โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แม่นางเทพสุดาสร้อยดาว

ดัชนี แม่นางเทพสุดาสร้อยดาว

แม่นางสร้อยดาว (မေဏင်သောဲဍာ; မေနှင်းသွယ်တာ, เหม่นิงเสว่ด่า; หรือ "မည်နှင်းသွယ်ဒါ", "Mi Hnin Thwe-Da") ในวรรณคดีเรื่อง "ราชาธิราช" เรียกว่านางเทพสุดาสร้อยดาว ส่วนคำให้การชาวกรุงเก่าเรียกนางสุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัย ต่อมาได้เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าฟ้ารั่ว ปฐมกษัตริย์แห่งเมืองเมาะตมะ ในระหว่างที่พระเจ้าฟ้ารั่ว (พระนามเดิม มะกะโท) รับราชการเป็นขุนวังที่สุโขทัย พระองค์ได้พาแม่นางเทพสุดาสร้อยดาวหนีออกจากสุโขทัยไปยังเมาะตะมะ เมื่อมะกะโทสามารถสังหารอลิมามาง เจ้าเมืองเมาะตะ พร้อมกับสถาปนาตนเป็นพระเจ้าฟ้ารั่ว ได้ตั้งนางเทพสุดาสร้อยดาวขึ้นเป็นพระอัครมเหสี และได้ประกาศอิรภาพจากอาณาจักรพุกามของชาวพม่า โดยได้รับการสนับสนุนจากพ่อขุนรามคำแหงPan Hla 2005: 24–25 การปฏิวัติประสบความสำเร็จ พระเจ้าฟ้ารั่วสามารถรวบรวมดินแดนของผู้ที่พูดภาษามอญและตั้งเป็นอาณาจักรหงสาวดี เมื่อประมาณ..

11 ความสัมพันธ์: พระเจ้าฟ้ารั่วพระเจ้าตราพระยาแห่งหงสาวดีพ่อขุนรามคำแหงมหาราชราชาธิราชอลิมามางอาณาจักรพุกามอาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรหงสาวดีคำให้การชาวกรุงเก่าแม่นางสินทยาเมาะตะมะ

พระเจ้าฟ้ารั่ว

ระเจ้าฟ้ารั่ว (ဝါရီရူး,; 20 มีนาคม 1253 – ประมาณ 14 มกราคม 1307) เป็นปฐมกษัตริย์ในเมืองเมาะตะมะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตประเทศพม่า ทรงครองราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและพระเจ้าฟ้ารั่ว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตราพระยาแห่งหงสาวดี

ระเจ้าตราพระยาแห่งหงสาวดี (တယာဖျာ; ပဲခူး တရဖျား) กษัตริย์แห่ง หงสาวดี ซึ่งมาจากการตั้งตนครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและพระเจ้าตราพระยาแห่งหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841 พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของไทยที่ได้รับการยกย่องเป็น "มหาราช" ด้วยทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเป็นปึกแผ่นกว้างขวาง ทั้งยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น ทำให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ สืบทอดกันมากว่าเจ็ดร้อยปี:3.

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและพ่อขุนรามคำแหงมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิราช

ราชาธิราช หรือชื่อในภาษาพม่า ยาซาดะริต อเยดอว์บอง (ရာဇာဓိရာဇ် အရေးတော်ပုံ) เป็นชื่อของพงศาวดารพม่า ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยประวัติศาสตร์ของอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญตั้งแต่ พ.ศ. 1830 ถึง พ.ศ. 1964 รายละเอียดภายในตัวพงศาวดารประกอบด้วยเรื่องราวของความขัดแย้งภายในราชสำนัก การกบฏ เรื่องราวทางการทูต การสงคราม เป็นต้น เนื้อหาประมาณกึ่งหนึ่งของเรื่องอุทิศพื้นที่ให้กับรัชกาลของพระเจ้าราชาธิราช โดยลงลึกในรายละเอียดของ สงครามสี่สิบปี ระหว่างอาณาจักรหงสาวดีของมอญ กับอาณาจักรอังวะของพม่า ภายใต้การนำของพระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง และอุปราชมังกะยอชวาThaw Kaung 2010: 29–30 ต้นฉบับของเรื่องราชาธิราชฉบับภาษาพม่ามาจากพงศาวดารภาษามอญเรื่อง "พงศาวดารกรุงหงสาวดี" ("Hanthawaddy Chronicle") และได้รับการแปลเป็นภาษาพม่าโดยพญาทะละ เสนาบดีและกวีชาวมอญซึ่งรับราชการในอาณาจักรพม่าสมัยราชวงศ์ตองอู นับได้ว่าเป็นเอกสารเกี่ยวกับชาวมอญในดินแดนพม่าตอนล่างที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่หลงเหลืออยู่Aung-Thwin 2005: 133–135 และอาจเป็นพงศาวดารมอญเพียงฉบับเดียวที่เหลือรอดจากการเผาทำลายเมืองพะโค (หงสาวดี) โดยกบฏชาวมอญภายใต้การนำของอดีตขุนนางในอาณาจักรหงสาวดีในปี พ.ศ. 2107Harvey 1925: xviii สำเนาใบลานของเรื่องราชาธิราชฉบับพญาทะละปัจจุบันเหลือรอดมาเพียง 4 ชุด สันนิษฐานว่าทำขึ้นในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 23 (คริสต์ศตวรรษที่ 18) นอกจากนี้ยังมีฉบับแปลฉบับอื่นๆ อยู่อีก รวมทั้งสิ้น 9 ฉบับ ตามการวิเคราะห์โดยนายปันหละเมื่อปี พ.ศ. 2511 นายปันหละได้แปลราชาธิราชฉบับหนึ่งกลับเป็นภาษามอญเมื่อปี พ.ศ. 2501 และเรียบเรียงเรื่องราชาธิราชขึ้นใหม่อีก 1 ฉบับเป็นภาษาพม่า (นับเป็นราชาธิราชฉบับที่ 10) โดยสังเคราะห์ข้อมูลจากราชาธิราชฉบับพญาทละ ฉบับ "ปากลัด" และบันทึกจากพงศาวดารพม่าฉบับหอแก้ว (มานนานยาซะเวง) รวมทั้งอาศัยข้อมูลเพิ่มเติมจากการวิจัยสมัยใหม่Pan Hla 1968: 3–4.

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

อลิมามาง

อลิมามาง (အလိမ္မာ) เจ้าเมืองเมาะตะมะใน พม่าตอนล่าง ของ อาณาจักรพุกาม ระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและอลิมามาง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพุกาม

อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและอาณาจักรพุกาม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหงสาวดี

อาณาจักรหงสาวดี (ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်;,; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต..

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและอาณาจักรหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

แม่นางสินทยา

พระนางสินทยา (မေနှင်းသိန်ဒျာ) หรือในพงศาวดารมอญเรียก พระนางเมนินเธียนดยา พระมเหสีใน พระเจ้าตราพระยา แห่งหงสาวดี พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวใน พระเจ้าฟ้ารั่ว ปฐมกษัตริย์แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ที่ประสูติแต่ แม่นางเทพสุดาสร้อยดาว ทำให้พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาใน พ่อขุนรามคำแหงมหาราช กษัตริย์พระองค์ที่ 3 แห่ง อาณาจักรสุโขทัย หมวดหมู่:ราชวงศ์หงสาวดี.

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและแม่นางสินทยา · ดูเพิ่มเติม »

เมาะตะมะ

เมาะตะมะ (မုတ္တမမြို့; Mottama) เดิมชื่อ มะตะบัน เป็นเมืองเล็ก ๆ ในรัฐมอญ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งเหนือของแม่น้ำสาละวิน เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดี ในช่วงศตวรรษที่ 13-14 เมืองนี้ในอดีต มีความสำคัญที่ พม่าใช้รวมพลเตรียมทัพจัดขบวน ก่อนจะข้ามลำน้ำสาละวิน ด่านเจดีย์สามองค์ แล้วแบ่งกองกำลัง เพื่อเข้ามาทำสงครามตีเมืองต่างๆ เช่น อยุธยา, ธนบุรี ฯลฯ ในสยาม หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐมอญ.

ใหม่!!: แม่นางเทพสุดาสร้อยดาวและเมาะตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

May Hnin Thwe-Daนางเทพสุดาสร้อยดาว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »