โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โฮะริเอะ คุวะจิโร

ดัชนี โฮะริเอะ คุวะจิโร

ริเอะ คุวะจิโร (堀江 鍬次郎 1831 – 1866) เป็นช่างภาพยุคบุกเบิกชาวญี่ปุ่น และเป็นนักเขียนแนววิทยาศาสตร์ โฮะริเอะศึกษารังงะกุ ด้านเคมีที่ศูนย์ฝึกทหารเรือนะงะซะกิ (Nagasaki Naval Training Center) โดยมีเย. แอ็ล. เซ. โปมเปอ ฟัน เมร์เดอร์โฟร์ต เป็นผู้สอน นอกจากเคมีแล้วโปมเปอ ฟัน เมร์เดอร์โฟร์ตยังสอนการถ่ายภาพ จนเมื่อช่างภาพชาวสวิส ปีแยร์ รอซีเยเดินทางมาถึงญี่ปุ่นในปี..

11 ความสัมพันธ์: ฟีลิพพ์ ฟรันทซ์ ฟ็อน ซีบ็อลท์กระบวนการกระจกเปียกภาพพิมพ์หินมะเอะดะ เก็นโซอุเอะโนะ ฮิโกะมะซามูไรซูโม่ปีแยร์ รอซีเยนีเซฟอร์ เนียปส์โตเกียวไดเมียว

ฟีลิพพ์ ฟรันทซ์ ฟ็อน ซีบ็อลท์

ฟีลิพพ์ ฟรันทซ์ ฟ็อน ซีบ็อลท์ (Philipp Franz von Siebold; 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1796 – 18 ตุลาคม ค.ศ. 1866) เป็นแพทย์ นักพฤกษศาสตร์ นักเดินทาง มีชื่อเสียงจากการศึกษาพฤกษชาติและพรรณสัตว์ประจำถิ่นของญี่ปุ่น ได้แนะนำการแพทย์แบบตะวันตกให้แก่ประเทศญี่ปุ่น เขายังเป็นบิดาของแพทย์หญิงคนแรกของญี่ปุ่น คุซุโมะโตะ อิเนะ หมวดหมู่:นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักเขียนชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและฟีลิพพ์ ฟรันทซ์ ฟ็อน ซีบ็อลท์ · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนการกระจกเปียก

กระบวนการกระจกเปียก เป็นผลมาจากการทดลองใช้กระจกเป็นวัตถุรองรับในการถ่ายภาพ แทนแผ่นเพลทที่เป็นโลหะ โดยช่างแกะสลักชาวลอนดอน ชื่อ เฟรดเดอริค สก็อต อาร์เชอร์ (Frederick Scott Archer) ได้ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทาบอลไทพ์ช่วยในการแกะสลักน้องสาวของของเขาให้เหมือนจริงมากขึ้น โดยการทดลองใช้วัสดุที่เรียกว่า "กัน คอตตอน" ละลายในแอลกอฮอล์และอีเธอร์ ซึ่งจะได้สารละลายที่เรียกว่า "โคโลเดียน" (Collodion) มีชื่อทางเคมีว่า "เซลลูโลสไนเตรต" ซึ่งทหารนำมาใช้ในการห้ามเลือดจากบาดแผลในสงคราม ซึ่งอาร์เชอร์ได้นำสารโคโลเดียนมาฉาบลงบนกระจกและจุ่มเพลทกะจกลงในสารละลายเงินไนเตรทอีกครั้งก่อนจะนำไปถ่ายภาพในขนะที่เพลทยังเปียกอยู่ (ขั้นตอนนี้ทำในห้องมืด) อาร์เชอร์พบว่าถ้ารอให้กระจกแห้งความไวแสงจะสูญเสียไปมาก แต่ถ้าถ่ายขณะที่เพลทยังเปียกอยู่จะใช้เวลาถ่ายน้อยกว่า 3นาที จากนั้นนำไปผ่านกระบวนการสร้างภาพด้วยการนำไปล้างในน้ำยา ไพโรแกลลิกแอซิด (Pyrogallic Acid) หรือ เฟอรัสซัลเฟต (FerrousSulphate) (ขั้นตอนนี้ทำในห้องมืด) จากนั้นนำไปคงภาพด้วยน้ำยาไฮโป เนื่องจากต้องถ่ายภาพขณะที่เพลทไวแสงยังเปียกอยู่จึงนิยมเรียกกระบวนการนี้ว่า กระบวนการกระจกเปียก (Wet Collodion Process On Glass) ซึ่งได้รับความนิยมนานถึง 30 ปี ซึ่งในการถ่ายนอกสถานที่ช่างภาพจะต้องนำกระโจมห้องมืด ขวดน้ำยาและเพลทกระจกและอุปกรณืที่จำเป็นอย่างอื่นไปด้วย หมวดหมู่:การถ่ายภาพ.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและกระบวนการกระจกเปียก · ดูเพิ่มเติม »

ภาพพิมพ์หิน

อิร์นสท์ เฮิคเคิล แท่นพิมพ์แบบพิมพ์หินสำหรับพิมพ์แผนที่ในมิวนิค ภาพพิมพ์หิน หรือ กลวิธีพิมพ์หิน (Lithography) “Lithography” มาจากภาษากรีกว่า “λίθος” (lithos) ที่แปลว่า “หิน” สมาสกับคำว่า “γράφω” (graphο) ที่แปลว่า “เขียน” คือเทคนิคการพิมพ์ที่ใช้หินปูนพิมพ์หิน (lithographic limestone) หรือแผ่นโลหะที่มีผิวเรียบ เดิมเทคนิคการพิมพ์ใช้น้ำมันหรือไขมัน แต่ในสมัยใหม่ภาพสร้างขึ้นโดยการใช้พอลิเมอร์ทำปฏิกิริยากับแผ่นพิมพ์อะลูมิเนียม พื้นผิวที่ราบเรียบแบ่งออกเป็น.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและภาพพิมพ์หิน · ดูเพิ่มเติม »

มะเอะดะ เก็นโซ

มะเอะดะ เก็นโซ (前田 玄造) (ค.ศ. 1831–1906) เป็นช่างภาพชาวญี่ปุ่นจากทางเหนือของเกาะคีวชู เขาศึกษาการถ่ายภาพที่นะงะซะกิจจากยัน กาเริล ฟัน แด็นบรุกและเย. แอ็ล. เซ. โปมเปอ ฟัน เมร์เดอร์โฟร์ต ต่างก็ไม่ใช่ช่างภาพผู้มีประสบการณ์ ความพยายามถ่ายภาพส่วนมากก็ล้มเหลว ถึงกระนั้น พวกเขาก็ได้สอนการถ่ายภาพด้วยกระบวนการกระจกเปียกให้แก่มะเอะดะและนักเรียนคนอื่น ๆ รวมถึง ฟุรุกะวะ ชุมเป, คะวะโนะ เทโซ, อุเอะโนะ ฮิโกะมะ และ โฮะริเอะ คุวะจิโร จนเมื่อช่างภาพชาวสวิส ปีแยร์ รอซีเย เดินทางมาถึงญี่ปุ่นในปี..

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและมะเอะดะ เก็นโซ · ดูเพิ่มเติม »

อุเอะโนะ ฮิโกะมะ

อุเอะโนะ ฮิโกะมะ เป็นผู้บุกเบิกการถ่ายภาพชาวญี่ปุ่น เกิดในนะงะซะกิ ขึ้นชื่อเรื่องการถ่ายภาพคนได้ดี มักถ่ายบุคคลสำคัญชาวญี่ปุ่นและต่างประเทศ และยังถ่ายภาพทัศนียภาพได้อย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เมืองนะงะซะกิและบริเวณโดยรอบ อุเอะโนะเป็นบุคคลสำคัญในการถ่ายภาพของญี่ปุ่นในศตวรรษที่ 19 ที่ประสบความสำเร็จในการถ่ายภาพเพื่อการค้าอย่างมีศิลปะ เขายังเป็นผู้สอนถ่ายภาพอีกด้ว.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและอุเอะโนะ ฮิโกะมะ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซูโม่

ซูโม่ ซูโม่ หรือมวยปล้ำญี่ปุ่นเป็นกีฬาประจำชาติที่ได้รับความนิยมในญี่ปุ่น ประวัติของซูโม่สามารถย้อนกลับไปได้ไกลถึงศตวรรษที่ 8 โดยวังหลวงได้คัดเลือกนักมวยปล้ำจากกองทัพมาสู้กัน เพื่อสร้างความบันเทิงแก่ชาววังในเกียวโต และพัฒนาจนกลายเป็นกีฬาอาชีพในปัจจุบัน นอกจากนั้นยังเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมจากประเทศในยุโรป เช่น อังกฤษ เป็นต้น อีกด้วย ประเพณีที่ยึดถือในกีฬาซูโม่นั้นมีความเก่าแก่มาก และยึดถือเป็นแบบปฏิบัติต่อเนื่องกันมาถึงปัจจุบัน เช่น การโปรยเกลืออันเป็นสัญลักษณ์แสดงความบริสุทธิ์ ซึ่งเป็นประเพณีที่ซูโม่ถูกนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในศาสนาชินโต การใช้ชีวิตของนักปล้ำซูโม่นั้นเคร่งครัดเป็นอย่างยิ่ง และอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดโดยสมาคมซูโม่ นักปล้ำซูโม่อาชีพจะใช้ชีวิตร่วมกันภายใต้ค่ายสังกัด (heya) ของตนเอง โดยแบบแผนการดำเนินชีวิตในทุกด้าน นับตั้งแต่อาหารการกิน ไปจนกระทั่งการแต่งกาย นั้น ถูกกำหนดด้วยประเพณีปฏิบัติอันเคร่งครั.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและซูโม่ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ รอซีเย

