคนสำคัญที่มีชื่อเสียงแต่อย่างใด นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า วิตรูวิอุสเป็นผู้เขียนศาสตรนิพนธ์ชื่อ ว่าด้วยสถาปัตยกรรม (De architectvra) โดยเขียนเป็นภาษาละตินและภาษากรีก เป็นงานที่เขียนถวายให้กับจักรพรรดิเอากุสตุส และเป็นหนังสือเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเพียงเล่มเดียวในยุคนั้นที่มีหลักฐานหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ข้อความเขียนโดยวิตรูวิอุสที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุดและยังคงใช้กันมาต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน คือ สถาปัตยกรรมต้องมีคุณลักษณะสามประการ ได้แก่ ความแข็งแรงมั่นคง (firmitas), การใช้ประโยชน์ได้ (vtilitas) และความงาม (venvstas) แนวคิดที่สำคัญอีกประการของวิตรูวิอุสนั้นคือ แนวคิดเกี่ยวกับการมองสถาปัตยกรรมเป็นการสร้างสรรค์เลียนแบบองค์ประกอบของธรรมชาติ เพราะมนุษย์ต้องใช้วัสดุจากธรรมชาติมาสร้างสถาปัตยกรรม ภาษาของสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นต้องมีความสัมพันธ์กับลักษณะทางธรรมชาติของมนุษย์ ชาวกรีกได้นำหลักการนี้ไปเป็นพื้นฐานในการพัฒนาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เช่น เสาแบบดอริก เสาแบบไอออนิก หรือเสาแบบคอรินเทียน ทุกสัดส่วนที่เกิดขึ้นนั้นมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่งานอันเป็นสุดยอดแห่งการสร้างสรรค์ของธรรมชาติ ได้แก่ร่างกายของมนุษย์นั่นเอง แนวคิดเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ดังกล่าวได้รับการนำไปถ่ายทอดเป็นภาพเขียนที่มีชื่อเสียงชื่อ "วิทรูเวียนแมน" หรือมนุษย์วิตรูวิอุส ซึ่งเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวิตรูวิอุส · ดูเพิ่มเติม »

วจีวิภาค

วจีวิภาค (ละติน: pars orationis, part of speech) ในทางไวยากรณ์ หมายถึงประเภทของคำในทางภาษาศาสตร์ ซึ่งโดยทั่วไปนิยามโดยลักษณะวากยสัมพันธ์หรือหน่วยคำของคำที่กล่าวถึง แทบทุกภาษามีคำชนิดนามและกริยา แต่นอกเหนือจากนี้ จะมีแตกต่างกันไปในแต่ละภาษา ตัวอย่างเช่น ภาษาญี่ปุ่นมีคำคุณศัพท์สามชนิด ขณะที่ภาษาอังกฤษมีชนิดเดียว ภาษาจีน เกาหลีและญี่ปุ่นมีลักษณนาม ขณะที่ภาษาทางยุโรปไม่มี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวจีวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

วีนา อะมอริส

นิ้วนาง วีนา อะมอริส (vena amoris) เป็นคำละติน แปลตามรูปศัพท์ว่าหลอดเลือดแห่งความรัก เชื่อว่าเป็นหลอดเลือดดำที่เชื่อมตรงจากนิ้วนางมือซ้ายไปยังหัวใจ ถูกยกขึ้นอ้างเป็นเหตุผลของวัฒนธรรมการสวมแหวนหมั้นและ/หรือแหวนแต่งงานที่นิ้วนางมือซ้ายในวัฒนธรรมตะวันตก อย่างไรก็ดี เรื่องนี้เป็นเพียงความเชื่อ นิ้วแต่ละนิ้วในมือทั้งสองข้างมีระบบไหลเวียนเลือดที่คล้ายคลึงกันอยู่แล้ว นิ้วนางมือซ้ายไม่ได้มีระบบไหลเวียนเลือดที่แตกต่างออกไปแต่อย่างใด หมวดหมู่:การแต่งงาน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวีนา อะมอริส · ดูเพิ่มเติม »

วีเวรียอา

วีเวรียอา ไดโนเสาร์คอยาวชนิดหนึ่ง ถูกค้นพบในสถานที่ ๆ เป็นประเทศฝรั่งเศสในยุคปัจจุบัน มีอายุอยู่ราวยุคจูแรสซิกตอนปลาย มีชนิดต้นแบบ คือ Vouivria damparisensis วีเวรียอา ถูกค้นพบเป็นซากดึกดำบรรพ์ตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและวีเวรียอา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พิกุล

วงศ์พิกุล หรือ Sapotaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกอยู่ในอันดับ Ericales มีสมาชิก 800 สปีชีส์ เป็นพืชไม่ผลัดใบ ทั้งไม้พุ่มและไม้ยืนต้น มีประมาณ 65สกุล (หรือ 35-75, ขึ้นกับการให้คำจำกัดความ) กระจายพันธุ์ในเขตร้อน หลายสปีชีส์ผลรับประทานได้ หรือมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ พืชที่มีผลรับประทานได้ ได้แก่ ละมุด ลูกน้ำนม ม่อนไข่ ผลของมิราเคิล (Synsepalum dulcificum) อยู่ในวงศ์นี้เช่นกัน ไม้ยินต้นในสกุล Palaquium ผลิตลาเท็กซ์ ที่ใช้งานได้หลากหลาย เมล็ดของ Argania spinosa (L.) ใช้ผลิตน้ำมัน (Argan oil)ใน โมร็อกโก ชื่อของวงศ์นี้มาจาก zapote ชื่อของพืชชนืดหนึ่งในเม็กซิโก ซึ่งสะกดในภาษาละตินว่า sapota.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวงศ์พิกุล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์วัวและควาย

วงศ์วัวและควาย เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bovidae จัดเป็นสัตว์กินพืช ลักษณะเด่นของสัตว์ในวงศ์นี้ จะมีเขาที่ไม่มีการแตกกิ่ง ไม่มีการหลุดหรือเปลี่ยนในตลอดช่วงอายุขัย มีกระเพาะอาหารแบ่งเป็น 4 ห้องหรือ 4 ส่วน และมีการหมักย่อย โดยการหมักของกระเพาะอาหารจะอาศัยแบคทีเรียในท่อทางเดินอาหาร โดยส่วนใหญ่ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ในกระเพาะอาหารจะอยู่ที่ 6.7+0.5 มีถุงน้ำดี นอกจากนั้นสัตว์ในตระกูลนี้สามารถสำรอก อาหารออกมาจากกระเพาะหมัก เพื่อทำการเคี้ยวใหม่ได้ ที่เรียกว่า "เคี้ยวเอื้อง" ลูกที่เกิดใหม่จะใช้เวลาไม่นานในการเดินและวิ่งได้ อันเนื่องจากการวิวัฒนาการเพื่อให้เอาตัวรอดจากสัตว์กินเนื้อที่เป็นผู้ล่าในห่วงโซ่อาหาร สัตว์ที่อยู่ในวงศ์นี้ เป็นสัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยและผูกพันอย่างดีในฐานะเป็นสัตว์เศรษฐกิจและปศุสัตว์ ได้แก่ วัว, ควาย, แพะ, แกะ เป็นต้น สำหรับสัตว์ป่า มีการกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปออสเตรเลีย ในแอฟริกาและบางส่วนของทวีปเอเชีย จะมีบางชนิดที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับกวาง (Cervidae) เช่น อิมพาลาหรือแอนทีโลป แต่ความเป็นจริงแล้วเป็นสัตว์ในวงศ์นี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวงศ์วัวและควาย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หอยจุกพราหมณ์

วงศ์หอยจุกพราหมณ์ หรือ วงศ์หอยสังข์ทะนาน (Volute, วงศ์: Volutidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสคา ชั้นหอยฝาเดี่ยว (Gastopoda) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Volutidae เป็นหอยที่พบในทะเลเท่านั้น มีจุดเด่น คือ ที่ปลายของเปลือกหรือก้นหอย ขมวดเป็นเกลียวกลมคล้ายมวยผมของพราหมณ์ นักบวชในศาสนาฮินดู หอยจุกพราหมณ์ เป็นหอยที่กินหอยจำพวกอื่นเป็นอาหาร มีขนาดของเปลือกยาวตั้งแต่ 9-500 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ไม่มีท่อน้ำออก พบในเขตร้อนและเขตขั้วโลก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวงศ์หอยจุกพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง

วงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubrid, Typical snake) เป็นวงศ์ของงูมีพิษวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Colubridae นับเป็นวงศ์ของงูที่มีปริมาณสมาชิกในวงศ์มากที่สุด ด้วยมีมากมายถึงเกือบ 300 สกุล และมีทั้งหมดในปัจจุบัน (ค.ศ. 2014) 1,938 ชนิด และจำแนกออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 12 วงศ์ (ดูในตาราง) โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Colubridae รูปร่างโดยรวมของงูในวงศ์นี้คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและมีฟันชนิดที่ต่างกันไป แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ aplyph, opisthoglyph, proteroglyph ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัล-กระดูกพาไรทัล-กระดูกพาราสฟีนอยด์ ขากรรไกรล่างไม่มีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารีมีฟัน ไม่มีกระดูกเชิงกราน ไม่มีปิดข้างซ้ายหรือมีแต่ก็น้อยมาก มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน โดยรวมแล้วพิษของงูในวงศ์นี้เมื่อเทียบกับงูพิษวงศ์อื่นแล้ว เช่น วงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) หรือวงศ์งูหางกระดิ่ง (Viperidae) นับว่ามีพิษร้ายแรงน้อยกว่ามาก หรือบางชนิดก็ไม่มีพิษเลย คำว่า "Colubridae" ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษาละตินว่า "coluber" แปลว่า "งู".

ใหม่!!: ภาษาละตินและวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสลิดหิน

ระวังสับสนกับ ปลาสลิดทะเล วงศ์ปลาสลิดหิน (Damsel, Demoiselle) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลากะพง (Perciformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacentridae เป็นปลาทะเลหรือน้ำกร่อยขนาดเล็ก โดยรวมแล้วมีขนาดประมาณ 4-8 เซนติเมตร มีความโดดเด่นตรงที่มีสีสันและลวดลายสดใสสวยงาม จึงเป็นที่นิยมของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการัง นับเป็นปลาที่พบได้บ่อยและชุกชุมที่สุดในแนวปะการัง พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก เป็นปลาที่อาศัยอยู่เป็นฝูง มีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร มักกัดทะเลาะวิวาทกันเองภายในฝูง กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอน, สาหร่าย และสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ จัดเป็นปลาที่วงศ์ใหญ่ มีจำนวนสมาชิกในวงศ์ประมาณ 360 ชนิด ใน 29 สกุลหรือวงศ์ย่อย ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นปลาที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ ปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 28 ชนิด โดยที่คำว่า Pomacentridae ที่เป็นภาษาละตินที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น แปลงมาจากภาษากรีกคำว่า "poma" แปลว่า "ปก" หมายถึง "แผ่นปิดเหงือก" และ "kentron" แปลว่า "หนาม" ซึ่งหมายถึง "หนามที่บริเวณแผ่นปิดเหงือกอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของปลาในวงศ์นี้" ลักษณะทางชีววิทยา คือ ลำตัวสั้นปอมรูปไขรีแบนขาง เกล็ดเป็นแบบสาก เสนขางตัวขาดตอน ครีบหลังติดกันเปนครีบเดียว มี รูจมูกเพียงคูเดียว ครีบทองอยูในตำแหนงอก ไมมีฟนที่พาลาทีน ปลาในวงศ์ปลาสลิดหิน โดยมากแล้ว เป็นปลาที่ดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว โดยทั้งปลาตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแล แต่ก็มีบางจำพวกอย่าง ปลาการ์ตูน ที่สามารถเปลี่ยนเพศได้ตามสถานการณ์ โดยปกติแล้วเป็นปลาทะเลและปลาน้ำกร่อย แต่ก็มีบางชนิดเท่านั้นที่พบอาศัยอยู่ในน้ำจืดด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวงศ์ปลาสลิดหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตูหนา

วงศ์ปลาตูหนา (True eel, Freshwater eel) เป็นวงศ์ของปลาในชั้นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Anguillidae (/แอน-กิล-ลิ-ดี้/) โดยมาจากภาษาลาตินว่า "Ae" หมายถึง ปลาไหล ซึ่งปลาวงศ์นี้มักจะถูกเรียกรวมกันว่า ปลาตูหนา มีทั้งหมด 1 สกุล คือ Anguilla และมีทั้งหมด 15 ชนิด กระจายทั่วชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิกจนถึงออสเตรเลีย พบในประเทศไทยประมาณ 3–4 ชนิด ปลาวงศ์นี้มีฟันคม ปากกว้าง เขี้ยวเล็กละเอียดบนขากรรไกรเป็นร้อย ๆ ซี่ จมูกมีรูเล็ก ๆ เหมือนหลอด 2 ข้าง ใช้สำหรับดมกลิ่นเพื่อนำทางและหาอาหาร ซึ่งปลาตูหนามีประสิทธิภาพในการดมกลิ่นได้ดีกว่าปลาฉลามเสียอีก ครีบอกเป็นรูปกลมรี ครีบหลังยาวติดต่อกับครีบหางที่มนและครีบก้นที่ยาว ลำตัวดูภายนอกเหมือนไม่มีเกล็ด มีเมือกลื่นปกคลุมทั้งตัว แต่แท้จริงมีเกล็ดขนาดเล็กมากเรียงซ้อนฝังอยู่ใต้ผิวหนัง โดยไม่มีเส้นข้างลำตัว เลือดและน้ำเหลืองของปลาตูหนามีพิษ ซึ่งอาจฆ่าสุนัขให้ตายได้ เป็นปลานักล่า สามารถจับกุ้ง, ปู หรือสัตว์เปลือกแข็ง รวมทั้งปลาต่าง ๆ กิน มักอาศัยในแหล่งน้ำใส มีตอไม้, โพรงไม้ หรือซอกหินอยู่มาก อาจขุดรูอยู่ก็ได้ นอกจากบริเวณปากแม่น้ำแล้ว ยังเคยพบไกลถึงลำธารน้ำตกบนภูเขาอีกด้วย เป็นปลาที่มีวงจรชีวิตแบบ ปลาสองน้ำ คือออกไปวางไข่ในทะเลลึก ปลาวัยอ่อนจึงอพยพกลับมาเลี้ยงตัวที่ชายฝั่งหรือป่าชายเลนก่อนเข้ามาเติบโตในน้ำจืดที่ไกลจากทะเลนับร้อย ๆ กิโลเมตร ลูกปลามีตัวใส เรียวยาวดูคล้ายวุ้นเส้น โดยปกติแล้วเป็นปลาที่มีนิสัยรักสงบ แต่จะดุร้ายมากเมื่อถูกจับได้ มีรายงานว่าปลาบางตัวมีอายุมากได้ถึง 105 ปี และอาจยาวได้ถึง 8 ฟุต ในทะเลสาบน้ำจืดที่นิวซีแลนด์พบบางตัวมีน้ำหนักมากกว่า 100 ปอนด์Flesh Ripper, "River Monsters".

ใหม่!!: ภาษาละตินและวงศ์ปลาตูหนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแสงอาทิตย์

ปลาแสงอาทิตย์วัยอ่อน ขนาด 1 มิลลิเมตร วงศ์ปลาแสงอาทิตย์ หรือ วงศ์ปลาโมลา (Mola, Sunfish, Headfish, Trunkfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Molidae (/โม-ลิ-ดี้/) มีลำตัวกลมรูปไข่ แบนข้างมาก ตามีขนาดเล็ก ช่องเปิดเหงือกที่ขนาดเล็ก ปากอยู่ในตำแหน่งตรงมีขนาดเล็กฟันทั้งสองข้างเชื่อมต่อกันมีลักษณะคล้ายปากนก ครีบหลังและครีบก้นอยู่ตรงข้ามกัน ครีบอกมีเล็ก ไม่มีครีบท้อง ในน่านน้ำไทยส่วนใหญ่พบทางฝั่งทะเลอันดามัน ส่วนหางของลำตัวตัดตรง ไม่มีครีบหาง ปกติเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทรเข้ามาในเขตน้ำตื้นโดยบังเอิญหรือติดมากับอวนของชาวประมงที่ออกไปทำการประมงในมหาสมุทร เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้า เนื่องจากรูปร่าง กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอนสัตว์, แมงกะพรุน และสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ขณะที่ว่ายน้ำจะใช้ครีบก้นและครีบหาง ขณะที่ครีบอกจะใช้ควบคุมทิศทาง มีถุงลมขนาดใหญ่ ปากรวมทั้งเหงือกจะพ่นน้ำออกมาเพื่อเป่าทรายเหมือนเครื่องยนต์เจ็ตเพื่อค้นหาอาหารที่ใต้ทรายอีกด้วย แบ่งออกเป็น 3 สกุล 4 ชนิด โดยชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดและพบได้บ่อย คือ ปลาแสงอาทิตย์ (Mola mola) ซึ่งเป็นชนิดที่มีความใหญ่ที่สุดด้วย โดยสามารถโตเต็มที่ได้ถึง 3 เมตร น้ำหนักกว่า 2 ตัน ซึ่งนับเป็นปลากระดูกแข็งที่มีน้ำหนักมากที่สุดในโลก และถือเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในอันดับนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้า

ักการสถานของโฮเดเกเทรีย มหาวิหารอัสสัมชัญในกรุงสโมเลงสค์ ประเทศรัสเซีย ค.ศ. 1912 หีบสามกษัตริย์ของมหาวิหารโคโลญในเยอรมนีที่บรรจุกระดูกของโหราจารย์ถือกันว่าเป็น “หีบสักการะ” ภาพเขียน “The Shrine” โดยจอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์ ค.ศ. 1895 ศาลเจ้า ชาวคาทอลิกเรียกว่าสักการสถาน ตรงภาษาอังกฤษว่า “Shrine” มาจากภาษาละติน “Scrinium” ที่แปลว่า “หีบสำหรับหนังสือหรือเอกสาร” และภาษาฝรั่งเศสเก่า “escrin” ที่แปลว่า “กล่องหรือหีบ” คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อุทิศให้แก่บุคคลสำคัญทางศาสนา บรรพบุรุษ วีรบุรุษ มรณสักขี นักบุญ หรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือเป็นที่นับถือผู้เป็นที่สักการะ ในศาลมักจะประกอบด้วยรูปเคารพ วัตถุมงคล หรือสิ่งของต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เป็นที่สักการะ ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อรับสิ่งสักการะเรียกว่า “แท่นบูชา” ศาลเจ้าเป็นสิ่งที่พบในศาสนาแทบทุกศาสนาในโลกที่รวมทั้งศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ศาสนาพื้นบ้านจีน และศาสนาชินโต และการใช้ในทางที่ไม่เกี่ยวกับศาสนาเช่นรำลึกสถานเกี่ยวกับสงคราม ศาลเจ้ามีลักษณะต่างกันไปหลายอย่าง ปูชนียสถานบางแห่งก็ตั้งอยู่ภายในโบสถ์ วัด สุสาน หรือแม้แต่ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย หรือบางครั้งก็จะเป็นแบบที่เคลื่อนย้ายได้ เช่นในลักษณะของ “หีบวัตถุมงคล” ศาลเจ้าบางครั้งก็อาจจะกลายมาเป็นศูนย์กลางที่ประดิษฐานเทวรูปต่าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและศาลเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและศิลปศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ศิษยาภิบาล

ษยาภิบาล (Pastor) เป็นคำจากภาษาสันสกฤตแปลว่า ผู้ดูแลศิษย์ (ศิษฺย+อภิปาล) ส่วนคำว่า pastor นั้นมาจากภาษาละติน pascere ซึ่งแปลว่าคนเลี้ยงแกะ (shepherd) ชาวโรมันคาทอลิกแปลคำนี้ว่า "ผู้อภิบาล" ศิษยาภิบาลเป็นตำแหน่งในการปกครองคริสตจักร ในปัจจุบันใช้ในคริสตจักรฝ่ายโปรเตสแตนต์ นอกจากนี้ยังพบการใช้คำว่าผู้อภิบาล (pastor) เพื่อหมายถึงมุขนายกและอธิการโบสถ์ในคริสตจักรอื่น ๆ ด้วย ได้แก่ คริสตจักรโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และออเรียนทัลออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและศิษยาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบาร์โบดีส

กุลบาร์โบดีส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Barbodes (/บาร์-โบ-ดีส/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำว่า Barbodes มาจากภาษาละตินคำว่า barbus หมายถึง "หนวดปลา" และภาษากรีกคำว่า oides หมายถึง "เหมือนกับ" หรือ "คล้ายกับ" มีลักษณะสำคัญ คือ เมื่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนจะมีแต้มกลมเรียงกันในแนวด้านข้างลำตัว 3-5 แต้ม ซึ่งรวมทั้งแต้มบริเวณคอดหาง และมีแต้มที่จุดเริ่มต้นของครีบหลัง ก้านครีบแข็งมีขอบเป็นซี่จักรแข็ง เกือบทุกชนิดมีหนวดบนขากรรไกรบนสองคู่ ยกเว้นในบางชนิด มีเกล็ดที่มีท่อในแนวเส้นข้างลำตัว 22-32 เกล็.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลบาร์โบดีส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพุนทิกรุส

กุลพุนทิกรุส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดยใช้ชื่อสกุลว่า Puntigrus เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลพุนทิกรุส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยอ

กุลยอ หรือ Morindaเป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Rubiaceae.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลยอ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลวูลเปส

กุลวูลเปส (Fox, True fox) เป็นสกุลของหมาจิ้งจอกสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Vulpes จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ ซึ่งคำว่า "Vulpes" เป็นภาษาลาตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก" สกุลวูลเปส นับเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดของหมาจิ้งจอก คือ มีทั้งหมด 12 ชนิด โดยมี หมาจิ้งจอกแดง (Vulpes vulpes) เป็นต้นแบบของสกุล พบกระจายพันธุ์ไปแทบทุกส่วนของโลก ทั้ง ป่า, ชายป่าใกล้ชุมชนมนุษย์, ทะเลทราย, ที่ราบสูง หรือแม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลวูลเปส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมว

กุลแมว หรือ สกุลแมวเล็ก (Small cat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับสัตว์กินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดเป็นเสือขนาดเล็ก ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Felis โดยที่คำว่า Felis นั้น มาจากภาษาละตินที่แปลตรงตัวว่า แมว และถือเป็นสกุลดั้งเดิมของหลายชนิดในวงศ์นี้ ก่อนที่จะแตกออกไปเป็นสกุลอื่น ๆ ตามเวลาที่มีการศึกษาเพิ่มเติม โดยสมาชิกที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้ ก็คือ แมวตีนดำ ที่พบในทวีปแอฟริกา ที่มีความยาวเต็มที่ 36.9 เซนติเมตร (14.5 นิ้ว) และความยาวหาง 12.6-17 เซนติเมตร ซึ่งถือเป็นชนิดที่เล็กที่สุดในวงศ์นี้ด้วย ขณะที่ใหญ่ที่สุด คือ แมวป่า มีความยาวลำตัวและส่วนหัว 50-56 เซนติเมตร ขณะที่ความยาวหาง 26-31 เซนติเมตร สมาชิกในสกุลนี้ยังรวมถึงแมวบ้าน ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงด้วย จากการศึกษาทางพันธุกรรมพบว่า สกุลนี้มีปรากฏครั้งแรกเมื่อราว 8-10 ล้านปีมาแล้ว ทางแถบเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลแมว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมวลายหินอ่อน

กุลแมวลายหินอ่อน (Marbled cat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์แมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pardofelis โดยคำว่า Pardofelis นั้นเป็นภาษาละติน 2 คำ คือ pardus หมายถึง เสือดาว และ felis หมายถึง แมว สัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้นั้น มีด้วยกัน 3 ชนิด กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, อินโดจีน จนถึงเกาะบอร์เนียว โดยสกุลนี้ถูกตั้งขึ้นโดยนักสำรวจและนักธรรมชาติวิทยาชาวรัสเซีย นิโคไล เซเวอร์ทซอฟ ในปี ค.ศ. 1858 โดยมีแมวลายหินอ่อนเป็นต้นแบบ จากการศึกษาพบว่าสกุลนี้ได้พัฒนาตัวเองขึ้นมาเมื่อ 9.4 ล้านปีก่อน Johnson, W. E., Eizirik, E., Pecon-Slattery, J., Murphy, W. J., Antunes, A., Teeling, E., O'Brien, S. J. (2006).

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลแมวลายหินอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือลายเมฆ

กุลเสือลายเมฆ เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกเสือขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Neofelis จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) โดยคำว่า Neofelis นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า νεο หมายถึง "ใหม่" และภาษาละตินคำว่า feles หมายถึง "แมว" รวมความแล้วหมายถึง "แมวใหม่" สกุลนี้ตั้งขึ้นโดย จอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ นักสัตววิทยาชาวอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1867 ลักษณะเด่นของเสือในสกุลนี้ คือ มีกะโหลกส่วนใบหน้าที่กว้าง หน้าผากมีขนาดใหญ่และจมูกยาว ขากรรไกรล่างและขากรรไกรบนมีฟันเขี้ยวที่คมและปลายขอบตัดขวาง ซึ่งกะโหลกลักษณะนี้คล้ายคลึงกับเสือเขี้ยวดาบที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ นอกจากนี้แล้วเสือลายเมฆที่พบในภูมิภาคซุนดามีเขี้ยวบนยาวและมีเพดานปากที่แคบระหว่างเขี้ยวนั้น โดยรวมแล้ว เสือลายเมฆเป็นเสือขนาดใหญ่ที่มีรูปร่างเล็กกว่าเสือขนาดใหญ่ชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์เฉพาะภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และพบได้ในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของจีน ลักษณะกะโหลกและฟันเขี้ยวของเสือลายเม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเจตมูลเพลิง

กุลเจตมูลเพลิง เป็นสกุลของพืชที่มีสมาชิก 10-20 สปีชีส์ในวงศ์ Plumbaginaceae พบในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน plumbum ("ตะกั่ว") และ agere ("to resemble") ใช้ครั้งแรกโดย Pliny the Elder (23-79) กับพืชชื่อ μολυβδαινα (molybdaina) to Pedanius Dioscorides (ca. 40-90).

ใหม่!!: ภาษาละตินและสกุลเจตมูลเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยคลาสสิก

มัยคลาสสิก (Classical antiquity หรือ classical era หรือ classical period) เป็นคำที่ใช้กว้างๆ สำหรับสมัยประวัติศาตร์วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณเมดิเตอเรเนียนที่ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณและโรมันโบราณที่เรียกว่าโลกกรีก-โรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและลาตินมีความรุ่งเรือง สมัยคลาสสิกถือกันว่าเริ่มขึ้นเมื่อมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ราวศตวรรษที่ 8 ถึง 7 ก่อนคริสต์ศตวรรษ และดำเนินต่อมาจนกระทั่งถึงสมัยการเผยแพร่ของคริสต์ศาสนา และ การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนมาสิ้นสุดลงในปลายสมัยโบราณตอนปลาย ราว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสมัยคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน

ซีเร คลารี หรือ เบอร์นาร์ดีน เออเฌนี เดซีเร คลารี (ฝรั่งเศส:Bernardine Eugénie Désirée Clary; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1777 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1860) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ โดยทรงเป็นพระมเหสีในพระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดน อดีตนายพลชาวฝรั่งเศสและเป็นผู้สถาปนาราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ และครั้งหนึ่งพระนางทรงเคยเป็นคู่หมั้นในนโปเลียน โบนาปาร์ต พระนางทรงเปลี่ยนพระนามอย่างเป็นทางการเป็น เดซีเดอเรีย (Desideria) พระนามในภาษาละติน ซึ่งพระนางก็ไม่ทรงเคยใช้แทนพระองค์เอง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพแอฟริกาใต้

Union of South Africa Red Ensign (1912–1928) Union of South Africa Blue Ensign (1912–1928) สหภาพแอฟริกาใต้ คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ในยุคของการถือผิว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสหภาพแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ภาษาละตินและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหัสวรรษ

หัสวรรษ(Millennium) เป็นช่วงของเวลาเท่ากับหนึ่งพันปี คำว่า millennium ในภาษาอังกฤษนั้น มาจากคำภาษาละติน mille แปลว่า พัน และ annus ซึ่งแปลว่าปี มักใช้แต่ไม่จำเป็นต้องใช้เกี่ยวข้องเชิงตัวเลขกับระบบการนับวันโดยเฉพาะ เช่น สหัสวรรษอาจเริ่มตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสหัสวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

สัพะ พะจะนะ พาสา ไท

ัพะ พะจะนะ พาสา ไท เป็นพจนานุกรมสี่ภาษา ที่ปาเลอกัว บาทหลวงชาวฝรั่งเศส เป็นผู้เรียบเรียง ตีพิมพ์ขึ้นที่กรุงปารีส ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสัพะ พะจะนะ พาสา ไท · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์พาราลิมปิก

ัญลักษณ์พาราลิมปิก จะมีไอคอน, ธง, และอื่นๆ ที่ใช้ในคณะกรรมการพาราลิมปิกนานาชาติ สำหรับการส่งเสริมกีฬาพาราลิมปิก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสัญลักษณ์พาราลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สัมมนา

ัมมนา (seminar) ปรกติหมายถึง รูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาหรือบริษัทต่าง ๆ โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็กเพื่ออภิปรายเรื่องราวเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของบทเรียนด้วยบทบาทที่สูง ปรัชญาเบื้องหลังการเรียนการสอนแบบสัมมนา ได้แก่ การสอนผู้เรียนให้เผชิญและคุ้นเคยกับวิธีการ (methodology) ในการค้นคว้าสาขาวิชาการที่ตนเลือก สัมมนาประกอบด้วยการการยกปัญหา การถาม-ตอบแล้วอภิปรายหาข้อสรุปหรือคำตอบ ปกติเอกสารที่เตรียมมาสัมมนาจะต้องเป็นเอกสารที่มีรูปแบบวิชาการและจะต้องมีการวิจารณ์ซึ่งกันและกัน สัมมนาใช้มากในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คำว่า seminar มาจากภาษาลาตินว่า "seminarium" แปลว่า แปลงเพาะเมล็ดพันธุ์ ส่วนคำ "สัมมนา" มาจากคำภาษาบาลีสมาสกัน คือ สํ (รวม) + มนา (ใจ).

ใหม่!!: ภาษาละตินและสัมมนา · ดูเพิ่มเติม »

สังคมวิทยา

ังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสังคมวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สัตวแพทย์

ัตวแพทย์ สัตวแพทย์ คือ แพทย์ที่รักษาสัตว์ หรือกล่าวแบบภาษาชาวบ้านว่า "หมอรักษาสัตว์" โดยคำว่า veterinarian นิยมใช้ในอเมริกาเหนือ ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดยโทมัส บราวน์ (Thomas Browne) หรือ veterinary surgeon นิยมใช้ในยุโรป ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละติน คือ veterinae โดยมีหมายความว่า draught animals บางครั้งอาจจะใช้คำสั้น ๆ ว่า "vet" ในประเทศไทย คาดว่า คำว่า สัตวแพทย์ พล.ต. ม.จ.ทองฑีฆายุ ทองใหญ่ ผู้ซึ่งเป็นพระบิดาของวิชาสัตวแพทย์สมัยใหม่ เป็นผู้ใช้คำนี้ โดยทรงก่อตั้งโรงเรียนอัศวแพทย์ทหารบก ซึ่งได้พัฒนาต่อมาเป็นโรงเรียนนายสิบสัตวแพทย์ และ โรงเรียนนายดาบสัตวแพทย์ทหารบก ตามลำดับ ซึ่งถือว่าเป็นการศึกษาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ครั้งแรกของประเทศไทย โดยต้องการผลิตกำลังพลป้อนกองทัพ และได้พัฒนาเป็นแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ ตั้งอยู่ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย์ พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ เป็นปฐมคณบดี ซึ่งถือว่าเป็นการศึกษาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ ในสถานศึกษาพลเรือนเป็นครั้งแรก เพื่อผลิตสัตวแพทย์ ในระดับปริญญา ต่อมาได้มีการพัฒนาเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายพัฒนาประเทศในสมัยนั้น รัฐบาลได้โอนคณะสัตวแพทยศาสตร์มาสังกัด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีพุทธศักราช 2497 โดยมีการเรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จำนวน 2 ปี และไปเรียนที่ถนน อังรีดูนัง อีก 4 ปี ต่อมาได้มีการย้ายกิจการคณะไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และจัดตั้งเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบันเมื่อปี พุทธศักราช 2510 แต่ก็ยังมีอาจารย์และนิสิตส่วนหนึ่งอยู่พัฒนาคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อไป โดยได้เชิญอธิบดีกรมปศุสัตว์ในสมัยนั้น คือ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.จักร พิชัยรณรงค์สงคราม เป็นคณบดี และถือว่า ท่านคือ บิดาของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อย่างไรก็ตาม กรมปศุสัตว์ ก็เปิดสอนวิชาสัตวแพทยศาสตร์ ในระดับประกาศนียบัตร ณ โรงเรียนสัตวแพทย์ (Paraveterinary School)เพื่อผลิตบุคลกรให้กรมปศุสัตว์ เพื่อบรรเทาความขาดแคลนสัตวแพทย์ของประเทศ โดยมีเพลงนกน้อยในไร่ส้มเป็นเพลงที่ถูกแต่งเพื่อชื่นชมการปฏิบัติหน้าที่ของสัตวแพทย์ในชนบท และถูกนำไปใช้ในวิชาชีพสื่อสารมวลชน ต่อมา สำหรับประเทศไทย คำว่า "สัตวแพทย์" สามารถสื่อความหมายได้ 2 กรณี คือ สัตวแพทย์ (Paravet) และ นายสัตวแพทย์ (Veterinarian) นายสัตวแพทย์ คือ บุคคลที่เรียนจบสัตวแพทย์ ในระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้รับคุณวุฒิ ปริญญาทางสัตวแพทยศาสตร์ (สพ.บ.) และ ได้รับ ใบประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง สัตวแพทย์ คือ บุคคลที่เรียนจบ โรงเรียนสัตวแพทย์ ของ กรมปศุสัตว์ ได้รับประกาศนียบัตร (2ปี) และได้รับ ใบประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ชั้น สอง ปัจจุบัน โรงเรียนสัตวแพทย์ ของกรมปศุสัตว์ ได้ยุบและโอนย้ายไปเป็น คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดทำการสอนในระดับปริญญา ด้าน เทคนิคการสัตวแพทย์ (4ปี).

ใหม่!!: ภาษาละตินและสัตวแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

ัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Amphibia อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก มีลักษณะเฉพาะ คือ ผิวหนังมีต่อมเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปียกลื่นอยู่เสมอ ไม่มีเกล็ดตัวไม่แห้งหรือไม่มีขน หายใจด้วยเหงือก, ปอด, ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ โดยชั้นผิวหนังนั้นมีลักษณะพิเศษสามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เนื่องจากมีโครงข่ายหลอดเลือดฝอยจำนวนมาก เพื่อใช้ในการหายใจ สืบพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว สืบพันธุ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ออกลูกเป็นไข่อยู่ในน้ำ ไม่มีเปลือก วางไข่เป็นกลุ่มในน้ำมีสารเป็นวุ้นหุ้ม ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างคล้ายปลาเรียกว่า "ลูกอ๊อด" อยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่ต้องอยู่ใกล้น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรูปร่างอาศัยอยู่บนบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งในช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ส่วนใหญ่จะขุดรูจำศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผิวหนังแห้ง ถ้าผิวหนังแห้งจะหายใจไม่ได้และตายในที่สุด เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ำเมือกที่ผิวหนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต ระยะนี้จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่างกายอย่างช้า ๆ นิวต์และซาลามานเดอร์ก็เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกถือเป็นสัตว์เลือดเย็นเช่นเดียวกับสัตว์พวกปลา หรือแมลง หรือสัตว์เลื้อยคลาน ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานสัตว์ในชั้นแล้วกว่า 6,500 ชน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ประหลาด

รา หนึ่งในสัตว์ประหลาดของเทพปกรณัมกรีกที่มีชื่อเสียง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย (Monster, Cryptid) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ผิดแปลกจากสภาพแวดล้อมโดยทั่ว ๆ ไป หรือสัตว์ที่มนุษย์ไม่เป็นที่รู้จัก สัตว์ประหลาดถูกกล่าวถึงในตำนานหรือนิทานของชนชาติต่าง ๆ มาแต่อดีตแล้ว โดยคำว่า Monster ที่หมายถึง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากภาษาละตินคำว่า Monstrum ซึ่งหมายถึง การเกิดสิ่งผิดปกติทางชีววิทยามักจะที่ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์ว่าสิ่งที่ถูกต้องภายในเพื่อธรรมชาติ ความหมายของคำว่า Monster ไม่เหมือนกับปีศาจ ซึ่งหมายถึง ความชั่วร้าย โดยปกติแล้ว Monster หรือ สัตว์ประหลาด จะหมายถึงสิ่งที่น่ารังเกียจหรือผิดศีลธรรม หรือความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอย่างน่าเกลียด หรือความวิปริตทางธรรมชาติ นอกจากนี้แล้วยังนำมาใช้เปรียบเปรยกับผู้ที่มีลักษณะโลภโมโทสันหรือบุคคลที่แลดูน่ากลัวด้วย นอกจากนี้แล้ว สัตว์ประหลาดยังปรากฏตัวในสื่อวัฒนธรรมร่วมสมัยทั้งการ์ตูน ภาพยนตร์ และวิดีโอเกม โดยทั่วไปแล้ว สัตว์ประหลาดมักมีลักษณะน่ากลัวและดุร้าย แต่ในสื่อสารมวลชนยุคใหม่ก็มีสัตว์ประหลาดที่มีบทบาทในลักษณะของอสูรกายที่เป็นมิตรหรือถูกเข้าใจผิด เช่น คิงคอง หรือ อสูรกายของแฟรงเกนสไตน์ เป็นต้น ในภาพยนตร์มีเนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดอยู่มากมาย อาทิ Godzilla ของฮอลลีวู้ดในปี ค.ศ. 1998 ที่ดัดแปลงมาจากตัวละครเอกคือ ก็อตซิลล่า ของญี่ปุ่น, The Mist ในปี ค.ศ. 2008 หรือแม้แต่ในภาพยนตร์ไทย เช่น มันมากับความมืด ในปี ค.ศ. 1971 จากการกำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล, มาห์ ในปี ค.ศ. 1991 หรือ ปักษาวายุ ในปี ค.ศ. 2004 เป็นต้น ในวัฒนธรรมไทย ก็มีสัตว์ประหลาดอยู่มากมาย ตามคติจักรวาลวิทยาทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูหรือพุทธศาสนา มีป่าหิมพานต์ซึ่งเป็นป่าศักดิ์สิทธิ์อยู่เชิงเขาไกรลาศ มีสัตว์ประหลาดมากมาย เรียกว่า สัตว์หิมพานต์ ซึ่งมักปรากฏภาพเป็นจิตรกรรมฝาผนังตามวัดต่าง ๆ ในเชิงวิชาการ มีศาสตร์แขนงหนึ่งของสัตววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดโดยเฉพาะ เรียกว่า สัตว์ประหลาดวิทยา หรือ สัตว์ลึกลับวิทยา (Cryptozoology) ซึ่งคำว่า Cryptozoology มาจากภาษากรีกคำว่า Kρυπτός (Kryptos) หมายถึง "ซ่อนอยู่" ผสมกับ Zoology ก็คือ สัตววิทยา นั่นเอง โดยนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับศาสตร์ประเภทนี้ เรียกว่า นักสัตว์ประหลาดวิทยา นักสัตว์ประหลาดวิทยาที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาร์ล ชูเกอร์ ชาวอังกฤษ, เบอร์นาร์ด ฮูเวลมานส์ ชาวเบลเยียม ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งศาสตร์แขนงนี้และเป็นผู้ตั้งศาสตร์แขนงนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสัตว์ประหลาด · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ปีก

ัตว์ปีก หรือ นก (รวมถึง ไก่, เป็ด, ห่าน, ไก่ฟ้า) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้น Aves (คำว่า Aves เป็นภาษาละติน หมายถึง นก) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์ทวิบาท เลือดอุ่น ออกลูกเป็นไข่ รยางค์คู่หน้าเปลี่ยนแปลงไปเป็นปีก มีขนนก และมีกระดูกที่กลวงเบา ในปัจจุบันทั่วโลกมีนกอยู่ประมาณ 8,800 ถึง 9,800 ชนิด (ตามการจัดอนุกรมวิธานที่ต่างกัน) ซึ่งนับว่านกเป็นชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีความหลากหลายมากที่สุด ในบรรดาชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหลายที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน ความหลากหลายของนกนับเนื่องไปตั้งแต่ในเรื่องของขนาดตัว สีสัน เสียงร้อง อาหารการกิน และถิ่นที่อยู่อาศัย นกเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญเป็นอันมากทั้งต่อระบบนิเวศและต่อชีวิตมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับนกเป็นไปอย่างแน่นแฟ้น และการเกื้อกูลกันระหว่างนกกับสรรพสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติก็เป็นไปอย่างแนบแน่น ถ้าหากปราศจากนก คงเป็นเรื่องยากที่จะจินตนาการถึงการดำรงอยู่ต่อไปของชีวภาคใบนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสัตว์ปีก · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐกอสปายา

รณรัฐกอสปายา (Repubblica di Cospaia; อัลโตตีเบรีนี: Cošpèja) เป็นอดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็กแห่งหนึ่งของยุโรปคั่นกลางระหว่างรัฐสันตะปาปากับสาธารณรัฐฟลอเรนซ์ มีเอกราชช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสาธารณรัฐกอสปายา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโรมัน

รณรัฐโรมัน (Res pvblica Romana) (อังกฤษ: Roman Republic)เป็นยุคสมัยของอารยธรรมโรมันโบราณขณะมีรัฐบาลเป็นสาธารณรัฐ เริ่มต้นจากการโค่นล้มราชาธิปไตยโรมัน ซึ่งมักถือว่าเมื่อราว 509 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสาธารณรัฐโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโนลี

รณรัฐโนลี (Repubblica di Noli; ลีกูรา: Nöi) เป็นสาธารณรัฐพาณิชยนาวี (Maritime republic) ขนาดเล็กแห่งหนึ่งในยุโรป มีเอกราชช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสาธารณรัฐโนลี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเวนิส

รณรัฐอันสงบสุขเป็นที่สุดแห่งเวนิส หรือ สาธารณรัฐเวนิส (Republic of Venice หรือ Venetian Republic, Serenissima Repubblica di Venezia) เป็นรัฐที่เริ่มขึ้นในเมืองเวนิสที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี สาธารณรัฐเวนิสรุ่งเรืองอยู่กว่าหนึ่งพันปีตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 จนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสาธารณรัฐเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเจนัว

รณรัฐอันสงบสุขเป็นที่สุดแห่งเจนัว หรือ สาธารณรัฐเจนัว (The Most Serene Republic of Genoa หรือ Republic of Genoa, Repubblica di Genova, ลิกูเรียน: Repúbrica de Zêna) เป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ที่ลิกูเรียทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของฝั่งทะเลอิตาลี ที่รุ่งเรืองตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 มาจนถึง..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสาธารณรัฐเจนัว · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิโดยสายโลหิต

ทธิโดยสายโลหิต (Jus sanguinis) เป็นสำนวนภาษาลาตินที่หมายความว่า "right of blood" หรือ "สิทธิโดยสายโลหิต" เป็นนโยบายทางสังคมที่ "สิทธิของการเป็นพลเมือง" เป็นสิทธิที่เชื้อชาติ หรือ สัญชาติมิได้ระบุโดยดินแดนที่กำเนิด แต่โดยการที่มีบรรพบุรุษผู้ที่ถือสัญชาติหรือเป็นพลเมืองของประเทศที่ว่า ซึ่งตรงกันข้ามกับ “สิทธิโดยแผ่นดิน” (Jus soli) เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 การถกเถียงระหว่างฝรั่งเศส-เยอรมันเรื่องสัญชาตินำไปสู้การต่อต้านนโยบายของเยอรมันโดยเอิร์นเนสต์ เรนอง ในปรัชญาที่เรียกว่า "objective nationality" ที่ใช้สายเลือด, ชาติพันธุ์ (Race) หรือภาษาเป็นเครื่องวัดสัญชาติ ขณะที่ฝรั่งเศสใช้กฎ “สิทธิโดยแผ่นดิน” เป็นเครื่องวัด ที่ถือว่าสิทธิของเชื้อชาติ หรือ สัญชาติเป็นสิ่งที่เป็นของบุคคลในดินแดนที่เกิด ในปัจจุบันชาติหลายชาติใช้ปรัชญาผสมระหว่าง “สิทธิโดยแผ่นดิน” และ “สิทธิโดยสายโลหิต” ในการพิจารณาการให้สัญชาติที่รวมทั้งสหรัฐอเมริกา, แคนาดา, อิสราเอล, เยอรมนี (เมื่อไม่นานมานี้), กรีซ, ไอร์แลนด์ และอื่นๆ นอกไปจากฝรั่งเศสแล้วชาติในยุโรปส่วนใหญ่ก็ยังคงใช้กฎ “สิทธิโดยสายโลหิต” เป็นเครื่องวัดสิทธิของการให้สัญชาติในการพยายามรักษาขนบประเพณีและความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รวมทั้งการดำรงสายเลือดของชาติพันธุ์เดียวกัน (Monoculturalism) ที่ได้รับการวิจารณ์ว่าเป็นการจำกัดสิทธิของผู้ที่หรือหลายชั่วคนที่อาศัยอยู่ในประเทศใดประเภทหนึ่งเป็นเวลานานโดยไม่มีโอกาสที่จะได้รับสัญชาติของแผ่นดินที่ตั้งถิ่นฐานอยู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสิทธิโดยสายโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิโดยแผ่นดิน

ทธิโดยแผ่นดิน (Jus soli) เป็นสำนวนภาษาลาตินที่หมายความว่า "law of ground" หรือ "ตามกฎของแผ่นดิน" หรือ "สิทธิของการเป็นพลเมือง" เป็นสิทธิที่เชื้อชาติ หรือ สัญชาติเป็นสิ่งที่เป็นของบุคคลที่เกิดในดินแดนนั้น เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 รัฐชาติแบ่งเป็นสองกลุ่มๆ หนึ่งมอบสัญชาติให้แก่บุคคลตามกฎ “สิทธิโดยแผ่นดิน” (เช่นฝรั่งเศส) และอีกกลุ่มหนึ่งที่มอบสัญชาติให้แก่บุคคลตามกฎ “สิทธิโดยสายโลหิต” (jus sanguinis) (เช่นเยอรมนี ก่อน ค.ศ. 2000) แต่ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปเลือกปรัชญาสิทธิสัญชาติแบบเยอรมันที่เรียกว่า "objective nationality" หรือสัญชาติโดยจุดประสงค์ โดยใช้สายเลือด, ชาติพันธุ์ (Race) หรือภาษาเป็นเครื่องวัด และเป็นปฏิปักษ์ต่อปรัชญา "subjective nationality" หรือสัญชาติโดยการพิจารณา ซึ่งเป็นการให้สิทธิสัญชาติโดยการใช้ความสัมพันธ์ของบุคคลต่อแผ่นดินที่ตั้งถิ่นฐานเป็นเครื่องวัดซึ่งเป็นปรัชญาพื้นฐานของการให้สัญชาติ “สิทธิโดยแผ่นดิน” ได้ ในปัจจุบันจำนวนผู้อพยพที่ไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่ไม่ใช่บ้านเกิดมีจำนวนมากขึ้นทำให้ความแตกต่างของปรัชญาสิทธิสองปรัชญานี้เริ่มจะลางเลือนขึ้น ประเทศที่อนุสัญญาว่าด้วยการลดจำนวนผู้ไร้ชาติ ค.ศ. 1961 (1961 Convention on the Reduction of Statelessness) ทำความตกลงให้สัญชาติแก่ผู้ที่ไร้สัญชาติผู้ที่เกิดในดินแดน หรือ บนเรือ หรือ บนเรือบินของชาตินั้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสิทธิโดยแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิเก็บกิน

ทธิเก็บกิน (IPA: ˈyuzʊˌfrʌkt /ยูซุฟรักต์/); IPA: yzyfʀɥi /อูซูฟรุย/)) เป็นทรัพยสิทธิประเภทหนึ่ง โดยเป็นสิทธิที่บุคคลสามารถครอบครอง ใช้ และถือเอาซึ่งประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ของบุคคลอื่น เป็นต้นว่า เจ้าของที่นามีสิทธิใช้ที่นาโดยประการต่าง ๆ ผู้ทรงสิทธิเก็บกินในที่นานั้นก็ใช้ที่นาทำนาได้ หรือจะนำที่นานั้นออกให้เช่าเพื่อเก็บค่าเช่าก็ได้เสมอกับเป็นเจ้าของเองทีเดียว เพียงแต่กรรมสิทธิ์ในที่นาดังกล่าวยังอยู่ที่เจ้าของมานิตย์ จุมปา, 2551: 428.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสิทธิเก็บกิน · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม

งหาคม เป็นเดือนที่ 8 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนสิงหาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีสิงห์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกันย์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนสิงหาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปูและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต เดือนสิงหาคมเดิมใช้ชื่อในภาษาละตินว่า ซิกซ์ตีลิส (Sextilis) เนื่องจากเป็นเดือนที่ 6 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนเป็น August เพื่อเป็นเกียรติแด่ ออกัสตัส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เข้าไปโรมในชัยชนะของเจ้าทั้งตะวันออกและตะวันตก ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนสิงหาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P. tigris) ซึ่งเป็นสัตว์ในสกุล Panthera เหมือนกัน จัดเป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) พื้นลำตัวสีน้ำตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม (550 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า มักทำหน้าที่ล่าเหยื่อ มีน้ำหนักประมาณ 180 กิโลกรัม (400 ปอนด์) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย ในป่าธรรมชาติ สิงโตมีอายุขัยประมาณ 10-14 ปี ส่วนสิงโตที่อยู่ในกรงเลี้ยงมีอายุยืนถึง 20 ปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สุญญากาศ

ห้องสุญญากาศขนาดใหญ่ สุญญากาศ (vacuum มาจากภาษาละตินแปลว่า ว่างเปล่า) คือปริมาตรของช่องว่างซึ่งไม่มีสสารอยู่ภายใน เหมือนกับความดันแก๊สที่น้อยกว่าความดันบรรยากาศมาก ๆ ในความเป็นจริงเราไม่สามารถทำให้ปริมาตรของช่องว่างว่างเปล่าได้อย่างสมบูรณ์ที่เรียกว่า สุญญากาศสมบูรณ์ (perfect vacuum) ซึ่งมีความดันแก๊สเป็นศูนย์ สุญญากาศสมบูรณ์จึงเป็นแนวความคิดที่ไม่สามารถสังเกตการณ์ได้ในทางปฏิบัติ นักฟิสิกส์มักจะถกเถียงเกี่ยวกับผลการทดลองในอุดมคติว่าจะเกิดอะไรขึ้นในสุญญากาศสมบูรณ์ โดยใช้คำว่าสุญญากาศแทนสุญญากาศสมบูรณ์ และใช้คำว่า สุญญากาศบางส่วน (partial vacuum) แทนความหมายของสุญญากาศที่เกิดขึ้นได้จริง คุณภาพของสุญญากาศ หมายถึงระดับของสภาวะที่เข้าใกล้สุญญากาศสมบูรณ์ ความดันของแก๊สที่เหลืออยู่จะถูกใช้เป็นตัววัดคุณภาพของสุญญากาศเป็นหลัก โดยการวัดในหน่วยทอรร์ (Torr) หรือหน่วยเอสไออื่น ๆ ความดันแก๊สที่ยิ่งเหลือน้อยจะหมายถึงคุณภาพที่ยิ่งมากขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีตัวแปรอื่นที่ต้องตัดออกในภายหลัง ทฤษฎีควอนตัมได้กำหนดขอบเขตสำหรับคุณภาพของสุญญากาศที่ดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ จึงทำให้คาดเดาได้ว่าไม่มีปริมาตรของช่องว่างใดที่จะทำให้เป็นสุญญากาศได้อย่างสมบูรณ์ อวกาศเป็นสภาพสุญญากาศที่มีคุณภาพสูงโดยธรรมชาติ และสุญญากาศที่มีคุณภาพสูงกว่านั้นสามารถสร้างขึ้นได้ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบัน สำหรับสุญญากาศคุณภาพต่ำได้ถูกใช้เพื่อการดูดและการสูบมากว่าหลายพันปีแล้ว สุญญากาศเป็นหัวข้อทางปรัชญาที่พบได้บ่อยตั้งแต่ยุคกรีกโบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำการศึกษาอย่างจริงจังจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 17 เอวันเจลิสตา ตอร์รีเชลลี (Evangelista Torricelli) นักฟิสิกส์ชาวอิตาลีได้สร้างสุญญากาศขึ้นในห้องทดลองเป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1643 และเทคนิคการทดลองอื่น ๆ ก็เป็นผลการพัฒนามาจากทฤษฎีเกี่ยวกับความดันบรรยากาศของเขา ต่อมาสุญญากาศกลายเป็นเครื่องมือที่มีค่าในอุตสาหกรรมการผลิตหลอดไฟและหลอดสุญญากาศในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และเทคโนโลยีการสร้างสุญญากาศก็เริ่มแผ่ขยายไปในวงกว้าง คำว่า สุญญากาศ ในภาษาไทยมาจากคำสนธิ สุญญ + อากาศ รวมกันแปลว่า ไม่มีอากาศ หมวดหมู่:กระบวนการทางอุตสาหกรรม หมวดหมู่:แก๊ส หมวดหมู่:ความไม่มี หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสุญญากาศ · ดูเพิ่มเติม »

สูติศาสตร์

ูติศาสตร์ (Obstetrics; มาจากภาษาละติน obstare การเตรียมพร้อม) เป็นศัลยศาสตร์เฉพาะทางที่เกี่ยวกับการดูแลผู้หญิงและทารกระหว่างการตั้งครรภ์, การคลอด, และระยะหลังคลอด ส่วนการผดุงครรภ์ (Midwifery) นั้นจะไม่อาศัยทักษะการศัลยศาสตร์ สูติแพทย์ส่วนมากมักจะเป็นแพทย์นรีเวชวิทยาด้วย ดูที่สูตินรีเวชวิทยา (Obstetrics and gynaecology) ระยะการตั้งครรภ์โดยเฉลี่ยของมนุษย์คืออายุครรภ์ประมาณ 40 สัปดาห์ หรือ 38 สัปดาห์นับจากวันปฏิสนธิ แบ่งออกเป็นสามไตรม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสูติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สีเงิน (มุทราศาสตร์)

“Argent” สีเงินทางซ้าย หรือ ว่าง ตราของเมือง Santiago do Cacém ที่แสดงความแตกต่างระหว่างสีขาวและสีเงิน สีเงิน (Argent) เป็นภาษามุทราศาสตร์ที่บรรยายลักษณะของผิวตรา (Tincture) ที่เป็นสีเงินหรือบางครั้งก็เรียกว่าสีขาว ที่อยู่ในกลุ่มผิวตราสีอ่อนที่เรียกว่า “โลหะ” ถ้าเป็นการแกะพิมพ์ “เงิน” ก็จะเป็นบริเวณที่ทิ้งว่างไม่มีลวดลาย หรืออาจจะจารึกด้วยอักษรย่อ “ar.” ของคำว่า “Argent” คำว่า “Argent” มาจากภาษาลาติน ว่า “argentum” ที่มาจากภาษากรีก “Αργυρος” ที่แปลว่า “เงิน” หรือ “โลหะสีขาว” ในการสร้างตราอาร์มในสมัยโบราณบริเวณที่ระบุว่าเป็นสีเงินอาจจะทำด้วยแผ่นเงิน แต่เมื่อเวลาผ่านไปเงินที่ใช้ก็มีปฏิกิริยากับอากาศและเปลี่ยนเป็นสีที่คร่ำลง ฉะนั้นบางครั้งจึงเป็นการยากที่จะตีความหมายของตราในสมัยโบราณที่มีส่วนที่เป็นสีดำว่าเป็นสีดำ (sable) หรือเป็นสีเงิน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสีเงิน (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

อาสนวิหารโคโลญ, ประเทศเยอรมนี มีหอสูงที่สุดในโลก อาสนวิหารซอลสบรี (1220-1380) จากมุมตะวันออก มีหอสูงที่สุดในอังกฤษ อาสนวิหารเบอร์มิงแฮม (Birmingham Cathedral) อังกฤษ อาสนวิหารเกิร์ค (Gurk Dom) ออสเตรีย สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก เป็นบทความที่บรรยายถึงลักษณะสิ่งก่อสร้างของอาสนวิหารทางคริสต์ศาสนา ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก อาสนวิหาร คือโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลมุขนายกตามที่กำหนดไว้ อาสนวิหารเป็นที่เป็นที่ตั้งของ “คาเทดรา” (bishop's cathedra) และเป็นสถานที่ทางคริสต์ศาสนาที่ใช้ในการนมัสการ (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ หรือแองกลิคัน) ขนาดของสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาสนวิหารไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตเสมอไป อาจจะมีขนาดเล็กอย่างเช่นอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด หรือ อาสนวิหารเชอร์ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วอาสนวิหารมักจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดและเด่นที่สุดในท้องถิ่นที่ตั้งอยู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโคโลญ

งครามโคโลญเป็นสงครามในยุคการปฏิรูปโปรเตสแตนต์และปฏิรูปคาทอลิกระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสงครามโคโลญ · ดูเพิ่มเติม »

สตรีโกย

ตรีโกย จากสารคดีชุด ''Lost Tapes'' สตรีโกย (Strigoi; striga; หมายถึง โพลเทอร์ไกสท์) เป็นผีหรือปิศาจตามความเชื่อของชาวโรมาเนียประเภทแวมไพร์อย่างหนึ่ง สตรีโกยไม่เหมือนแวมไพร์อย่างอื่นตรงที่จะไม่ดูดเลือดจากมนุษย์โดยตรง แต่จะดูดวิญญาณหรือพลังชีวิตจากเหยื่อแทน สตรีโกยจะมีหางเล็ก ๆ งอกออกมาเหมือนกระดูกก้นกบที่ยาวผิดปกติ และยังเชื่ออีกว่าสตรีโกยมีพลังเหนือธรรมชาติสามารถเคลื่อนย้ายผลผลิตของชาวนาหรือรีดนมจากแม่วัวให้หมดไปได้ เพื่อให้ชาวนาและครอบครัวอดตาย สตรีโกย เป็นความเชื่อเรื่องแวมไพร์แบบพื้นบ้านของโรมาเนีย ผู้ที่เป็นสตรีโกยยังอาจหมายถึงแม่มด หรือผู้ที่เล่นเวทมนตร์ไสยศาสตร์ คำว่า สตรีโกย มาจากรากศัพท์ภาษาโรมาเนียคำกริยาที่หมายถึง "กรีดร้อง" ที่มาจากภาษาละตินคำว่า strix หรือ striga ซึ่งรากศัพท์หมายถึงนกฮูกหรือประเภทของนกฮูก หรือหมายถึงปรสิตดูดเลือด เช่น Strigeidida ซึ่งเป็นคำเดียวกันที่พบได้ทั่วทั้งภาษาโรมานซ์ เช่นภาษาอิตาลี strega หรือภาษาเวนิส คำว่า strěga แปลว่า "แม่มด" ในภาษาฝรั่งเศส stryge หมายถึง นกผู้หญิงที่ดูดเลือดเด็ก ฌูล แวร์น นักเขียนนิยายชาวฝรั่งเศสได้ใช้คำว่า "stryges" ในบทที่ 2 ในนิยายของตนเรื่อง The Carpathian Castle ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและสตรีโกย · ดูเพิ่มเติม »

สตัดเฮาเดอร์

ตัดเฮาเดอร์ (stadhouder) แปลตรงตัวว่า เจ้าผู้ครองสถาน คือคำที่ใช้อธิบายรูปแบบหนึ่งของศักดินาตำแหน่งอุปราชหรือผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ ในกลุ่มประเทศต่ำ สตัดเฮาเดอร์คือระบบจากยุคกลางและต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ถูกยกระดับให้มีศักดิ์เทียบเท่าประมุขแห่งรัฐในทางปฏิบัติของระบอบมกุฎสาธารณรัฐ (crowned republic) ในสาธารณรัฐดัตช์ สามารถเปรียบเทียบได้กับศักดินา ลีเยิตน็อง ของฝรั่งเศส และ ผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งประสงค์หลักของของตำแหน่งนี้ก็เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยและอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่นของสาธารณรัฐดัตช์ตอนต้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสตัดเฮาเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สปริงบ็อก

ปริงบ็อก (Springbok) สัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง จำพวกแอนทิโลป จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Antidorcas.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสปริงบ็อก · ดูเพิ่มเติม »

สปา

ปาแห่งหนึ่งที่ประเทศอินเดีย สปา (spa) เป็นชื่อเรียกการบำบัดด้วยน้ำ ซึ่งมีหลายความหมายด้วยกัน โดยชื่อของสปานั้นมาจากชื่อเมืองสปาในประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสปา · ดูเพิ่มเติม »

สปิริต

ำว่า สปิริต (spirit) บางตำราแปลว่าจิต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสปิริต · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญายูเทรกต์

นธิสัญญายูเทรกต์ หรือ สัญญาสันติภาพยูเทรกต์ (Friede von Utrecht, Treaty of Utrecht หรือ Peace of Utrecht) เป็นเอกสารสนธิสัญญาสันติภาพ (peace treaty) หลายฉบับที่ลงนามกันที่เมืองยูเทรกต์ในสาธารณรัฐดัตช์ระหว่างเดือนมีนาคมและเดือนเมษายนของปี ค.ศ. 1713 เป็นการตกลงระหว่างรัฐต่าง ๆ ในยุโรปและช่วยในการยุติสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน สนธิสัญญานี้ทำขึ้นระหว่างผู้แทนพระองค์พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสกับพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน ฝ่ายหนึ่ง และผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ ดยุกแห่งซาวอย กับพระเจ้ากรุงโปรตุเกสและสหมณฑล อีกฝ่ายหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสนธิสัญญายูเทรกต์ · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนกลางของกระดูกอัลนา

วนกลางของกระดูกอัลนา หรือ ตัวกระดูกอัลนา ส่วนบนมีลักษณะคล้ายแท่งปริซึมสามเหลี่ยม และโค้งนูนด้านหลังและทางด้านข้าง ส่วนกลางมีลักษณะตรง และส่วนล่างมีลักษณะกลม เรียบ และโค้งงอไปทางด้านข้างเล็กน้อย กระดูกนี้มีลักษณะเรียวลงจากด้านบนลงด้านล่าง ส่วนกลางของกระดูกอัลนาประกอบด้วยพื้นผิวสามด้าน และขอบสามขอบ ซึ่งจะเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อต่าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและส่วนกลางของกระดูกอัลนา · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนลงตัว

ในทางคณิตศาสตร์ ส่วนลงตัว (aliquot part หรือ aliquot) คือจำนวนเต็มบวกใดๆ ที่นำไปหารจำนวนเต็มบวกอีกจำนวนหนึ่งแล้วสามารถหารได้ลงตัว หรือเรียกได้ว่า "เป็นตัวหาร" เช่น 2 เป็นส่วนลงตัวของ 12 ผลบวกของส่วนลงตัวทั้งหมดของ n จะมีค่าเท่ากับ σ(n) ซึ่งหมายถึงฟังก์ชันตัวหาร (divisor function) ของ n คำว่า aliquot มาจากคำในภาษาละติน aliquoties แปลว่า หลายครั้ง ในทางเคมี ส่วนลงตัวมักเป็นส่วนแบ่งปริมาณรวมของสารละลาย ในทางเภสัชกรรม ส่วนลงตัวเป็นการอ้างถึงวิธีการวัดปริมาณส่วนผสมของยาภายใต้ความไวของเครื่องชั่ง (weighing scale) ตัวอย่างเช่น ใบสั่งยาระบุว่าต้องการส่วนผสมในปริมาณ 40 มิลลิกรัม ดังนั้นเราอาจชั่งส่วนผสมเพื่อปรุงยาในปริมาณ 120 มิลลิกรัม โดยที่ 40 เป็นส่วนลงตัวของ 120 แล้วปรุงยาในปริมาณสามเท่า จากนั้นจึงค่อยแบ่งตัวยาออกไปเป็นสามส่วน หนึ่งส่วนสำหรับใบสั่งยา และอีกสองส่วนสามารถเก็บไว้ในคลังได้ ซึ่งตัวยาจะเกิดความผิดพลาดในส่วนผสมน้อยกว่าการชั่งให้เป็น 40 มิลลิกรัมทันที.

ใหม่!!: ภาษาละตินและส่วนลงตัว · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนต้นของกระดูกอัลนา

วนต้นของกระดูกอัลนา เป็นส่วนของกระดูกอัลนาที่ลักษณะใหญ่และมีส่วนยื่นของกระดูกที่มีลักษณะโค้งเห็นได้อย่างชัดเจน ได้แก่ โอเลครานอน โพรเซส (olecranon) และโคโรนอยด์ โพรเซส (coronoid process) และยังมีส่วนเว้าซึ่งเป็นเบ้ารับกับปลายของกระดูกต้นแขนและหัวของกระดูกเรเดียสอีกสองจุด คือรอยเว้าเซมิลูนาร์ (Semilunar notch) และรอยเว้าเรเดียส (Radial notch).

ใหม่!!: ภาษาละตินและส่วนต้นของกระดูกอัลนา · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนต้นของกระดูกต้นแขน

วนต้นของกระดูกต้นแขน เป็นส่วนของกระดูกต้นแขน ประกอบด้วยหัวกระดูกรูปร่างกลมขนาดใหญ่ เชื่อมกับส่วนกลางของกระดูกต้นแขนโดยส่วนคอดที่เรียกว่า คอกระดูก และส่วนยื่น 2 อันได้แก่ ปุ่มใหญ่และปุ่มเล็กของกระดูกต้นแขน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและส่วนต้นของกระดูกต้นแขน · ดูเพิ่มเติม »

สเลเยอร์

ลเยอร์ (Slayer) เป็นวงแทรชเมทัลสัญชาติอเมริกัน จากฮันติงตันพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย ก่อตั้งในปี 1981 โดยมือกีตาร์หลัก 2 คน คือเจฟฟ์ แฮนนีแมนและเคอร์รี คิง สเลเยอร์ปูชื่อเสียงในระดับแถวหน้าให้กับวงการเพลงแทรชเมทัลอเมริกัน กับการออกผลงานในปี 1986 ชุด เรนอินบลัด (Reign in Blood) ที่ถูกเรียกว่า "เป็นอัลบั้มที่หนักที่สุดตลอดกาล" จัดโดยนิตยสารเคอร์แรง! วงยังได้รับเครดิตเป็นหนึ่งใน "บิ๊กโฟร์" แห่งวงการแทรชเมทัลหลักของสหรัฐ ร่วมกับวง เมทัลลิกา, แอนแทรกซ์ และเมกาเดธ ดนตรีของพวกเขา มีลักษณะโดดเด่นคือ การริฟฟ์กีตาร์อย่างเร็ว รวมถึงการโซโลกีตาร์โดยลากเสียงครวนคราญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการกระเดื่องกลองชุดดับเบิลเบสที่ทำให้สเลเยอร์โดดเด่นในหมู่ของวงแทรชเมทัลด้วยกัน จนอดีตมือกลองของวง ลอมบาร์โด ได้รับฉายาว่าเป็น "เจ้าพ่อแห่งกลองดับเบิลเบส" (The godfather of double bass) และการตะโกนร้องเสียงแหลมของอารายา เนื้อเพลงและปกอัลบั้มของสเลเยอร์สร้างความต่างด้วยการใช้ความก้าวร้าวลงในเนื้อเพลง เช่น เลือด ความตาย ความผิดปกติ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ความวิกลจริต ลัทธินาซี กามวิตถารร่วมเพศกับศพ ศาสนา ลัทธิซาตาน ฆาตกรต่อเนื่อง การฆ่าตัวตาย การสงคราม ซึ่งทำให้วงในระยะแรกมักถูกแบน มีปัญหาด้านกฎหมายและถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางโดยกลุ่มศาสนาและบุคคลทั่วไป หลังจากวงออกผลงานชุดแรกในปี 1983 ทางวงออกอัลบั้มแสดงสด 2 ชุด,อัลบั้มเพลงเก่ามาทำใหม่ 1 ชุด, บ็อกซ์เซต 1 ชุด, ดีวีดี 3 ชุด, วิดีโอ 1 ชุด, อีพี 2 ชุด และสตูดิโออัลบั้ม 12 ชุด ซึ่งสามารถขายได้ระดับแผ่นเสียงทองคำ 4 แผ่น สเลเยอร์ยังเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ 5 ครั้ง และได้รับรางวัล 2 ครั้งในปี 2007 กับเพลง "Eyes of the Insane" และเพลงในปี 2008 กับ "Final Six" ปัจจุบันสเลเยอร์สามารถทำยอดจำหน่ายได้มากกว่า 4,900,000 ชุดในสหรั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสเลเยอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สเปกตรัม

ีต่อเนื่องของรุ้งกินน้ำ สเปกตรัม (ละติน spectrum ภาพ, การปรากฏ) หมายถึง เงื่อนไขอย่างหนึ่ง ที่ไม่ได้จำกัดเฉพาะกลุ่มของค่าหนึ่งๆ แต่สามารถแปรผันได้อย่างไม่สิ้นสุดภายใต้ความต่อเนื่อง (continuum) คำนี้มีการใช้เป็นครั้งแรกในเรื่องวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับทัศนศาสตร์ (optics) โดยเฉพาะแถบสีรุ้งที่ปรากฏจากการแยกแสงขาวด้วยปริซึม นอกจากนั้นแล้วสามารถใช้ในความหมายอื่นที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ เช่น สเปกตรัมของความคิดเห็นทางการเมือง สเปกตรัมของการออกฤทธิ์ของยา ซึ่งค่าต่างๆ ในสเปกตรัมไม่จำเป็นต้องเป็นจำนวนที่นิยามไว้อย่างแม่นยำเหมือนในทัศนศาสตร์ แต่เป็นค่าบางค่าที่อยู่ภายในช่วงของสเปกตรัม สเปกตรัมที่มองเห็นได้ แสงเป็นคลื่นของการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า  " แสงสีขาว"       เป็นส่วนผสมชองแสงสีต่างๆ  แต่ละแสงสีมีความถี่และความยาวคลื่นเฉพาะ  ตัวสีเหล่านี้รวมตัวเป็นสเปกตรัมที่มองเห็นได้  ตาและสมองของเรารับรู้สิ่งต่างๆ  จากความแตกต่างของความยาวคลื่นของสีที่เรามองเห็นได้  แสงสีที่ปล่อยออกมา             ลำแสงขาวที่ถูกหักเหขณะที่มันผ่านเข้าและออกจากปริซึม  ปริซึมหักเหแสงที่มีความยาวคลื่นต่างๆกันด้วยปริมาณต่างกัน  แล้วปล่อยให้ลำแสงขาวออกมาเป็นสเปกตรัมที่มองเห็นได้  แสงสี  และความร้อน            อะตอมของวัตถุร้อนจะให้รังสีอินฟราเรด  และแสงสีแดงบางส่วนออกมา  ขณะทีวัตถุร้อนขึ้น  อะตอมของวัตถุจะให้แสงสีที่มีความยาวคลื่นสั้นลง  ได้แก่  แสงสีส้มแล้วเป็นแสงสีเหลือง  วัตถุที่ร้อนมากจะให้แสงสีทั้งสเปกตรัมทำให้เห็นเป็นแสงสีขาว สีดิฟแฟรกชั่น             พลังงานคลื่นทุกรูปจะ  "ดิฟแฟรก"  หรือกระจายออกจาเมื่อผ่านช่องว่าง   หรือรอบๆวัตถุ  แผ่นดิฟแฟรกชันเกรตติ้ง  เป็นแผ่นแก้วที่สลักเป็นช่องแคบๆ  รังสีแสงจะกระจายออก  ขณะที่ผ่านช่องแคบนั้นและมีสอดแทรกระหว่างรังสีโค้งเหล่านั้นเกิดเป็นทางของสีต่างๆกัน   สีท้องฟ้า  ท้องฟ้าสีฟ้า             ดวงอาทิตย์ให้แสงสีขาวบริสุทธิ์  ซึ่งจะกระเจิงโดยโมเลกุลของอากาศ  ขณะที่ส่องเข้ามาในบรรยากาศของโลก  แสงสีฟ้าจะกระเจิงได้ดีกว่าแสงสีอื่น จึงทำให้ท้องฟ้าเป็นสีฟ้า  ท้องฟ้าสีแดง             เมื่อดวงอาทิตย์ใกล้จะลับขอบฟ้า  แสงสีฟ้าทางปลายอีกด้านหนึ่งของสเปกตรัมจะกระเจิง  เราจะเห็นดวงอาทิตย์เป็นแสงสีแดง-ส้ม  เพราะแสงสีจากปลายสเปกตรัมด้านนี้ผ่านมายังตาเรา  แต่แสงสีฟ้าหายไป รุ้งปฐมภูมิ             จะเห็นรุ้งในขณะทีฝนตก  เมื่อดวงอาทิตย์  อยู่ช้างหลังเรา  รังสีแสงอาทิตย์ส่องผ่านหยดน้ำฝน  ในท้องฟ้า  หยดน้ำฝนนั้นคล้ายปริซึมเล็กๆ  แสงขาวจะหักเหเป็นสเปกตรัมภายในหยดน้ำฝน  และจะสะท้อนกลับออกมาสู่อากาศเป็นแนวโค้งสีต่างๆ อ้างอิง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและสเปกตรัม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าไฟตะกาด

หญ้าไฟตะกาด (shield sundew) เป็นพืชในสกุลหยาดน้ำค้างที่มีหัวใต้ดิน มีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชื่อในภาษาละติน peltata แปลว่า รูปโล่ ซึ่งหมายถึงรูปทรงของก้านใบBruce Salmon, "Carnivorous Plants of New Zealand", Ecosphere publications, 2001โดยทั่วไปหยาดน้ำค้างชนิดมีหัวใต้ดินส่วนมากจะเป็นใบกระจุกแนบดิน แต่หญ้าไฟตะกาดลำต้นจะตั้งขึ้น ช่อดอกเป็นกิ่งแขนง หญ้าไฟตะกาดยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆอีกดังนี้: หยาดน้ำค้าง (เลย) ปัดน้ำ (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เลย).

