สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: ชาวสกอตแลนด์พ.ศ. 2468พ.ศ. 2501ภาษากรีกภาษาละตินภาษาอังกฤษยูเอชเอฟวีเอชเอฟอักษรย่ออักษรละตินจอภาพดาวเทียมโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทยโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิลโทรทัศน์ความละเอียดสูงโทรทัศน์ความละเอียดสูงมากโทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งโทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งยวดโทรคมนาคมเอ็นเอชเค
- การแพร่สัญญาณ
- คำศัพท์โทรทัศน์
- ธุรกิจโทรทัศน์
- รูปแบบสื่อ
- ศิลปะการแสดง
- สิ่งประดิษฐ์ของประเทศรัสเซีย
- สิ่งประดิษฐ์ของประเทศเยอรมนี
- สิ่งประดิษฐ์ของสหราชอาณาจักร
- เทคโนโลยีดิจิทัล
ชาวสกอตแลนด์
--> |region5.
พ.ศ. 2468
ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2501
ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ภาษากรีก
ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..
ภาษาละติน
ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ยูเอชเอฟ
ูเอชเอฟ (UHF) เป็นคลื่นความถี่สูงยิ่ง (Ultra-High Frequency) เริ่มมีขึ้นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2491.
วีเอชเอฟ
วีเอชเอฟ (VHF) เป็นชื่อย่อของคลื่นความถี่สูงมาก (Very-High Frequency) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากกว่าชื่อเต็ม มักใช้ในการสื่อสารของวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน.
อักษรย่อ
อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..
อักษรละติน
อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).
จอภาพ
การวัดระดับพิกเซล บนจอภาพที่จัดเรียงพิกเซลต่างกัน ประสิทธิภาพของจอภาพสามารถวัดได้จากหลายปัจจัยดังนี้ * ความส่องสว่าง วัดในหน่วยแคนเดลาต่อตารางเมตร * ขนาดของจอภาพ วัดความยาวตามแนวทแยง สำหรับหลอดภาพ บริเวณที่เห็นภาพมักจะเล็กกว่าขนาดของหลอดภาพอยู่หนึ่งนิ้ว * อัตราส่วนลักษณะ คืออัตราส่วนของพิกเซลในแนวนอนต่อแนวตั้ง อัตราส่วนปกติคือ 4:3 เช่นจอภาพที่กว้าง 1024 พิกเซล จะสูง 768 พิกเซล ถ้าเป็นจอภาพไวด์สกรีน จะมีอัตราส่วนเป็น 16:9 ดังนั้นจอภาพที่กว้าง 1024 พิกเซล จะสูง 576 พิกเซล * ความละเอียดจอภาพ คือจำนวนพิกเซลตามความกว้างและความสูงที่สามารถแสดงผลได้ (ไม่ได้หมายถึงพิกเซลที่กำลังแสดงผลภาพอยู่ในปัจจุบัน) ความละเอียดที่มากที่สุดถูกจำกัดโดยระดับพิกเซล (ดูถัดไป) * ระดับพิกเซล คือระยะระหว่างพิกเซลสีเดียวกันในหน่วยมิลลิเมตร หากระดับพิกเซลน้อยลง ภาพจะมีความคมชัดมากขึ้น * อัตรารีเฟรช คือจำนวนครั้งในหนึ่งวินาทีที่ภาพนั้นถูกฉายลงบนหน้าจอ อัตรารีเฟรชที่มากที่สุดถูกจำกัดโดยเวลาตอบสนอง (ดูถัดไป) * เวลาตอบสนอง คือเวลาที่ใช้ไปขณะพิกเซลเปลี่ยนจากสีดำไปเป็นสีขาว และกลับมาเป็นสีดำอีกครั้ง วัดในหน่วยมิลลิวินาที ค่าที่น้อยลงหมายความว่าจอสามารถเปลี่ยนภาพได้เร็วขึ้น และหลงเหลือภาพก่อนหน้าน้อยกว่า * อัตราส่วนความแตกต่าง คืออัตราส่วนความส่องสว่างของสีที่สว่างที่สุด (สีขาว) ต่อสีที่มืดที่สุด (สีดำ) ที่จอภาพนั้นสามารถสร้างได้ * การใช้พลังงาน วัดในหน่วยวัตต์ * มุมในการมอง คือมุมที่มากที่สุดที่หันเหหน้าจอออกไปแล้วยังสามารถมองเห็นได้ โดยภาพที่ปรากฏยังไม่ลดคุณภาพ เช่นสีเพี้ยนเป็นต้น Monotor Technology จอภาพทำงานโดยการแสดงภาพ ซึ่งอาจเป็นภาพกราฟิกหรือตัวอักษร ซึ่งเกิดจากการประมวลผลของการ์ดวีจีเอ (VGA Card) จอภาพแบ่งเป็น 2 ประเภท คือจอภาพสีเดียวหรือจอภาพโมโนโครม (Monochrome) และจอสี (Color Monitor) ปัจจุบันจอภาพสีเดียวนั้นไม่เป็นที่นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์ หากจะมีใช้ก็เฉพาะงานเฉพาะอย่างเท่านั้น ส่วนที่นิยมใช้ก็คือจอสี โดยแบ่งได้อีกเป็น 3 ประเภท คือจอสีวีจีเอ (VGA.