รื่องหมายสตูดิโอถ่ายภาพของรอซีเยในฟรีบูร์ ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเย (Pierre Joseph Rossier; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1829 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1886) เป็นช่างภาพยุคบุกเบิกชาวสวิส ถ่ายภาพโดยวิธีแอลบูเมน รวมถึงการภาพถ่ายสามมิติ และภาพการ์ตเดอวีซิตที่เป็นภาพถ่ายบุคคล ภาพทิวทัศน์ของเมือง และภาพภูมิทัศน์ เขาได้รับว่าจ้างจากบริษัท เนเกรตตีและแซมบรา (Negretti and Zambra) ในกรุงลอนดอนให้เดินทางมาทวีปเอเชียเพื่อบันทึกภาพกองทัพอังกฤษ-ฝรั่งเศสในสงครามฝิ่นครั้งที่สอง แม้ไม่ได้ร่วมคณะทหารไปด้วย แต่เขายังคงอยู่ในทวีปเอเชียหลายปี โดยผลิตผลงานเพื่อการค้าเป็นครั้งแรกให้กับประเทศจีน ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น และสยาม เขาถือเป็นช่างภาพอาชีพคนแรกของประเทศญี่ปุ่น ที่นั่นเขาได้สอนฟุรุกะวะ ชุมเป, คะวะโนะ เทโซ, อุเอะโนะ ฮิโกะมะ, มะเอะดะ เก็นโซ, โฮะริเอะ คุวะจิโร และช่างภาพรุ่นแรกคนอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงลดหลั่นไปของญี่ปุ่น ส่วนในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เขาก่อตั้งสตูดิโอถ่ายภาพในเมืองฟรีบูร์และไอน์ซีเดิล์น และยังคงผลิตภาพถ่ายในสถานที่อื่น ๆ ของประเทศ รอซีเยถือเป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรกของการถ่ายภาพ ไม่เพียงเพราะผลงานภาพถ่ายของเขาเท่านั้น แต่ยังเป็นเพราะการสอนของเขาได้ส่งผลกระทบสำคัญแก่วงการถ่ายภาพญี่ปุ่นในยุคบุกเบิกด้ว.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและปีแยร์ รอซีเย · ดูเพิ่มเติม »

นีเซฟอร์ เนียปส์

นีเซฟอร์ เนียปส์ (Nicéphore Niépce) ชื่อเกิด โฌแซ็ฟ เนียปส์ (Joseph Niépce; 7 มีนาคม 1765 - 5 กรกฎาคม 1833) เป็นนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ที่ได้ชื่อว่ามีส่วนในการบุกเบิกการถ่ายภาพ เนียปส์เกิดในเมืองชาลง-ซูร์-โซน (Chalon-sur-Saône) ในเขตจังหวัดโซเนลัวร์ปัจจุบัน บิดาเป็นทนายผู้มีฐานะ เขามีพี่ชาย 1 คน ชื่อ โกลด (1763-1828) มีน้องสาว 1 คน และน้องชายอีก 1 คน เมื่ออายุได้ 21 ปี เนียปส์ได้ศึกษาที่ Oratorian Brothers เมืองอ็องเฌ ในสาขาวิชาฟิสิกส์และเคมี เมื่อจบการศึกษาแล้ว เนียปส์จึงกลับมาเรียนวิชาการทหาร (National Guard) ที่เมืองชาลง-ซูร์-โซน บ้านเกิด ในปี 1789 เกิดการปฏิวัติฝรั่งเศสขึ้น เนียปส์ได้ถูกประจำการเป็นทหารอยู่ที่ซาร์ดิเนีย และผลจากการปฏิวัติครั้งนี้ทำให้ทรัพย์สินของครอบครัวส่วนใหญ่เสียหาย แต่ครอบครัวของเขามีบ้านหลังหนึ่งอยู่ใกล้หมู่บ้านชาลง-ซูร์-โซน ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส หลังจากที่เนียปส์ได้ออกจากราชการทหารในปี 1794 เขาแต่งงานกับแอกเนส โรเมโร่ (Agnes Romero) และย้ายมาอยู่ที่เมืองนี้ เมื่อแต่งงานไปได้ 1 ปี ภรรยาของเขาก็ให้กำเนิดบุตร ตั้งชื่อว่า อีซีดอร์ (Isidore; ภายหลังร่วมมือกับหลุยส์ ดาแกร์ ผู้คิดค้น กระบวนการดาแกโรไทป์ เพื่อพัฒนางานถ่ายภาพ) ในขณะนั้น เนียปส์ใช้เวลาในการค้นคว้าทำการทดลองเกี่ยวกับการบันทึกภาพไปด้วย เนียปส์เสียชีวิตในปี 1833 ในสภาพบุคคลล้มละล.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและนีเซฟอร์ เนียปส์ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ใหม่!!: โฮะริเอะ คุวะจิโรและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Horie Kuwajirō

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »