สารบัญ
40 ความสัมพันธ์: ชาวอเมริกันพ.ศ. 2448พ.ศ. 2462พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกรุงเทพมหานครสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธรถนนบรรทัดทองถนนพญาไทถนนพระรามที่ 6ถนนพัฒนาการถนนพิษณุโลกถนนราชดำริถนนราชปรารภถนนรามคำแหงถนนวิทยุถนนสวรรคโลกถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)ถนนหลานหลวงถนนอโศก-ดินแดงถนนอโศกมนตรีถนนเพชรบุรีทางพิเศษศรีรัชทางพิเศษเฉลิมมหานครทางรถไฟสายเหนือคลองแสนแสบแยกยมราชแยกราชเทวีแยกวิทยุ-เพชรบุรีแยกอุรุพงษ์แยกประตูน้ำแยกเพชรพระรามโรงเรียนมักกะสันพิทยาโรงเรียนเซนต์ดอมินิกเหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ พ.ศ. 2533เขตราชเทวีเขตสวนหลวงเขตห้วยขวางเขตดุสิต16 กุมภาพันธ์
ชาวอเมริกัน
วอเมริกัน หรือ ประชากรของสหรัฐอเมริกา (People of the United States หรือ U.S. Americans หรือ Americans หรือ American people) คือประชาชนของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่ประกอบด้วยกลุ่มชนจากหลายชาติพันธุ์และเชื้อชาติ ซึ่งทำให้ชาวอเมริกันบางคนไม่ถือว่าอเมริกันเป็น "ชาติพันธุ์" (ethnicity) และจะบ่งตนเองโดยเชื้อชาติ (nationality) และชาติพันธุ์ดั้งเดิม (ancestral origin) เช่นชาวฮังการีอเมริกันเป็นต้น นอกไปจากชาวอเมริกันอินเดียนแล้ว ชาวอเมริกันเกือบทั้งหมดหรือบรรพบุรุษก็เป็นผู้ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในช่วงระยะเวลาห้าร้อยปีที่ผ่านมา การที่ชาวอเมริกันมาจากหลายชาติพันธุ์ทำให้เป็นชาติที่มีธรรมเนียม และคุณค่าที่แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
พ.ศ. 2448
ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.
พ.ศ. 2462
ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรบุรีและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู ถนนเพชรบุรีและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู ถนนเพชรบุรีและกรุงเทพมหานคร
สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร
ันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2427 — สิ้นพระชนม์: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู ถนนเพชรบุรีและสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร
ถนนบรรทัดทอง
นาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี ที่บริเวณแยกเพชรพระราม อันเป็นจุดสิ้นสุดของถนน (ภาพจากมุมมองของถนนบรรทัดทอง) ถนนบรรทัดทอง (Thanon Banthat Thong) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ 2 เขตคือ เขตปทุมวันและเขตราชเทวี.
ถนนพญาไท
นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.
ถนนพระรามที่ 6
นนพระรามที่ 6 (Thanon Rama VI) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร แยกจากถนนจรัสเมือง แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกพงษ์พระราม บริเวณใกล้วัดชำนิหัตถการ (วัดสามง่าม) ข้ามคลองมหานาคเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกอุรุพงษ์) และทางรถไฟสายตะวันออก เข้าสู่แขวงทุ่งพญาไท ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนราชวิถี (สี่แยกตึกชัย) ข้ามคลองสามเสน และเริ่มเลียบคลองประปาในพื้นที่แขวงพญาไท เขตพญาไท ตัดกับถนนนครไชยศรี (สามแยกโรงกรองน้ำ) ตัดกับซอยพระรามที่ 6 ซอย 34 และซอยพระรามที่ 6 ซอย 37 (สี่แยกพิบูลวัฒนา) ตัดกับถนนประดิพัทธ์ (สี่แยกประดิพัทธ์) จากนั้นไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนกำแพงเพชร ทางรถไฟสายเหนือ และถนนเทอดดำริ เข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต จนถึงถนนเตชะวณิช (สามแยกวัดสะพานสูง) ถนนพระรามที่ 6 เดิมชื่อ "ถนนประทัดทอง" สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำว่า "ประทัดทอง" นั้นจากชื่อเครื่องลายครามที่มีภาพต้นประทัดทอง ภายหลังเรียกเพี้ยนเป็นบรรทัดทอง ครั้นมาถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนประทัดทองตลอดทั้งสายเป็น "ถนนพระรามที่ 6" เพราะเป็นถนนที่โปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงเป็นเส้นทางไปโรงกรองน้ำประปาสามเสน และต่อไปยังสะพานพระราม 6.