ดาวเทียม
นีบนพื้นโลก ดาวเทียม (satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นเป็นสิ่ง ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสำรวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว ดาราจักร ต่าง.
โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย
ทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย (Digital television in Thailand) เป็นระบบโทรทัศน์ดิจิทัลภายในอาณาเขตประเทศไทย โดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง กำหนดระยะของการทดลองออกอากาศไว้ ระหว่างวันอังคารที่ 1 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน พ.ศ.
ดู โทรทัศน์และโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย
โทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล
ทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล หรือเรียกอย่างง่ายว่า เคเบิลทีวี (Cable television) เป็นระบบการส่งสัญญาณรายการโทรทัศน์ไปถึงผู้ชมทางบ้านผ่านสายเคเบิล แทนการส่งสัญญาณทางอากาศ เริ่มนำมาใช้เป็นครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ.
ดู โทรทัศน์และโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล
โทรทัศน์ความละเอียดสูง
ทรทัศน์ความละเอียดสูง (High-definition television - HDTV) เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ ที่มีความละเอียดของภาพ มากกว่าระบบถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์แบบดั้งเดิม (คือระบบเอ็นทีเอสซี, ซีแคม และพาล) โดยสัญญาณดังกล่าวจะแพร่ภาพด้วยระบบโทรทัศน์ดิจิทัล การถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ความละเอียดสูง สามารถให้ความละเอียดสูงสุด 1920x1080 จุดภาพ (Pixel) ซึ่งมีชื่อเรียกว่า โทรทัศน์ความละเอียดสูงเต็มรูปแบบ (Full HD) ซึ่งเป็นระดับสูงสุดที่สัญญาณภาพจะสามารถรองรับ ระบบการออกอากาศสัญญาณโทรทัศน์ความละเอียดสูง (High-Definition Broadcast) สำหรับความละเอียดของภาพ ที่สามารถแสดงบนจอโทรทัศน์ความละเอียดสูง ในปัจจุบันสูงถึง 3840x2160 จุดภาพ หรือที่เรียกว่า Quad HD ซึ่งเกินจากความสามารถที่สัญญาณโทรทัศน์จะส่งได้ แต่ใช้เฉพาะกับการแสดงภาพความละเอียดสูงจากช่องทางอื่น.
ดู โทรทัศน์และโทรทัศน์ความละเอียดสูง
โทรทัศน์ความละเอียดสูงมาก
ทรทัศน์ความละเอียดสูงมาก (Extreme High Definition Television; EHDTV) เป็นโทรทัศน์ความละเอียดสูงที่มีความละเอียดสูงกว่า Full HD โดยมีความละเอียดที่ 2560×1440 หรือ 3686400 พิกเซล.