ใหม่!!: ภาษาละตินและหญ้าไฟตะกาด · ดูเพิ่มเติม »

หมาย

หมาย เป็นเงินกระดาษชนิดแรกในระบบเงินตราของประเทศไทย โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้ทำขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและหมาย · ดูเพิ่มเติม »

หมึกสาย

รูปแสดงกายภาคของหมึกสาย หมึกสาย หรือ หมึกยักษ์ เป็นมอลลัสก์ประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Octopoda.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหมึกสาย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หรือ หมู่เกาะเวอร์จินของอังกฤษ (British Virgin Islands) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่กว่า 50 เกาะ มีที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางตะวันออกของประเทศจาเมกา เดิมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิดัตช์ (Dutch Empire) ภายหลังอังกฤษเข้ามาครอบครอง เมื่อ พ.ศ. 2215 ผู้ตั้งชื่อหมู่เกาะนี้คือ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส โดยตั้งชื่อนามนักบุญ Ursula ซึ่งตามตำนานกล่าวว่าท่านมีสาวกเป็นหญิงสาวพรหมจารีถึง 11,000 คน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง (Nepenthes ampullaria) (มาจากภาษาละติน: ampulla.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หยาดน้ำค้าง (สกุล)

หยาดน้ำค้าง (Sundew) เป็นพืชกินสัตว์สกุลใหญ่สกุลหนึ่ง ในวงศ์หญ้าน้ำค้าง มีประมาณ 194 ชนิด สามารถล่อ จับ และย่อยแมลงด้วยต่อมเมือกของมันที่ปกคลุมอยู่ที่ผิวใบ โดยเหยื่อที่จับได้จะใช้เป็นสารเสริมทดแทนสารอาหารที่ขาดไป พืชในสกุลหยาดน้ำค้างมีหลายรูปแบบและหลายขนาดต่างกันไปในแต่ละชนิด สามารถพบได้แทบทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ชื่อวิทยาศาสตร์ของหยาดน้ำค้าง คือ Drosera มาจากคำในภาษากรีก δρόσος: "drosos" แปลว่า "หยดน้ำ หรือ น้ำค้าง" รวมทั้งชื่อในภาษาอังกฤษ "sundew" กลายมาจาก ros solis ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า "น้ำตาพระอาทิตย์" โดยมีที่มาจากเมือกบนปลายหนวดแต่ละหนวดที่แวววาวคล้ายน้ำค้างยามเช้า ในประเทศไทยพบหยาดน้ำค้างอยู่ 3 ชนิดคือ จอกบ่วาย (Drosera burmannii Vahl), หญ้าน้ำค้าง (Drosera indica L.) และ หญ้าไฟตะกาด (Drosera peltata Sm.).

ใหม่!!: ภาษาละตินและหยาดน้ำค้าง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หลักการตั้งชื่อทางดาราศาสตร์

ในยุคโบราณ มีการตั้งชื่อให้แก่ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวที่สว่างพอจะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพียงไม่กี่ร้อยดวงเท่านั้น ตลอดช่วงหลายร้อยปีหลังมานี้ จำนวนของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่เรารู้จักเพิ่มขึ้นอย่างมากจากไม่กี่ร้อยดวงกลายเป็นจำนวนนับพันล้านดวง และยังมีการค้นพบเพิ่มเติมตลอดเวลาทุกปี นักดาราศาสตร์จึงจำเป็นต้องกำหนดระบบการตั้งชื่อเพื่อบ่งชี้ถึงวัตถุทางดาราศาสตร์เหล่านี้ ในเวลาเดียวกันก็ให้ชื่อแก่วัตถุซึ่งน่าสนใจที่สุดโดยสัมพันธ์กับคุณลักษณะของวัตถุเหล่านั้น สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) คือหน่วยงานอย่างเป็นทางการซึ่งเป็นที่ยอมรับของนักดาราศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก ว่าเป็นองค์กรทำหน้าที่กำหนดชื่อแก่วัตถุทางดาราศาสตร์ ซึ่งองค์กรได้สร้างระบบการกำหนดชื่อสำหรับวัตถุทางดาราศาสตร์ประเภทต่างๆ กันอยู่หลายร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหลักการตั้งชื่อทางดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หอยเบี้ยจักจั่น

หอยเบี้ยจักจั่น หรือ หอยเบี้ยจั่น (Money cowry) เป็นหอยทะเลฝาเดียวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monetaria moneta (ศัพทมูลวิทยา: moneta (/โม-เน-ตา/) เป็นภาษาละตินแปลว่า "เงินตรา") ในวงศ์ Cypraeidae มีเปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังนูน ท้องแบน ช่องปากยาวแคบและไปสุดตอนปลายทั้ง 2 ข้าง เป็นลำราง ริมปากทั้ง 2 เป็นหยักคล้ายฟัน ไม่มีฝาปิด มีความยาวประมาณ 12-24 มิลลิเมตร มีถิ่นแพร่กระจายอยู่ในทะเลเขตอบอุ่นทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย อาทิ ทะเลแดง อินโด-แปซิฟิก นอกชายฝั่งทะเลด้านมหาสมุทรแปซิฟิกของอเมริกากลาง ชายฝั่งทะเลทวีปแอฟริกาตอนตะวันออกและใต้ ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ทะเลญี่ปุ่น ไปจนถึงโอเชียเนีย ดำรงชีวิตอยู่ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนและสาหร่ายทะเลที่ลอยมาตามกระแสน้ำ เปลือกหอยของหอยเบี้ยชนิดนี้ มีความสำคัญต่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคโบราณ โดยใช้เป็นเครื่องแลกเปลี่ยนสิ่งของแทนเงินตราในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าคำว่า "เบี้ย" ในภาษาไทยก็เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "รูปี" ซึ่งเป็นหน่วยเงินตราของอินเดียมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลคอลัมน์ Aqua Pets โดย จอม สมหวัง ปัทมคันธิน "สุดยอดแฟนพันธุ์แท้เปลือกหอย 2 สมัย" หน้า 107 นิตยสาร Aquarium Biz Vo.1 issue 6 ฉบับเดือนธันวาคม 2010 นอกจากนี้แล้ว เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังใช้เป็นเครื่องรางของขลังในวัฒนธรรมไทย โดยมักนำไปบรรจุปรอทแล้วเปิดทับด้วยชันโรงใต้ดิน อาจจะมีแผ่นทองแดงลงอักขระยันต์หรือไม่ก็ได้ เชื่อกันว่า ถ้าพกเปลือกหอยเบี้ยชนิดนี้ไว้กับตัวเวลาเดินทางสัญจรในป่า จะช่วยป้องกันไข้ป่า รวมถึงป้องกันและแก้ไขภยันอันตรายจากร้ายให้กลายเป็นดีได้ หรือนำไปตกแต่งพลอยเรียกว่า "ภควจั่น" ในเด็ก ๆ เชื่อว่าช่วยป้องกันฟันผุ หรือพกใส่กระเป๋าสตางค์ เชื่อว่าทำให้เงินทองไหลเทมาและโชคดี ปัจจุบัน เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังนิยมสะสมกันเป็นของประดับและของสะสมกันอีกด้วย โดยมีชนิดที่แปลกแตกต่างไปจากปกติ คือ "ไนเจอร์" (Niger) ที่หอยจะสร้างเมลานินสีดำเคลือบเปลือกไว้จนกลายเป็นสีดำหรือสีน้ำตาลคล้ำทั้งหมด และชนิดที่มีราคาสูงที่สุด เรียกว่า "โรสเตรท" (Rostrat) หรือ หอยเบี้ยจักจั่นงวง คือ เป็นหอยเบี้ยจักจั่นในตัวที่ส่วนท้ายของเปลือกมิได้กลมมนเหมือนเช่นปกติ แต่สร้างแคลเซี่ยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในเวลาหลายปี จนกระทั่งยาวยืดออกมาและม้วนขึ้นเป็นวงอย่างสวยงามเหมือนงวงช้าง ซึ่งหอยในรูปแบบนี้จะพบได้เฉพาะแถบอ่าวด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะนิวแคลิโดเนียที่เดียวในโลกเท่านั้น มีการประเมินราคาของเปลือกหอยลักษณะนี้ไว้ถึง 25 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นราคาของเปลือกหอยที่มีค่าสูงที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหอยเบี้ยจักจั่น · ดูเพิ่มเติม »

หอหลังคาโดม

หร่าอุคบา หรือ “the Great Mosque of Kairouan” ที่ตั้งอยู่ที่ตูนิเซีย หอหลังคาโดม (Cupola) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโครงสร้างขนาดเล็กที่มีลักษณะเหมือนโดมที่ตั้งอยู่ตอนบนของสิ่งก่อสร้าง ที่มักจะใช้สำหรับเป็นที่สังเกตการณ์หรือเป็นช่องระบายอากาศ ที่ตอนบนมักจะเป็นหลังคาหรือโดมที่ใหญ่กว่า “Cupola” มาจากภาษาอิตาลีที่แผลงมาจากภาษาละตินขั้นต่ำ “Cupula” (ภาษาละตินคลาสสิก “Cupella” ที่มาจากภาษากรีก “kypellon”) ที่แปลว่าถ้วยเล็ก (ภาษาละติน “Cupa”) ที่เป็นทรงของเพดานโค้งที่รูปร่างเหมือนถ้วยคว่ำ หอหลังคาโดมมักจะพบในสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดเล็ก ที่อาจจะใช้เป็นหอระฆัง, หอโคม หรือ หอทัศนาเหนือหลังคาหลัก หรือในบางกรณีก็อาจจะใช้ตกแต่งประดับหอ, ยอดแหลม หรือ หอกลมยอดแหลม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหอหลังคาโดม · ดูเพิ่มเติม »

หูชั้นในรูปหอยโข่ง

หูชั้นในรูปหอยโข่ง หรือ อวัยวะรูปหอยโข่ง หรือ คอเคลีย (cochlea,, จาก κοχλίας, kōhlias, แปลว่า หมุนเป็นวงก้นหอย หรือเปลือกหอยทาก) เป็นอวัยวะรับเสียงในหูชั้นใน เป็นช่องกลวงมีรูปร่างเป็นก้นหอยโข่งอยู่ในกระดูกห้องหูชั้นใน (bony labyrinth) โดยในมนุษย์จะหมุน 2.5 ครั้งรอบ ๆ แกนที่เรียกว่า modiolus และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 มม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหูชั้นในรูปหอยโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

หีบแฟรงค์

หีบแฟรงค์ (Franks Casket หรือ Auzon Runic Casket) เป็นหีบที่สลักจากกระดูกวาฬของสมัยแองโกล-แซ็กซอน ที่ในปัจจุบันเป็นของพิพิธภัณฑ์บริติช, ลอนดอน, อังกฤษ หีบแน่นไปด้วยลวดลายสลักด้วยมีดแซะเป็นฉากเรื่องราวแบบงานสลักนูนราบสองมิติ พร้อมด้วยคำจารึกส่วนใหญ่ที่เป็นอักษรรูนส์ การตีความหมายของภาพและอักษรจารึกยังคงเป็นเรื่องที่ศึกษากันอยู่อย่างลึกซึ้ง แต่โดยทั่วไปแล้วเชื่อกันว่ามีที่มาจากนอร์ทธัมเบรีย หีบแฟรงค์เป็นงานชิ้นที่มีความสำคัญในการทำความเข้าใจถึงวัฒนธรรมแองโกล-แซ็กซอนตอนต้น หัวข้อและที่มาของภาพสลักบนหีบแตกต่างกันไป ที่รวมทั้งภาพคริสเตียนภาพหนึ่ง “การชื่นชมของแมไจ” และ ภาพที่มาจากประวัติศาสตร์โรมัน (จักรพรรดิไททัส) และ ตำนานเทพโรมัน (รอมิวลุส และรีมุส) และภาพจากตำนานของชนพื้นเมืองเจอร์มานิค: ตำนานเจอร์มานิคเกี่ยวกับเวย์แลนด์ช่างตีเหล็ก, ฉากจากตำนานซิเกิร์ด และตำนานจากตอนที่หายไปของตำนานเกี่วยกับอยิลลัซน้องชายของเวย์แลนด์ช่างตีเหล็ก คำจารึก “แสดงถึงความสามารถทางภาษาและอักขระ แม้ส่วนใหญ่จะเขียนโดยใช้ภาษาอังกฤษเก่าและอักษรรูนส์ ขณะที่ยังเขียนเป็นภาษาละติน” บ้างก็เขียนกลับหัวกลับหางหรือจากขวาไปซ้าย จะเห็นได้ชัดว่าเป็นลักษณะของหีบเป็นงานที่เลียนแบบงานหีบสลักงาช้างของยุคโบราณตอนปลายของเบรสเชีย เช่นเดียวกับหีบโวโรลีซึ่งเป็นงานของไบแซนไทน์ที่แผลงมาจากศิลปะคลาสสิกที่สร้างราว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและหีบแฟรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือกำหนดเทศกาล

อห์น ดยุคแห่งแบร์รีในโอกาส “วันแลกเปลี่ยนของขวัญ” ซึ่งเป็นภาพสำหรับเดือนมกราคม หนังสือกำหนดเทศกาลจากปลายคริสต์ทศวรรษ 1470 บทสวด “Obsecro te” มี ปีเอต้า ขนาดเล็กเป็นภาพประกอบ จากหนังสือกำหนดเทศกาลแห่งอองเชส์จากคริสต์ทศวรรษ 1470 หนังสือกำหนดเทศกาล (book of hours) เป็นหนังสือวิจิตรจากยุคกลางที่ยังหลงเหลืออยู่เป็นจำนวนมากในปัจจุบัน หนังสือกำหนดเทศกาลแต่ละเล่มก็มีลักษณะแตกต่างจากกันแต่ที่เหมือนกันอยู่อย่างหนึ่งคือจะเป็นหนังสือที่ประกอบด้วยข้อเขียน, บทสวดมนต์ และ เพลงสดุดี และเป็นหนังสือที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นหนังสือสวดมนต์สำหรับคริสต์ชนผู้เคร่งครัด คำว่า “ชั่วโมง” ในคำภาษาอังกฤษสำหรับหนังสือกำหนดเทศกาลนั้น มาจากภาษาละติน ว่า “horae” แต่ถ้าเป็นหนังสือสวดมนต์ที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษก็มักจะเรียกว่า “primer” หนังสือกำหนดเทศกาลมักจะเขียนเป็นภาษาละติน แต่ก็มีบ้างที่เขียนเป็นภาษาพื้นเมืองของยุโรป หนังสือจำนวนมากที่ยังหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบันอยู่ในมือของห้องสมุดหรือของผู้สะสมส่วนบุคคล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและหนังสือกำหนดเทศกาล · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งเดียวสู่ทั้งปวง ทั้งปวงสู่หนึ่งเดียว

หนึ่งเดียวสู่ทั้งปวง ทั้งปวงสู่หนึ่งเดียว (ละติน: Unus pro omnibus, omnes pro uno One for all, all for one) เป็นภาษิตละติน เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและหนึ่งเดียวสู่ทั้งปวง ทั้งปวงสู่หนึ่งเดียว · ดูเพิ่มเติม »

หนูหิน

หนูหิน (Laotian rock rat; ลาว: ຂະຍຸ; ข่าหนู, ขะหยุ) เป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งได้รับการอนุกรมวิธานและค้นพบเจอเมื่อปี ค.ศ. 2005 หนูหิน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Laonastes aenigmamus (เป็นภาษาละติน คำแรกมีความหมายว่า "ผู้อาศัยอยู่ในหิน" และคำหลังหมายถึง "หนูประหลาด") มีความยาวตลอดทั้งตัวประมาณ 40 เซนติเมตร มีรูปร่างคล้ายหนู มีขนปกคลุมลำตัวสีเทาเข้ม แต่มีหางเป็นพวงเหมือนกระรอก และเท้าเป็นพังผืดคล้ายอุ้งเท้าของเป็ด ส่วนเท้าหลังแผ่ออกกว้างเป็นรูปตัววี ทำมุมกับลำตัว ทำให้เดินอุ้ยอ้ายเชื่องช้าและไม่สามารถป่ายปีนได้ มีหนวดยาวและนัยน์ตากลมมน ออกหากินในเวลากลางคืน และไม่สามารถป้องกันตัวเองได้ ปัจจุบันพบในเขตภูเขาหินปูนแขวงคำม่วน ประเทศลาวเพียงแห่งเดียวเท่านั้น และถือเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Laonastes หนูหิน จัดได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตชนิดหนึ่ง ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันนั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วตั้งแต่เมื่อ 11 ล้านปีก่อน โดยมีหลักฐานเป็นซากดึกดำบรรพ์พบในมณฑลซานตง ทางตอนใต้ของประเทศจีน หนูหินนั้นเป็นสัตว์ที่ชาวพื้นเมืองรับประทานเป็นอาหารโดยปกติอยู่แล้ว แต่ว่าเพิ่งจะมาเป็นรู้จักของชาวโลกในกลางปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและหนูหิน · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเก็บศพใต้โบสถ์

ห้องเก็บศพใต้โบสถ์ หรือ ห้องลับใต้ดิน ในภาษาอังกฤษเรียกว่า crypt เป็นคำมาจากภาษาละตินว่า crypta และภาษากรีกว่า κρύπτη หรือ kryptē ซึ่งมีความหมายว่า "ซ่อนอยู่" หรือ "ส่วนตัว" หมายถึงห้องใต้ดินที่ทำจากหินที่ใช้สำหรับบรรจุหีบศพ โลงหิน หรือเรลิก โดยปกติตามโบสถ์คริสต์หรือมหาวิหารมักจะมีห้องเก็บศพฝังอยู่ข้างใต้มุขโค้ง (apse) และต่อมาภายหลังมักสร้างอยู่ข้างใต้ของบริเวณกลางโบสถ์ (nave) หรือข้างใต้บริเวณแขนกางเขน (transept) และยังพบบางโบสถ์ที่สร้างแบบยกพื้นสูงเพื่อให้ห้องเก็บศพอยู่เหนือพื้นดิน เช่น โบสถ์นักบุญไมเคิล เมืองฮิลเดสไฮม์ ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและห้องเก็บศพใต้โบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

อลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด

อลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง Elizabeth นำแสดงโดยเคต แบลนเชตต์, โจเซฟ ไฟนส์, เจฟฟรีย์ รัช, คริสโตเฟอร์ แอคเคลสตัน ร่วมด้วย ริชาร์ด แอทเทนบอรอจ และเอริก ก็องโตนา (นักแสดงรับเชิญ) กำกับการแสดงโดย เชคการ์ คาปูร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด · ดูเพิ่มเติม »

อวัยวะเพศ

อวัยวะเพศ (sex organ) หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ (reproductive organ, primary sex organ, primary sexual characteristic) เป็นโครงสร้างทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่มีความซับซ้อน และเป็นส่วนหนึ่งของระบบสืบพันธุ์ อวัยวะที่เห็นได้จากด้านนอกในเพศหญิงและชายเรียกว่าเป็น อวัยวะเพศปฐมภูมิ หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ (genitals, genitalia) ส่วนอวัยวะภายในเรียกว่าเป็น อวัยวะเพศทุติยภูมิ หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ลักษณะที่เริ่มเกิดขึ้นในวัยเริ่มเจริญพันธุ์ เช่น ขนหัวหน่าวในผู้หญิงและผู้ชาย และหนวดในผู้ชาย เรียกว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเพศทุติยภูมิ (secondary sex characteristics) มอสส์, เฟิร์น และพืชบางชนิดที่คล้ายกันมีอับเซลล์สืบพันธุ์ (gametangia) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแกมีโทไฟต์ (gametophyte) ดอกไม้ของพืชดอกสร้างละอองเรณูและเซลล์ไข่ ทว่าอวัยวะเพศอยู่ข้างในแกมีโทไฟต์ภายในละอองเรณูและออวุล (ovule) พืชจำพวกสนก็ผลิตโครงสร้างการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศข้างในแกมีโทไฟต์ภายในลูกสนและละอองเรณู โดยลูกสนและละอองเรณูเองไม่ใช่อวัยว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอวัยวะเพศ · ดูเพิ่มเติม »

ออมนิทริกซ์

ออมนิทริกซ์ (Omnitrix) เป็นอุปกรณ์ของมนุษย์ต่างดาว จากการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่องเบ็นเท็น มีลักษณะคล้ายๆกับกำไลข้อมือ ซึ่งเบ็น ตัวเอกของเรื่องหรือตัวละครอื่นๆในเรื่อง ใช้มันเปลี่ยนร่างเป็นเอเลี่ยนที่ถูกเก็บอยู่ข้างใน ซึ่งนิสัยมักจะนึกคิดของตัวเองอยู่เสมอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและออมนิทริกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออลอโมตซ์

ออลอโมตซ์ (Olomouc; Olmütz; ละติน: Olomucium หรือ Iuliomontium; Ołomuniec) เป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศเช็กเกีย บนฝั่งแม่น้ำโมราวา เป็นเมืองหลวงของเขตออลอโมตซ์ ถือเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ มีประชากรราว 102,000 คน หากรวมประชากรชานเมือง มีประชากร 480,000 คน คาดกันว่าเมืองนี้ถือกำเนิดมาจากป้อมของชาวโรมัน ตกเป็นของฮังการีใน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและออลอโมตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออสตราเลเซีย

แผนที่ออสตราเลเซีย ออสตราเลเซีย (Australasia) คือชื่อที่ใช้เรียกภูมิภาคโอเชียเนีย กล่าวคือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะใกล้เคียงในมหาสมุทรแปซิฟิก ผู้คิดคำนี้ขึ้น คือ ชาร์ล เดอ บรอส (Charles de Brosses) ซึ่งระบุไว้ในหนังสือประวัติการสำรวจซีกโลกใต้ (Histoire des navigations aux terres australes) เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและออสตราเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ออโรรา (ดาราศาสตร์)

แสงออโรราบนท้องฟ้า ออโรรา เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่มีแสงเรืองบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน โดยมักจะขึ้นในบริเวณแถบขั้วโลก โดยบางครั้งจะเรียกว่า แสงเหนือ หรือ แสงใต้ ขึ้นอยู่กับแหล่งกำเนิด ปรากฏการออโรราเป็นตัวอย่างปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่น่าทึงที่สุดที่เกิดขึ้นในอวกาศที่ใกล้พื้นโลก มันอาจปรากฏจากสิ่งจางๆ เป็นวงนิ่ง แล้วระเบิดออกมาเป็นสีต่าง ๆ พุ่งกระจายภายในเวลาไม่กี่วินาที บางครั้งจะปรากฏเหมือนมันจะแตะกับพื้น หรือในเวลาอื่นอาจเห็นมันพุ่งสูงขึ้นสู่ท้องฟ้า แต่ความจริงแล้ว แสงออโรรานั้นเกิดขึ้นที่ความสูงจากพื้นโลก (altitudes) ประมาณ 100 ถึง 300 กิโลเมตร บริเวณที่อยู่บริเวณบรรยากาศชั้นบนที่อยู่ใกล้กับอวก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและออโรรา (ดาราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

อะเว

อะเว (Ave) เป็นคำในภาษาละติน เป็นการแสดงความเคารพหรือการทักทายของชาวโรมัน หมายถึง "ขอให้เป็นสุข" ส่วนใหญ่คำดังกล่าวมักจะใช้กล่าวทำความเคารพแก่จักรพรรดิแห่งโรมันหรือผู้มีอำนาจอื่น ๆ แต่ภายหลังจากนั้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ลัทธิฟาสซิสต์ได้นำไปดัดแปลงไปใช้ในการทักทาย โดยในนาซีเยอรมนี คำว่า อะเว แปลเป็นภาษาเยอรมันว่า ไฮล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอะเว · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรูปลิ่ม

อักษรยูการิติก อักษรรูปลิ่มที่เป็นระบบพยัญชนะ อักษรรูปลิ่ม (Cuneiform script) เป็นระบบการเขียนที่หลากหลาย เป็นได้ทั้งอักษรพยางค์ อักษรคำ และอักษรที่มีระบบสระ-พยัญชนะ คำว่า “cuneiform” ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาละติน “cuneus” แปลว่าลิ่ม ดังนั้นอักษรรูปลิ่มจึงรวมอักษรที่มีรูปร่างคล้ายลิ่มทั้งหมด ภาษาหลายตระกูล ทั้งตระกูลเซมิติก ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน และอื่น ๆ ที่เขียนด้วย อักษรนี้ เช่น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอักษรรูปลิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซูเมอร์

อักษรซูเมอร์ เป็นอักษรที่จัดว่าเก่ามาก ใช้ในเมโสโปเตเมียตอนใต้ ตั้งแต่ราว 4,457 ปีก่อนพุทธศักราช พัฒนาจากการบันทึกบนดินเหนียวที่เริ่มมีมาตั้งแต่ 7,457 ปีก่อนพุทธศักราช มาเป็นอักษรรูปลิ่ม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอักษรซูเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเวเนติก

อักษรเวเนติกเป็นอักษรของชาวเวเนติกที่อาศัยอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทะเลเอเดรียนในยุคโลหะ ราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงยุคจักรวรรดิโรมัน ภาษาละตินเรียกว่า “เวเนติ” ส่วนภาษากรีกเรียก “อีนิตอย” พบจารึกของชนกลุ่มนี้มากกว่า 200 ชิ้น อักษรนี้ใกล้เคียงกับอักษรอีทรัสคัน คาดว่าน่าจะมาจากอักษรกรีกและเป็นต้นแบบของอักษรฟูทาร์ก อักษรบางตัวมีหลายรูปแบบเพราะมาจากบริเวณที่ต่างกัน เสียง /f/ ใช้อักษรคู่ hvหรือ vh ซึ่งพบในอักษรอีทรัสคันและอักษรละตินรุ่นแรกๆด้วย เขียนจากขวาไปซ้ายแต่ก็เขียนจากซ้ายไปขวาได้เช่นเดียวกันโดยอักษรที่ใช้ในแต่ละทิศทางจะเป็นรูปในกระจกเงาซึ่งกันและกัน ในบางกรณี พบการเขียนในแนวสลับ ชาวเวเนติกถูกรวมเข้ากับจักรวรรดิโรมันและเลิกใช้อักษรเวเนติไปเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและอักษรเวเนติก · ดูเพิ่มเติม »

อัลยอลี

อัลยอลี (alhòli) หรือ อายอลี (aiòli) เป็นมายองเนสรสกระเทียมจากภูมิภาคพรอว็องส์ ประเทศฝรั่งเศส ส่วนผสมหลักคือ กระเทียม น้ำมันมะกอก และไข่แดง บางสูตรใส่น้ำมะนาวและมัสตาร์ดลงไปด้วย ใช้รับประทานกับอาหารทะเล อาหารทอด และผักต้ม นิยมรับประทานกับซุปปลาแบบพรอว็องส์และครูตง (ขนมปังกรอบชิ้นเล็ก ๆ) คำว่า "อัลยอลี" มาจากภาษาพรอว็องส์ alh 'กระเทียม' (.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอัลยอลี · ดูเพิ่มเติม »

อัลโต

อัลโต (Alto) มาจากรากศัพท์ภาษาละตินว่า Altus แปลว่า "เสียงสูง" มีความหมายหลายแบบ สำหรับเครื่องดนตรี อัลโต มักหมายถึงเสียงเครื่องดนตรีที่มีเสียงสูงสุดเป็นอันดับสอง รองจากทรีเบิล (treble) หรือ โซปราโน เช่น อัลโตแซกโซโฟน มีเสียงสูงรองจากโซปราโนแซกโซโฟน และเสียงสูงกว่าเทเนอร์แซกโซโฟน ในวงขับร้องประสานเสียงแบบสี่แนว SATB เสียงอัลโต ถือเป็นโทนเสียงสูงเป็นที่สองจากสี่ระดับ (ประกอบด้วย โซปราโน, (คอนทรา)อัลโต, เทเนอร์ และเบส) โดยโทนเสียงต่ำสุดของนักร้องหญิง บางครั้งเรียกว่า คอนทราลโต (contralto) มาจากการประสมคำว่า contra และ alto แต่หากเป็นวงขับร้องประสานเสียงแบบหญิงล้วน ซึ่งมักนิยมร้องแบบสองแนว SA หรือสามแนว SSA เสียงอัลโตจะเป็นเสียงนักร้องหญิงที่โทนเสียงต่ำที่สุดในวง หมวดหมู่:การร้องเพลง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอัลโต · ดูเพิ่มเติม »

อัลเลลูยา

อัลเลลูยา (คาทอลิก) อาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) หรือ ฮาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) มาจาก Alleluia ในภาษากรีกและภาษาละติน ซึ่งเป็นคำทับศัพท์มาจาก הַלְּלוּיָהּ ในภาษาฮีบรู มีความหมายว่า สรรเสริญ (הַלְּלוּ) พระยาห์เวห์ (יָהּ) ตรงกับภาษาละตินว่า "Alleluia" อัลเลลูยาเป็นวลีที่ใช้สรรเสริญพระเจ้าในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ ใกล้เคียงกับคำว่า อัลฮัมดุลิลลาฮ์ (الحمد لله) ที่ใช้ในศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอัลเลลูยา · ดูเพิ่มเติม »

อัณฑะ

อัณฑะ (มาจากรากศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต หมายถึง ไข่; testicle, testis) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชาย ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย นอกจากนั้นยังมีเซลล์ทำหน้าที่หลั่งฮอร์โมนเพศชายอีกด้วย ในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า Testis ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละติน: testis แปลว่า พยาน อัณฑะ อยู่ภายในถุงอันฑะซึ่งเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ปรับอุณหภูมิให้พอเหมาะในการสร้างอสุจิ ประมาณ 34 องศาเซลเซียส ถุงอัณฑะ ซึ่งอยู่ภายนอกร่างกาย มีผลดีคือทำให้ตัวอสุจิเจริญเติบโตตามปกติ เพราะอุณหภูมิในร่างกายสูงเกินไปไม่เหมาะต่อการสร้างอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอัณฑะ · ดูเพิ่มเติม »

อัตราเร็วของแสง

ปรากฏการณ์เชเรนคอฟ ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลมาจาก อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงที่เดินทางในน้ำ อัตราเร็วของแสง (speed of light) ในสุญญากาศ มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 เมตรต่อวินาที (หรือ 1,080,000,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 186,000.000 ไมล์ต่อวินาที หรือ 671,000,000 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว c ซึ่งมาจากภาษาละตินคำว่า celeritas (แปลว่า อัตราเร็ว) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของไอน์สไตน์ แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป แต่เป็นไปตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ สังเกตว่าอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เป็น นิยาม ไม่ใช่ การวัด ในหน่วยเอสไอกำหนดให้ เมตร มีนิยามว่าเป็นระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในเวลา 1/299,792,458 วินาที แสงที่เดินทางผ่านตัวกลางโปร่งแสง (คือไม่เป็นสุญญากาศ) จะมีอัตราเร็วต่ำกว่า c อัตราส่วนของ c ต่ออัตราเร็วของแสงที่เดินทางผ่านในตัวกลาง เรียกว่า ดรรชนีหักเหของตัวกลางนั้น โดยเมื่อผ่านแก้ว จะมีดรรชนีหักเห 1.5-1.9 ผ่านน้ำจะมีดรรชีนีหักเห 1.3330 ผ่านเบนซินจะมีดรรชนีหักเห 1.5012 ผ่านคาร์บอนไดซัลไฟต์จะมีดรรชนีหักเห 1.6276 ผ่านเพชรจะมีดรรชนีหักเห 2.417 ผ่านน้ำแข็งจะมีดรรชนีหักเห 1.309.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอัตราเร็วของแสง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับย่อยเม่น

ม่น เป็นอันดับย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hystricomorpha โดยคำว่า Hystricomorpha นั้นมาจากภาษาละตินคำว่า hystrix หมายถึง "เม่น" และภาษากรีกคำว่า morphē หมายถึง "ลักษณะ" โดยสัตว์ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีของอันดับย่อยนี้ คือ เม่น ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางค่อนข้างไปทางใหญ่ ที่มีจุดเด่น คือ ขนบนตัวที่เป็นหนามแหลม ใช้สำหรับป้องกันตัว กระจายพันธุ์ไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วทั้งโลก คือ ทวีปเอเชีย, แอฟริกา, อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้อีกเป็น 2 วงศ์ เม่น เป็นสัตว์ที่มีความเชื่อว่าสามารถสะบัดขนเข้าใส่ศัตรูได้แต่ความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น เมื่อเม่นพบศัตรูจะรีบหันหลังให้แล้ววิ่งหนีไปพร้อมทั้งสั่นขนให้เกิดเสียงดังกราว ๆ เป็นการเตือน ไม่ให้ศัตรูเข้าใกล้ แต่ถ้าศัตรูยังวิ่งไล่อยู่เม่นจะรีบหยุดทันที พร้อมทั้งพองขนให้ตั้งชัน และวิ่งถอยหลังเข้าหา ศัตรูที่วิ่งตามไม่สามารถจะหยุดได้ทันจึงถูกขนเม่นทิ่มตำ ขนเม่นจะหลุดจากตัวเม่นได้ง่ายมาก มักจะติดไปกับสัตว์ที่เข้ามาทำอันตรายเสมอและอาจทำให้ศัตรูตายได้ ในอดีต พรานป่าที่เข้าไปล่าสัตว์มักจะนำสุนัขไปด้วยเพื่อช่วยดมกลิ่นและค้นหาสัตว์ป่าถ้าพบเห็นเม่นมันจะวิ่งไล่ทันที เมื่อเม่นหยุดวิ่ง สุนัขจะวิ่งชนเม่นทันทีจึงมักได้รับบาดเจ็บและมีขนเม่นติดตามตัว เมื่อเจ้าของสุนัขพบเข้าจึงคิดว่าเม่นสะบัดขนเข้าใส่ ทำให้เกิดความเชื่อผิด ๆ ตามกันมา สำหรับในประเทศไทย พบเม่นได้ 2 ชนิด คือ เม่นใหญ่แผงคอยาว (Hystrix brachyura) และเม่นหางพวง (Atherurus macrourus) ซึ่งทั้งหมดจัดอยู่ใน วงศ์เม่นโลกเก่า (Hystricidae).

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับย่อยเม่น · ดูเพิ่มเติม »

อันดับวานร

อันดับวานร หรือ อันดับไพรเมต (Primate) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันได้แก่ สัตว์จำพวกลีเมอร์, ลิง และลิงไม่มีหาง ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย มีชื่อสามัญเรียกกันโดยทั่วไปว่า ไพรเมต จึงกล่าวได้ว่าสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแอฟริกา, ตอนล่างของทวีปเอเชีย, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่ชนิดในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเม็กซิโก โดยที่ไม่พบในทวีปยุโรป และทวีปออสเตรเลีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Primates.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับวานร · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสัตว์กินแมลง

อก (''Erinaceus europaeus'') จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับนี้ อันดับสัตว์กินแมลง (อันดับ: Insectivora, อ่านออกเสียง /อิน-เซค-ทิ-วอ-รา/, โดยมาจากภาษาละตินคำว่า insectum หมายถึง "แมลง" และ vorare หมายถึง "ไปกิน") เป็นอันดับของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Insectivora มีลักษณะโดยรวมคือ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก กินแมลงเป็นอาหาร มีทั้งพวกที่ออกหากินในเวลากลางวัน และออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยอยู่บนพื้นและบนต้นไม้ ยืนด้วยฝ่าเท้า มีสมองส่วนรับกลิ่นเจริญดี แต่สายตาไม่ดี นอกจากกินแมลงแล้วยังอาจจะยังกินสัตว์ที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ตัวอย่างเช่น หนูผี, หนูเหม็น, ตุ่น เป็นต้น สัตว์ในอันดับนี้ ช่วยทำลายศัตรูป่าไม้ ต้นไม้ในป่าจะมีศัตรูตามธรรมชาติเสมอ ๆ เช่น โรคพืชที่จากแมลง เป็นต้น แต่ศัตรูเหล่านี้จะไม่ระบาด โดยเฉพาะแมลงหากมีตัวทำลายสัตว์ป่าหลายชนิดเป็นตัวกำจัดแมลง กินแมลงที่มาทำลายใบ ดอก และผล ตุ่นและหนูผี จะกินหนอนที่มากินรากและลำต้นใต้ดิน แต่ในปัจจุบัน อันดับนี้ได้ถูกยกเลิกไปแล้วโดยได้แยกออกมาเป็นอันดับต่างหากเอง 5 อันดับ คือ Afrosoricida, Erinaceomorpha, Macroscelidea, Scandentia, Soricomorpha แต่ในบางข้อมูลยังคงจัดเป็นอันดับอยู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับสัตว์กินแมลง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง

ัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง หรือ สัตว์มีถุงหน้าท้อง (อันดับ: Marsupialia; Marsupial) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับหนึ่ง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับต่าง ๆ ได้อีกจำนวนหนึ่ง (ดูในตาราง) สัตว์ในอันดับนี้ มีความแตกต่างและหลากหลายในแง่ของรูปร่าง ลักษณะ และขนาดเป็นอย่างมาก แต่มีลักษณะเด่นที่มีความเหมือนกันประการหนึ่ง คือ จะออกลูกเป็นตัว โดยตัวเมียมีถุงหน้าท้อง ตัวอ่อนของสัตว์ในอันดับนี้เจริญเติบโตในมดลูกในช่วงระยะเวลาสั้น มีสะดือและสายรกด้วย แล้วจะคลานย้ายมาอยู่ในถุงหน้าท้องดูดกินนมจากแม่ ก่อนจะเจริญเติบโตในถุงหน้าท้องหรือกระเป๋าหน้าท้องนี้จนโต บางครั้งเมื่อยังโตไม่เต็มที่ จะเข้า-ออกระหว่างข้างออกกับกระเป๋าหน้าท้องเป็นปกติ ซึ่งสัตว์ในอันดับนี้ที่เป็นที่รู้จักดี ได้แก่ จิงโจ้, โคอาลา, โอพอสซัม, ชูการ์ไกลเดอร์, วอมแบต, แทสเมเนียนเดวิล เป็นต้น ซึ่งสัตว์ในอันดับนี้ล้วนแต่จะพบเฉพาะในทวีปออสเตรเลียและบางส่วนของนิวกินี และพบในบางส่วนของทวีปอเมริกา ทั้งอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ หลายชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้ว เช่น หมาป่าแทสมาเนีย (Thylacinus cynocephalus) หรือไดโปรโตดอน (Diprotodon spp.) เป็นต้น โดยคำว่า Marsupialia นั้นมาจากภาษาละติน แปลว่า "กระเป๋า หรือ ถุง".

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาหลังเขียว

อันดับปลาหลังเขียว (อันดับ: Clupeiformes) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Clupeiformes เป็นปลาที่มีถุงลมมีท่อนิวเมติกเชื่อมต่อไปยังลำไส้ เส้นข้างลำตัวมักขาด แต่มีเกล็ดและครีบเช่นปลาในอันดับอื่น ๆ โดยมากแล้วมักจะมีลำตัวสีเงิน และมีส่วนหลังสีเขียว อันเป็นที่มาของชื่อ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยมากแล้วจะกินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร โดยผ่านซี่กรองเหงือก และไม่มีฟัน แต่ก็มีบางชนิดหรือบางวงศ์ที่กินเนื้อเป็นอาหารและมีฟัน เช่นกัน พบทั้งหมด 6 วงศ์ ประมาณ 300 ชนิด ซึ่งปลาในอันดับนี้จะมีชื่อที่เป็นที่รู้จักกันในภาษาไทยเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาหลังเขียว", "ปลาตะลุมพุก", "ปลามงโกรย", "ปลากะตัก", "ปลาไส้ตัน", "ปลาทราย", "ปลากล้วย" เป็นต้น ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกว่า "Herring", "Sardine", "Anchovy" หรือ " Shad" เป็นต้น พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะถูกจับนำมาบริโภคในฐานะปลาเศรษฐกิจและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ปลากระป๋องหรือน้ำปลา เป็นต้น โดยคำว่า Clupeiformes นั้นมาจากภาษาละติน "clupea" หมายถึง "ปลาซาร์ดีน" กับคำว่า "forma" หมายถึง "แหลมคม".

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับปลาหลังเขียว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ

อันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ เป็นอันดับปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Syngnathiformes ปลาในอันดับนี้มีรูปร่างประหลาดไปกว่าปลาในอันดับอื่น ๆ กล่าวคือ มีรูปร่างที่เรียวยาวเหมือนหลอดหรือกิ่งไม้ เป็นปลาขนาดเล็ก ในปากไม่มีฟัน ไม่มีขากรรไกร แต่จะมีลักษณะคล้ายท่อดูด ไว้สำหรับดูดอาหารจำพวก แพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็กหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ มีขนาดโดยเฉลี่ยเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล ซึ่งคำว่า "Syngnathiformes" นั้นมาจากภาษากรีก แปลว่า "ติดกับขากรรไกร" โดยมาจากภาษากรีกโบราณ คำว่า συν แปลว่า ด้วยกัน กับ γνάθος แปลว่า ขากรรไกร และ "formes" มาจากภาษาลาตินที่หมายถึง "รูปแบบที่คล้ายคลึงกัน".

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาโรนัน

อันดับปลาโรนัน (อันดับ: Rajiformes, Skate, guitarfish) เป็นอันดับย่อยของอันดับ Batoidea ซึ่งจัดอยู่ในชั้นปลากระดูกอ่อน ปลาที่อยู่ในอันดับนี้มีลักษณะโดยรวมที่แตกต่างไปจากปลาในอันดับ Batoidea อันดับอื่น คือ มีครีบอกที่ใหญ่กว่า แผ่ขยายมากกว่า และอยู่ใกล้กับส่วนหัวซึ่งแบนราบอย่างเห็นได้ชัด มีตาอยู่บนด้านบนของหัว และซี่เหงือกอยู่ด้านล่างเหมือนปลากระเบนทั่วไป มีฟันใช้สำหรับบดอาหาร จำพวก ครัสเตเชียนและหอยชนิดต่าง ๆ ส่วนใหญ่เมื่อให้กำเนิดลูก ตัวอ่อนจะพัฒนาในแคปซูลที่มีรูปร่างเหมือนเขาสัตว์ ที่ถูกเรียก "กระเป๋านางเงือก" (Mermaid's purse) ซึ่งปลาที่อยู่ในอันดับนี้ที่เป็นรู้จักเป็นอย่างดี คือ ปลาโรนัน และ ปลาโรนิน รวมถึงปลากระบาง ซึ่งอันดับนี้เคยรวมเป็นอันดับเดียวกับ อันดับปลากระเบน คือ ปลากระเบนทั่วไป และ Pristiformes หรือปลาฉนากมาก่อนด้วย โดยคำว่า Rajiformes นั้น มาจากภาษาลาตินคำว่า "raja" ที่หมายถึง ปลากระเบน กับคำว่า "forma" ที่หมายถึง แหลมคม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับปลาโรนัน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาไหลไฟฟ้า

อันดับปลาไหลไฟฟ้า (South American knifefish, Electric eel) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gymnotiformes โดยที่คำว่า Gymnotiformes นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "Gymnos" (Γυμνος) หมายถึง "เปลือย" และภาษาละตินคำว่า "forma" หมายถึง "คม" ปลาที่อยู่ในอันดับนี้มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหล มีจุดเด่นคือไม่มีครีบหลัง ขณะที่ชายครีบก้นจะยาวมาก และมีมากกว่า 140 ก้านครีบ ซึ่งครีบก้นนี้ จะเริ่มตั้งแต่ตำแหน่งของครีบอก ครีบก้นของปลาในอันดับนี้จะถูกใช้ในการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า และถอยหลัง โดยการโบกพริ้วอย่างรวดเร็ว ช่องทวาร จะอยู่บริเวณใต้ปลาพอดี รวมทั้งมีอวัยวะในการสร้างกระแสไฟฟ้า เพื่อใช้ในการนำทางในน้ำที่ขุ่นมัว, การสื่อสาร และล่าเหยื่อ โดยจะรับรู้ถึงวัตถุต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาได้ทางผิวหนัง โดยมากแล้วจะเป็นกระแสไฟฟ้าอ่อน ๆ เป็นปลาน้ำจืด กระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ แบ่งเป็นวงศ์ได้ทั้งหมด 6 วงศ์ 2 อันดับย่อย โดยปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และอาจถือได้ว่าเป็นที่รู้จักดีที่สุดของอันดับนี้ คือ ปลาไหลไฟฟ้า ที่ยาวเต็มที่ได้ถึง 8.2 ฟุต และปล่อยกระแสไฟฟ้าได้แรงถึง 800 โวลต์ นับว่าสูงสุดในอันดับนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับปลาไหลไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

อันดับนกตะขาบ

อันดับนกตะขาบ เป็นอันดับของนกขากรรไกรแบบใหม่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Coraciiformes โดยที่คำว่า "Coraciiformes" นั้น หมายถึง "เหมือนนกเรเวน" หรืออีกบริบทคือ "อีกา" (อีกาจัดเป็นนกเกาะคอน) โดยมาจากคำว่า "Corax" ในภาษาละติน มีความหมาย "อีกา" และคำว่า "Forma" หมายถึง "รูปแบบ" ซึ่งเป็นคำลงท้ายในการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากเป็นนกที่มีลักษณะคล้ายกับอีกา เป็นนกที่มีขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ มีลักษณะโดยร่วมกัน คือ จะงอยปากมีหลายรูปแบบ คือ ปากตรง ปากแบนข้าง ปากโค้ง ปากเป็นรูปขอ รูจมูกไม่ทะลุถึงกันเพราะมีผนังกั้น หางยาวปานกลางจนถึงยาวมาก ปลายหางมนหรือเป็นหางตัด ปีกยาวปานกลางจนถึงยาวมาก ปลายปีกมักแหลม ขนปลายปีกมี 10-11 เส้น มีขนกลางปีกเส้นที่ 5 ยกเว้นในบางชนิด ขายาวปานกลางหรือขาสั้น แข้งสั้น หน้าแข้งด้านหน้าปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดใหญ่แบบเกล็ดซ้อน โดยเกล็ดแต่ละชิ้นมีขนาดไม่เท่ากัน นิ้วหลังสั้นกว่านิ้วหน้า โคนนิ้วเป็นแบบนิ้วติด ยกเว้นในบางวงศ์ แกนขนรองมีขนาดเล็กหรือไม่มี หัวอาจมีหงอนหรือมีขนก็ได้ มีพฤติกรรมทำรังตามโพรงไม้หรือโพรงดินตามริมฝั่งแม่น้ำ ไข่มีเปลือกสีขาวหรือสีน้ำเงิน วางไข่ครั้งละ 2-8 ฟอง ลูกนกแรกเกิดไม่สามารถที่จะเดินหรือช่วยเหลือตัวเองได้ กินผลไม้เป็นอาหารหลัก และเสริมด้วยสัตว์ขนาดเล็ก ๆ เช่น หนู หรือกิ้งก่า และแมลงต่าง ๆ พบกระจายพันธุ์อยู่แทบทุกภูมิภาคของโลก ยกเว้นเกาะฮาวาย ประกอบไปด้วยวงศ์ทั้งหมด 11 วงศ์ โดยนกที่เป็นที่รู้จักกันดีในอันดับนี้ ได้แก่ นกเงือก (Bucerotidae) ซึ่งเป็นนกที่มีหงอนบนหัวและมีขนาดใหญ่, นกตะขาบ (Coraciidae), นกกะรางหัวขวาน (Upupidae), นกกระเต็น (Alcedinidae) เป็นต้น (แต่ในบางข้อมูลจะจัดนกเงือก, นกกระเต็น และนกกะรางหัวขวาน แยกออกเป็นอันดับต่างหาก) ในประเทศไทย พบทั้งสิ้น 5 วงศ์ ประมาณ 38 ชน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันดับนกตะขาบ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนิโอ สตราดิวารี

อันโตนิโอ สตราดิวารี (Antonio Stradivari) (ค.ศ. 1644 - 8 ธันวาคม ค.ศ. 1737) เป็นช่างทำเครื่องดนตรีชาวอิตาลีที่มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับถืงฝีมือการสร้างไวโอลิน วิโอลา เชลโล กีตาร์ และฮาร์พ ว่าเป็นหนึ่งในช่างฝีมือเอก ในระดับเดียวกับนิโคโล อามาติ และกุยเซ็ปเป กวาร์นิเอรี อันโตนิโอ สตราดิวารี เริ่มเป็นช่างทำไวโอลินจากการเป็นลูกศิษย์ของนิโคโล อามาติ และเปิดร้านเป็นของตนเองควบคู่ไปกับการทำงานที่ร้านของอามาติ ในปี ค.ศ. 1666 จนกระทั่งอามาติเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและอันโตนิโอ สตราดิวารี · ดูเพิ่มเติม »

อาการชอบน้ำปัสสาวะ

หญิงคนหนึ่งกำลังถกกระโปรงขึ้นเพื่อถ่ายปัสสาวะลงปากของชายนายหนึ่ง อาการชอบน้ำปัสสาวะ (urophilia, undinism หรือ urolagnia) เป็นกามวิปริต (paraphilia) ประเภทหนึ่งซึ่งเป็นพฤติกรรมของมนุษย์ที่เมื่อได้เห็นหรือได้คิดคำนึงถึงปัสสาวะก็จะเกิดกามารมณ์ คำว่า urolagnia ในภาษาอังกฤษนั้นมีที่มาจากคำประสมในภาษาละติน คือ "ouron" ว่าปัสสาวะ + "lagneia" ว่าหื่นกาม ผู้มีอาการชอบน้ำปัสสาวะบางทีมักชอบถ่ายปัสสาวะรดบุคคลอื่นหรือชอบที่จะถูกกระทำเยี่ยงนั้น บางคนก็ชอบบริโภคน้ำปัสสาวะซึ่งมีชื่ออาการทางแพทยศาสตร์ว่า "อาการชอบดื่มน้ำปัสสาวะ" (Urophagia) กิจกรรมเหล่านี้ในภาษาอังกฤษมักเรียกโดยภาษาปากว่า golden showers, watersports, piss play ในประเทศนิวซีแลนด์ การเผยแพร่สิ่งใด ๆ เพื่อส่งเสริมหรือสนับสนุนให้เกิดอาการชอบน้ำปัสสาวะไม่ว่ากระทำโดยประการใด เป็นความผิดอาญาที่ระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาการชอบน้ำปัสสาวะ · ดูเพิ่มเติม »

อาการกลัวเลขสิบสาม

หมายเลขคอกม้าที่ Santa Anita Park ไล่จาก 12 ไป 12A ไป 14 อาการกลัวเลขสิบสาม (triskaidekaphobia) คืออาการกลัวในการพบเห็นจำนวน 13 และหลีกเลี่ยงที่จะใช้มัน ซึ่งเป็นความเชื่องมงายชนิดหนึ่งและเกี่ยวข้องกับอาการกลัวจำเพาะวันศุกร์ที่สิบสาม ศัพท์คำนี้มีการใช้เป็นครั้งแรกโดย อิซาดอร์ คอเรียต ในหนังสือ แอบนอร์มัล ไซคอลอจี (จิตวิทยาผิดปรกติ).

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาการกลัวเลขสิบสาม · ดูเพิ่มเติม »

อาการปวดขาที่เกิดจากประสาท

อาการปวดขาที่เกิดจากประสาท (Neurogenic claudication, pseudoclaudication. ตัวย่อ NC) เป็นอาการสามัญอย่างหนึ่งของช่องไขสันหลังที่เอวตีบ (lumbar spinal stenosis) และของการอักเสบที่เส้นประสาทซึ่งออกมาจากไขสันหลัง คำคุณศัพท์ว่า "เกิดจากประสาท" หมายความว่า ปัญหาอยู่ที่เส้นประสาท และคำว่า claudication มาจากคำภาษาละตินที่แปลว่า ปวกเปียก เพราะว่าคนไข้รู้สึกปวดหรืออ่อนแรงที่ขา ดังนั้น จึงควรแยกแยะ NC จาก อาการปวดขาเป็นระยะเหตุขาดเลือด (Intermittent claudication) ซึ่งเกิดจากปัญหาการไหลเวียนของเลือด ไม่ใช่ปัญหาทางประสาท อาการอาจเป็นทั้งสองข้างหรือข้างเดียวที่บั้นท้าย ต้นขา น่อง เป็นความไม่สบาย เจ็บปวด ชา หรือกะปลกกะเปลี้ย ในคนไข้บางราย อาการอาจจุดชนวนโดยการเดินหรือยืนนาน ๆ ลักษณะคลาสสิกของอาการนี้ก็คือ อาการจะบรรเทาเมื่อเปลี่ยนอากัปกิริยาหรืองอเอว ไม่ใช่เพียงแค่พักเหมือนกับอาการที่มีเหตุจากการขาดเลือด ดังนั้น คนไข้ที่มีอาการเหตุประสาทจะพิการน้อยกว่าในการขึ้นลงบันได เข็นรถ หรือปั่นจักรยาน ในคนไข้ที่รากประสาทถูกบีบอย่างรุนแรง NC จะไม่เกิดเป็นระยะ ๆ แต่จะเป็นอย่างต่อเนื่อง พยาธิสรีรภาพของโรคเชื่อว่าเป็นการขาดเลือดที่รากประสาทของเอว-กระเบนเหน็บ (lumbosacral) โดยเป็นเหตุทุติยภูมิเนื่องจากการบีบอัดของเส้นประสาทจากโครงสร้างรอบ ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาการปวดขาที่เกิดจากประสาท · ดูเพิ่มเติม »

อาการปวดเค้นหัวใจ

อาการปวดเค้นหัวใจ (angina pectoris) คืออาการเจ็บหน้าอกอย่างหนึ่งซึ่งเป็นผลจากการขาดเลือดของกล้ามเนื้อหัวใจ ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการอุดตันหรือหดเกร็งของหลอดเลือดหัวใจ สาเหตุส่วนใหญ่ของอาการปวดเค้นหัวใจคือโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นผลจากการเกิดการแข็งของหลอดเลือดหัวใจ คำภาษาอังกฤษของอาการปวดเค้นหัวใจคือ angina pectoris มาจากคำภาษาลาตินว่า "angere" ("บีบรัด") ประกอบกับคำว่า pectus ("อก") ดังนั้นอาจแปลตามรูปศัพท์ได้ว่าอาการปวดเหมือนถูกบีบรัดหน้าอก ความรุนแรงของความเจ็บปวดมีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของการขาดออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจอยู่บ้างเพียงเล็กน้อย (หมายความว่าแม้จะมีอาการปวดรุนแรง แต่อาจไม่เป็นหัวใจขาดเลือดก็ได้ และผู้ป่วยหัวใจขาดเลือด อาจไม่เจ็บหรือเจ็บไม่มากก็ได้) อาการปวดที่เป็นมากขึ้นๆ ("crescendo") อาการปวดที่เป็นมากขึ้นทันทีทันใดขณะไม่ได้ออกแรงหรือพัก และอาการปวดที่เป็นอยู่นานกว่า 15 นาที เป็นอาการของอาการปวดเค้นไม่เสถียร ("unstable angina") (มักนับรวมกับโรคอื่นๆ ที่ใกล้เคียงกันเป็นกลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน) อาการเช่นนี้มีโอกาสสูงที่จะเป็นจากการมีกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด จำเป็นต้องได้รับการตรวจจากแพทย์โดยด่วน ส่วนใหญ่เบื้องต้นมักถือว่าเป็นหัวใจขาดเลือดไว้ก่อน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาการปวดเค้นหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Maria Leopoldina of Austria, de.: Erzherzogin Maria Leopoldine von Österreich, pt.: Maria Leopoldina da Áustria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลีโอโพลดีน่า โจเซฟ่า แคโรไลน์, Maria Leopoldina Josepha Caroline von Habsburg-Lorraine (de Bragança)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และนอกจากนี้ ยังทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งบราซิล และสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คิมิดีส

อาร์คิมิดีส (Αρχιμήδης; Archimedes; 287-212 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก เกิดเมื่อ287 ปีก่อนคริสตกาล ในเมืองซีรากูซา ซึ่งในเวลานั้นเป็นนิคมท่าเรือของกรีก แม้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของเขาน้อยมาก แต่เขาก็ได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในสมัยคลาสสิก ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชา สถิตยศาสตร์ของไหล, สถิตยศาสตร์ และการอธิบายหลักการเกี่ยวกับคาน เขาได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรมเครื่องจักรกลหลายชิ้น ซึ่งรวมไปถึงปั๊มเกลียว (screw pump) ซึ่งได้ตั้งชื่อตามชื่อของเขาด้วย ผลการทดลองในยุคใหม่ได้พิสูจน์แล้วว่า เครื่องจักรที่อาร์คิมิดีสออกแบบนั้นสามารถยกเรือขึ้นจากน้ำหรือสามารถจุดไฟเผาเรือได้โดยอาศัยแถบกระจกจำนวนมาก อาร์คิมิดีสได้รับยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล เช่นเดียวกับ นิวตัน เกาส์ และ ออยเลอร์ เขาใช้ระเบียบวิธีเกษียณ (Method of Exhaustion) ในการคำนวณพื้นที่ใต้เส้นโค้งพาราโบลาด้วยการหาผลรวมของชุดอนุกรมอนันต์ และได้ค่าประมาณที่ใกล้เคียงที่สุดของค่าพาย เขายังกำหนดนิยามแก่วงก้นหอยของอาร์คิมิดีส ซึ่งได้ชื่อตามชื่อของเขา, คิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน และคิดค้นระบบสำหรับใช้บ่งบอกถึงตัวเลขจำนวนใหญ่มาก ๆ อาร์คิมิดีสเสียชีวิตในระหว่างการล้อมซีราคิวส์ (ราว 214-212 ปีก่อนคริสตกาล) โดยถูกทหารโรมันคนหนึ่งสังหาร ทั้ง ๆ ที่มีคำสั่งมาว่าห้ามทำอันตรายแก่อาร์คิมิดีส ซิเซโรบรรยายถึงการเยี่ยมหลุมศพของอาร์คิมิดีสซึ่งมีลูกทรงกลมจารึกอยู่ภายในแท่งทรงกระบอกเหนือหลุมศพ เนื่องจากอาร์คิมิดีสเป็นผู้พิสูจน์ว่า ทรงกลมมีปริมาตรและพื้นที่ผิวเป็น 2 ใน 3 ส่วนของทรงกระบอกที่บรรจุทรงกลมนั้นพอดี (รวมพื้นที่ของฐานทรงกระบอกทั้งสองข้าง) ซึ่งนับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาในทางคณิตศาสตร์ ขณะที่ผลงานประดิษฐ์ของอาร์คิมิดีสเป็นที่รู้จักกันดี แต่งานเขียนทางด้านคณิตศาสตร์กลับไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายนัก นักคณิตศาสตร์จากอเล็กซานเดรียได้อ่านงานเขียนของเขาและนำไปอ้างอิง ทว่ามีการรวบรวมผลงานอย่างแท้จริงเป็นครั้งแรกในช่วง ค.ศ. 530 โดย ไอซิดอร์ แห่งมิเลตุส (Isidore of Miletus) ส่วนงานวิจารณ์งานเขียนของอาร์คิมิดีสซึ่งเขียนขึ้นโดย ยูโตเซียส แห่งอัสคาลอน (Eutocius of Ascalon) ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ช่วยเปิดเผยผลงานของเขาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเป็นครั้งแรก ต้นฉบับงานเขียนของอาร์คิมิดีสหลงเหลือรอดผ่านยุคกลางมาได้ไม่มากนัก แต่ก็เป็นแหล่งข้อมูลสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ในยุคเรอเนสซองส์ ปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาร์คิมิดีส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารรูอ็อง

อาสนวิหารรูอ็อง (Cathédrale de Rouen) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระแห่งรูอ็อง (Cathédrale Notre-Dame de Rouen) เป็นอาสนวิหารแบบกอทิก ตั้งอยู่ที่เมืองรูอ็อง ในจังหวัดแซน-มารีตีม แคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกแห่งอัครมุขมณฑลรูอ็อง และอาสนวิหารแห่งนี้ยังอยู่ในฐานะ "Primatial Cathedral" ในตำแหน่ง ไพรเมตแห่งนอร์ม็องดี (Primat de Normandie) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาสนวิหารรูอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาวีญง

อาสนวิหารอาวีญง (Cathédrale d'Avignon) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งอาวีญง (Cathédrale Notre-Dame des Doms d'Avignon) คำว่า des Doms มาจากภาษาละตินว่า Domus episcopali แปลตามศัพท์ว่า "จากบ้านของมุขนายก" โดยสันนิษฐานจากสถานที่ตั้งของที่พักประจำตำแหน่งของอัครมุขนายกแห่งอาวีญง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของวิหารเดิมที่สร้างแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 และถูกทำลายลงช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 8 เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลอาวีญง ตั้งอยู่ในเขตพระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญงในเมืองอาวีญง จังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี สร้างในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบพรอว็องส์ โดยสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาสนวิหารอาวีญง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale du Puy-en-Velay) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation du Puy-en-Velay) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลเลอปุย-อ็อง-เวอแล ตั้งอยู่ที่เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล จังหวัดโอต-ลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร และยังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นบาซิลิกาเมื่อปีค.ศ. 1856 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 อาสนวิหารเป็นอาคารแบบสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และศิลปะโรมาเนสก์ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งตะวันตกของคริสตจักร และยังเป็นหนึ่งในสถานที่แสวงบุญของชาวคริสต์มาตั้งแต่สมัยก่อนจักรพรรดิชาร์เลอมาญ อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งยังอยู่ในมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก

อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก (Regnum Francorum Orientalium; Francia Orientalis) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงที่ตกมาเป็นของลุดวิจชาวเยอรมันพระนัดดาของชาร์เลอมาญตามสนธิสัญญาแวร์เดิงของปี ค.ศ. 843 ราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออกเป็นราชอาณาจักรที่มาก่อนจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาเสด็จสวรรคต ราชอาณาจักรแฟรงก์อันยิ่งใหญ่ที่ชาร์เลอมาญก่อตั้งขึ้น ครอบคลุมดินแดนส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันต ก็ถูกแบ่งแยกหลังจากสงครามกลางเมืองที่ยาวสามปีระหว่างพระราชนัดดาสามพระองค์ในระหว่างปี ค.ศ. 840 ถึงปี ค.ศ. 843 ในระหว่างสงคราม คาร์ลพระเศียรล้านทรงเข้าข้างลุดวิจชาวเยอรมัน พระอนุชาต่างพระมารดา ในข้อขัดแย้งในสิทธิการครองราชบัลลังก์กับจักรพรรดิโลทาร์ที่ 1 พระเชษฐา ผู้ทรงใช้ตำแหน่งจักรพรรดิแห่งชาวโรมันที่เคยเป็นตำแหน่งของพระอัยกา และกลายมาเป็นตำแหน่งที่ใช้กันต่อมาสำหรับจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่จักรพรรดิออทโทที่ 1 เป็นต้นมา เมื่อสงครามสิ้นสุดลงราชอาณาจักรแฟรงก์ถูกแบ่งแยกออกเป็นสามส่วนตามสนธิสัญญาแวร์เดิง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

อานาโตเลีย

อานาโตเลีย (อังกฤษ: (Anatolia), กรีก: ανατολή หมายถึง "อาทิตย์อุทัย" หรือ "ตะวันออก") นิยมเรียกในภาษาละตินว่า เอเชียน้อย อีกด้วย เป็นดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ที่เชื่อมต่อระหว่างเอเชียกับยุโรป คาบสมุทรอานาโตเลียมีพื้นที่ประมาณ 757,000 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอานาโตเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อาเมลี นอตง

อาเมลี นอตง อาเมลี นอตง (Amélie Nothomb) นักเขียนชาวเบลเยียมที่เขียนผลงานเป็นภาษาฝรั่งเศส เกิดวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1966 ที่เมืองโคเบะ ประเทศญี่ปุ่น ในครอบครัวของเอกอัครราชทูตเบลเยียมประจำประเทศญี่ปุ่น เธออาศัยอยู่ที่นั่นจนอายุได้ 5 ขวบ ก่อนที่จะย้ายติดตามครอบครัวไปยังประเทศต่าง ๆ ซึ่งเธอได้นำประสบการณ์เหล่านั้นมาใส่ไว้ในนวนิยายด้วย เมื่อเธออายุได้ 17 ปี เธอได้มาที่ประเทศเบลเยียมเพื่อเยี่ยมเยียนตาและยายของเธอ นอกจากนั้นเธอยังเข้าเรียนทางด้านภาษาศาสตร์ที่ว่าด้วยรากฐานของภาษาละติน ณ มหาวิทยาลัยเสรีแห่งบรัสเซลส์ (Université Libre de Bruxelles) เมื่อเธอจบการศึกษา เธอได้ตัดสินใจเดินทางกลับมาที่โตเกียวอีกครั้ง เนื่องจากเธอมีความใฝ่ฝันมาตั้งแต่เด็ก ๆ ที่จะกลับมาอาศัยในประเทศที่เธอนับถือดุจบ้านเกิด เธอเข้าทำงานในบริษัทใหญ่แห่งหนึ่งที่มีชื่อว่า ยูมิโมโตะคอร์เพอเรชัน (Yumimoto Corporation) เป็นเวลา 1 ปี หลังจากนั้นเธอได้ตัดสินใจลาออกและนำประสบการณ์ในการทำงานครั้งนี้มาเขียนเล่าในหนังสือที่มีชื่อว่า ตะลึงงันและสั่นไหว (Stupeur et tremblements) ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและอาเมลี นอตง · ดูเพิ่มเติม »

อิกิโตส

อิกิโตส (Iquitos) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในป่าฝนของประเทศเปรู และเป็นเมืองหลวงของแคว้นโลเรโต และจังหวัดไมนัส ถือเป็นเมืองใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของประเทศเปรู มีประชากร 457,865 คน เมืองเป็นศูนย์กลางของอาหาร วัฒนธรรม เครื่องแต่งกาย และประวัติศาสตร์ อิกิโตส ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำแอมะซอน ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเปรู เมืองประกอบด้วย 4 เขตคือ อิกิโตส, เบเลง, ปุนชานา และซานฮวนเบาติสตา ภูมิอากาศร้อนและชื้น มีความชื้นเฉลี่ย 85% มีฝนตั้งแต่ราวเดือนพฤศจิกายนถึงพฤษภาคม แม่น้ำอยู่ระดับสูงสุดในเดือนพฤษภาคม และต่ำสุดในเดือนตุลาคม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอิกิโตส · ดูเพิ่มเติม »

อิกซ์ตรีโมไฟล์

อิกซ์ตรีโมไฟล์ (extremophile) มาจากภาษาละติน extremus หมายถึง "สุดขั้ว" และภาษากรีก philiā (φιλία) หมายถึง "รัก" เป็นสิ่งมีชีวิตที่เติบโตได้ดีในภาวะสุดขั้วทางกายภาพหรือธรณีเคมีซึ่งเป็นโทษต่อสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่บนโลก ในทางตรงข้าม สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สบายกว่าอาจเรียก เมโซไฟล์ (mesophile) หรือนิวโทรไฟล์ (neutrophile).

ใหม่!!: ภาษาละตินและอิกซ์ตรีโมไฟล์ · ดูเพิ่มเติม »

อิสเตรีย

มุทรอิสเตรีย อิสเตรีย (Istria; โครเอเชีย, สโลวีเนีย: Istra; Istriot: Eîstria; เยอรมัน: Istrien) หรือชื่อเก่าในภาษาละตินคือ Histria เป็นคาบสมุทรขนาดกลางในทะเลเอเดรียติก คาบสมุทรเป็นที่ตั้งสำคัญของอ่าวในทะเลเอเดรียติกคือ Gulf of Trieste และ Kvarner Gulf คาบสมุทรอิสเตรียเป็นดินแดนของสามประเทศคือ ประเทศโครเอเชีย, ประเทศสโลวีเนีย, และ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอิสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อิคะเริส

ภาพวาดโบราณ อิคะเริสถูกอพอลโลแผดแสงอาทิตย์จนปีกขี้ผึ้งละลาย อิคะเริส หรือ ไอคะเริส (Icarus, /ɪkərəs/ หรือ /aɪkərəs/; ภาษากรีก Ἴκαρος, ภาษาลาติน Íkaros) อิคะเริสเป็นบุตรชายของเดลาลัส (Daedalus) 2 พ่อลูกคู่นี้ถูกจองจำไว้ในหอคอยบนเกาะครีต สถานที่เดียวกับมิโนทอร์ โดยกษัตริย์ไมนอส ทั้งคู่มองจากหน้าต่างออกไปเห็นทะเลสีฟ้าครามและฝูงนกนางนวลที่บินอย่างอิสระเป็นเวลานานทุกวัน จึงโหยหาอิสรภาพและต้องการออกไปจากที่คุมขังนี้ วันหนึ่ง อิคะเริสสามารถฆ่านกนางนวลตัวหนึ่งได้ และนำมาให้เดลาลัสดู เดลาลัสจึงเกิดความคิดที่จะหนีได้ โดยการถอนขนปีกนกออกและเย็บขึ้นมาใหม่ด้วยขี้ผึ้ง แล้วติดเข้าที่แขนของตน จากนั้นจึงได้ลองกระพือปีกและพบว่า มันสามารถทำให้ร่างของตนบินได้ อิคะเริสจึงเรียกร้องให้เดลารัสบิดาตนสร้างปีกแบบนี้ขึ้นมาใหม่อีกคู่ เดลารัสได้ย้ำเตือนอิคะเริสว่า ปีกใหม่นี้ไม่สามารถบินได้สูง เมื่อสร้างเสร็จแล้ว อิคะเริสดีใจจนลืมตัว ใช้ปีกขี้ผึ้งคู่นี้บินสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ อพอลโล สุริยเทพซึ่งเฝ้ามองอยู่ เห็นมนุษย์อย่างอิคะเริสบินสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนเกือบถึงดวงอาทิตย์ อพอลโลพิโรธด้วยเห็นว่า เป็นการกระทำของมนุษย์ที่ท้าทายต่อเทพเจ้า จึงเร่งแสงของดวงอาทิตย์ให้ร้อนขึ้น ๆ จนกระทั่งปีกขี้ผึ้งของอิคะเริสละลาย และอิคะเริสก็ตกลงมาจมน้ำตาย หมวดหมู่:เสียชีวิตโดยอุบัติเหตุจากการตก หมวดหมู่:บุคคลในตำนานเทพปกรณัมกรีก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอิคะเริส · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีหางขาว

อินทรีหางขาว หรือ อินทรีทะเลหางขาว (White-tailed eagle, White-tailed sea-eagle) นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกอินทรีทะเล ในวงศ์เหยี่ยวและอินทรี (Accipitridae) อินทรีหางขาว จัดเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งในทวีปยุโรป เมื่อโตเต็มที่อาจมีความสูงได้ถึง 1 เมตร มีดวงตาสีทอง มีถิ่นแพร่กระจายพันธุ์ในยุโรปตะวันออกเช่น เบลารุส, รัสเซีย หรือไครเมีย มีการผสมพันธุ์วางไข่ครั้งละ 2 ฟองในช่วงฤดูร้อน โดยรังจะมีขนาดใหญ่และลึก อาจมีน้ำหนักได้มากถึง 1 ตัน แขวนอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ดังนั้นจึงอาจสุ่มเสี่ยงต่อการพังทะลายลงมา บางครั้งจะทำรังใกล้กับนกล่าเหยื่ออื่น ๆ เช่น เหยี่ยวออสเปร แต่จะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกัน และบางครั้งอาจมีการรบกวนซึ่งกันและกัน พ่อและแม่นกช่วยกันเลี้ยงลูก เมื่อถึงช่วงฤดูหนาว อินทรีหางขาวบางตัวจะอพยพบินไปยังสถานที่ ๆ อบอุ่นกว่า และจะกลับมาในช่วงฤดูร้อนเพื่อจะผสมพันธุ์วางไข่ ในขณะที่บางตัวเลือกที่จะอยู่ที่เดิม ซึ่งปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบชัดเจนว่าเพราะอะไร รังที่วางเปล่าบนต้นไม้ที่เนเธอร์แลนด์ อาหารหลักได้แก่ ปลา อินทรีหางขาวขนาดโตเต็มที่มีความต้องการอาหารมากถึงวันละ 2 กิโลกรัม รวมถึงอาจกินซากสัตว์ตายได้ด้วย รวมถึงการล่านกด้วยกันชนิดอื่นกินเป็นอาหาร และมีพฤติกรรมการแย่งอาหารกันเองหรือแย่งชิงอาหารจากนกชนิดอื่นบนอากาศ ในช่วงฤดูหนาวที่อุณหภูมิติดลบ น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติต่าง ๆ แข็งเป็นน้ำแข็ง นกน้ำหลายชนิดตายลงเนื่องจากทนความหนาวเย็นไม่ได้ เช่น หงส์ แต่ด้วยร่างกายที่ใหญ่โตของอินทรีหางขาวจึงทำให้เก็บความร้อนไว้ในตัวได้มาก จึงสามารถทนกับความหนาวเย็นและผ่านพ้นช่วงเวลาดังกล่าวนี้ได้ พ่อแม่นก จะแยกจากลูกนกขณะที่ลูกนกยังไม่โตเต็มที่ แต่ก็โตพอที่จะช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ โดยจะผละจากรังไป เมื่อลูกนกหิวจึงจะเริ่มขยับบินและออกไปใช้ชีวิตตามลำพังด้วยตัวเอง นอกจากนี้แล้ว อินทรีหางขาวยังสามารถที่จะว่ายน้ำได้ด้วย แม้จะไม่คล่องแคล่วก็ตาม เพื่อกำจัดปรสิตที่เกาะติดตามขน อินทรีหางขาว อาจพบได้ในประเทศไทย โดยถือว่าเป็นนกพลัดหลงที่หาได้ยาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอินทรีหางขาว · ดูเพิ่มเติม »

อุปสรรค (ไวยากรณ์)

อุปสรรค หรือ หน่วยคำเติมหน้า (Prefix) คือหน่วยคำเติมชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับเติมหน้ารากศัพท์ เพื่อเพิ่มความหมาย เปลี่ยนความหมาย หรือเปลี่ยนหน้าที่ของคำ (เช่นเปลี่ยนคำกริยาเป็นคำนาม) มีใช้ในภาษาต่าง ๆ ในหลายตระกูล เช่น ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน (ภาษาบาลี สันสกฤต กรีก ละติน แม้กระทั่งภาษาอังกฤษ) ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก (ภาษามอญ เขมร) ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน (ภาษามลายู) เป็นต้น อุปสรรคจะไม่ปรากฏอยู่เดี่ยว ๆ ต้องเติมหน้าคำอื่น ในภาษาหนึ่ง ๆ มักจะมีอุปสรรคจำนวนจำกัด เช่น ในภาษาบาลีมีอุปสรรคเพียง 20 คำ อาทิ วิ, อุ, อา, นิ, ป, สํ, สุ, อต, อธิ, อนุ, อภิ, อุป ฯลฯ ในภาษาไทยไม่มีอุปสรรคแท้ แต่มักนำศัพท์ที่เติมอุปสรรคแล้วมาใช้ อย่างไรก็ตาม มีความนิยมสร้างคำโดยใช้อุปสรรคเติมหน้าศัพท์อื่นบ้างเช่นกัน ขณะที่ในบางภาษามีการยืมอุปสรรคของภาษาอื่นมาใช้เติมในคำศัพท์ของภาษาตัวเองอยู่บ้าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอุปสรรค (ไวยากรณ์) · ดูเพิ่มเติม »

อควาวิต

อควาวิตในแก้ว อควาวิต (akvavit, aquavit) หรือในนอร์เวย์เรียก อคีวิต (akevitt) เป็นสุราที่ผลิตในแถบสแกนดิเนเวีย มีการผลิตมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 อควาวิตมีรสชาติหลักจากเทียนตากบและผักชีลาว มีปริมาณแอลกอฮอล์ต่อปริมาตร (ABV) 40% สหภาพยุโรปกำหนดให้อควาวิตมีปริมาณ ABV ขั้นต่ำ 37.5% อควาวิตมาจากคำในภาษาละติน aqua vitae แปลว่า "น้ำแห่งชีวิต" อควาวิตเหมือนกับวอดก้าคือได้จากการกลั่นธัญพืชหรือมันฝรั่ง หลังกลั่นจะผสมเครื่องเทศ สมุนไพรและน้ำมันผลไม้ เช่น เทียนตากบ, กระวาน, ยี่หร่า, เทียนสัตตบุษย์, ผักชีล้อม, เปลือกเลมอนหรือส้ม, ผักชีลาวและเกรนส์ออฟพาราไดส์ ชาวสแกนดิเนเวียนิยมดื่มอควาวิตในช่วงงานรื่นเริง เช่น คริสต์มาสหรืองานแต่งงาน หรือดื่มก่อนรับประทานอาหาร ในสวีเดน เดนมาร์กและเยอรมนีนิยมดื่มอควาวิตแบบเย็นจากแก้วเล็ก (shot glass) ในฟินแลนด์และสวีเดนจะดื่มอควาวิตร่วมกับทานเครย์ฟิชในงานเลี้ยงช่วงปลายเดือนสิงหาคมของทุกปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอควาวิต · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์

ัญลักษณ์อนันต์ในรูปแบบต่าง ๆ อนันต์ (infinity; ใช้สัญลักษณ์ ∞) เป็นแนวคิดในทางคณิตศาสตร์และปรัชญาที่อ้างถึงจำนวนที่ไม่มีขอบเขตหรือไม่มีที่สิ้นสุด ในประวัติศาสตร์ ผู้คนต่างพัฒนาแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับธรรมชาติของอนันต์ ในทางคณิตศาสตร์ มีการจำกัดความของคำว่าอนันต์ในทฤษฎีเซต ภาษาอังกฤษของอนันต์ที่ว่า Infinity มาจากคำในภาษาละติน infinitas ซึ่งแปลว่า "ไม่มีที่สิ้นสุด" ในทางคณิตศาสตร์ เนื้อหาที่เกี่ยวกับอนันต์จะถือว่าอนันต์เป็นตัวเลข เช่น ใช้ในการนับปริมาณ เป็นต้นว่า "จำนวนพจน์เป็นอนันต์" แต่อนันต์ไม่ใช่ตัวเลขชนิดเดียวกับจำนวนจริง เกออร์ก คันทอร์ นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันได้จัดระเบียบแนวคิดที่เกี่ยวกับอนันต์และเซตอนันต์ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เขายังได้ค้นพบว่าอนันต์มีการนับปริมาณแตกต่างกัน แนวคิดดังกล่าวถูกเรียกว่าภาวะเชิงการนับ เช่น เซตของจำนวนเต็มเป็นเซตอนันต์ที่นับได้ แต่เซตของจำนวนจริงเป็นเซตอนันต์ที่นับไม่ได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุกรมวิธาน

อนุกรมวิธานวิทยา (อังกฤษ: Taxonomy) เป็นการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ตามสายวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานเป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ในการศึกษาอนุกรมวิธานจะมีศัพท์ที่ใช้เรียกแตกต่างกันออกไป ถ้าหากการศึกษาเป็นไปในทางรวบรวมตัวอย่าง (specimen) บิดาแห่งอนุกรมวิธานวิทยา คือ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและอนุกรมวิธาน · ดูเพิ่มเติม »

อ๊อกซฟอร์ด

มืองอ๊อกซฟอร์ด (Oxford) เป็นนครและเมืองหลวงของมณฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ของภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ ที่มีประชาชนราว 151,000 คน แม่น้ำเชอร์เวลล์และแม่น้ำเทมส์บรรจบกันทางใต้ของตัวเมือง บริเวณที่เป็นระยะทางราว 10 กิโลเมตรในบริเวณตัวเมืองอ๊อกซฟอร์ดริมฝั่งแม่น้ำเทมส์รู้จักกันว่า “เดอะไอซิส” (The Isis).