ดู ถนนเพชรบุรีและถนนพระรามที่ 6
ถนนพัฒนาการ
นนพัฒนาการ สำหรับถนนพัฒนาการในฝั่งธนบุรี ดูที่ ถนนเทอดไท ถนนพัฒนาการ (Thanon Phatthanakan) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีระยะทางประมาณ 10.3 กิโลเมตร เป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร เริ่มจากทางแยกคลองตัน ซึ่งมีถนนเพชรบุรี ถนนรามคำแหง และถนนสุขุมวิท 71 มาบรรจบกันในพื้นที่แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง มุ่งไปทางทิศตะวันออก ตัดกับทางพิเศษฉลองรัช และซอยพัฒนาการ 25 ข้ามคลองลาวเข้าพื้นที่แขวงพัฒนาการ ตัดกับถนนศรีนครินทร์ที่ทางแยกพัฒนาการ ข้ามคลองบึงเข้าพื้นที่แขวงประเวศ เขตประเวศ จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามคลองประเวศบุรีรมย์ ตัดกับถนนอ่อนนุชที่ทางแยกต่างระดับอ่อนนุช-พัฒนาการ ไปทางทิศเดิมจนกระทั่งบรรจบถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ในพื้นที่แขวงดอกไม้ โดยมีอุโมงค์กลับรถบริเวณซอยพัฒนาการ 44 ด้ว.
ถนนพิษณุโลก
นนพิษณุโลก (Thanon Phitsanulok) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีระยะทางตั้งแต่ถนนสามเสน ใต้ถนนศรีอยุธยา แขวงดุสิต ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนนครราชสีมา (แยกวังแดง) วังปารุสกวัน และสวนมิสกวัน ตัดกับถนนราชดำเนินนอก (แยกสวนมิสกวัน) และถนนพระรามที่ 5 (แยกพาณิชยการ) เข้าสู่แขวงสวนจิตรลดา จากนั้นตัดกับถนนนครสวรรค์ที่แยกนางเลิ้ง (แยกสนามม้า) และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงสวนจิตรลดากับแขวงสี่แยกมหานาคไปจนสุดถนนที่ทางรถไฟสายนครราชสีมา (ทางรถไฟสายเหนือก็เรียก) ณ แยกยมราชซึ่งเป็นหัวถนนเพชรบุรี ถนนพิษณุโลกนี้มีนามเดิมว่า "ถนนคอเสื้อ" เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เป็นถนนในโครงการถนนอำเภอดุสิต ซึ่งทรงริเริ่มขึ้นพร้อมกับการสร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ.
ถนนราชดำริ
นนราชดำริ (Thanon Ratchadamri) เป็นถนนที่เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงปทุมวันกับแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางเริ่มตั้งแต่สี่แยกศาลาแดง ถนนพระรามที่ 4 ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกราชประสงค์ และสิ้นสุดที่สี่แยกประตูน้ำ ถนนเพชรบุรี ถนนราชดำริมีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร.
ถนนราชปรารภ
นนราชปรารภ ถนนราชปรารภ (Thanon Ratchaprarop) ถนนสายหนึ่งในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 1.4 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่สามเหลี่ยมดินแดง ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนราชวิถีกับถนนดินแดงในท้องที่แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี มุ่งไปทางทิศใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรางน้ำและถนนศรีอยุธยา ไปสิ้นสุดที่แยกประตูน้ำซึ่งเป็นแยกตัดกับถนนเพชรบุรี.
ถนนรามคำแหง
นนรามคำแหง (Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ.
ถนนวิทยุ
นนวิทยุ ถนนวิทยุ (quote เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (แยกวิทยุ) ในท้องที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนสารสิน (แยกสารสิน) และถนนเพลินจิต (แยกเพลินจิต) จากนั้นข้ามคลองแสนแสบเข้าสู่ท้องที่แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี และไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรบุรี (แยกวิทยุ-เพชรบุรี) ถนนวิทยุเป็นถนนที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ.
