สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: พันธุ์ทิพย์พลาซ่ากรุงเทพมหานครมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครธนาคารไทยพาณิชย์ถนนบรรทัดทองถนนเพชรบุรีทางแยกแยกราชเทวีแยกอุรุพงษ์แยกเจริญผลเขตราชเทวี
พันธุ์ทิพย์พลาซ่า
ันธุ์ทิพย์พลาซ่า สาขาแรกบนถนนเพชรบุรี ภาพถ่ายจากตึกใบหยก 2 พันธุ์ทิพย์พลาซ่า เชียงใหม่ พันธุ์ทิพย์พลาซ่า (Pantip Plaza) เป็นศูนย์การค้าเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคมแห่งแรกและขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีสาขาแรกสุด ตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย บริษัท ทิพยพัฒน์อาเขต จำกัด ในเครือบริษัท ที.ซี.ซี.แลนด์รีเทล จำกั.
ดู แยกเพชรพระรามและพันธุ์ทิพย์พลาซ่า
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู แยกเพชรพระรามและกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage) เดิมคือ สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ ตั้งอยู่ที่ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงมีพระเมตตาต่อการศึกษา ของกลุสตรีไทย จึงประทานอาคารพร้อมที่ดินประมาณ 4 ไร่ ให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2475 ปัจจุบันคือ เลขที่ 153 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยย้ายนักเรียนฝึกหัดครูและนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.7-8) มาจากโรงเรียนเบญจมราชาลัย อาจารย์ใหญ่คนแรก คือ อาจารย์นิลรัตน์ บรรณสิทธิ์วรสาสน์ โรงเรียนใช้ชื่อย่อว่า พ เป็นสัญลักษณ์ และสีเขียว เป็นสีประจำโรงเรียน เนื่องจากเป็นสีประจำวันประสูติของพระองค์ สถานศึกษาแห่งนี้ได้ปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาทั้งแผนกฝึกหัดครู และแผนกสามัญด้วยดีตลอดมา และได้พัฒนาปรับเปลี่ยนสถานภาพและคำนำหน้าชื่อตามความเหมาะสม ดังนี้ 1 ตุลาคม 2513 เป็นวิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ..
ดู แยกเพชรพระรามและมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.
ดู แยกเพชรพระรามและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
ธนาคารไทยพาณิชย์
นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.
ดู แยกเพชรพระรามและธนาคารไทยพาณิชย์
ถนนบรรทัดทอง
นาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี ที่บริเวณแยกเพชรพระราม อันเป็นจุดสิ้นสุดของถนน (ภาพจากมุมมองของถนนบรรทัดทอง) ถนนบรรทัดทอง (Thanon Banthat Thong) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ 2 เขตคือ เขตปทุมวันและเขตราชเทวี.
ดู แยกเพชรพระรามและถนนบรรทัดทอง
ถนนเพชรบุรี
นนเพชรบุรีช่วงแยกประตูน้ำบริเวณหน้าห้างแพลทินัมแฟชันมอลล์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ช่วงหน้าโรงเรียนเซนต์ดอมินิก ถนนเพชรบุรี (Thanon Phetchaburi) เป็นเส้นทางจราจรสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.
ดู แยกเพชรพระรามและถนนเพชรบุรี
ทางแยก
ทางแยกในคาร์คิฟ ประเทศยูเครน ทางแยกในมากาตี ประเทศฟิลิปปินส์ ทางแยก (intersection) เป็นจุดตัดที่อยู่ในระดับเดียวกันของถนนสองสายขึ้นไปที่มาบรรจบกันหรือตัดข้ามกัน ได้แก่ สามแยก เช่น สามแยกรูปตัวที (T junction) หรือ สามแยกรูปตัววาย (Y junction) หรือสี่แยก ห้าแยก หรือมากกว่านั้น ทางแยกต่าง ๆ มักจะมีการควบคุมโดยไฟจราจร หรือมีการสร้างวงเวียน หรือทั้งสอง.
แยกราชเทวี
แยกราชเทวี (Ratchathewi Intersection) เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพญาไทและถนนเพชรบุรี แต่ดั้งเดิม ณ สถานที่นี้ เคยเป็นที่ตั้งของสะพานพระราชเทวี หรีอที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า สะพานราชเทวี อันเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กข้ามคลองประแจจีน บนฝั่งถนนพญาไทก่อนถึงถนนประแจจีน (ถนนเพชรบุรี) สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยพระราชทรัพย์ของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมายุครบ ๕๐ พรรษา ด้วยการบริจาคพระราชทรัพย์สร้างสะพาน และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามและทรงประกอบพระราชพิธีเปิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..
แยกอุรุพงษ์
แยกอุรุพงษ์ (Uruphong Intersection) เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนพระรามที่ 6 กับถนนเพชรบุรี โดยชื่อ "อุรุพงษ์" ที่ทางแยกรวมถึงถนนอุรุพงษ์ที่อยู่ใกล้เคียง เป็นชื่อที่มีที่มาจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช พระราชบุตรลำดับรองสุดท้ายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นพระราชบุตรที่ทรงโปรดมาก ซึ่งสิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังเยาว์วัยและตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระองค์ด้ว.
ดู แยกเพชรพระรามและแยกอุรุพงษ์
แยกเจริญผล
ี่แยกเจริญผล (Charoen Phon Intersection) หรือเป็นที่รู้จักในนาม สี่แยกบรรทัดทอง เป็นสี่แยกในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 1 และถนนบรรทัดทอง.
เขตราชเทวี
ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.