ดู โทรทัศน์และโทรทัศน์ความละเอียดสูงมาก
โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่ง
ทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่ง หรือ QHDTV (Quad High Definition Television) เป็นโทรทัศน์ความละเอียดสูงที่มีความละเอียดสูงกว่าโทรทัศน์ความละเอียดมาตรฐานประมาณ 25 เท่า และมากกว่าโทรทัศน์ความละเอียดสูง (Full HD) 4 เท่าอันเป็นที่มาของชื่อ Quad HD เดิมทีถูกวางตัวให้ออกอากาศในปี 2016 ที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นที่แรกของโลก แต่เนื่องจากเพื่อที่จะให้สอดคล้องกับมหกรรมฟุตบอลโลกในปี 2014 โครงการการส่งสัญญาณแบบ 4K ถูกเลื่อนให้เร็วขึ้นภายในปี 2014.
ดู โทรทัศน์และโทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่ง
โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งยวด
ปรียบเทียบสัดส่วนโทรทัศน์ความละเอียดต่าง ๆ โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งยวด (Ultra High Definition Television) เป็นโทรทัศน์ความละเอียดสูงที่สุดที่มีบนโลกในขณะนี้ เรียกกันสั้นๆ ว่าโทรทัศน์ 8K ที่มีความละเอียดมากกว่าโทรทัศน์ความละเอียดมาตรฐานประมาณ 64 เท่า มากกว่าโทรทัศน์ความละเอียดสูง (Full HD) 16 เท่า หรือเทียบเท่าว่าวิดีโอแบบ UHDTV นี้ถ้าขนาดความยาว 5 นาทีจะต้องใช้พื้นที่เก็บมากถึง 1 เทราไบต์ (1024 GB) เป็นโทรทัศน์ที่ปัจจุบันยังไม่มีการออกอากาศในที่อื่นเนื่องจากเป็นการสิ้นเปลืองอัตราการส่งสัญญาณเป็นอย่างมาก แต่เป็นการร่วมมือกันระหว่าง BBC อังกฤษและ NHK ญี่ปุ่น ในการร่วมกันสร้างเทคโนโลยีนี้ขึ้นมา โดยทางอังกฤษหวังว่าจะใช้ในการถ่ายทอดกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เป็นที่แรกในโลก (ภายหลังได้ถ่ายแบบ Full HD 1080 เนื่องด้วยปัญหาบางประการ) และญี่ปุ่นคาดว่าจะใช้ออกอากาศได้ในปี 2020 ซึ่งเรียกกล้องนี้ว่า Super-High Vision และได้นำมาจัดแสดงในงานแสดงเทคโนโลยีต่างๆ อย่างไรก็ตามมีการเร่งแผนพัฒนาให้เร็วขึ้น สอดคล้องกับมหกรรมฟุตบอลโลก ทำให้ญี่ปุ่นจะเป็นประเทศแรกในโลกที่จะผลักดันโทรทัศน์ 8K ให้ได้ออกอากาศภายในปี 2016 โดยเหมาะสมกับโทรทัศน์ขนาด 128 นิ้วขึ้นไป.