ถนนสวรรคโลก
นีรถไฟจิตรลดา ถนนสวรรคโลก (Thanon Sawankhalok) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่แยกยมราช ผ่านแยกเสาวนี จุดตัดกับถนนศรีอยุธยา จากนั้นทอดผ่านแยกอุภัยเจษฎุทิศ จุดตัดกับถนนราชวิถี ทอดผ่านแยกสวรรคโลก จุดตัดกับถนนสุโขทัย และไปสิ้นสุดลงที่แยกสามเสน จุดตัดระหว่างถนนเทอดดำริและถนนนครไชยศรี เดิมมีชื่อว่า "ถนนสิ้ว" (อักษรจีน: 寿 หรือสะกด ซิ่ว) ซึ่งมีความหมายถึง "อายุยั่งยืน" อันมาจากชื่อเครื่องลายครามของจีนที่เป็นรูปผลท้อหรือต้นสน ที่เป็นที่นิยมสะสมและครอบครองกันในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และนิยมนำมาตั้งชื่อเป็นชื่อถนนหรือสถานที่ต่าง ๆ ในยุคนั้น โดยเป็นถนนที่ตัดจากสะพานยมราชไปจรดคลองสามเสน ขนานไปกับเส้นทางรถไฟ ต่อมารัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีประกาศของกระทรวงนครบาล โดยเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นเสนาบดี ลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๒ ให้เปลี่ยนชื่อถนนรอบพระราชวังสวนดุสิตที่ได้ชื่อตามเครื่องลายครามจีน ๑๕ สาย หนึ่งในนั้นคือ ถนนสิ้ว ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น "ถนนสวรรคโลก" ตามพระนามของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี พระธิดาพระองค์หนึ่งในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถานที่สำคัญที่ถนนสวรรคโลกตัดผ่าน คือ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และสถานีรถไฟจิตรลดา อันเป็นสถานีรถไฟที่สร้างขึ้นสำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อมีการเสด็จฯ ทางรถไฟโดยเฉพาะ รวมถึงอาจใช้เป็นสถานที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะในบางโอกาส มีอาคารสถานีที่สร้างด้วยสถาปัตยกรรมที่สวยงาม.
ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)
นนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) (Thanon Sukhumvit 71 (Pridi Banomyong)) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสุขุมวิทที่ทางแยกสุขุมวิทในแขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา มุ่งไปทางทิศเหนือ เมื่อถึงปากซอยปรีดี พนมยงค์ 26 (พัฒนเวศม์) จึงเริ่มเป็นเส้นแบ่งพื้นที่การปกครองระหว่างแขวงพระโขนงเหนือกับแขวงคลองตันเหนือ จนกระทั่งผ่านปากซอยปรีดี พนมยงค์ 25 (เจริญมิตร) จึงเข้าแขวงคลองตันเหนือ ไปทางทิศเดิม ข้ามคลองตันเข้าพื้นที่แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง และไปสิ้นสุดที่ทางแยกคลองตัน ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนเพชรบุรี ถนนพัฒนาการ และถนนรามคำแหง ถนนนี้เดิมคือซอยสุขุมวิท 71 สร้างในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรบุรีและถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)
ถนนหลานหลวง
นนหลานหลวง (Thanon Lan Luang) ถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่มุ่งหน้าสู่ทิศตะวันออกเป็นเส้นตรง มีจุดเริ่มต้นที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ผ่านแยกผ่านฟ้าลีลาศ ผ่านถนนจักรพรรดิพงศ์ ที่แยกหลานหลวง จากนั้นตัดกับถนนพะเนียง และตัดกับถนนกรุงเกษมที่แยกสะพานขาว ข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่สะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ จากนั้นตัดกับถนนลูกหลวงที่เชิงสะพาน ก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกยมราช จุดตัดกับถนนเพชรบุรีและถนนสวรรคโลก ที่เขตดุสิต รวมระยะทางทั้งสิ้น 1,550 เมตร เดิมมีชื่อเรียกว่า "ถนนสนามควาย" หรือ "ถนนสนามกระบือ" เนื่องจากเมื่อแรกสถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี พื้นที่บริเวณนี้ถือเป็นเขตนอกพระนคร ใช้เป็นที่สำหรับเลี้ยงควายหลวง เรียกกันในสมัยนั้นว่า "สนามควาย" ต่อมาจึงเรียกให้ไพเราะขึ้นว่า "สนามกระบือ" ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองผดุงกรุงเกษมขึ้นเป็นคูเมืองชั้นนอก เป็นเหตุให้มีการขยายอาณาเขตพระนครออกไป สนามกระบือจึงมีความเจริญขึ้น เกิดมีเส้นทางสัญจรระหว่างชุมชน จึงเกิดชื่อเรียกถนนเส้นนี้ขึ้นตามนั้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ในราว..