ใหม่!!: ภาษาละตินและอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

อเมริโก เวสปุชชี

อนุสาวรีย์อเมริโก เวสปุชชีที่ฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี อเมริโก เวสปุชชี (Amerigo Vespucci; 9 มีนาคม พ.ศ. 1997 — 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2055) เป็นนักสำรวจ นักเดินเรือ และนักทำแผนที่ชาวอิตาลีที่เป็นคนชี้กระจ่างว่าส่วนที่ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เคยมาสำรวจมานั้นไม่ใช่เป็นแผ่นดินส่วนหนึ่งของเอเชีย หากแต่เป็นแผ่นดินใหม่ หลังจากนั้นก็ได้ตั้งชื่อทวีปเป็นอเมริกาเพื่อเป็นการให้เกียรติกับ อเมริโก เวสปุชชี ในการชี้แนะอย่างถูกต้อง (อเมริโกนั้นเป็นภาษาละติน แต่เพราะในภาษาอังกฤษนั้นเรียกว่าอเมริกา).

ใหม่!!: ภาษาละตินและอเมริโก เวสปุชชี · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)

อเล็กซานเดอร์ (Alexander) เป็นชื่อต้นของผู้ชาย มีที่มาจากคำในภาษาละติน "Alexander" ซึ่งเป็นการถอดคำมาจากภาษากรีกจากคำว่า "Αλέξανδρος".

ใหม่!!: ภาษาละตินและอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิสเปเนีย

ปเนียหลังจากการจัดเขตการปกครองโดยจักรพรรดิไดโอคลีเชียนในปี ค.ศ. 260 ฮิสเปเนีย, ฮิสปาเนีย หรือ อิสปาเนีย (อังกฤษ, ละติน, Hispania) เป็นชื่อที่โรมันใช้เรียกคาบสมุทรไอบีเรียทั้งหมด (ที่ปัจจุบันคือประเทศสเปน โปรตุเกส อันดอร์รา ยิบรอลตาร์ และส่วนเล็ก ๆ ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส) เมื่อโรมมีฐานะเป็นสาธารณรัฐ ฮิสเปเนียแบ่งเป็นสองจังหวัด ได้แก่ เนียเรอร์ฮิสเปเนีย (Nearer Hispania) และเฟอร์เทอร์ฮิสเปเนีย (Further Hispania) ระหว่างสมัย Principate เฟอร์เทอร์ฮิสเปเนียก็แบ่งเป็นสองจังหวัดใหม่คือฮิสเปเนียเบทิกาและลูซิเทเนีย ขณะที่เนียเรอร์ฮิสเปเนียเปลี่ยนชื่อเป็นฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิส ต่อมาทางตะวันตกของทาร์ราโคเนนซิสก็แบ่งย่อยออกเป็นฮิสเปเนียใหม่ที่ต่อมาเรียกว่าแคลเลเชีย (หรือแกลเลเชียที่กลายมาเป็นแคว้นกาลิเซียของสเปนในปัจจุบัน) ตั้งแต่สมัยจตุราธิปไตยภายใต้จักรพรรดิไดโอคลีเชียนในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและฮิสเปเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ผักชีล้อม

''Foeniculum vulgare'' ผักชีล้อม (ชื่อวิทยาศาสตร์ Foeniculum vulgare Mill.) เป็นเครื่องเทศที่มีลักษณะใบสีเขียวสด ขี้นในน้ำหรืออาจปลูกในอ่างบัวก็ได้ นิยมใช้แพร่หลายมาช้านาน ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก กล่าวกันว่าเดิมนั้นเป็นพืชประจำท้องถิ่นของแถบเมดิเตอร์เรเนียน นับเป็นพืชที่ให้น้ำมันระเหย ซึ่งมีกล่าวไว้ในนิทานปรัมปราของกรีก และนิทานพื้นบ้านของอิตาลีด้วย ในช่วงขณะหนึ่งที่ยังเรียกกันอย่างสับสนนั้น เรียกผักชีล้อมว่า ยี่หร่าบ้าง ผักชีฝรั่งบ้าง เพื่อความเป็นกลาง กรมวิชาการเกษตร จึงประกาศไว้ใน บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย กำหนดให้เรียกเครื่องเทศชนิดนี้ ว่า ผักชีล้อม เป็นชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไทย อันหมายถึง fennel ในภาษาอังกฤษ ส่วนชื่อในท้องถิ่นอื่นของไทยเรียกว่า เทียนแกลบ ผักชีเดือนห้า หรือเรียกแค่ ผักชี ก็มี ในภาษาอังกฤษเรียกว่า fennel มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า fenum อันเป็นคำศัพท์ที่ใช้บรรยายกลิ่นที่หอมหวาน เล่ามาว่าสตรีชาวโรมันนิยมรับประทานผักชีล้อมเพื่อลดความอ้วน ปัจจุบันมีการใช้ผักชีล้อมมากมายในตำรับอาหาร ซึ่งมีส่วนช่วยให้อาหารที่มีมันมากไม่เลี่ยน และย่อยได้ง่าย เชื่อกันว่าผักชีล้อมนั้นช่วยเสริมความแข็งแกร่งและความกล้าหาญ และยังทำให้มีชีวิตยืนยาวด้วย เชื่อกันว่างูนั้นกินผักชีล้อมเพื่อช่วยให้ลอกคราบ ในสมัยกลางนั้น มีการห้อยผักชีล้อมไว้เหนือประตูเพื่อขจัดวิญญาณชั่วร้าย ดอกผักชีล้อมนั้นสีขาว เป็นพืชปรุงรสที่สำคัญอย่างหนึ่ง มีกลิ่นฉุนรสร้อนแรง ใช้ปรุงอาหารหลายชนิด เชื่อว่ายังช่วยรักษาโรคตา และรักษาสายตาด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและผักชีล้อม · ดูเพิ่มเติม »

ผังอาสนวิหาร

ผังของอาสนวิหารอาเมียง ที่ประเทศฝรั่งเศส แสดงให้เห็นเสาใหญ่รับน้ำหนักหอด้านหน้าวัด; แขนกางเขนสั้น; ชาเปล 7 ชาเปล ที่เรียกว่า “chevet” รอบมุขโค้งด้านสกัดออกมาจากจรมุข ผังอาสนวิหาร (Cathedral diagram, Cathedral plan, Cathedral floorplan) แสดงให้เห็นลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก แผนผังจะแสดงกำแพง แนวเสาทำให้เห็นโครงสร้าง เส้นสองเส้นบนกำแพงด้านนอกคือหน้าต่างกระจก เส้น x เป็นสัญลักษณ์สำหรับเพดานโค้ง ตามปกติผังของวัดทางคริสต์ศาสนาจะวางเหมือนการวางแผนที่ ด้านเหนืออยู่บน ด้านตะวันตกถือกันว่าเป็นด้านหน้าของวัด ด้านตะวันออกที่เป็นบริเวณที่ทำคริสต์ศาสนพิธีอยู่ทางขว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและผังอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว

ัง บัปติสต์ ปาลเลอกัวซ์ พร้อมด้วยเด็กไทยชื่อแก้ว และเด็กญวนชื่อชมถ่ายที่ปารีส เมื่อ พ.ศ. 2397 ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว (Jean-Baptiste Pallegoix.) หรือที่รู้จักในนามพระสังฆราชปัลเลอกัวซ์ เป็นบาทหลวงสังกัดคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส ปฏิบัติหน้าที่มิชชันนารีในประเทศไทยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีสมณศักดิ์เป็นประมุขมิสซังสยามตะวันออก (apostolic vicar of Eastern Siam) และมุขนายกเกียรตินามแห่งมาลลอสหรือมัลลุส (titular bishop of Mallos/Mallus) ท่านได้นำวิทยาการการถ่ายรูปเข้ามาในประเทศไทย และนอกจากนี้ท่านยังจัดทำพจนานุกรมสี่ภาษาเล่มแรกของไทยขึ้นชื่อ สัพะ พะจะนะ พาสา ไท โดยมีภาษาทั้งสี่ที่ว่านี้คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาละติน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว · ดูเพิ่มเติม »

ผ้าพัชมีนา

ผ้าพัชมีนา ผ้าพัชมีนา (Pashmina) เป็นผ้าที่ทำจากขนแพะซึ่งมีชื่อว่า "พัชม์" (Pashm) หรือในภาษาลาตินเรียกว่า "คาปรา ไฮร์คัส" (Capra Hircus) แพะชนิดนี้อาศัยอยู่ในที่สูง เช่น เทือกเขาหิมาลัย และใต้เขตไซบีเรีย เช่น มองโกเลีย คาซัคสถาน ด้านในของประเทศอิหร่าน และอัฟกานิสถาน ด้ายที่ใช้ทอผ้าพัชมีนาเป็นด้ายที่ปั่นด้วยมือโดยใช้วิธีแบบดั้งเดิมที่ไม่ใช่วิธีที่ตามพัฒนามาจากวิธีแบบยุโรป ปัจจุบันนี้ผ้าพัชมีนาถูกใช้เป็นคำเรียกสำหรับผ้าคลุมไหล่ทั่วไปที่มีปมอยู่ที่ปลายผ้า หลายคนมักเข้าใจผิดว่าต้นกำเนิดของผ้าพัชมีนานั้นมาจากแคว้นแคชเมียร์หรือเนปาล ซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิด เพียงแต่ถิ่นนั้นมีวิธีการทอผ้าแบบดั้งเดิมที่เหมือนกัน ผ้าที่ได้จึงมีลักษณะคล้ายกันกับผ้าพัชมีนา ส่วนการนำขนของแพะมาทอเป็นผ้านั้นก็ถูกต้องตามกฎหมาย เพราะแพะดังกล่าวไม่ใช่สัตว์ใกล้สูญพันธุ์แต่อย่างใด ผ้าพัชมีนาที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดมีหลายรูปแบบ อาจมีการผสมเนื้อผ้าชนิดอื่นเข้าไปด้วย เช่นผ้าไหม หรือผ้าฝ้าย หรือ ผ้าชนิดอื่น ๆ ซึ่งถ้าต้องการซื้อควรเลือกซื้อจากร้านที่เชื่อถือได้ มิฉะนั้นอาจเป็นของปลอม หมวดหมู่:ศิลปะ หมวดหมู่:ผ้า อ่านเพิ่มเติม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและผ้าพัชมีนา · ดูเพิ่มเติม »

จอกศักดิ์สิทธิ์

''How at the Castle of Corbin a Maiden Bare in the Sangreal and Foretold the Achievements of Galahad'': ภาพวาดโดย Arthur Rackham ค.ศ. 1917 จอกศักดิ์สิทธิ์ (Holy Grail) เป็นภาชนะซึ่งเป็นแกนเรื่องสำคัญในวรรณกรรมอาเธอร์ ตำนานหลายเรื่องพรรณนาว่า เป็นถ้วย ชาม หรือศิลา ซึ่งมีอำนาจเหนือธรรมชาติบันดาลให้เกิดความสุข ความเยาว์วัยชั่วนิรันดร์ หรือชีวิตอมตะ คำว่า "จอกศักดิ์สิทธิ์" ยังมักใช้เรียกสิ่งของหรือเป้าหมายที่ไขว่คว้าหากันเพราะเชื่อว่า มีความสำคัญยิ่งยวด การกล่าวถึง "จอก" วิเศษ แม้ไม่ปรากฏชัดว่า ศักดิ์สิทธิ์ด้วยหรือไม่นั้น ปรากฏครั้งแรกในนิยายวีรคติเรื่อง แปร์เซอวัลเลอกงต์ดูกราล (Perceval, le Conte du Graal; "แปร์เซอวาลตำนานจอก") ผลงานซึ่งเขียนไม่เสร็จของเครเตียง เดอ ทรัว (Chrétien de Troyes) ในราว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและจอกศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น (ชื่อ)

อห์น (John) เป็นชื่อตัวในภาษาอังกฤษsakda.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจอห์น (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น มิลตัน

กวีนิพนธ์เรื่อง "สวรรค์หาย" ของจอห์น มิลตัน จอห์น มิลตัน (John Milton, 9 ธันวาคม พ.ศ. 2151 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2217) เป็น กวี เกิดในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และใช้เวลา 6 ปีเต็มในการพักผ่อนไปและศึกษาไปที่ฮอร์ตันซึ่งมิลตันกล่าวว่าเป็นการเตรียมตัวเข้าสู่ชีวิตแห่งการเป็นกวี ที่ฮอร์ตัน มิลตันได้เขียนงานชื่อ L’Allegro และ Il Penseroto (พ.ศ. 2175) Comus (พ.ศ. 2176) และ Lycidas (พ.ศ. 2180) มิลตันจบการศึกษาอย่างเป็นทางการด้วยการไปทัศนศึกษาที่ประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2181-82) กวีนิพนธ์ในภาษาละติน อันเป็นความสามารถที่โดดเด่น ทำให้มิลตันได้รับปริญญาเกียรตินิยม การมีหัวปฏิวัติที่รุนแรงในระหว่างสงครามกลางเมืองทำให้มิลตันมีชิ้นงานออกมาน้อยมากซึ่งเป็นเวลาต่อเนื่องกันถึง 20 ปี มีจะก็เพียงงานโคลง “ซอนเน็ท” (Sonnets-โครงชนิดหนึ่งมี 14 บรรทัด) ออกมาเป็นครั้งคราว เมื่อมิลตันกลับลอนดอนในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและจอห์น มิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และ กษัตริย์แห่งฮังการี และทรงเป็นจักรพรรดิและพระราชาธิบดีพระองค์แรกในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 พระองค์ทรงเป็นองค์พระประมุขที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดเป็นอันดับที่สามในยุโรป รองจากเจ้าชายโจฮันน์ที่ 2 แห่งลิกเตนสไตน์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งทั้งสองพระองค์นี้ทรงครองราชย์เป็นเวลา 70 กว่าปีเท่ากัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิพอลล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย (Па́вел I Петро́вич; Pavel Petrovich; Paul I of Russia) (พระราชสมภพ: 1 ตุลาคม (นับตามแบบเก่า: 20 กันยายน) พ.ศ. 2297 - 23 มีนาคม (นับตามแบบเก่า: 11 มีนาคม) พ.ศ. 2344) ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซีย ระหว่างปี พ.ศ. 2339 - พ.ศ. 2344 (5 ปี) สวรรคตโดยการถูกปลงพระชนม์ขณะครองราชย์ พระโอรสของพระองค์ จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 จึงขึ้นสืบราชสมบัติต่อจากพระอง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช

ักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 (ConstantineI 27 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 272Birth dates vary but most modern historians use "ca. 272". Lenski, "Reign of Constantine", 59. – 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337) ครองราชสมบัติเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 306 ถึงวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 312 มีพระนามเต็มว่า “Flavius Valerius Aurelius Constantinus” หรือที่รู้จักกันว่า “คอนสตันไทน์ที่ 1” ในบรรดาผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิก หรือ “คอนสตันไทน์มหาราช” หรือ “นักบุญคอนสตันไทน์” ในบรรดาผู้นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์หรือนิกายไบแซนไทน์คาทอลิก พระราชกรณียกิจสำคัญที่สุดคือการประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันเมือปี ค.ศ. 313 จักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จึงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมันที่นับถือศาสนาคริสต์ตามพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลาน (Edict of Milan) ที่ประกาศโดยจักรพรรดิลีซีนีอุส (Licinius) ผู้ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระองค์ พระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นพระราชกฤษฎีกาที่ยกเลิกการทารุณกรรมต่อคริสต์ศาสนิกชนทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน ตามปฏิทินศาสนาของไบเซ็นไทน์ของนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และนิการคาทอลิกตะวันออกแห่งไบเซนไทน์บันทึกจักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1และเฮเลนแห่งคอนสแตนติโนเปิลพระมารดาว่าเป็นนักบุญ แต่ในปฏิทินศาสนาของตะวันตกไม่มีอยู่ในรายนามนักบุญ คอนสตันไทน์ได้รับนาม “มหาราช” เพราะพระราชกรณียกิจต่างที่ทรงทำให้ต่อคริสต์ศาสนา ในปี ค.ศ. 324 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ทรงประกาศการปรับปรุงเมืองไบเซนเทียมให้เป็น “กรุงโรมใหม่” (Nova Roma) และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 330 ทรงประกาศให้เมืองไบเซ็นเทียมเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมัน เมืองไบเซ็นเทียมเปลื่ยนชื่อเป็น “คอนสแตนติโนเปิล” แปลว่า “เมืองของคอนสตันไทน์” หลังจากจักพรรดิคอนสตันไทน์สิ้นพระชนม์เมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล

ักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล (Pedro I, Peter I; 12 ตุลาคม พ.ศ. 2341 – 24 กันยายน พ.ศ. 2377) มีพระราชสมัญญาว่า "ผู้ปลดปล่อย" (the Liberator) ทรงเป็นผู้สถาปนาและผู้ปกครองจักรวรรดิบราซิลพระองค์แรก ทรงดำรงเป็น พระเจ้าเปดรูที่ 4 แห่งโปรตุเกส (Dom Pedro IV) จากการครองราชบัลลังก์เหนือราชอาณาจักรโปรตุเกสเพียงระยะเวลาสั้น ๆ ที่ซึ่งทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้ปลดปล่อย" และ "กษัตริย์นักรบ" (the Soldier King) ประสูติในกรุงลิสบอน พระองค์เป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 4 ในบรรดาพระราชบุตรทั้งหมดของพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงคาร์ลอตา โจวควินาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส ดังนั้นพระองค์ทรงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์บราแกนซา เมื่อประเทศโปรตุเกสถูกกองทัพฝรั่งเศสโจมตีในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรราศี

รื่องหมายจักรราศีของโหราศาสตร์สากลราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 แกะจากแม่พิมพ์ไม้ ภาพสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในจอร์เจียเป็นรูปจักรราศีที่มีพระเยซูอยู่ตรงกลาง เครื่องหมายจักรราศีที่ใช้ในโหราศาสตร์สากลในปัจจุบัน จักรราศี (zodiac มาจากภาษากรีก ζῳδιακός หมายถึง "สัตว์") เป็นแถบสมมติบนท้องฟ้าที่มีขอบเขตประมาณ 8 องศา ค่อนไปทางเหนือและใต้ของแนวเส้นทางที่ดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนผ่าน (สุริยวิถี) ซึ่งครอบคลุมแนวเส้นทางปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาลอีก 7 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ส่วนดาวพลูโตนั้น ความเอียงของวงโคจรมีค่ามาก ดาวพลูโตจึงมีเส้นทางปรากฏห่างจากสุริยวิถี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรราศี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิพาลไมรีน

ักรวรรดิพาลไมรีน (Imperium Palmyrenum Palmyrene Empire) เป็นจักรวรรดิที่แยกตัวออกจากจักรวรรดิโรมันระหว่างวิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 ที่ประกอบด้วยจังหวัดโรมัน ซีเรีย, ซีเรียปาเลสตินา, โรมัน และบริเวณส่วนใหญ่ของอานาโตเลีย โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ พาลไมรา พาลไมรีนรุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 260 จนถึงปี ค.ศ. 273 จักรวรรดิพาลไมรีนมีพระราชินีเซโนเบียเป็นผู้ปกครองในนามของพระราชโอรสวาบาลลาธัส (Vaballathus).

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรวรรดิพาลไมรีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิสวีเดน

ักรวรรดิสวีเดน หรือ ราชอาณาจักรสวีเดน ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1561 (หลังจากสวีเดนยึดเอสโตเนีย) และในปีค.ศ. 1721 (เมื่อสวีเดนยกพื้นที่ขนาดใหญ่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ต่อมหาอำนาจรัสเซีย) ระหว่างนั้น สวีเดนเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของยุโรป ในสวีเดน สมัยก่อนจะเรียกว่า stormaktstiden ซึ่งหมายถึง มหาอำนาจที่ยิ่งใหญ่ โดยเริ่มต้นในปี 1611 (เมื่อ กุสตาวัส อาดอลฟัส ขึ้นเป็นกษัตริย์) และจบลงในปีค.ศ. 1718 (การสวรรคตของพระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน และจุดจบของมหาสงครามเหนือ) โดยการเพิ่มอำนาจทางการเมือง จุดประเด็นสำคัญคือการกลายเป็นหนึ่งในสองอำนาจเพื่อค้ำประกันสันติภาพแห่งเวสต์ฟาเลีย (Peace of Westphalia) ซึ่งถูกเข้าร่วมเพื่อเพิ่มดินแดนที่อนุญาตให้อยู่ใกล้ได้อย่างสมบูรณ์ตามแนวคิดทะเลบอลติก เป็นจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของระยะเวลาที่แตกต่างกันในประวัติศาสตร์ยุโรป หลังจากการตายของกุสตาวัส อดอลฟัส ในปี 1632 จักรวรรดิที่ยืนยาวนี้ถูกควบคุมโดยพวกขุนนางชั้นสูง โดยส่วนมากเป็นพวกของตระกูลออกเซนสเตียร์นาเป็นผู้สำเร็จราชการแทน ความน่าสนใจของขุนนางชั้นสูงตรงกันข้ามกับวิถีทางแห่งเท่าเทียมกัน เช่น การส่งเสริมความเท่าเทียมกันแบบดั้งเดิมในที่ดินภายในสวีเดนถูกเห็นชอบโดยพระมหากษัตริย์และชาวบ้านในพื้นที่ที่ได้รับในช่วงระหว่างสมัยกฎตระกูลเดอ แฟคโต ระบบข้าแผ่นดินไม่ถูกยกเลิก และมีแนวโน้มที่จะจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมถูกกฎหมายในสวีเดนอย่างชอบธรรม แต่การปรับปรุงครั้งใหญ่ในปีค.ศ. 1680 ผลักดันให้ความพยายามของชนชั้นสูงสิ้นสุดลง และเรียกร้องพวกเขาให้คืนนิคมอุตสาหกรรมที่พวกเขาได้รับจากมกุฎกษัตริย์ ระบบข้าแผ่นดินนี้ อย่างไรก็ตาม ยังคงถูกบังคับใช้ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และชาวสวีดิชในเอสโตเนีย ที่ที่ใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้ของวิถีทางแห่งความเท่าเทียมกันถูกขัดขวางโดนสนธิสัญญาจากสิ่งที่พวกเขาได้รั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรวรรดิสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันตะวันตก

ักรวรรดิโรมันตะวันตก (Western Roman Empire) หมายถึงครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิโรมันหลังจากการแบ่งโดยไดโอคลีเชียนในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรวรรดิโรมันตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดช็องปาญ

ังหวัดช็องปาญในประเทศฝรั่งเศส ช็องปาญ (Champagne) เป็นอดีตจังหวัดทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศสปัจจุบันที่ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันดีในการทำไวน์ที่เรียกว่าเหล้าแชมเปญ เดิมเป็นอาณาจักรที่ปกครองโดยเคานต์แห่งช็องปาญที่ตั้งอยู่ราว 160 กิโลเมตรทางตะวันออกของกรุงปารีส เมืองที่เป็นศูนย์กลางทางการค้าของช็องปาญคือทรัว, แร็งส์ และเอแปร์แน ในปัจจุบันดินแดนส่วนใหญ่ของช็องปาญอยู่ภายใต้การปกครองของแคว้นช็องปาญาร์แดน ที่ประกอบด้วย 4 จังหวัดคือ อาร์แดน, โอบ, โอต-มาร์น และมาร์น "Champagne" มาจากภาษาละตินว่า "campania" ที่เป็นนัยยะถึงความคล้ายคลึงของภูมิประเทศที่เป็นเนินสูง ๆ ต่ำ ๆ ของช็องปาญกับชนบทของอิตาลีในบริเวณกัมปาเนีย ทางตอนใต้ของกรุงโรม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจังหวัดช็องปาญ · ดูเพิ่มเติม »

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

จาเซน โซโล

ซน โซโล หรือ ดาร์ธ เคดัส (Jacen Solo หรือ Darth Caedus) เป็นตัวละครในจักรวาลขยายของเรื่องแต่งชุดสตาร์ วอร์ส มีบทบาทเป็นตัวละครหลักในนิยายหลายเล่ม โดยเฉพาะนิยายชุด Jedi Academy, New Jedi Order และ Legacy of the Force เขาเป็นบุตรชายของฮัน โซโล และเลอา ออร์กานา โซโล เป็นน้องชายฝาแฝดของไจนา และพี่ชายของอนาคิน ลุค สกายวอล์คเกอร์ ผู้เป็นลุงของจาเซน สัมผัสถึงพลังที่สถิตแรงกล้าในตัวของเขาและพี่สาวฝาแฝดได้ตั้งแต่ก่อนที่ทั้งสองจะถือกำเนิด ด้วยว่าทั้งสองถูกเชื่อมกันด้วยพันธะอันมิอาจแยก ต่อมาเขาได้กลายเป็นผู้ฝึกสอนของเบน สกายวอล์คเกอร์ ผู้เป็นลูกพี่ลูกของเขา และได้เป็นบิดาของทารกหญิง อัลลานา หลังจากสมรสกับเทเนล คา จาเซนได้แสดงอำนาจของพลังที่แฝงเร้นอยู่ในตัวตั้งแต่ยังเป็นทารก เมื่อเขาได้ช่วยลุงของเขาพร้อมศิษย์ในการปราบวิญญาณของเอกซาร์ คุน ลงเป็นผลสำเร็จ เขาเริ่มการฝึกฝนเป็นเจไดอย่างเป็นทางการในไม่กี่ปีต่อมาบนเจไดพราเซียมของลุคบนดวงจันทร์ยาวิน 4 และแสดงพรสวรรค์ในฐานะของนักเรียนที่เก่งกาจที่สุดคนหนึ่งด้วยการเข้าร่วมการผจญภัยกับโลวแบคคา, เทเนล คา และไจนานับครั้งไม่ถ้วน ภายหลังในช่วงสงครามยูซาน วอง เขาเริ่มมีมุมมองต่อพลังที่แตกต่างจากวิถีดั้งเดิม แม้จะเป็นอัศวินเจไดที่เก่งกาจที่สุดคนหนึ่งในนิกายเจไดใหม่ก็ตาม หลังจากถูกพวกยูซาน วองจับตัวไป เขาก็เริ่มคบค้าสมาคมกับเวอร์เกียร์ ผู้ซึ่งได้เปลี่ยนวิธีคิดของเขาไปเป็นอย่างมาก จาเซนเป็นผู้ที่หนักแน่นในคำพูดและการกระทำอยู่เสมอ และมักสร้างความสัมพันธ์ลึกซึ้งกับทั้งมนุษย์และสัตว์ โดยได้พัฒนาความผูกพันและสัมผัสในพลังธรรมชาติและพลังชีวิตตั้งแต่ครั้งยังเด็ก อย่างไรก็ดี ความผูกพันกับสิ่งมีชีวิตนี้ก็ถูกทำลายย่อยยับหลังจากที่เขาพบกับเวอร์เกียร์ในปีที่ 40 หลังยุทธการยาวิน เห็นได้จากการทรมานและเข่นฆ่าผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ทรยศโดยไม่รู้สึกผิดบาป ต่อมาในปีเดียวกัน จาเซนลอบเข้าเป็นศิษย์ต่อลูมิยา ซึ่งเขาจะได้เป็นศิษย์คนที่สามและคนสุดท้ายของเธอ หลังจากมารา เจด สกายวอล์คเกอร์ล้มเหลวในการลอบสังหารจาเซน และลุค สกายวอล์คเกอร์ได้สังหารลูมิยาลง จาเซนก็ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นดาร์ธ เคดัส ลอร์ดมืดแห่งซิธ นำตระกูลสกายวอล์คเกอร์เข้าสู่วัฏจักรเดิมอีกครั้ง และได้รับตาฮิรี เวย์ลาเข้าเป็นศิษย์แทนเบน สกายวอล์คเกอร์หลังยุทธการฟอนดอร์ที่สองซึ่งตาฮิรีได้สังหารกิลาด เพลเลออนลง ในปีที่ 40 หลังยุทธการยาวิน ดาร์ธ เคดัสเข้าประลองกระบี่แสงกับไจนา โซโล และได้ส่งเสียงกรีดร้องผ่านพลัง เตือนเทเนล คาให้ดูแลอัลลานาบุตรสาวก่อนที่ตนเองจะถูกไจนาสังหาร หลังจากดาร์ธ เคดัสเสียชีวิตลงแล้ว ไจนาตระหนักว่าจาเซนได้ปฏิบัติภารกิจของตนเองสำเร็จ เขาได้นำสันติมาสู่กาแลกซีโดยแลกกับชีวิตของตัวเอง นอกจากนั้นแล้วไจนายังเชื่ออีกด้วยว่าดาร์ธ เคดัส ได้กลับคืนมาเป็นจาเซน โซโลอีกครั้ง ก่อนที่จะเสียชีวิตลง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจาเซน โซโล · ดูเพิ่มเติม »

จิตวิทยาบุคลิกภาพ

ตวิทยาบุคลิกภาพ (personality psychology) เป็นสาขาหนึ่งของจิตวิทยาที่ศึกษาเรื่องบุคลิกภาพและความแตกต่างระหว่างบุคคล คำว่า "บุคลิกภาพ" (personality) สามารถนิยามได้ว่าเป็นรูปแบบลักษณะนิสัยเฉพาะของบุคคลซึ่งมีอิทธิพลแตกต่างกันต่อกระบวนการรับรู้ แรงจูงใจและพฤติกรรมของบุคคลใดบุคคลหนึ่งในหลายสถานการณ์ คำว่า "บุคลิกภาพ" มีต้นกำเนิดมาจากภาษาละติน persona หมายถึง หน้ากาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจิตวิทยาบุคลิกภาพ · ดูเพิ่มเติม »

จุลจิตรกรรมในเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

อเนอิด''” (Aeneid) โดยเวอร์จิลของคริสต์ศตวรรษที่ 5 จุลจิตรกรรมสำหรับหนังสือวิจิตร (Miniature (illuminated manuscript)) คำว่า “Miniature” มาจากภาษาละตินว่า “Minium” ที่หมายถึงสารสี “เลดเทโทรไซด์” หรือ “ตะกั่วแดง” (Lead tetroxide) คือหนังสือวิจิตรโบราณหรือจากยุคกลาง หรือ ลายตกแต่งอย่างง่ายๆ ของกฎบัตรที่ตกแต่งด้วยสารสีตะกั่วแดงดังกล่าว การที่ภาพโดยทั่วไปจากยุคกลางมักจะมีขนาดเล็กทำให้สับสนกับจิตรกรรมขนาดเล็กโดยเฉพาะภาพเหมือนขนาดเล็ก (portrait miniature) ที่พัฒนามาจากลักษณะการวาดที่มีประวัติคล้ายคลึงกัน นอกไปจากธรรมเนียมการวาดจุลจิตรกรรมทางตะวันตกและไบแซนไทน์แล้ว ทางตะวันออกก็มีการเขียนจุลจิตรกรรมที่มักจะเป็นภาพที่มีเนื้อหามากกว่าทางตะวันตก และจากที่เป็นงานที่เขียนสำหรับหนังสือก็พัฒนาไปเป็นงานเขียนเป็นแผ่นๆ ที่ใช้เก็บในอัลบัมได้ ที่เรียกว่าจุลจิตรกรรมเช่นเดียวกับทางตะวันตก แต่มีลักษณะเดียวกับภาพเขียนสีน้ำ จุลจิตรกรรมทางตะวันออกก็รวมทั้งจุลจิตรกรรมเปอร์เซีย และ จุลจิตรกรรมโมกุล, จุลจิตรกรรมออตโตมัน และ จุลจิตรกรรมอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจุลจิตรกรรมในเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที

งประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที (do justice and let the sky fall หรือ let justice be done though the heavens fall"Fiat justitia, ruat caelum"; 2009: Online.; fiat justitia ruat caelum, เฟอัตจูสติเทียรูอัตคีลุม \ˌfē-ˌät-yu̇s-ˈti-tē-ä ˌru̇-ˌät-ˈkī-ˌlu̇m\) เป็นภาษิตภาษาละตินทางกฎหมายซึ่งบ่งบอกถึงความเชื่อว่า ความยุติธรรมจักต้องมีอยู่ไม่ว่าในสถานการณ์รูปแบบใดก็ตาม โดยชาลส์ ซัมเมอร์ (Charles Summer) นักการเมืองผู้รณรงค์ให้เลิกทาสแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 กล่าวว่าภาษิตนี้ไม่ได้มีที่มาจากสมัยคลาสสิกแต่อย่างใด แม้จะเชื่อกันว่าเป็นคำของ ลูเชิส คาลเพอร์นิเอิส พิโซ ซีโซนิเนิส (Lucius Calpurnius Piso Caesoninus) รัฐบุรุษในสมัยโรมันโบราณผู้เป็นสสุระของจูเลียส ซีซาร์ ก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและจงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที · ดูเพิ่มเติม »

ธัชวิทยา

งของ ''Fédération internationale des associations vexillologiques''. ธัชวิทยา (vexillology) คือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธง ชื่อวิชา Vexillology เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2500 โดย วิทนีย์ สมิท ผู้แต่งหนังสือเรื่อง ธง และบทความเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับธง ในช่วงแรกยังนับเป็นสาขาย่อยของ"วิชาการผูกตราสัญลักษณ์" (heraldry) ซึ่งบางครั้งก็ยังถือว่าเป็นดังนั้นอยู่ นอกจากนี้ก็ยังอาจถือว่าเป็นสาขาของวิชา สัญญาณศาสตร์ (semiotics) วิชานี้ได้มีการนิยามไว้ในข้อบังคับของ สหพันธ์ธัชวิทยานานาชาติ - FIAV (Fédération internationale des associations vexillologiques) ว่าเป็น "การสร้างสรรค์และพัฒนาการว่าด้วยองค์ความรู้เกี่ยวกับธงทุกประเภท ทุกรูปแบบ ทุกหน้าที่ใช้สอย และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และหลักการที่เป็นพื้นฐานแห่งความรู้นี้" บุคคลผู้ศึกษาเกี่ยวกับธงเรียกว่า "นักธัชวิทยา" (vexillologist) และเรียกผู้ทำงานเกี่ยวกับการออกแบบธงหรือนักออกแบบธง เป็นภาษาอังกฤษว่า vexillographer ในคำภาษาอังกฤษ Vexillology ได้มาจากการสังเคราะห์คำภาษาละติน vexillum และ หน่วยคำเติมหลัง –ology ที่แปลว่า "การศึกษาว่าด้ว..." สำหรับ vexillum หมายถึงธงประจำกองทหารโรมันในยุคคลาสสิก ธงสมัยนั้นต่างกันธงปัจจุบันตรงที่ธงปัจจุบันใช้ผูกกับเสาทางดิ่ง ส่วนธง vexillum เป็นผืนสี่เหลี่ยมจตุรัสแขวนอยู่กับแขนกางเขนทางนอนที่ยึดกับปลายหอก นักธัชวิทยารวมตัวกันในระดับนานาชาติจัดประชุมด้านธัชวิทยา (ICV - International Concress of Vexillology) ทุกๆ สองปี เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและธัชวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ธารน้ำแข็ง

right right ธารน้ำแข็ง Baltoro ในเทือกเขาการาโกรัม, ในบอลติสตัน (Baltistan), ทางภาคเหนือของปากีสถาน ที่ความยาว 62 กิโลเมตร (39 ไมล์) มันเป็นหนึ่งในธารน้ำแข็งในเทือกเขาแอลป์ที่ยาวที่สุดในโลก ธารน้ำแข็ง (glacier) ธารน้ำแข็งเกิดจากการที่หิมะตกลงมาแล้วสะสมกันจนหนา 45-60 เมตร แล้วเกิดการเคลื่อนตัวลงมาอย่างช้า ๆ ซึ่งมักจะเกิดบริเวณที่ลาดชันหรือตามไหล่เขา การเคลื่อนตัวลงมาตามไหล่เขาอย่างช้า ๆ ทำให้เกิดการสึกกร่อนลึกลงไปเพราะความหนักของหิมะที่สะสมกันจนเป็นน้ำแข็ง ธารน้ำแข็งที่เคลื่อนตัวไปในหุบเขาจะทำให้พื้นดินที่รองรับเกิดร่องลึกและกว้างเพราะมีน้ำหนักของน้ำแข็งกดทับ ธารน้ำแข็งจะค่อย ๆ ครูดบริเวณที่รองรับจนเกิดหุบเขาตัดขวางรูปตัวยู เมื่อธารน้ำแข็งไหลไปถึงตอนล่างธารน้ำแข็งก็จะค่อย ๆ แตกออกแล้วก็จะค่อย ๆ ละลายกลายเป็นลำธาร ธารน้ำแข็งที่ถูกตัดขาดและแตกออกไหลลงทะเลเรียกว่าภูเขาน้ำแข็ง สีของธารน้ำแข็งมักจะมีสีเขียวแกมม่วง หรือ แกมน้ำเงิน รูปร่างของธารน้ำแข็งบนบกมักจะยกตัวสูงและมีความแตกต่างจากน้ำแข็งในทะเล (sea ice) ที่มีขนาดบางมากและน้ำแข็งในทะเลสาบซึ่งรูปทรงของมันจะอยู่บนพื้นผิวของแผ่นน้ำ บนโลก 99% ของเกล็ดน้ำแข็งจะอยู่ภายในแผ่นน้ำแข็งขนาดใหญ่ในบริเวณดินแดนขั้วโลก, แต่ธารน้ำแข็งอาจจะพบได้ในแถบเทือกเขาของทุก ๆ ทวีป, และในไม่กี่ละติจูดสูงของเกาะในมหาสมุทร ระหว่าง 35 องศาเหนือ และ 35 องศาใต้, ธารน้ำแข็งเกิดขึ้นเฉพาะในเทือกเขาหิมาลัย, เทือกเขาแอนดีส, ภูเขาสูงไม่กี่ลูกในแอฟริกาตะวันออก, เม็กซิโก, นิวกินี และซาร์ด คู (Zard Kuh) ในอิหร่าน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและธารน้ำแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก มีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบใหญ่สีขาวและแถบเล็กสีเขียวพาดผ่านตามแนวนอน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ประกาศใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2496 และได้ใช้มาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 ประวัติความเป็นมาของธงชาติสาธารณรัฐโซเวียตธงนี้มีความเป็นมาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงแบบธงมาหลายครั้ง โดยเริ่มแรกสุด สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกเริ่มคิดธงชาติแบบแรกขึ้นในปี พ.ศ. 2468 แต่ได้ประกาศใช้จริงเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 ลักษณะเป็นธงพื้นสีแดงมีรูปตราแผ่นดินที่มุมธงด้านคันธง 2 ปีต่อมา ใน พ.ศ. 2474 ได้มีการเปลี่ยนแปลงธงใหม่ตามรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ของปีนั้น โดยเปลี่ยนมาใช้รูปอักษรย่อนามประเทศเป็นอักษรลาตินสีทอง ภาษาทาจิก ที่มุมบนด้านคันธง ความว่า ÇSS Toçikiston ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2478 อักษรย่อนามประเทศในภาษารัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีรีลลิก จึงถูกเพิ่มเข้ามาในธง ในบริเวณตอนล่างของอักษรย่อเดิม ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) ปี พ.ศ. 2480 มีการเพิ่มรูปค้อนเคียวไว้เหนืออักษรย่อนามประเทศ และรูปอักษรมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โดยคำย่อตอนบนซึ่งเป็นอักษรและภาษาละติน มีใจความว่า RSS Toçikiston ส่วนตอนล่างซึ่งเป็นอักษรซีริลลิกยังคงมีลักษณะเช่นเดิม แบบธงดังกล่าวนี้ได้ใช้ต่อมาจนถึงช่วงทศวรรษที่ 1940 (พุทธทศวรรษที่ 2483) จึงได้เปลี่ยนอักษรย่อนามประเทศในธงทั้งหมดให้เป็นอักษรซีรีลลิกแบบไม่มีเชิง โดยอักษรย่อแถวบนมีข้อความภาษาทาจิก ความว่า РСС Тоҷикистон (RSS Tojikiston) ส่วนตอนล่างเป็นภาษารัสเซีย ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) แบบธงนี้ได้ใช้ต่อมาจนกระทั่งมีการเปลี่ยนธงครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: ภาษาละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

23px ธงชาติบริติชเวอร์จิน สัดส่วนธง 1:2 23px ธงเรือพลเรือน สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นธงพื้นสีน้ำเงินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ในพื้นสีน้ำเงินนั้นมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นนักบุญอูร์ซุลลา (Saint Ursula) ถือตะเกียงล้อมด้วยตะเกียงอื่นอีก 11 ดวง ในพื้นโล่สีเขียว มีข้อความภาษาละติน "VIGILATE" ในแพรแถบสีเหลืองอยู่เบื้องล่าง ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการมาตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503 และใช้สำหรับเรือของรัฐบาล หากเป็นเรือพลเรือนจะใช้ธงพื้นสีแดงลักษณะอย่างเดียวกันแทน ส่วนธงประจำตำแหน่งผู้ว่าการหมู่เกาะแห่งนี้ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักร ประดับด้วยภาพตราแผ่นดินที่กลางธงเป็นสัญลักษณ์เช่นเดียวกับอาณานิคมอื่น ๆ ของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบลีซ

งชาติเบลีซ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นสีน้ำเงิน ที่ขอบธงตอนบนและตอนล่างมีแถบขนาดเล็กสีแดง กลางธงมีรูปวงกลมสีขาว ภายในมีภาพตราแผ่นดินของเบลีซ ซึ่งล้อมรอบด้วยใบมะฮอกกานีสีเขียวจำนวน 50 ใบ ธงนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 อันเป็นปีที่เริ่มมีการเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากสหราชอาณาจักร โดยขณะนั้นเบลีซใช้ชื่อประเทศว่า บริติชฮอนดูรัส ภายหลังเมื่อเบลีซได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2524 ธงนี้จึงมีฐานะเป็นธงชาติเบลีซอย่างเป็นทางการ ภายในตราแผ่นดินนั้น ประกอบด้วยรูปโล่ซึ่งภายในแบ่งเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วยภาพขวานและไม้พายไขว้ในพื้นสีขาวที่ช่องซ้ายบน รูปขวานกับเลื่อยไขว้กันในพื้นสีเหลืองที่ช่องขวาบน และภาพเรือใบแล่นในทะเลบนพื้นสีฟ้าช่องล่างกลาง เบื้องหลังโล่นี้มีภาพต้นมะฮอกกานี เบื้องซ้ายของโล่เป็นภาพคนงานผิวเหลืองแบกขวาน เบื้องขวาเป็นรูปคนงานผิวดำแบกพาย ทั้งสองคนนี้ยืนประคองรูปโล่ เบื้องล่างของภาพทั้งหมดมีคำขวัญประจำชาติในแพรแถบสีขาว เป็นข้อความภาษาละตินใจความว่า "Sub Umbra Floreo" (อันอาจแปลได้ว่า "เราเจริญขึ้นภายใต้ร่มเงา") ภาพทั้งหมดมีความหมายถึงอุตสาหกรรมไม้มะฮอกกานี ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของชาติ ตรานี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2450 ส่วนสีของธงชาตินั้น มีที่มาจากสีของพรรคการเมืองที่เป็นแกนสำคัญในการเรียกร้องเอกราชของเบลีซ กล่าวคือ สีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ของพรรคสหภาพประชาชน (People's United Party - PUP) ส่วนสีแดงคือสีของพรรคสหประชาธิปไตย (United Democratic Party - UDP) ใบมะฮอกกานีทั้ง 50 ใบ หมายถึงปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและธงชาติเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

งชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ซึ่งเป็นรูปโล่ลายตาหมากรุกสีฟ้าสลับขาว ภายในมีรูปสิงโตสีทองถือคบเพลิงล้อมด้วยดาวหกแฉก 2 ดวงในสามเหลี่ยมหัวกลับสีเขียว ด้ายซ้ายของโล่มีรูปแมวน้ำยืนบนโขดหิน ด้านขวามีรูปนกเพนกวินยืนบนพื้นน้ำแข็ง คอยประคองโล่ไว้ทั้งสองด้าน เบื้องบนของโล่มีรูปเกราะนักรบส่วนศีรษะประดับด้วยแพรสีขาวและน้ำเงิน ส่วนศีรษะนั้นเป็นรูปกวางเรนเดียร์ยืนบนภูเขา เบื้องล่างของตรามีแพรแถบสีเหลืองประดับคำขวัญภาษาละตินว่า Leo Terram Propriam Protegat แปลว่า ให้สิงโตพิทักษ์แผ่นดินของตน ธงดังกล่าวนี้ได้มีประกาศให้ใช้ได้ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2528 เมื่อมีการจัดตั้งดินแดนแห่งนี้ขึ้น โดยแยกเขตการปกครองส่วนหนึ่งมาจากหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ ซึ่งภาพของตราแผ่นดินที่ปรากฏในธงเวลานั้นมีขนาดเล็กกว่าในปัจจุบันและบรรจุไว้ในรูปวงกลมสีขาวอีกชั้นหนึ่ง ต่อมาในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2545 จึงได้แก้ให้ขนาดของตราใหญ่ขึ้น และยกเอาวงกลมสีขาวออกเสีย ดังที่ปรากฏการใช้ในปัจจุบันนี้ ธงนี้กำหนดไว้สำหรับใช้ชักบนอาคารทำการของรัฐบาลและฐานสำรวจทางวิทยาศาสตร์ของคณะสำรวจทวีปแอนตาร์กติกาของสหราชอาณาจักร (British Antarctic Survey) สำหรัฐธงของผู้ว่าการเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ก็มีลักษณะเช่นเดียวกับผู้ว่าการอาณานิคมแห่งอื่นของสหราชอาณาจักร กล่าวคือ ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรประดับด้วยตราแผ่นดินของอาณานิคมเป็นสัญลักษณ์ โดยเมื่อแรกใช้ธงนี้ในปี พ.ศ. 2535 ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชที่ปรากฏในธงมีเฉพาะรูปโล่กลางดวงตราเท่านั้น ต่อมาจึงได้แก้ไขให้ใช้ภาพตราแผ่นดินอย่างเต็มตัวกลางธงในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและธงชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซอร์เบีย

งชาติเซอร์เบีย เป็นธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ (Pan-Slavic colours) โดยแบ่งภายในเป็นแถบแนวนอน 3 ริ้ว มีสีแดงอยู่บนสุด สีน้ำเงินอยู่กลาง สีขาวอยู่ล่าง ธงดังกล่าวนี้ได้ปรากฏอยู่ในประวัติศาสตร์เซอร์เบียในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย และถือกันว่าเป็นธงชาติของชนชาวสลาฟทั้งมวล สำหรับธงที่ใช้ในราชการนั้นจะมีรูปตราอาร์มแผ่นดินอย่างย่อของเซอร์เบียอยู่ตรงกลาง โดยตำแหน่งของตรานั้นจะห่างจากด้านซ้ายของธง 1 ใน 7 ส่วนของความยาวธง ธงลักษณะข้างต้นนี้เดิมเคยใช้เป็นธงชาติของราชอาณาจักรเซอร์เบียตั้งแต่ปี ค.ศ. 1882 จนถึงปี ค.ศ. 1918 เมื่อเซอร์เบียเข้าร่วมในราชอาณาจักรเซอร์เบีย, โครเอเชีย และสโลวีเนีย ต่อมาในปี ค.ศ. 1945 เซอร์เบียได้กลายเป็นสาธารณรัฐภายใต้การปกครองของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย รูปดาวแดงของลัทธิคอมมิวนิสต์จึงได้ถูกเพิ่มลงบนธงชาติเซอร์เบียตราบจนกระทั่งได้มีการยกเลิกอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1992 สำหรับธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้เป็นธงที่ได้รับการรับรองจากรัฐสภาเซอร์เบียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 2004 ต่อมาเมื่อเซอร์เบียได้มีการประกาศรัฐธรรมนูญใหม่ในปี ค.ศ. 2006 การใช้ธงสามสีแดง-น้ำเงิน-ขาว เป็นธงชาติ จึงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการตามรัฐธรรมนูญ (พร้อมกันกับตราแผ่นดินและเพลงชาติ) โดยทั้งธงชาติและธงรัฐบาลนั้นถือเป็นธงที่มีสถานะเท่าเทียมกัน ธงของเซอร์เบียแบบที่ไม่มีตราแผ่นดินนั้น เดิมเคยใช้ในฐานะของธงชาติและธงราชการ นับตั้งแต่การประกาศรัฐธรรมนูญฉบั..

ใหม่!!: ภาษาละตินและธงชาติเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา

ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา (Fermat's last theorem) เป็นหนึ่งในทฤษฎีบทที่โด่งดังในประวัติศาสตร์ของคณิตศาสตร์ ซึ่งกล่าวว่า: ปีแยร์ เดอ แฟร์มา นักคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้เขียนทฤษฎีบทนี้ลงในหน้ากระดาษหนังสือ Arithmetica ของไดโอแฟนตัส ฉบับแปลเป็นภาษาละตินโดย Claude-Gaspar Bachet เขาเขียนว่า "ฉันมีบทพิสูจน์ที่น่าอัศจรรย์สำหรับบทสรุปนี้ แต่พื้นที่กระดาษเหลือน้อยเกินไปที่จะอธิบายได้" (เขียนเป็นภาษาละตินว่า "Cuius rei demonstrationem mirabilem sane detexi. Hanc marginis exiguitas non caperet.") อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลา 357 ปี ไม่มีใครสามารถพิสูจน์ได้ถูกต้องเลย ปีแยร์ เดอ แฟร์มา ข้อความนี้มีความสำคัญมาก เพราะว่าข้อความอื่นๆ ที่แฟร์มาเขียนนั้น ได้รับการพิสูจน์หมดแล้ว ไม่ว่าจะพิสูจน์ด้วยตัวเขาเอง หรือว่ามีคนให้บทพิสูจน์ในภายหลัง ทฤษฎีบทนี้ไม่ได้เป็นข้อความคาดการณ์สุดท้ายที่แฟร์มาเขียน แต่เป็น ข้อสุดท้ายที่จะต้องพิสูจน์ นักคณิตศาสตร์ได้พยายามพิสูจน์หรือไม่ก็หักล้างทฤษฎีบทนี้มาโดยตลอด และต้องพบกับความล้มเหลวทุกครั้งไป ทำให้ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีที่สร้างบทพิสูจน์ที่ผิดๆ มากที่สุดในวงการคณิตศาสตร์ก็ว่าได้ อาจเป็นเพราะทฤษฎีบทนี้ดูแล้วไม่มีอะไรซับซ้อนนั่นเอง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกา

แผนที่ทวีปอเมริกาโดย Jonghe. Ca. พ.ศ. 2313 แผนที่ทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา (Americas)america.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส แบ็กกิต

นักบุญทอมัส แบ็กกิต (Thomas Becket) ต่อมารู้จักกันในชื่อ Thomas à Becket เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดใน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและทอมัส แบ็กกิต · ดูเพิ่มเติม »

ทอรัส

ทอรัส เป็นคำทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ทอรัส (เรขาคณิต)

ทอรัส ทอรัส หรือ โทรัส (torus, พหูพจน์: tori) หรือ ทรงห่วงยาง คือผิวของการหมุนรอบชนิดหนึ่ง สร้างขึ้นจากการหมุนรูปวงกลมในปริภูมิสามมิติ รอบแกนเส้นตรงที่อยู่ในระนาบเดียวกันกับรูปวงกลม แต่ไม่ได้สัมผัสหรือตัดกับรูปวงกลม ตัวอย่างของวัตถุที่มีพื้นผิวอย่างทอรัสเช่น โดนัท และยางในของรถยนต์ (ห่วงยาง) ทรงตันหรือที่ว่างซึ่งบรรจุอยู่ภายในพื้นผิวจะเรียกว่า ทอรอยด์ (toroid) รูปวงกลมที่หมุนรอบคอร์ด (เส้นตรงที่ตัดรูปวงกลม) อาจถูกเรียกว่าทอรัสในบางบริบท ซึ่งไม่ใช่การใช้งานโดยปกติในทางคณิตศาสตร์ รูปร่างที่เกิดขึ้นจากรูปวงกลมที่หมุนรอบคอร์ดจะมีลักษณะคล้ายหมอนกลมที่บุ๋มตรงกลาง ซึ่งคำว่า torus ในภาษาละตินแปลว่าหมอนนั่นเอง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทอรัส (เรขาคณิต) · ดูเพิ่มเติม »

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ทองเหลือง

ที่ทับกระดาษรูปลูกเต๋าทำด้วยทองเหลือง (ซ้าย) และตัวอย่างโลหะสังกะสีกับทองแดง (ขวา) ทองเหลือง (Brass) เป็นโลหะผสมที่มีทองแดงและสังกะสีเป็นส่วนประกอบหลัก ปริมาณของสังกะสีนั้นแปรเปลี่ยนไป ระหว่าง 5 - 45 เปอร์เซนต์ ทำให้ได้ทองเหลืองที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างกันไป ทองเหลืองแตกต่างจากสำริดตรงที่ สำริดมีส่วนประกอบของทองแดงและดีบุกเป็นหลัก แต่ทองเหลืองบางชนิดก็ถูกเรียกว่า "สำริด" ก็มี ทองเหลืองยังเคยเป็นโลหะที่เชื่อกันว่าแข็งแกร่งที่สุดในยุคสำริดและความเชื่อนี้ยังตกทอดมาถึงปัจจุบัน กลายเป็นโลหะในตำนานที่ชื่อว่าโอริคัลคุมซึ่งเป็นคำศัพท์ภาษาละตินที่มาจากภาษากรีก ορείχαλκος (ออเgxgcshsvxbhxvรอิฆัลคอส) ซึ่งแปลว่า "ทองเหลือง" ทองเหลืองนั้นมีสีเหลือง จึงมีลักษณะบางส่วนคล้ายทองคำ มีความต้านทานต่อการเกิดสนิมได้ดีพอสมควร จึงนิยมนำมาทำเป็นเครื่องประดับตกแต่งภายในบ้านเรือน มนุษย์รู้จักทองเหลืองมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ นานก่อนที่จะค้นพบธาตุสังกะสีด้วยซ้ำ การผลิตทองเหลืองนั้น อาศัยการหลอมละลายทองแดงกับแร่คาลาไมน์ ซึ่งเป็นสินแร่สังกะสีชนิดหนึ่ง ในกระบวนการนี้ สังกะสีจะถูกดูดออกมาจากคาลาไมน์ และผสมเข้ากับทองแดง สำหรับสังกะสีบริสุทธิ์นั้นไม่สามารถผลิตด้วยเทคนิคงานโลหะสมัยโบราณได้ ในปัจจุบันยังมีเครื่องทองเหลืองให้พบเห็นในหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ขันทองเหลือง พานทองเหลือง แจกันทองเหลือง กระทะทองเหลือง และ เครื่องใช้ เครื่องตกแต่งทำด้วยทองเหลือง อีกมากมาย ในอุตสาหกรรมผลิตทองเหลืองทั่วๆไป จะแยกมาตรฐานออกไปสองกลุ่ม คือ ประเภทรีดเป็น แท่ง หรือเป็นแผ่น (Wrough copper alloys) กับอีกกลุ่มหนึ่งจะเป็นประเภทหล่อ (Cast copper) ซึ่งทั้งสองกลุ่มจะแยกชั้นคุณภาพ จะหารายละเอียดได้จากคู่มือ ASTM หรือ JIS ในการศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติเชิงกล มักจะกล่าวถึงชื่อทองเหลืองที่รู้จักและใช้งานกันอยู่เป็นประจำซึ่งมีอยู่ไม่มากนัก คือ ทองเหลืองที่ผสมสังกะสีไม่เกิน 5% มีชื่อเรียกทางการค้าว่า Gilding metal ใช้ทำเหรียญ ทองเหลืองที่ผสมสังกะสี 10% เรียก Commercial bronze หรือบรอนซ์ทางการค้า คุณสมบัติใช้ งานคล้ายคลึงกับ Gilding metal ทองแดงผสมสังกะสี 12.5% เรียก Jewerlry bronze หรือทองเหลืองทำเครื่องประดับ ทองแดงผสมสังกะสี 15% เรียก Red Brasses หรือทองเหลืองแดง ทองแดงผสมสังกะสี 30% เรียก Cartridge brass หมายถึงทองเหลืองที่ใช้ทำปลอกกระสุน ปืน ทำท่อที่ต้องอาศัยการอัดขึ้นรูป (Extrusion) ทองแดงผสมสังกะสี 35% เรียก Yellow brass หมายถึงทองเหลืองที่มีสีค่อนข้างเหลืองจัด คุณสมบัติและการใช้งานใกล้เคียงกับ Cartrige brass ทองแดงผสมสังกะสี 40% เรียก Munts Metal คำว่า Muntz เป็นชื่อทางการค้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทองเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี (ชื่อ)

ทอเลมี หรือ ทอเลเมียส (ภาษาอังกฤษ: Ptolemy หรือ Ptolemaeus) มาจากภาษากรีก Ptolemaios ซึ่งหมายความว่า “เช่นสงคราม” “เหมือนสงคราม” หรือ “เหมือนนักรบ” ชื่อ “ทอเลมี” หรือ “ทอเลเมียส” เป็นชื่อที่นิยมใช้กันมาก ผู้ที่ใช้ชื่อนี้ที่สำคัญที่สุดก็ได้แก่นักดาราศาสตร์ชาวกรีก-อียิปต์ คลอเดียส ทอเลเมอุส ที่รู้จักกันในนาม “ทอเลมี” และ ทอเลมีที่ 1 โซเตอร์นายทหารคนสนิทของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรทอเลมีและราชวงศ์ทอเลมีในอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทอเลมี (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ใหม่!!: ภาษาละตินและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ทูเบอรัส สเคลอโรซิส

ทูเบอรัส สเคลอโรซิส (tuberous sclerosis, tuberous sclerosis complex (TSC)) เป็นโรคทางพันธุกรรมซึ่งพบน้อย ส่งผลต่อระบบร่างกายหลายระบบ ทำให้เกิดเนื้องอกในสมองและอวัยวะสำคัญอื่นๆ เช่น ไต หัวใจ ปอด และผิวหนัง ผู้ป่วยอาจมีอาการชัก ความบกพร่องทางสติปัญญา พัฒนาการล่าช้า มีปัญหาพฤติกรรม ผิวหนังผิดปกติ มีโรคปอด โรคไต เป็นต้น โรคนี้เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีนใดยีนหนึ่งระหว่าง TSC1 และ TSC2 ซึ่งถอดรหัสออกมาเป็นโปรตีนฮามาร์ตินและทูเบอรินตามลำดับ โปรตีนเหล่านี้ประกอบกันเป็น tumor growth suppressor ซึ่งช่วยควบคุมการแบ่งตัวและการกำหนดประเภท (differentiation) ของเซลล์ ชื่อภาษาอังกฤษ "tuberous sclerosis" มาจากคำภาษาลาติน tuber (การบวม) และคำภาษากรีก skleros (แข็ง) มาจากพยาธิสภาพของโรคที่มีการตรวจพบบางส่วนของสมองของผู้ป่วยที่เสียชีวิต พบว่ามีบางส่วนแข็งตัวขึ้น เรียกส่วนเหล่านีว่า tuber ซึ่ง tuber เหล่านี้ ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและทูเบอรัส สเคลอโรซิส · ดูเพิ่มเติม »

ทีโค บรา

ทีโค บรา (Tycho Brahe) เป็นนักดาราศาสตร์ผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการแสดงว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ เป็นอาจารย์ของโยฮันเนส เคปเลอร์ ผู้ซึ่งสร้าง กฎของเคปเลอร์ และได้จดบันทึกข้อมูลสำคัญๆ ทางดาราศาสตร์เอาไว้มากมายเช่น ซุปเปอร์โนวา ตำแหน่งดาวเคราะห์เป็นต้น ซึ่งข้อมูลส่วนหนึ่งนั้นเองที่เป็นรากฐานสำคัญให้ โยฮันเนส เคปเลอร์ สร้าง กฎของเคปเลอร์ต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและทีโค บรา · ดูเพิ่มเติม »

ขอเชิญท่านผู้วางใจ

ทำนองเพลงเริ่มต้น "ขอเชิญท่านผู้วางใจ" ขอเชิญท่านผู้วางใจ เป็นเพลงเทศกาลคริสต์มาส ซึ่งมีผู้แต่งเนื้อร้องจากหลายท่าน รวมทั้ง จอห์น ฟรานซิส เว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและขอเชิญท่านผู้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและขันที · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน

ั้นตอนวิธีชาวฮังกาเรียน (Hungarian Algorithm) คือ ขั้นตอนวิธีการหาค่าเหมาะสมที่สุดเชิงการจัด ซึ่งใช้ในการแก้ ปัญหาการกำหนดงาน ถูกคิดค้นและตั้งชื่อโดย แฮโรลด์ วิลเลียม คุห์น ในปี ค.ศ. 1955 ที่ตั้งชื่อนี้เพราะว่าขั้นตอนวิธีนี้มีพื้นฐานส่วนใหญ่จากการคิดของนักคณิตศาสตร์ชาวฮังกาเรียน 2 คน คือ Dénes Kőnig และ Jenő Egerváry ต่อมาเจมส์ มุนเครสได้นำขั้นตอนวิธีนี้มาตรวจสอบในปี ค.ศ. 1957 และได้พบว่ามีประสิทธิภาพเชิงเวลาเป็นแบบ strongly polynomial ตั้งแต่นั้นมาขั้นตอนวิธีนี้จึงเป็นที่รู้จักในชือว่า ขั้นตอนวิธีคุห์น-มุนเครส หรือ ขั้นตอนวิธีการกำหนดงานมุนเครส โดยมีประสิทธิภาพเชิงเวลาของขั้นตอนวิธีดั้งเดิมเป็น O(n^4) แต่อย่างไรก็ตามขั้นตอนวิธีนี้ แจ็ค เอดมันด์ และ ริชาร์ด แมนนิ่งคาร์ป ได้สามารถปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพเชิงเวลาเป็น O(n^3) ได้ และในปี ค.ศ. 2006 มีการค้นพบว่า คาร์ล กุสตาฟ จาโคบี (Carl Gustav Jacobi) สามารถแก้ปัญหาการกำหนดงานได้ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และได้เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1890 ในภาษาละติน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ขีปนาวุธ

ีปนาวุธ ''เอ็กโซเซต์'' ของฝรั่งเศส ในการทหารสมัยใหม่ ขีปนาวุธ (Missile มิสไซล์) หรือ ขีปนาวุธนำวิถี หมายถึงอาวุธขับเคลื่อนนำวิถี (ตรงข้ามกับระบบอาวุธขับเคลื่อนแบบไม่นำวิถี ซึ่งเรียกว่า จรวด) ขีปนาวุธมีส่วนประกอบหลักอยู่สี่ส่วน คือ ระบบกำหนดเป้าและนำวิถี, ระบบควบคุมทิศทาง, จรวดขับดัน และ หัวรบ ขีปนาวุธสามารถจำแนกออกได้เป็นหลายประเภทตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ไม่ว่าจะเป็น ขีปนาวุธพื้นสู่พื้น, ขีปนาวุธอากาศสู่พื้น, ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ หรือ ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ โดยขีปนาวุธที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งหมดถูกออกแบบมาให้ใช้พลังงานขับดันจากการทำปฏิกิริยาเคมีภายในเครื่องยนต์จรวด, เครื่องยนต์ไอพ่น หรือเครื่องยนต์ประเภทอื่นๆ ''ระเบิดบิน วี-1'' เป็นขีปนาวุธแบบแรกของโลก ขีปนาวุธถูกใช้งานครั้งแรกโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ขีปนาวุธแบบแรกของโลกมีชื่อว่า ระเบิดบิน วี-1 (V-1 flying bomb) เป็นลูกระเบิดที่ติดปีกและเครื่องไอพ่นเข้าไป ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็น จรวด วี-2 ที่รวมเครื่องยนต์ไอพ่นไว้ในตัว และติดตั้งครีบที่ปลายจรวดแทนปีกที่ตัดออก เป็นลักษณะสากลของขีปนาวุธที่ใช้จวบจนปัจจุบัน ในภาษาไทย คำว่า ขีปนาวุธ เป็นคำสมาสระหว่างคำว่า ขีปน (แปลว่า "ซัด, เหวี่ยง") กับคำว่า อาวุธ ส่วนในภาษาอังกฤษ คำว่า missile มาจากคำละตินที่ว่า mittere มีความหมายว่า "ส่งไป".

ใหม่!!: ภาษาละตินและขีปนาวุธ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเขียนวอยนิช

้อความใน'''ข้อเขียนวอยนิช''' ข้อเขียนวอยนิช (Voynich manuscript) เป็นหนังสือประกอบภาพที่ยังไม่มีใครสามารถแปลความหมายได้ ซึ่งเชื่อกันว่าได้เขียนขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 หรือ 16 ผู้ประพันธ์ เนื้อหา และภาษาที่ใช้ในข้อเขียนนี้ยังคงเป็นปริศนาจนถึงปัจจุบัน ข้อเขียนวอยนิชได้รับการศึกษาจากนักรหัสวิทยา ซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญผู้มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรมาตลอดนับตั้งแต่ค้นพบหนังสือเล่มนี้ แต่ก็ไม่เคยมีใครสามารถแปลเนื้อหาได้แม้แต่ส่วนเดียว ซึ่งทำให้ข้อเขียนวอยนิชมีชื่อเสียงอย่างมากในประวัติศาสตร์ของเรื่องลึกลับ แต่ก็มีทฤษฏีว่าหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงของปลอมซึ่งเขียนด้วยสัญลักษณ์ที่ไม่มีความหมายใด ๆ เลยเช่นเดียวกัน หนังสือเล่มนี้ได้รับการตั้งชื่อตาม วิลฟริด เอ็ม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและข้อเขียนวอยนิช · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวทริทิเคลี

้าวทริทิเคลี (triticale) เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างข้าวสาลี (Triticum) กับ ข้าวไรย์ (Secale) โดยมีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศสกอตแลนด์และประเทศสวีเดน การใช้ชื่อ ทริทิเคลี เกิดจากการผสมคำของภาษาละตินระหว่างคำว่า Triticum (ข้าวสาลี) กับคำว่าSecale (ข้าวไรย์) ซึ่งมีที่มาจากการใช้เกสรตัวผู้ของข้าวสาลีผสมพันธุ์กันกับเกสรตัวเมียของข้าวไรย์ ดังนั้นจึงเลือกที่จะใช้สองพยางค์แรกของคำว่าTriticum มานำหน้าพยางค์สุดท้ายของคำ Secale การเปรียบเทียบลักษณะของข้าวสาลี (ซ้าย),ข้าวทริทิเคลี (กลาง),ข้าวไรย์ (ขวา).

ใหม่!!: ภาษาละตินและข้าวทริทิเคลี · ดูเพิ่มเติม »

ดยุก

ก (duke) หรือ ดุ๊ก หรือ แฮร์ซอก (Herzog) เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางในทวีปยุโรป เป็นตำแหน่งทางปกครองที่เป็นรองจากกษัตริย์ซึ่งปกครองดินแดนที่เรียกว่า "ดัชชี" ส่วนตำแหน่งดยุกในหมู่เกาะอังกฤษเป็นเพียงตำแหน่งที่ตั้งไว้เป็นเกียรติยศเท่านั้น ไม่มีอำนาจในทางปกครองเหมือนในประเทศยุโรปอื่นๆ ปัจจุบันตำแหน่งดยุก(ที่ไม่ใช่ราชวงศ์)ปรากฏอยู่อย่างเป็นทางการเฉพาะในสหราชอาณาจักรเท่านั้น ภริยาของดยุกมีตำแหน่งเป็น ดัชเชส (Duchess) ตามสิทธิของคู่สมรส อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ดยุกมีแต่บุตรสาว บุตรสาวจะได้ขึ้นสืบตำแหน่งแทนเมื่อดยุกถึงแก่อสัญกรรม ซึ่งบุตรสาวที่ได้สืบตำแหน่งดยุกนี้จะมีตำแหน่งเป็น ดัชเชส ด้วยเช่นกันแต่เป็นดัชเชสจากการสืบตระกูล ในกรณีนี้ สิทธิของคู่สมรสจะไม่ส่งผ่านไปยังสามี ยกตัวอย่าง ดยุกที่ 1 แห่งมาร์ลบะระ มีเพียงธิดาเท่านั้น เมื่อเขาถึงแก่อสัญกรรม ธิดาของเขาจึงขึ้นสืบตำแหน่งต่อเป็น ดัชเชสที่ 2 แห่งมาร์ลบะระ อย่างไรก็ตาม สามีของนางจะไม่มีสิทธิหรือเกียรติยศใดๆในมาร์ลบะระ เมื่อนางถึงแก่อสัญกรรม บุตรชายของนางจึงสืบตำแหน่งต่อเป็นดยุกที่ 3 แห่งมาร์ลบะระ คำว่าดยุกมาจากภาษาละตินว่า dux ซึ่งมีความหมายว่า 'ผู้นำ' คำนี้ถูกใช้ในยุคสาธารณรัฐโรมันเพื่อสื่อถึงผู้นำทางทหารที่ไม่มียศอย่างเป็นทางการ และต่อมาก็ใช้สื่อถึงผู้บัญชาการทหารประจำมณฑล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดยุก · ดูเพิ่มเติม »

ดวงจันทร์

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107).

ใหม่!!: ภาษาละตินและดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

Aquatint of a Doctor of Divinity at the University of Oxford, in the scarlet and black academic robes corresponding to his position. From Rudolph Ackermann's ''History of Oxford'', 1814. ดอกเตอร์ หรือ ด็อกเตอร์ (doctor) เป็นคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษโดยคำศัพท์คำนี้มีรากศัพท์ในภาษาละติน doctor เป็นคำนานที่มาจากกริยาในภาษาละติน docēre แปลว่าสอน ดอกเตอร์ถูกใช้มานานในทวีปยุโรปตั้งแต่การก่อต้งสถาบันอุดมศึกษา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก ในภาษาอังกฤษ ดอกเตอร์เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รวมถึงแพทย์และทันตแพทย์ ในประเทศไทย คำนำหน้าชื่อนี้ใช้เฉพาะในความหมายของผู้สำเร็จปริญญาเอกเท่านั้น เพราะมีคำนำหน้าอื่นสำหรับแพทย์และทันตแพท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม) · ดูเพิ่มเติม »

ดะเตะ มะซะมุเนะ

ตะ มะซะมุเนะ ดะเตะ มะซะมุเนะ เป็นไดเมียว ที่สำคัญของญี่ปุ่นใน ยุคเซงโงะกุ และอยู่จนถึงยุคเอโดะ มีฉายาว่า มังกรตาเดียว มะซะมุเนะนั้นมีความสนใจต่อการทูตและเทคโนโลยีของชาติตะวันตก โดยในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและดะเตะ มะซะมุเนะ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย

ัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (Ducatus Curlandiæ et Semigalliæ, Księstwo Kurlandii i Semigalii, Herzogtum Kurland und Semgallen, Kurzemes un Zemgales hercogiste) เป็นดัชชีในภูมิภาคบอลติก โดยก่อตั้งขึ้นในปี 1561 จนในปี 1569 ดัชชีนี้ได้กลายเป็นเครือรัฐของแกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย และ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย ตั้งแต่ปี 1569 ถึงปี 1726 ดัชชีได้เข้าร่วมกับ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย โดย Sejm ในปี 1726 จนในวันที่ 28 มีนาคม 1795 ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้ถูกผนวกกับจักรวรรดิรัสเซียในการแบ่งโปแลนด์ครั้งที่สาม ต่อมาดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้จัดตั้งรัฐอายุสั้นขึ้นในวันที่ 8 มีนาคม ถึงวันที่ 22 กันยายน 1918 โดยใช้ชื่อเดียวกัน โดยเป็นแผนที่จะจัดตั้งสหดัชชีบอลติก (United Baltic Duchy) โดย จักรวรรดิเยอรมัน จนเยอรมนียอมจำนนในภูมิภาคบอลติกในช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พื้นที่ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลัตเวีย หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจบลง; ดูเพิ่มที่ ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (ค.ศ. 1918).