ดู โทรทัศน์และโทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งยวด
โทรคมนาคม
ผลงานเลียนแบบโทรศัพท์ต้นแบบของอเล็กซานเดอร์ แกรฮ์ม เบลล์ ที่พิพิธภัณฑ์ Musée des Arts et Métiers ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส สายอากาศการสื่อสารดาวเทียมแบบ parabolic ที่สถานีขนาดใหญ่ที่สุดใน Raisting, Bavaria, Germany โทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถึงการสื่อสารระยะไกล โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านทางสัญญาณไฟฟ้า หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เนื่องจากเทคโนโลยีที่แตกต่างกันจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับคำนี้ จึงมักใช้ในรูปพหูพจน์ เช่น Telecommunications เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมในช่วงต้นประกอบด้วยสัญญาณภาพ เช่น ไฟสัญญาณ, สัญญาณควัน, โทรเลข, สัญญาณธงและ เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ตัวอย่างอื่นๆของการสื่อสารโทรคมนาคมก่อนช่วงที่ทันสมัยได่แก่ข้อความเสียงเช่นกลอง, แตรและนกหวีด เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมด้วยไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้าได้แก่โทรเลข, โทรศัพท์และ โทรพิมพ์, เครือข่าย, วิทยุ, เครื่องส่งไมโครเวฟ, ใยแก้วนำแสง, ดาวเทียมสื่อสารและอินเทอร์เน็ต การปฏิวัติ ในการสื่อสารโทรคมนาคมไร้สายเริ่มต้นขึ้นในปี 190X กับการเป็นผู้บุกเบิกพัฒนาใน การสื่อสารทางวิทยุโดย Guglielmo มาร์โคนี ที่ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาฟิสิกส์ในปี 1909 สำหรับความพยายามของเขา นักประดิษฐ์ผู้บุกเบิกและนักพัฒนาอื่นๆที่น่าทึ่งมากๆในด้านการ สื่อสารโทรคมนาคมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์รวมถึง ชาร์ลส์ วีทสโตน และ ซามูเอล มอร์ส (โทรเลข), Alexander Graham Bell (โทรศัพท์), เอ็ดวิน อาร์มสตรอง และลี เดอ ฟอเรสท์ (วิทยุ) เช่นเดียวกับที่ จอห์น โลจี แบร์ด และ Philo Farnsworth (โทรทัศน์) กำลังการผลิตที่มีประสิทธิภาพของโลกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมสองทางเพิ่มขึ้นจาก 281 เพตาไบต์ของข้อมูล (ที่ถูกบีบอัดอย่างดีที่สุด) ในปี 1986 เป็น 471 petabytes ในปี 1993 และ 2.2 (บีบอัดอย่างดีที่สุด) เอ็กซาไบต์ ในปี 2000 และ 65 (บีบอัดอย่างดีที่สุด) exabytes ในปี 2007 นี่คือเทียบเท่าข้อมูลของสองหน้า หนังสือพิมพ์ต่อคนต่อวันในปี 1986 และ หกเต็มหน้าหนังสือพิมพ์ต่อคนต่อวันในปี 2007 ด้วยการเจริญเติบโตขนาดนี้, การสื่อสารโทรคมนาคมมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในเศรษฐกิจโลกและอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทั่วโลกประมาณ$ 4.7 ล้านล้านภาคเศรษฐกิจในปี 2012 รายได้จากการให้บริการของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทั่วโลกถูกประเมินไว้ที่ $1.5 ล้านล้านในปี 2010 สอดคล้องกับ 2.4% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก (GDP).
เอ็นเอชเค
มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.
ดูเพิ่มเติม
การแพร่สัญญาณ
- การพยากรณ์อากาศ
- เว็บซีรีส์
- โทรทัศน์
คำศัพท์โทรทัศน์
- 1080i
- 1080p
- 720p
- การกล้ำสัญญาณ
- การจัดการสิทธิดิจิทัล
- การถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์