ถนนอโศก-ดินแดง
สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินเพชรบุรี ถนนอโศก-ดินแดง (Thanon Asok – Din Daeng) เป็นถนนที่ต่อจากถนนอโศกมนตรีตั้งแต่ทางแยกอโศก-เพชรบุรี ไปจนถึงถนนดินแดงที่ทางแยกประชาสงเคราะห์ (โบสถ์แม่พระ) อยู่ในพื้นที่เขตราชเทวีและเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร และส่วนหนึ่งของถนนเส้นนี้เป็นของวงแหวนรัชดาภิเษก จากประวัติของโบสถ์แม่พระฟาติมา ถนนอโศก-ดินแดง สร้างขึ้นในปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรบุรีและถนนอโศก-ดินแดง
ถนนอโศกมนตรี
นนอโศกมนตรีช่วงที่ตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนสุขุมวิท (แยกอโศกมนตรี) ถนนอโศกมนตรี (Thanon Asok Montri) เป็นถนนสายสั้น ๆ ในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 1.3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกอโศกมนตรีซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนรัชดาภิเษก (ที่มุ่งหน้ามาจากเขตคลองเตย) มุ่งไปทางทิศเหนือในพื้นที่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา ข้ามคลองแสนแสบ เข้าพื้นที่แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี ไปสิ้นสุดที่แยกอโศก-เพชรบุรีซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนเพชรบุรี ปัจจุบันถนนเส้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวงแหวนรัชดาภิเษก และตรงไปเป็นถนนอโศก-ดินแดง ถนนอโศกมนตรีเดิมมีชื่อเรียกว่า "ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก)" และ "ถนนอโศก" โดยกรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนอโศกมนตรี เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.
ถนนเพชรบุรี
นนเพชรบุรีช่วงแยกประตูน้ำบริเวณหน้าห้างแพลทินัมแฟชันมอลล์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ช่วงหน้าโรงเรียนเซนต์ดอมินิก ถนนเพชรบุรี (Thanon Phetchaburi) เป็นเส้นทางจราจรสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.
ทางพิเศษศรีรัช
ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..
ดู ถนนเพชรบุรีและทางพิเศษศรีรัช
ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
ทางพิเศษเฉลิมมหานคร หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 เป็นทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย ก่อสร้างและเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..
ดู ถนนเพชรบุรีและทางพิเศษเฉลิมมหานคร
ทางรถไฟสายเหนือ
ทางรถไฟสายเหนือ หรือ ทางรถไฟสายชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่ แยกออกจากทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี ผ่านจังหวัดลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่ (อำเภอเด่นชัย อำเภอลอง) จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน และสุดปลายทางที่สถานีรถไฟเชียงใหม่ ตำบลวัดเกต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รวมระยะทาง 751 กิโลเมตร และที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา จะมีทางแยกไปยังสถานีรถไฟสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย รวมระยะทาง 457 กิโลเมตร (นับตั้งแต่สถานีรถไฟกรุงเทพ).
ดู ถนนเพชรบุรีและทางรถไฟสายเหนือ
คลองแสนแสบ
รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ.
แยกยมราช
แยกยมราช (Yommarat Intersection) เป็นสี่แยกในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนสวรรคโลก ถนนหลานหลวง ถนนพิษณุโลก และถนนเพชรบุรี เป็นแยกที่มีจุดตัดทางรถไฟสายเหนือ, สายตะวันออกและสายใต้และมีสะพานข้ามทางแยก ซึ่งห้ามรถจักรยานยนต์วิ่งข้าม รวมถึงยังเป็นทางขึ้นทางด่วนยมราช (บางโคล่, บางนา-ดาวคะนอง และ ดินแดง-ถนนพระราม 9 แจ้งวัฒนะ) left.
แยกราชเทวี
แยกราชเทวี (Ratchathewi Intersection) เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพญาไทและถนนเพชรบุรี แต่ดั้งเดิม ณ สถานที่นี้ เคยเป็นที่ตั้งของสะพานพระราชเทวี หรีอที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า สะพานราชเทวี อันเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กข้ามคลองประแจจีน บนฝั่งถนนพญาไทก่อนถึงถนนประแจจีน (ถนนเพชรบุรี) สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยพระราชทรัพย์ของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมายุครบ ๕๐ พรรษา ด้วยการบริจาคพระราชทรัพย์สร้างสะพาน และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามและทรงประกอบพระราชพิธีเปิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..
แยกวิทยุ-เพชรบุรี
แยกวิทยุ-เพชรบุรี (Witthayu-Phetchaburi Junction) เป็นสามแยกถนนวิทยุบรรจบถนนเพชรบุรี ใกล้ทางลงทางด่วนเพชรบุรีของทางพิเศษเฉลิมมหานคร ในพื้นที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ถือว่าเป็นจุดสิ้นสุดของถนนวิทยุ เมื่อปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรบุรีและแยกวิทยุ-เพชรบุรี
แยกอุรุพงษ์
แยกอุรุพงษ์ (Uruphong Intersection) เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนพระรามที่ 6 กับถนนเพชรบุรี โดยชื่อ "อุรุพงษ์" ที่ทางแยกรวมถึงถนนอุรุพงษ์ที่อยู่ใกล้เคียง เป็นชื่อที่มีที่มาจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช พระราชบุตรลำดับรองสุดท้ายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นพระราชบุตรที่ทรงโปรดมาก ซึ่งสิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังเยาว์วัยและตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระองค์ด้ว.
แยกประตูน้ำ
แยกประตูน้ำ (Pratu Nam Intersection) เป็นสี่แยกหนึ่งในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนเพชรบุรี ถนนราชดำริ และถนนราชปรารภ ตั้งอยู่ในบริเวณย่านการค้าประตูน้ำ และใกล้กับศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ (เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์) อันเป็นย่านธุรกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีการจราจรพลุกพล่านตลอดทั้งวัน นอกจากนี้แล้วยังเป็นที่ตั้งของท่าประตูน้ำ อันเป็นท่าเรือโดยสารคลองแสนแสบ ที่อยู่ใต้สะพานเฉลิมโลก 55 อันเป็นสะพานข้ามคลองแสนแสบอีกด้วย โดยชื่อ "ประตูน้ำ" มาจากประตูน้ำสระปทุมวัน หรือประตูน้ำวังสระปทุม ที่อยู่ในวังสระปทุมที่อยู่ใกล้เคียง อันเป็นประตูน้ำที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงเกษตราธิการสร้างขึ้นเมื่อปี..
แยกเพชรพระราม
แยกเพชรพระราม (Phet Phra Ram Junction) เป็นทางแยก ลักษณะเป็นสามแยกเชื่อมถนนบรรทัดทองเข้ากับถนนเพชรบุรี ในพื้นที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี อันเป็นสาขาหนึ่งของธนาคารไทยพาณิชย์ที่มีตัวอาคารที่เป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ด้านข้างเป็นเรือนปั้นหยา และเป็นอาคารอนุรักษ.
ดู ถนนเพชรบุรีและแยกเพชรพระราม
โรงเรียนมักกะสันพิทยา
รงเรียนมักกะสันพิทยา เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตการศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 ถือกำเนิดจาก โรงเรียนการรถไฟอนุกูลศึกษา ตั้งโดยกลุ่มพนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทยในปีพุทธศักราช 2502 ในระยะเริ่มแรกเปิดสอนตั้งแต่ชั้น ป.1 ถึง ป.7.
ดู ถนนเพชรบุรีและโรงเรียนมักกะสันพิทยา
โรงเรียนเซนต์ดอมินิก
รงเรียนเซนต์ดอมินิก ตั้งอยู่บนเลขที่ 1526 ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนเอกชนโรมันคาทอลิกชายล้วน ประเภทสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นโรงเรียนลำดับที่ 7 ในสังกัดคณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโกแห่งประเทศไท.
ดู ถนนเพชรบุรีและโรงเรียนเซนต์ดอมินิก
เหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ พ.ศ. 2533
ซากรถบรรทุกแก๊สหลังจากเพลิงสงบแล้ว เหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม..
ดู ถนนเพชรบุรีและเหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ พ.ศ. 2533
เขตราชเทวี
ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
เขตสวนหลวง
ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.
เขตห้วยขวาง
ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
เขตดุสิต
ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.
16 กุมภาพันธ์
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู ถนนเพชรบุรีและ16 กุมภาพันธ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่