ใหม่!!: ภาษาละตินและดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีซาวอย

ัชชีแห่งซาวอย (Duchy of Savoy, Savoie, Savoia) ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและดัชชีซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีเบอร์กันดี

ัชชีเบอร์กันดี (Duchy of Burgundy) เป็นอาณาเขตการปกครองยุคศักดินาในฝรั่งเศสในสมัยกลาง ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสปัจจุบันที่ใกล้เคียงกับบริเวณบูร์กอญในปัจจุบัน เป็นอาณาจักรที่เป็นอาณาจักรระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและดัชชีเบอร์กันดี · ดูเพิ่มเติม »

ดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย

ัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย, โดฟินแห่งฝรั่งเศส (ประสูติ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1660 — สิ้นพระชนม์ 20 เมษายน ค.ศ. 1690) พระชายาในเจ้าชายหลุยส์ เลอกร็องโดฟิน รัชทายาทของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพฤหัสบดี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพุธ

วพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้ ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวพุธ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวศุกร์

วศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ดาวศุกร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น 3 เท่าของดวงจันทร์ และ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธและดาวอังคาร 2 เท่าตัว ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด สำหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาวประจำเมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง" ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใสของดาวศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวหาง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทรายหนาม

วทรายหนาม (Comb seastar, Sand sifting starfish) เป็นดาวทะเลชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเป็นห้าแฉกหรือรูปดาว เหมือนดาวทะเลทั่วไป มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ตามพื้นทรายตามชายฝั่งทั่วไปในเขตอินโด-แปซิฟิก เพื่อหากินสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร เช่น หนอนตัวแบน, หนอนท่อหรือลูกกุ้ง, ลูกปูขนาดเล็กหรือเคย และสาหร่าย ในบางครั้งเมื่อน้ำลดแล้ว จะพบดาวทะเลชนิดนี้ติดอยู่บนหาดทรายหรือแอ่งน้ำบนโขดหิน เช่นเดียวกับดาวทราย (A. indica) พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทะเลแดง, ทะเลญี่ปุ่น, ฮาวาย จนถึงออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เป็นดาวทะเลอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง โดยคำว่า polyacanthus ที่ใช้เป็นชื่อชนิดนั้น มาจากภาษาละตินที่หมายถึง "มีหนามจำนวนมาก".

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวทรายหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ดาวซิริอุส

วซิริอุส (Sirius) มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งในภาษาไทยว่า ดาวโจร เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในตอนกลางคืนและสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีค่าระดับความสว่างอยู่ที่ -1.47 ซึ่งสว่างเกือบเป็นสองเท่าของดาวคาโนปุส ดาวฤกษ์ที่สว่างเป็นอันดับสอง ชื่อ ซิริอุส มาจากภาษากรีกโบราณว่า "เซริออส" (Σείριος) มีชื่อตามระบบไบเยอร์ว่า อัลฟา คานิส เมเจอริส (α Canis Majoris หรือ α CMa) ความจริงดาวที่เรามองเห็นด้วยตาเปล่าว่าเป็นดาวดวงเดียวนั้นเป็นระบบดาวคู่ ประกอบด้วยดาวสีขาวในลำดับหลัก (Main Sequence) ประเภท A1V ชื่อว่า ซิริอุส เอ (Sirius A) กับดาวแคระขาวสีจาง ๆ ในประเภท DA2 ชื่อว่า ซิริอุส บี (Sirius B) การที่ดาวซิริอุสเป็นดาวที่สว่างที่สุด นอกจากความสามารถในการส่องสว่างของมันเองแล้ว มันยังอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ของเรามาก คือห่างไปเพียง 2.6 พาร์เซก (ประมาณ 8.6 ปีแสง) ระบบดาวซิริอุสถือว่าเป็นระบบดาวเพื่อนบ้านที่ใกล้ที่สุดกลุ่มหนึ่ง ดาวซิริอุสเอมีมวลประมาณ 2 เท่าของดวงอาทิตย์ และมีค่าความสว่างสัมบูรณ์ เท่ากับ 1.42 หรือคิดเป็น 25 เท่าของความสว่างของดวงอาทิตย์Liebert, J.; Young, P. A.; Arnett, D.; Holberg, J. B.; Williams, K. A. (2005).

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวซิริอุส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเบอร์นาร์ด

วเบอร์นาร์ด (Barnard's Star) เป็นดาวแคระแดงมวลต่ำมาก อยู่ห่างจากโลกประมาณ 6 ปีแสงในกลุ่มดาวคนแบกงู เอ็ดเวิร์ด อีเมอร์สัน เบอร์นาร์ด นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันได้ตรวจวัดการเคลื่อนที่เฉพาะของดาวนี้ได้ค่าเป็น 10.3 พิลิปดาต่อปี เป็นดาวที่มีการเคลื่อนที่เฉพาะเทียบกับดวงอาทิตย์มากที่สุดกว่าดาวฤกษ์ดวงใด นอกจากนี้ดาวเบอร์นาร์ดยังเป็นดาวฤกษ์เพียงดวงเดียวในกลุ่มดาวคนแบกงูที่อยู๋ใกล้ที่สุดภายในระยะ 1.8 พาร์เซ็กหรือ 6 ปีแสง และเป็นระบบดาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดเป็นลำดับที่สอง และเป็นดาวฤกษ์เดี่ยวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดเป็นลำดับที่สี่ (สามอันดับแรกคือดาวฤกษ์ในระบบดาว อัลฟาคนยิงธนู) ดาวเบอร์นาร์ดมีค่าความส่องสว่างปรากฏเท่ากับ 9 จึงจางแสงมากจนไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่จะสามารถมองเห็นได้สว่างชัดเจนขึ้นในคลื่นอินฟราเร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดาวเบอร์นาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน

ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (British Overseas Territories) คือดินแดน 14 ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน · ดูเพิ่มเติม »

ดีทรอยต์

ีทรอยต์ (Detroit) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองท่าชั้นนำบริเวณแม่น้ำดีทรอยต์ ในภูมิภาคตะวันออกกลางของประเทศ และเป็นเมืองขนาดใหญ่เมืองเดียวของอเมริกาที่อยู่ทิศเหนือกว่าเมืองแคนาดา คือเมืองวินด์เซอร์ (รัฐออนแทริโอ) ดีทรอยต์ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและดีทรอยต์ · ดูเพิ่มเติม »

ด้านหน้าอาคาร

อนุสรณ์ด้านหน้าอาคารของมหาวิหารนักบุญเปโตรในนครรัฐวาติกัน โดยการ์โล มาแดร์โน ด้านหน้าอาคารสถานีดับเพลิงกลางของสำนักงานควบคุมเพลิงฮูสตันราวปี พ.ศ. 2457 โดยทั่วไปแล้ว ด้านหน้าอาคาร หรือ ฟะซาด (facade; façade) คือส่วนด้านนอกอาคารด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งมักจะอยู่ทางด้านหน้า คำว่า ฟะซาด มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า "ส่วนหน้า" หรือ "ใบหน้า" ในทางสถาปัตยกรรม ด้านหน้าอาคารคือมุมมองที่สำคัญที่สุดในการออกแบบเนื่องจากเป็นส่วนที่กำหนดรูปแบบลักษณะส่วนที่เหลือของอาคาร และในทางวิศวกรรมศาสตร์แล้ว ด้านหน้าของอาคารก็ยังมีความสำคัญอย่างมากต่อการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งนี้ระเบียบและกฎหมายท้องถิ่นเกี่ยวกับผังเมืองในอดีตจำกัดหรือแม้กระทั่งไม่อนุญาตให้มีการออกแบบด้านหน้าอาคารแตกต่างไปจากที่กำหนดไว้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและด้านหน้าอาคาร · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

ริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus), กริสโตบัล โกลอน (Cristóbal Colón), คริสโตโฟรุส โกลุมบุส (Christophorus Columbus) หรือ กริสตอโฟโร โกลอมโบ (Cristoforo Colombo; เกิด ค.ศ. 1451 เสียชีวิตวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1506) เป็นนักทำแผนที่ นักสำรวจ นักเดินเรือ และพ่อค้า เชื่อกันว่าน่าจะเป็นชาวสาธารณรัฐเจนัว "Christopher Columbus." Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส · ดูเพิ่มเติม »

ครูครับ เราจะสู้เพื่อฝัน

รูครับ เราจะสู้เพื่อฝัน เป็นภาพยนตร์อเมริกันปี พ.ศ. 2532 (1989) กำกับโดยปีเตอร์ เวียร์ เนื้อเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของนักเรียนในโรงเรียนเตรียมสำหรับชายล้วนที่เข้มงวดและมีแนวคิดแบบอนุรักษนิยม ในปี 1959 (พ.ศ. 2502) โดยเล่าเรื่องราวของอาจารย์สอนภาษาอังกฤษ ที่เป็นแรงบันดาลใจให้นักเรียนเปลี่ยนแปลงแนวทางชีวิตที่ตอบสนองความต้องการของสังคม มากกว่าความต้องการของตัวเอง ผ่านการสอนวรรณกรรมและบทกวี พื้นเพของเรื่องนั้นเกิดขึ้นที่วิทยาลัยเวลตัน (ที่สมมติขึ้น) ในเมืองเวอร์มอนต์ และภาพยนตร์ถ่ายทำกันที่โรงเรียนเซนต์แอนดรูว์ เมืองมิดเดิลทาว์น รัฐเดลาแวร์ โดยบทภาพยนตร์มีเค้าโครงมาจากชีวิตของผู้แต่งขณะที่กำลังศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยมอนต์โกเมอรีเบลล์ ซึ่งเป็นโรงเรียนเตรียมสำหรับชายล้วนในเมืองแนชวิลล์ รัฐเทนเนสซี ภาพยนตร์เรื่องนี้ยังถูกนำไปทำเป็นนวนิยายโดยแนนซี เอช. ไคลน์บอม โดยมีเค้าโครงมาจากบทภาพยนตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและครูครับ เราจะสู้เพื่อฝัน · ดูเพิ่มเติม »

ควอเลีย

วอเลีย (qualia, เอกพจน์ quale) เป็นคำในปรัชญาศาสตร์ที่ใช้เรียกประสบการณ์แห่งการรับรู้ซึ่งเป็นอัตวิสัยจิตวิสัย คำนี้มาจากคำละตินซึ่งหมายความว่า “ลักษณะอย่างไร” หรือ “ชนิดไหน” ตัวอย่างของควอเลียคือความรู้สึกปวดหัว รสชาติของไวน์ และสีแดงของท้องฟ้าในยามเย็นที่บุคคลรู้สึกรับรู้ แดเนียว เดนเน็ทท์ (เกิด ค.ศ. 1942) คนอเมริกันผู้เป็นนักปรัชญาและนักวิทยาการรับรู้ (cognitive scientist) ได้ประพันธ์เกี่ยวกับคำว่าควอเลียไว้ว่า ความสำคัญของควอเลียในจิตปรัชญา (philosophy of mind) มากจากประเด็นว่า ควอเลียปรากฏเป็นปัญหาสำคัญต่อคำอธิบายปัญหากายจิต (mind-body problem) ของนักวัตถุนิยม แต่ว่า การอภิปรายถึงความสำคัญของควอเลียโดยมากเป็นไปตามคำนิยามของควอเลียที่นักอภิปรายใช้ และนักปรัชญาบางพวกก็ให้ความสำคัญ บางพวกก็ปฏิเสธ ซึ่งความมีอยู่จริง ๆ ของลักษณะเฉพาะบางอย่างของควอเลีย เพราะฉะนั้น ความเป็นไปและความมีอยู่จริง ๆ ของควอเลีย เป็นเรื่องที่ยังถกเถียงกันอยู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและควอเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ความรอบคอบ

วามอดทน โดย ลูก้า จีออดาโน ความรอบคอบ (Prudence) ถูกจัดว่าเป็นหนึ่งในคุณธรรมพื้นฐานสี่ประการที่ควรเคารพ มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ว่า prudence มาจากภาษาละตินว่า prudentia สายตาอันกว้างไกล ความหลักแหลม อันเป็น providentia foresight มันยังถูกจัดรวมกับ ความรอบรู้ ความเข้าใจลึกซึ้ง และสติปัญญา ในกรณีนี้ มันเป็นความดีที่สามารถตัดสินระหว่างคุณความดีกับพฤติกรรมความดีได้ ไม่เพียงแต่จากความรู้สึกโดยทั่วไป แต่ด้วยการพิจารณาไปถึงการกระทำที่ถูกต้องทั้งสถานที่และกาลเวลาด้วย ถึงแม้ว่าความรอบคอบเพียงอย่างเดียวไม่สามารถประกอบกับการกระทำใดๆ ได้ แต่ถูกเกี่ยวข้องเป็นหนึ่งเดียวกับสติปัญญา เนื่องจากคุณความดีทุกอย่างต้องอยู่ภายใต้การวางระเบียบของมัน ความรอบคอบจะมีความจำเป็นต้องใช้กับความกล้าหาญ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความรอบคอบ · ดูเพิ่มเติม »

ความส่องสว่างของอุปราคา

วามส่องสว่างของอุปราคา คือ เศษส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลางของตัวคราส ทั้งสุริยุปราคาและจันทรุปราคา ระหว่างอุปราคาบางส่วนและวงแหวน ค่าความส่องสว่างของอุปราคาจะอยู่ระหว่าง 0.0 ถึง 1.0 ขณะที่ระหว่างอุปราคาเต็มดวง ค่าความส่องสว่างจะอยู่ที่อย่างน้อยที่สุด 1.0 เสมอ โดยหลักการ ความส่องสว่างคือการคำนวณดังต่อไปนี้: วาดเส้นตรงระหว่างศูนย์กลางของตัวอุปราคาและตัวคราส (หรือ เงา) ตรวจดูว่าเศษส่วนของเส้นภายในตัวอุปราคาที่อยู่ในอุปราคามีขนาดใหญ่เท่าไร; นี่คือความส่องสว่างแบบเรขาคณิตของอุปราคา ถ้าตัวอุปราคาเป็นแบบเต็มดวง สามารถยืดเส้นนี้ออกไปในหนึ่งทิศทางให้ใกล้ขอบของตัวคราส (หรือ เงา) ที่สุดได้ และจะได้ความส่องสว่างแบบเรขาคณิตมากกว่า 1.0 ถ้านั้นไม่ใช่อุปราคา แต่เป็น สถานการณ์หวุดหวิด สามารถยืดเส้นไปทางใกล้ขอบของตัวคราส (หรือ เงา) ที่สุดได้ รวมถึงระยะทางนี้จะเป็นค่าลบ และจะได้ความส่องสว่างแบบเรขาคณิตเป็นลบ การวัดนี้ไม่ควรสับสนกับการคลุมเครือของอุปราคา สิ่งนี้คือเศษส่วนของตัวอุปราคาถูกบดบังโดยตัวคราส ในทางตรงกันข้ามความส่องสว่างของอุปราคา คือ อัตราของเส้นผ่าศูนย์กลางอย่างแท้จริง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความส่องสว่างของอุปราคา · ดูเพิ่มเติม »

ความจำ

ประเภทและกิจหน้าที่ของความจำในวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ในจิตวิทยา ความจำ (memory) เป็นกระบวนการที่ข้อมูลต่าง ๆ รับการเข้ารหัส การเก็บไว้ และการค้นคืน เนื่องจากว่า ในระยะแรกนี้ ข้อมูลจากโลกภายนอกมากระทบกับประสาทสัมผัสต่าง ๆ (มีตาเป็นต้น) ในรูปแบบของสิ่งเร้าเชิงเคมีหรือเชิงกายภาพ จึงต้องมีการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งก็คือการเข้ารหัส เพื่อที่จะบันทึกข้อมูลไว้ในความจำได้ ระยะที่สองเป็นการเก็บข้อมูลนั้นไว้ ในสภาวะที่สามารถจะรักษาไว้ได้เป็นระยะเวลาหนึ่ง ส่วนระยะสุดท้ายเป็นการค้นคืนข้อมูลที่ได้เก็บเอาไว้ ซึ่งก็คือการสืบหาข้อมูลนั้นที่นำไปสู่การสำนึกรู้ ให้สังเกตว่า การค้นคืนความจำบางอย่างไม่ต้องอาศัยความพยายามภายใต้อำนาจจิตใจ จากมุมมองเกี่ยวกับกระบวนการประมวลข้อมูล มีระยะ 3 ระยะในการสร้างและค้นคืนความจำ คือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความจำ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงชั่วคราว

วามตกลงชั่วคราว (modus vivendi) เป็นสำนวนภาษาละตินที่แสดงถึงการตกลงระหว่างคู่กรณีที่มีความคิดเห็นต่างกัน เช่นเดียวกับสำนวนภาษาอังกฤษว่า “ตกลงว่าไม่อาจจะตกลงกันได้” เมื่อพิจารณาศัพท์ modus แปลว่า วิถี แนวทาง และ vivendi แปลว่า แห่งการมีชีวิต เมื่อรวมกันเข้าก็แปลตรงตัวว่า วิถีชีวิต ซึ่งเป็นนัยแสดงการผ่อนปรนระหว่างคู่กรณีที่มีความขัดแย้งกันเพื่อให้ดำเนินชีวิตกันต่อไปได้ สำนวนดังกล่าวมักจะใช้เฉพาะในโอกาสลำลองหรือสถานการณ์ชั่วครั้งชั่วคราวเกี่ยวกับเรื่องการเมือง ตัวอย่างเช่นเมื่อคู่กรณีสามารถทำความตกลงชั่วคราวเกี่ยวกับดินแดนอันเป็นกรณีพิพาท แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันทางการเมืองหรือทางวัฒนธรรม แต่ทั้งสองฝ่ายก็สามารถยอมรับความแตกต่างของกันและกันได้โดยมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินความคืบหน้าต่อไป ความคิดดังกล่าวเป็นหลักปรัชญาการเมืองของนักปรัชญาการเมืองชาวอังกฤษ จอห์น เอ็น. เกรย์ ในทางการทูต ความตกลงชั่วคราวเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ในการทำความตกลงสากลที่ไม่ว่าจะเป็นข้อตกลงชั่วคราว หรือ ข้อตกลงระยะสั้น ที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นข้อตกลงระหว่างรอการตกลงอย่างถาวร เช่นในการเจรจาต่อรองในรายละเอียดของการทำสนธิสัญญา การตกลงด้วยวิธีดังกล่าวเป็นการตกลงอย่างลำลองซึ่งทำให้ไม่ต้องผ่านกระบวนการอนุมัติอย่างเป็นทางการ โดยทั่วไปแล้วการพักรบและการยอมแพ้มักจะเป็นการตกลงประเภทนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความตกลงชั่วคราว · ดูเพิ่มเติม »

ความตลกขบขัน

การยิ้มอาจจะแสดงอารมณ์ขำ ดังที่เห็นในจิตรกรรมตัวละคร Falstaff ของวิลเลียม เชกสเปียร์ โดย Eduard von Grützner ความตลกขบขัน (humour, humor) เป็นประสบการณ์ทางการรู้คิดที่มักทำให้หัวเราะและสร้างความบันเทิงสนุกสนาน คำจากภาษาอังกฤษมาจากศัพท์ทางการแพทย์ของชาวกรีกโบราณ ซึ่งสอนว่า ความสมดุลของธาตุน้ำต่าง ๆ ในร่างกายที่เรียกในภาษาละติน ว่า humor (แปลว่า ของเหลวในร่างกาย) เป็นตัวควบคุมสุขภาพและอารมณ์ของมนุษย์ มนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกวัฒนธรรมตอบสนองต่อเรื่องขบขัน มนุษย์โดยมากประสบความขำขัน คือรู้สึกบันเทิงใจ ยิ้ม หรือหัวเราะต่ออะไรที่ขำ ๆ และดังนั้น จึงเรียกได้ว่าเป็นคนมีอารมณ์ขำ (คือมี sense of humour) คนสมมุติที่ไม่มีอารมณ์ขำน่าจะพบเหตุการณ์ที่ทำให้ขำว่า อธิบายไม่ได้ แปลก หรือว่าไม่สมเหตุผล แม้ว่าปกติความขำขันจะขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว ขอบเขตที่บุคคลพบว่าอะไรน่าขำจะขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง รวมทั้งอยู่ในภูมิประเทศไหน ในวัฒนธรรมอะไร อายุ ระดับการศึกษา ความเฉลียวฉลาด และพื้นเพหรือบริบท ยกตัวอย่างเช่น เด็กเล็ก ๆ อาจชอบเรื่องตลกที่มีการตีกัน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า slapstick) ดังที่พบในการ์ตูน เช่นรายการ ทอมกับเจอร์รี่ ที่การกระทบกระทั่งทางกายทำให้เด็กเข้าใจได้ เทียบกับเรื่องตลกที่ซับซ้อนกว่า เช่น แบบที่ใช้การล้อเลียนเสียดสี (satire) ซึ่งจำเป็นต้องเข้าใจสถานะทางสังคมและดังนั้น ผู้ใหญ่จะชอบใจมากกว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความตลกขบขัน · ดูเพิ่มเติม »

ความเหนือกว่าเทียม

วามเหนือกว่าเทียม (Illusory superiority) เป็นความเอนเอียงทางประชาน ที่บุคคลประเมินคุณสมบัติหรือความสามารถของตนเทียบกับคนอื่นเกินจริง ซึ่งเห็นได้ชัดในด้านต่าง ๆ รวมทั้งเชาวน์ปัญญา ความสามารถในการทำงานหรือการสอบ หรือการมีคุณลักษณะหรือลักษณะบุคลิกภาพที่น่าชอบใจ เป็นการแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก (positive illusion) ชนิดหนึ่งที่เกี่ยวกับตนเอง เป็นปรากฏการณ์ที่ศึกษากันในสาขาจิตวิทยาสังคม มีคำภาษาอังกฤษอื่น ๆ ที่หมายถึงคำนี้รวมทั้ง above average effect (ปรากฏการณ์เหนือกว่าโดยเฉลี่ย) superiority bias (ความเอนเอียงว่าเหนือกว่า) leniency error (ความผิดพลาดแบบปรานี) sense of relative superiority (ความรู้สึกว่าเหนือกว่าโดยเปรียบเทียบ) หรือภาษาอังกฤษผสมภาษาละตินว่า primus inter pares effect และ Lake Wobegon effect (ปรากฏการณ์ทะเลสาบโวบีกอน) ซึ่งเป็นทะเลสาบในเมืองนวนิยายที่ ๆ "หญิงทั้งหมดแข็งแรง ชายทุกคนรูปหล่อ และเด็กทั้งปวงเหนือกว่าเด็กธรรมดา" ส่วนคำว่า "illusory superiority" ได้ใช้เป็นครั้งแรกโดยนักจิตวิทยาคู่หนึ่งในปี 1991.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความเหนือกว่าเทียม · ดูเพิ่มเติม »

ความเห็นพ้อง

วามเห็นพ้อง, ฉันทานุมัติ หรือ ฉันทามติ (consensus) มาจากภาษาละตินว่า cōnsēnsus หรือ cōnsentiō หมายถึง ความรู้สึกร่วมกัน (feel together) โดยพจนานุกรมฉบับ Merriam-Webster’s ให้ความหมายของ consensus ไว้ว่าเป็นข้อตกลงร่วมกันที่มีลักษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉันท์ (unanimity) หัวใจของความเห็นพ้องมีสาระสำคัญอยู่ที่การประนีประนอมระหว่างกัน และจัดกระบวนการให้คนในสังคมหรือชุมชนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็น เป้าหมายของความเห็นพ้องมีเพื่อเป็นเครื่องรับประกันว่าสมาชิกทุกคนในชุมชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและหาข้อตกลงร่วมกันได้ ความเห็นพ้องมักเชื่อมโยงกับการตัดสินใจ (consensus decision making) ซึ่งหมายถึงกระบวนการตัดสินใจโดยกลุ่มคนที่เน้นความยินยอมและเห็นชอบร่วมกันจากผู้มีส่วนร่วมทุกคน ดังนั้น ความเห็นพ้องในกระบวนการตัดสินใจจึงหมายถึงทางออกแห่งปัญหาซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย ถึงแม้อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุดในใจของคนทุกคน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความเห็นพ้อง · ดูเพิ่มเติม »

ความเจ็บปวด

วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความเจ็บปวด · ดูเพิ่มเติม »

ความเฉื่อย

ความเฉื่อย (inertia) ในทางฟิสิกส์ หมายถึง การต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุใด ๆ หลักการของความเฉื่อยเป็นหนึ่งในหลักการพื้นฐานของฟิสิกส์ดั้งเดิม ซึ่งนำมาอธิบายการเคลื่อนที่ของสสารและผลกระทบที่สสารนั้นได้รับจากแรงที่มากระทำ คำว่า inertia มาจากภาษาละติน iners หมายถึง เฉื่อยชาหรือขี้ กฎของความเฉื่อยอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ากฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน กฎดังกล่าวระบุว่า วัตถุที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ กล่าวคือ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (อัตราเร็วเท่าเดิมและทิศทางเหมือนเดิม) จนกว่าจะมีแรงบางอย่างมากระทำต่อวัตถุอันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วและทิศทาง นี่รวมไปถึงวัตถุที่ยังไม่เคลื่อนที่ด้วย (คือมีความเร็วเท่ากับศูนย์) ก็จะหยุดนิ่งอยู่กับที่จนกว่าจะมีแรงบางอย่างมากระทำต่อวัตถุให้เคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น เมื่อรถยนต์จอดนิ่งไม่เคลื่อนที่ ความเฉื่อยของรถยนต์ต้องมากกว่าแรงที่กระทำต่อรถยนต์เพื่อที่จะให้รถยนต์เคลื่อนที่ เมื่อรถยนต์กำลังเคลื่อนที่ จะต้องเพิ่มแรงกระทำกับรถยนต์มากขึ้น เพื่อให้รถยนต์เคลื่อนที่เร็วมากขึ้น และเมื่อต้องการชะลออัตราเร็วของรถยนต์ แรงเบรกจะต้องมากกว่าความเฉื่อยของรถยนต์ หมวดหมู่:ฟิสิกส์.

ใหม่!!: ภาษาละตินและความเฉื่อย · ดูเพิ่มเติม »

คอมมอนบรัชเทลพอสซัม

อมมอนบรัชเทลพอสซัม (common brushtail possum, silver-gray brushtail possum; -มาจากภาษากรีกแปลว่า "ขนฟู" และภาษาละตินแปลว่า "จิ้งจอกน้อย" เดิมเคยใช้ชื่อสกุลว่า Phalangista) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง จัดว่าเป็นพอสซัมชนิดหนึ่ง มีขนาดลำตัวไล่เลี่ยกับแมวบ้าน มีใบหูชี้แหลมขนาดใหญ่ หน้าแหลม ฟันมีลักษณะคล้ายกับฟันแทะ 4 ซี่ แต่ไม่มีความแหลมคม ขนมีความหนา ฟู และอ่อนนุ่มมาก และมีความหลากหลายของสี ตั้งแต่ สีน้ำตาลทอง, สีน้ำตาล จนถึงสีเทา ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 1.2–4.5 กิโลกรัม ถือได้ว่าใหญ่กว่าตัวเมีย และมีสีเข้มกว่า ตัวเมียมีกระเป๋าหน้าท้องสำหรับเลี้ยงลูกอ่อน ขาหน้ามีนิ้วที่มีเล็บที่มีความแหลมคมมากใช้สำหรับป่ายปีนต้นไม้ ตลอดจนหยิบจับอาหารเข้าปาก ส่วนเท้าหลัง มีนิ้วโป้งที่ไม่มีเล็บ และแยกออกจากอุ้งเท้าไปอยู่อีกข้าง ส่วนหางมีขนฟูเป็นพวงเหมือนแปรง อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ และมีความแข็งแรงมาก ใช้ในการยึดเกาะต้นไม้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคอมมอนบรัชเทลพอสซัม · ดูเพิ่มเติม »

คอร์ก (เมือง)

อร์ก (Cork) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศไอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ที่ปากแม่น้ำลี ตรงก้นอ่าวคอร์ก ห่างจากมหาสมุทรแอตแลนติก 24 กิโลเมตร มีประชากร 119,418 คน ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและคอร์ก (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

คอร์ปัส คาโลซัม

ำภาษาละตินว่า Corpus callosum (แปลว่า ส่วนแข็ง) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า colossal commissure เป็นกลุ่มใยประสาทที่กว้างและแบนใต้เปลือกสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีรก ประเภท eutheria อยู่ที่ร่อง longitudinal fissure (ที่แบ่งสมองออกเป็น 2 ข้าง) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมซีกสมองซ้ายขวาเข้าด้วยกัน และอำนวยให้เขตในสมองทั้งสองซีกสื่อสารกันได้ เป็นส่วนเนื้อขาว (ส่วนในสมองที่โดยมากประกอบด้วยแอกซอน) ที่ใหญ่ที่สุดในสมองมีแอกซอนส่งเชื่อมซีกสมองถึง 200-250 ล้านแอกซอน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคอร์ปัส คาโลซัม · ดูเพิ่มเติม »

คอร์เทกซ์

อร์เทกซ์ (cortex) มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า เปลือก เปลือกไม้ เปลือกผลไม้ เปลือกเนยแข็ง หนังสัตว์ เปลือกหอย แกลบ เปลือกเมล็ด อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคอร์เทกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 330 ถึง ค.ศ. 395; ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ. 395 ถึง ค.ศ. 1204 และระหว่างปี ค.ศ. 1261 ถึง ค.ศ. 1453; ของจักรวรรดิละติน ระหว่างปี ค.ศ. 1204 ถึง ค.ศ. 1261); และของจักรวรรดิออตโตมัน ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

คันทวย

ผังคันทวยไม้ที่ Yingzao Fashi จากตำราการก่อสร้าง คันทวย หรือ ทวย (corbel) คือส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมทำหน้าที่ค้ำยันชายคา ระเบียง หรือ หลังคาของสิ่งก่อสร้าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคันทวย · ดูเพิ่มเติม »

คากูเระคิริชิตัง

แม่พระและพระกุมารตามคติของคากูเระคิริชิตังที่พรางตามอย่างเทพีในพุทธศาสนา รูปปั้นพระแม่มารีย์อำพรางในรูปลักษณ์ของเจ้าแม่กวนอิม คากูเระคิริชิตัง เป็นศัพท์ภาษาญี่ปุ่นสมัยใหม่ที่ใช้อ้างอิงถึงชาวญี่ปุ่นที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอย่างลับ ๆ หลังเกิดเหตุการณ์กบฏชิมาบาระในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1630 ที่เวลาต่อมาความเชื่อของพวกเขาได้พัฒนาต่างออกไปจากเดิมโดยมีการผสานความเชื่อนอกศาสนาเข้ามาเนื่องจากขาดการติดต่อกับโลกภายนอก ปัจจุบันผู้สืบเชื้อสายคากูเระคิริชิตังได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกตามครรลองที่ควรจะเป็น แต่มีคากูเระคิริชิตังบางส่วนยังยึดถือแนวทางการปฏิบัติที่สืบทอดตามอย่างบรรพบุรุษต่อซึ่งถูกเรียกว่า ฮานาเระคิริชิตัง หรือ "คริสตังแปลกแยก" ปัจจุบันเหลืออยู่ในหมู่เกาะโกโต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคากูเระคิริชิตัง · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำประกาศอาร์โบรธ

ำประกาศอาร์โบรธ (Declaration of Arbroath) เป็นคำประกาศเอกราชสกอตแลนด์ ออกใน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและคำประกาศอาร์โบรธ · ดูเพิ่มเติม »

คิวมูโลนิมบัส

วมูโลนิมบัสที่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจน ลักษณะของแท่งทั่งตีเหล็กที่ใช้เปรียบเทียบกับลักษณะของเมฆคิมมูโลนิมบัส คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) มีชื่อเรียกมาจากภาษาละติน cumulus "กองของสิ่งของ" และ nimbus "พายุฝน, เมฆพายุ" คิวมูโลนิมบัส คือ เมฆที่มีลักษณะหนาสูงทึบในแนวตั้ง โดยมีความสัมพันธ์กับ พายุฟ้าคะนอง และ อากาศที่มีลักษณะแปรปรวน ก่อตัวขึ้นจากไอน้ำซึ่งได้รับการนำพาพัดขึ้นด้านบนด้วยกระแสลมแรง สามารถพบได้ในแบบเดี่ยว, รวมเป็นกลุ่ม, หรือ ตามแนวปะทะอากาศเย็น คิวมูโลนิมบัส สามารถทำให้เกิด ฟ้าผ่า หรือ สภาพอากาศที่รุนแรงได้ ยกตัวอย่างเช่น ทำให้เกิดพายุทอร์นาโด อักษรย่อสำหรับ คิวมูโลนิมบัส คือ Cb.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคิวมูโลนิมบัส · ดูเพิ่มเติม »

คิเมียรา

มียรา คิเมียรา (Chimera; Χιμαιρα; ละติน: Chimæra) เป็นสัตว์ในเทพปกรณัมกรีกซึ่งตำนานเล่าว่า เป็นลูกของอีคิดนาและไทฟอน เป็นพี่ชายของเซอร์เบอรัส คิเมียรามีร่างกายกำยำและเป็นที่รวมของสัตว์ร้าย 3 ชนิด คือ ส่วนหัวถึงหน้าอกเป็นสิงโต ลำตัวเป็นแพะ บั้นท้ายเป็นมังกรหรืองู นอกจากนี้ ยังสามารถพ่นไฟได้เหมือนมังกรอีกด้วย คิเมียราถูกวีรบุรุษเบลเลอโรฟอนผู้ขี่ม้าบินเพกาซัสแทงตายด้วยหอก เพราะคิเมียราประกอบด้วยส่วนของสัตว์ร้าย 3 ชนิดที่ไม่น่ารวมกันได้ ปัจจุบันคำว่า คิเมียรา จึงเป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตรูปร่างแปลกประหลาดหลายชนิด เช่น ปลาทะเลน้ำลึกกระดูกอ่อนจำพวกหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคิเมียรา · ดูเพิ่มเติม »

คุณครูจอมเวท เนกิมะ!

ณครูจอมเวท เนกิมะ! (Negima! Magister Negi Magi) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวผจญภัย แต่งเรื่องและวาดภาพโดยเคน อาคามัตสึ โดยเป็นเนื้อเรื่อวเกี่ยวกับตัวละครที่มีชื่อว่า เนกิ สปริงฟิลด์ ที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเวทมนตน์โดยมีคำสั่งให้ไปเป็นเป็นคุณครูสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนสตรีที่ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันกำลังถูกตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็นแม็กกาซีนรายสัปดาห์ในประเทศญี่ปุ่น และในนิตยสาร KC WEEKLY ในประเทศไทย ภาพยนตร์การ์ตูนสำหรับแพร่ภาพทางโทรทัศน์ถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและคุณครูจอมเวท เนกิมะ! · ดูเพิ่มเติม »

คณะภราดาลาซาล

ณะภราดาแห่งโรงเรียนคริสตชน (Institute of the Brothers of the Christian Schools) มักรู้จักกันในนาม คณะภราดาลาซาล (La Salle Brothers) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล ก่อตั้งขึ้น เน้นปฏิบัติงานด้านการจัดการศึกษาแก่เยาวชนและเด็กที่ยากจน ปัจจุบันมีภราดาลาซาลอยู่ประมาณ 5,000 คน ปฏิบัติหน้าที่อยู่ใน 80 ประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคณะภราดาลาซาล · ดูเพิ่มเติม »

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส

ณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส (Missions Étrangères de Paris; M.E.P) เป็นคณะชีวิตแพร่ธรรมของคริสตจักรโรมันคาทอลิก (ไม่ใช่คณะนักบวชคาทอลิก) สมาชิกประกอบด้วยบาทหลวงประจำมุขมณฑลและฆราวาสที่อุทิศตนทำงานเป็นมิชชันนารีในต่างประเทศ คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส · ดูเพิ่มเติม »

คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา

รัฐอธิปไตยทหารออร์เดอร์ออฟมอลตา หรือ คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา (Sovereign Military Order of Malta: SMOM) ย่อว่า ออร์เดอร์ออฟมอลตา หรือ คณะแห่งมอลตา (Order of Malta) ชื่อเต็มว่า คณะฮอสปิทัลเลอร์ทหารองค์อธิปัตย์แห่งนักบุญยอห์นแห่งเยรูซาเลม แห่งโรดส์ และแห่งมอลตา (Sovereign Military Hospitaller Order of Saint John of Jerusalem of Rhodes and of Malta) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกฝ่ายฆราวาสซึ่งตามประเพณีแล้วมีลักษณะเป็นทหาร อัศวิน และขุนนาง เดิมเจอราร์ดผู้รับพร (Blessed Gerard) ก่อตั้งขึ้นเป็นกลุ่มอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) ราว..

ใหม่!!: ภาษาละตินและคณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

คซันโทส

ซันโทส (Ξάνθος; ลิเชีย: Arñna; Ksantos) เป็นเมืองของลิเชียโบราณที่ในปัจจุบันคือเมืองกือนึก (Kınık) ในจังหวัดอันตัลยา ประเทศตุรกี "คซันโทส" ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี ค.ศ. 1988.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคซันโทส · ดูเพิ่มเติม »

คนต่างด้าว

ในทางกฎหมาย คนต่างด้าว เป็นบุคคลในประเทศซึ่งมิใช่พลเมืองของประเทศนั้น โดยมีนิยามและศัพทวิทยาแตกต่างกันอยู่บ้าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคนต่างด้าว · ดูเพิ่มเติม »

คนเลี้ยงผึ้ง

นเลี้ยงผึ้ง คนเลี้ยงผึ้ง คือ ผู้ที่จะคอยดูแลผึ้งงาน โดยคาดหวังถึงผลผลิตต่างๆ ที่เกิดจากบรรดาผึ้ง เช่น น้ำผึ้ง ขี้ผึ้ง เกสรดอกไม้ น้ำที่ผึ้งใช้เลี้ยงตัวอ่อน รวมถึงการผสมพันธุ์เกสรที่เกิดจากผึ้งกับพวกพืชผักและผลไม้ โดยพวกเขาจะเพิ่มจำนวนนางพญาผึ้งและบรรดาผึ้งงานเพื่อขายให้เกษตรกรคนอื่น ๆ ต่อไป หรืออาจทำเพื่อการตอบสมมุติฐานทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งผู้เลี้ยงผึ้ง นั้นอาจจะทำเป็นงานอดิเรกเพื่อหารายได้พิเศษ หรืออาจทำเป็นอาชีพหลัก ซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนผึ้งที่เลี้ยงอยู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและคนเลี้ยงผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ

้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ หรือ ค้างคาวสี (Painted bat, Painted woolly bat) เป็นค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ค้างคาวกินแมลง (Vespertilionidae) เป็นค้างคาวขนาดเล็ก มีขนาดลำตัวและปีกพอ ๆ กับผีเสื้อ มีน้ำหนักประมาณ 10 กรัม ความยาวตลอดปลายปีกประมาณ 15 เซนติเมตร ขนตามลำตัวสีส้มสด ใบหูใหญ่ ปีกมีสีแดงแกมน้ำตาลบางส่วน ส่วนที่เหลือเหมือนค้างคาวทั่วไป ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า "pict" เป็นรากศัพท์ภาษาละติน หมายถึง "ระบายสี" โดยรวมแล้วหมายถึง มีสีสันหลายสีในตัวเดียวกัน ค้นพบครั้งแรกในหมู่เกาะโมลุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตั้งแต่อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, เวียดนาม, ไทย, มาเลเชีย และอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยแล้ว เป็นค้างคาวที่พบได้น้อย แต่สามารถพบได้ทั่วทุกภาค มีพฤติกรรม มักเกาะอาศัยตามยอดใบกล้วยที่ม้วนเป็นหลอดหรือท่อ และจะย้ายไปเรื่อย ๆ เมื่อยอดกล้วยแก่ขยายออกไม่ม้วนเป็นหลอดแล้ว นอกจากนี้ยังพบเกาะตามใบไม้แห้งของต้นไม้, ยอดหญ้าพง, ยอดอ้อ และยอดอ้อย รวมทั้งมีรายงานเกาะตามรังของนกกระจาบธรรมดาตัวผู้ ซึ่งเป็นรูปหยดน้ำแขวนตามกิ่งก้านของต้นไม้ อยู่เป็นคู่หรือโดดเดี่ยว ออกหากินในเวลาเย็น โดยบินต่ำระดับยอดไม้พุ่ม ลักษณะการบินคล้ายผีเสื้อกลางคืนขนาดใหญ่ แต่บินเร็วกว่ามาก อาหารได้แก่แมลงต่าง ๆ โดยเฉพาะแมลงที่มีขนาดเล็ก มีพฤติกรรมจับคู่ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน ค้างคาวตัวผู้และตัวเมียรวมทั้งลูกอ่อนที่เกาะติดอกแม่ถูกจับได้พร้อมกันบนใบตองแห้งในเดือนสิงหาคม เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ภาษาละตินและค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่ง

งูหางกระดิ่ง (Rattlesnakes) เป็นชื่อสามัญของงูพิษจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์งูแมวเซา (Viperidae) จัดอยู่ใน 2 สกุล คือ Crotalus และ Sistrurus ในวงศ์ย่อย Crotalinae (Crotalus มาจากภาษากรีก มีความหมายว่า "Castanet" ส่วนคำว่า Sistrurus นั้นเป็นภาษาละตินที่มีความหมายในภาษากรีกว่า "Tail rattler" และมีความหมายตามรากศัพท์เดิมว่า "เครื่องดนตรี") งูหางกระดิ่ง มีลักษณะเด่น คือ เกล็ดที่ปลายหางที่เป็นสารประกอบเคอราติน ที่เป็นอวัยวะที่สามารถทำให้เกิดเสียงได้ โดยเสียงนั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนถี่ ๆ ของปล้องเกล็ดเป็นข้อ ๆ ที่หาง ซึ่งปล้องเกล็ดนี้พัฒนามาจากเกล็ดหางส่วนปลายนั่นเอง ทุกครั้งที่มีการลอกคราบปล้องเกล็ดนี้ก็จะเพิ่มจำนวนขึ้นด้วย 1 ปล้องต่อการลอกคราบ 1 ครั้ง การลอกคราบนั้นอาจเกิดขึ้นหลายครั้งใน 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับอาหารที่ได้รับและอัตราการเติบโต สำหรับลูกงูที่เกิดใหม่นั้นจะมีปล้องเกล็ดที่หาง 1 ปล้อง ซึ่งยังไม่สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ แต่เมื่อผ่านการลอกคราบครั้งแรกไปแล้วก็สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ การสั่นให้เกิดเสียงนั้นก็เพื่อเป็นการข่มขู่เมื่อพบศัตรูเข้ามาใกล้นั่นเองหน้า 410, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะิจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0 งูหางกระดิ่ง ปัจจุบันพบกว่า 30 ชนิด ทุกชนิดพบได้ในทวีปอเมริกาเหนือจนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก โดยมากจะอาศัยและหากินในที่ ๆ แห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย และหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขึ้นต้นไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยใช้การตรวจจับคลื่นความร้อนจากรังสีอินฟาเรดจากตัวเหยื่อด้วยอวัยวะรับคลื่นความร้อนที่เป็นแอ่งระหว่างช่องเปิดจมูกกับตา เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทำให้มนุษย์ที่ถูกกัดเสียชีวิตได้ สำหรับภูมิภาคอื่นที่ไม่มีงูหางกระดิ่ง แต่ก็มีงูบางชนิดในวงศ์เดีัยวกันนี้ ที่เกล็ดตามลำตัวสามารถเสียดสีทำให้เกิดเสียงดังได้เพื่อขู่ศัตรู เช่น งูพิษเกล็ดเลื่อย (Echis carinatus) ในประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและงูหางกระดิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

งูปล้องฉนวน

งูปล้องฉนวน (Wolf snakes) เป็นงูในสกุล Lycodon (/ไล-โค-ดอน/) จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubrida) มีลักษณะโดยรวมเป็นงูลำตัวเรียว มีความยาวประมาณ 40-60 เซนติเมตร มักมีลายเป็นปล้องสีนํ้าตาลหรือดําสลับขาว ไม่มีพิษ โดยคำว่า Lycodon มาจากภาษากรีกคำว่า "λύκος" (lykos) หมายถึง "หมาป่า" และ "οδόν" (odon) หมายถึง "ฟัน" อันหมายถึง ลักษณะของฟันที่ขากรรไกรและฟันคู่หน้าล่าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและงูปล้องฉนวน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิกคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้ คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับคำภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกูลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และ ภาษาจามที่ใช้พูดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และ ภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้ ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษาละตินและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี หรือตราแผ่นดินของอาณานิคมในมหาสมุทรอินเดียของบริเตน (Coat of arms of the British Indian Ocean Territory) เริ่มใช้เมื่อ ค.ศ. 1990 ในการเฉลิมฉลองครบรอบ 25 ปีของการก่อตั้งเขตปกครองแห่งนี้ ลักษณะของตราประกอบด้วยโล่ซึ่งมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักรอยู่ด้านบนสุด ตอนล่างเป็นพื้นสีน้ำเงิน มีต้นปาล์มและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดอยู่ตรงกลางและมีรูปซีกหนึ่งของดวงอาทิตย์ปรากฏที่มุมซ้ายบนของพื้นสีน้ำเงิน เบื้องล่างสุดของภายในโล่เป็นลายคดคล้ายระลอกคลื่นสีขาว 3 เส้น หมายถึงมหาสมุทรอินเดีย สองข้างของโล่นั้นมีเต่าสองตัวประคองโล่ไว้ โดยด้ายซ้ายนั้นเป็นเต่ากระ (สีน้ำตาล) ด้านขวาเป็นเต่าตนุ (สีเขียว) อันเป็นสัตว์ประจำถิ่น เบื้องบนของโล่เป็นรูปมงกุฎสีเงินและหอคอยสีแดงชักธงประจำดินแดน รูปดังกล่าวทั้งหมดนี้ตั้งอยู่บนพื้นทรายซึ่งมีโขดหินและเปลือกหอยชนิดต่างๆ ที่เบื้องล่างของดวงตรามีแพรแถบบรรจุคำขวัญประจำดินแดนเป็นภาษาละตินว่า In tutela nostra Limuria ความหมายของคำขวัญคือ "ลีมูเรีย (Limuria) อยู่ในความครอบครองของเรา" คำว่า "ลีมูเรีย" ในที่นี้ หมายถึงทวีปที่สาบสูญซึ่งเชื่อกันว่าตั้งอยู่ในพื้นที่มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสเปน

ตราแผ่นดินของสเปน (Coat of arms of Spain) เป็นตราอาร์มของประเทศสเปนที่ได้รับการอนุมัติให้ใช้ได้ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1981 แทนที่ตราชั่วคราว เป็นตราที่นำมาใช้แทนตราของรัฐสเปน (ภายใต้การปกครองของจอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก) ตราแผ่นดินปรากฏบนธงชาติสเปน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด มีลักษณะเป็นตราอาร์มในพื้นวงกลมสีฟ้า ภายในโล่แบ่งเป็น 4 ส่วน โดยมุมซ้ายบนเป็นพื้นสีแดง มุมขวาบนพื้นสีเหลือง มุมซ้ายล่างพื้นสีเขียว และมุมขวาล่างพื้นสีเทา รอบวงกลมสีฟ้านั้นล้อมรอบด้วยหนังรัดถุงเท้ายาวในเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ ในแถบหนังรัดถุงเท้ายาวมีข้อความอยู่ด้านบนสุด เขียนเป็นภาษาอังกฤษ อักษรโรมันว่า "GOVERNOR-IN-CHIEF" ด้านซ้ายของข้อความดังกล่าวมีอักษร "WINDWARD" ส่วนด้านขวาเป็นอักษร "ISLANDS" เบื้องล่างของตราเป็นแพรแถบสีขาว จารึกข้อความอักษรโรมัน ภาษาลาตินไว้ว่า "I PEDE FAUSTO" (แปลว่า "Go with a lucky foot") รูปดังกล่าวทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้มงกุฎราชินี มงกุฎราชินีที่ปรากฏในตรานี้ เดิมใช้ใช้มงกุฎอิมพีเรียลสเตตเมื่อ พ.ศ. 2429 ต่อมาจึงเปลี่ยนป็นใช้มงกุฎทิวดอร์เมื่อ พ.ศ. 2446.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นตราอาร์มประจำหมู่เกาะบริติชเวอร์จินซึ่งประกาศใช้โดยพระบรมราชานุญาตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) มีลักษณะเป็นตราโล่อาร์มพื้นสีเขียว ภายในเป็นรูปหญิงพรหมจารีย์นุ่งผ้าสีขาวยืนถือตะเกียง 1 ดวง ล้อมรอบด้วยตะเกียงอื่นอีก 11 ดวง เบื้องล่างของโล่มีแพรแถบสีเหลืองจารึกคำขวัญเป็นภาษาละตินใจความ "VIGILATE" แปลว่า "จงตื่นตัวเสมอ" รูปหญิงพรหมจารีย์ถือตะเกียงและและตะเกียงทั้ง 11 ดวง หมายถึงนักบุญอูร์ซุลลา (Saint Ursula) ซึ่งเป็นนักบุญหญิงในคริสต์ศาสนา ซึ่งกล่าวกันว่าได้นำหญิงพรหมจารี 11,000 คน จาริกแสวงบุญไปทั่วทวีปยุโรป กล่าวกันว่าเมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ได้พบหมู่เกาะแห่งนี้ในปี ค.ศ. 1493 ทำให้โคลัมบัสนึกถึงตำนานของนักบุญอูร์ซุลลาข้างต้น และกลายเป็นต้นเหตุแห่งนามหมู่เกาะนี้ในปัจจุบัน จากเรื่องราวดังกล่าว ทางการสหราชอาณาจักรจึงได้เลือกเอารูปดังกล่าวมาใช้เป็นตราแผ่นดินประจำอาณานิคม ดังที่ปรากฏอยู่ในเวลานี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอันดอร์รา

ตราแผ่นดินของอันดอร์รา เริ่มใช้เมื่อ..2512 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของอันดอร์รา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของซานมารีโน

ตราแผ่นดินของซานมารีโน เริ่มใช้เมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของซานมารีโน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของโมนาโก

ตราแผ่นดินของโมนาโก ไม่ปรากฏปีที่ใช้ตราปัจจุบัน มีส่วนประกอบต่อไปนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเบลีซ

ตราแผ่นดินของเบลีซ ประกอบด้วยรูปโล่ซึ่งภายในแบ่งเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วยภาพขวานและไม้พายไขว้ในพื้นสีขาวที่ช่องซ้ายบน รูปขวานกับเลื่อยไขว้กันในพื้นสีเหลืองที่ช่องขวาบน และภาพเรือใบแล่นในทะเลบนพื้นสีฟ้าช่องล่างกลาง เบื้องหลังโล่นี้มีภาพต้นมะฮอกกานี เบื้องซ้ายของโล่เป็นภาพคนงานผิวเหลืองแบกขวาน เบื้องขวาเป็นรูปคนงานผิวดำแบกพาย ทั้งสองคนนี้ยืนประคองรูปโล่ เบื้องล่างของภาพทั้งหมดมีคำขวัญประจำชาติในแพรแถบสีขาว เป็นข้อความภาษาละตินใจความว่า "Sub Umbra Floreo" (อันอาจแปลได้ว่า "เราเจริญขึ้นภายใต้ร่มเงา") ภาพทั้งหมดมีความหมายถึงอุตสาหกรรมไม้มะฮอกกานี ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของชาติ ตรานี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2450.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตราแผ่นดินของเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ตอร์ปิโด

ตอร์ปิโดของเยอรมัน ค.ศ. 1900 ตอร์ปิโด (torpedo) (หรือในอดีตเรียกว่า automotive, automobile, locomotive, หรือ fish torpedo; ภาษาพูดเรียก "fish") คืออาวุธยิงบรรจุระเบิดที่ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง ปล่อยเหนือหรือใต้ผิวน้ำ และขับเคลื่อนใต้น้ำเข้าหาเป้าหมาย ออกแบบให้ระเบิดเมื่อสัมผัสหรือเข้าใกล้เป้าหมาย เดิมคำว่าตอร์ปิโดใช้เรียกอุปกรณ์ที่หลากหลายแต่ส่วนมากใช้เรียกสิ่งที่ปัจจุบันเรียกว่าทุ่นระเบิด จากประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและตอร์ปิโด · ดูเพิ่มเติม »

ตะกร้าเกสร

ผึ้งชนิด ''Apis mellifera'' เก็บเกสรกลับรัง ตะกร้าเกสรที่ขาหลังของผึ้ง ตะกร้าเกสร (pollen basket, corbicula) เป็นโพรงที่ปกคลุมด้วยขนเล็ก ๆ อยู่ที่ขาคู่หลังท่อนล่าง ซึ่งผึ้งในวงศ์ย่อย Apinae ใช้เป็นที่เก็บเกสรดอกไม้กลับไปที่รัง ส่วนผึ้งชนิดอื่นจะมีส่วนที่เรียกว่า scopa ซึ่งใช้เก็บเกสรเช่นกัน แต่จะมีลักษณะเป็นกลุ่มขนแทน คำว่า "ตะกร้าเกสร" เริ่มใช้ครั้งแรกในสารานุกรมบริตานิก..

ใหม่!!: ภาษาละตินและตะกร้าเกสร · ดูเพิ่มเติม »

ตัวคูณตัวเลข IUPAC

ตัวคูณของ IUPAC (IUPAC numerical multiplier) เป็นส่วนหนึ่งของระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC ซึ่งทำหน้าที่บอกให้เราทราบถึงจำนวนของอะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันที่ต่ออยู่กับจุดใดจุดหนึ่งในโมเลกุล โดยที่ตัวคูณได้ดัดแปลงจากจำนวนนับทั้งในภาษาละตินและภาษากรีก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตัวคูณตัวเลข IUPAC · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเขียน

ดีนีเลียน ตัวเขียน (cursive) มาจากภาษาละติน (cursivus) แปลว่า การไหล หมายถึงรูปแบบการเขียนด้วยลายมือชนิดใดชนิดหนึ่ง ถูกออกแบบขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนจดหมายหรือจดบันทึกอย่างรวดเร็ว ตัวเขียนของอักษรละติน อักษรซีริลลิก และอักษรอาหรับ เป็นต้น ตัวอักษรจะเชื่อมติดกันเป็นคำ ทำให้คำหนึ่ง ๆ ถูกเขียนด้วยเส้นเดียวแต่ซับซ้อน หมวดหมู่:การเขียน หมวดหมู่:อักษรวิจิตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตัวเขียน · ดูเพิ่มเติม »

ตากิตุส

ปูบลิอุส (หรือ กาอิอุส) กอร์เนลิอุส ตากิตุส (Pvblivs (Gaivs) Cornelivs Tacitvs; ประมาณ ค.ศ. 56 - ค.ศ. 117) เป็นชาวโรมันและนักประวัติศาสตร์ของจักรวรรดิโรมันผู้บันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสมัยโรมัน อาทิ เหตุการณ์ระเบิดของภูเขาไฟวิสุเวียส ตากิตุสเป็นหนึ่งในนักประวัติศาสตร์ของโรมที่โด่งดัง โดยบันทึกต่าง ๆ ของเขาเป็นภาษาละติน หมวดหมู่:นักเขียนชาวโรมัน หมวดหมู่:นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตากิตุส · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม

ตุลาคม เป็นเดือนที่ 10 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนตุลาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีตุล และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพิจิก แต่ในทางดาราศาสตร์ เดือนตุลาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาวและไปอยู่ในกลุ่มดาวคันชั่งตอนต้นเดือนพฤศจิกายน เดือนตุลาคมในภาษาอังกฤษ October มาจากภาษาละติน octo เนื่องจากเป็นเดือนที่ 8 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนตุลาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ต้นฝิ่น

ต้นฝิ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papaver somniferum L. เป็นดอกป๊อปปี้พันธุ์หนึ่ง ในวงศ์ Papaveraceae ชื่อสกุล Papaver เป็นชื่อภาษาละตินสำหรับเรียกพืชที่เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า Opium poppy ส่วนชื่อชนิด somniferum แปลว่า ทำให้นอนหลั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและต้นฝิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฉบับพระเจ้าเจมส์

ฉบับพระเจ้าเจมส์ (King James Version: KJV) หรือ ไบเบิลพระเจ้าเจมส์ (King James Bible: KJB) หรือ ฉบับอนุมัติ (Authorized Version: AV) เป็นฉบับแปลภาษาอังกฤษของคัมภีร์ไบเบิลในคริสต์ศาสนา จัดทำขึ้นสำหรับคริสตจักรอังกฤษ เริ่มดำเนินการใน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและฉบับพระเจ้าเจมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซังตูส

ซังตูส (Santos) เป็นเมืองในรัฐเซาเปาลู ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและซังตูส · ดูเพิ่มเติม »

ซันตามาริอาดัลมาร์ (บาร์เซโลนา)

ซันตามาริอาดัลมาร์ (Santa Maria del Mar) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ในแขวงลาริเบราของเมืองบาร์เซโลนา ในประเทศสเปน ซันตามาริอาดัลมาร์เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่สร้างระหว่างปี ค.ศ. 1329 ถึงปี ค.ศ. 1383 ระหว่างยุคอันรุ่งเรืองทางการเดินเรือและการค้าทางทะเลของกาตาลุญญา สถาปัตยกรรมเป็นแบบอันเป็นเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมกอทิกแบบกาตาลาที่แสดงความกลมกลืนอันเห็นได้ยากในสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ของยุคกลางCirici, Alexandre.

ใหม่!!: ภาษาละตินและซันตามาริอาดัลมาร์ (บาร์เซโลนา) · ดูเพิ่มเติม »

ซาบา

ซาบา (Saba) เป็นเกาะแห่งหนึ่งในหมู่เกาะลีเวิร์ดในทะเลแคริบเบียน และเป็นเทศบาลรูปแบบพิเศษ (เรียกอย่างเป็นทางการว่า "ทบวงการเมือง") ที่เล็กที่สุดของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตัวเกาะส่วนใหญ่ประกอบขึ้นจากเมานต์ซีเนอรี (Mount Scenery) ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่อาจยังมีพลัง ด้วยความสูง 887 เมตร ภูเขาลูกนี้จึงเป็นจุดที่สูงที่สุดในราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เกาะซาบารวมกับเกาะกรีนมีสถานภาพเป็นเทศบาลรูปแบบพิเศษในประเทศเนเธอร์แลนด์หลังจากที่ดินแดนเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสถูกยุบเลิกเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและซาบา · ดูเพิ่มเติม »

ซาราห์ ไบรท์แมน

ซาราห์ ไบรท์แมน เป็นนักร้องเสียงโซปราโน นักแสดง นักแต่งเพลง และนักเต้นชาวอังกฤษ มีความสามารถในการร้องเพลงหลายภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส ละติน เยอรมัน อิตาลี รัสเซีย ฮินดี และแมนดาริน เป็นนักร้องเสียงโซปราโนที่มียอดขายผลงานมากที่สุด ถึง 30 ล้านอัลบัม และ2 ล้านแผ่นดีวีดี ไบรท์แมนมีชื่อเสียงจากบทบาท "คริสทีน" จากละครเพลง เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า ฉบับปี 1984 ของแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ ที่เขาเขียนบทบาทนี้เป็นพิเศษสำหรับเธอ เวบเบอร์ถึงกับปฏิเสธไม่ยินยอมให้ละครเพลงเรื่องนี้ไปจัดแสดงที่โรงละครบรอดเวย์ หากไบร์ทแมนไม่ได้รับบทคริสทีน ไบร์ทแมนพบกับแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและซาราห์ ไบรท์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ซานเตียโกเดกอมโปสเตลา

ซานเตียโกเดกอมโปสเตลา (Santiago de Compostela) หรือ ซานเตียโก เป็นเมืองหลักของแคว้นปกครองตนเองกาลิเซีย ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปนในจังหวัดอาโกรุญญา ปัจจุบัน (ค.ศ. 2007) มีประชากร 92,919 คน เมืองนี้เคยได้รับการประกาศให้เป็นเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปประจำปี ค.ศ. 2000 อาสนวิหารซานเตียโกเดกอมโปสเตลาซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์ของเมืองนี้ยังเป็นจุดหมายปลายทางของเส้นทางจาริกแสวงบุญสำคัญที่มีมาตั้งแต่สมัยกลางอีกด้วย นั่นคือ เส้นทางนักบุญเจมส์ (Way of St. James; ภาษากาลิเซีย: Camiño de Santiago) สันนิษฐานว่าอนารยชนเยอรมันพวกซูเอบีเป็นผู้ตั้งเมืองซานเตียโกเดกอมโปสเตลาขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 หรือต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนที่มาของชื่อเมืองนั้นยังไม่แน่ชัด แต่เชื่อกันว่า "Compostela" นี้มาจากคำในภาษาละตินว่า campus stellae (แปลว่า "ท้องทุ่งแห่งดวงดาว") ดังนั้น "Santiago de Compostela" จึงมีความหมายว่า "นักบุญเจมส์ในท้องทุ่งแห่งดวงดาว" มาจากความเชื่อที่ว่ากระดูกของนักบุญเจมส์นั้นถูกส่งมาจากตะวันออกกลางสู่สเปน ต่อมากระดูกเหล่านี้ก็ถูกฝังในที่ซึ่งกลายเป็นมหาวิหารซานเตียโกเดกอมโปสเตลาทุกวันนี้ นอกจากนี้ยังมีความเชื่อว่าชื่อเมืองนี้มาจากคำอื่น ๆ อีก เช่น Composita Tella แปลว่า "พื้นที่ฝังศพ" เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและซานเตียโกเดกอมโปสเตลา · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)

รงละคร Neue Musik-Festhalle สถานที่แสดงรอบปฐมทัศน์ ภาพนี้ถ่ายขึ้นในวันซ้อมใหญ่ก่อนการแสดงจริง กระท่อมที่มาห์เลอร์ใช้เป็นสถานที่ประพันธ์แต่งซิมโฟนีหมายเลข 8 ในปี 1906 ซิมโฟนีหมายเลข 8 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ ผลงานของกุสตาฟ มาห์เลอร์ เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับการร้องประสานเสียงประกอบดนตรีจากวงออร์เคสตรา เป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกระดับใหญ่ที่ต้องใช้กลุ่มเครื่องดนตรี และนักร้องประสานเสียงจำนวนมากที่สุด จนบางครั้งมีผู้เรียกซิมโฟนีบทนี้ว่า "ซิมโฟนีของคนนับพัน" (Symphony of a Thousand, หมายความว่า ต้องใช้นักดนตรีและนักร้องประสานเสียงถึงหนึ่งพันคนในการแสดง) โดยตัวมาห์เลอร์เองก็ไม่ได้โต้แย้งใดๆ ที่มีคนเรียกซิมโฟนีบทนี้เช่นนั้น มาห์เลอร์ประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ในช่วงฤดูร้อนของปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) · ดูเพิ่มเติม »

ซิลเวอร์ไนเตรต

ซิลเวอร์ไนเตรต (silver nitrate) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ AgNO3 ลักษณะเป็นผลึกของแข็งไม่มีสีถึงขาว ไม่มีกลิ่น เป็นสารตั้งต้นของสารประกอบเงินหลายชนิด ซิลเวอร์ไนเตรตใช้ในงานหลายประเภท เช่น ทางการแพทย์ งานถ่ายภาพ การย้อมสี การเคลือบเงินและการทำกระจก ในศตวรรษที่ 13 อัลแบร์ตุส มาญุสเคยบันทึกว่ากรดไนตริกสามารถละลายธาตุเงิน และสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทำให้ผิวดำได้ ครั้งหนึ่งนักเล่นแร่แปรธาตุเคยเรียกซิลเวอร์ไนเตรตว่า lunar caustic เพราะเชื่อว่าธาตุเงินเกี่ยวข้องกับดวงจันทร์ (lunar ในภาษาละตินแปลว่า ดวงจันทร์) ซิลเวอร์ไนเตรตเตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างธาตุเงินกับกรดไนตริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิลเวอร์ไนเตรต น้ำและออกไซด์ของไนโตรเจนตามสมการ: ปฏิกิริยาดังกล่าวต้องทำในตู้ดูดควันเนื่องจากไนโตรเจนไดออกไซด์เป็นก๊าซพิษ ซิลเวอร์ไนเตรตเป็นตัวออกซิไดซ์ จึงควรเก็บแยกกับสารอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กัดกร่อนและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม หากร่างกายได้รับสารประกอบเงินอาจก่อให้เกิดภาวะอาร์จีเรีย (argyria) ซึ่งจะทำให้สีผิวเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสีน้ำเงินหรือน้ำเงินเท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและซิลเวอร์ไนเตรต · ดูเพิ่มเติม »

ซิทรูลีน

ซิทรูลีน (Citrulline) เป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง ชื่อของสารนี้มาจากภาษาละติน citrullusหมายถึง แตงโม ซึ่งกรดอะมิโนนี้พบครั้งแรกในแตงโมเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและซิทรูลีน · ดูเพิ่มเติม »

ซินซินแนติ

ซินซินแนติ (Cincinnati) เป็นเมืองสำคัญอีกเมืองของรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซินซินแนติยังเป็นที่ตั้งของสนามเบสบอลชื่อดังของอเมริกาอย่าง cincinnati reds stadium มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยซินซินแนต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและซินซินแนติ · ดูเพิ่มเติม »

ซีควินท์

ซีควินท์ เป็นวงบอยแบนด์สัญชาติไทย ประกอบด้วยสมาชิก ฟลุค - จิระ ด่านบวรเกียรติ, เบสท์ - นัฐพล วีระอนันตวัฒน์, แบงค์ - วีระชัย ลีฬหาทร, พิชญ์ - พิชญ์ กาไชย และ โยชิ - นิมิต มนัสพล ซึ่งใช้เวลาฝึกซ้อมและทำงานก่อนที่จะออกผลงานชุดแรก 2 ปี จึงได้ผลงานชุด ซีควินท์ ในปี 2008 คำว่า ซีควินท์ (C-Quint) คือตัวอักษร C ย่อมาจากบุคลิกลักษณะของพวกเขา ฟลุค คือ Chief (ความเป็นผู้นำสูง), เบสท์ เป็น Cheer (ชอบเล่นกีฬาและมีความร่าเริงสดใส), แบงค์ คือ Chic (แฟชั่น เสื้อผ้า), พิชญ์ เป็น Cool (ใช้ชีวิตและความรอบรู้ในหลายด้าน) และโยชิ คือ Charm (คุยเก่ง ยิ้มง่าย และเข้ากับทุกคน) ส่วนคำว่า Quint มาจาก quinto ในภาษาละติน แปลว่า 5 เปิดตัวด้วยเพลงเร็วที่ชื่อ "ต่อให้โลกหยุดหมุน" จังหวะแบตเทิลบีต และต่อด้วยเพลงช้า "หน้าไม่อาย" ต่อมาในปี 2009 เบสท์ได้ประกาศลาออกจากวงซีควินท์ ทำให้ซีควินท์เหลือ 4 คน และในปีเดียวกันนั้น ได้ออกอัลบั้มชุดที่ 2 มีชื่อว่า "Hybrid" มีเพลงเร็วคือ "Play Girl" และเพลงช้าอย่าง "อาการนอกใจ" และ "ฉันดีไม่พอ (ใช่ไหม)" ต่อมาปี 2012 ได้มีผลงานเพลง รวมศิลปิน Turn Me On รักไม่ยาก: 9MC YAAK ซึ่งมี (โยชิ - พิชญ์ - กราฟ - ปั้นจั่น - บิ๊ก - โด่ง - จูน - แพน - แอปเปิ้ล).

ใหม่!!: ภาษาละตินและซีควินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ซ่อนกลิ่น

ซ่อนกลิ่น มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมไกล หรือ หอมไก๋ (ภาคเหนือ) ดอกเข่า (ภาคอีสาน)เป็นพรรณไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ประเภทพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีดอกสีขาว กลิ่นหอม มีหัวอยู่ใต้ดิน อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ส่วนชื่อสามัญคือ Tuberose มาจากภาษาละติน tuberosa มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ มักขึ้นได้ดีในดินที่ระบายน้ำได้สะดวก สารสกัดของพืชชนิดนี้ใช้เป็นเครื่องหอมมาตั้งแต่สมัยโบราณ หมวดหมู่:วงศ์ย่อยศรนารายณ์ หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและซ่อนกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินก่อนเกรโกเรียน

ปฏิทินก่อนเกรโกเรียน เป็นการต่อปฏิทินเกรโกเรียนย้อนหลังไปในอดีตก่อนการใช้ปฏิทินเกรโกเรียนอย่างเป็นทางการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและปฏิทินก่อนเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินฮิจเราะห์

ปฏิทินฮิจเราะห์ หรือ ปฏิทินอิสลาม หรือ ปฏิทินมุสลิม (อังกฤษ: Islamic calendar) เป็นระบบปฏิทินจันทรคติ ซึ่งประกอบด้วย 12 เดือนทางจันทรคติ ซึ่งในหนึ่งปีจะมี 354 หรือ 355 วัน ใช้กำหนดวันเหตุการณ์ในหลายประเทศมุสลิม (ควบคู่ไปกับปฏิทินเกรโกเรียน) และใช้โดยมุสลิมทั่วโลกเพื่อกำหนดวันที่เหมาะสมในการเฉลิมฉลองวันสำคัญและเทศกาลในศาสนาอิสลาม ปฏิทินฮิจเราะห์เริ่มนับเมื่อศาสดาแห่งอิสลาม นบีมุฮัมมัดอพยพจากมักกะฮ์ไปยังมะดีนะฮ์ หรือที่รู้จักกันว่า hijra, hijrah ในภาษาอังกฤษ ฮิจเราะห์ศักราชจะถูกระบุโดยใช้ตัวย่อ H หรือ AH อันเป็นตัวย่อของวลีภาษาละติน anno Hegirae (ในปีแห่งฮิจเราะห์) ปัจจุบันอยู่ในฮิจเราะห์ศักราช เนื่องจากปฏิทินฮิจเราะห์เป็นปฏิทินจันทรคติ จึงไม่เกิดขึ้นพร้อมกับฤดูกาล โดยในแต่ละปีมีวันคาดเคลื่อนไปจากปฏิทินเกรโกเรียนอยู่ 11 หรือ 12 วัน ทำให้ฤดูกาลจะกลับมาซ้ำเดิมทุก 33 ปีอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปฏิทินฮิจเราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชาน

ประชาน หรือ ปริชาน หรือ การรับรู้ (Cognition) เป็น "การกระทำหรือกระบวนการทางใจเพื่อให้ได้ความรู้ความเข้าใจผ่านความคิด ประสบการณ์ และประสาทสัมผัส" ซึ่งรวมกระบวนการต่าง ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประชาน · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขในนาม

ประมุขในนาม (อังกฤษ: Titular ruler) คือบุคคลที่มีตำแหน่งผู้นำอย่างเป็นทางการเพียงเล็กน้อย หรือมีอำนาจจริงบ้าง บางครั้งบุคคลนั้นอาจจะอยู่ในตำแหน่งผู้นำเพียงในนาม แต่ก็ยังใช้อำนาจเกินกว่าปกติ ซึ่งเป็นผลมาจากบุคลิกภาพและประสบการณ์ของบุคคลเหล่านั้น ประมุขในนามไม่ได้ถูกจำกัดอยู่เพียงแค่ผู้นำทางการเมือง แต่ยังหมายถึงองค์กรอื่นใด เช่น บรรษัท ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประมุขในนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อานาโตเลีย

ประวัติศาสตร์อานาโตเลียกล่าวถึงดินแดนที่เรียกว่าอานาโตเลียหรือเอเชียไมเนอร์ ซึ่งเป็นดินแดนทางตะวันตกของทวีปเอเชีย ในทางภูมิศาสตร์หมายถึงดินแดนส่วนใหญ่ของประเทศตุรกีในปัจจุบัน จากทะเลอีเจียนซึ่งเป็นขอบเขตทางตะวันตกจนถึงภูเขาชายแดนประเทศอาร์มีเนียทางตะวันออก และเทือกเขาทะเลดำทางเหนือจนถึงเทือกเขาเทารัสทางใต้ โดยสภาพทางภูมิศาสตร์ อานาโตเลียเป็นเสมือนสะพานที่เชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชียตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเส้นทางสำหรับการเดินทางไปมาระหว่างยุโรปและเอเชีย ตลอดระยะเวลากว่า 4 ถึง 5,000 ปีที่ผ่านมา มีชนหลายเผ่าพันธุ์เดินทางเข้ามายังอานาโตเลียและได้ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนของตนบนดินแดนแห่งนี้ อาณาจักรของชนเหล่านี้ได้พัฒนาเจริญรุ่งเรืองและในที่สุดก็ต้องล่มสลายไปตามกาลเวลา ความเก่าแก่และหลากหลายของอารยธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรืองบนผืนแผ่นดินแห่งนี้เป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีมีความภาคภูมิใจเป็นพิเศษสำหรับดินแดนอันเป็นประเทศตนในปัจจุบัน ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ราบสูงอานาโตเลียเคยเป็นที่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคหิน ยุคประวัติศาสตร์ของอานาโตเลียเริ่มต้นขึ้นในยุคโลหะ ประมาณ 3,000 - 1,200 ก่อนคริสตกาล หากมองย้อนหลังไปในยุคดังกล่าวกลับมาจนถึงยุคปัจจุบันจะพบว่าอานาโตเลียมีลักษณะพิเศษที่ไม่เหมือนดินแดนอื่นใดในโลกคือ เป็นดินแดนที่มีอารยธรรมที่เก่าแก่และหลากหลายของชนหลายกลุ่มซึ่งได้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองดินแดนแห่งนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประวัติศาสตร์อานาโตเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์คริสตจักรของชาวอังกฤษ

ประวัติศาสตร์คริสตจักรของชนอังกฤษ (Historia ecclesiastica gentis Anglorum; Ecclesiastical History of the English People) เป็นวรรณกรรมที่เขียนในภาษาละตินโดยนักบุญบีดเกี่ยวกับประวัติศาสตร์คริสตจักรในอังกฤษและประวัติศาสตร์อังกฤษโดยทั่วไป หนังสือเน้นความขัดแย้งระหว่างคริสตจักรโรมันคาทอลิก และศาสนาคริสต์แบบเคลต์ (Celtic Christianity) หนังสือเล่มนี้ถือกันว่าเป็นหนังสือที่สำคัญที่สุดที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์ของแองโกล-แซ็กซอน ที่เชื่อกันว่าเขียนเสร็จในปี ค.ศ. 731 เมื่อนักบุญบีดมีอายุราว 60 ปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประวัติศาสตร์คริสตจักรของชาวอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอริเชียส

มอริเชียส (Mauritius) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) คือประเทศที่เป็นเกาะนอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ ประมาณ 900 กิโลเมตร (560 ไมล์) และทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 3,943 กิโลเมตร (2,450 ไมล์) นอกจากตัวเกาะมอริเชียสแล้ว สาธารณรัฐมอริเชียสประกอบด้วยเกาะเซนต์แบรนดอน เกาะรอดรีกส์ และหมู่เกาะอากาเลกา มอริเชียสเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแมสการีน มีเกาะเรอูนียงของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร (125 ไมล์).

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศมอริเชียส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอันดอร์รา

อันดอร์รา (Andorra) หรือ ราชรัฐอันดอร์รา (Principat d'Andorra) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีพื้นที่ขนาดเล็ก อยู่ในทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป อยู่ในเทือกเขาพิเรนีสทางตะวันออก มีอาณาเขตติดกับประเทศฝรั่งเศสและสเปน เดิมเคยเป็นประเทศอยู่โดดเดี่ยว ปัจจุบันอันดอร์รานับเป็นประเทศที่มั่งคั่งประเทศหนึ่ง โดยมีรายได้หลักจากการท่องเที่ยว และยังเป็นประเทศที่มีการเก็บภาษีที่ต่ำมากด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศอันดอร์รา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศดอมินีกา

อมินีกา (Dominica) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐดอมินีกา (Commonwealth of Dominica) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่อยู่ในทะเลแคริบเบียน ในภาษาละติน ชื่อนี้หมายถึง "วันอาทิตย์" ซึ่งเป็นวันที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบเกาะนี้ ดอมินีกามีกรุงโรโซ (Roseau) เป็นเมืองหลวง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศดอมินีกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูรินาม

ซูรินาม (Suriname, Surinam,; Suriname,, ซือรีนาเมอ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐซูรินาม (Republic of Suriname; Republiek Suriname) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ดัตช์เกียนา" เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างเฟรนช์เกียนาทางทิศตะวันออกกับกายอานาทางทิศตะวันตก เขตแดนทางทิศใต้ติดต่อกับบราซิล ส่วนทางเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ทางใต้สุดของประเทศกำลังเป็นกรณีพิพาทกับกายอานาและเฟรนช์เกียน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศซูรินาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามา

ปานามา (Panamá) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐปานามา (República de Panamá) เป็นประเทศที่อยู่ทางใต้สุดของอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศคอสตาริกาทางทิศตะวันตก และจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศปานามา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมนาโก

ราชรัฐโมนาโก (Principauté de Monaco) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โมนาโก (Monaco มอนาโก) เป็นนครรัฐในยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศเอกราชที่เล็กที่สุดเป็นอันดับสองของโลก แต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลีซ

ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซเชลส์

ประเทศเซเชลส์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซเชลส์ (Republic of Seychelles; République des Seychelles; ครีโอลเซเชลส์: Repiblik Sesel) เป็นประเทศที่เป็นกลุ่มเกาะ ประกอบด้วยเกาะ 115 เกาะในมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงคือกรุงวิกตอเรีย อยู่ห่างจากชายฝั่งของทวีปแอฟริกาทางตะวันออก 1,500 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมาดากัสการ์ หมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ทางทิศใต้ ได้แก่ มอริเชียส ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ คอโมโรสและมายอต และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ มัลดีฟส์ มีเกาะหลักคือ เกาะมาเฮ ประเทศเซเชลล์มีจำนวนประชากรประมาณ 92,000 คน ถูกจัดให้เป็นประเทศเอกราชที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่น้อยที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยประเทศเซเชลส์ได้รับการยอมรับให้เป็นหนึ่งในสมาชิกของสหประชาชาติและสหภาพแอฟริกา รวมถึงเป็นสมาชิกของกลุ่มประชาคมเพื่อการพัฒนาภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (The Southern African Development Community (SADC)) และยังเป็นหนึ่งในเครือจักรภพแห่งประชาชาต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและประเทศเซเชลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัศนี

ปรัศนี หรือ เครื่องหมายคำถาม หรือ เครื่องหมายสงสัย (question mark) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะตล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง มีการใช้ดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปรัศนี · ดูเพิ่มเติม »

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ. 1992 องค์การยูเนสโก ได้ประกาศให้ปรากเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปราก · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาเอก

ปริญญาเอก (doctorate) เป็นปริญญาวิชาการหรือวิชาชีพซึ่งในประเทศส่วนใหญ่ให้ผู้ถือมีคุณสมบัติสอนในระดับมหาวิทยาลัยในสาขาเฉพาะของปริญญานั้น หรือทำงานในวิชาชีพเฉพาะ ในบางประเทศ ปริญญาสูงสุดในสาขาหนึ่ง ๆ เรียก ปริญญาสูงสุด (terminal degree) คำว่า "doctorate" มาจากภาษาละติน docere หมายถึง "สอน".

ใหม่!!: ภาษาละตินและปริญญาเอก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบาร์บ

ปลาบาร์บ (Barb) เป็นชื่อสามัญของปลาน้ำจืดหลายชนิด ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสกุล Barbus และPuntius โดยในอดีตถูกเรียกรวมกันในวงศ์ย่อย Barbinae โดยที่อาจมีบางวงศ์ย่อยได้ถูกยกให้ออกไปเป็นวงศ์ต่างหาก เช่น Labeoninae และปลาขนาดเล็กหลายชนิดในทวีปแอฟริกาอาจได้รับการจำแนกออกเป็นวงศ์ย่อยใหม่ รากศัพท์คำว่า "barb" เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกปลาทั่วไปในวงศ์ปลาตะเพียนในภาษายุโรป มาจากภาษาละตินคำว่า barba ที่แปลว่า "เครา" หรือ "หนวด" โดยอ้างอิงมาจากหนวดของปลาที่ปรากฏอยู่ที่มุมปากในหลายชน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาบาร์บ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพาราไดซ์ (สกุล)

ปลาพาราไดซ์ หรือ ปลาสวรรค์ (Paradise fishes, Paradise gouramis) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Macropodinae และอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae ใช้ชื่อสกุลว่า Macropodus (/แม็ค-โคร-โพ-ดัส/).

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาพาราไดซ์ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระสูบจุด

ปลากระสูบจุด (Eye-spot barb, Spotted hampala barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะรูปร่างค่อนข้างยาว แบนข้างเล็กน้อย หัวยาว ปากกว้างมาก มีหนวดสั้น 1 คู่ที่ริมฝีปาก ครีบหลังค่อนข้างเล็ก ครีบหางเว้าลึก เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ตัวมีสีเงิน ด้านหลังสีคล้ำอมน้ำตาล ด้านท้องสีจาง ด้านข้างลำตัวมีจุดสีคล้ำข้างละหนึ่งดวง ครีบมีสีแดงเรื่อ ครีบหางมีสีแดงไม่มีแถบสีคล้ำ เป็นปลาที่พบได้เฉพาะที่ภาคอีสานของไทย ในต่างประเทศพบได้เฉพาะประเทศลาวและกัมพูชาเท่านั้น มีขนาดประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 35 เซนติเมตร ชื่อวิทยาศาสตร์ dispar เป็นภาษาละตินหมายถึง "ไม่เหมือน" หรือ "ซึ่งแตกต่างกัน" อันหมายถึงสัณฐานที่แตกต่างจากปลากระสูบขีด (H. macrolepidota) ซึ่งเป็นปลากระสูบอีกชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในประเทศไทย และเป็นชนิดต้นแบบ อนุกรมวิธานโดย ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ สถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ แม่น้ำมูลในจังหวัดอุดรธานี เป็นปลานักล่า กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร บริโภคโดยปรุงสด และทำปลาร้า, ปลาส้ม และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลากระสูบจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโทงดาบ

ปลากระโทงดาบ หรือ ปลากระโทงแทงดาบ (Swordfish, Broadbill swordfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Xiphiidae จัดเป็นเพียงชนิดเดียวและสกุลเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์นี้ มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลากระโทงร่ม (Istiophoridae) ต่างกันที่จะงอยปากที่ยื่นยาวออกไปมีลักษณะแบนลง เมื่อโตเต็มวัยไม่มีเกล็ดหุ้มตัว ไม่พบครีบท้อง ในปากไม่มีฟัน (มีฟันแต่เฉพาะยามเป็นปลาวัยอ่อน ซึ่งฟันมีความกริบเหมือนมีดโกน และจะหลุดออกเมื่อโตขึ้น) บริเวณด้านข้างคอด หางมีสันนูนเพียงข้างละสันเดียว มีขนาดตัวยาวได้ถึง 4.5 เมตร พบกระจายพันธุ์ไปในมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก สามารถที่จะดำน้ำได้ถึง 550 เมตร กินปลาขนาดเล็กทั่วไป สามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 50 ไมล์/ชั่วโมง จัดเป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าวชนิดหนึ่ง มีรายงานโจมตีปลาฉลามหรือเต่าทะเล โดยพบชิ้นส่วนของจะงอยปากติดกับสิ่งที่แทง รวมถึงแม้แต่เรือดำน้ำขนาดเล็กเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ด้วย ก็เคยถูกปลากระโทงดาบโจมตี จนตัวปลาติดกับเรือจนตาย และเมื่อขึ้นสู่ผิวน้ำ ลูกเรือก็ได้กินปลาตัวนั้นเป็นอาหารSuper Fish: fasted predator in the sea, สารคดีทางแอนิมอลพนาเน็ต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลากระโทงดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงขาว (สกุล)

ปลากะพงขาว สกุลของปลาน้ำจืด, น้ำกร่อย และปลาทะเลจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Lates (/ลา-ติส/) มีรูปร่างโดยรวม คือ รูปร่างลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากค่อนข้างยาวและแหลม นัยน์ตาโต ปากกว้างยืดหดได้ มุมปากอยู่เลยไปทางหลังนัยน์ตา ฟันเป็นฟันเขี้ยวอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง ขอบกระดูกแก้มเป็นหนามแหลม ขอบกระดูกกระพุ้งเหงือกแข็งและคม คอดหางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง เกล็ดใหญ่มีขอบหยักเป็นหนามเมื่อลูบจะสากมือ ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบเป็นหนามแข็ง ปลายแหลม อันที่สองเป็นครีบอ่อนมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบใหญ่ปลายกลมมน มีขนาดตั้งแต่ประมาณ 1 ฟุต ไปจนถึงเกือบ 2 เมตร และมีน้ำหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม ในปลากะพงแม่น้ำไนล์ (L. niloticus) ซึ่งจัดว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลนี้และวงศ์นี้ ที่พบได้ในแหล่งน้ำจืดของทวีปแอฟริกา ปลากะพงขาวมีทั้งหมด 9 สปีชีส์ ซึ่งจัดว่ามีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ ทั้งหมดนิยมใช้ตกเป็นปลาเกมกีฬา และนิยมบริโภคเนื้อเป็นอาหาร พบตั้งแต่ทะเลสาบน้ำจืดหลายแห่งในทวีปแอฟริกาไปจนถึงชายฝั่งทะเลในทวีปเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย โดยมี 2 ชนิดเท่านั้นที่พบในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ซึ่งคำว่า Lates นั้นมาจากภาษาละตินคำว่า latēre หมายถึง "ถูกซ่อนไว้".

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลากะพงขาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากัด (สกุล)

ปลากัด (Fighting fishes) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Betta (/เบ็ท-ทา/) ในวงศ์ย่อย Macropodinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลากัด (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากัดอมไข่สงขลา

ปลากัดอมไข่สงขลา หรือ ปลากัดสงขลา หรือ ปลากัดฟีร็อกซ์ ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จัดเป็นปลากัดประเภทปลากัดอมไข่ชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย โดยพบครั้งแรกจากการสำรวจที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พบในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไหลบนภูเขาอาศัยบริเวณรากไม้หรือใบไม้ใกล้ฝั่ง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6.3 เซนติเมตร (2.5 นิ้ว)ปลาตัวผู้จะไม่ก่อหวอดแต่จะอมไข่ไว้ในปากจนฟักเป็นตัว ทั้งนี้เชื่อว่าเป็นเพราะสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ คือ ลำธารที่น้ำไหลเชี่ยวแรงบนภูเขา พบกระจายอยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำบนภูเขาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบได้เฉพาะภาคใต้เท่านั้น และพบได้เรื่อยไปในแหลมมลายูจนถึงรัฐปีนังในมาเลเซีย เป็นปลาที่หาได้ยากและใกล้จะสูญพันธุ์ โดยถูกลุกลํ้าพื้นที่ จนทำให้(ปลากัดอมไข่)หาดูได้ยากนัก โดยที่คำว่า ferox เป็นภาษาละติน หมายถึง "โหดเหี้ยม" หรือ "ป่าเถื่อน".

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลากัดอมไข่สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาก้างพระร่วง

ปลาก้างพระร่วง (glass catfish, ghost catfish, phantom catfish, Thai glass catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในสกุล Kryptopterus นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมากกว่าจะนำมาบริโภค พบได้ทั่วไปในตลาดซื้อขายปลาน้ำจืดสวยงามโดยเป็นปลาส่งออกที่ขึ้นชื่อชนิดหนึ่ง แต่อนุกรมวิธานของปลาชนิดนี้เป็นที่สับสนกันมานานและเพิ่งได้รับการจำแนกอย่างชัดเจนในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาก้างพระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาราฟิโอดอน

ปลาราฟิโอดอน ​เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) มีรูปร่างภายนอกเหมือนปลาฝักพร้า (Macrochirichthys macrochirus) มาก ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์ และคนละอันดับ และเป็นปลาที่พบกันคนละทวีปด้วย ซึ่งเป็นผลของการวิวัฒนาการเข้าหากัน เว้นแต่ปลาราฟิโอดอนจะมีครีบไขมัน ซึ่งปลาฝักพร้าไม่มี แต่มีพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกัน มีลักษณะลำตัวยาวและแบนข้างมาก ท้องเป็นสันแคบ ตาโต ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน ลำตัวสีเงินแวววาว ครีบใส ครีบอกใหญ่และยาวแหลม ครีบท้องและครีบหลังเล็ก แต่ครีบก้นมีฐานครีบยาว ครีบหางเล็กและไม่แยกเป็นสองแฉก มีครีบไขมัน ภายในปากจะเห็นฟันเป็นซี่ ๆ แหลมคมจำนวนมาก เป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Rhaphiodon (โดย Rhaphiodon มาจากภาษากรีกคำว่า rhaphis (ραφής) หมายถึง "เข็ม", odous (οδούς) หมายถึง "ฟัน" และ vulpinus เป็นภาษาละตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก") มีพฤติกรรมนิยมอยู่รวมเป็นฝูง ออกล่าเหยื่อเป็นปลาขนาดเล็กบริเวณผิวน้ำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 70 เซนติเมตร พบในแม่น้ำอเมซอนและลำน้ำสาขา ในเปรู, ปารากวัย, อุรุกวัย และกายอานา มีชื่อเรียกกันในท้องถิ่นว่า เบียอาร่า (Biara) ใช้เป็นปลาบริโภคในท้องถิ่นและตกเป็นเกมกีฬา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามราคาแพง โดยถูกนำเข้ามาจำหน่ายพร้อมกับปลาสคอมบิรอยด์ (Hydrolycus scomberoides) ซึ่งพฤติกรรมในตู้เลี้ยงพบว่า มีนิสัยขี้ตกใจมาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาราฟิโอดอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาลีโปรินัส

ปลาลีโปรินัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในสกุล Leporinus ในวงศ์ปลาปล้องอ้อย (Anostomidae) มีรูปร่างกลมเรียวยาวเหมือนแท่งดินสอ มีลวดลายหรือจุดแตกต่างกันออกไป อาศัยอยู่เป็นฝูงในทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันมีเจ็ดชนิดได้ถูกแยกออกเป็นสกุล Hypomasticus แต่ส่วนใหญ่ก็ยังอยู่ในสกุลนี้ ซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดของสกุลนี้ คือ Leporinus scalabrinii (Ameghino, 1898) ถูกค้นพบในยุคไมโอซีนยุคสุดท้าย ที่เอนเตรรีโอ ในอาร์เจนตินา หลังจากถูกอนุกรมวิธานผิดว่าเป็นไพรเมทภายใต้ชื่อ Arrhinolemur scalabrinii มานานมากกว่า 100 ปี โดยคำว่า Leporinus มาจากภาษาละตินคำว่า lepus หมายถึง "กระต่ายป่า" และ inus ต่อท้าย หมายถึง "ส่วนที่เกี่ยวข้อง" โดยหมายถึง การที่ปลาในสกุลนี้มีฟันคู่หน้าที่เหมือนกับกระต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาลีโปรินัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสำลี

ปลาสำลี หรือ ปลาช่อลำดวน (Black-banded trevally, Black-banded kingfish) ปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล Seriolina (เป็นภาษาละตินหมายถึง "หม้อดินเผาขนาดใหญ่") มีความแตกต่างจากปลาหางแข็งชนิดและสกุลอื่น ๆ ตรงที่ที่ไม่มีเกล็ดแข็งบนเส้นข้างตัวตอนปลาย ลำตัวค่อนข้างยาว ปลายจะงอยปากมน ส่วนหัวโค้งนูน และลาดเมื่อใกล้จุดเริมของครีบหลัง ปากกว้าง โคนขากรรไกรบนมน มุมปากยื่นมาใต้นัยน์ตา ยาวเสมอขอบนัยน์ตา ยาวเสมอขอบนัยน์ตาด้านหลัง ครีบหลังแยกจากกันเป็นสองตอน ตอนหน้าเล็กและสั้น ตอนหลังมีฐานยาว ครีบก้นอยู่ตรงข้ามกับครีบหลังมีฐานสั้นกว่ามาก ครีบอกมีปลายแหลม และเล็กกว่าครีบอื่น ๆ ครีบท้องอยู่ใต้ครีบอก ครีบหางมีปลายเว้าลึก เส้นข้างตัวบริเวณโคนหางมีสันเนื้อหนา ๆ นูนขึ้นมา สีหลังสีเทาอมน้ำตาล สีข้างและท้อง เป็นสีเทาจางลงมาเรื่อย ๆ บริเวณสันท้องจะเป็นสีขาว ปลาขนาดเล็กจะมีแถบดำ 5-7 แถบ ขวางลำตัวบริเวณเหนือเส้นข้างตัว ขนาดใหญ่ที่สุดยาวถึง 70 เซนติเมตร และน้ำหนักประมาณ 50 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ทั้งมหาสมุทรอินเดีย, แปซิฟิก, แอตแลนติก, ชายฝั่งของแอฟริกาใต้ โดยพบมากบริเวณหน้าดิน และระดับน้ำลึกตั้งแต่ 20-150 เมตร ในเขตน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่นิยมตกเป็นเกมกีฬา และบริโภคกันอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาสำลี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอลายเมฆ

ปลาหมอลายเมฆ หรือ ปลาหมอนิมโบโครมิส (Sleeper cichlid) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Nimbochromis (/นิม-โบ-โคร-มิส/) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอสีที่พบได้เฉพาะในทะเลสาบมาลาวี รวมถึงแหล่งน้ำอื่นใกล้เคียงเท่านั้น ปลาหมอลายเมฆ มีลักษณะเฉพาะ คือ ตามลำตัวมีลวดลายที่ดูแปลก เป็นจ้ำ ๆ มีสีน้ำตาลอยู่บนพื้นสีเหลือง ดูคล้ายกากบาทหรือตัวอักษร X หรือลายพรางของทหาร สีบริเวณส่วนหัวเป็นสีน้ำเงิน มีขนาดประมาณ 25-30 เซนติเมตร โดยที่คำว่า Nimbochromis ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้นมาจากภาษาละติน 2 คำ คือ Nimbo ที่หมายถึง "เมฆในฤดูฝน" และ chromis ที่หมายถึง "ปลาหมอสี" อันหมายถึง ลวดลายบนตัวปล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาหมอลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอคิวปิโด

ปลาหมอคิวปิโด หรือ ปลาหมอคิวปิด (Greenstreaked eartheater, Cupid cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Biotodoma cupido จัดอยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะแบนข้าง ส่วนหัวโค้งมน ปลายปากแหลมเล็กน้อย ดวงตาใหญ่มีเส้นสีดำพาดผ่านในแนวตั้ง ปากมีขนาดเล็กอยู่ในตำแหน่งกลางของหน้า บริเวณแก้มมีเส้นสีเขียวสะท้อนแสง ซึ่งเมื่อปลาโตขึ้นจะเพิ่มขึ้นด้วย ลำตัวเป็นสีเหลืองน้ำผึ้งฉาบด้วยสีฟ้าเขียว ครีบอกเรียวยาวที่ก้านครีบแรกเป็นสีเหลือบเขียวฟ้าเหมือนลายที่บริเวณหน้า ขอบครีบหลังมีสีฟ้าอมเขียว ครีบก้นมีขนาดใหญ่เป็นสีชมพูอ่อน ขอบบนล่างของครีบเป็นก้านครีบแข็งใหญ่สีเหลือบฟ้าขาว ที่ลำตัวเหนือเส้นข้างลำตัวมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นชัดเจน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 14 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไม่แรงนัก พื้นท้องน้ำมีเศษซากใบไม้และอินทรียวัตถุทับถมกัน ทำให้มีสภาพน้ำเป็นกรดอ่อน ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรูจนถึงชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของประเทศบราซิล เช่น แม่น้ำอเมซอน, โอริโนโค และกายอานา ซึ่งปลาในแต่ละแหล่งน้ำอาจมีความแตกต่างกันบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ในลักษณะและสีสัน มีพฤติกรรมการหากินโดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็กและแพลงก์ตอนตามพื้นน้ำ พฤติกรรรมเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาเพศเมียจะมีขนาดและครีบต่าง ๆ ใหญ่กว่าเพศผู้ โดยปลาทั้งคู่จะขุดหลุมตื้น ๆ เพื่อวางไข่ และมีพฤติกรรมขับไล่ปลาหรือสัตว์อื่นที่ผ่านเข้ามาใกล้ ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 3 วัน เมื่อฟักเป็นตัวแล้ว ปลาเพศเมียจะนำลูกไปเลี้ยงไว้ในหลุมที่ขุดไว้ ส่วนเพศผู้จะทำหน้าที่เสมือนยามรักษาความปลอดภัยภายนอก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับได้ว่าเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามและไม่ดุร้าย และจะยิ่งเพิ่มความสวยงามของสีสันขึ้นเมื่อต้องกับแสงแดด อีกทั้งสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง แต่สำหรับในประเทศไทย เป็นปลาที่ค่อนข้างหายากเนื่องจากมีการนำเข้ามาจำหน่ายเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น ซึ่งในชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Biotos มาจากภาษากรีกหมายถึง "ชีวิต" ผสมกับคำว่า domos หมายถึง "ม้า" และคำว่า cupio มาจากภาษาละตินซึ่งหมายถึง "Cupidus" หรือคิวปิด ซึ่งเป็นกามเทพ ในความหมายซึ่งผู้อนุกรมวิธาน (โยฮานน์ ยาค็อบ เฮ็กเคล) ต้องการสื่อความหมายว่า ตกหลุมรักปลาชนิดนี้ตั้งแต่แรก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาหมอคิวปิโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย

ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย หรือ ปลาหมอแรมโบลิเวีย (Bolivian butterfly cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mikrogeophagus altispinosus อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichildae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี (M. ramirezi) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่ทว่าปลาหมอแคระแรมโบลิเวียมีขนาดที่ใหญ่กว่า โดยมีความยาวได้ 8 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ มีพื้นลำตัวเป็นสีกากีอมเทาเล็กน้อย ช่วงแก้มและแผ่นปิดเหงือกจะมีสีเหลือบฟ้าและเขียวสะท้อนแสง ตรงช่วงหน้าจนถึงกลางลำตัวเป็นสีเหลืองหรือเหลืองเกือบเข้ม มีสีดำพาดผ่านดวงตาทั้งสองข้าง ตรงกลางลำตัวมีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่แลดูเด่น มีครีบอกที่แหลมยาวเป็นสีชมพู และในช่วงผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้จะมีสีที่เข้มและสวยกว่านี้ พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำมาโมเรและแม่น้ำกัวโปเร ในประเทศบราซิลและโบลิเวีย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาหมอแคระจำพวกอื่น ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย เมื่อถูกค้นพบครั้งแรกได้ถูกตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crenicara altispinosa ซึ่งคำว่า "altispinosa" เป็นภาษาละติน แยกออกเป็น 2 คำคือ "Altus" แปลว่าสูง และ "Spinosus" แปลว่าลักษณะที่เป็นหนาม รวมสองคำแล้วแปลว่า "ปลาที่มีครีบกระโดงสูง".

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูกระโดงสูง

ปลาหมูกระโดงสูง (Chinese sucker, Chinese loach, Chinese high fin sucker, Chinese high fin banded shark; 胭脂魚; พินอิน: yānzhiyú) ปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมูกระโดงสูง (Catostomidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Myxocyprinus (มาจากภาษากรีก "myxos" หมายถึง "น้ำมูกหรือเสมหะ" และภาษาละติน "cyprinus" หมายถึง ปลาตะเพียน) มีพื้นลำตัวสีขาวอมชมพู มีแถบสีดำหนา 3 เส้นเป็นแนวตั้ง มีจุดเด่น คือ มีครีบหลังที่ปลายแหลมสูงและมีขนาดใหญ่ ในปลาที่มีขนาดเล็กกว่า 4 นิ้วจะมีสีสันสดใสและลำตัวทรงสั้นมีครีบหลังใหญ่มองดูคล้ายใบเรือ แต่เมื่อมีขนาดใหญ่ขึ้นสีขาวบนลำตัวจะเริ่มหายไป สีจะซีดจาง ขนาดของครีบหลังจะมีขนาดเล็กลงและความยาวลำตัวจะออกไปทางทรงยาวมากกว่าทรงสูง มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์เฉพาะในแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีนเท่านั้น มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาหมูกระโดงสูง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ด้วยเป็นปลาที่มีความสวย ซ้ำยังมีอุปนิสัยเรียบร้อย ไม่ดุร้ายก้าวร้าวเลย และสามารถทำความสะอาดตู้ที่ใช้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี ด้วยเป็นปลาที่หากินกับพื้นท้องน้ำ แต่เป็นปลาที่มีอัตราการเจริญเติบโตได้ช้ามาก เพียงแค่ 1–2 นิ้วต่อปีเท่านั้น เป็นปลาที่ยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ต้องรวบรวมพันธุ์ปลาจากแหล่งน้ำธรรมชาติเท่านั้น การจำแนกเพศ สามารถดูได้ที่เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะมีตุ่มขาว ๆ คล้ายสิวบริเวณส่วนหัวและโคนครีบอก เช่นเดียวกับปลาหลายชนิดในวงศ์ Cyprinidae.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาหมูกระโดงสูง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหวีเกศพรุ

ปลาหวีเกศพรุ เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในอันดับปลาหนัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudeutropius indigens อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) ปลาหวีเกศพรุนับเป็นปลาน้ำจืดชนิดใหม่ของโลก ที่เพิ่งจะได้รับการค้นพบเมื่อปี ค.ศ. 2011 มีลักษณะไปทั่วคล้ายกับปลาแขยงทอง หรือปลาอิแกลาเอ๊ะ (P. moolenburghae) มาก โดยตั้งชื่อชนิดเป็นภาษาละตินมีความหมายว่า "มีน้อยกว่า" จากลักษณะของจำนวนซี่กรองเหงือกและก้านครีบเมื่อเทียบกับปลาอีแกลาเอ๊ะ โดยลักษณะเด่นที่ใช้สำหรับการจำแนก คือ มีส่วนหัวที่มีความกว้างมากกว่าปลาอิแกลาเอ๊ะ ประมาณ 10.5-11.0 % ของความยาวมาตรฐาน ซี่กรองเหงือกมีจำนวน 33-35 อันที่โครงแรก มีก้านครีบก้น 37-41 ก้าน ขากรรไกรบนและล่างเท่ากัน มีฟันเป็นซี่เล็กแหลม จำนวนมาก หนวดเส้นยาวเรียวทั้งหมด 4 คู่ ยาวอย่างน้อยที่สุดยาวไปจนถึงครีบท้อง มีขนาดใหญ่สุดที่พบความยาวลำตัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 7 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำรอบ ๆ ป่าพรุโต๊ะแดง ของจังหวัดนราธิวาส และในแม่น้ำสุโหง-โกลก และยังพบบริเวณต้นน้ำของแม่น้ำตาปี ปลาหวีเกศพรุเป็นปลาที่พบน้อย แต่ก็ถูกจับไปขายเป็นปลาสวยงามเป็นครั้งคราวรวมกับปลาที่พบในป่าพรุชนิดอื่น ๆ หรือถูกจับปนไปกับปลาที่กินได้ขนาดเล็กต่าง ๆ โดยมักจะถูกเรียกรวม ๆ กันกับปลาก้างพระร่วง (Kryptopterus macrocephalus) ซึ่งเป็นปลาต่างวงศ์กัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาหวีเกศพรุ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่า

ปลาทูน่า หรือ ปลาโอ (tuna; マグロ) เป็นปลาทะเลกลุ่มหนึ่ง ในเผ่า Thunnini วงศ์ Scombridae โดยเฉพาะในสกุล Thunnus จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมาก เนื้อของปลาทูน่าจะมีสีชมพูหรือแดงเข้ม ต่างจากปลาทั่วไปที่มักจะมีเนื้อสีขาว นิยมเอามาทำเป็นปลากระป๋อง หรือปรุงสดต่าง ๆ เช่น ซาชิมิ ปลาทูน่า มีลักษณะรวม คือ อาศัยอยู่เป็นฝูงในทะเลหรือมหาสมุทรห่างจากชายฝั่ง มีรูปร่างเพรียวคล้ายกระสวย บริเวณฐานครีบหูมีกลุ่มเกล็ดเล็ก ๆ ครีบหางเว้าลึก เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้รวดเร็วว่องไวมาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาทูน่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าแท้

ปลาทูน่าแท้ (true tuna, real tuna) เป็นสกุลของปลาทะเลขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง จำพวกปลาทูน่า ใช้ชื่อสกุลว่า Thunnus จัดอยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) ปลาทูน่าแท้เป็นปลาที่มีวิวัฒนาการชั้นสูง ทำให้มีรูปร่างปราดเปรียวเพรียวยาวเหมือนตอร์ปิโด ลำตัวสีเงินแวววาว ถือเป็นปลาที่เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีเหงือกมีขนาดใหญ่ ร่างกายมีระบบปรับอุณหภูมิที่ดีเยี่ยม สามารถดูดซึมออกซิเจนไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงสูง และมีกลไกการทำงานของหัวใจที่ดีเยี่ยม มีครีบแข็งทรงโค้งทั้งครีบทวารและครีบหลังอันที่สอง ส่วนครีบหางที่ใช้แหวกว่ายหักเลี้ยวได้อย่างว่องไวเป็นตัวขับเคลื่อนไปข้างหน้า ด้วยสรีระดังกล่าว จึงทำให้ปลาทูน่าแท้เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้เร็วมากกลุ่มหนึ่งในมหาสมุทร โดยสามารถทำความเร็วไปข้างหน้าได้ราว 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และสูงถึงเกือบ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และทำความเร็วสูงสุดได้ถึง 70-74 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นรองเพียงปลากระโทงแทง ซึ่งเป็นปลาที่ว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลกเท่านั้นซึ่งคำว่า Thunnus นั้นมาจากคำ 2 คำในภาษาละตินหรือภาษากรีกโบราณคำว่า θύννος (thýnnos) แปลว่า “ปลาทูน่า” และ θύνω (thynō) แปลว่า "ที่พุ่ง; ที่โผ" ทั้งหมดเป็นปลาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการเป็นปลาเศรษฐกิจ ทั้งในการประมงและตกเป็นเกมกีฬา มีราคาซื้อขายกันที่สูงมาก และสามารถปรุงเป็นอาหารต่าง ๆ ได้หลากหลายทั้งรับประทานเนื้อสด ๆ แบบปลาดิบของญี่ปุ่น และปรุงเป็นเมนูอาหารต่าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาทูน่าแท้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาข้อมือนาง

ปลาข้อมือนาง (cá ngựa bắc) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Folifer โดยสันนิษฐานว่า มาจากภาษาละตินคำว่า foli หมายถึง "ใบไม้" และ ifer หมายถึง "แบก" รวมความแล้วหมายถึงลักษณะของปากของปลาชนิดนี้ที่อยู่ด้านล่าง และ brevis หมายถึง "เล็ก, น้อย" และ filum หมายถึง "หนวด" หรือ "เส้นด้าย" อันหมายถึง หนวดที่ลักษณะสั้นมาก มีลำตัวกลมเรียวยาว แบนข้างเล็กน้อย ใต้คางมีติ่งเนื้อ 1 ชิ้น ดูแลเหมือนหนวดขนาดสั้น เกล็ดเล็ก ลำตัวสีเงินแวววาวอมเขียว ด้านบนมีสีคล้ำเล็กน้อย ข้างแก้มมีแต้มสีเหลือง ครีบจางใส ครีบหลังสูง ก้านครีบอันใหญ่สุดมีจักละเอียดที่ขอบด้านท้าย มีความยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร เป็นปลาที่หากินตะไคร่น้ำตามก้อนหินใต้พื้นน้ำและโขดหิน พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่ไหลแรงและสะอาดในหลายประเทศ เช่น ตอนใต้ของจีน, เวียดนาม, ลาว ในประเทศไทยพบเฉพาะลุ่มแม่น้ำสาละวินบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอนและตาก และยังมีรายงานพบที่เกาะไหหลำและฮ่องกงอีกด้วย โดยตัวอย่างต้นแบบแรกถูกส่งมาจากฮ่องกงไปยังจีนเพื่อทำการอนุกรมวิธาน มีการจับขายเป็นปลาสวยงาม แต่พบได้น้อยและเลี้ยงดูยากมาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาข้อมือนาง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพัดพม่า

ปลาตะพัดพม่า หรือ ปลาตะพัดลายงู (Blue arowana, Myanmar arowana, Batik myanmar arowana) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae).

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาตะพัดพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนลายมาเลย์

ปลาตะเพียนลายมาเลย์ ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Striuntius โดยเป็นสกุลใหม่ที่ตั้งขึ้นมาเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาตะเพียนลายมาเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหลังหนาม

ปลาฉลามหลังหนาม (Spurdog) เป็นสกุลของปลาฉลามสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Squalus ในวงศ์ปลาฉลามน้ำลึก (Squalidae) โดยที่คำว่า Squalus นั้นมาจากภาษาละตินหมายถึง "ปลาฉลาม" ซึ่งคำนี้ยังเป็นรากศัพท์ของปลาฉลามอีกจำนวนมาก มีลักษณะเด่นคือ ครีบหลังบริเวณก้านครีบที่เป็นหนามแหลม อันเป็นที่มาของชื่อ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาฉลามหลังหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหางยาวหน้าหนู

ปลาฉลามหางยาวหน้าหนู หรือ ปลาฉลามหางยาวตาโต (Bigeye thresher shark, False thresher) ปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาฉลามชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาฉลามหางยาว (Alopiidae) โดยคำว่า superciliosus ที่ใช้เป็นชื่อวิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาละตินคำว่า super หมายถึง "เหนือ" และ ciliosus หมายถึง "คิ้ว" อันหมายถึง ร่องที่อยู่เหนือดวงตา ปลาฉลามหางยาวตาโต มีรูปร่างลักษณะเหมือนกับปลาฉลามหางยาวชนิดอื่นทั่วไป มีร่างกายสีเทาออกม่วงกลมกลืนไปกับสีของสภาพแวดล้อม มีดวงตากลมโตรูปลูกแพร์ขนาดใหญ่กว่าปลาฉลามหางยาวชนิดอื่น โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 10 เซนติเมตร นับว่าเป็นขนาดของตาของสัตว์โลกที่ใหญ่ที่สุดที่ไม่ใช่สัตว์จำพวกนก สันนิษฐานว่ามีไว้เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสภาพของทะเลลึกที่มืดมิดที่มีปริมาณแสงน้อย นอกจากนี้แล้วยังสามารถที่ปรับอุณหภูมิในร่างกายให้อุ่นกว่าอุณหภูมิของน้ำที่อาศัยอยู่ โดยจะมีอุณหภูมิร่างกายอยู่ที่ 2-4 องศาเซลเซียส ปลาฉลามหางยาวตาโต จัดเป็นปลาฉลามกินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดเฉลี่ยประมาณ 4.6 เมตร หรือเล็กกว่านี้ พบใหญ่ที่สุด 4.8 เมตร น้ำหนักประมาณ 360 กิโลกรัม ปลาฉลามหางยาวตาโต อาศัยอยู่ในมหาสมุทรที่มีความลึกกว่า 500 เมตร น้ำมีอุณหภูมิเย็น พบได้ในหลายพื้นที่ทั่วโลก แต่จะพบได้บ่อยที่มหาสมุทรแอตแลนติก รวมถึงบางส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดียด้วย เป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไว ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา ล่าปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำต่าง ๆ กินเป็นอาหาร โดยใช้ครีบหางท่อนบนที่ยาวใหญ่นั้นตีไล่เหยื่อ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 12-13 ปีในตัวเมีย และ 9-10 ปีในตัวผู้ ลูกปลาเกิดใหม่มีความยาว 70-106 เซนติเมตร โดยเกิดเป็นตัวจากไข่ในช่องท้องของปลาตัวแม่ เป็นปลาฉลามอีกชนิดหนึ่งที่ถูกจับและใช้ประโยชน์ในทางการประมง และก็ถูกจัดให้เป็นหนึ่งใน 10 ชนิดของปลาฉลามที่ถูกคุกคามจนใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาฉลามหางยาวหน้าหนู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหางยาวธรรมดา

ปลาฉลามหางยาวธรรมดา หรือ ปลาฉลามเทรเชอร์ (Common thresher shark, Thresher shark, Long-tailed thresher shark) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง จำพวกปลาฉลาม อยู่ในวงศ์ปลาฉลามหางยาว (Alopiidae) โดยที่คำว่า vulpinus นั้นแปลงมาจากภาษาละตินคำว่า vulpes หมายถึง "หมาจิ้งจอก" ซึ่งในบางแหล่งข้อมูลที่มีข้อมูลเก่าอาจจะใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Alopias vulpes จัดเป็นปลาฉลามกินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง โดยมีความยาวเฉลี่ยเต็มที่ประมาณ 5.5-6.1 เมตร น้ำหนักตัวหนักได้ถึง 499 กิโลกรัม มีลักษณะเด่น คือ ครีบหางส่วนบนที่ยาวมาก คิดเป็นร้อยละ 50 ของขนาดตัว และมีน้ำหนักส่วนหางมากถึงร้อยละ 33 ของน้ำหนักตัวทั้งหมด ซึ่งครีบหางนี้ยามว่ายน้ำสามารถโบกขึ้นลงไปในแนวตั้งได้ด้วย ส่วนหัวมีขนาดกลมเล็ก ปากเล็ก ขากรรไกรเล็ก ภายในปากมีฟันแหลม ๆ คมซี่เล็ก ๆ จำนวนมาก ดวงตากลมโตมีขนาดใหญ่ ลำตัวสีขาวปลอดหรือขาวเงินแวววาวทั้งตัว ครีบอกแหลมยาว ครีบหลังตอนที่ 2 มีขนาดเล็ก ปลาฉลามหางยาวธรรมดา เป็นปลาฉลามที่มีนิสัยขี้อาย มักพบเห็นตัวได้ยากมาก เป็นปลาที่หากินและอาศัยอยู่ตามลำพัง โดยล่าปลาขนาดเล็กรวมถึงสัตว์น้ำอื่น ๆ กินเป็นอาหาร โดยมีวิธีการล่าเหยื่อด้วยการตีวนรอบฝูงเหยื่อให้เกิดน้ำวน เพื่อให้เหยื่อเกิดอาการตื่นตระหนกและจับทิศทางไม่ถูก จากนั้นปลาฉลามหางยาวธรรมดาก็จะว่ายผ่าตรงกลางวงไปงับกินเหยื่อทันที จัดเป็นปลาฉลามอีกชนิดหนึ่งที่ว่ายน้ำได้ว่องไวมาก เป็นปลาที่พบได้ทั่วโลกในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่น แต่ก็ถือว่าเป็นปลาที่พบเห็นได้ยากมาก สามารถพบเห็นได้ในที่ลึกถึง 500 เมตร แต่ปลาฉลามหางยาวธรรมดาก็สามารถว่ายเข้าชายฝั่งและเขตที่น้ำตื้นได้ด้วยเช่นกัน รวมถึงสามารถกระโดดได้สูงขึ้นเหนือน้ำได้ด้วย เป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว โดยลูกปลาจะกินกันเองตั้งแต่อยู่ในท้องแม่เหมือนปลาฉลามชนิดอื่นอีกหลายชนิด ลูกปลาแรกเกิดมีความยาวประมาณ 1.5 เมตร โดยออกลูกครั้งละ 2-6 ตัว เป็นปลาฉลามอีกชนิดหนึ่ง ที่ถูกคุกคามจนใกล้สูญพันธุ์จากการทำประมง จนถูกจัดให้เป็นหนึ่งใน 10 ชนิดของปลาฉลามที่ใกล้สูญพันธุ์ที่สุดของโลก โดยนำชิ้นส่วนต่าง ๆ ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ หรือบริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจ ที่เกาะมาลาปาสกัว ทางตอนเหนือของเกาะเซบู ในทะเลฟิลิปปิน เป็นสถานที่แห่งหนึ่งที่พบปลาฉลามหางยาวธรรมดาได้บ่อย จนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวดำน้ำดูปลาฉลามหางยาวจนขึ้นชื่อ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาฉลามหางยาวธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนากจะงอยปากแคบ

ปลาฉนากจะงอยปากแคบ (Knifetooth sawfish, Pointed sawfish) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉนาก (Pristidae) จัดเป็นปลาฉนากเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Anoxypristis โดยมาจากภาษากรีก oxy (οξυ) หมายถึง "คม", pristis (πρίστης) หมายถึง "เลื่อย" และ custidata มาจากภาษาละตินคำว่า cuspidatus หมายถึง "จุด" มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวกว่า ส่วนหัวแคบกว่า สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทา จะงอยปากแคบกว่าปลาฉนากจะงอยปากกว้าง (Pristis microdon) และมีจำนวนซี่ฟันมากกว่า คือ มีจำนวน 23-35 คู่ ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ พบตามชายฝั่งของทะเลอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ปาปัวนิวกินี, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ญี่ปุ่นตอนใต้ รวมถึงปากแม่น้ำขนาดใหญ่ในประเทศไทยด้วย ปลาฉนากจะงอยปากแคบ จัดเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตตามบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN).

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาฉนากจะงอยปากแคบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าดำแม่น้ำโขง

ปลาปักเป้าดำแม่น้ำโขง หรือ ปลาปักเป้าบึง (Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No. 27: 1–663.) เป็นปลาปักเป้าน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodonidae) ปลาปักเป้าดำแม่น้ำโขงมีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาปักเป้าดำ (P. cochinchinensis) และปลาปักเป้าจุดแดง (P. abei) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันที่จุดที่ข้างลำตัวจะไม่มีจุดที่กลมใหญ่เหมือนรูปดวงตาในปลาขนาดใหญ่ (แต่ในปลาขนาดเล็ก อาจจะยังมีอยู่) แต่จะมีลักษณะเป็นวงดำ โดยสีทั่วไปเป็นสีคล้ำบนพื้นสีเขียวขี้ม้า มีดวงตาสีแดง และมีแนวของเกล็ดฝอยขนาดเล็กบนผิวหนังที่เป็นลักษณะสาก คลุมลงมาแค่ระหว่างดวงตา แต่ไม่ถึงบริเวณช่องจมูก ด้านท้องมีจุดเล็กเป็นแต้ม ๆ ตัวเมียมีสีจางกว่าตัวผู้ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร แต่โดยเฉลี่ยประมาณ 8-10 เซนติเมตร พบเฉพาะในลุ่มแม่น้ำโขงเท่านั้น ตั้งแต่จังหวัดหนองคาย, อุดรธานี, บึงกาฬ พบอาศัยอยู่ในน้ำตื้นของแหล่งน้ำนิ่ง พบได้ตลอดทั้งปี เช่น หนอง หรือบึง ที่มีน้ำใสสะอาดมีพืชน้ำ และชายฝั่งมีต้นไม้น้ำขึ้นหนาแน่น ปลาปักเป้าดำแม่น้ำโขงได้รับการอนุกรมวิธานโดยภาสกร แสนจันแดง, ชวลิต วิทยานนท์ และชัยวุฒิ กรุดพันธ์ นักมีนวิทยาชาวไทย จากการศึกษาวิจัยร่วมกันในเรื่องปลาปักเป้าน้ำจืดในสกุลเดียวกันนี้ในลุ่มแม่น้ำโขง 6 ชนิด ซึ่งปลาปักเป้าดำแม่น้ำโขงนั้นเป็นรู้จักกันมานานไม่ต่ำกว่า 20 ปีแล้ว โดยปะปนไปกับปลาปักเป้าชนิดอื่น ๆ และเพิ่งถูกแยกออกมาต่างหากเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาปักเป้าดำแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าตาแดง

ปลาปักเป้าตาแดง (Redeye puffers) เป็นชื่อสกุลของปลาปักเป้าจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Carinotetraodon (/คา-ริ-โน-เต-ตรา-โอ-ดอน/; โดยคำว่า carina เป็นภาษาละตินหมายถึง "กระดูกงูเรือ" และtetraodon คือ สกุล Tetraodon ซึ่งเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากของปลาปักเป้าในวงศ์นี้ ที่เคยจัดให้อยู่ในสกุลเดียวกันมาก่อน) มีรูปร่างโดยรวม เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 4 นิ้ว ซึ่งนับว่าเล็กที่สุดในบรรดาปลาปักเป้าทั้งหมด มีรูปร่างคล้ายปลาปักเป้าในสกุล Tetraodon ซึ่งเคยอยู่ร่วมสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่ามีขนาดเล็กกวากันมาก ปลาปักเป้าในสกุลนี้มีจุดเด่น คือ มีดวงตาสีแดงคล้ายทับทิม ซึ่งสามารถกลิ้งกลอกไปมาได้ ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างระหว่างเพศอย่างเห็นได้ชัด โดยตัวผู้จะมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า ลำตัวโดยมากจะเป็นสีแดงหรือสีเทาอมแดง ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็ก มีลำตัวสีเขียวมีลาดพาดตามลำตัว แต่สีพื้นของตัวผู้โดยปกติและเมื่อยังเล็กอยู่ก็เป็นสีเดียวกับตัวเมีย และสามารถปรับเปลี่ยนสีตามอารมณ์และสภาพแวดล้อมได้ด้วย ในการผสมพันธุ์ตัวผู้จะเปลี่ยนสีให้เข้มและพองผิวหนังลำตัวจนกลายเป็นเหนียงบริเวณใต้คางและใต้ท้อง พบในน้ำกร่อยและน้ำจืด ในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาปักเป้าตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอน

วาดปลาแซลมอนชนิดต่าง ๆ ปลาแซลมอน http://www.royin.go.th/th/webboardnew/answer.php?GroupID.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาแซลมอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโมลา

ปลาโมลา เป็นสกุลของปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดใหญ่สกุล Mola จัดอยู่ในวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ (Molidae) โดยคำว่า Mola มาจากภาษาละติน แปลว่า "หินโม่" ปลาโมลา เป็นปลารูปร่างลักษณะประหลาด เนื่องจากมีรูปร่างเป็นทรงกลม ส่วนหัวมีขนาดใหญ่จนดูคล้ายมีแต่เพียงหัวอย่างเดียว ขณะที่ส่วนครีบต่าง ๆ ถูกหดสั้นลง โดยส่วนครีบหลังมีขนาดใหญ่ตั้งยาวขึ้นไปข้างบน และครีบก้นให้มีขนาดใหญ่ยื่นยาวลงมาด้านล่างลำตัว เมื่อว่ายน้ำจะใช้ครีบทั้ง 2 โบกไปมา ในขณะครีบข้างลำตัวทรงโค้งจะมีขนาดเล็กและบาง ๆ เท่านั้น ขณะที่ครีบหางจะหดสั้นเข้ามาติดตอนท้ายของลำตัวที่หดสั้นจนดูว่าเป็นปลาที่มีแต่ส่วนหัว ปลาโมลา เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ อาจยาวได้ถึง 3.2 เมตรหรือ 4 เมตร และมีน้ำหนักมากกว่า 2 ตัน จัดเป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้ามากด้วย มีผิวหนังที่หนาและยืดหยุ่น เป็นปลาที่มีปรสิตเกาะตามลำตัวมากถึง 40 ชนิด ดังนั้น จึงมีพฤติกรรมลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ กลางน้ำเพื่อให้ปลาขนาดเล็กต่าง ๆ มาเกาะกินปรสิตตามตัว รวมถึงกระทั่งลอยไปถึงผิวน้ำเพื่อให้นกนางนวลจิกกินปรสิตด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาโมลา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลกัลเปอร์

ปลาไหลกัลเปอร์ (Gulper, Gulper eel) เป็นวงศ์และสกุลของปลาทะเลน้ำลึกวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Saccopharyngidae (มาจากภาษาละติน "saccus" หมายถึง "ถุง" และภาษากรีก φάρυγξ, หมายถึง "คอหอย") ปลาไหลกัลเปอร์ เป็นปลาที่มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหล ลำตัวไม่มีเกล็ด มีลักษณะเด่น คือ มีปากกว้างใหญ่ มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่า 1 ใน 4 ของลำตัว ภายในปากมีฟันที่แหลมคมเต็มไปหมด มีหางยาวและไวต่อความรู้สึก ดวงตามีขนาดเล็ก มีลำตัวทั่วไปสีดำ และยาวได้เต็มที่ประมาณ 2 เมตร (6.5 ฟุต) พบได้ในระดับความลึก 1,800 เมตร (6,000 ฟุต) เป็นปลาที่เหมือนกับปลาใต้ทะเลลึกทั่วไป คือ กินอาหารได้หลากหลายชนิดไม่เลือก เนื่องจากเป็นสถานที่ ๆ อาหารหายาก ซึ่งด้วยปากที่กว้างใหญ่เช่นนี้ทำให้สามารถกินอาหารที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาไหลกัลเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเอินฝ้าย

ปลาเอินฝ้าย (Thinlip barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Probarbus labeaminor จัดอยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Cyprininae มีรูปร่างคล้ายปลายี่สก (P. jullieni) และปลาเอินตาขาว (P. labeamajor) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่ไม่มีแถบตามแนวยาวลำตัว และมีครีบที่ขนาดใหญ่กว่าทั้ง 2 ชนิดนั้น จัดเป็นปลาที่หายากใกล้สูญพันธุ์เช่นเดียวกัน เป็นปลาถิ่นเดียวที่พบได้เฉพาะที่แม่น้ำโขงเท่านั้น โดยตัวอย่างต้นแบบได้มาจากกิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ labeaminor เป็นภาษาละติน มีความหมายว่า "ปากเล็ก" อันหมายถึง ลักษณะของปลาชนิดนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาเอินฝ้าย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทวดา

ปลาเทวดา (Angelfish) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Pterophyllum (/เทอ-โร-ฟิล-ลั่ม/; เป็นภาษาละตินแปลว่า "ครีบใบไม้" ซึ่งหมายถึง ลักษณะรูปร่างลำตัวที่คม) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกันอย่างหลากหล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเขือ

ปลาเขือ หรือ ปลาบู่เขือ (Worm goby, Eel goby) เป็นปลากระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Taenioides (มาจากภาษาละตินคำว่า "taenia" หมายถึง "ริ้ว" หรือ "ลาย" และภาษากรีก (οιδες) "oides" หมายถึง "คล้ายกับ") มีรูปร่างทั่วไป ลำตัวยาวเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหล แบนข้าง และเป็นสีชมพูโดยตลอด ตามีขนาดเล็กมาก อาศัยอยู่ในรูบริเวณปากแม่น้ำที่มีพื้นเป็นเลน เป็นปลาที่สามารถรับประทานได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปลาเขือ · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโก

ปวยร์โตรีโก (Puerto Rico) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐปวยร์โตรีโก (Estado Libre Asociado de Puerto Rico) เป็นเครือรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสาธารณรัฐโดมินิกันในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออกเฉียงเหนือ ปวยร์โตรีโกเป็นดินแดนที่เล็กที่สุดของเกรตเตอร์แอนทิลลีส มีพื้นที่รวมเกาะปวยร์โตรีโก เกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง รวมทั้งกลุ่มเกาะ ได้แก่ โมนา เบียเกซ และกูเลบรา การเดินทางเข้าปวยร์โตรีโกนั้นต้องใช้วีซาของสหรัฐอเมริกา เพราะปวยร์โตรีโกถือเป็นดินแดน (territory) ของสหรัฐอเมริกา แม้จะไม่ถือว่าเป็นรัฐ (state) ก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปวยร์โตรีโก · ดูเพิ่มเติม »

ปอนด์ (หน่วยมวล)

ปอนด์ (pound /paʊnd/ พาวด์) สัญลักษณ์ lb, lbm หรือบางครั้งอาจพบเป็น # คือหน่วยวัดมวลและน้ำหนักในระบบอังกฤษ หน่วยปอนด์ในปัจจุบันกำหนดให้มีค่าคงที่เท่ากับ กิโลกรัมพอดีQuoted by Laws LJ in (หรือประมาณ 2.2 ปอนด์ เท่ากับ 1 กิโลกรัม) อย่างไรก็ตามหน่วยปอนด์มีการใช้กันหลายค่า ตัวอย่างเช่นในสหรัฐ 2,000 ปอนด์เท่ากับหนึ่งตัน ในขณะที่อื่น 2,240 ปอนด์เท่ากับหนึ่งตัน ปอนด์นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกา โดยหน่วยน้ำหนักทุกอย่างจะใช้เป็นหน่วยปอนด์ ไม่ว่าน้ำหนักบุคคล หรือน้ำหนักเนื้อสัตว์ที่ขายตามตลาด คำว่า pound มาจากภาษาละตินคำว่า pondus หมายถึง น้ำหนักhttp://dictionary.reference.com/browse/pound ส่วนสัญลักษณ์ lb มาจากคำว่า libra หมายถึง ตาชั่ง, ความสมดุล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปอนด์ (หน่วยมวล) · ดูเพิ่มเติม »

ปะการัง

ปะการัง หรือ กะรัง เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทะเล จัดอยู่ในชั้นแอนโธซัวและจัดเป็นพวกดอกไม้ทะเล มีขนาดเล็กเรียกว่าโพลิฟ แต่จะอาศัยรวมกันอยู่เป็นโคโลนีที่ประกอบไปด้วยโพลิฟเดี่ยว ๆ จำนวนมาก เป็นกลุ่มที่สร้างแนวปะการังที่สำคัญพบในทะเลเขตร้อนที่สามารถดึงสารแคลเซียมคาร์บอเนตจากน้ำทะเลมาสร้างเป็นโครงสร้างแข็งเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยได้ หัวของปะการังหนึ่ง ๆ โดยปรกติจะสังเกตเห็นเป็นสิ่งมีชีวิตเดี่ยวๆอันหนึ่ง แต่ที่จริงนั้นมันประกอบขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตเดี่ยวๆขนาดเล็กนับเป็นพัน ๆ โพลิฟโดยในทางพันธุ์ศาสตร์แล้วจะเป็นโพลิฟชนิดพันธุ์เดียวกันทั้งหมด โพลิฟจะสร้างโครงสร้างแข็งที่มีลักษณะเฉพาะของปะการังแต่ละชนิด หัวของปะการังหนึ่งๆมีการเจริญเติบโตโดยการสืบพันธุ์แบบไม่ใช้เพศของโพลิฟเดี่ยวๆ แต่ปะการังก็สามารถสืบพันธุ์ออกลูกหลานโดยการใช้เพศกับปะการังชนิดเดียวกันด้วยการปล่อยเซลล์สืบพันธุ์พร้อม ๆ กันตลอดหนึ่งคืนหรือหลาย ๆ คืนในช่วงเดือนเพ็ญ แม้ว่าปะการังจะสามารถจับปลาและสัตว์เล็ก ๆ ขนาดแพลงตอนได้โดยใช้เข็มพิษ (เนมาโตซิสต์) ที่อยู่บนหนวดของมัน แต่ส่วนใหญ่แล้วปะการังจะได้รับสารอาหารจากสาหร่ายเซลล์เดียวที่สังเคราะห์แสงได้ที่เรียกว่าซูแซนทาลา นั่นทำให้ปะการังทั้งหลายมีการดำรงชีวิตที่ขึ้นตรงต่อแสงอาทิตย์และจะเจริญเติบโตได้ในน้ำทะเลใสตื้น ๆ โดยปรกติแล้วจะอาศัยอยู่บริเวณที่มีความลึกน้อยกว่า 60 เมตร ปะการังเหล่านี้ถือว่าเป็นผู้สร้างโครงสร้างทางกายภาพของแนวปะการังที่พัฒนาขึ้นมาในทะเลเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนอย่างเช่นเกรตแบริเออร์รีฟบริเวณนอกชายฝั่งของรัฐควีนส์แลนด์ของประเทศออสเตรเลีย แต่ก็มีปะการังบางชนิดที่ดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่เกี่ยวข้องกับสาหร่ายเนื่องจากอยู่ในทะเลลึกอย่างในมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิก เช่น ปะการังสกุล “โลเฟเลีย” ที่อยู่ได้ในน้ำเย็นๆที่ระดับความลึกได้มากถึง 3000 เมตร ตัวอย่างของปะการังเหล่านี้สามารถพบได้ที่ดาร์วินมาวด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเคพแวร็ธในสก๊อตแลนด์ และยังพบได้บริเวณนอกชายฝั่งรัฐวอชิงตันและที่หมู่เกาะอะลูเชียนของอะแลสก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาการยุติการทำงาน

ในทฤษฎีการคำนวณได้นั้น ปัญหาการยุติการทำงาน คือปัญหาการตัดสินใจที่ถามว่า แอลัน ทัวริง (Alan Turing) พิสูจน์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและปัญหาการยุติการทำงาน · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจตันตระ

หน้าจากหนังสือกาลิกา วา ดิมนา ภาคภาษาอาหรับอายุราว พ.ศ. 1753 แสดงรูปของราชาแห่งกากับที่ปรึกษา หน้าจากหนังสือ''Kelileh o Demneh'' อายุราว พ.ศ. 1972 จากเฮรัต ซึ่งเป็นปัญจตันตระที่แปลเป็นภาษาเปอร์เซีย โดยแปลมาจากฉบับภาษาอาหรับ ''Kalila wa Dimna'' อีกต่อหนึ่ง แสดงเรื่องตอนที่สุนัขจิ้งจอกชักนำสิงโตเข้าสู่สงคราม รูปสลักเกี่ยวกับปัญจตันตระที่วิหารเมนดุต ชวากลาง อินโดนีเซีย ปัญจตันตระ (Pancatantra; ภาษาสันสกฤต: पञ्चतन्त्र) เป็นนิทานโบราณของอินเดีย คาดว่ามีต้นกำเนิดที่แคชเมียร์เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาละตินและปัญจตันตระ · ดูเพิ่มเติม »

ปิตุฆาต

ปิตุฆาต (patricide) หมายถึง การฆ่าบิดาของตัวเอง คำว่า "ปิตุฆาต" มาจากการรวมกันของ 2 คำคือ ปิตุ (พ่อ) และ ฆาต (ฆ่า) สำหรับคำในภาษาอังกฤษ patricide มาจากการรวมกันของคำในภาษาละติน pater (พ่อ) และคำปัจจัย -cida (ฆ่า) ในทางกฎหมาย การทำปิตุฆาตมีโทษถึงประหารชีวิตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 และเป็น 1 ใน อนันตริยกรรม (กรรมที่หนักที่สุด) 5 อย่างของพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปิตุฆาต · ดูเพิ่มเติม »

ปุ่มกระสัน

thumb คลิตอริส หรือ ปุ่มกระสัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปุ่มกระสัน · ดูเพิ่มเติม »

ปุ่มลิ้น

ปุ่มลิ้น (Lingual papillae เอกพจน์ papilla) เป็นโครงสร้างเล็ก ๆ คล้ายหัวนมที่ผิวบนของลิ้นโดยมีอยู่ 4 ชนิด ซึ่งมีรูปร่างต่าง ๆ กัน ดังนั้น จึงมีชื่อต่างกัน รวมทั้งปุ่มเซอร์คัมแวลเลต/ปุ่มล้อมด้วยกำแพง (circumvallate papillae, vallate papillae), ปุ่มรูปเห็ด (fungiform papillae), ปุ่มรูปด้าย (filiform papillae), และปุ่มรูปใบไม้ (foliate papillae) ทั้งหมดยกเว้นปุ่มรูปด้ายมีตุ่มรับรส (taste bud) ซึ่งทำให้รู้รสได้ ส่วนปุ่มรูปด้ายซึ่งมีมากที่สุดในลิ้นมนุษย์ นอกจากจะทำให้ลิ้นสาก ก็ยังมีส่วนในการทำให้รับรู้เนื้ออาหารที่ไม่ใช่รสได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปุ่มลิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ปูขน (ปูก้ามขน)

ำหรับปูขนอย่างอื่นที่เป็นปูบก ดูที่: ปูไก่ ปูขน หรือ ปูก้ามขน หรือ ปูเซี่ยงไฮ้ (Chinese mitten crab, Shanghai hairy crab; 大閘蟹, 上海毛蟹; พินอิน: dà zhá xiè, shànghǎi máo xiè;; ศัพท์มูลวิทยา: Eriocheir (/โอ-ริ-โอ-เชีย/) เป็นภาษาลาตินแปลว่า "ก้ามมีขน" และคำว่า sinensis (/ไซ-เนน-ซิส/) มีความหมายว่า "อาศัยในประเทศจีน") เป็นครัสเตเชียนจำพวกปูชนิดหนึ่ง ปูขนมีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน พบอาศัยอยู่ตามทะเลสาบในประเทศจีน เจริญเติบโตอยู่ในสภาพอากาศหนาว และน้ำที่เย็นจัด อุณหภูมิของน้ำต่ำกว่า 10 องศาเชลเชียส บริเวณที่พบมากและเป็นที่รู้จักกันดีคือ ทะเลสาบหยางเถิง ในมณฑลเจียงซู นอกจากนี้ยังพบในประเทศไต้หวัน และบางส่วนของคาบสมุทรเกาหลีไปจนถึงทะเลเหลือง ปัจจุบันได้แพร่กระจายไปถึงทวีปยุโรป เช่น ประเทศฟินแลนด์, สวีเดน, เดนมาร์ก, เนเธอร์แลนด์, เบลเยี่ยม, เยอรมนี และบางส่วนของประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ ปูขนมีกระดองรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 7-8 เซนติเมตร สีน้ำตาลปนเหลืองจนถึงน้ำตาลเข้ม มีขนเป็นกระจุกบนขาทุกขาซึ่งถือเป็นลักษณะเด่น ขาเดินคู่แรกเป็นก้ามหนีบ ขาเดินที่เหลืออีก 4 คู่ มีลักษณะเรียวยาว ไม่เป็นใบพาย กระดองส่วนหน้าไม่เรียบ มีตุ่มทู่ ๆ เรียงกัน 2 แถว แถวแรกมี 2 ตุ่ม แถวถัดมามี 3 ตุ่ม ทั้งสองแถวเรียงขนานกับริมขอบเบ้าตาด้านใน ลักษณะเด่นที่สังเกตเห็นได้ชัดคือ ขอบด้านข้างของกระดองมีหนามแหลม 4 อัน ที่ก้ามมีขนสีน้ำตาลเข้มลักษณะเป็นกระจุกคล้ายสาหร่ายหางไก่ ห่อหุ้มหนา โดยเฉพาะบริเวณขอบด้านนอกของก้ามหนีบ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ซึ่งปูขนนั้นมีลักษณะคล้ายกับปูขนญี่ปุ่น (E. japonica) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่พบในประเทศญี่ปุ่นมาก ปูขนปรุงสุกพร้อมรับประทาน มีวงจรชีวิตอาศัยอยู่ในทะเลสาบที่มีน้ำสะอาดและเย็นจัด เมื่อถึงช่วงฤดูร้อนจะอพยพไปผสมพันธุ์และวางไข่ในทะเลหรือดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี ปูขนที่มีร่างกายสมบูรณ์จะมีขนเป็นประกายสีเหลืองทองอ่อน โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว คือ ในปลายปีของทุกปี คือ เดือนตุลาคม-ธันวาคม ปูขนจัดเป็นอาหารจีนที่มีชื่อเสียงอย่างมาก และจัดเป็นอาหารที่หายาก มีราคาแพง นับเป็นอาหารระดับฮ่องเต้ เนื่องจากมีจำหน่ายเฉพาะในช่วงฤดูหนาวเท่านั้น เพราะเป็นฤดูผสมพันธุ์ ที่ปูตัวผู้จะมีเนื้อรสชาติหวาน และปูตัวเมียจะมีไข่ เนื่องจากชาวจีนมีความเชื่อว่า ปูขนต้องเป็นปูที่มีความทรหดอดทนมาก เนื่องจากสามารถใช้ชีวิตผ่านฤดูหนาวที่อากาศหนาวเหน็บมาได้ เชื่อว่าหากได้กินเนื้อแล้วจะทำให้แข็งแรงเหมือนปู ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทำให้ร่างกายอบอุ่น แก้โรคคออักเสบ รักษาอาการทางเดินอาหารไม่ปรกติ รวมทั้งมีผลในการถอนพิษด้วย ทำให้มีราคาซื้อขายที่สูงมาก ทั้งในจีนแผ่นดินใหญ่, ไต้หวัน หรือฮ่องกง สำหรับชาวไทยรู้จักรับประทานปูขนมาไม่ต่ำกว่า 30 ปีแล้ว ถึงขนาดเมื่อถึงฤดูหนาวจะเดินทางไปฮ่องกงเพื่อรับประทานปูขนโดยชนิด หรือซื้อกลับมายังประเทศไทยโดยแช่แข็งไว้ในกระติกน้ำแข็ง แต่ปัจจุบันก็สามารถหารับประทานได้ในประเทศไทย โดยวิธีการปรุงปปูขนนั้นก็กระทำได้โดยง่าย โดยใช้วิธีการนึ่งเพียง 15 นาทีเท่านั้น อาจจะมีการใส่สมุนไพรหรือพืชบางชนิดลงไปเพื่อให้ความหอม และรับประทานพร้อมกับจิ๊กโฉ่ว หรือซอสเปรี้ยวของจีน หรือสุราแบบจีน และต้องรับประทานน้ำขิงเป็นของตบท้าย เพื่อปรับสภาพหยินหยางในร่างกายให้สมดุล ซึ่งต้องปรุงให้สุก เพราะจากการศึกษาพบว่า ปูขนนั้นเป็นพาหะของโรคพยาธิใบไม้ในปอด สำหรับในประเทศไทย ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว ที่โครงการหลวง บนยอดดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปูขน (ปูก้ามขน) · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนบก

ปูเสฉวนบก (Land hermit crabs) เป็นปูเสฉวนในสกุล Coenobita (มาจากคำในภาษาละตินว่า coenobivm และคำในภาษากรีกโบราณว่า κοινόβιον แปลว่า "ชีวิตในประชาคม, อาราม") มีทั้งหมด 15 ชนิด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 นิ้ว มีรูปร่างหน้าตาคล้ายปูเสฉวนทั่วไป และอาศัยอยู่ในเปลือกหอย แต่ไม่สามารถที่จะอาศัยอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากระบบการหายใจถูกพัฒนาให้รับออกซิเจนโดยตรง ถ้าลงไปในน้ำจะสำลักน้ำตายได้เหมือนปูมะพร้าว (Birgus latro) แต่จะลงไปกินน้ำทะเลเพื่อต้องการเกลือแร่ อีกทั้งยังต้องการน้ำจืดอีกด้วย ปูเสฉวนบกมีถิ่นกำเนิดที่ทวีปอเมริกาเหนือ, ทะเลแคริบเบียน, หมู่เกาะเบอร์มิวดา, ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย จะอาศัยอยู่บนบกหรือในป่าริมชายทะเล กินอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์เหมือนปูเสฉวนทั่วไป ปัจจุบันปูเสฉวนบกกำลังได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่งผู้เลี้ยงนิยมใช้สีทาบนเปลือกหอยให้เป็นสีสันและลวดลายต่าง ๆ แต่เป็นปูที่ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการเลี้ยง เนื่องจากถึงแม้ว่าจะอาศัยอยู่บนบกก็ตาม แต่ในสถานที่เลี้ยงต้องใช้ความชุ่มชื้นด้วย และปูพื้นด้วยกรวดทรายและขอนไม้หรือมะพร้าวผุ และมีความจำเป็นต้องใช้แคลเซียมเพื่อเป็นแร่ธาตุด้วย ไม่เช่นนั้นอาจตายได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปูเสฉวนบก · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต

ปีแยร์ มารี ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต (Pierre Lambert de la Motte) บาทหลวงชาวฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งผู้แทนพระสันตะปาปาประจำมิสซังโคชินไชนา และมุขนายกเกียรตินามแห่งเบรุต ผู้ร่วมก่อตั้งคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส และก่อตั้งคณะรักกางเขน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต · ดูเพิ่มเติม »

ปนาลี

ปนาลี บนวิหารนอเตอร์ดามในฝรั่งเศส ปนาลี หรือ การ์กอยล์ (Gargoyle; gargouille) ความหมายของปนาลีทางสถาปัตยกรรมหมายถึงหินที่แกะเป็นรูปอัปลักษณ์ (grotesque) ยื่นออกไปจากสิ่งก่อสร้างที่มีรางและช่องให้น้ำจากหลังคาไหลห่างจากตัวสิ่งก่อสร้าง คำว่า “gargoyle” มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “gargouille” ซึ่งแปลว่าคอหอย ซึ่งมาจากภาษาละติน “gurgulio, gula” หรือคำที่มีรากมาจาก “gar” ที่แปลว่า กลืน ซึ่งคล้ายเสียงน้ำไหลในท่อ (ตัวอย่าง: ภาษาสเปน “garganta” แปลว่าคอหอย จึงใช้คำว่า “garganta” สำหรับ “gargoyle”) รูปอัปลักษณ์ที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำแต่ใช้เป็นสิ่งตกแต่ง ตามภาษาสามัญก็ยังเรียกว่าปนาลี ถึงแม้ว่าทางสถาปัตยกรรมจะแยกการใช้ระหว่างคำว่าปนาลี และคำว่ารูปอัปลักษณ์ ปนาลีจะเป็นคำที่ใช้สำหรับรูปอัปลักษณ์ที่ใช้เป็นรางน้ำ และคำว่ารูปอัปลักษณ์จะหมายถึงรูปสลักที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำ ปนาลีจะเป็นรูปสลักตามมุมต่าง ๆ ของสถาปัตยกรรมในแบบกอธิคในยุโรป โดยมากจะสลักเป็นรูปมังกรหรือปีศาจในท่วงท่าต่าง ๆ โดยท่าที่รู้จักมากที่สุดคือท่านั่งยอง ๆ ตามองไปทางข้างหน้า ปนาลีเชื่อว่าเดิมเป็นมังกร ชาวยุโรปในยุคกลางเชื่อว่าการ์กอยล์เมื่อตอนกลางวันจะเป็นรูปสลัก ตกกลางคืนจะกลายร่างเป็นมังกรบินไปทั่วหมู่บ้านหรือเมืองที่อาศัย เพื่อปกป้องดูแลมิให้มีสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามารังควาน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและปนาลี · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียนไทย

thumb thumb นกกระเรียนไทย หรือ นกกระเรียน (sarus crane) เป็นนกขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่นกอพยพ พบในบางพื้นที่ของอนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศออสเตรเลีย เป็นนกบินได้ที่สูงที่สุดในโลก เมื่อยืนจะสูงถึง 1.8 เมตร สังเกตเห็นได้ง่าย ในพื้นที่ชุ่มน้ำเปิดโล่ง นกกระเรียนไทยแตกต่างจากนกกระเรียนอื่นในพื้นที่เพราะมีสีเทาทั้งตัวและมีสีแดงที่หัวและบริเวณคอด้านบน หากินในที่ลุ่มมีน้ำขังบริเวณน้ำตื้น กินราก หัว แมลง สัตว์น้ำ และสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร นกกระเรียนไทยเหมือนกับนกกระเรียนอื่นที่มักมีคู่ตัวเดียวตลอดชีวิต นกกระเรียนจะปกป้องอาณาเขตและเกี้ยวพาราสีโดยการกางปีก ส่งเสียงร้อง กระโดดซึ่งดูคล้ายกับการเต้นรำ ในประเทศอินเดียนกกระเรียนเป็นสัญลักษณ์ของความซื่อสัตย์ในชีวิตแต่งงาน เชื่อกันว่าเมื่อคู่ตาย นกอีกตัวจะเศร้าโศกจนตรอมใจตายตาม ฤดูผสมพันธุ์หลักอยู่ในฤดูฝน คู่นกจะสร้างรังเป็น "เกาะ" รูปวงกลมจากกก อ้อ และพงหญ้า มีเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบสองเมตรและสูงเพียงพอที่จะอยู่เหนือจากน้ำรอบรัง นกกระเรียนไทยกำลังลดลงอย่างรวดเร็วในคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา คาดกันว่าประชากรมีเพียง 10 หรือน้อยกว่า (ประมาณร้อยละ 2.5) ของจำนวนที่มีอยู่ในคริสต์ทศวรรษ 1850 ประเทศอินเดียคือแหล่งที่มั่นของนกชนิดนี้ ที่ซึ่งนกเป็นที่เคารพและอาศัยอยู่ในพื้นที่การเกษตรใกล้กับมนุษย์ นกกระเรียนนั้นสูญหายไปจากพื้นที่การกระจายพันธุ์ในหลาย ๆ พื้นที่ในอดีต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกกระเรียนไทย · ดูเพิ่มเติม »

นกกะรางหัวขวาน

นกกะรางหัวขวาน เป็นนกขนาดกลาง มีสีสวย มีลักษณะเด่นที่จำง่ายคือมีหงอน (หัวขวาน) คล้ายหมวกของพวกอินเดียแดง พบทั่วทั้งทวีปแอฟริกาและยูเรเชียพร้อมทั้งทั่วประเทศไทย เป็นสปีชีส์เดียวของวงศ์ Upupidae ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีสปีชีส์ย่อยเฉพาะเกาะเซนต์เฮเลนา (ในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้) ที่สูญพันธ์ไปแล้ว และเฉพาะเกาะมาดากัสการ์ที่บางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ของตนเอง ชื่อสกุลภาษาละตินว่า Upupa คล้ายกับชื่อภาษาอังกฤษว่า "hoopoe" (อ่านว่า ฮูพู) โดยเป็นชื่อเลียนเสียงร้องของนก นกกะรางหัวขวานเป็นนกประจำชาติของประเทศอิสราเอล เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกกะรางหัวขวาน · ดูเพิ่มเติม »

นกกางเขน

นกกางเขน หรือ นกกางเขนบ้าน (Oriental magpie robin) เป็นนกชนิดหนึ่งที่กินแมลง มีขนาดไม่ใหญ่นัก ยาวประมาณ 18-20 เซนติเมตร ส่วนบนลำตัวสีดำเงา ส่วนล่างตั้งแต่หน้าอกลงไปจะเป็นสีขาวหม่น ใต้หางและข้างหางมีสีขาว ปีกมีลายพาดสีขาวทั้งปีก ตัวผู้สีจะชัดกว่าตัวเมีย ส่วนที่เป็นสีดำในตัวผู้ ในตัวเมียจะเป็นสีเทาแก่ ปากและขาสีดำ มักจะพบเป็นตัวเดียวหรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หากินแมลงตามพุ่มไม้ บางครั้งก็โฉบจับแมลงกลางอากาศ หางของมันมักกระดกขึ้นลง ร้องเสียงสูงบ้าง ต่ำบ้าง ฟังไพเราะ ทำรังตามโพรงไม้ที่ไม่สูงนัก มันจะวางไข่ครั้งละ 4-5 ฟองและตัวเมียเท่านั้นจะกกไข่ และจะฟักไข่นานประมาณ 8-14 วัน อายุ 15 วัน แล้วจะเริ่มหัดบิน ในประเทศไทยพบทั่วไปในทุกภาคแม้ในเมืองใหญ่ ๆ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 นกกางเขนเป็นนกเกาะคอน (อันดับ Passeriformes) ที่เคยจัดเป็นวงศ์นกเดินดง (Turdidae) แต่ปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์นกจับแมลงและนกเขน (Muscicapidae) เป็นนกสีดำขาวที่เด่น มองเห็นได้ง่าย มีหางยาวที่จะกระดกขึ้นลงเมื่อหาอาหารที่พื้นหรือจับบนต้นไม้ เป็นนกที่มีอยู่กระจายไปทั่วเอเชียใต้และบางส่วนของเอเชียอาคเนย์ เป็นนกที่สามัญทั้งตามสวนในเมืองและในป่า เป็นนกที่รู้จักกันดีเพราะร้องเสียงเพราะ และเคยเป็นนกเลี้ยงที่นิยม นกกางเขนเป็นนกประจำชาติของประเทศบังกลาเทศ ซึ่งเรียกนกว่า "Doyel" ชื่ออังกฤษของนกคือ Oriental Magpie Robin อาจจะเป็นเพราะนกดูคล้ายนกสาลิกาปากดำ (Common Magpie).

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

นกยูงไทย

นกยูงไทย หรือ นกยูงสีเขียว (Green peafowl; มาจากภาษาละติน Pavo, นกยูง; muticus, เชื่อมต่อ หรือ ตัดทอน) เป็นไก่ฟ้าขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นญาติใกล้ชิดกับนกยูงอินเดียหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่านกยูงสีฟ้า ที่ส่วนมากพบในอนุทวีปอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกยูงไทย · ดูเพิ่มเติม »

นกล่าเหยื่อ

หยี่ยว เป็นนกล่าเหยื่อประเภทหนึ่ง นกล่าเหยื่อ (Bird of prey, Raptor-มาจากภาษาละตินคำว่า rapere หมายถึง "บังคับด้วยกำลัง") เป็นชื่อสามัญเรียกโดยรวมของนกกลุ่มที่หากินในเวลากลางวัน และกินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร รวมถึงอาจกินซากเป็นอาหารด้วย นกล่าเหยื่อจะมีหลักการบินโดยใช้ความรู้สึกกระตือรือร้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมองเห็น นกกลุ่มนี้เป็นนกที่ล่าสัตว์มีกระดูกสันหลังเป็นส่วนใหญ่รวมทั้งนกด้วยกันจำพวกอื่น ๆ โดยมีกรงเล็บและจะงอยปากที่ค่อนข้างใหญ่และประสิทธิภาพและเหมาะสำหรับการฉีกขาดเนื้อ ส่วนใหญ่ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหาร Brown, Leslie (1997).

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกล่าเหยื่อ · ดูเพิ่มเติม »

นกแต้วแร้วป่าโกงกาง

นกแต้วแร้วป่าโกงกาง หรือ นกแต้วแร้วป่าชายเลน (Mangrove pitta) เป็นนกแต้วแร้วชนิดหนึ่ง เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของนกแต้วแร้วธรรมดา (P. moluccensis) แต่ปัจจุบันถูกจัดให้เป็นชนิดต่างหากแยกออกมา ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์มาจากภาษาละตินโดยคำว่า "megas" แปลว่า "ใหญ่" และ "rhynch" หรือ "rhunkhos" แปลว่า "ปาก" รวมความหมายคือ "นกที่มีปากใหญ่".

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกแต้วแร้วป่าโกงกาง · ดูเพิ่มเติม »

นกเขาชวา

นกเขาชวา หรือ นกเขาเล็ก หรือ นกเขาแขก (- เป็นภาษาละติน แปลว่า "รอยไถ" หรือ "ลาย" มีความหมายว่า "นกเขาที่มีลาย") เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbridae) นกเขาชวามีรูปร่างเหมือนกับนกชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกันนี้ทั่วไป มีขนปกคลุมตัวสีน้ำตาลหัวสีเทา หรือมีสีที่หัวเป็นสีน้ำเงิน ด้านข้างคอมีแถบสีดำสลับกับแถบขาวเป็นลายตามขวาง ด้านหลังสีเข้มมีขีดขวาง คล้ายกับลายของม้าลายในต่างประเทศ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ (zebra dove) ด้านท้องสีจาง ใต้ลำตัวเป็นสีขาวมีขีดขวางเล็ก ขอบท้ายของขนหางสีขาว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ไม่เกิน 8-9 นิ้ว นกเขาชวามีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง ป่าละเมาะ ชายทุ่ง และบริเวณที่ทำการเพาะปลูก ชอบอยู่กันเป็นคู่หรือลำพังเพียงตัวเดียว แต่ไม่ชอบหากินอยู่เป็นฝูงใหญ่ มักร้องบ่อย ๆ ในเวลาเช้าและเวลาเย็น มีถิ่นกระจายพันธุ์ในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย จนถึงมาเลเซีย, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ นกตัวผู้จะมีลักษณะทั่วไปใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย หัวใหญ่ค่อนข้างยาว มีสีขาวที่หน้าผากสีขาวมากยาวถึงกลางหัว ขณะที่ตัวเมียหัวกลมเล็กและสีขาวที่ส่วนหัวจะไม่ยาวเท่า และมีรายละเอียดต่างกันเล็กน้อย เช่น หางที่ตัวเมียจะยกแอ่นกว่าตัวผู้ และเกล็ดที่ข้อเท้าจะละเอียดเล็กกว่าตัวผู้ นกเขาชวาเป็นนกที่ไม่เกรงกลัวมนุษย์ ซ้ำยังมีเสียงร้องที่ไพเราะ จึงเป็นที่นิยมอย่างยิ่งในการเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับฟังเสียง จนกลายเป็นวัฒนธรรมในคาบสมุทรมลายู โดยเชื่อว่ามีมาจากเกาะชวา มีการจัดแข่งขันประกวด การเพาะขยายพันธุ์ ก่อตั้งเป็นชมรมหรือสมาคมต่าง ๆ ซึ่งในตัวที่มีเสียงร้องไพเราะอาจมีราคาสูงถึงหลักล้านบาท ตลอดจนแตกแขนงกลายเป็นอาชีพอื่น ๆ ต่อด้วย เช่น ประดิษฐ์กรงนกขาย นกเขาชว ในปัจจุบันกลายเป็นนกประจำถิ่นในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย จากการที่ถูกนำเข้ามาในฐานสัตว์เลี้ยง และไม่จัดว่าเป็นสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครองแต่ประการใ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกเขาชวา · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าแมวหูสั้น

นกเค้าแมวหูสั้น (Short-eared owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งในสกุล Asio กระจายพันธุ์เกือบทั่วโลกยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกาและประเทศออสเตรเลีย มักพบในพื้นที่เปิดโล่งในชนบทและทุ่งหญ้า ชื่อ flammeus มาจากภาษาละตินที่แปลว่า "เปลวไฟ หรือสีของไฟ".

ใหม่!!: ภาษาละตินและนกเค้าแมวหูสั้น · ดูเพิ่มเติม »

นอสตราเดมัส

นอสตราเดมัส ไทยมักเรียก นอสตราดามุส (Nostradamus) ชื่อจริงว่า มีแชล เดอ นอสทร์ดาม (Michel de Nostredame; เกิด 14 หรือ 21 ธันวาคม 1503 แล้วแต่แหล่งข้อมูล;Most eyewitnesses to his original epitaph (including his son Caesar and historian Honoré Bouche) indicate 21 December, but a few (including his secretary Chavigny) suggest 14th. The inscription on his present tombstone evidently follows Chavigny. No conclusive explanation for the discrepancy has so far been discovered. See Guinard, Patrice, ตาย 2 กรกฎาคม 1566) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นเภสัชกร (apothecary) และหมอดูที่มีชื่อเสียง เพราะเผยแพร่ชุดคำทำนายซึ่งเลื่องชื่อที่สุดในโลกหลายชุด โดยเฉพาะ เลพรอเฟซี (Les Propheties) ที่พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1555 เมื่อเผยแพร่หนังสือชุดดังกล่าวแล้ว นอสตราเดมัสก็ได้รับความสนใจจากสำนักพิมพ์ใหญ่หลายแห่ง พร้อมกิตติศัพท์ว่า สามารถทำนายทายทักเหตุการณ์สำคัญหลายเรื่องในโลก แหล่งข้อมูลทางวิชาการส่วนใหญ่ถือกันว่า การอ้างว่า เหตุการณ์ในโลกสัมพันธ์กับโคลงทำนายของนอสตราเดมัสนั้น เป็นผลมาจากการตีความหรือแปลความที่ผิดพลาด ซึ่งบางครั้งปรากฏว่า ตั้งใจให้ผิดพลาด มิฉะนั้น ก็เป็นเรื่องมโนสาเร่ถึงขนาดที่ไม่อาจถือเอาโคลงเหล่านั้นเป็นพยานหลักฐานว่า นอสตราเดมัสมีอำนาจพยากรณ์อย่างแท้จริง อย่างไรก็ดี นักวิจารณ์จำนวนหนึ่งก็ประสบความสำเร็จในการตีความอย่างเสรีโดยใช้วิธี "พลิกแพลง" ถ้อยคำในโคลงเพื่อระบุเหตุการณ์อันเห็นได้ชัดว่า ใกล้จะมาถึงอยู่แล้ว เช่น ในปี 1867 หลุยส์-มีแชล เลอ เปอเลอตีเย (Louis-Michel le Peletier) ใช้กลวิธีดังกล่าวทำนายล่วงหน้า 3 ปีว่าจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 จะทรงมีชัยหรือปราชัยในสงครามฝรั่งเศส–ปรัสเซีย แม้เลอ เปอเลอตีเย จะยอมรับว่า ตนไม่สามารถบอกได้จริงว่า จะทรงมีชัยหรือปราชัย และเหตุการณ์จะเกิดขึ้นเมื่อใดก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนอสตราเดมัส · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรม

นักบุญเจอโรม หรือ นักบุญเยโรม (Jerome; Eusebius Sophronius Hieronymus; Ευσέβιος Σωφρόνιος Ιερώνυμος) เป็นบาทหลวงชาวโรมัน เกิดเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและนักบุญเจอโรม · ดูเพิ่มเติม »

นิวเบดฟอร์ด

นิวเบดฟอร์ด (New Bedford) เป็นเมืองในบริสทอลเคาน์ตี รัฐแมสซาชูเซตส์, สหรัฐอเมริกา จากข้อมูล ประชากรในปี ค.ศ. 2010 เมืองมีประชากร 95,072 คน เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 6 ของรัฐแมสซาชูเซตส์ ในช่วงศตวรรษที่ 19 เป็นเมืองสำคัญในการเดินเรือและล่าวาฬ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนิวเบดฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ภาษาละตินและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนิติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิติเวชศาสตร์

นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine) มาจากคำว่า "Forensic" ซึ่งเป็นภาษาละติน หมายความถึงข้อตกลงที่มีการพิพาทกันทางกฎหมาย และคำว่า "Medicine" หมายถึงวิชาทางด้านการแพทย์ ซึ่งหมายความรวมถึงแพทย์ศาสตร์หรือเวชศาสตร์อีกด้วย นิติเวชศาสตร์เริ่มมีการเรียนการสอนครั้งแรกในประเทศไทย ปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและนิติเวชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิ้วกลาง

นิ้วกลาง คือนิ้วที่สามบนมือของมนุษย์ อยู่ระหว่างนิ้วชี้และนิ้วนาง คนส่วนใหญ่จะมีนิ้วกลางเป็นนิ้วที่ยาวที่สุด แต่บางคนอาจยาวเท่ากับนิ้วชี้หรือนิ้วนาง ในทางกายวิภาคศาสตร์ นิ้วกลางอาจมีชื่อเรียกอื่นเป็นภาษาละตินเช่น digitus medius, digitus tertius, หรือ digitus III เป็นต้น นิ้วกลางมีส่วนช่วยให้จับสิ่งของได้ง่ายขึ้น เช่น ดินสอ ปากกา หรือตะเกียบ นอกเหนือไปจากนิ้วโป้งและนิ้วชี้ ถึงแม้ว่าบางคนอาจไม่ได้ใช้นิ้วกลางเลย มือกลหรือแขนเทียมมักจะมีสามนิ้วเพื่อเป็นตัวแทนของนิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วกลาง เพื่อให้จับได้ถนัดยิ่งขึ้นและไม่หลุดจากมือด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนิ้วกลาง · ดูเพิ่มเติม »

นิ้วนาง

นิ้วนาง นิ้วนาง คือนิ้วที่สี่บนมือของมนุษย์ อยู่ระหว่างนิ้วกลางและนิ้วก้อย หลายคนมีนิ้วนางยาวเท่ากับนิ้วชี้ ในทางกายวิภาคศาสตร์ นิ้วนางอาจมีชื่อเรียกอื่นเป็นภาษาละตินเช่น digitus medicinalis, digitus annularis, digitus quartus หรือ digitus IV เป็นต้น นิ้วนางไม่ค่อยมีบทบาทเด่นชัดมากนัก เพราะเมื่อหยิบจับสิ่งของก็ต้องใช้งานร่วมกับนิ้วอื่นหรือไม่ใช้เลย บางภาษาไม่มีชื่อเรียกเฉพาะสำหรับนิ้วนางด้วยซ้ำ สำหรับวัฒนธรรมตะวันตก การใส่แหวนที่นิ้วนาง โดยเฉพาะนิ้วนางมือซ้าย สื่อความหมายว่าผู้นั้นได้หมั้นหรือแต่งงานแล้ว ด้วยความเชื่อที่ว่า เส้นเลือดดำที่นิ้วนางมือซ้ายเชื่อมต่อโดยตรงเข้ากับหัวใจที่อยู่ข้างซ้ายเช่นกัน อันเป็นตัวแทนแห่งความรัก แต่สำหรับวัฒนธรรมยุโรป การใส่แหวนที่นิ้วนางมือซ้ายหมายถึงการหมั้น ส่วนนิ้วนางมือขวาหมายถึงการแต่งงาน ด้วยเหตุนี้หลายภาษาจึงเรียกนิ้วนางว่าเป็น นิ้วเพื่อสวมแหวน (ring finger).

ใหม่!!: ภาษาละตินและนิ้วนาง · ดูเพิ่มเติม »

นีโครโนมิคอน

นีโครโนมิคอนจำลอง นีโครโนมิคอน (อักษรละติน: Necronomicon)เป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และถูกหยิบยืมไปอ้างถึงโดยนักประพันธ์อื่นๆ โดยปรากฏครั้งแรกในเรื่องสั้น The Hound ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2467 แต่หนึ่งปีก่อนหน้านั้น เลิฟคราฟท์ก็ได้อ้างคำพูดของตัวละคร อับดุล อัลฮาเซรด ซึ่งเป็นผู้แต่งนีโครโนมิคอนไว้แล้วในเรื่อง The Nameless City เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้นั้นมีเรื่องราวของเกรทโอลด์วันและพิธีกรรมที่ใช้อัญเชิญอยู่ด้วย นักประพันธ์คนอื่นๆ เช่นออกัสต์ เดอเลธและคลาก แอชตัน สมิทได้ยืมเอานีโครโนมิคอนไปอ้างถึงในงานเขียนของตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากเลิฟคราฟท์ซึ่งคิดว่าการยกมาใช้ร่วมกันนี้จะทำให้บรรยากาศของเรื่องสมจริงยิ่งขึ้น ทำให้มีผู้อ่านจำนวนมากเข้าใจผิดว่าหนังสือเล่มนี้มีจริง มีการสั่งซื้อหรือขอนีโครโนมิคอนผ่านทางผู้ขายหนังสือและบรรณารักษ์เป็นจำนวนมาก บางครั้งก็มีการแกล้งใส่ชื่อนีโครโนมิคอนไว้ในรายการหนังสือหายาก และเคยมีนักศึกษาแอบใส่บัตรของนีโครโนมิคอนไว้ในบัตรห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเยล หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว สำนักพิมพ์ต่างๆก็ได้ตีพิมพ์หนังสือโดยใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอนเป็นจำนวนมาก หนังสือรวมงานศิลป์เล่มแรกของเอช อาร์ กีเกอร์ก็ใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและนีโครโนมิคอน · ดูเพิ่มเติม »

นครลอนดอน

นาคารกลางอังกฤษ, ธนาคารกลางของสหราชอาณาจักร นครลอนดอน (City of London) ในทางภูมิศาสตร์เป็นพื้นที่ตอนกลางของลอนดอน ประเทศอังกฤษ นครแห่งนี้ในอดีตเป็นหัวใจสำคัญของลอนดอน เขตแดนของตัวเมืองแทบจะไม่เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ยุคกลาง และดังนั้นมันจึงเป็นส่วนเล็ก ๆ ในเกรเทอร์ลอนดอนซึ่งใหญ่กว่ามาก ในภาษาอังกฤษ นครลอนดอนถูกเรียกย่อ ๆ ว่า พระนคร (The City - เดอะ ซิตี้) หรือ Square Mile (สแควร์ไมล์) เนื่องจากพื้นที่ในนครแทบจะเท่ากับหนึ่งตารางไมล์ (สแควร์ไมล์ แปลว่า ตารางไมล์ ประมาณ 2.6 กม.²) นครลอนดอนไม่ใช่หนึ่งใน 32 ลอนดอนบุรี มีฐานะเป็นมณฑลในประเทศอังกฤษ เทียบเท่ากับเกรเทอร์ลอนดอน เพียงแค่อยู่ในขอบเขตของเกรเทอร์ลอนดอนเท่านั้น จึงไม่ได้หมายความว่ามณฑลแห่งนี้จะเป็นหนึ่งในลอนดอนบุรี ในยุคกลาง นครเต็มเป็นขอบเขตการขยายอย่างเต็มที่ของลอนดอน หลังจากนั้น ได้มีการแยกเขตเวสต์มินสเตอร์ออกมา ซึ่งต่อมากลายเป็นนครเวสต์มินสเตอร์ ขณะนี้คำว่า ลอนดอน ส่วนใหญ่หมายถึงบริเวณตัวเมืองที่ขยายออกแต่ยังเป็นส่วนหนึ่งของลอนดอน ซึ่งรวม 'นคร' ทั้งสองเอาไว้ด้วย นครหลวงลอนดอนยังคงเป็นส่วนหนึ่งของใจกลางเมืองลอนดอน ทุกวันนี้ นครลอนดอนเป็นศูนย์กลางทางการค้าขาย การลงทุน และธุรกิจ ซึ่งอยู่ในระดับเดียวกับนิวยอร์กซิตีในฐานะศูนย์กลางผู้นำของการลงทุนทั่วโลก นครถูกปกครองโดยบรรษัทนครลอนดอน ที่มีความรับผิดชอบแปลก ๆ บางอย่างสำหรับหน่วยงานปกครองท้องถิ่น เช่น เป็นหน่วยงานตำรวจสำหรับนครหลวง นอกจากนี้มันยังมีความรับผิดชอบและการเป็นเจ้าของที่วางอยู่บนขอบเขตนครหลวง คำขวัญภาษาละตินของนครลอนดอน คือ "Domine dirige nos" ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "พระเจ้าทรงนำทางพวกเรา".

ใหม่!!: ภาษาละตินและนครลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมัน

น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ น้ำมัน (Oil) เป็นคำสามัญที่ใช้เรียกสารอินทรีย์ของเหลวที่ผสมเข้ากันไม่ได้ (immiscible) กับน้ำ เนื่องจากน้ำมันเป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว คำว่า น้ำมัน ในภาษาอังกฤษ (Oil) มาจากภาษาละติน oleum ซึ่งหมายถึงน้ำมันมะกอก บ่อยครั้งที่คำว่า น้ำมัน ใช้หมายถึง น้ำมันปิโตรเลียม (น้ำมันดิบ) ซึ่งน้ำมันชนิดนี้จะถูกสูบขึ้นมาจากพื้นดิน ปัจจุบันน้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานหลักและเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจโลก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำดี

น้ำดี (bile or gall) เป็นของเหลวสีเหลืองหรือเขียว มีรสขม หลั่งออกมาจากเซลล์ตับ (hepatocyte) ที่อยู่ในตับของสัตว์มีกระดูกสันหลังเกือบทุกชนิด ในสัตว์หลายชนิด น้ำดีจะถูกเก็บไว้ที่ถุงน้ำดีในระหว่างมื้ออาหาร และเมื่อมีการรับประทานอาหารน้ำดีจะถูกปล่อยออกมาเข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) ที่ซึ่งน้ำดีจะไปทำหน้าที่ช่วยในการย่อยอาหารจำพวกล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและน้ำดี · ดูเพิ่มเติม »

แบกแดด

แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد‎ บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแบกแดด · ดูเพิ่มเติม »

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส. โกเยอร์ (ผู้เขียนบทภาพยนตร์) ที่มาร่วมงานกันเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 ซึ่งภาคนี้ถือเป็นภาพยนตร์แบทแมนเรื่องแรก หลังจากที่ภาค แบทแมนแอนด์โรบิน (Batman & Robin) เมื่อ พ.ศ. 2540 ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบและประสบความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ โดยในภาคนี้ เขาทั้งสองคนได้ดัดแปลงให้มีโทนสีมืดและมีความสมจริงของเนื้อเรื่องมากกว่าที่ภาคที่ผ่านมา การถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ ใช้วิธีการแสดงผาดโผนแบบดั้งเดิมและอาศัยการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก โดยสถานที่ที่ใช้ในการถ่ายทำในเบื้องต้น คือ อังกฤษและชิคาโก แบทแมน บีกินส์ ได้รับกระแสที่ดีทั้งจากคำวิจารณ์และการตอบรับเชิงพาณิชย์ โดยได้มีการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อชื่อว่า แบทแมน อัศวินรัตติกาล (The Dark Knight) ขึ้นมา ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน และนำแสดงโดยคริสเตียน เบล เช่นเดิม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแบทแมน บีกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แบ่งแยกแล้วปกครอง

ในทางการเมืองและสังคมวิทยา แบ่งแยกแล้วปกครอง (divide and rule มาจากภาษาละติน divide et impera) เป็นการรวมยุทธศาสตร์การเมือง การทหารและเศรษฐกิจในการได้มาซึ่งและรักษาอำนาจโดยการแยกอำนาจรวมศูนย์ที่ใหญ่กว่าออกเป็นส่วนเล็ก ๆ ที่แต่ละส่วนมีอำนาจน้อยกว่าผู้ที่กำลังใช้ยุทธศาสตร์ดังกล่าว มโนทัศน์นี้หมายถึง ยุทธศาสตร์ที่แยกโครงสร้างอำนาจที่มีอยู่และป้องกันกลุ่มอำนาจที่เล็กกว่ามิให้รวมกันขึ้น องค์ประกอบของเทคนิคนี้ มี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแบ่งแยกแล้วปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

แฟร็กทัล

แฟร็กทัล จาก เซตมานดัลบรอ, วาดโดยการพล็อตสมการวนซ้ำไปเรื่อย ๆ แฟร็กทัล (Fractal) ในปัจจุบันเป็นคำที่ใช้ในเชิงวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ หมายถึง วัตถุทางเรขาคณิต ที่มีคุณสมบัติคล้ายตนเอง คือ ดูเหมือนกันไปหมด (เมื่อพิจารณาจากแง่ใดแง่หนึ่ง) ไม่ว่าจะดูที่ระดับความละเอียด (โดยการส่องขยาย) หรือ สเกลใดก็ตาม คำว่า แฟร็กทัล นี้ เบอนัว มานดัลบรอ เป็นคนบัญญัติขึ้นในปี ค.ศ. 1975 จากคำว่า fractus ในภาษาละติน ซึ่งแปลว่า แตก หรือ ร้าว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแฟร็กทัล · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์

แกร์ฮาร์ท โยฮัน โรแบร์ท เฮาพ์ทมันน์ แกร์ฮาร์ท โยฮัน โรแบร์ท เฮาพ์ทมันน์ (Gerhart Johann Robert Hauptmann) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862 ณ เมืองโอเบอร์ซาลสบรุนน์ (Obersalzbrunn) ทางตอนใต้ของแคว้นชเลเซียน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า แคว้นซิเลเซีย ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เขาเป็นบุตรคนสุดท้องของเจ้าของโรงแรมที่ทันสมัยชื่อ Zur Preussischen Krone เขาเติบโตมาในครอบครัวชนชั้นกลางที่ได้รับการศึกษา เขาเป็นเด็กที่ช่างคิดช่างฝัน ไม่ชอบคิดอะไรตามกฎเกณฑ์ และชอบวาดรูป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

แมนเชสเตอร์

แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไนล์

แผนที่แสดงเส้นทางการไหลของแม่น้ำไนล์ แม่น้ำไนล์ ในบริเวณอียิปต์ แม่น้ำไนล์ และ กรุงไคโรด้านหลัง แม่น้ำไนล์ (النيل อันนีล; Nile) เป็นแม่น้ำใน ทวีปแอฟริกา เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในโลก โดยถูกค้นพบแหล่งต้นน้ำใหม่ที่ทำให้มีความยาวกว่าเดิมเมื่อไม่นานมานี้ โดยแม่น้ำไนล์มีความยาวทั้งสิ้น 6,695 กิโลเมตร^~^.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแม่น้ำไนล์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเอมส์

แม่น้ำเอมส์ (Ems; Eems) เป็นแม่น้ำทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเยอรมนีและทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ ต้นน้ำอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย ไหลผ่านรัฐโลว์เออร์แซกโซนี ไหลลงทะเลวอดเดน (Wadden Sea) ส่วนหนึ่งของทะเลเหนือ แม่น้ำมีความยาว 371 กม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแม่น้ำเอมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเซกูรา

เซกูรา (สเปนและบาเลนเซีย: Segura; ละติน: Thader; شقورة) เป็นแม่น้ำขนาดกลางทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศสเปน ตั้งชื่อตามทิวเขาซิเอร์ราเดเซกูรา (Sierra de Segura) ซึ่งเป็นต้นน้ำ แม่น้ำไหลไปทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ ลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีความยาว 325 กิโลเมตร เซกูรา.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแม่น้ำเซกูรา · ดูเพิ่มเติม »

แม็ทธิว แพริส

แม็ทธิว แพริส (Matthew Paris) (ราว ค.ศ. 1200 - (ค.ศ. 1259) แม็ทธิว แพริสเป็นนักบวชเบ็นนาดิคติน, นักบันทึกพงศาวดาร (Chronicler) ของยุคกลาง, จิตรกรหนังสือวิจิตร, นักเขียนแผนที่ชาวอังกฤษผู้จำวัดอยู่ที่สำนักสงฆ์เซนต์อัลบันในฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ แม็ทธิวเขียนงานหลายชิ้น ส่วนใหญ่เป็นงานเชิงประวัติศาสตร์ที่แม็ทธิวคัด (scribe) และวาดภาพวิจิตร (illuminate) ประกอบด้วยตนเอง งานส่วนใหญ่จะวาดบางส่วนด้วยสีน้ำที่บางครั้งก็เรียกว่า “tinted drawings” งานเขียนบางชิ้นก็เขียนเป็นภาษาละติน, บางชิ้นก็เป็นภาษาอังกฤษ-นอร์มัน หรือภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง บันทึกประวัติศาสตร์ “Chronica Majora” ที่แม็ทธิวเขียนเป็นหนังสือที่ได้รับการใช้ในการอ้างอิงบ่อยครั้ง แม้ว่านักประวัติศาสตร์สมัยใหม่จะทราบว่าเป็นงานเขียนที่ไม่ค่อยน่าเชื่อถือเท่าใดนักก็ตาม แม็ทธิวมักจะสรรเสริญสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์อย่างเลิศลอย และจะหนักไปในทางประณามพระสันตะปาป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแม็ทธิว แพริส · ดูเพิ่มเติม »

แร็กคูน

แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแร็กคูน · ดูเพิ่มเติม »

แร็มบรันต์

แร็มบรันต์ 100px แร็มบรันต์ ฮาร์เมินส์โซน ฟัน ไรน์ (Rembrandt Harmenszoon van Rijn; 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2149 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2212) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ในประวัติศาสตร์ศิลปะยุโรปและเป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดรายหนึ่งของโลก ผลงานของแร็มบรันต์ทำให้เนเธอร์แลนด์รุ่งเรืองสุดขีดหรือที่เรียกว่ายุคทองในช่วงศตวรรษที่ 17 และเป็นผู้มีอำนาจทั้งด้านอิทธิพลการเมือง วิทยาศาสตร์ พาณิชย์ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องจิตรกรรม เขาเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัวเจ้าของโรงงานและหุ้นส่วนโรงสีลมในเมืองไลเดิน เนเธอร์แลนด์ พี่น้องของแร็มบรันต์ถูกฝึกหัดเป็นเจ้าของโรงงาน คนทำขนมปัง หรือช่างทำรองเท้า แต่พ่อแม่ส่งลูกคนเล็กสุดของพวกเขาตอนอายุเจ็ดขวบไปที่โรงเรียนประถมมัธยมศึกษาโปรเตสแตนต์ที่ซึ่งเขาเรียนภาษาละติน เมื่อเขาอายุ 14 ปี แร็มบรันต์ลงทะเบียนที่มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของไลเดิน แต่เขาแทบจะไม่เรียนมากเพราะว่าในขณะเดียวกันเขาขอให้พ่อแม่ของเขาฝึกหัดเขาให้เป็นจิตรกร ความหวังของเขาได้รับการเติมเต็ม และเขากลายเป็นลูกศิษย์ของศิลปินท้องถิ่น ยาโกบ ฟัน สวาเนินบืร์ค (Jacob van Swanenburgh) ซึ่งเพิ่งกลับมาหลังจากการอยู่อาศัยที่ยาวนานในอิตาลี ระหว่างช่วงนี้เขาได้วาดฉากมากมายของแม่มดและนรก เขาสอนแร็มบรันต์ว่าถ่ายความรู้สึกของมนุษย์ลงในภาพอย่างไร ใช้แสงและความมืดเพื่อแบ่งแยกองค์ประกอบสำคัญจากสิ่งเล็กน้อยอย่างไร หลังจากเสร็จการฝึกหัดของเขา แร็มบรันต์ในวัยเยาว์ไปอัมสเตอร์ดัมเป็นครั้งแรก รับการสอนจากปีเตอร์ ลัสต์มัน เป็นไปได้ว่าแร็มบรันต์ใช้เวลาไม่เกินหกเดือนกับลัสต์มันก่อนกลับไปบ้านเดิมของเขาที่ไลเดิน แร็มบรันต์ฝึกงานครั้งแรกของเขา เขาใช้จ่ายร้อยกิลเดอร์ต่อปี ไม่รวมอาหารและที่พัก ต่อมาเขาควบคุมสตูดิโอขนาดใหญ่กับผู้ช่วยและเด็กฝึกงานประมาณ 50 คน พ่อของแร็มบรันต์เสียชีวิตในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแร็มบรันต์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์ซาย

แวร์ซาย (Versailles) เป็นเมืองที่โด่งดังในฐานะที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังแวร์ซาย แวร์ซายเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฝรั่งเศสโดยพฤตินัยเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ นับจาก..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

แสกหน้า

แสกหน้า (glabella) เป็นชื่อเรียกบริเวณระหว่างคิ้วและเหนือจมูก ส่วนนี้จะเป็นสันนูนเล็กน้อยเชื่อมระหว่างสันคิ้ว (superciliary ridges) รากศัพท์ภาษาอังกฤษมาจากภาษาละติน "glabellus" แปลว่า เรียบ เพราะบริเวณนี้ไม่มีขนคิ้ว สำหรับภาษาไทย แสกหน้า เป็นคำประสมระหว่าง แสก ซึ่งแปลว่า แนวที่อยู่ระหว่างกลางราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแสกหน้า · ดูเพิ่มเติม »

แอบบีย์

“แอบบีย์คลูนี” ในประเทศฝรั่งเศส แอบบีย์ (Abbey) คืออารามหรือคอนแวนต์ในนิกายโรมันคาทอลิก ที่อยู่ภายใต้การปกครองของอธิการอาราม (Abbot) หรืออธิการิณีอาราม (Abbess) ซึ่งทำหน้าที่เป็นพ่อหรือแม่ฝ่ายจิตวิญญาณของเหล่านักพรตที่อาศัยในแอบบีย์ “แอบบีย์” เดิมมาจาก “abbatia” ในภาษาละติน (ซึ่งแผลงจากคำ “abba” ในภาษาซีเรียค ที่แปลว่า “พ่อ”) คำว่า “แอบบีย์” อาจจะหมายถึงคริสต์ศาสนสถานที่ในปัจจุบันไม่มีฐานะเป็นแอบบีแล้ว แต่ยังคงใช้ชื่ออยู่ ซึ่งบางครั้งก็ใช้ต่อมาเป็นเวลาหลายร้อยปี เช่น แอบบีเวสต์มินสเตอร์ หรือใช้เรียกคฤหาสน์ชนบท หรือสิ่งก่อสร้างอื่นที่เดิมเป็นแอบบี แต่มาเปลี่ยนมือเป็นของคฤหัสถ์หลังจากการประกาศพระราชกฤษฎีกายุบอารามโดยพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เช่น มิสเซนเดนแอบบีย์ (Missenden Abbey).

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมบิแกรม

แอมบิแกรม (ambigram) คือ คำหรือกลุ่มคำที่สร้างขึ้นมาและสามารถอ่านได้อย่างน้อยสองทิศทาง คือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอมบิแกรม · ดูเพิ่มเติม »

แอมเพอร์แซนด์

แอมเพอร์แซนด์ (ampersand) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า แอนด์ (&) คือสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนคำว่า and ในภาษาอังกฤษ มาจากการรวมอักษรของคำในภาษาละติน et แปลว่า "และ".

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอมเพอร์แซนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ

แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แอดวานซ์ออสเตรเลียแฟร์

แอดวานซ์ออสเตรเลียแฟร์ (Advance Australia Fair) เป็นชื่อของเพลงชาติอย่างเป็นทางการของเครือรัฐออสเตรเลีย ประพันธ์ขึ้นราวปี พ.ศ. 2421 โดยปีเตอร์ ดอดส์ แมคคอร์มิค นักประพันธ์ชาวสกอตแลนด์ ผู้ใช้นามปากกาว่า อะมีคัส (แปลว่าเพื่อนในภาษาละติน) เพลงนี้ถูกขับร้องอยู่ในฐานะเพลงปลุกใจมาตลอดจนถึง พ.ศ. 2527 จึงได้รับเลือกให้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการของเครือรัฐออสเตรเลีย โดยเพลงอื่นที่มีการลงคะแนนเสียงให้ใช้เป็นเพลงชาติด้วยแต่ไม่ได้รับเลือก ได้แก่ เพลงก็อดเซฟเดอะควีน ซึ่งใช้เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของบรรดาประเทศในเครือจักรภพ และเพลง "วอลท์ซิง มาทิลดา" (Waltzing Matilda) อันถือกันว่าเป็นเพลงชาติออสเตรเลียอย่างไม่เป็นทางการ เพลงปลุกใจและเพลงมาร์ชอื่นๆ ในออสเตรเลียนั้น มีหลายเพลงที่ได้รับอิทธิพลจาก "แอดวานซ์ออสเตรเลียแฟร์" เช่น เพลงคำนับสำหรับผู้สำเร็จราชการแห่งเครือรัฐออสเตรเลีย เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอดวานซ์ออสเตรเลียแฟร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอดแดกซ์

แอดแดกซ์ หรือ แอนทิโลปขาว หรือ แอนทิโลปเขาเกลียว (addax, white antelope, screwhorn antelope) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นแอนทิโลปชนิดหนึ่ง จำพวกแอนทิโลปปศุสัตว์ จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Addax โดยคำว่า "แอดแดกซ์" นั้นมาจากภาษาอาหรับแปลว่า "สัตว์ป่าเขาเบี้ยว" ขณะที่ชื่อชนิดทางวิทยาศาสตร์ nasomaculatus มาจากภาษาละตินแปลว่า "จมูกเป็นจุด" (nasus (หรืออุปสรรคว่า naso) หมายถึง "จมูก" และ macula หมายถึง "จุด" และหน่วยคำเติม atus) ขณะที่ชาวเบดูอินจะรู้จักแอดแดกซ์ดี โดยคำว่าแอดแดกซ์นั้นมาจากภาษาอาหรับเรียกว่า bakr (หรือ bagr) al wahsh หมายถึง วัว, ควาย หรือสัตว์กีบทั่วไป แอดแดกซ์มีความแตกต่างจากแอนทิโลปอื่น ๆ ที่มีฟันขนาดใหญ่รูปสี่เหลี่ยมและไร้ต่อมบนหน้า มีความสูงจากไหล่ 91–115 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 120–130 เซนติเมตร ความยาวหาง 25–35 เซนติเมตร น้ำหนัก 60–125 กิโลกรัม ตัวเมียขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีขนสีน้ำตาลเทาในฤดูหนาว และเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือสีซีดในฤดูร้อน มีขนสีน้ำตาลหรือดำรูปตัวเอ็กซ์บนจมูก ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเขาทั้งคู่ ลักษณะเขาบิดเป็นเกลียวยาว 55–85 เซนติเมตร และมีการขด 2–3 ครั้ง มีกีบเท้าขนาดใหญ่เพื่อเดินบนพื้นทราย ที่กีบเท้าทั้งหมดมีต่อมกลิ่นอยู่ แต่เป็นสัตว์ที่มีความเชื่องช้าจึงมักตกเป็นเหยื่อของสัตว์นักล่าอยู่เสมอ ๆ เช่น หมาล่าเนื้อแอฟริกา, ไฮยีนา, ชีตาห์, เสือดาว, คาราคัล, เซอวัล โดยเป็นสัตว์ที่ไม่ก้าวร้าวแม้จะถูกรบกวนก็ตาม พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาเหนือ โดยเป็นสัตว์พื้นเมืองของชาด, มอริเตเนีย และไนเจอร์ ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วที่แอลจีเรีย, อียิปต์, ลิเบีย, ซูดาน และสะฮาราตะวันตก และกำลังได้รับการฟื้นฟูที่โมร็อกโกและตูนิเซีย ปัจจุบันเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตเนื่องจากพบน้อยกว่า 500 ตัว ในแถบทะเลทรายสะฮารา เป็นสัตว์ที่มีความอดทนอย่างมากจากการขาดน้ำเนื่องจากรับน้ำจากอากาศและพืชจำพวกพุ่มไม้หรืออาเคเชียที่กินเข้าไป อีกทั้งยังมีกระเพาะที่มีความพิเศษที่เก็บน้ำไว้ใช้ในคราวจำเป็น และปัสสาวะก็มีความเข้มข้นเป็นพิเศษ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืนโดยจะหลบนอนอยู่ตามร่มเงาของภูเขาทรายในเวลากลางวันและหลบพายุทะเลทราย แต่แอดแดกซ์เป็นสัตว์ที่มีอยู่จำนวนมากในสถานที่เลี้ยงหรือเขตอนุรักษ์ทางธรรมชาติในปัจจุบัน มีโครงการขยายพันธุ์ในหลายประเทศในหลายทวีป ทั้ง อิสราเอล, ญี่ปุ่น, อเมริกาเหนือ, ซูดาน, อียิปต์, ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอดแดกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แองกลิคัน

นิกายแองกลิคัน (Anglicanism) คือคำที่กล่าวถึงความเชื่อหรือการปฏิบัติของนิกายศาสนาคริสต์ที่มีประวัติเกี่ยวข้องกับ หรือ มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับคริสตจักรแห่งอังกฤษ คำว่า “อังกลิคัน” มาจากคำว่า “ecclesia anglicana” ในภาษาละตินยุคกลางที่ใช้กันมาตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแองกลิคัน · ดูเพิ่มเติม »

แอนาเล็มมา

แอนาเล็มมาที่ได้จากการถ่ายรูป โดยมองไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือบนทรงกลมฟ้า ในทางดาราศาสตร์ แอนาเล็มมา (analemma; IPA: /ˌænəˈlɛmə/ ภาษาละตินใช้เรียกฐานของนาฬิกาแดด) หมายถึงเส้นโค้งที่แสดงถึงตำแหน่งเชิงมุมของเทหวัตถุบนทรงกลมฟ้า (ปกติหมายถึงดวงอาทิตย์) โดยมองจากเทหวัตถุอีกที่หนึ่ง (ปกติหมายถึงโลก) ตัวอย่างเช่น เมื่อเรารู้ว่าวันโดยเฉลี่ยของโลกเท่ากับ 24 ชั่วโมง แอนาเล็มมาสามารถติดตามได้โดยการทำเครื่องหมายตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ที่มองจากสถานที่หนึ่งๆ บนโลกในเวลาเดิมทุก 24 ชั่วโมงตลอดทั้งปี ตำแหน่งของดวงอาทิตย์จะปรากฏเป็นเส้นโค้งคล้ายเลขแปด มีตัวแปรสามอย่างที่ส่งผลถึงรูปร่างของแอนาเล็มมาได้แก่ ความเอียงของแกน (axial tilt) ความเบี้ยวของวงโคจร (orbital eccentricity) และมุมระหว่าง apse line กับเส้นตรงของอายัน สำหรับเทหวัตถุที่มีวงโคจรเป็นวงกลมโดยสมบูรณ์และไม่มีความเอียงของแกนดาว ดวงอาทิตย์จะปรากฏอยู่ที่ตำแหน่งเดิมในเวลาเดิมทุกวัน รูปร่างแอนาเล็มมาจะเป็นแค่เพียงจุดจุดเดียว สำหรับเทหวัตถุที่มีวงโคจรและความเอียงของแกนเท่ากับโลก จะมองเห็นเป็นเลขแปดที่วงวนด้านเหนือกับวงวนด้านใต้จะมีขนาดเท่ากัน และสำหรับเทหวัตถุที่มีวงโคจรเหมือนโลกแต่ไม่มีความเอียงของแกน แอนาเล็มมาจะเป็นรูปเส้นตรงขนานไปกับทิศตะวันออกและทิศตะวันตก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอนาเล็มมา · ดูเพิ่มเติม »

แอนทิโลป

วาดของส่วนหัวและเขาของแอนทิโลปหลายชนิด แอนทิโลป (antelope) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่ง มีหลายชนิด ในหลายสกุล ในอันดับสัตว์กีบคู่ ในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) โดยทั่วไปแล้วแอนทิโลปจะมีลักษณะคล้ายกับกวางซึ่งเป็นสัตว์กีบคู่เหมือนกัน แต่อยู่ในวงศ์กวาง (Cervidae) และคำนิยามในพจนานุกรมก็มักจะระบุเช่นนั้นว่า แอนทิโลปเป็นสัตว์จำพวกเนื้อและกวางชนิดที่มีเขาเป็นเกลียว หรือบางทีก็แปลว่า ละมั่ง แต่ที่จริงแล้วแอนทิโลปมิใช่กวาง แม้จะมีรูปร่างภายนอกคล้ายคลึงกันก็ตาม แต่แอนทิโลปเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับวัวหรือควาย, แพะ หรือแกะ เนื่องจากจัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน ซึ่งลักษณะสำคัญของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ เขามีลักษณะโค้งเป็นเกลียว แต่ข้างในกลวง และมีถุงน้ำดี แอนทิโลปกระจายพันธุ์ไปในแอฟริกาและยูเรเชีย แต่ไม่พบในประเทศไทย โดยสัตว์ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นแอนทิโลปได้ในประเทศไทย ได้แก่ เลียงผา และกวางผา ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ตามภูเขาสูง พบเห็นตัวได้ยาก คำว่า แอนทิโลป ปรากฏครั้งแรกในภาษาอังกฤษเมื่อปี ค.ศ. 1417 โดยได้รับมาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า หรืออาจจะมาจากภาษากรีกคำว่า "anthos" ซึ่งหมายถึง "ดอกไม้" และ "ops" ที่หมายถึง "ตา" อาจหมายถึง "ตาสวย" หรือแปลได้ว่า "สัตว์ที่มีขนตาสวย" แต่ในระยะต่อมาในเชิงศัพทมูลวิทยาคำว่า "talopus" และ "calopus" มาจากภาษาละตินในปี ค.ศ. 1607 ใช้เป็นครั้งแรกเพื่อเรียกสัตว์จำพวกกวาง แอนทิโลปมีประมาณ 90 ชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา มี 30 สกุล กระจายไปในวงศ์ย่อยต่าง ๆ เช่น Alcelaphinae, Antilopinae, Hippotraginae, Reduncinae, Cephalophinae, Bovinae รวมถึงอิมพาลา บางครั้งก็ถูกเรียกว่าแอนทิโลปบ้างเหมือนกัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอนทิโลป · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนีอธิการ

นักบุญแอนโทนี (หรืออันตน) อธิการ (St.) เกิดเมื่อประมาณปี ค.ศ. 251 และถึงแก่มรณกรรมประมาณปี ค.ศ. 356 หรือที่รู้จักกันว่าแอนโทนีผู้ยิ่งใหญ่ (Anthony the Great) แอนโทนีแห่งอียิปต์ (Anthony of Egypt) แอนโทนีแห่งทะเลทราย (Anthony of the Desert) แอนโทนีแองคอไรต์ (Anthony the Anchorite) คุณพ่ออันโตนีอุส (Abba Antonius) และบิดาแห่งนักพรตทั้งปวง (Father of All Monks) นักบุญแอนโทนีอธิการเป็นนักบุญในศาสนาคริสต์ชาวอียิปต์ ที่เป็นผู้นำของนักพรตในศาสนาคริสต์ที่ใช้ชีวิตอย่างสันโดษในทะเลทราย (ปิตาจารย์ทะเลทราย) ในประเทศอียิปต์ ท่านใช้ชีวิตส่วนใหญ่ที่เมืองอะเล็กซานเดรีย และเป็นอธิการอารามอะเล็กซานเดรีย ชีวประวัติของนักบุญแอนโทนีเขียนโดยนักบุญอะทาเนเชียสแห่งอะเล็กซานเดรีย ซึ่งช่วยเผยแพร่การใช้ชีวิตอารามวาสีแบบนักบุญแอนโทนีไปยังยุโรปตะวันตกโดยแปลเป็นภาษาละติน ซึ่งยึดถือคติความสันโดษและยากจนเป็นหลักในการขัดเกลาตนเอง และเป็นต้นแบบนักพรตคาทอลิกในยุโรปในเวลาต่อมา นักบุญแอนโทนีอธิการเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ผู้ป่วยโรคติดต่อโดยเฉพาะโรคงูสวัด ฉะนั้นบางทีที่ประเทศอิตาลีหรือประเทศมอลตาจึงเรียกโรคนี้ว่า “ไฟแอนโทนี” (Anthony's fire) หมวดหมู่:นักบุญชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญชาวอียิปต์ หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4 หมวดหมู่:นักบุญในตำนานทอง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอนโทนีอธิการ · ดูเพิ่มเติม »

แอนเดรียส เวซาเลียส

แอนเดรียส เวซาเลียส แอนเดรียส เวซาเลียส (Andreas Vesalius) (บรัสเซลส์, 31 ธันวาคม ค.ศ. 1514 - ซาคินธอส, 15 ตุลาคม ค.ศ. 1564) นักกายวิภาคศาสตร์ แพทย์ และผู้เขียนหนังสือที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์ชื่อ “โครงสร้างของร่างกายมนุษย์” (De humani corporis fabrica) เวซาเลียสถือว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งกายวิภาคศาสตร์มนุษย์สมัยใหม่ เวซาเลียส (Vesalius) เป็นชื่อภาษาละตินของ อันเดรอัส ฟาน เวเซล (Andreas van Wesel) บางครั้งอาจเรียกชื่อของเขาว่า Andreas Vesal.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแอนเดรียส เวซาเลียส · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter and the Philosopher's Stone) เป็นนวนิยายเล่มแรกในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ และนวนิยายประเดิมของเจ. เค. โรว์ลิง โครงเรื่องติดตามแฮร์รี่ พอตเตอร์ พ่อมดหนุ่มผู้ค้นพบมรดกเวทมนตร์ของเขา พร้อมกับสร้างเพื่อนสนิทและศัตรูจำนวนหนึ่งในปีแรกที่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ ด้วยความช่วยเหลือของมิตร แฮร์รี่เผชิญกับความพยายามหวนคืนของพ่อมดมืด ลอร์ดโวลเดอมอร์ ซึ่งฆ่าบิดามารดาของแฮร์รี่ แต่ไม่สามารถฆ่าเขาได้เมื่ออายุหนึ่งขวบ บลูมส์บิวรีในกรุงลอนดอนจัดพิมพ์หนังสือดังกล่าวเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2540 ในปี 2541 บริษัทสกอลาสติกจัดพิมพ์ฉบับสำหรับตลาดสหรัฐอเมริกาภายใต้ชื่อเรื่อง Harry Potter and the Sorcerer's Stone นวนิยายดังกล่าวชนะรางวัลหนังสืออังกฤษส่วนใหญ่ซึ่งตัดสินโดยเด็ก และรางวัลอื่นในสหรัฐอเมริกา หนังสือนี้แตะอันดับ 1 รายการบันเทิงคดีขายดีของนิวยอร์กไทมส์ ในเดือนสิงหาคม 2542 และอยู่ใกล้อันดับ 1 เป็นส่วนใหญ่ของปี 2542 และ 2543 มีการแปลเป็นภาษาอื่นอีกหลายภาษา และมีการสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน บทปริทัศน์ส่วนใหญ่ชื่นชอบมาก โดยออกความเห็นต่อจินตนาการ ความขบขัน ความเรียบง่าย ลีลาตรงไปตรงมาและการสร้างโครงเรื่องที่ฉลาดของโรว์ลิง แม้บ้างติว่า บทท้าย ๆ ดูรวบรัด มีการเปรียบเทียบงานนี้กับงานของเจน ออสเตน ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์คนโปรดคนหนึ่งของโรว์ลิง หรือโรอาลด์ ดาห์ล ซึ่งงานของเขาครอบงำเรื่องสำหรับเด็กก่อนมีแฮร์รี่ พอตเตอร์ และโฮเมอร์ นักเล่านิยายกรีกโบราณ แม้นักวิจารณ์บางส่วนคิดว่า หนังสือนี้ดูย้อนกลับไปเรื่องโรงเรียนกินนอนสมัยวิกตอเรียและเอ็ดเวิร์ด แต่นักวิจารณ์อื่น ๆ คิดว่า หนังสือนี้วางประเภทอยู่ในโลกสมัยใหม่อย่างแนบแน่นโดยมีลักษณะประเด็นจริยธรรมและสังคมร่วมสมัย แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ ร่วมกับที่เหลือของชุดถูกกลุ่มศาสนาหลายกลุ่มโจมตีและห้ามในบางประเทศเพราะกล่าวหาว่านวนิยายนี้ส่งเสริมเวทมนตร์คาถา แต่นักวิจารณ์คริสตศาสนิกบางคนเขียนว่า หนังสือนี้ยกตัวอย่างมุมมองที่สำคัญของศาสนาคริสต์หลายอย่าง ซึ่งรวมอำนาจของการสละตนเองและวิธีซึ่งการตัดสินใจของบุคคลก่อเป็นบุคลิกภาพของเขา นักการศึกษาถือว่า แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ และหนังสือตามมาเป็นตัวช่วยพัฒนาการรู้หนังสือที่สำคัญเพราะความนิยม นอกจากนี้ ยังใช้หนังสือชุดนี้เป็นแหล่งตัวอย่างในเทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์สังคมวิทยาและการตล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮลิแฟกซ์

แฮลิแฟกซ์ (Halifax) เป็นเมืองหลวงของรัฐโนวาสโกเชีย ประเทศแคนาดา เทศบาลมีประชากร 403,131 คน ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแฮลิแฟกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แทนาทอส

แทนาทอส (Thanatos, กรีกโบราณ: θάνατος แปลว่า ความตาย) หรือ ออร์คัส (Orcus) ในภาษาลาตินที่ชาวโรมันเรียก เป็นเทพองค์หนึ่งในตำนานเทพของกรีก เป็นเทพแห่งความความตาย เป็นผู้ที่สามารถควบคุมความตายของสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตบนโลก เป็นบุตรชายของนิกซ์ (Nyx) เทพีแห่งราตรี และ อีราบัส (Erabus) เทพแห่งความมืด เป็นน้องชายฝาแฝดของฮิปนอส (Hypnos) เทพแห่งนิทรา โดยทั้งคู่อาศัยอยู่ยังขุมนรก เป็นเทพผู้ช่วยของฮาเดส (Hades) จ้าวแห่งนรก แทนาทอสนั้นจะรับวิญญาณของผู้ที่ตายอย่างสงบไปยังยมโลกด้วยตนเอง แต่จะให้เหล่าเคอร์ซึ่งเป็นพี่สาวจับวิญญาณที่ตายอย่างทารุณไปก่อน รูปลักษณ์ของทั้งฮิปนอสและแทนาทอส มักเป็นรูปชายหนุ่มเปลือยกาย หน้าตาเหมือนกัน ทั้งคู่จะมีปีกอยู่ที่ศีรษะคนละข้างสลับกัน มือหนึ่งของแทนาทอสมักถือผีเสื้อหรือมาลัยดอกไม้ โดยบทบาทของแทนาทอสในเทพนิยาย แทนาทอสจะเป็นผู้รับวิญญาณมนุษย์ไปยังยมโลก แต่ในบางตำนานจะยกบทบาทนี้ให้เฮอร์มีส (Hermes) เทพแห่งการสื่อสาร ปรากฏตอนนึงความว่า ได้ถูกกษัตริย์ซีซิสฟัส (Sisyphus) หลอกล่อจนหลงกลแล้วถูกจับขัง ทำให้ไม่มีคนตาย จนกระทั่งเอรีส (Ares) เทพแห่งสงครามหงุดหงิดที่ไม่มีคนตายในการสู้รบ จึงได้ใช้กำลังปลดปล่อยแทนาทอสและพาซีซิสฟัสไปยังยมโลก เนื่องจากเป็นเทพแห่งความตาย ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนหวาดกลัว และแม้แต่เหล่าเทพก็ยังรังเกียจแทนาทอส จึงนับว่า แทนาทอสเป็นปีศาจตนหนึ่งก็ว่าได้ โดยแทนาทอสเองก็เกลียดชังมนุษย์และเทพเจ้าอื่น ๆ เช่นเดียวกัน แทนาทอสนั้นเคยต่อสู้กับวีรบุรุษ เฮราคลีส โดยเฮราคลีสนั้นต้องการช่วยเหลือราชินีอัลเคสทิส (Alkestis) ซึ่งยอมสละชีวิตตนเพื่อให้พระสวามี แอดมีตอส (Admetos) มีพระชนม์ชีพยืนยาว เมื่อเฮราคลีสสามารถล้มแทนาทอสได้จึงเท่ากับเป็นผู้มีชัยเหนือความตาย แทนาทอสจึงยอมให้อัลเคสทิสมีชีวิตต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแทนาทอส · ดูเพิ่มเติม »

แท็กซี่

รถแท็กซี่ในซานฟรานซิสโก แท็กซี่ เป็นการโดยสารสาธารณะประเภทหนึ่งสำหรับผู้โดยสารคนเดียว หรือกลุ่มเล็ก ๆ รถแท็กซี่เป็นยานพาหนะไว้สำหรับว่าจ้างโดยผู้ขับจะส่งผู้โดยสารระหว่างที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งตามที่ผู้โดยสารอยากจะไป แท็กซี่ เป็นคำย่อมาจาก แท็กซี่ แค็บ คิดค้นโดยแฮร์รี่ เอ็น อัลเลน นักธุรกิจชาวนิวยอร์กที่นำเข้ารถแท็กซี่มาจากฝรั่งเศส โดยย่อมาจากคำว่า แท็กซี่มิเตอร์ แค็บ อีกที ส่วนคำว่า cab มาจากคำว่า cabriolet คือรถม้าลากจูง และคำว่า taxi เป็นรากศัพท์ภาษาละตินในยุคกลาง ซึ่งมาจาก คำว่า taxa ที่หมายถึง ภาษีหรือการคิดเงิน และคำว่า meter มาจากภาษากรีกคำว่า metron แปลว่า วัดระยะทาง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแท็กซี่ · ดูเพิ่มเติม »

แคม (อวัยวะเพศ)

แคม หรือ ลาเบียม (Labium) คือส่วนหนึ่งของช่องสังวาส เป็นโครงสร้างคล้ายริมฝีปาก สี ขนาด และลักษณะที่ปรากฏของแคมมีได้หลากหลายในผู้หญิงแต่ละคน บางคนแคมเล็กเกือบไม่มี และในอีกคนอาจอวบและโหนกออกมา เป็นความแตกต่างเฉพาะบุคคล ขณะที่บางอย่างอาจโยงถึงพันธุกรรม เช่น แคมเล็กของชาว (khoisan) ผ้ากันเปื้อน (khoikhoi) อาจย้อยลงมาถึง 4 นิ้ว ออกมานอกแคมใหญ่ เมื่อยืนระหว่างถูกกระตุ้นทางเพศ แคมจะมีเลือดมาคั่งเต็มจนล้นออกมาให้เห็น และมีสีคล้ำหรือแดงขึ้น ลาเบียมเป็นพหูพจน์ labia มาจาภาษาละติน หมายถึง "ริมฝีปาก" ใช้อธิบายถึงโครงสร้างคล้ายริมฝีปาก แต่ในภาษาอังกฤษมักใช้เรียกส่วนของช่องสังว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคม (อวัยวะเพศ) · ดูเพิ่มเติม »

แคลอรีมิเตอร์

แคลอรีมิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติของสาร ซึ่งก็คือ การวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางการยภาพเช่นเดียวกับความร้อนจำเพาะ คำว่า calorimeter มาจากคำในภาษาละตินว่า calor แปลว่า ความร้อน แคลอรีมิเตอร์ประเภทที่ใช้กันโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ ดิฟเฟอเรนเชียล สแกนนิง แคลอรีเมทรี, ไอโซเธอร์มัล ไมโครแคลอรีมิเตอร์, แคลอรีมิเตอร์ไทเทรต และแคลอรีมิเตอร์อัตราเร่ง แคลอรีมิเตอร์รูปแบบง่าย ๆ ประกอบด้วยเทอร์โมมิเตอร์ติดเข้ากับภาชนะโลหะซึ่งมีน้ำบรรจุอยู่เต็มแขวนอยู่เหนือห้องเผาไหม้ เพื่อหาการเปลี่ยนแปลงเอนทัลปีต่อโมลของสสาร A ในปฏิกิริยาระหว่างสองสสาร A และ B สสารจะถูกเพิ่มเข้าไปในแคลอรีมิเตอร์และบันทึกอุณหภูมิก่อนปฏิกิริยาและหลังปฏิกิริยา ค่าพลังงานที่ดูดหรือคายจากปฏิกิริยาสามารถหาได้จาก ผลคูณของผลต่างอุณหภูมิหารด้วยมวลและความร้อนจำเพาะของสสาร การเปลี่ยนแปลงเอนทัลปีของปฏิกิริยาสามารถหาได้จาก ผลหารระหว่างผลต่างอุณหภูมิต่อจำนวนโมลของสสาร A วิธีการดังกล่าวถูกใช้ในการสอนทางวิชาการเป็นหลัก เนื่องจากเป็นทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงสมบัติของสาร แต่แนวคิดนี้ไม่ได้รวมถึงความร้อนซึ่งสูญเสียผ่านทางภาชนะหรือความร้อนจำเพาะของเทอร์โมมิเตอร์และภาชนะ นอกเหนือจากนั้น วัตถุซึ่งวางอยู่ภายในแคลอรีมิเตอร์แสดงว่าวัตถุได้มีการแลกเปลี่ยนความร้อนกับแคลอรีมิเตอร์และเข้าไปในของเหลว และความร้อนจะถูกดูดกลืนโดยแคลอรีมิเตอร์และของเหลวเท่ากับที่ความร้อนซึ่งโลหะคายออกมา หมวดหมู่:อุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ หมวดหมู่:เครื่องมือวัด ja:熱#熱量計.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคลอรีมิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคลนนาด

แคลนนาด เป็นวงดนตรีไอริช จากเมือง Gweedore, County Donegal ประเทศไอร์แลนด์ เล่นดนตรีในแนวโฟล์ก เคลติก ป็อปร็อก และนิวเอจ ร้องเพลงในภาษาอังกฤษ ละติน โมฮิแกน แกลิก ในสำเนียงไอริช มียอดขายผลงานกว่า 15 ล้านชุดทั่วโลก (ข้อมูลปี 2008) และยังคว้ารางวัลแกรมมี่ ในปี 1998 อีกด้วย ชื่อ Clannad มาจากคำว่า Clann As Dobhar หมายความว่า 'the family from Dore' (ครอบครัวจากเมือง Dobhair).

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคลนนาด · ดูเพิ่มเติม »

แควาเลียร์ผู้หัวเราะ

''แควาเลียร์ผู้หัวเราะ'' ค.ศ. 1624 แควาเลียร์ผู้หัวเราะ คือภาพวาดเหมือนในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแควาเลียร์ผู้หัวเราะ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกาลิเซีย

กาลิเซีย (กาลิเซียและGalicia) เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศสเปนที่มีฐานะเป็นแคว้นปกครองตนเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของคาบสมุทรไอบีเรีย มีพรมแดนร่วมกับประเทศโปรตุเกสทางทิศใต้ และมีพรมแดนร่วมกับแคว้นคาสตีล-เลออนและแคว้นอัสตูเรียสทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคว้นกาลิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกาตาลุญญา

กาตาลุญญา (Catalunya; Cataluña), กาตาลุญญอ (อารัน: Catalonha) หรือ แคทาโลเนีย (Catalonia) เป็นภูมิภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ปัจจุบัน สถานะทางรัฐธรรมนูญของภูมิภาคนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทระหว่างราชอาณาจักรสเปนซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นแคว้นปกครองตนเองแห่งหนึ่งของตน กับฌานาราลิตัตดากาตาลุญญา (ทบวงการปกครองในท้องถิ่น) ซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นสาธารณรัฐเอกราชหลังจากที่สภานิติบัญญัติกาตาลุญญาประกาศเอกราชจากสเปนเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคว้นกาตาลุญญา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอาบรุซโซ

อาบรุซโซ (Abruzzo) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ห่างจากกรุงโรมไปทางตะวันออกประมาณ 50 ไมล์ มีพื้นที่ติดต่อกับแคว้นมาร์เคทางทิศเหนือ ทะเลเอเดรียติกทางทิศตะวันออก แคว้นโมลีเซทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแคว้นลัตซีโยทางทิศตะวันตกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ ถึงแม้ว่าแคว้นอาบรุซโซมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์อยู่บริเวณภาคกลาง แต่แคว้นนี้มักถูกจัดอยู่ในภาคใต้เนื่องจากมีลักษณะทางประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสองในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมตอนใต้ของอิตาลีทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคว้นอาบรุซโซ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นตอสคานา

ตอสคานา (Toscana) หรือ ทัสกานี (Tuscany) เป็นแคว้นหนึ่งของประเทศอิตาลี มีเมืองฟลอเรนซ์ (ฟีเรนเซ) เป็นเมืองหลัก มีเนื้อที่ทั้งหมด 22,990 ตารางกิโลเมตร และมีผู้คนอาศัยอยู่ 3.6 ล้านคน แคว้นตอสคานามีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม (เนื่องจากเป็นที่กำเนิดของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา) สถาปัตยกรรม ศาสนา วัฒนธรรม และอุตสาหกรรม (เนื่องจากมีโรงงานผลิตเสื้อผ้า เสื้อนุ่งห่ม เครื่องหนังจำนวนมาก) ของประเทศอิตาลี แคว้นแห่งนี้เองที่เป็นที่ตั้งของหอเอนเมืองปิซาอันโด่งดัง นอกจากนี้ แคว้นตอสคานายังขึ้นชื่อว่ามีทิวทัศน์งดงามมาก และมีไวน์รสชาติดีเยี่ยม ภาษาอิตาลีที่พูดกันในแคว้นตอสคานาเป็นที่ยอมรับว่าเป็นการพูดแบบชาวอิตาลีโดยแท้จริงและยอมรับให้เป็นสำเนียงราชการ สำหรับชื่อแคว้น ชาวอิตาลีเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ตอสคานา" แต่ภาษาอังกฤษเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ทัสกานี" ในภาษาอื่น ๆ ก็มีชื่อเรียกต่างกันไปอีก เช่น ภาษาฝรั่งเศสเรียกว่า Toscane ในภาษาละตินเรียกว่า Toscia เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคว้นตอสคานา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นโรนาลป์

รนาลป์ (Rhône-Alpes; ฟร็องโก-พรอว็องซาล: Rôno-Arpes; Ròse Aups) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์) ตั้งอยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส ทิศเหนือติดกับแคว้นบูร์กอญและฟร็องช์-กงเต ทิศตะวันตกติดกับแคว้นโอแวร์ญ ทิศใต้ติดกับแคว้นล็องก์ด็อก-รูซียงและพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ส่วนทางทิศตะวันออกติดกับประเทศสวิตเซอร์แลนด์และอิตาลี แคว้นโรนาลป์ได้ชื่อมาจากแม่น้ำโรนและเทือกเขาแอลป์ มีเมืองหลวงคือลียง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นลำดับที่สองของประเทศฝรั่งเศส รองลงมาจากกรุงปารีส แคว้นโรนาลป์นี้ยังเป็นสถานที่ตั้งของยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปยุโรปตะวันตกอีกด้วยซึ่งก็คือยอดเขามงบล็อง ภายในแคว้นมีแม่น้ำสองสายไหลผ่านคือแม่น้ำโรนและแม่น้ำโซน ซึ่งมาบรรจบกันที่เมืองหลวงลียง ทั้งยังมีแม่น้ำอาร์แด็ชอีกด้วย และยังพรมแดนติดต่อกับทะเลสาบเจนีวาและทะเลสาบอานซี ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการในแคว้นโรนาลป์ แต่มีภาษาท้องถิ่นที่พูดกันมากอยู่สองภาษาคือภาษาฟร็องโก-พรอว็องซาล ซึ่งถูกจัดว่าเป็นภาษาใกล้สูญพันธุ์และภาษาอ็อกซิตัน ประชาชนบางส่วนเป็นประชาชนอพยพมาจากประเทศโปแลนด์ อิตาลี โปรตุเกส และแอฟริกาเหนือ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคว้นโรนาลป์ · ดูเพิ่มเติม »

แคนทอน

แคนทอน (canton) เป็นหน่วยการปกครองของประเทศหนึ่ง ๆ โดยทั่วไปแล้ว แคนทอนจะค่อนข้างเล็กทั้งโดยขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรเมื่อเทียบกับหน่วยการปกครองอื่น ๆ เช่น เทศมณฑล/เคาน์ตี เขต (department) และจังหวัด และโดยสากลแล้ว แคนทอนที่รู้จักดีที่สุด ที่สำคัญทางการเมืองมากที่สุด ก็คือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพราะแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐสวิสทั้งโดยทฤษฎีและโดยประวัติ แต่แคนทอนในสวิตเซอร์แลนด์ก็ยังจัดได้ว่าเป็นรัฐกึ่งเอกราช (semi-sovereign) คำว่าแคนทอนมาจากคำภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง/ภาษาอิตาลี/ภาษาละติน ว่า canton / cantone / canto / canthus ซึ่งแปลว่า "เมือง" "เขต" หรือ "มุม".

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคนทอน · ดูเพิ่มเติม »

แคนเดลา

ฟังก์ชันความเข้มการส่องสว่างของการเห็นในเวลากลางวัน (เส้นสีดำ) และการเห็นในเวลากลางคืนhttp://www.cvrl.org/database/text/lum/scvl.htm CIE Scotopic luminosity curve (1951) (เส้นสีเขียว) แกนนอนเป็นความยาวคลื่นในหน่วยนาโนเมตร แคนเดลา (สัญลักษณ์: cd) หรือที่เรียกทั่วไปว่าแรงเทียน เป็นหน่วยฐานเอสไอของความเข้มของการส่องสว่างหมายถึง กำลังแสงที่ปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิดแสงในทิศทางเฉพาะ และถ่วงน้ำหนักโดยฟังก์ชันการส่องสว่างซึ่งเป็นแบบจำลองมาตรฐานของความไวแสงของตามนุษย์ในแต่ละความยาวคลื่น คำว่า Candela ในภาษาละติน ภาษาสเปน และภาษาอิตาเลียนแปลว่าเทียน หนึ่งแคนเดลามีขนาดประมาณหนึ่งแรงเทียน (Candle Power) ซึ่งใช้ประมาณความสว่างของเทียนหนึ่งเล่ม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

แคนเซอร์ เดธมาสค์

แคนเซอร์ เดธมาสค์ ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีกรกฎ ผู้ดูแลปราสาทปูยักษ์ 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแคนเซอร์ เดธมาสค์ · ดูเพิ่มเติม »

แซนดีเอโก

แซนดีเอโก (San Diego) เป็นเมืองใหญ่ที่ตั้งอยู่ที่บริเวณชายฝั่งแปซิฟิก ตอนใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนีย ติดกับเส้นเขตแดนระหว่างสหรัฐอเมริกากับเม็กซิโก และห่างจากลอสแอนเจลิสไปทางใต้ประมาณ 190 กิโลเมตร แซนดีเอโกเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของรัฐแคลิฟอร์เนีย และอันดับที่ 8 ในสหรัฐอเมริกา มีประชากรโดยประมาณ 1,394,928 คนในปี 2015 เมืองชายฝั่งนี้ตั้งอยู่ในซานดิเอโกเคาน์ตี ซึ่งอยู่ใกล้กับจุดศูนย์กลางทางเศรษฐกิจอย่างเมืองลาฮอยอา (La Jolla) และ คาร์ลสแบด (Carlsbad) จากการสำรวจของฟอร์บ เมืองซานดิเอโกนี้ก็อยู่อันดับ 5 ในเมืองที่รวยที่สุดในสหรัฐ อุตสาหกรรมหลักของซานดิเอโกคือ สิ่งทำมือ, การทหาร และการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและแซนดีเอโก · ดูเพิ่มเติม »

ใบสั่งยา

ัญลักษณ์ในใบสั่งยา ℞ เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในใบสั่งยาจากแพทย์ถึงเภสัชกร เริ่มแรกเข้าใจว่าเป็นการเขียนอักขระลงเลขยันต์เพราะสมัยก่อนการแพทย์ยังไม่เจริญก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพเช่นปัจจุบัน โอกาสที่คนไข้จะหายหรือตายไม่ต่างกันมากนัก การอาศัยโชคช่วยจึงมีส่วนในการรักษา โดยการเขียนคำในภาษาลาตินว่า recipe (เรซิพี) หมายถึง สูตร ตำรับ เขียนไปเขียนมามีการตัดหางตัวอาร์เลยกลายเป็น ℞ ที่เห็นกันในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและใบสั่งยา · ดูเพิ่มเติม »

โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์

รุสซีอาดอร์ทมุนท์ (Borussia Dortmund; ชื่อจัดตั้ง Ballspielverein Borussia 09 e.V. Dortmund) ย่อว่า เบเฟาเบ (BVB) หรือ ดอร์ทมุนท์ (Dortmund) เป็นสโมสรฟุตบอลจากเมืองดอร์ทมุนท์ รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน ประเทศเยอรมนี ปัจจุบันเล่นอยู่ในบุนเดสลีกา ลีกสูงสุดของประเท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโบสถ์คริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โพรคัล ฮารัม

รคัล ฮารัม (Procol Harum) เป็นกลุ่มดนตรีร็อกสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1967 สร้างงานดนตรีในแนวโปรเกรสซีฟร็อก และซิมโฟนิกร็อก โดยได้อิทธิพลมาจากดนตรีคลาสสิก และดนตรีบาโรก ผลงานที่มีชื่อเสียงของวงเป็นซิงเกิลจากอัลบัมแรก ชื่อ A Whiter Shade of Pale ในปี 1967 สมาชิกวงรุ่นแรกประกอบด้วย แกรี บรุคเคอร์ นักร้องนำ, โรบิน ทราวเวอร์ นักกีตาร์, คีธ รีด นักแต่งเพลง, แมททิว ฟิชเชอร์ นักออร์แกน, เรย์ รอยเออร์ นักกีตาร์ และเดวิด ไนทส์ นักกีตาร์เบส ชื่อวงตั้งขึ้นโดย กาย สตีเวนส์ ผู้จัดการวง ตามชื่อแมวเบอร์มีสของเพื่อน โดยเข้าใจว่าเป็นภาษาละตินมีความหมายว่า "beyond these things" ที่ถูกต้องแล้ว Procol Harum มีความหมายว่า "of these far off things" (โดยที่คำว่า "Procol" นั้นสะกดผิด ที่ถูกต้องเป็น "Procul") แต่หากต้องการให้มีความหมายว่า "beyond these things" ตามที่ตั้งใจไว้ วงจะต้องใช้ชื่อ Procul His นอกจากนี้แล้ว คนทั่วไปมักสะกดผิดชื่อวงผิดเป็น Procol Harem วงมีผลงานอัลบัมทั้งสิ้น 9 ชุด ก่อนจะยุบวงในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและโพรคัล ฮารัม · ดูเพิ่มเติม »

โกเมน

กเมน หรือชื่อทางวิชาการว่า การ์เนต (Garnet) มาจากภาษาละตินว่า granatus แปลว่า เมล็ดพืช เป็นแร่ในกลุ่มซิลิเกต ที่ถูกใช้เป็นอัญมณีมาตั้งแต่ยุคสัมฤท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโกเมน · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค

ันน์ เซบาสเตียน บาค, ปี พ.ศ. 2291 วาดโดย อีลิอาส ก็อตลอบ เฮาส์มันน์ (Elias Gottlob Haussmann) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนัค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และเบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทุกแง่มุม ด้วยความพิถีพิถันของบทเพลงที่เต็มไปด้วย ท่วงทำนอง เสียงประสาน หรือ เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่าง ๆ รูปแบบที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคที่ฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การศึกษาค้นคว้า แรงบันดาลใจอันเต็มเปี่ยม รวมทั้งปริมาณของบทเพลงที่แต่ง ทำให้งานของบาคหลุดจากวงจรทั่วไปของงานสร้างสรรค์ที่ปกติแล้วจะเริ่มต้น เจริญเติบโตถึงขีดสุด แล้วเสื่อมสลาย นั่นคือไม่ว่าจะเป็นเพลงที่บาคได้ประพันธ์ไว้ตั้งแต่วัยเยาว์ หรือเพลงที่ประพันธ์ในช่วงหลังของชีวิตนั้นจะมีคุณภาพทัดเทียมกัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันเนส เอเวลิอุส

ันเนส เอเวลิอุส ภาพโดย ดาเนียล ชูลต์ซ โยฮันเนส เอเวลิอุส (ภาษาละติน; Johannes Hewel, Johann Hewelke, Johannes Höwelcke; ในภาษาโปแลนด์, Jan Heweliusz; 28 มกราคม 1611 – 28 มกราคม 1687) แหล่งข้อมูลบางแห่งอ้างถึงเอเวลิอุสว่าเป็นชาวโปแลนด์.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโยฮันเนส เอเวลิอุส · ดูเพิ่มเติม »

โรมพินาศ

รมพินาศ หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า ศึกรัก ศึกแผ่นดิน (ชื่อภาษา) เป็นภาพยนตร์คลาสสิกอมตะเรื่องหนึ่ง ที่สร้างขึ้นโดยค่าย เมโทร โกลด์วีน เมเยอร์ (ชื่อภาษา) ออกฉายใน ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494).