- การปิดสถานี
- การวางผลิตภัณฑ์ประกอบฉาก
- การศึกษาทางไกล
- การสื่อสารไร้สาย
- ข่าว
- คลิปวิดีโอ
- ความถี่วิทยุ
- คำบรรยายแบบซ่อนได้
- ซิตคอม
- นักแสดง
- นิตยสารข่าว
- บทภาพยนตร์
- บลูเรย์
- ปฐมทัศน์
- ผู้ประกาศข่าว
- ระบบส่งสัญญาณมัลติมีเดียความละเอียดสูง
- รายการโทรทัศน์
- วิดีโอ
- สัญญาณแอนะล็อก
- อัตลักษณ์ประจำสถานี
- เครื่องฉายภาพ
- เครื่องบันทึกเทปวิดีโอ
- เทเลซีน
- แถบอักษรข่าววิ่ง
- แพล
- โฆษณาโทรทัศน์
- โทรทัศน์
- โทรทัศน์ความละเอียดสูง
- โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งยวด
- โทรทัศน์ระบบดิจิทัล
- โทรทัศน์สามมิติ
- โปรเอชดี
- ใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์
- ใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์ในสหราชอาณาจักร
- ไฟร์ไวร์
- ไอพีทีวี
ธุรกิจโทรทัศน์
- โทรทัศน์
รูปแบบสื่อ
ศิลปะการแสดง
- กายกรรม
- การบันเทิง
- การเต้นรำ
- ดนตรี
- มวยปล้ำอาชีพ
- มายากล
- ละคร
- ละครวิทยุ
- ละครสัตว์
- ละครเวที
- ศิลปะการต่อสู้
- ศิลปะการแสดง
- ออดิชัน
- โทรทัศน์
สิ่งประดิษฐ์ของประเทศรัสเซีย
- การถ่ายภาพเคอร์เลียน
- การท่องเที่ยวอวกาศ
- การวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม
- การเชื่อมไฟฟ้า
- การเชื่อมไฮเปอร์บาริก
- ซามบะ
- ซาร์บอมบา
- ซาโมวาร์
- ตุ๊กตาแม่ลูกดก
- ต้นไม้เฟนวิก
- นมผง
- บ้อง
- มาทรอสกา
- รถไฟเหาะตีลังกา
- ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
- วอดก้า
- หมากฮอสรัสเซีย
- เครื่องบินพาณิชย์
- เซลล์แสงอาทิตย์
- เตตริส
- เธรามิน
- เลเซอร์
- เหล็กเส้น
- แผนภาพโวโรนอย
- โครมาโทกราฟี
- โดมทรงหัวหอม
- โทรทัศน์
สิ่งประดิษฐ์ของประเทศเยอรมนี
- กระบวนการฮาเบอร์
- กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
- กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์
- การแบ่งแยกนิวเคลียส
- ขวดรูปชมพู่
- คาร์บูเรเตอร์
- จักรยาน
- จานเพาะเชื้อ
- ซิมการ์ด
- ตะเกียงบุนเซิน
- ตัวเก็บประจุ
- ทรามาดอล
- นิติเวชกีฏวิทยา
- บาร์บิทูเรต
- ปืนเล็กยาวจู่โจม
- ผงซักฟอก
- พอลิเอทิลีน
- พัดลมเพดาน
- ยางสังเคราะห์
- รถยนต์
- รีเลย์
- วงจรรวม
- วิดีโอบล็อก
- สมาร์ตการ์ด
- หมากฮอสจีน
- หัวแร้ง
- หีบเพลงชัก
- ออกซิมอร์ฟีน
- ออกซิโคโดน
- ออสซิลโลสโคป
- เครื่องยนต์ดีเซล
- เครื่องยนต์โรตารี
- เครื่องโทรศัพท์
- เทอร์เฟนาดีน
- เฟนไซคลิดีน
- เมทาโดน
- แดพโซน
- แบบจำลองชั้นพลังงานของนิวเคลียส
- แพล
- แอมเฟตามีน
- แอสไพริน
- โคเคน
- โทรทัศน์
- โทรสาร
- ไดไฮโดรโคดีอีน
- ไฟแช็ก
- ไม้ขีดไฟ
- ไฮโดรมอร์โฟน
- ไฮโดรโคโดน
สิ่งประดิษฐ์ของสหราชอาณาจักร
- กระป๋อง
- กล้องปริทรรศน์
- การปฏิสนธินอกร่างกาย
- ขนมปังกรอบไดเจสทีฟ
- ซีโฟร์
- ดัชนีการพัฒนามนุษย์
- ที่เปิดกระป๋อง
- พอดแคสต์
- มอเตอร์
- ยางลบ
- รถจักรไอน้ำ
- ระเบิดพลาสติก
- รีโมตคอนโทรล
- วีลแบโร (หุ่นยนต์)
- สารวีเอ็กซ์
- หม้อแปลงไฟฟ้า
- ฮอโลกราฟี
- เตารีด
- เบตาบล็อกเกอร์
- เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
- เวฟไกด์
- เวิลด์ไวด์เว็บ
- เสื้อกันฝน
- เส้นใยคาร์บอน
- เฮโรอีน
- แสตมป์
- โซนาร์
- โทรทัศน์
- โทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล
- โทรเลขไฟฟ้า
- ไอบิวพรอเฟน
เทคโนโลยีดิจิทัล
หรือที่รู้จักกันในชื่อ TelevisionTvวิทยุโทรทัศน์ทีวี📺