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรมพินาศ · ดูเพิ่มเติม »

โรมโบราณ

ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรมโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

โรคพยาธิกีเนีย

รคพยาธิกีเนีย (Dracunculiasis; GWD) เป็นการติดเชื้อจาก พยาธิกีเนีย คนติดเชื้อโรคนี้เมื่อดื่มน้ำที่มี ตัวไรน้ำ ที่มี ตัวอ่อนของพยาธิกีเนีย เริ่มแรกจะไม่มีอาการ แต่เมื่อประมาณหนึ่งปีผ่านไป ผู้ที่ติดเชื้อจะเริ่มมีความรู้สึกปวดแสบปวดร้อนจากแผลผุพองเนื่องจากพยาธิตัวเมียมาปล่อยตัวอ่อนที่บริเวณผิวหนัง ซึ่งโดยมากมักพบที่ขา ไม่กี่สัปดาห์หลังจากนั้นพยาธิก็จะโผล่ออกมาจากผิวหนัง ในช่วงเวลานี้ การเดินหรือการทำงานจะทำได้ยากลำบากมาก แทบไม่เคยพบการเสียชีวิตที่มีโรคนี้เป็นสาเหต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรคพยาธิกีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

โรคพุพอง

รคพุพอง (impetigo หรือ impetaigo.) เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งอันเกิดแต่การติดเชื้อแบคทีเรีย "โรคแผลเปื่อยจากโรงเรียน" (school sores) ก็เรียก ปรากฏมากในเด็กอายุระหว่างสองปีถึงหกปี และผู้ที่เล่นกีฬาคลุกคลีระหว่างกัน เช่น รักบี้ อเมริกันฟุตบอล มวยปล้ำ มีความเสี่ยงรับโรคนี้ได้ไวไม่ว่าจะอายุเท่าใดก็ตาม โรคพุพองสามารถรักษาได้ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรคพุพอง · ดูเพิ่มเติม »

โรคริดสีดวงทวาร

รคริดสีดวงทวาร (hemorrhoids (อังกฤษอเมริกัน) หรือ haemorrhoids (อังกฤษบริติช) หรือ piles) เป็นโครงสร้างหลอดเลือดในช่องทวารหนัก ในสภาพปกติจะมีลักษณะเป็นนวมและช่วยในการกลั้นอุจจาระ เมื่อบวมหรืออักเสบจะมีพยาธิสภาพเป็น หัวริดสีดวง อาการของโรคริดสีดวงทวารขึ้นอยู่กับชนิดที่เป็น แบบภายในมักจะเลือดออกเป็นสีแดงสดโดยไม่เจ็บเมื่อถ่ายอุจจาระ ขณะที่แบบภายนอกบ่อยครั้งจะเจ็บและบวมที่บริเวณทวารหนัก และถ้าเลือดออกก็จะสีคล้ำกว่า อาการบ่อยครั้งจะดีขึ้นหลังจาก 2-3 วัน แต่แบบภายนอกอาจจะเหลือติ่งหนัง (acrochordon) แม้หลังจากอาการหายแล้ว แม้ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของโรคริดสีดวงทวาร แต่ก็เชื่อว่าปัจจัยที่เพิ่มแรงดันในท้องหลายอย่างมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งท้องผูก ท้องร่วง และนั่งถ่ายเป็นเวลานาน ริดสีดวงทวารยังสามัญกว่าในช่วงตั้งครรภ์ด้วย การวินิจฉัยจะเริ่มที่การตรวจดูที่บริเวณ หลายคนเรียกอาการทุกอย่างที่เกิดรอบบริเวณทวารหนัก-ไส้ตรงอย่างผิด ๆ ว่า "โรคริดสีดวงทวาร" แต่ก็ควรตัดสาเหตุร้ายแรงของอาการให้แน่นอนก่อน การส่องกล้องแบบ Colonoscopy หรือ sigmoidoscopy บางครั้งสมควรใช้เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและกันเหตุที่ร้ายแรงกว่า บ่อยครั้ง อาการไม่จำเป็นต้องรักษา การรักษาเริ่มต้นจะเป็นการเพิ่มการรับประทานใยอาหาร, ดื่มน้ำให้มาก ๆ, ทานยา NSAID เพื่อลดเจ็บ, และพักผ่อน ยาที่เป็นครีมอาจใช้ทาที่บริเวณ แต่ประสิทธิผลของยาเช่นนี้ไม่มีหลักฐานที่ดี อาจทำหัตถการเล็กน้อยได้จำนวนหนึ่งหากอาการรุนแรงหรือไม่ดีขึ้นด้วยการรักษาแบบอนุรักษ์ โดยการผ่าตัดจะสงวนไว้สำหรับโรคที่ไม่ดีขึ้น ประชากรประมาณ 50%-66% จะมีปัญหาริดสีดวงทวารอย่างน้อยหนึ่งครั้งในชีวิต ชายและหญิงพบบ่อยพอ ๆ กัน คนอายุ 45-65 ปีจะมีปัญหามากที่สุด เป็นปัญหาสำหรับคนมั่งมีมากกว่า และปกติจะหายได้ดี การกล่าวถึงโรคนี้เป็นครั้งแรกที่รู้มาจากบันทึกในกระดาษปาปิรัสของชาวอิยิปต์ช่วง 1700 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรคริดสีดวงทวาร · ดูเพิ่มเติม »

โรคหัดเยอรมัน

รคหัดเยอรมัน หรือโรคเหือด (Rubella, German measles) หรือโรคหัดสามวัน (three-day measles) เป็นการติดเชื้อเกิดจากไวรัสหัดเยอรมัน โรคนี้มักไม่ร้ายแรงโดยผู้ป่วยครึ่งหนึ่งไม่รู้สึกตัวว่าป่วย ผื่นอาจเริ่มมีราวสองสัปดาห์หลังสัมผัสเชื้อและอยู่นานสามวัน ปกติเริ่มบนหน้าแล้วแพร่ไปร่างกายที่เหลือ ผื่นของโรคหัดเยอรมันสีไม่สดเท่าผื่นของโรคหัดและบ้างคัน พบปุ่มน้ำเหลืองบวมได้ทั่วไปและอาจอยู่นานหลายสัปดาห์ นอกจากนี้ อาจมีไข้ เจ็บคอและความล้า ในผู้ใหญ่ อาการปวดข้อพบได้บ่อย อาการแทรกซ้อนอาจรวมปัญหาเลือดออก อัณฑะบวม และการอักเสบของเส้นประสาท การติดเชื้อระหว่างช่วงต้นของการตั้งครรภ์อาจส่งผลให้เด็กเกิดมามีกลุ่มอาการโรคหัดเยอรมันแต่กำเนิด (CRS) หรือแท้ง อาการของ CRS มีปัญหาเกี่ยวกับตา เช่น ต้อกระจก หู เช่น หูหนวก หัวใจและสมอง พบปัญหาน้อยหลังสัปดาห์ที่ 20 ของการตั้งครรภ์ โรคหัดเยอรมันปกติแพร่ผ่านอากาศโดยทางการไอของผู้ที่ติดเชื้อ บุคคลแพร่เชื้อได้ระหว่างหนึ่งสัปดาห์ก่อนและหลังผื่นปรากฏ ทารกที่เป็น CRS อาจแพร่ไวรัสได้กว่าหนึ่งปี มีเฉพาะมนุษย์ที่ติดเชื้อ แมลงไม่แพร่โรค เมื่อฟื้นตัวแล้ว บุคคลจะมีภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อในอนาคต มีการทดสอบซึ่งสามารถพิสูจน์ยืนยันภูมิคุ้มกันได้ ยืนยันการวินิจฉัยโดยการพบไวรัสในเลือด คอหรือปัสสาวะ การทดสอบเลือดหาแอนติบอดีอาจเป็นประโยชน์ด้วย โรคหัดเยอรมันป้องกันได้ด้วยวัคซีนโรคหัดเยอรมันเพียงขนาดยาเดี่ยว - วัคซีนป้องกันโรคหัดเยอรมัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรคหัดเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

โรคซึมเศร้า

รคซึมเศร้า (major depressive disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์ มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติทำให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และอาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจน ผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้แก่ผู้ป่วยในหลาย ๆ เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ทำงานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไป ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย และประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิดปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น คำว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิตอื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะทำให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฆ่าตัวตาย และมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ) เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10 อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชาย การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคลและการทดสอบสภาพจิต ไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะทำงานบริการป้องกันสหรัฐ (USPSTF) แนะนำให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐานเพียงพอสำหรับการคัดกรองโรค โดยทั่วไป โรคซึมเศร้ารักษาได้ด้วยจิตบำบัดและยาแก้ซึมเศร้า ดูเหมือนยาจะมีประสิทธิภาพ แต่ฤทธิ์อาจสำคัญเฉพาะในผู้ที่ซึมเศร้ารุนแรงมาก ๆ เท่านั้น ไม่ชัดเจนว่ายาส่งผลต่อความเสี่ยงการฆ่าตัวตายหรือไม่ ชนิดของจิตบำบัดที่ใช้มีการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy) และการบำบัดระหว่างบุคคล หากมาตรการอื่นไม่เป็นผล อาจทดลองให้การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (ECT) อาจจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยที่มีควมเสี่ยงทำร้ายตนเองเข้าโรงพยาบาลแม้บางทีอาจขัดต่อความประสงค์ของบุคคล ความเข้าใจถึงธรรมชาติและสาเหตุของความซึมเศร้าได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังไม่สมบูรณ์และยังมีประเด็นมากมายที่ยังต้องวิจัย เหตุที่เสนอรวมทั้งเป็นปัญหาทางจิต ทางจิต-สังคม ทางกรรมพันธุ์ ทางวิวัฒนาการ และปัจจัยอื่น ๆ ทางชีวภาพ การใช้สารเสพติดเป็นเวลานานอาจเป็นเหตุหรือทำอาการเศร้าซึมให้แย่ลง การบำบัดทางจิตอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การสื่อสารระหว่างบุคคล และการเรียนรู้ ทฤษฎีทางชีววิทยามักจะพุ่งความสนใจไปที่สารสื่อประสาทแบบโมโนอะมีน คือ เซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดพามีน ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติในสมองและช่วยการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรคซึมเศร้า · ดูเพิ่มเติม »

โรคนิ่วไต

รคนิ่วไต (kidney stone disease, urolithiasis) เป็นก้อนวัสดุแข็งที่เกิดในทางเดินปัสสาวะ นิ่วไตปกติจะเกิดในไตแล้วออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะ โดยก้อนเล็ก ๆ อาจจะผ่านออกโดยไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าใหญ่เกินกว่า 5 มิลลิเมตร ก็อาจขวางท่อไตมีผลให้เจ็บอย่างรุนแรงที่หลังหรือท้องส่วนล่าง นิ่วยังอาจทำให้เลือดออกในปัสสาวะ ทำให้อาเจียน หรือทำให้เจ็บเมื่อถ่ายปัสสาวะ (dysuria) คนไข้ประมาณครึ่งหนึ่งจะเกิดนิ่วอีกภายใน 10 ปี นิ่วโดยมากมีเหตุจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งระดับแคลเซียมสูงในปัสสาวะ (hypercalciuria) โรคอ้วน อาหารบางชนิด ยาบางชนิด การทานแคลเซียมเป็นอาหารเสริม ระดับฮอร์โมนพาราไทรอยด์เกินในเลือด (hyperparathyroidism) โรคเกาต์ และดื่มน้ำไม่พอ นิ่วจะเกิดในไตเมื่อแร่ในปัสสาวะเข้มข้นมาก การวินิจฉัยปกติจะอาศัยอาการ การตรวจปัสสาวะ และภาพฉายรังสี โดยการตรวจเลือดอาจมีประโยชน์ นิ่วมักจะจัดกลุ่มตามตำแหน่งที่อยู่ คือ nephrolithiasis (ในไต) ureterolithiasis (ในท่อไต) cystolithiasis (ในกระเพาะปัสสาวะ) หรือโดยองค์ประกอบของนิ่ว เช่น แคลเซียมออกซาเลต (calcium oxalate), กรดยูริก, สตรูไวท์ (struvite), ซิสทีน (cystine) เป็นต้น คนไข้ที่มีนิ่วสามารถป้องกันโดยดื่มน้ำให้ผลิตปัสสาวะมากกว่า 2 ลิตรต่อวัน ถ้ายังไม่พอ อาจทานยาไทอะไซด์ (thiazide), ไซเตรต (citrate, กรดไซตริก) หรืออัลโลพิวรีนอล (allopurinol) คนไข้ควรเลี่ยงดื่มน้ำอัดลม (เช่น โคลา) ถ้านิ่วไม่มีอาการ ก็ไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่เช่นนั้นแล้ว ยาแก้ปวดเป็นการรักษาเบื้องต้น โดยใช้ยาเช่น ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) หรือโอปิออยด์ นิ่วที่ใหญ่เพิ่มขึ้นอาจขับออกได้โดยใช้ยา tamsulosin หรืออาจต้องปฏิบัติการอื่น ๆ เช่น การใช้คลื่นเสียงนอกกายสลายนิ่ว (extracorporeal shock wave lithotripsy), การส่องกล้องท่อไต (ureteroscopy), หรือการผ่าตัดนิ่วผ่านผิวหนัง (percutaneous nephrolithotomy) คนทั่วโลกประมาณ 1-15% จะมีนิ่วไตในช่วงหนึ่งของชีวิต ในปี 2558 มีคนไข้ 22.1 ล้านราย ทำให้เสียชีวิต 16,100 ราย เป็นโรคที่สามัญยิ่งขึ้นในโลกตะวันตกตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยทั่วไป ชายจะเป็นมากกว่าหญิง นิ่วไตเป็นโรคที่ปรากฏตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมีการกล่าวถึงการผ่าตัดเพื่อเอาออกเริ่มตั้งแต่ 600 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรคนิ่วไต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์

รงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ในความดูแลของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีกำเนิดมาจาก โรงเรียนแม่พระสกลสงเคราะห์ ที่บาทหลวงบรัวซาร์ อธิการโบสถ์วัดพระแม่สกลสงเคราะห์องค์แรกจัดตั้งขึ้น เมื่อปี ค.ศ. 1924 (พ.ศ. 2467) ต่อมา คุณพ่อตาปี อธิการโบสถ์องค์ถัดมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อโรงเรียนที่ใช้มาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์

รงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ (Joseph Upatham School) อักษรย่อ ยอ.(JS) เป็นโรงเรียนคาทอลิกสังกัดฝ่ายการศึกษามิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสันติวิทยา (จังหวัดเชียงราย)

รงเรียนสันติวิทยา ตั้งอยู่ในตำบลรอบเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรงเรียนสันติวิทยา (จังหวัดเชียงราย) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

รงเรียนเซนต์คาเบรียล (St.) เป็นโรงเรียนเอกชนโรงเรียนชายล้วนขนาดใหญ่ ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิก ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสอนนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 คำว่า "เซนต์คาเบรียล" ในชื่อโรงเรียนนั้น จึงมาจากชื่อคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ผู้ก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเซนต์คาเบรียลเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพการศีกษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และคุณภาพของนักเรียนและศิษย์เก่าที่จบไป โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เป็นหนึ่งในสองของโรงเรียนในเครือฯที่ใช้สีประจำสถาบันคือ น้ำเงินขาว (อีกโรงเรียนหนึ่งที่ใช้สีน้ำเงินขาวคือโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง) และมีเพียงวิทยาเขตเดียว เช่นเดียวกับ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยและโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ที่ไม่ได้ชื่อโรงเรียนว่า "อัสสัมชัญ" นำหน้า ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์คาเบรียลมีอายุได้ ปี เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในย่านดุสิต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรงเรียนเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเขียนหนังสือ

ลจิตรกรรมโดย Jean Miélot จากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15Christopher De Hamel, ''Scribes and Illuminators'', (Toronto: U Toronto Press, 1992), 36. เป็นภาพของนักเขียนที่กำลังทำงานรวบรวม “ปาฏิหาริย์แห่งโนเทรอดาม” ที่มีภาพนี้รวมอยู่ด้วย โรงเขียนหนังสือ หรือ โรงคัดหนังสือ (Scriptorium) แปลตรงตัวว่า “สถานที่สำหรับเขียนหนังสือ” มักจะใช้สำหรับห้องหรือโถงในสำนักสงฆ์ที่ใช้ในการก็อปปีหนังสือโดยนักคัด (scribe) ของสำนักสงฆ์ จากหลักฐานที่บันทึกไว้ และจากสิ่งก่อสร้างที่ยังคงมีให้เห็น หรือจากการขุดค้นทางโบราณคดีแสดงให้เห็นว่าตรงกันข้ามกับความเชื่อโดยทั่วไปว่าเป็นห้องที่มักจะมีในสำนักสงฆ์นั้นแทบจะไม่มีกันเท่าใดนัก การเขียนหรือคัดหนังสือในสำนักสงฆ์จึงมักจะทำกันในคอกเช่นคอกที่ลึกเข้าไปในผนังของระเบียงคดหรือในห้องเล็กที่เป็นที่พำนักของนักบวชเอง การพูดถึง “โรงเขียนหนังสือ” โดยนักวิชาการในปัจจุบันโดยทั่วไปมักจะหมายถึงการเขียนหรือผลิตงานของสำนักสงฆ์แทนที่จะกล่าวถึงโครงสร้างที่เป็น “โรงเขียน” จริงๆ “โรงเขียนหนังสือ” เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องมีสำหรับห้องสมุด ถ้าที่ใดมีห้องสมุดก็สรุปได้ว่าต้องมี “โรงเขียนหนังสือ” หรือ “โรงคัดหนังสือ” “โรงเขียนหนังสือ” ตามธรรมเนียมแล้วหมายถึงห้องที่กำหนดไว้ให้ใช้ในการเขียนหนังสือและก็คงจะมีอยู่ไม่นานนัก เมื่อผู้ใดหรือสถาบันใดต้องการจะคัดหนังสือสำหรับการสะสมในห้องสมุดก่อนที่จะมีการพิมพ์ เมื่อห้องสมุดมีหนังสือพอเพียงแล้วโรงเขียนก็ยุบเลิก เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็เกิดร้านบริการคัดหนังสือโดยฆราวาสขึ้น นักคัดอาชีพก็อาจจะมีห้องพิเศษที่ใช้ในการคัดหนังสือ แต่โดยทั่วไปแล้วก็อาจจะเป็นเพียงโต๊ะใกล้หน้าต่างในบ้านของตนเอง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรงเขียนหนังสือ · ดูเพิ่มเติม »

โรซาลินด์ แฟรงคลิน

รซาลินด์ เอลซี แฟรงคลิน (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2463 — 16 เมษายน พ.ศ. 2501) เป็นนักเคมีและผลึกวิทยาชาวอังกฤษผู้มีบทบาทสำคัญในการค้นพบดีเอ็นเอ ตลอดจนศึกษาโครงสร้างของ อาร์เอ็นเอ และไวรัส แม้ในตอนแรกเธอจะทำงานวิจัยด้านถ่านหินและการศึกษาด้วยรังสีเอกซ์ แต่เทคนิคที่เธอใช้ก็ได้นำมาศึกษาโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลจนทำให้เพื่อนร่วมงานของเธอได้รับรางวัลโนเบล อย่างไรก็ตาม ด้วยการทำงานในสถานที่ที่มีรังสีเอกซ์อยู่มาก ทำให้เธอต้องถึงแก่กรรมก่อนวัยอันควร ผลงานที่รู้จักกันดีของโรซาลินด์ แฟรงคลิน คือ โฟโต 51 หรือภาพถ่ายจากการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ของดีเอ็นเอ ซึ่งนำไปสู่การค้นพบโครงสร้างเกลียวคู่ของดีเอ็นเอ เจมส์ วัตสัน และฟรานซิส คริก แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้นำข้อมูลของเธอไปใช้ในการตั้งสมมติฐานว่าด้วยโครงสร้างของดีเอ็นเอบทความของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ Watson JD, Crick FHC (1953).

ใหม่!!: ภาษาละตินและโรซาลินด์ แฟรงคลิน · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โลกัส (คณิตศาสตร์)

ลกัสที่ 2 ซม. 4 ซม. 6 ซม. และ 8 ซม. จากเส้นตรง ''l'' ไปยังจุด ''P'' ซึ่งเส้นโค้งเหล่านี้เป็นครึ่งหนึ่งของคอนคอยด์ (Conchoid of Nichomedes) ในทางคณิตศาสตร์ โลกัส (locus พหูพจน์: loci มาจากภาษาละตินแปลว่า สถานที่) คือการรวบรวมจุดทางเรขาคณิตที่มีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดร่วมกัน คำนี้มักใช้เป็นเงื่อนไขในการนิยามรูปร่างที่ต่อเนื่องกัน โดยเฉพาะเส้นโค้ง (curve) ตัวอย่างเช่น เส้นตรงคือโลกัสของจุดที่อยู่ในระยะห่างเท่ากับสองจุดที่กำหนดตายตัวไว้ หรือจากเส้นขนานสองเส้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโลกัส (คณิตศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โล่ (มุทราศาสตร์)

ล่ หรือ โล่ภายในตรา (Escutcheon หรือ scutcheon) ในมุทราศาสตร์ “โล่” เป็นองค์ประกอบที่ปรากฏบนตราอาร์มที่เป็น บางครั้งก็จะมีการใช้คำว่า “Crest” (“เครื่องยอด”) แทน “Escutcheon” หรือ “โล่กลางตรา” ซึ่งเป็นการใช้ที่ไม่ถูกต้อง รูปทรงของ “โล่กลางตรา” มาจากรูปทรงของโล่ที่ใช้โดยอัศวินในการต่อสู้ในยุคกลาง รูปทรงที่ใช้ก็แตกต่างกันออกไปตามแต่ท้องถิ่นและยุคสมัย เพราะโล่เป็นเครื่องหมายของสงครามจึงเป็นเครื่องหมายที่ใช้สำหรับบุรุษเท่านั้น สตรีชาวอังกฤษตามธรรมเนียมแล้วจะใช้โล่ทรงข้าวหลามตัด (Lozenge) ขณะที่สตรีและนักบวชบนแผ่นดินใหญ่ยุโรปใช้ทรงทรงคาร์ทูช (Cartouche) หรือทรงรูปไข่ ทรงอื่นที่ใช้กันก็มีทรงกลม (roundel) ที่มักจะใช้โดยตราสำหรับชนพื้นเมืองแคนาดา (Aboriginal Canadians) ที่มอบให้โดยสำนักงานมุทราศาสตร์แห่งแคนาดา (Canadian Heraldic Authority) คำว่า “Escutcheon” มาจากภาษาอังกฤษกลาง “escochon” ที่มาจากที่มาจากแองโกล-นอร์มัน “escuchon” ที่มาจากที่มาจากแองโกล-นอร์มัน “Escochon” ที่มาจากภาษาลาตินพื้นบ้าน (Vulgar Latin) “scūtiōn-” จากภาษาลาติน “scūtum” ที่แปลว่า “โล่” จากความหมายนี้ในมุทราศาสตร์ คำว่า “Escutcheon” สามารถหมายถึงสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ของตระกูลและเกียรติยศของตระกูล คำว่า “inescutcheon” หรือ “โล่ใน” เป็นโล่ที่มีขนาดเล็กกว่าโล่หลักที่ตั้งอยู่ในบริเวณโล่หลัก ที่อาจจะใช้สำหรับ “pretense” หรือการวางโล่เหนือโล่อีกโล่หนึ่งของตนเอง ซึ่งคือการวางโล่เหนือโล่หรือสัญลักษณ์ของดินแดนในปกครอง หรือ เพียงเพื่อเป็นเครื่องหมายตกแต่งโดยไม่มีความหมายลึกไปกว่านั้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโล่ (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

โอมาฮา

อมาฮา หรือ โอมาฮอ (Omaha) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในรัฐเนแบรสกา สหรัฐอเมริกา เป็นเคาน์ตีซีตของดักลาสเคาน์ตี ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำมิสซูรีห่างจากบริเวณที่แม่น้ำมิซูรีไหลมาบรรจบกับแม่น้ำแพลตต์ไปทางทิศเหนือราว 20 ไมล์ (30 กม.) จากข้อมูลการสำรวจประชากรในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและโอมาฮา · ดูเพิ่มเติม »

โอริคัลคุม

โอริคัลคุม (อังกฤษ: Orichalcum) หรือ โอริคัลคอส เป็นคำศัพท์ภาษาละตินมาจากภาษากรีก ορείχαλκος (โอริคัลคอส) ซึ่งแปลว่าทองเหลือง สาเหตุที่โอริคัลคุมหรือทองเหลืองกลายเป็นชื่อโลหะในตำนาน อันเนื่องจากวิทยาการในยุดสำริด ทองเหลืองถือเป็นโลหะที่แข็งแกร่งที่สุดในขณะนั้นและข้อความบันทึกในเอกสารต่าง ๆ ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาลาติน เมื่อเวลาผ่านไปชื่อของโอริคัลคุมจึงถูกจดจำในความหมายของโลหะชนิดหนึ่งที่มีความแข็งแกร่งมาก ในเกมดราก้อนเควสต์ แร่โอริคัลคุม (หนังสือบางเล่มเขียนทับศัพท์จากภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า โอริฮารูกอน เป็นแร่ที่ใช้ทำอาวุธของกลุ่มพระเอกปรากฏในช่วงท้ายเกม อาวุธที่ทำจากแร่นี้มีสีทองหรือสีเหลือง ใน เกมดราก้อนเควสต์ 3 ดาบที่ใช้ปราบหัวหน้าใหญ่โซม่า เป็นดาบที่ทำจากโอริคัลคุม หมวดหมู่:แร่ธาตุในจินตนาการ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโอริคัลคุม · ดูเพิ่มเติม »

โอ๊ก

อ๊ก (oak) หรือ ก่อ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มในสกุล Quercus (ภาษาละติน "oak tree") มี 600 สปีชีส์ โอ๊กอาจจะหมายถึงพืชบางชนิดในสกุล Lithocarpusด้วย พืชสกุลนี้เป็นพืชพื้นเมืองในซีกโลกเหนือ แพร่กระจายตั้งแต่เขตที่อากาศหนาวเย็นไปจนถึงเขตร้อนในเอเชียและอเมริก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโอ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

โอโรบัส

อโรบัส ในปิศาจวิทยา โอโรบัส(Orobas)เป็นเจ้าฟ้าแห่งนรกผู้มีอสูรใต้บังคับบัญชา 20 กองและเป็นปิศาจตนที่ 55 ในบท อาร์สโกเอเทีย จากหนังสือกุญแจย่อยของโซโลมอน โอโรบัสสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่กำลังจะเกิดขึ้น รวมถึงเรื่องของพระผู้เป็นเจ้าและการสร้างโลก โอโรบัสยังมีอำนาจที่จะมอบศักดิ์ศรีหรือบรรดาศักดิ์ให้ผู้อัญเชิญได้ รวมถึงทำให้เป็นที่ชื่นชอบทั้งต่อผู้ที่เป็นมิตรและศัตรู โอโรบัสมีลักษณะเป็นม้าและสามารถแปลงกายเป็นมนุษย์ได้เมื่อผู้อัญเชิญต้องการ โอโรบัสเป็นปิศาจที่มีความภักดีต่อผู้อัญเชิญ โดยจะไม่ยอมให้ภูติผีใดๆทำร้ายผู้อัญเชิญและยังเป็นปิศาจที่ไม่เคยหลอกลวงผู้อื่นอีกด้วย ชื่อของโอโรบัสนั้นคาดว่าชื่อภาษาละติน โอโรบิอัส ซึ่งเป็นเครื่องหอมชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโอโรบัส · ดูเพิ่มเติม »

โฮเซ รีซัล

ซ รีซัล (José Rizal) หรือชื่อเต็มคือ โฮเซ โปรตาซีโอ รีซัล เมร์กาโด อี อาลอนโซ เรอาลอนดา (José Protacio Rizal Mercado y Alonzo Realonda) เป็นนักเขียนและวีรบุรษคนสำคัญของฟิลิปปินส์ในการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากสเปน เขาถูกจับและถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าเมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2439 การเสียชีวิตของเขากลายเป็นแรงบันดาลใจให้ชาวฟิลิปปินส์ลุกขึ้นสู้จนขับไล่สเปนออกไปได้สำเร็จ แม้จะถูกยึดครองโดยสหรัฐอเมริกาในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโฮเซ รีซัล · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโทมัส ยัง · ดูเพิ่มเติม »

โทรสาร

รื่องโทรสาร โทรสาร หรือ โทรภาพ (facsimile, fax แฟกซ์) คือเทคโนโลยีโทรคมนาคมอย่างหนึ่งใช้สำหรับโอนถ่ายข้อมูลสำเนาของเอกสาร ผ่านทางอุปกรณ์บนเครือข่ายโทรศัพท์ที่เรียกว่า เครื่องโทรสาร หรือ telecopier ในอุตสาหกรรมบางประเภท การส่งสำเนาเอกสารจากระยะไกลไปยังบุคคลหนึ่ง ข้อดีคือรวดเร็วกว่าการส่งทางไปรษณีย์ แต่ข้อเสียคือเอกสารที่ได้รับอาจมีคุณภาพต่ำ และรูปแบบที่จัดวางไว้อาจไม่ตรงตำแหน่งหรือผิดเพี้ยนไป ปัจจุบันโทรสารได้ลดความนิยมลงไป เนื่องจากนิยมส่งเอกสารทางอีเมลแทน ซึ่งจะไม่เกิดข้อเสียดังกล่าว facsimile มาจากภาษาละติน fac simile แปลว่า การทำให้เหมือนกัน หรือการทำสำเนา บางครั้งในภาษาอังกฤษมีการใช้คำว่า telefacimile หรือ telefax หมายถึง การทำสำเนาระยะไกล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโทรสาร · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์

อรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501 โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1925 โดยเป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น โลจี เบร์ด ชาวสกอตแลน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

โทษประหารชีวิต

ประเทศที่เลิกใช้โทษประหารชีวิต: 103 ประเทศ โทษประหารชีวิต หรือ อุกฤษฏ์โทษ (capital punishment, death penalty) เป็นกระบวนการทางกฎหมายซึ่งรัฐลงโทษอาชญากรรมของบุคคลด้วยการทำให้ตาย คำสั่งของศาลที่ให้ลงโทษบุคคลในลักษณะนี้ เรียก การลงโทษประหารชีวิต ขณะที่การบังคับใช้โทษนี้ เรียก การประหารชีวิต อาชญากรรมที่มีโทษประหารชีวิต เรียก "ความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ" คำว่า capital มาจากคำภาษาละตินว่า capitalis ความหมายตามตัวอักษร คือ "เกี่ยวกับหัว" (หมายถึงการประหารชีวิตโดยการตัดหัว) สังคมอดีตส่วนมากนั้นมีโทษประหารชีวิตโดยเป็นการลงโทษอาชญากร และผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมืองหรือศาสนา ในประวัติศาสตร์ การลงโทษประหารชีวิตมักสัมพันธ์กับการทรมาน และมักประหารชีวิตในที่สาธารณะ ปัจจุบันมีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต 58 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับอาชญากรรมทุกรูปแบบโดยนิตินัย 98 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตเฉพาะอาชญากรรมปรกติ 7 ประเทศ (โดยคงไว้สำหรับพฤติการณ์พิเศษ เช่น อาชญากรรมสงคราม) และประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยพฤตินัย (คือ ไม่ได้ใช้โทษประหารชีวิตอย่างน้อยสิบปี และอยู่ระหว่างงดใช้โทษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง) องค์การนิรโทษกรรมสากลมองว่าประเทศส่วนใหญ่เป็นผู้ยกเลิก (abolitionist) โดยองค์การฯ พิจารณาว่า 140 ประเทศเป็นผู้ยกเลิกในทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติ การประหารชีวิตเกือบ 90% ทั่วโลกเกิดในทวีปเอเชีย แทบทุกประเทศในโลกห้ามการประหารชีวิตบุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปีขณะก่อเหตุ นับแต่ปี 2552 มีเพียงประเทศอิหร่าน ซาอุดิอาระเบียและซูดานที่ยังประหารชีวิตลักษณะนี้ กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการประหารชีวิตประเภทนี้ โทษประหารชีวิตกำลังเป็นประเด็นการถกเถียงอยู่ในหลายประเทศ และจุดยืนอาจมีได้หลากหลายในอุดมการณ์ทางการเมืองหรือภูมิภาคทางวัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ในรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป ข้อ 2 แห่งกฎบัตรสิทธิมูลฐานแห่งสหภาพยุโรปห้ามการใช้โทษประหารชีวิต สภายุโรปซึ่งมีรัฐสมาชิก 47 ประเทศ ยังห้ามสมาชิกใช้โทษประหารชีวิต สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติลงมติรับข้อมติไม่ผูกพันในปี 2550, 2551 และ 2553 เรียกร้องให้มีการผ่อนเวลาการประหารชีวิตทั่วโลก ซึ่งมุ่งให้ยกเลิกในที่สุด แม้หลายชาติยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้ว แต่ประชากรโลกกว่า 60% อาศัยอยู่ในประเทศซึ่งเกิดการประหารชีวิต เช่น สี่ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกาและอินโดนีเซีย ซึ่งยังใช้บังคับโทษประหารชีวิต ทั้งสี่ประเทศออกเสียงคัดค้านข้อมติสมัชชาใหญ่ดังกล่าว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโทษประหารชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

โคโรนอยด์ โพรเซส

รนอยด์ โพรเซส (Coronoid process; ละติน: processus coronoideus) เป็นสันนูนรูปสามเหลี่ยมชี้ไปทางด้านหน้า อยู่บริเวณด้านบนและด้านหน้าของกระดูกอัลนา ฐานของโคโรนอยด์ โพรเซสต่อเนื่องกับส่วนกลางของกระดูกอัลนาและมีความแข็งแรงมาก ยอดมีลักษณะแหลมค่อนข้างโค้งไปทางด้านบน และเมื่ออยู่ในท่างอปลายแขน ส่วนของโคโรนอยด์ โพรเซสนี้จะรับกับแอ่งโคโรนอยด์ (coronoid fossa) ของกระดูกต้นแขน พื้นผิวด้านบนของโคโรนอยด์ โพรเซสมีลักษณะเรียบ เว้า และสร้างเป็นส่วนล่างของรอยเว้าเซมิลูนาร์ (semilunar notch) พื้นผิวด้านหน้าและด้านล่างมีลักษณะเว้า และมีรอยประทับขรุขระซึ่งเป็นจุดเกาะปลายของกล้ามเนื้อเบรเคียลิส (brachialis) ที่รอยต่อของพื้นผิวด้านนี้และส่วนหน้าของตัวกระดูกอัลนาเป็นส่วนยื่นขรุขระ เรียกว่า ปุ่มนูนอัลนา (tuberosity of the ulna) ซึ่งเป็นจุดเกาะปลายของส่วนของกล้ามเนื้อเบรเคียลิส และมีออบลีก คอร์ด (oblique cord) มายึดเกาะที่ขอบด้านข้างของปุ่มนูนอัลนา พื้นผิวด้านข้างมีลักษณะคอด รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เป็นรอยเว้าซึ่งเป็นข้อต่อกับกระดูกอื่น เรียกว่า รอยเว้าเรเดียส (radial notch) พื้นผิวด้านใกล้กลางเป็นขอบอิสระซึ่งให้เป็นจุดเกาะของส่วนของเอ็นอัลนาคอลแลทเทอรัล (ulnar collateral ligament) ส่วนหน้าของพื้นผิวด้านนี้เป็นส่วนยื่นรูปกลมขนาดเล็กซึ่งเป็นจุดเกาะต้นของปลายจุดเกาะหนึ่งของกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิส (Flexor digitorum sublimis) ด้านหลังของส่วนยื่นเป็นรอยเว้าสำหรับส่วนของจุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม โปรฟันดัส (flexor digitorum profundus) ส่วนล่างของส่วนยื่นนี้เป็นสันซึ่งให้เป็นจุดเกาะต้นของปลายจุดเกาะหนึ่งของกล้ามเนื้อโปรเนเตอร์ เทเรส (pronator teres) บ่อยครั้งที่จะพบใยกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ พอลิซิส ลองกัส (flexor pollicis longus) เกาะกับส่วนล่างของโคโรนอยด์ โพรเซ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโคโรนอยด์ โพรเซส · ดูเพิ่มเติม »

โคโรนา

ราสามารถสังเกตเห็นโคโรนาของดวงอาทิตย์ได้ด้วยตาเปล่า ในเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง โคโรนา (Corona) คือพลาสมาชนิดหนึ่งในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์หรือวัตถุท้องฟ้าอื่นๆ ที่แผ่พุ่งออกไปในอวกาศเป็นระยะทางหลายล้านกิโลเมตร สามารถมองเห็นได้ง่ายในเวลาที่เกิดสุริยุปราคา นอกจากนี้ยังสามารถสังเกตการได้จากกราฟโคโรนา มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาละติน ซึ่งมีความหมายว่า "มงกุฎ" (crown).

ใหม่!!: ภาษาละตินและโคโรนา · ดูเพิ่มเติม »

โคโรนาไวรัส

Coronavirus หมายถึงสปีชีส์ต่างๆ ของไวรัสใน genera ที่อยู่ในซับแฟมิลี Coronavirinae และ Tonovirinae ในแฟมิลี Coronaviridae ในออร์เดอร์ Nidovirales เป็นไวรัสชนิดมีเปลือกหุ้ม (enveloped) มีจีโนมเป็นอาร์เอ็นเอ โพซิทีฟเซนส์ มีนิวคลีโอแคปซิดที่มีสมมาตรแบบเฮลิกซ์ ขนาดจีโนมของไวรัสเหล่านี้มีตั้งแต่ 26-32 กิโลเบส ซึ่งถือว่าใหญ่มากสำหรับไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอ ชื่อ "coronavirus" มาจากคำภาษาลาติน corona ที่แปลว่ามงกุฎหรือรัศมี ในที่นี้หมายถึงลักษณะของตัวไวรัสที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่มีผิวยื่นเป็นแฉกๆ เหมือนกับรัศมีของดวงอาทิตย์ ลักษณะนี้ถูกสร้างโดยเพโพลเมอร์สไปค์ (S) ของไวรัส ซึ่งเป็นโปรตีนที่กระจุกตัวอยู่บนผิวไวรัส และเป็นตัวกำหนดการโน้มตอบสนองของโฮสต์.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโคโรนาไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

โคเปอร์นิเซียม

ปอร์นิเซียม (Copernicium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 112 สัญลักษณ์คือ Cn โคเปอร์นิเซียมเป็นธาตุหนักยิ่งยวด (superheavy) ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นไอโซโทปที่เสถียรของมันคือ Cn-285 มีครึ่งชีวิตประมาณ 11 นาที ก่อนการเปลี่ยนชื่อเป็นโคเปอร์นิเซียม โดย IUPAC เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ธาตุนี้เคยใช้ชื่อว่า "อูนอูนเบียม" (ununbium มาจากภาษาละติน ūnus + ūnus + bi- + -ium, หนึ่ง หนึ่ง สอง) มีสัญลักษณ์คือ Uub เป็นชื่อชั่วคราวในระบบ IUPAC โคเปอร์นิเซียมเป็นโลหะที่เป็นของเหลวและระเหยเร็วกว่าปรอท โคเปอร์นิเซียม ตั้งชื่อตาม นิโคลัส โคเปอร์นิคัส ผู้เสนอทฤษฏีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโคเปอร์นิเซียม · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียม

ซเดียม (Sodium) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์ Na (จากคำว่า Natrium ในภาษาละติน) และหมายเลขอะตอม 11 โซเดียมเป็นโลหะอ่อน มีลักษณะเป็นไข มีสีเงิน และอยู่ในกลุ่มโลหะแอลคาไล โซเดียมมีมากในสารประกอบทางธรรมชาติ (โดยเฉพาะแฮไลต์) โซเดียมทำปฏิกิริยาได้ว่องไวมาก ให้เปลวไฟสีเหลือง ออกซิไดส์ในอากาศและทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำมากจนเกิดเปลวไฟได้ จึงจำเป็นต้องเก็บอยู่ในน้ำมัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโซเดียม · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

โนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์

นรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ โนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ (Nora Stanton Blatch Barney; 30 สิงหาคม พ.ศ. 2426 — 18 มกราคม พ.ศ. 2514) เป็น วิศวกรโยธา สถาปนิก และสนับสนุนการเรียกร้องสิทธิสตรี ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและโนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟรเออร์

ฟรเออร์คณะออกัสติเนียนรีคอลเลกต์ ไฟรเออร์ (Friar) เป็นนักบวชคาทอลิกประเภทหนึ่ง ซึ่งสังกัดคณะนักบวชภิกขาจาร คำว่า ไฟรเออร์ มาจากภาษาอังกฤษ Friar ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศส frère และภาษาละติน frater แปลว่า ภราดา (พี่น้องชาย) เป็นคำที่คริสตชนยุคแรกใช้เรียกกันภายในกลุ่มเพื่อแสดงความสัมพันธ์ฉันพี่น้อง นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีจึงนำคำนี้มาใช้เป็นชื่อคณะนักบวชที่ตนเองก่อตั้งขึ้น ว่า Ordo Fratrum Minorum (ในประเทศไทยแปลกันว่า คณะภราดาน้อย) ต่อมาคำว่าไฟรเออร์จึงแพร่หลายไปใช้กับคณะนักบวชอื่น ๆ (เฉพาะบางคณะ).

ใหม่!!: ภาษาละตินและไฟรเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกอา

กอา พระแม่ธรณีในเทพปกรณัมของกรีก ไกอา หรือ เกอา (Gaia; จากภาษากรีกโบราณ: Γαîα; ภาษากรีกปัจจุบัน: Γῆ; หมายความว่า พื้นดิน หรือพื้นโลก) หรือ จีอา (Gaea) เป็นเทพีองค์แรกของโลกตามตำนานของชาวกรีก ร่างกายของนางคือพื้นพิภพ นามในภาษาละตินของนางคือ เทอร์รา (Terra).

ใหม่!!: ภาษาละตินและไกอา · ดูเพิ่มเติม »

ไก่เถื่อน

ก่เถื่อน หรือ ไก่ป่า เป็นสกุลของสัตว์ปีกที่บินไม่ได้ ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Gallus ซึ่งเป็นภาษาละตินที่หมายถึง "ไก่ตัวผู้" ไก่เถื่อน มีลักษณะสำคัญแตกต่างจากไก่สกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน คือ บนหัวมีหงอนที่เป็นเนื้อไม่ใช่ขน มีเหนียงทั้ง 2 ข้างห้อยลงมาที่โคนปากและคาง ที่บริเวณใบหน้าและคอเป็นหนังเกลี้ยงไม่มีขน ขนตามลำตัวมีสีสันสวยงาม ขนหางตั้งเรียงกันเป็นสันสูงตรงกลาง มีขนหาง 14-16 เส้น เส้นกลางยาวปลายแหลมและอ่อนโค้ง ที่แข้งมีเดือยแหลมข้างละอันเป็นอาวุธที่ใช้ในการป้องกันตัว มีความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจน โดยตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้และขนมีสีไม่ฉูดฉาดเท่าตัวผู้ แข้งไม่มีเดือย หงอนและเหนียงมีขนาดเล็กเห็นชัดเจน พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ทวีปยูเรเชีย จนถึงอนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ และภาคใต้ของจีน เช่น มณฑลยูนนาน โดยพบทั้งผืนแผ่นดินใหญ่และส่วนที่เป็นเกาะหรือหมู่เกาะ ไก่ในสกุลนี้ ถือได้ว่าเป็นไก่ที่ผูกพันกับมนุษย์มาอย่างยาวนาน โดยมีหลักฐานว่ามนุษย์ได้นำไก่ในสกุลนี้มาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในครัวเรือน เพื่อการบริโภคเป็นเวลานานกว่า 4,000 ปีมาแล้วในยุคเมโสโปเตเมีย หรือในสมัยสุโขทัย ในประวัติศาสตร์ไทย การล่าไก่ป่าถือเป็นวิถีการดำรงชีวิตอย่างหนึ่งของผู้คนในสมัยนั้น ก่อนที่จะมีการพัฒนาสายพันธุ์จนมาเป็นไก่บ้านอย่างในปัจจุบัน และในส่วนการเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามและความเพลินเพลินก็พัฒนามาเป็นไก่แจ้หรือไก่ชน ที่มีการจิกตีกันเป็นการละเล่นในหลายวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไก่เถื่อน · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบ

ฝักและเมล็ดของไมยราบ ไมยราบ (อ่านว่า "ไม-ยะ-ราบ") (มาจากภาษาละติน: pudica แปลว่า "อาย ชมดชม้อย เหนียมอาย หรือหดลง") ภาษาอังกฤษ: sensitive plant, sleepy plant หรือ the touch-me-not ก็เรียก เป็นพืชล้มลุก ต้นสีน้ำตาลแดง แผ่ไปตามพื้น ชูยอดขึ้นข้างบน ต้นมีหนามขนาดสั้น ใบประกอบ ดอกเป็นช่อกลมสีชมพู ก้านดอกยาว ฝักยาวเรียวแบน มีขนเหนียวติดมือ เมล็ดสีน้ำตาลอ่อน ไมยราบมักถูกปลูกขึ้นตามความอยากรู้อยากเห็นของผู้ปลูก โดยที่ใบประกอบสามารถพับเข้าหากันด้านใน หรือหุบได้ เมื่อถูกสัมผัส หรือเขย่า เพื่อป้องกันตนเองจากภัยคุกคามต่าง ๆ และจะบานออกอีกครั้งเมื่อผ่านไปราวหนึ่งนาที พืชในตระกูลใกล้เคียงกันและมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันได้แก่ ผักกระเฉด ในทางสมุนไพร ไมยราบมีรสจืดเฝื่อน มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ระดูขาว แก้ไตพิการ ต้นแห้งต้มกับน้ำกินแก้อ่อนเพลีย ตานขโมย โรคกระเพาะอาหาร ใช้ทาแก้ผื่นคันและหัด ใบสดตำผสมกับเกลือและพิมเสน ใช้พอกแผลพุพอง รากแห้ง ต้มน้ำแก้ปวดประจำเดือน ปวดศีรษ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไมยราบ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครแรปเตอร์

มโครแรปเตอร์ (Microraptor; ศัพทมูลวิทยา: ภาษากรีก, μίκρος, mīkros: "เล็ก"; ภาษาละติน, raptor: "ผู้ที่คว้าที่หนึ่ง") เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์โดรมีโอซอร์ (Dromaeosauridae) เช่นเดียวกับเวโลซีแรปเตอร์ ไมโครแรปเตอร์ มีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์ผสมนกมีขนปกคลุมลำตัวเหมือนนก ขนาดลำตัวเท่า ๆ กับนกพิราบ มีปีกทั้งหมด 4 ปีก (ขาหน้า 2 ปีก และขาหลัง 2 ปีก) มีขนหางที่เรียวยาว และเชื่อว่าดำรงชีวิตและหากินบนต้นไม้เป็นหลัก รวมถึงทำรังบนต้นไม้ และมีหลักฐานว่าจับนกในยุคก่อนประวัติศาสตร์กินเป็นอาหาร จากการพบซากในส่วนที่เป็นกระเพาะ ไมโครแรปเตอร์ ไม่สามารถบินได้ แต่จะใช้ปีกและขนร่อนไปมาเหมือนสัตว์ในยุคปัจจุบันหลายชนิดเช่น กระรอกบิน หรือบ่างChatterjee, S., and Templin, R.J. (2007).

ใหม่!!: ภาษาละตินและไมโครแรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไส้ติ่ง

้ติ่ง (appendix, vermiform appendix, cecal (หรือ caecal) appendix, vermix) เป็นท่อตันเชื่อมต่อกับลำไส้ใหญ่ส่วนต้น (cecum หรือ caecum) ซึ่งเป็นส่วนที่มีรูปร่างคล้ายกระเป๋าของลำไส้ใหญ่ที่เชื่อมต่อกับลำไส้เล็ก ชื่อ "vermiform" มากจากภาษาละติน แปลว่า "รูปตัวหนอน" ไส้ติ่งพบได้ทั่วไปใน Euarchontoglires และมีวิวัฒนาการอย่างเป็นอิสระในสัตว์กลุ่ม diprotodont และ marsupials ไส้ติ่งในสัตว์ต่างๆ จึงมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านขนาดและรูปร่าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไส้ติ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ไอยคุปต์

ำหรับเทพที่เกี่ยวข้องกับอียิปต์โบราณ ดูที่ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์ ไอยคุปต์ เป็นคำศัพท์ที่คนไทยใช้เรียก อียิปต์สมัยโบราณ มีความหมายรวมถึง ชนชาติ ภาษา และวัฒนธรรม กล่าวโดยย่อคือ ใช้ทั้งในฐานะของคำนามและคุณศัพท์ ส่วนอียิปต์หลังยุคฟาโรห์ นิยมใช้คำว่า "อียิปต์" ตามปกต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไอยคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอร์แลนด์เหนือ

อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ไทรออปส์

ทรออปส์ (Triops) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกสัตว์ขาปล้องประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในไฟลัมครัสตาเซียนเช่นเดียวกับ กุ้ง หรือ ปู และอยู่ในอันดับ Notostraca ในวงศ์ Triopsidae ไทรออปส์ เป็นสัตว์น้ำขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด มีรูปร่างประหลาดคล้ายแมงดาทะเล จึงมีผู้เรียกว่า "แมงดาทะเลน้ำจืด" หรือ "กุ้งไดโนเสาร์" เนื่องจากเป็นสัตว์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างมาตั้งแต่ยุคคาร์บอนิฟอรัส ราว 300 ล้านปีมาแล้ว จัดได้ว่าเป็นฟอสซิลที่มีชีวิตอีกจำพวกหนึ่งได้ ไทรออปส์ จัดอยู่ในสกุล Triops แบ่งออกได้ทั้งสิ้น 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไทรออปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิส

ททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิส (ชื่อย่อ: ไททันโอโบอา (Titanoboa)) เป็นชื่องูขนาดใหญ่ที่ไม่มีพิษ ในวงศ์ Boidae ซึ่งปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปแล้ว ถูกค้นพบโดยคณะนักวิทยาศาสตร์สาขาบรรพชีวินวิทยาจากมหาวิทยาลัยโทรอนโต ไททันโอโบอาเป็นงูที่อยู่ในวงศ์เดียวกับงูไม่มีพิษจำพวกโบอา ที่คล้ายกับงูเหลือมหรืองูหลาม ที่พบได้ในทวีปอเมริกากลางและเกาะมาดากัสการ์ในปัจจุบัน นักบรรพชีวินวิทยาเชื่อว่า ไททันโอโบอา มีรูปร่างลักษณะและมีพฤติกรรมคล้ายงูอนาคอนดาซึ่งปัจจุบันพบในป่าดิบชื้นทวีปอเมริกาใต้ โดยหากินในน้ำ ซึ่งอาหารได้แก่ จระเข้และปลาขนาดใหญ่ แต่ทว่ามีความยาวกกว่ามาก โดยมีความยาวเฉลี่ยประมาณ 13.5 เมตร และอาจยาวได้ถึง 15 เมตร หนักถึง 2.6 ตัน โดยชื่อของมันเป็นภาษาลาติน แปลได้ว่า "งูยักษ์จากแซร์อาโฮน" (Titanic boa from Cerrejon) ซึ่งมาจากชื่อเมืองแซร์อาโฮน ซึ่งเป็นเหมืองแร่ ในประเทศโคลอมเบีย ซึ่งเป็นที่ ๆ ค้นพบซากฟอสซิลของมันเป็นครั้งแรก ซากฟอสซิลของไททันโอโบอา ที่ค้นพบเป็นกระดูกสันหลัง จำนวน 180 ชิ้น คาดว่าน่าจะเป็นของงูทั้งหมด 12 ตัว ค้นพบครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 2007 ซึ่งกระดูกสันหลังนั้นมีขนาดใหญ่กว่ากระดูกสันหลังของงูอนาคอนดามากนัก จากการวิเคราะห์และคำนวณด้วยเครื่องมือต่าง ๆ พบว่า ไททันโอโบอามีชีวิตอยู่ในยุคพาลีโอซีน (56-60 ล้านปีก่อน) ซึ่งมีสภาพเป็นป่าดิบชื้น มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 30-34 องศาเซลเซียส ซึ่งสูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของป่าดิบชื้นในยุคราว 3-4 องศาเซลเซียส และสอดคล้องกับสภาพอากาศในยุคพาลีโอซีนที่คาดว่ามีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศปริมาณมาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิส · ดูเพิ่มเติม »

ไทแรนโนซอรัส

กะโหลกของ ไทแรนโนซอรัส นั้นมีขนาดใหญ่ที่สุด ในบรรดา ไดโนเสาร์กินเนื้อทั้งหมด ซึ่งความใหญ่ของกะโหลกวัดกันที่ความกว้าง หลังมีการค้นพบญาติร่วมวงศ์ตระกูลของทีเร็กซ์ ว่ามีขนปกคลุม ทำให้นักวิทยาศาตร์ ได้สันนิฐานว่า ทีเร็กซ์และญาติของมัน น่าจะมีขนปกคลุมตามตัว ไทแรนโนซอรัส หรือ ไทรันโนซอรัส (แปลว่า กิ้งก่าทรราชย์ มาจากภาษากรีก) เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์ประเภทเทอโรพอด ชนิดเดียวที่เป็นที่รู้จักในสกุลนี้คือ ไทแรนโนซอรัส เรกซ์ (rex แปลว่า ราชา มาจากภาษาละติน) หรือเรียกอย่างย่อว่า ที.

ใหม่!!: ภาษาละตินและไทแรนโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไซท์ไกสท์

ซท์ไกสท์ (Zeitgeist) หมายถึงบรรยากาศทางภูมิปัญญาหรือทางวัฒนธรรมของยุคสมัย คำว่าไซท์ไกสท์เป็นคำภาษาเยอรมัน แปลตามตัวคือ เวลา (Zeit) และ จิตวิญญาณ (Geist) ในภาษาไทยอาจแปลได้ว่า "จิตวิญญาณแห่งยุคสมัย" หรือ "จิตวิญญาณแห่งกาลเวลา"sikkha,, www.palawat.com, 3 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและไซท์ไกสท์ · ดูเพิ่มเติม »

เบรฟฮาร์ท วีรบุรุษหัวใจมหากาฬ

วีรบุรุษหัวใจมหากาฬ(Braveheart)เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติ-ดราม่า กำกับภาพยนตร์โดยเมล กิบสันออกฉายในวันที่24 พฤษภาคม 1995 ภาพยนตร์บอกเล่าเรื่องราวของวิลเลียม วอลเลซอัศวินชาวสกอตแลนด์ที่ปลุกระดมชาวสกอตแลนด์ให้ปลดตนเองออกจากการเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษซึ่งมีพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษเป็นผู้ปกครอง ณ ขณะนั้น วอลเลซปลุกระดมชาวสกอตแลนด์จำนวนมากและตั้งกองทัพขึ้นเพื่อต่อสู้กับกองทัพอังกฤษที่มีจำนวนมากกว่ามาก ภาพยนตร์มีเนื้อหาที่อิงประวัติศาสตร์จึงมีส่วนที่ไม่ถูกต้องและบิดเบือนจากความเป็นจริงอยู่มาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเบรฟฮาร์ท วีรบุรุษหัวใจมหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

เบรุต

รุต (بيروت; Beirut) คือเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเลบานอน ตั้งอยู่บนปลายแหลมเล็กที่ยื่นออกไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเบรุต · ดูเพิ่มเติม »

เบลลินโซนา

ลลินโซนา เบลลินโซนา (Bellinzona; Bellinzone,; archaic Bellenz; Latin Bilitio) เป็นเมืองหลวงของรัฐตีชีโน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวั้นออกเฉียงใต้ของประเทศ เมืองมีปราสาทที่มีชื่อเสียง 3 แห่ง ได้รับลงทะเบียนมรดกโลกของยูเนสโกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเบลลินโซนา · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์มิวดา

อร์มิวดา เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาห่างจากรัฐนอร์ทแคโรไลนาไปทางตะวันออก 580 ไมล์ เบอร์มิวดาเป็นดินแดนโพ้นทะเลที่เก่าแก่ที่สุดของสหราชอาณาจักร ที่ยังคงเหลืออยู่ โดยมีชาวอังกฤษมาตั้งรกรากก่อนการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรถึงสองศตวรรษ โดยค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

เบอซ็องซง

อซ็องซง (Besançon) หรือ บีซันซ์ (Bisanz) เป็นเมืองหลวงและเมืองสำคัญของจังหวัดดูและของแคว้นฟร็องช์-กงเต ทางตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส เบอซ็องซงตั้งอยู่ไม่ไกลจากพรมแดนสวิตเซอร์แลนด์ ตัวเมืองตั้งอยู่ตรงโค้งแม่น้ำดูซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำโรน ซึ่งเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวกอลในยุคสัมริดราว 1500 ก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเบอซ็องซง · ดูเพิ่มเติม »

เพกาซัสแฟนตาซี

กาซัสแฟนตาซี (ペガサス幻想; Pegasus Fantasy) เป็นเพลงโอเพนนิ่งประกอบแอนิเมชันชุดแรกของ เซนต์เซย์ย่า ซึ่งขับร้องโดยศิลปินกลุ่ม เมคอัพ ของญี่ปุ่น และเพลงนี้ได้ถูกนำไปใช้ในเกม Pop'n Music 10 (ซึ่งจำหน่ายในปี ค.ศ. 2003) โดยให้ชื่อเพลงนี้ว่า "Pegasus Fantasy (Mokai's Edit)" นอกจากนี้ ใน ลัคกี้ สตาร์ ได้มีการล้อเลียนชื่อเพลงนี้ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ เพกาซัสแฟนตาซี ยังได้รับเลือกเป็นเพลงเปิดตัวอีกครั้งในแอนิเมชันซีรีส์ เซนต์เซย์ย่า โอเมก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเพกาซัสแฟนตาซี · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์คัชชัน

ในทางดนตรี เครื่องเพอร์คัชชัน (percussion) หมายถึงวัตถุที่ให้เสียงจากการตี กระทบ ถู เขย่า หรือการกระทำลักษณะที่ใกล้เคียงกันที่ทำให้วัตถุสั่นและเกิดเสียง เพอร์คัชชันนั้นหมายความรวมทั้งเครื่องดนตรีที่รู้จักกันทั่วไป เช่น กลอง ฉาบ ฆ้อง แทมบูรีน ไซโลโฟน หรือสิ่งของซึ่งถูกนำมาใช้ในดนตรีสมัยใหม่หลายชนิด เช่น ไม้กวาด ท่อโลหะ เป็นต้น เครื่องเพอร์คัชชันมีทั้งเครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงและไม่มีระดับเสียง เครื่องดนตรีที่มีระดับเสียง ซึ่งหมายถึงว่าเสียงที่ออกมานั้นมีความถี่ที่ซับซ้อนจนมาสามารถตั้งเป็นตัวโน้ตได้เช่น กลองทิมปานี มาริมบา ไซโลโฟน ระนาด และเครื่องที่ไม่มีระดับเสียง เช่น กลองสแนร์ ฉาบ ไทรแองเกิล เป็นต้น คำว่าเพอร์คัชชัน มีที่มาจากภาษาละตินว่า "percussio" ซึ่งมีความหมายว่า"ตี" ในภาษาอังกฤษ คำว่าเพอร์คัชชันไม่ได้จำกัดการใช้เฉพาะในทางดนตรี ในภาษาไทย บางครั้งจะเรียกเครื่องเพอร์คัชชันว่า เครื่องกระทบ เครื่องตี หรือเครื่องเคาะ รวมถึงเครื่องให้จังหวะ และเครื่องประกอบจังหว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเพอร์คัชชัน · ดูเพิ่มเติม »

เกมลูกแก้ว

กมลูกแก้ว (Das Glasperlenspiel; The Glass Bead Game) เป็นผลงานชิ้นเอกและผลงานชุดสุดท้ายของแฮร์มัน เฮสเส ซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวเยอรมัน โดยเริ่มเขียนใน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเกมลูกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เกรฟแอกเซนต์

กรฟแอกเซนต์ (grave accent) เรียกย่อว่า เกรฟ (grave) เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษรชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นขีดเล็ก ๆ เฉียงลงขวาอยู่เหนืออักษร (`) ใช้เขียนกำกับอักษรละตินเพื่อใช้ในภาษาต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส ภาษานอร์เวย์ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ กำกับอักษรกรีกในภาษากรีก (ใช้จนถึง ค.ศ. 1982) หรือใช้กำกับอักษรอื่น ๆ ด้วยจุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป ทั้งการเปลี่ยนระดับเสียง การแปรเสียง การเน้นเสียง หรือการแยกแยะคำ เป็นต้น คำว่า grave มาจากภาษาละติน gravis แปลว่า หนัก ในภาษาอังกฤษมีการอ่านว่า กราฟ เพิ่มเข้ามาเพื่อให้แตกต่างจากคำว่า grave เกรฟ ที่แปลว่า ร้ายแรง หรือหลุมศพ ซึ่งเลียนแบบมาจากภาษาฝรั่งเศส accent grave อักซอง กราฟ แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์มีแป้นเกรฟอยู่บริเวณมุมบนซ้ายของผัง บางภูมิภาคใช้ร่วมกับแป้นตาย (dead key) เพื่อประสมกับอักษร บางภูมิภาคใช้เพื่อสลับภาษาป้อนเข้า (คนไทยเรียก "ปุ่มตัวหนอน" ซึ่งเป็นปุ่มเดียวกับทิลเดอ) วงการโปรแกรมเมอร์เรียกเครื่องหมายนี้ว่า แบ็กโควต (back quote) หรือแบ็กทิก (backtick) ในยูนิโคดมีทั้งรูปแบบเดี่ยว (U+0060 `) และตัวผสาน (U+0300 ◌̀).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเกรฟแอกเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา

กาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา (United States Minor Outlying Islands) เป็นชื่อเรียกขานเชิงสถิติซึ่งกำหนดโดยรหัสประเทศ ISO 3166-1 ขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ประกอบด้วยพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกาเก้าแห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ได้แก่ เกาะเบเกอร์ เกาะฮาวแลนด์ เกาะจาร์วิส จอห์นสตันอะทอลล์ คิงแมนรีฟ มิดเวย์อะทอลล์ เกาะนาวาสซา แพลไมราอะทอลล์ และเกาะเวก ส่วนดินแดนแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์และเซร์รานียาแบงก์ ก็ถูกรวมเข้ามาโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเช่นกัน แต่การอ้างสิทธิ์ยังคงเป็นข้อพิพาทกับประเทศอื่น ในจำนวนนี้ แพลไมราอะทอลล์เท่านั้นที่เป็นดินแดนที่ผนวกเข้ากับสหรัฐอเมริกา เกาะเหล่านี้ไม่มีเกาะใดที่ประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวรจนถึง..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนวิช (South Georgia and the South Sandwich Islands, SGSSI) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ โดยตกเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2528 จากการทำสงครามกรณีพิพาทหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ระหว่างอังกฤษกับอาร์เจนตินา ดินแดนนี้ถูกปกครองโดยตรงจากหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมวดหมู่:สหราชอาณาจักร หมวดหมู่:ประเทศในทวีปอเมริกาใต้ หมวดหมู่:ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2528 หมวดหมู่:เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช · ดูเพิ่มเติม »

เกีย คาเรนส์

กีย คาเรนส์ (Kia Carens) เป็นรถยนต์เอนกประสงค์ขนาดเล็ก (Compact MPV) ที่ผลิตโดย เกีย เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2542 ในบางประเทศจะใช้ชื่อว่า เกีย รอนโด (Kia Rondo) เนื่องจากชื่อ Carens เป็นชื่อที่มีความหมายในเชิงลบ แปลว่า ขาดหรือไม่มี ในภาษาละติน โดยจะใช้ชื่อนี้ในอเมริกาเหนือและออสเตรเลี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเกีย คาเรนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เกเลน

วาดเกเลนในศตวรรษที่ 18 โดยเกออร์ก เพาล์ บัสช์ เกเลน (Galen; Γαληνός, Galēnos; Claudius Galenus; ค.ศ. 129 - ประมาณ ค.ศ. 200 หรือ 216) แห่งเพอร์กามอน เป็นแพทย์ชาวกรีกซึ่งมีอิทธิพลต่อวิทยาศาสตร์การแพทย์ของตะวันตกมาเป็นเวลานานกว่าพันปี ชื่อหน้า "Claudius" ซึ่งไม่ได้ระบุเอาไว้ในเอกสารภาษากรีก ปรากฏอยู่ในเอกสารในยุคฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเกเลน · ดูเพิ่มเติม »

เมริดา (ประเทศสเปน)

มริดา (Mérida) เป็นเมืองหลักของแคว้นเอซเตรมาดูรา ทางภาคตะวันตกของประเทศสเปน ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเมริดา (ประเทศสเปน) · ดูเพิ่มเติม »

เมลียา

มลียา (Melilla), มริตช์ (เบอร์เบอร์: ⵎⵔⵉⵞ) หรือ มะลีลียะฮ์ (مليلية) เป็นเมืองหนึ่งของประเทศสเปน ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของแอฟริกาเหนือ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ติดต่อกับประเทศโมร็อกโก ชาวสเปนมาตั้งถิ่นฐานที่เมืองนี้ในปี พ.ศ. 2040 แต่เดิมเมืองนี้จัดอยู่ในแคว้นอันดาลูซีอาเนื่องจากเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ต่อมาจึงถูกปกครองในฐานะส่วนหนึ่งของจังหวัดมาลากา ก่อนจะได้รับสิทธิ์ในการปกครองตนเองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2538 และเมืองนี้ยังเคยเป็นเมืองท่าปลอดภาษีก่อนที่สเปนจะเข้าร่วมสหภาพยุโรป พลเมืองประกอบด้วยคริสต์ศาสนิกชน ชาวมุสลิม ชาวยิว และชนกลุ่มน้อยชาวฮินดู ใช้ภาษาสเปนและ/หรือภาษาเบอร์เบอร์ในการสื่อสาร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเมลียา · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวง

มืองหลวง หรือ ราชธานี คือ เมืองหลักที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ส่วนใหญ่เป็นที่ตั้งของทำเนียบรัฐบาล คำในภาษาอังกฤษ capital มาจากภาษาละติน caput หมายถึง "หัว" และอาจเกี่ยวข้อง เนินเขาแคปิทอไลน์ เนินเขาที่สูงที่สุดในโรมโบราณ ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์และศาสนา ในภาษาไทย มีหลายคำที่ใช้ในความหมายนี้ เช่น กรุง หรือ พระนคร สำหรับคำว่าเมืองหลวงนั้นยังก็มีความหมายเป็นสองนัย กล่าวคือ หมายถึงเมืองใหญ่ (หลวง หมายถึง ใหญ่) หรือเมืองของหลวง (คือเมืองของพระเจ้าแผ่นดิน, เพราะเป็นที่ประทับของกษัตริย์) เมืองหลวงในบางประเทศ มีขนาดเล็กกว่าเมืองอื่น เช่นใน สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซิล สำหรับคำว่าเมืองหลวงนี้ อาจเป็นเมืองหลวงของรัฐ (ในประเทศที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ เป็นต้น) หรือเมืองหลวงของเขตการปกครองระดับใดๆ ก็ได้ เช่น อำเภอเมือง เปรียบเหมือนเป็นเมืองหลวงของจังหวั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เมนซาอินเตอร์เนชันแนล

ลโก้ของเมนซา เมนซาเป็นสังคมระดับเชาวน์ปัญญาสูงใหญ่สุดและเก่าแก่ที่สุดในโลก เป็นองค์การไม่แสวงผลกำไรซึ่งเปิดแก่ผู้ที่ทำคะแนนได้ตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 98 เป็นต้นไปในการทดสอบระดับเชาวน์ปัญญามาตรฐานและมีการควบคุมดูแลหรือการทดสอบเชาวน์ปัญญาอื่นซึ่งผ่านการรับรอง เดิมเมนซาประกอบด้วยกลุ่มชาติและองค์การครอบคลุม คือ เมนซาอินเตอร์เนชันแนล โดยมีสำนักงานจดทเบียนใน Caythorpe ลินคอล์นเชียร์ ประเทศอังกฤษ คำว่า เมนซา หมายถึง "โต๊ะ" ในภาษาละติน ดังที่แสดงสัญลักษณ์ในโลโก้ขององค์การ และถูกเลือกเพื่อแสดงสภาพโต๊ะกลมขององค์การ คือ ผู้เท่าเทียมมาประชุมกัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเมนซาอินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

เมเปิล

มเปิล หรือ ก่วมลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ ดร.ก่องการดา ชยามฤต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (Acer มาจากภาษาละตินแปลว่า: แหลม,คม หมายถึงปลายแหลมของใบ) คือสกุลของต้นไม้หรือพุ่มไม้ ซึ่งแบ่งได้หลายประเภทในวงศ์เดียวกัน มีประมาณ 125 สปีชีส์ ส่วนมากเป็นพืชในแถบเอเชีย แต่ก็มีบ้างในแถบยุโรป,ตอนเหนือของทวีปแอฟริกาและทวีปอเมริกาเหนือ มันถูกจัดเข้าสู่สกุลครั้งแรกโดย โจเชฟ ปีตตอง เดอ ตัวเนฟอร์ต (Joseph Pitton de Tournefort) นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเมเปิล · ดูเพิ่มเติม »

เยอรมันเรควีม (บราห์ม)

A German Requiem, To Words of the Holy Scriptures, Op.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเยอรมันเรควีม (บราห์ม) · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อดูรา

ื่อหุ้มสมองชั้นนอก หรือ เยื่อดูรา (Dura mater; มาจากภาษาละติน แปลว่า "hard mother") เป็นเยื่อหุ้มสมองชั้นนอกสุดที่แข็ง หยาบ และไม่ยืดหยุ่นที่หุ้มสมองและไขสันหลัง โดยมีเยื่อหุ้มสมองชั้นอื่นๆ คือเยื่อเพีย (pia mater) และเยื่ออะแร็กนอยด์ (arachnoid mater) อยู่ด้านใต้ลึงลงไป เยื่อดูราจะไม่แนบสนิทกับไขสันหลัง โดยยื่นเลยผ่านไขสันหลังที่ระดับกระดูกสันหลังส่วนบั้นเอวชิ้นที่ 2 ถึงประมาณกระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บชิ้นที่ 2 Shepherd S. 2004.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเยื่อดูรา · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อเพีย

ื่อหุ้มสมองชั้นใน หรือ เยื่อเพีย (pia mater; มาจากภาษาละตินซึ่งแปลมาจากภาษาอาหรับอีกที แปลว่า "มารดาที่อ่อนโยน") เป็นชั้นเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังที่อยู่ในสุด เยื่อเพียมีลักษณะบาง คล้ายกับตาข่าย หุ้มอยู่บนผิวทั้งหมดของสมอง และคลุมแนบไปบนร่องของคอร์เท็กซ์ของสมอง และมีส่วนเชื่อมกับอีเพนไดมา (ependyma) ซึ่งบุรอบโพรงสมองเพื่อสร้างเป็นคอรอยด์ เพล็กซัส (choroid plexus) ซึ่งทำหน้าที่ในการผลิตน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) ในไขสันหลัง เยื่อเพียจะติดกับเยื่อดูรา (dura mater) โดยโครงสร้างที่เรียกว่า เดนติคูลาร์ ลิกาเมนท์ (denticular ligaments) ผ่านเยื่ออะแร็กนอยด์ (arachnoid membrane) เยื่อเพียเจริญมาจากเซลล์นิวรัล เครสท์ (neural crest).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเยื่อเพีย · ดูเพิ่มเติม »

เรกนันส์อินเอกเซลซิส

รกนันส์อินเอกเซลซิส (Regnans in Excelsis; "ปกครองจากเบื้องบน") เป็นสารตราพระสันตะปาปาที่ออกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเรกนันส์อินเอกเซลซิส · ดูเพิ่มเติม »

เรลิก

รลิก (relic) คือชิ้นส่วนร่างกายของนักบุญหรือบุคคลที่เป็นที่นับถือ หรือศาสนวัตถุโบราณอื่นๆ ที่มีการเก็บรักษาไว้ให้ศาสนิกชนได้บูชา หรือเป็นเครื่องระลึกถึง ความเชื่อเกี่ยวกับเรลิกมีความสำคัญในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ลัทธิเชมัน ฯลฯ คำว่า relic มาจาก ภาษาละติน “reliquiae” แปลว่าสิ่งที่หลงเหลืออยู่ และคำว่า “reliquary” หมายถึงที่เก็บรักษาเรลิกซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้ หรือศาสนสถานสถานที่เช่นมหาวิหารหรือวั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเรลิก · ดูเพิ่มเติม »

เรโหโบอัม

รโหโบอัม (ฮีบรู: רְחַבְעָם) หรือ โรโบอัม (ละติน: Roboam) เป็นกษัตริย์ชาวอิสราเอลที่ปรากฎในคัมภีร์ฮีบรู เป็นโอรสของกษัตริย์ซาโลมอนและเป็นหลานของกษัตริย์ดาวิด เขาขึ้นครองบัลลังก์อิสราเอลต่อจากพระบิดาขณะอายุ 41 ปี หลังครองบัลลังก์ได้ไม่นานก็ถูกสิบชนเผ่าอิสราเอลประกาศแยกประเทศ ทำให้ประเทศอิสราเอลแตกออกเป็นสอง คือ อาณาจักรอิสราเอล (อิสราเอลเหนือ) และอาณาจักรยูดาห์ (อิสราเอลใต้) เรโหโบอัมจึงกลายเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรยูดาห์คนแรก อาณาจักรยูดาห์ในรัชสมัยของพระองค์ต้องเผชิญกับสงครามกลางเมืองตลอดรัชกาล และยังต้องเผชิญกับการรุกรานของอียิปต์ ซึ่งท้ายที่สุดอาณาจักรยูดาห์ก็ตกเป็นประเทศราชของอียิปต์ เรโหโบอัมมีชายา 18 องค์และมีบริจาริกา 60 นาง พระองค์มีโอรส 28 องค์และธิดา 60 องค์ ทรงครองราชสมบัติยูดาห์ได้ 17 ปีจึงสวรรคต เจ้าชายอาบียาห์ โอรสของพระองค์ได้ขึ้นสืบบัลลังก์ยูดาห์ต่อ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเรโหโบอัม · ดูเพิ่มเติม »

เลอมูเอล กัลลิเวอร์

ลอมูเอล กัลลิเวอร์ เป็นตัวละครหลักของกัลลิเวอร์ผจญภัย วรรณกรรมที่เขียนโดย โจนาธาน สวิฟท์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1726.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเลอมูเอล กัลลิเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เลียงผา

ลียงผา หรือ เยียงผา หรือ โครำ (Serows; อีสาน: เยือง) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่สกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae คือ วงศ์เดียวกับแพะและแกะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capricornis (/แคป/-ปริ-คอร์-นิส/).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเลียงผา · ดูเพิ่มเติม »

เลนเนิร์ด

ลนเนิร์ด, เลนนาร์ด (Leonard) เป็นชื่อสามัญ หรือชื่อสกุลในภาษาอังกฤษ มีที่มาจากภาษาเยอรมัน Leonhard มาจากคำว่า levon ("lion" - สิงโต) กับคำว่า hardu ("brave" - กล้าหาญ หรือ "hardy" - หัวใจ) มีความหมายว่า เข็มแข็ง, แข็งแรง หรือห้าวหาญเหมือนสิงโต นอกจากนี้ยังอาจมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า Leo ("lion") เลนเนิร์ด ยังเป็นนามสกุลไอริช มาจากภาษาแกลิก คำนำหน้า O (สืบสายมาจาก) กับคำว่า Leannan ("lover") เลนเนิร์ด ยังเป็นชื่อสามัญในภาษาอื่นๆ ดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเลนเนิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เวทมนตร์ใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ!

ทความนี้อธิบายเวทมนตร์ต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ในการ์ตูนเรื่อง คุณครูจอมเวท เนกิมะ!.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเวทมนตร์ใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ! · ดูเพิ่มเติม »

เสือชีตาห์

ือชีตาห์ (Cheetah) เป็นเสือเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอก ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110–120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน 20 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว 4,000 ตัวเท่านั้น เสือชีตาห์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acinonyx jubatus และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acinonyx ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเสือชีตาห์ชนิดอื่น ๆ นั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดในยุคน้ำแข็งสุดท้าย จึงทำให้สายพันธุ์กรรมของเสือชีตาห์ทั้งหมดในปัจจุบันใกล้ชิดกันมาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเสือชีตาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือลายเมฆ

ือลายเมฆ (Clouded leopard) เสือใหญ่ประเภทหนึ่ง อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทแยงมุม

้นทแยงมุมในทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก เส้นทแยงมุม หมายถึงเส้นตรงที่ลากผ่านจุดยอดสองจุดที่ไม่อยู่ติดกันบนรูปหลายเหลี่ยมหรือทรงหลายหน้า หรือในบริบทอื่นจะหมายถึงเส้นตรงที่เฉียงขึ้นหรือเฉียงลง คำว่า diagonal ในภาษาอังกฤษ มีที่มาจากภาษากรีก διαγωνιος (diagonios) ประกอบด้วย dia- แปลว่า "ทะลุหรือข้าม" และ gonia แปลว่า "มุม" จากนั้นจึงมีการยืมไปใช้ไปเป็นภาษาละติน diagonus แปลว่า "เส้นเอียง" ในทางคณิตศาสตร์ คำว่าเส้นทแยงมุมมีการใช้ในเมทริกซ์ แทนกลุ่มของสมาชิกที่อยู่บนเส้นทแยงมุมสมมติของเมทริกซ์ และเพื่อให้ความหมายของเมทริกซ์ทแยงมุม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเส้นทแยงมุม · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวออสเปร

หยี่ยวออสเปร (Osprey, Sea hawk, Fish eagle) เป็นนกล่าเหยื่อที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ ยาว 60 เซนติเมตร ช่วงปีกกว้าง 2 เมตร ขนส่วนบนเป็นสีน้ำตาล ศีรษะและส่วนล่างมีสีค่อนข้างเทา มีสีดำบริเวณตาและปีก เหยี่ยวออสเปรมีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชอบทำรังใกล้กับแหล่งน้ำ แม้ว่าในทวีปอเมริกาใต้จะเป็นเพียงแค่นกอพยพนอกฤดูผสมพันธุ์ แต่ก็ถือว่าสามารถพบได้ทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา เหยี่ยวออสเปรกินปลาเป็นอาหาร จึงพัฒนาลักษณะทางกายภาพเฉพาะและแสดงพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เพื่อช่วยในการล่าและการจับเหยื่อ จึงส่งผลให้มีสกุลและวงศ์เป็นของตนเองคือ สกุล Pandion และ วงศ์ Pandionidae มี 4 สปีชีส์ย่อยที่ได้รับการยอมรับ แม้จะมีนิสัยชอบในการทำรังใกล้แหล่งน้ำ แต่เหยี่ยวออสเปรก็ไม่ใช่อินทรีทะเล.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเหยี่ยวออสเปร · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญฟิลด์ส

้านหน้าของเหรียญฟิลด์ส เหรียญฟิลด์ส (อังกฤษ: Fields Medal) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นักคณิตศาสตร์จำนวน 2-4 คน ที่มีอายุไม่เกิน 40 ปี ในการประชุมคณิตศาสตร์นานาชาติของสหภาพคณิตศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Mathematics Union หรือ IMU) ซึ่งจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี รางวัลเหรียญฟิลด์สได้รับการยอมรับในวงกว้างว่าเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดสำหรับนักคณิตศาสตร์ รางวัลนี้มอบให้พร้อมกับเงินรางวัลเป็นจำนวน 15,000 ดอลลาร์แคนาดา (ตั้งแต่ปี 2006) เหรียญฟิลด์สก่อตั้งโดยความประสงค์ของนักคณิตศาสตร์ชาวแคนาดา จอห์น ชาร์ลส์ ฟิลด์ส (John Charles Fields) มอบรางวัลครั้งแรกในปี 1936 แก่นักคณิตศาสตร์ชาวฟินแลนด์ชื่อ ลาร์ส อาห์ลฟอร์ (Lars Ahlfors) และนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ เจสส์ ดักลาส (Jesse Douglas) และจัดมอบทุกๆ 4 ปีมาตั้งแต่ปี 1950 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนและให้เกียรตินักวิจัยวัยหนุ่มสาวที่อุทิศตนเพื่องานด้านคณิตศาสตร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเหรียญฟิลด์ส · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญของแครอน

แม่น้ำแอเคอรอนจากมนุษยโลกไปยังยมโลก โดยลูกา จอร์ดาโน เหรียญของแครอน (Charon's obol) หมายถึงเหรียญที่ใส่ในปากหรือบนปาก ของผู้ตายก่อนที่จะทำการฝัง ประเพณีนี้มักจะเกี่ยวข้องกับประเพณีกรีกและโรมันโบราณ แต่ก็พบว่าทำกันในตะวันออกใกล้ด้วย และต่อมาในยุโรปตะวันตก โดยเฉพาะในบริเวณที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของเคลต์ของวัฒนธรรมกอล-โรมัน, ฮิสเปเนีย-โรมัน และโรมันบริเตน และในกลุ่มชนเจอร์แมนิกของปลายยุคโบราณตอนปลาย และในสมัยคริสเตียนตอนต้น และมีปฏิบัติกันอยู่บ้างมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในวรรณกรรมภาษากรีกโบราณ และ ภาษาลาตินของตั้งแต่ศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 2 กล่าวกันว่าเหรียญของแครอนใช้เป็นค่าโดยสารหรือค่าติดสินบนสำหรับแครอนคนพายเรือของเฮดีสผู้มีหน้าที่นำวิญญาณของผู้ที่เพิ่งเสียชีวิตข้ามแม่น้ำแอเคอรอนจากมนุษยโลกไปยังยมโลก หลักฐานทางโบราณคดีชี้ให้เห็นว่าตำนานสะท้อนไปถึงวัฒนธรรมที่ปฏิบัติกันจริง และไม่แต่จะจำกัดอยู่เพียงใส่เหรียญเพียงเหรียญเดียวในปากเท่านั้น นอกจากนั้นก็ยังมีประเพณีการให้เหรียญหรือเงินจำนวนมากเช่นที่ทำกันในการฝังผู้ตายพร้อมกับเรือซึ่งก็ตรงกับอุปมาของความคิดดังกล่าว คำว่า "เหรียญของแครอน" ที่ใช้โดยนักโบราณคดีบางครั้งก็อาจจะหมายความถึงประเพณีทางศาสนาอย่างใดอย่างหนึ่งแต่มักจะมีนัยยะถึงเงินที่ใช้โดยผู้ตายในยมโลกหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้ว ในภาษาละติน เหรียญของแครอนบางครั้งก็เรียกว่า "viaticum" หรือ "sustenance for the journey" บางครั้งก็จะให้คำอธิบายว่าการใส่เหรียญในปากผู้ตายเป็นการป้องกันไม่ให้วิญญาณของผู้ตายกลับมาอีกได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเหรียญของแครอน · ดูเพิ่มเติม »

เหล็ก

หล็ก (Iron ออกเสียงว่า ไอเอิร์น /ˈaɪ.ərn/) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ มีสัญลักษณ์ธาตุ Fe และหมายเลขอะตอม 26 เหล็กเป็นธาตุโลหะทรานซิชันหมู่ 8 และคาบ 4 สัญลักษณ์ Fe ย่อมาจาก ferrum ในภาษาละติน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

เอกอัครสมณทูต

อาร์ชบิชอป โจวันนี ดานีเอลโล (Giovanni d’Aniello) อดีตเอกอัครสมณทูตวาติกันประจำประเทศไทย กัมพูชา พม่า และลาวhttp://haab.catholic.or.th/photo/ambassador/jovanne.html แต่งตั้งสมณทูตองค์ใหม่ เอกอัครสมณทูต (nuncio; apostolic nuncio) เรียกโดยย่อว่าพระสมณทูต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเอกอัครสมณทูต · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอรัสมุส

อรัสมุส เมื่อ พ.ศ. 2066 วาดโดยฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก) เดซีเดริอุส เอรัสมุส โรเตโรดามุส (Desiderius Erasmus Roterodamus) หรือ เดซีเดริอุส เอรัสมุส แห่งรอตเทอร์ดามเอรัสมุส เป็นชื่อเมื่อเขารับศีลล้างบาป โดยตั้งตามนักบุญเอรัสม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเอรัสมุส · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟ์

''Ängsälvor'' "เอลฟ์แห่งท้องทุ่ง" ภาพวาดของนิลส์ บลอมเมอร์ ในปี ค.ศ. 1850 เอลฟ์ (elf) คือสิ่งมีชีวิตอมนุษย์ในตำนานนอร์สและตำนานปรัมปราในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิก (สแกนดิเนเวียและเยอรมัน) เมื่อแรกเริ่ม แนวคิดเกี่ยวกับพวกเอลฟ์คือ ชนเผ่าที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์ ภาพวาดของชนเหล่านี้มักเป็นมนุษย์ทั้งชายและหญิงที่แลดูอ่อนเยาว์และงดงาม อาศัยอยู่ในป่า ในถ้ำ ใต้พื้นดิน หรือตามบ่อน้ำและตาน้ำพุ มักเชื่อกันว่าพวกเขามีชีวิตยืนยาวมากหรืออาจเป็นอมตะ รวมทั้งมีพลังเวทมนตร์วิเศษ แต่หลังจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ผลงานอันโด่งดังของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ปรากฏออกมา ภาพของเอลฟ์ก็กลายเป็นผองชนผู้เป็นอมตะและเฉลียวฉลาด ทั้งที่คำว่า เอลฟ์ ในวรรณกรรมของโทลคีนมีความหมายแตกต่างไปคนละทางกับตำนานโบราณโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเอลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสิกส์

อสิกส์ (ASICS) ตราสินค้าผลิตภัณฑ์กีฬาและรองเท้ากีฬาสัญชาติญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเอสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอนยา

อนยา พาทริเชีย นี วรีไนน์ (Eithne Patricia Ní Bhraonáin) หรือเอนยา (Enya) (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2504—ปัจจุบัน) เป็นนักร้อง นักดนตรี และคีตกวีชาวไอร์แลนด์ ผู้ได้รับรางวัลแกรมมี่สี่ครั้ง และเป็นศิลปินเดี่ยวที่มียอดจำหน่ายผลงานเป็นอันดับสูงสุดของไอร์แลนด์ ดนตรีของเอนยาได้รับอิทธิพลจากดนตรีเคลติก และมักจัดเป็นดนตรีนิวเอจ เอนยาร่วมงานกับ นิกกี และโรมา ไรอัน มาอย่างยาวนาน โดยเอนยาเป็นผู้ร้องและเล่นดนตรี นิกกีเป็นผู้อำนวยการผลิต และโรมาเป็นผู้ประพันธ์คำร้อง คำว่า Enya เป็นการเขียนทับศัพท์ชื่อของเธอในภาษาแกลิก คือ Eithne ตามการออกเสียง โดยมีความหมายว่า แก่นไม้ กับทั้งยังเป็นชื่อนักบุญศาสนาคริสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเอนยา · ดูเพิ่มเติม »

เฮราคลีโอโพลิส

ราคลีโอโพลิส แมกนา (กรีก: Μεγάλη Ἡρακλέους πόλις, Megálē Herakléous pólis) หรือ เฮราคลีโอโพลิส (Ἡρακλεόπολις, Herakleópolis) เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรอียิปต์โบราณ ซึ่งชื่อเมืองนั้นเป็นภาษาโรมัน ตั้งอยู่ประมาณ 15 กิโลเมตร (9.3 ไมล์) ทางตะวันตกของเมืองเบนิ ซูเอฟของอียิปต์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเฮราคลีโอโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

เฮลเวติกา

ลเวติกา (Helvetica) เป็นชื่อไทป์เฟซหรือแบบตัวอักษรในตระกูล Sans Serif ที่มีใช้มาตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเฮลเวติกา · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์เมทิคา

อร์เมทิคาเป็นวรรณคดีโบราณของอียิปต์ เชื่อกันว่าเขียนขึ้นโดยเทพเจ้าธอธซึ่งเป็นเทพเจ้าที่ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ไฮโรกลิฟ ชาวกรีกเชื่อว่าเทพเจ้าองค์นี้เป็นองค์เดียวกับเทพเฮอร์มีสของตน จึงเรียกงานเขียนของเทพธอธว่าเฮอร์เมท.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเฮอร์เมทิคา · ดูเพิ่มเติม »

เฮียโรนีมัส บ็อค

ียโรนีมัส บ็อค (Hieronymus Bock; ค.ศ. 1498 – 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1554) หรือ เจอโรม บ็อค (Jerome Bock) หรือ ทรากัส (Tragus) ในภาษาละติน เป็นนักพฤกษศาสตร์และศาสนาจารย์ชาวเยอรมัน เกิดในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเฮียโรนีมัส บ็อค · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ วัตต์

มส์ วัตต์ (James Watt) (19 มกราคม ค.ศ. 1736 - 19 สิงหาคม ค.ศ. 1819) วิศวกรและนักประดิษฐ์ ชาวสกอตแลนด์ ผู้ปรับปรุงเครื่องปั่นด้าย Spinning Jenny จนนำสหราชอาณาจักรไปสู่ยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตและการต่อเรือ และทำให้สหราชอาณาจักรเป็นเจ้าอาณานิคมในเวลาต่อมา เครื่องจักรของวัตต์เป็นต้นแบบของเครื่องจักรที่ใช้น้ำมันในปัจจุบัน เขาเป็นผู้บัญญัติศัพท์ แรงม้า เป็นวิธีคำนวณประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักร และชื่อของเขาได้รับไปตั้งเป็น หน่วยกำลังไฟฟ้า ในระบบหน่วยเอสไอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเจมส์ วัตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเอสเตลล์ ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์

้าหญิงเอสเตลล์ ซิลเวีย อีวา มารี ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์ (23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555) พระราชธิดาพระองค์แรกในมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน กับเจ้าชายดาเนียล ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์ ถือเป็นพระราชนัดดาพระองค์แรกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ กับสมเด็จพระราชินีซิลเวี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเจ้าหญิงเอสเตลล์ ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เทพปกรณัมโรมัน

ทพีเซเรสเทพีผู้พิทักษ์การเจริญเติบโตของธัญพืช เทพปกรณัมโรมัน หรือ เทพปกรณัมละติน (Roman mythology หรือ Latin mythology) หมายถึงความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในลาติอุมและเมืองสำคัญๆ ในคาบสมุทรอิตาลีของโรมันโบราณ ที่อาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งที่เป็นความเชื่อสมัยต่อมาและความเชื่อทางวรรณกรรมที่ประกอบด้วยความเชื่อที่มาจากเทพปกรณัมกรีก อีกส่วนหนึ่งเป็นความเชื่อเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าอิทธิพลกรีกที่มีลักษณะที่ค่อนข้างจะแตกต่างกับเทพปกรณัมกรีกในสมัยต่อม.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเทพปกรณัมโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาแอลป์

ทือกเขาแอลป์ระบบดิจิตอล เทือกเขาแอลป์ในประเทศออสเตรีย เทือกเขาแอลป์ (Alpen; Alpes; Alpi; สโลวีเนีย: Alpe; Alps) เป็นเทือกเขาที่ใหญ่สุดของทวีปยุโรปโดยครอบคลุมตั้งแต่ออสเตรีย, อิตาลี และสโลวีเนียทางด้านตะวันออก ไปจนถึงสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, เยอรมนี และฝรั่งเศสทางด้านตะวันตก เทือกเขาแอลป์เป็นเทือกเขาอายุน้อย เกิดขึ้นเมื่อแผ่นทวีปแอฟริกามุดใต้แผ่นทวีปยูเรเซีย (อนุทวีปสเปนและอิตาลีชนกับแผ่นดินใหญ่) ภูเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาแอลป์คือ ยอดเขามองต์บลังก์ ที่ความสูง 4,807 เมตร บริเวณชายแดนฝรั่งเศสกับอิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเทือกเขาแอลป์ · ดูเพิ่มเติม »

เท็มปูระ

210px เท็มปูระ เป็นอาหารญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักมากอย่างหนึ่ง ทำจากของทะเลและผักที่นำไปชุบแป้งที่ปรุงแบบญี่ปุ่นแล้วนำไปทอ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเท็มปูระ · ดูเพิ่มเติม »

เขตร ศรียาภัย

ตร ศรียาภัย เป็นผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับมวยไทย รวมถึงศิลปะการต่อสู้ทุกประเภททั้งในและต่างประเทศ และได้รับการยกย่องให้เป็นปรมาจารย์มวยไทย มีลูกศิษย์ที่เขาไปสอนตามสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาหลายแห่ง เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ฯลฯ ความรู้ความสามารถของท่านครอบคลุมตั้งแต่การสั่งสอนฝึกฝนมวยตั้งแต่อดีต (สมัยรัชกาลที่ 5) จนถึงการฝึกสอนมวยในปัจจุบัน นอกจากนี้ท่านยังได้อบรมสั่งสอนลูกศิษย์เกี่ยวกับศีลธรรมจรรยาของความเป็นลูกผู้ชายที่แท้จริง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเขตร ศรียาภัย · ดูเพิ่มเติม »

เขตอัครบิดร

ตอัครบิดรราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6 (Patriarchate) เป็นเขตอำนาจการปกครองของอัครบิดร อัครบิดรในศาสนาคริสต์ ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเขตอัครบิดร · ดูเพิ่มเติม »

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเขนงนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

เด เวอร์มิส มิสเทรีส

วอร์มิส มิสเทรีส (อักษรละติน: De Vermis Mysteriis) หรือ ปริศนาแห่งหนอนเป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลู.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเด เวอร์มิส มิสเทรีส · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ ก็อดฟาเธอร์

อะก็อดฟาเธอร์ (The Godfather) เป็นภาพยนตร์ ที่กำกับโดยฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา ออกฉายเมื่อปี ค.ศ. 1972 เกี่ยวกับครอบครัวมาเฟียชาวอิตาลี ชื่อคอร์เลโอเน ที่อพยพจากเมืองเล็กๆ ใกล้กับเมืองปาแลร์โม เมืองเอกของเกาะซิซิลี ไปอยู่ที่เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยมีเนื้อเรื่องครอบคลุมช่วงทศวรรษ ค.ศ. 1945 - 1955 สร้างจากนวนิยายชื่อเดียวกัน ที่เขียนโดย มาริโอ พูโซ ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1969 เดอะก็อดฟาเธอร์ ได้รับการจัดอันดับโดยเว็บไซต์ IMDB ให้เป็นภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอันดับสอง จาก 250 อันดับ และถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 2 ของภาพยนตร์ยอดเยี่ยมตลอดกาลจัดลำดับโดยสถาบันภาพยนตร์อเมริกัน จากการจัดลำดับใหม่ในปี2007.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเดอะ ก็อดฟาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ ก็อดฟาเธอร์ ภาค 2

อะก็อดฟาเธอร์ ภาค 2 (The Godfather Part II) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเดอะ ก็อดฟาเธอร์ ภาค 2 · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพแห่งอังกฤษ

รือจักรภพแห่งอังกฤษ (Commonwealth of England) คือรัฐบาลสาธารณรัฐที่ปกครองอังกฤษ รวมทั้งเวลส์ ไอร์แลนด์ และสกอตแลนด์ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึง ค.ศ. 1660 หลังจากการสำเร็จโทษของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 เครือจักรภพอังกฤษกำเนิดขึ้นจากพระราชบัญญัติประกาศอังกฤษเป็นเครือจักรภพโดยรัฐสภารัมพ์ (Rump Parliament) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย

รือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย (Rzeczpospolita Obojga Narodów; Polish-Lithuanian Commonwealth) มีชื่อเป็นทางการว่า “Rzeczpospolita Korony Polskiej i Wielkiego Księstwa Litewskiego” หรือที่รู้จักกันในนาม “สาธารณรัฐโปแลนด์ที่หนึ่ง” (First Polish Republic) หรือ “สาธารณรัฐแห่งสองชาติ” (Republic of the Two Nations) (Pierwsza Rzeczpospolita หรือ Rzeczpospolita Obojga Narodów; Abiejų tautų respublika) เป็นเครือจักรภพที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุด, accessed on 19 March 2006: At its apogee, the Polish-Lithuanian Commonwealth comprised some 400000 sqare mile and a multi-ethnic population of 11 million. For population comparisons, see also those maps:,. แห่งหนี่งในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โครงสร้างทางการเมืองเป็นกึ่งสหพันธรัฐ กึ่งราชาธิปไตย เครือจักรภพก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องวัดแดด

250px เครื่องวัดแดด หรือ เซกซ์แทนต์ คือ เครื่องมือที่ใช้สำหรับการวัดมุมสัมพันธ์ระหว่างวัตถุสองสิ่งที่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตาในการเดินเรือดาราศาสตร์ วัตถุประสงค์หลักคือการใช้วัดมุมระหว่างวัตถุบนท้องฟ้า (ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ หรือ ดวงดาวต่าง ๆ) กับเส้นขอบฟ้า แล้วนำค่าความสูงที่ได้มาคำนวณหาละติจูด เพื่อบอกตำแหน่งของเรือในเวลาที่ทำการสังเกต มีการใช้ครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเครื่องวัดแดด · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีอิเดสซา

น์ตีอิเดสซา (County of Edessa) เป็นหนึ่งในนครรัฐครูเสด (crusader states) ของคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่มีอาณาบริเวณอยู่รอบตัวเมืองอิเดสซา เคาน์ตีอิเดสซาแตกต่างจากนครรัฐครูเสดอื่น ๆ ตรงที่ไม่มีส่วนใดที่ติดทะเลและไกลจากรัฐอื่น ๆ และไม่ใคร่มีความสัมพันธ์อันดีนักกับนครรัฐอันติโอคที่อยู่ติดกัน ครึ่งหนึ่งของเคาน์ตีรวมทั้งเมืองหลวงตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำยูเฟรทีสทีไกลไปทางตะวันออกจากรัฐอื่น ๆ ซึ่งทำให้เป็นจุดอ่อน ทางตะวันตกของแม่น้ำยูเฟรทีสควบคุมจากป้อมเทอร์เบสเซล (Turbessel).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเคาน์ตีอิเดสซา · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีตริโปลี

อาณาจักรเคานต์แห่งตริโปลี (County of Tripoli) คือนครรัฐครูเสด (crusader states) แห่งสุดท้ายที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณเลแวนต์ (Levant) ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ปัจจุบันคือทางตอนเหนือของเลบานอนที่ในปัจจุบันคือเมืองตริโปลี นักรบครูเสดยึดตริโปลีและสร้างอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเคาน์ตีตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

เคซีน

ซีน (Casein มาจากภาษาละตินว่า caseus ซึ่งแปลว่า ชีส) เป็นชื่อของกลุ่มฟอสโฟโปรตีน คือ αS1, αS2, β, κ โปรตีนเหล่านี้พบโดยทั่วไปในนมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งเป็นส่วนถึง 80% ของโปรตีนในนมวัว และประมาณ 20%-45% ของโปรตีนในนมมนุษย์ เคซีนใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างรวมทั้งเป็นส่วนประกอบหลักของชีส สารเติมแต่งอาหาร และตัวยึดในไม้ขีดไฟ โดยเป็นอาหาร เคซีนประกอบด้วยกรดอะมิโน คาร์โบไฮเดรต และสารอนินทรีย์สองอย่างคือแคลเซียมและฟอสฟอรั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเคซีน · ดูเพิ่มเติม »

เคแมนแคระกูว์วีเย

แมนแคระกูว์วีเย (Cuvier's dwarf caiman, Cuvier's caiman, Smooth-fronted caiman, Musky caiman) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกเคแมน จัดอยู่ในวงศ์แอลลิเกเตอร์ (Alligatoridae) จัดเป็นสัตว์เลื้อยคลานในอันดับจระเข้ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 1.4 เมตร (4.6 ฟุต) ในตัวผู้ และ 1.2 เมตร (3.9 ฟุต) ในตัวเมีย น้ำหนักประมาณ 6 ถึง 7 กิโลกรัม (13 ถึง 15 ปอนด์) ถูกค้นพบและบรรยายทางวิทยาศาสตร์โดยฌอร์ฌ กูว์วีเย (Georges Cuvier) นักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ค้นพบเป็นบุคคลแรก โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรกคือเมืองกาแยนในเฟรนช์เกียนา โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ คำว่า Paleosuchus มาจากคำภาษากรีกว่า palaios หมายถึง "โบราณ" และ soukhos หมายถึง "จระเข้" เพราะเชื่อว่าเคแมนแคระกูว์วีเยสืบสายพันธุ์มาจากสัตว์ในอันดับจระเข้โบราณอายุนานกว่า 30 ล้านปี และคำว่า palpebrosus มาจากภาษาละติน palpebra หมายถึง "เปลือกตา" และ osus หมายถึง "เต็มไปด้วย" ซึ่งหมายถึงแผ่นกระดูกที่ปรากฏอยู่เหนือเปลือกตา ส่วนหัว เคแมนแคระกูว์วีเย กระจายพันธุ์อยู่ในป่าทึบของลุ่มน้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ โดยอาศัยในพื้นที่ที่เป็นแม่น้ำและทะเลสาบ การฟักไข่เหมือนกับเคแมนชนิดอื่น ๆ คือ ใช้ความร้อนจากแสงแดดหรือความร้อนจากการเน่าสลายของพรรณพืชที่ใช้ปกคลุมรังเพื่อการฟักเป็นตัว เคแมนแคระกูว์วีเยไม่มีชนิดย่อย กินอาหารได้หลากหลายชนิด ทั้งสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ, ปลา, ปู, นก, กุ้ง, หอย, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก รวมถึงแมลงปีกแข็งและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังด้วย เนื่องจากเป็นสัตว์ขนาดเล็กจึงนิยมเลี้่ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงด้ว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเคแมนแคระกูว์วีเย · ดูเพิ่มเติม »

เค็นซะบุโร โอเอะ

็นซะบุโร โอเอะ (31 มกราคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ญี่ปุ่นเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากวรรณกรรมฝรั่งเศสและอเมริกัน และทฤษฎีวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเชิงการเมือง, สังคม และปรัชญาที่รวมทั้งปัญหาอาวุธนิวเคลียร์, ความไม่อยู่ในกรอบในแผนของสังคม (social non-conformism) และ อัตถิภาวนิยม (existentialism) โอเอะได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1994 เพราะเป็นผู้สร้างงานเขียนที่เป็น “โลกที่เกิดจากจินตนาการ ที่ชีวิตและความลึกลับรวมกันเป็นภาพพจน์อันแสดงถึงภาวะของความกระอักกระอ่วนของสถานภาพของความกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของสังคมปัจจุบัน”"an imagined world, where life and myth condense to form a disconcerting picture of the human predicament today." Yomiuri Shimbun. May 18, 2008.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเค็นซะบุโร โอเอะ · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์ (ชีววิทยา)

ทฤษฎีเซลล์ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) โดยแมตเทียส จาคอบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) และ ทีโอดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwann) ได้อธิบายว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดประกอบด้วยเซลล์หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า เซลล์ทั้งหมดมีกำเนิดมาจากเซลล์ที่มีมาก่อน (preexisting cells) ระบบการทำงานเพื่อความอยู่รอดของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมดเกิดขึ้นภายในเซลล์ และภายในเซลล์ยังประกอบด้วยข้อมูลทางพันธุกรรม (hereditary information) ซึ่งจำเป็นสำหรับการควบคุมการทำงานของเซลล์ และการส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์รุ่นต่อไป คำว่าเซลล์ มาจากภาษาละตินที่ว่า cella ซึ่งมีความหมายว่า ห้องเล็กๆ ผู้ตั้งชื่อนี้คือโรเบิร์ต ฮุก (Robert Hooke) เมื่อเขาเปรียบเทียบเซลล์ของไม้คอร์กเหมือนกับห้องเล็ก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเซลล์ (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์จอห์น (รัฐนิวบรันสวิก)

ซนต์จอห์น (Saint John) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐนิวบรันสวิก ประเทศแคนาดา เมืองมีประชากร 70,063 คน ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเซนต์จอห์น (รัฐนิวบรันสวิก) · ดูเพิ่มเติม »

เซ็มเปอร์ ฟิเดลิส

ซ็มเปอร์ ฟิเดลิส (Semper Fidelis) เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งโดยจอห์น ฟิลิป ซูซา ในปี ค.ศ. 1888 เป็นเพลงมาร์ชประจำหน่วยของนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา เป็นหนึ่งในสองเพลงที่แต่งขึ้นตามคำขอของเชสเตอร์ เอ. อาเทอร์ ประธานาธิบดีคนที่ 21 ของสหรัฐอเมริกา โดยอีกเพลงหนึ่งคือเพลง "Presidential Polonaise" ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเซ็มเปอร์ ฟิเดลิส · ดูเพิ่มเติม »

เปเรซ ปราโด

มาโซ เปเรซ ปราโด นักแต่งเพลง นักเปียโน และหัวหน้าวงดนตรีชาวคิวบา/เม็กซิกัน เป็นผู้นำดนตรีในแนวซัลซามาพัฒนาให้เป็น มามโบจนเกิดความนิยม จนได้รับฉายาว่า "ราชาแห่งมามโบ" (Mambo King) เปเรซ ปราโดเกิดที่คิวบา เริ่มหัดเล่นเปียโนคลาสสิกและออร์แกนมาตั้งแต่เด็ก และเริ่มทำงานเป็นนักดนตรีให้กับวงออร์เคสตราที่เล่นในคาสิโนในฮาวานา ที่ซึ่งเขาเริ่มนำดนตรีแมมโบมาเล่นในคลับ เมื่อเปเรซ ปราโด ย้ายไปอยู่ที่เม็กซิโกในปี ค.ศ. 1948 เขาเริ่มบันทึกแผ่นเสียงในสังกัด อาร์ซีเอวิกเตอร์ และทำให้ดนตรีแมมโบเป็นที่นิยมในวงกว้าง และข้ามฝั่งไปในสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1951 ลักษณะเด่นของดนตรีมามโบของปราโด คือ ใช้แซกโซโฟนให้จังหวะ และใช้เครื่องเป่าทองเหลือง (ทรอมโบนและทรัมเปต)ให้ทำนอง มีเปียโน กลอง และเครื่องเคาะเป็นส่วนประกอบ ตอนกลางเพลง เปเรซ ปราโด จะเปล่งเสียงว่า ugh เป็นภาษาละตินซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษว่า say it โดยเพลงที่มีชื่อเสียงของเขา ได้แก่เพลง Mambo No.5, เพลง Mambo No.8, เพลง Patricia และเพลง Cherry Pink (and Apple Blossom White) ซึ่งขึ้นถึงอันดับหนึ่งจากการจัดอันดับของนิตยสารบิลบอร์ด ประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1955 นอกจากนี้ยังมีเพลง "Qué rico el mambo" ที่ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "Mambo Jambo" เปเรซ ปราโดเสียชีวิตจากอาการหัวใจวายที่บ้านพักในเม็กซิโกซิตี ด้วยวัย 72 ปี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเปเรซ ปราโด · ดูเพิ่มเติม »

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลา

อ็นจีซี 604 (NGC 604) เป็นเนบิวลาที่อยู่ภายในแขนของดาราจักรเอ็ม 33 (M33) ในกลุ่มดาวสามเหลี่ยม อยู่ห่างจากโลก 2.7 ล้านปีแสง เนบิวลานี้เป็นบริเวณก่อตัวของดาวฤกษ์ดวงใหม่ เนบิวลานาฬิกาทราย (MyCn18) เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์อายุน้อย อยู่ห่างจากโลกประมาณ 8,000 ปีแสง ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องถ่ายภาพที่ติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขององค์การนาซา เนบิวลา (Nebula - มาจากภาษาละติน nebula (พหูพจน์ nebulae) หมายถึง "หมอก") เป็นกลุ่มเมฆหมอกของฝุ่น แก๊ส และพลาสมาในอวกาศ เดิมคำว่า "เนบิวลา" เป็นชื่อสามัญ ใช้เรียกวัตถุทางดาราศาสตร์ที่เป็นปื้นบนท้องฟ้าซึ่งรวมถึงดาราจักรที่อยู่ห่างไกลออกไปจากทางช้างเผือก (ตัวอย่างเช่น ในอดีตเคยเรียกดาราจักรแอนดรอเมดาว่าเนบิวลาแอนดรอเมดา).

ใหม่!!: ภาษาละตินและเนบิวลา · ดูเพิ่มเติม »

เนยแข็ง

วิสชีส จะมีลักษณะเด่นคือมีรูกระจายตามเนื้อชีส เนยแข็งพร้อมเสิร์ฟ เนยแข็ง หรือ ชีส (cheese) คือ ผลิตภัณฑ์จากนมซึ่งสามารถผลิตได้จากนมวัวหรือแพะ เป็นต้น ที่ผ่านกระบวนการคัดแยกโปรตีน แล้วนำโปรตีนของนมมาทำการผสมเชื้อรา หรือแบคทีเรีย หรือสารอื่นๆ แตกต่างกันไปตามแต่ละประเภทของเนยแข็ง ซึ่งแตกต่างจากเนยที่ทำมาจากไขมันของนม เนยแข็งเป็นอาหารที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน โดยมีปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนที่สุดในคัมภีร์ไบเบิล กลุ่มนักรบทหารโรมันเป็นบุคคลผู้มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ให้คนทั่วโลกได้รู้จักเนยแข็ง เพราะไม่ว่าจะยกทัพไปที่ใดก็มักจะนำเนยแข็งไปด้วยเสมอและมักจะแบ่งปันเนยแข็งที่มีให้กับคนท้องถิ่นนั้นๆ โบสถ์จัดว่าเป็นสถานที่เก็บรวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเนยแข็งที่เด่นชัดที่สุดในสมัยกลาง การจำหน่ายเนยแข็งเพื่อหารายได้เข้าโบสถ์ของบาทหลวงในศาสนาคริสต์ส่งผลให้เกิดเนยแข็งแบบดั้งเดิมที่มีเฉพาะในแต่ละท้องถิ่น และในเวลาต่อมาเนยแข็งท้องถิ่นนี้ได้ถูกพัฒนาปรับปรุงรสชาติให้มีความหลากหลาย จนในปัจจุบันมีเนยแข็งมากกว่า 3,000 ชนิด หลายคนมีความเข้าใจผิดว่าเนยแข็งและเนยเหลวเป็นอาหารประเภทไขมันเช่นเดียวกัน อันที่จริงแล้วเนยแข็งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโปรตีนในน้ำนมวัว ในขณะที่เนยเหลวเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากไขมันในน้ำนมวัว ดังนั้นเนยแข็งจึงจัดเป็นอาหารจำพวกโปรตีนเหมือนเนื้อสัตว์ และมีคุณค่าทางโภชนาการไม่แพ้น้ำนมวัว เนยแข็งให้สารอาหารจำพวก แคลเซียม โปรตีน ฟอสฟอรัส วิตามินบี 12 สังกะสี และไขมัน แต่ให้น้ำตาลแล็กโทสในปริมาณที่น้อยกว่าในน้ำนม ผู้ที่มีปัญหาในการดื่มนมจึงสามารถหันมารับประทานเนยแข็งแทนเป็นทางออกแทนได้.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเนยแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

เนินปราสาท

ซิสเตอรงที่ตั้งอยู่เหนือตัวเมืองที่ตั้งอยู่ต่ำลงมารอบ ๆ ปราสาท โวบ็อง ซิทาเดลลาที่ตั้งอยู่บนเนินเหนือแม่น้ำดานูบที่บูดาเปสต์ในฮังการี เนินปราสาท (citadel) คือป้อมปราการสำหรับป้องกันเมือง บางครั้งก็จะมีปราสาทรวมอยู่ด้วย หรือบางครั้งก็อาจจะหมายถึงบริเวณที่สูงที่สุดของตัวเมือง ในภาษาอังกฤษคำว่า "citadel" มีรากจากภาษาละตินเช่นเดียวกับคำว่า "city" ว่า "civis" ที่แปลว่า "พลเมือง" ในระบบป้อมปราการที่มีมุขป้อมยื่นออกไป เนินปราสาทคือส่วนที่มั่นคงที่สุดของระบบ บางครั้งก็จะตั้งลึกเข้าไปจากกำแพงนอกและมุขป้อม แต่ก็มักจะมีส่วนหนึ่งที่ติดกับกำแพงด้านนอกเพื่อเป็นการประหยัดการสร้างกำแพงใหม่สำหรับตัวสิ่งก่อสร้างหลัก เนินปราสาทจะเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายถ้าข้าศึกสามารถบุกเข้าในปราสาทจากกำแพงชั้นต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่รอบนอกได้ นอกจากนั้นในยุคกลาง "เนินปราสาท" เป็นคำที่ใช้เรียกส่วนที่สามของปราสาทที่มีกำแพงที่สูงกว่ากำแพงอื่น ๆ ของเมือง ซึ่งเป็นที่มั่นสุดท้ายของระบบการป้องกันก่อนที่จะถึงตัวหอกลาง โครงสร้างที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบที่ใช้เป็นเนินปราสาทสร้างในสมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุเมื่อเนินปราสาทถือว่าเป็นศูนย์กลางของการบริหาร แต่วัตถุประสงค์ของโครงสร้างก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แม้ว่าโครงสร้างที่พบที่ซากโมเฮนโจ-ดาโร (ภาษาสินธี: मोइन जो दड़ो) หรือ "เนินมรณะ" จะเป็นโครงสร้างที่มีกำแพงล้อมรอบ แต่ก็ไม่เป็นที่ชัดแจ้งว่าจะเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อการป้องกันการโจมตีจากข้าศึกหรือไม่ ข้อสันนิษฐานข้อหนึ่งคือเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อเปลี่ยนทิศทางการไหลของกระแสน้ำท่วม ในสมัยกรีกโบราณ เนินปราสาทอะโครโพลิสตั้งเด่นอยู่บนเนินสูงที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้แต่ไกล อะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ประกอบด้วยสถานที่สำหรับหลบภัย และ ที่มั่น ที่เป็นที่เก็บเสบียงและอาวุธ, เทวสถานสำหรับเทพเจ้า และ พระราชวัง อะโครโพลิสที่มีชื่อเสียงที่สุดคืออะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ แต่อะโครโพลิสเป็นองค์ประกอบของการสร้างเมืองแทบทุกเมืองในสมัยกรีกโบราณ เช่นอะโครโพลิสแห่งคอรินท์ (Acrocorinth) ที่มีชื่อเสียงว่ามีระบบป้อมปราการที่มั่นคงที่แข็งแรง ในสมัยต่อมาเมื่อกรีซปกครองโดยจักรวรรดิละติน องค์ประกอบนี้ก็ได้รับการนำไปใช้โดยผู้ปกครองใหม่โดยมีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกัน เนินปราสาทมีชื่อเรียกกันไปต่าง ๆ ในแต่ละภูมิภาคเช่น "เครมลิน" (kremlin) ในรัสเซีย หรือ "อัลกาซาร์" (alcázar) ในคาบสมุทรไอบีเรีย ในเมืองในยุโรปคำว่า "citadel" และ "city castle" มักจะใช้สลับความหมายกันได้ หรือบางครั้งก็อาจจะใช้คำว่า "tower" แทนได้เช่น ทาวเวอร์ออฟลอนดอน หรือ ทาวเวอร์ออฟเดวิดในเยรูซาเลม ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ โดยเฉพาะในยุคกลาง เนินปราสาทที่มีระบบการป้องกันทางการทหารอิสระจากกำแพงเมืองเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายของข้าศึกที่มาล้อมเมือง เมืองจะเสียก็ต่อเมื่อเสียเนินปราสาท เช่นในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและเนินปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์ของสเปน

นเธอร์แลนด์ของสเปน (Spanish Netherlands) มีเรียกว่า เซาเทิร์นเนเธอร์แลนด์ (Southern Netherlands) เป็นพื้นที่ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์โดยบางส่วนก็แยกตัวออกมาจากจักรวรรดิ มีทั้งหมด 17 มณฑลในตอนแรกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมีเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อภิเษกสมรสกับแมรีแห่งเบอร์กันดี โดยมีรัฐ 7 รัฐที่แยกเป็นสาธารณรัฐดัต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและเนเธอร์แลนด์ของสเปน · ดูเพิ่มเติม »

Bitstream Vera

Bitstream Vera เป็นชื่อของแบบอักษร ที่ให้สิทธิ์การใช้งานและแจกจ่ายอย่างเสรี ผู้พัฒนาคือบริษัท Bitstream Inc. โดย Bitstream Vera มีความใกล้เคียงกับฟอนต์เชิงพาณิชย์อีกตัวหนึ่งของ Bitstream ที่ชื่อ Bitstream Prima Vera เป็นฟอนต์แบบ TrueType ที่มีระบบ hinting ที่ค่อนข้างดี แต่ตัวฟอนต์นั้นมีเพียงแบบอักษรสำหรับตัวภาษาละติน ซึ่งสัญญาการใช้งานนั้นเปิดโอกาสให้ผู้พัฒนารายอื่นสามารถเพิ่มแบบอักษรภาษาอื่นเข้ามาได้ ตัวอย่างเช่น ชุดอักษร DejaVu เป็นต้น ปัจจุบัน Bitstream Vera เป็นฟอนต์ปริยายของลินุกซ์ดิสทริบิวชันหลายตัว.

ใหม่!!: ภาษาละตินและBitstream Vera · ดูเพิ่มเติม »

Chironex fleckeri

Chironex fleckeri (/ไค-โร-เน็ก-เฟลค-เคอ-ไร/) เป็นแมงกะพรุนจำพวกแมงกะพรุนกล่องที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คำว่า Chironex มีรากศัพท์จากคำว่า "chiro" (Χέρι) ในภาษากรีก แปลว่า "มือ" กับคำว่า "nex" ภาษาละตินแปลว่า "ความตาย" เมื่อโตเต็มที่ จะมีหนวดมากถึง 60 เส้นซึ่งยืดได้ไกลถึง 3 เมตร มีเมดูซ่าขนาดเท่าลูกบาสเก็ตบอล มีดวงตาทั้งหมด 24 ดวงอยู่รอบ ๆ และมีดวงตาหลัก 2 ดวงอยู่ในดวงแต่ละคู่ ที่มีลักษณะคล้ายกับดวงตามนุษย์ คือ มีทั้งเลนส์ตา, ม่านตา และตาดำ ซึ่งทำให้เห็นภาพได้ดี และสามารถมองภาพในแบบตีลังกาได้ และมองได้รอบทิศ 360 องศา และนับเป็นระบบการมองเห็นที่ดีมากเมื่อเทียบกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกอื่น ๆ ซึ่งปัจจุบันก็ยังไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัดถึงการทำงานของตา ในส่วนของหนวดที่ยาวเมื่อสัมผัสกับสิ่งมีชีวิตอื่น กระเปาะเล็ก ๆ หลายล้านอันซึ่งกระจายอยู่เต็มพื้นผิวของหนวดแต่ละเส้นจะแตกตัวออกแล้วปล่อยเหล็กในออกมาใส่เหยื่อ จากนั้นเหล็กในก็จะทำหน้าที่ฉีดสารพิษเข้าไปในร่างกายของเหยื่อ ด้วยแรงที่มากถึง 1.5 ล้านแรงโน้มถ่วง หากเหยื่อเป็นมนุษย์ พิษจะออกฤทธิ์รุนแรงทำให้เกิดอาการเจ็บปวด และหัวใจหยุดทำงานและคร่าชีวิตเหยื่อได้ภายในเวลาไม่กี่นาที ปกติ แมงกะพรุนกล่องชนิดนี้อาศัยอยู่ในทะเลทางแถบตอนเหนือของออสเตรเลีย โดยอาศัยอยู่ในน้ำตื้นรวมถึงป่าโกงกาง และหลีกเลี่ยงการอาศัยอยู่ในน้ำลึก เช่น เกรตแบร์ริเออร์รีฟเชื่อว่าเข้าไปเพื่อหาอาหารซึ่งเป็นปลา แต่บางครั้งก็อาจถูกกระแสน้ำซัดขึ้นไปในแม่น้ำถ้าระดับน้ำลดต่ำและกระแสน้ำไหลช้า แต่จากการศึกษาพบว่า Chironex fleckeri ไม่สามารถที่จะแยกแยะวัตถุที่เป็นสีขาวได้ แต่จะแยกแยะได้ในวัตถุที่เป็นสีดำหรือสีแดง Chironex fleckeri นับเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษที่มีอันตรายที่สุดในโลกและมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีพิษร้ายแรงกว่าแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกสหลายเท่า และมีขนาดใหญ่กว่า C. yamaguchii ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันหลายเท่า และถึงแม้จะตายแล้วก็ยังคงมีพิษอยู่ Chironex fleckeri จะขยายพันธุ์ในช่วงฤดูหนาว และจะเจริญเติบโตเต็มที่ในช่วงฤดูร้อน ซึ่งเป็นฤดูกาลถัดมา กินปลาเป็นอาหาร ด้วยการแทงเหล็กในให้ปลาเป็นอัมพาต โดยกินปลามากถึงน้ำหนักตัวเองถึง 4 เท่า และเหมือนกับแมงกะพรุนกล่องทั่วไป คือ สามารถว่ายน้ำได้ไม่ใช่ล่องลอยไปตามกระแสน้ำเหมือนแมงกะพรุนจำพวกอื่น ซึ่งมีความเร็วเทียบเท่ากับการว่ายน้ำของมนุษย์ มีการศึกษาพบว่าวัน ๆ หนึ่ง แม้จะว่ายน้ำไกล แต่จะเป็นเส้นทางที่ไม่เป็นเส้นตรง และจะนอนหลับพักผ่อนบนพื้นทะเลในเขตน้ำตื้นในเวลากลางคืน ป้ายเตือนอันตรายจากแมงกะพรุนกล่องในออสเตรเลีย ปัจจุบัน หลายพื้นที่ของออสเตรเลีย มีตาข่ายและป้ายเตือนนักท่องเที่ยวที่ลงเล่นน้ำให้ระวัง แต่กระนั้นก็ยังมีบางส่วนที่หลุดรอดตาข่ายนั้นเข้ามาทำอันตรายได้ รวมถึงแมงกะพรุนอิรุคันจิ ซึ่งเป็นแมงกะพรุนกล่องเช่นเดียวกัน แต่มีขนาดเล็กกว่ามากด้วยTV with Teeth - KILLER JELLYFISH, สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: อาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน 2556.

ใหม่!!: ภาษาละตินและChironex fleckeri · ดูเพิ่มเติม »

Commotio cordis

Commotio cordis เป็นภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกระแทกบริเวณหน้าอก ซี่โครง หรือหัวใจ ทำให้เกิด ventricular fibrillation จนอาจเสียชีวิตได้อย่างเฉียบพลัน คำว่า commotio cordis มาจากภาษาละติน แปลว่าภาวะไม่สงบของหัวใจ (agitation of the heart) คำนี้มีใช้ครั้งแรกในศตวรรษที่ 19 แต่ก็มีการกล่าวถึงภาวะเช่นนี้นับย้อนไปได้ถึงศิลปะการต่อสู้จีนโบราณ Dim Mak หรือการสกัดจุดตาย ซึ่งอ้างว่าสามารถทำร้ายคู่ต่อสู้ให้ถึงชีวิตได้โดยโจมตีไปที่หน้าอกด้านซ้าย ภาวะ commotio cordis แตกต่างจาก cardiac contusion หรือการชอกช้ำของหัวใจที่เกิดจากการกระแทกอย่างรุนแรงจนเกิดความเสียหายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและผนังหน้าอก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและCommotio cordis · ดูเพิ่มเติม »

Generalissimo

Generalissimo เป็นคำในภาษาอิตาลี มาจากคำว่า generale ประสมกับส่วนต่อท้ายคำ -issimo ซึ่งมาจากภาษาละติน -issimus ซึ่งหมายถึง "อย่างที่สุด, ไปจนถึงขั้นสูงสุด" เป็นยศทางทหารที่สูงกว่าจอมพล Generalissimo เป็นผู้คุมอำนาจทางทหารอย่างเบ็ดเสร็จ ในบางครั้ง "Generalissimo" ถูกใช้ในภาษาอังกฤษใหม่ โดยมีความหมายถึง นายทหารผู้ซึ่งได้รับอำนาจทางการเมืองจากการก่อรัฐประหาร หรือในบางกรณีที่หมายถึงผู้ที่สั่งระงับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า เพื่อที่จะครอบครองอำนาจด้วยวิธีทางทหาร.

ใหม่!!: ภาษาละตินและGeneralissimo · ดูเพิ่มเติม »

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R. (2003) in An Overview of the Siwalik Acheulian & Reconsidering Its Chronological Relationship with the Soanian - A Theoretical Perspective.

ใหม่!!: ภาษาละตินและHomo erectus · ดูเพิ่มเติม »

LA

LA, La, หรือ la มีความหมายหลายอย่าง.

ใหม่!!: ภาษาละตินและLA · ดูเพิ่มเติม »

Lateral geniculate nucleus

Lateral geniculate nucleus (ตัวย่อ LGN แปลว่า นิวเคลียสงอคล้ายเข่าด้านข้าง) เป็นศูนย์ถ่ายทอดสัญญาณประสาทหลักจากจอตา ไปยังระบบประสาทกลาง อยู่ในส่วนทาลามัสของสมอง และยังมีส่วนอื่นที่เรียกว่า medial geniculate nucleus ซึ่งเป็นส่วนที่มีหน้าที่คล้ายกันแต่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณเกี่ยวกับเสียง LGN รับสัญญาณโดยตรงจาก.

ใหม่!!: ภาษาละตินและLateral geniculate nucleus · ดูเพิ่มเติม »

Maine Central Institute

เมนเซ็นทรัลอินสติทูด (MCI) เป็นโรงเรียนมัธยมอิสระก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1866 ตั้งอยู่ในพิตต์สฟิว์, รัฐเมน, ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีนักเรียนประมาณ 500 คน MCI เป็นสถาบันไม่อิงถึงศาสนา โรงเรียนมีนักเรียนทั้งประจำและไป-กลับ.

ใหม่!!: ภาษาละตินและMaine Central Institute · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes alata

Nepenthes alata (มาจากภาษาละติน: alatus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes alata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes albomarginata

Nepenthes albomarginata หรือ White-Collared Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes albomarginata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes anamensis

Nepenthes anamensis (ภาษาละติน: Anam.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes anamensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes aristolochioides

Nepenthes aristolochioides เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา พบที่ระดับความสูง 800-2500 ม.จากระดับน้ำทะเล มีลักษณะหม้อที่ผิดธรรมดา ปากหม้อเกือบจะตั้งตรง ชื่อ aristolochioides เป็นรูปแบบจากสกุลที่ชื่อ Aristolochia และเติมภาษาละตินในตอนท้าย -oides แปลว่า "เหมือน" ซึ่งหมายถึงความคล้ายคลึงของหม้อกับดอกของ AristolochiaJebb, M.H.P. & M.R. Cheek 1997.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes aristolochioides · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × cincta

Nepenthes × cincta (มาจากภาษาละติน: cinctus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes × cincta · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × ferrugineomarginata (มาจากภาษาละติน: ferrugineus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes × ferrugineomarginata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × pangulubauensis

Nepenthes × pangulubauensis (มาจากภาษาละติน: pangulubau.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes × pangulubauensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes bicalcarata

Nepenthes bicalcarata (มาจากคำในภาษาละติน: bi "สอง", calcaratus "เดือย, เขี้ยว")หรือ Fanged Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes bicalcarata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes campanulata

Nepenthes campanulata (มาจากภาษาละติน: campanulatus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes campanulata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes densiflora

Nepenthes densiflora (มาจากภาษาละติน: densus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes densiflora · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes distillatoria

Nepenthes distillatoria (จากภาษาละติน: destillo.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes distillatoria · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes fallax

Nepenthes fallax (มาจากภาษาละติน: fallax.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes fallax · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes flava

Nepenthes flava มาจากภาษาละติน flava แปลว่า "สีเหลือง" เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวทางด้านเหนือของสุมาตรา หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดรู้จักกันมานานในชื่อ "Nepenthes spec.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes flava · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes fusca

Nepenthes fusca (มาจากภาษาละติน: fuscus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes fusca · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes glabrata

Nepenthes glabrata (ภาษาละติน: glaber.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes glabrata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes glandulifera

Nepenthes glandulifera (จากภาษาละติน: glandis.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes glandulifera · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes globosa

Nepenthes globosa มาจากภาษาละติน globosus แปลว่า "กลมคล้ายผลส้ม" เป็นพืชถิ่นเดียวพบได้ตามหมู่เกาะทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย เช่นเกาะพระทองเป็นต้น มันมีบางส่วนที่คล้ายกับ N. rafflesiana และเหมือนกับ N. rowanae จาก Cape York, ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes globosa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes gracilis

Nepenthes gracilis (มาจากภาษาละติน: gracilis.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes gracilis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes gracillima

Nepenthes gracillima (มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาละติน: เป็นขั้นสุดของ gracilis "ยาว, เรียว") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของเพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M. 2001.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes gracillima · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes hamata

Nepenthes hamata (มาจากภาษาละติน: hamatus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes hamata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes mantalingajanensis

Nepenthes mantalingajanensis (มาจากภาษาPalawano: mantalingahan.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes mantalingajanensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes maxima

Nepenthes maxima (มาจากภาษาละติน: maximus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes maxima · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes mindanaoensis

Nepenthes mindanaoensis มาจากภาษาละติน Mindanao เกาะฟิลิปปินส์ -ensis แปลว่า "จาก" เป็นพืชถิ่นเดียวบนเนินเขาศิลาแลงบนเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปินส์ เป็นญาติใกล้ชิดกับ N. alata.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes mindanaoensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes mira

Nepenthes mira (มาจากภาษาละติน: mirus "มหัศจรรย์") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงถิ่นเดียวของพาลาวันในประเทศฟิลิปปินส์ เติบโตที่ระดับความสูง 1500 ถึง 2000 ม.จากระดับน้ำทะเล N. mira ถูกจัดจำแนกโดยแมตทิว จิบบ์ (Matthew Jebb) และมาร์ติน ชีก (Martin Cheek) ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes mira · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes paniculata

Nepenthes paniculata (ภาษาละติน: panicula.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes paniculata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes pectinata

Nepenthes pectinata (จากภาษาละติน: pectinata.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes pectinata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes peltata

Nepenthes peltata (ภาษาละติน: peltatus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes peltata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes petiolata

Nepenthes petiolata (มาจากภาษาละติน: petiolatus "มีก้านใบ") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes petiolata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes philippinensis

Nepenthes philippinensis (จากภาษาละติน: Philippin.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes philippinensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes sanguinea

Nepenthes sanguinea (จากภาษาละติน: sanguineus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes sanguinea · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes saranganiensis

Nepenthes saranganiensis (มาจากภาษาละติน: Sarangani.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes saranganiensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes spathulata

Nepenthes spathulata เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองของเกาะชวาและเกาะสุมาตรา ขึ้นที่ระดับความสูง 1100 ถึง 2900 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spathulata มาจากภาษาละตินจากคำว่า spathulatus หมายถึง "มีรูปร่างเหมือนช้อนปากแบนกว้าง" ซึ่งหมายถึงรูปทรงของแผ่นใบClarke, C.M. 2001.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes spathulata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes spectabilis

Nepenthes spectabilis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา เติบโตที่ระดับความสูง 1400 ถึง 2200 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spectabilis มาจากภาษาละตินแปลว่า "เด่น" หรือ "สะดุดตา"Clarke, C.M. 2001.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes spectabilis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes talangensis

Nepenthes talangensis (มาจากภาษาละติน: Talang.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes talangensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tenax

Nepenthes tenax (ภาษาละติน: tenax.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes tenax · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tentaculata

Nepenthes tentaculata (ภาษาละติน: tentacula.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes tentaculata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tenuis

Nepenthes tenuis (มาจากภาษาละติน: tenuis.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes tenuis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes truncata

Nepenthes truncata (มาจากภาษาละติน: truncatus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes truncata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes ventricosa

Nepenthes ventricosa (มาจากภาษาละตินใหม่: ventricosus.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes ventricosa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes villosa

Nepenthes villosa หรือ Villose Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes villosa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes xiphioides

Nepenthes xiphioides (จากภาษากรีก/ภาษาละติน: xiphos.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNepenthes xiphioides · ดูเพิ่มเติม »

Nomen dubium

nomen dubium (ภาษาละติน แปลว่า "ชื่อชนิดที่ไม่แน่นอน ยังมีข้อสงสัย", pl. nomina dubia) ในระบบชื่ออนุกรมวิธานสัตว์สากล (ICZN) คือชื่อวิทยาศาสตร์ที่ยังไม่แน่นอน หรือยังมีข้อสงสัยว่าใช้ได้ ส่วนหมายเหตุในระบบชื่ออนุกรมวิธานพืชสากล (ICBN) และ ระบบชื่ออนุกรมวิธานแบคทีเรียสากล (ICNB) คำว่า "nomen dubium" คือไม่มีสถานะ ในบางกรณี เป็นไปได้ที่มันอาจถูกกำหนดเป็น nomen dubium เพราะยังไม่แน่ใจว่าตัวอย่างถูกจัดอยู่ในกลุ่มหรือไม่ ในกรณีนี้อาจเกิดได้จากตัวอย่างต้นแบบดั้งเดิมหรือ ตัวอย่างต้นแบบแรกสูญหายหรือถูกทำลาย การตั้งชื่อของตัวอย่างต้นแบบตัวอย่างใหม่ หรือตัวอย่างใหม่แทนตัวอย่างต้นแบบ nomen dubium จะถูกใช้ในกรณีแบบนี้ บางชื่ออาจจะกลายเป็น nomen dubium ถ้าตัวอย่างต้นแบบแรกของมันไม่ครบสมบูรณ์หรือไม่เพียงพอ ขาดส่วนสำคัญที่จะใช้ในการวินิจฉัย (เกิดขึ้นบ่อยๆในกรณีซากดึกดำบรรพ์) เพื่อความเสถียรภาพมั่นคง ระบบชื่ออนุกรมวิธานสัตว์สากลจะให้ตัวอย่างต้นแบบตัวอย่างใหม่ หรือ ตัวอย่างใหม่แทนตัวอย่างต้นแบบ ใช้ nomen dubium ยกตัวอย่าง สัตว์เลื้อยคลานจำพวกอาร์โคซอร์ Parasuchus hislopi Lydekker ที่คล้ายจระเข้ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาละตินและNomen dubium · ดูเพิ่มเติม »

Non nobis solum

มาร์กุส ตุลลิอุส กิแกโร นักปรัชญา Non nobis solum (not for ourselves alone) แปลว่าไม่ใช่เพื่อพวกเราเท่านั้น เป็น คติพจน์ภาษาลาติน บางครั้งเขียนว่า non nobis, sed omnibus ("not for us, but for everyone" หรือไม่ใช่เพื่อเราแต่เพื่อทุกคน) และ non nobis solum, sed omnibus หมายความว่าคนควรทำเพื่อประโยชน์ของมนุษยชาตินอกเหนือจากผลประโยชน์ของตนเอง คติพจน์นี้มาจากประโยคหนึ่งในงานปรัชญาที่มีอิทธิพลมากของกิแกโร ศาสตรนิพนธ์เรื่อง On Duties (Latin: De Officiis) กิแกโรเขียนไว้ว่า "non nobis solum nati sumus ortusque nostri partem patria vindicat, partem amici" แปลว่า เราเกิดมาไม่ใช่เพื่อตัวเราเท่านััน, ประเทศของเรา เพื่อนของเราต่างมีส่วนร่วมในตัวเรา ''De Officiis'', 1:22 ประโยคนี้ กิแกโรกล่าวเองว่าเป็นการถอดความโดยตรงมาจากแนวความคิดของเพลโตในหนังสือ Letter to Archytas (จดหมายถึงอาคาทาส) ในบริบทของเนื้อเรื่อง ประโยคนี้สื่อว่า มนุษย์ถูกสร้างขึ้นเพื่อมนุษย์ด้วยกัน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อกันและกันให้มากที่สุด กิแกโรเชื่อมโยงความคิดนี้เข้ากับคตินิยมสากลของลัทธิสโตอิกกล่าวว่า มนุษย์ทุกคนมีความเกี่ยวดองกันและจำเป็นต้องมีส่วนร่วมเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แลกเปลี่ยนความเอื้อเฟื้อโดยการให้และรั.

ใหม่!!: ภาษาละตินและNon nobis solum · ดูเพิ่มเติม »

Post hoc ergo propter hoc

Post hoc ergo propter hoc (จากภาษาละตินแปลว่า "เกิดหลังจากสิ่งนี้ ดังนั้น จึงเกิดเพราะสิ่งนี้") เป็นเหตุผลวิบัติเชิงตรรกะ (logical fallacy) ที่ชี้เหตุอย่างไม่น่าเชื่อถือ โดยกล่าวว่า "เนื่องจากเหตุการณ์ ข ติดตาม เหตุการณ์ ก ดังนั้น ข จึงเกิดขึ้นเพราะ ก" ่บ่อยครั้งเรียกสั้น ๆ ว่า post hoc และต่างจากเหตุผลวิบัติแบบ cum hoc ergo propter hoc (จากภาษาละตินแปลว่า เกิดขึ้นกับสิ่งนี้ ดังนั้น จึงเกิดขึ้นเพราะสิ่งนี้) ซึ่งจัดเป็นเหตุผลวิบัติเพราะว่า "การมีสหสัมพันธ์ไม่ได้ชี้ว่าอะไรเป็นเหตุ" และเป็นเหตุการณ์ที่สองสิ่งเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน หรือว่าลำดับที่เกิดขึ้นไม่มีนัยสำคัญหรือไม่ชัดเจน post hoc เป็นความผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ง่ายเพราะว่า ลำดับการเกิดขึ้นเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการชี้เหตุ นี้เป็นเหตุผลวิบัติเพราะว่ามีการสรุปโดยอาศัยลำดับการเกิดขึ้นของเหตุการณ์เท่านั้น โดยที่ไม่ได้ใส่ใจในองค์ประกอบอื่น ๆ ที่อาจจะปฏิเสธความเป็นเหตุผลนั้น.

ใหม่!!: ภาษาละตินและPost hoc ergo propter hoc · ดูเพิ่มเติม »

Superior colliculus

optic tectum หรือเรียกสั้น ๆ ได้ว่า tectum เป็นโครงสร้างคู่ที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในสมองส่วนกลางของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โครงสร้างนี้มักจะเรียกกันว่า superior colliculus (ตัวย่อ SC) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นชั้น ๆ แม้ว่าจำนวนชั้นจะแตกต่างกันไปในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ ชั้นนอก ๆ มีหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัส และรับข้อมูลมาจากทั้งตาและระบบรับความรู้สึกอื่น ๆ ส่วนชั้นที่ลึก ๆ ลงไปมีหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการ (motor) มีความสามารถในการเริ่มการเคลื่อนไหวของตาและเริ่มการตอบสนองในระบบอื่น ๆ ส่วนชั้นในระหว่างกลางมีนิวรอนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสหลายทาง และเกี่ยวกับการสั่งการด้วย หน้าที่ทั่ว ๆ ไปของเทคตัมก็คือ ชี้ทางการตอบสนองทางพฤติกรรมไปยังตำแหน่งต่าง ๆ โดยมีกายเป็นศูนย์กลาง ชั้นแต่ละชั้นของเทตตัมมีแผนที่ภูมิลักษณ์ของโลกรอบตัวที่ใช้พิกัดแบบ retinotopy และการทำงานของนิวรอนจุดหนึ่งในแผนที่ทำให้เกิดการตอบสนองทางพฤติกรรมตรงตำแหน่งในปริภูมิที่สัมพันธ์กับจุดในแผนที่นั้น ในไพรเมต งานศึกษาเรื่องของ SC โดยมากเป็นไปเกี่ยวกับการควบคุมการทอดสายต.

ใหม่!!: ภาษาละตินและSuperior colliculus · ดูเพิ่มเติม »

Vena comitans

หลอดเลือดดำชั้นลึกของรยางค์บน ('''Venae comites''' อยู่ทางด้านบนขวา) Vena comitans (หรือรูปพหูพจน์ venae comitantes) เป็นคำภาษาละตินหมายถึง หลอดเลือดดำที่มักจะไหลเป็นคู่ และทั้งคู่มีทางเดินอยู่ด้านข้างของหลอดเลือดแดง หลอดเลือดดังกล่าวมักจะทอดตัวเป็นคู่ เราจึงมักใช้รูปพหูพจน์มากกว่า Venae comitantes มักจะพบอยู่กับหลอดเลือดแดงขนาดเล็กบางเส้นโดยเฉพาะที่รยางค์ หลอดเลือดแดงขนาดใหญ่มักไม่มี venae comitantes ซึ่งมักจะมีหลอดเลือดดำเส้นเดียวที่มีขนาดใกล้เคียง ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับหลอดเลือดแดง ตัวอย่างของหลอดเลือดแดงและ venae comitantes ของมัน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและVena comitans · ดูเพิ่มเติม »

Xmas

การโฆษณาคำว่า "Xmas" ในปี ค.ศ. 1922 Xmas (/ˈɛksməs/; หรืออาจเขียนว่า X'mas) เป็นคำย่อซึ่งใช้กันโดยทั่วไปของคำว่า "คริสต์มาส" คำว่า "-มาส" มาจากคำในภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งนำมาจากภาษาละตินอีกทีหนึ่ง หมายถึง "มิสซา" ส่วนตัวอักษร "X" ใน Xmas มาจากตัวอักษรกรีก ไค ซึ่งเป็นตัวอักษรตัวแรกของคำในภาษากรีก Χριστός ซึ่งมีความหมายว่า "คริสต์".

ใหม่!!: ภาษาละตินและXmas · ดูเพิ่มเติม »

Ц

Tse (Ц, ц) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน U ที่เป็นเหลี่ยมและมี "ติ่ง" ที่มุมล่างขวา ใช้แทนเสียง เหมือนในคำว่า cats ในภาษาอังกฤษ อักษร Tse เป็นอักษรตัวที่ 23 ในภาษารัสเซีย และถูกพิจารณาว่ามีพัฒนาการมาจากอักษรฮีบรู Tsadi ในลักษณะของอักษรท้ายคำ (ץ) และอักษรกลาโกลิต Tsi (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า ci หรือ tsi และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 900 อักษร Tse สามารถถ่ายอักษรได้เป็น ts แต่อย่างไรก็ดี ชื่อเฉพาะบางอย่างอาจถ่ายอักษรเป็น c, z, cz หรือ tz ก็มี สำหรับภาษารัสเซีย คำที่ใช้อักษรนี้ส่วนใหญ่เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะคำในภาษาละตินที่มีอักษร C เช่น цирк (circus), центр (center) และภาษาเยอรมันที่มีอักษร Z เช่น плац (Platz), цинк (Zink) เป็นต้น ส่วนคำที่เป็นภาษารัสเซียแท้ก็พบได้น้อย อย่างเช่น царь (Tsar) และแทบจะไม่ปรากฏเลยในภาษาสลาวิกยุคเริ่มแรก ตามอักขรวิธีของภาษารัสเซีย อักษร Ц แทบจะไม่ถูกต่อท้ายด้วย Ы เว้นแต่จะเป็นจำนวนพหูพจน์ หรือคำคุณศัพท์บอกจำนวน.

ใหม่!!: ภาษาละตินและЦ · ดูเพิ่มเติม »

1

1 (หนึ่ง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพที่แทนจำนวนนั้น หนึ่งแทนสิ่งสิ่งเดียว หน่วยในการนับหรือการวัด ตัวอย่างเช่น ส่วนของเส้นตรงของ "ความยาวหนึ่งหน่วย" คือส่วนของเส้นตรงของความยาวเท่ากับ 1.

ใหม่!!: ภาษาละตินและ1 · ดูเพิ่มเติม »

10

10 (สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 9 และอยู่ก่อนหน้า 11.

ใหม่!!: ภาษาละตินและ10 · ดูเพิ่มเติม »

11

11 (สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 10 (สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 12 (สิบสอง) นับเป็นจำนวนแรกที่ไม่สามารถใช้นิ้วมือนับได้ตามปกติ การใช้นิ้วมือระบุจำนวนสิบเอ็ด จึงนิยมกำมือข้างหนึ่งแทนจำนวน 10 แล้วยกนิ้วมืออีกข้างหนึ่งหนึ่ง แทนจำนวน 1 นอกจากนี้แล้ว 11 ยังเป็นจำนวนแรกที่ใช้คำว่า "เอ็ด" แทนคำว่า "หนึ่ง" (จำนวนถัดไปคือ 21, 31, 41,...).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ11 · ดูเพิ่มเติม »

12

12 (สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 11 (สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 13 (สิบสาม).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ12 · ดูเพิ่มเติม »

13

13 (สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 12 (สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 14 (สิบสี่).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ13 · ดูเพิ่มเติม »

14

14 (สิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 13 (สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 15 (สิบห้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ14 · ดูเพิ่มเติม »

15

15 (สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 14 (สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 16 (สิบหก).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ15 · ดูเพิ่มเติม »

16

16 (สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 15 (สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 17 (สิบเจ็ด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ16 · ดูเพิ่มเติม »

17

17 (สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 16 (สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 18 (สิบแปด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ17 · ดูเพิ่มเติม »

18

18 (สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 17 (สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 19 (สิบเก้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ18 · ดูเพิ่มเติม »

19

19 (สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 18 (สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 20 (ยี่สิบ).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ19 · ดูเพิ่มเติม »

2

2 (สอง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 1 (หนึ่ง) และอยู่ก่อนหน้า 3 (สาม).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ2 · ดูเพิ่มเติม »

20

วภาคพ 20 (ยี่สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 19 (สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 21 (ยี่สิบเอ็ด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ20 · ดูเพิ่มเติม »

21

21 (ยี่สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 20 (ยี่สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 22 (ยี่สิบสอง).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ21 · ดูเพิ่มเติม »

22

22 (ยี่สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 21 (ยี่สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 23 (ยี่สิบสาม).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ22 · ดูเพิ่มเติม »

23

23 (ยี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 22 (ยี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 24 (ยี่สิบสี่).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ23 · ดูเพิ่มเติม »

24

24 (ยี่สิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 23 (ยี่สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 25 (ยี่สิบห้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ24 · ดูเพิ่มเติม »

25

25 (ยี่สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 24 (ยี่สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 26 (ยี่สิบหก).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ25 · ดูเพิ่มเติม »

26

26 (ยี่สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 25 (ยี่สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 27 (ยี่สิบเจ็ด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ26 · ดูเพิ่มเติม »

27

27 (ยี่สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 26 (ยี่สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 28 (ยี่สิบแปด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ27 · ดูเพิ่มเติม »

28

28 (ยี่สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 27 (ยี่สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 29 (ยี่สิบเก้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ28 · ดูเพิ่มเติม »

29

29 (ยี่สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 28 (ยี่สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 30 (สามสิบ).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ29 · ดูเพิ่มเติม »

3

3 (สาม) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 2 (สอง) และอยู่ก่อนหน้า 4 (สี่).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ3 · ดูเพิ่มเติม »

30

30 (สามสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 29 (ยี่สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 31 (สามสิบเอ็ด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ30 · ดูเพิ่มเติม »

31

31 (สามสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 30 (สามสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 32 (สามสิบสอง) หรืออยู่ระหว่าง 30 (สามสิบ) และ 32 (สามสิบสอง).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ31 · ดูเพิ่มเติม »

32

32 (สามสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 31 (สามสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 33 (สามสิบสาม).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ32 · ดูเพิ่มเติม »

33

33 (สามสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 32 (สามสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 34 (สามสิบสี่).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ33 · ดูเพิ่มเติม »

34

34 (สามสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 33 (สามสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 35 (สามสิบห้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ34 · ดูเพิ่มเติม »

35

35 (สามสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 34 (สามสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 36 (สามสิบหก).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ35 · ดูเพิ่มเติม »

36

36 (สามสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 35 (สามสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 37 (สามสิบเจ็ด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ36 · ดูเพิ่มเติม »

37

37 (สามสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 36 (สามสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 38 (สามสิบแปด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ37 · ดูเพิ่มเติม »

38

38 (สามสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 37 (สามสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 39 (สามสิบเก้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ38 · ดูเพิ่มเติม »

39

39 (สามสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 38 (สามสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 40 (สี่สิบ).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ39 · ดูเพิ่มเติม »

4

4 (สี่) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3 (สาม) และอยู่ก่อนหน้า 5 (ห้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ4 · ดูเพิ่มเติม »

5

5 (ห้า) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 4 (สี่) และอยู่ก่อนหน้า 6 (หก).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ5 · ดูเพิ่มเติม »

6

6 (หก) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 5 (ห้า) และอยู่ก่อนหน้า 7 (เจ็ด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ6 · ดูเพิ่มเติม »

7

7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ7 · ดูเพิ่มเติม »

8

8 (แปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 7 (เจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 9 (เก้า).

ใหม่!!: ภาษาละตินและ8 · ดูเพิ่มเติม »

9

9 (เก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 8 และอยู่ก่อนหน้า 10.

ใหม่!!: ภาษาละตินและ9 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

LatinLatin languageภาษาลาตินภาษาโรมัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »