โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ดัชนี แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพัน..

9 ความสัมพันธ์: มาตราขนาดโมเมนต์มาตราเมร์กัลลีสถานการณ์ฉุกเฉินประเทศนิวซีแลนด์แมกนิจูดไครสต์เชิร์ชเกาะใต้เกาะเหนือเวลาสากลเชิงพิกัด

มาตราขนาดโมเมนต์

มาตราขนาดโมเมนต์ (moment magnitude scale; MMS, Mw) เป็นหน่วยที่นักวิทยาแผ่นดินไหวใช้เพื่อวัดขนาดของแผ่นดินไหวในแง่ของพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา แมกนิจูดนั้นขึ้นอยู่กับโมเมนต์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น ซึ่งเท่ากับความคงรูปของโลกคูณกับค่าเฉลี่ยของการเลื่อนบนรอยแยกและขนาดของพื้นที่ที่เลื่อน มาตราดังกล่าวได้รับการพัฒนาขึ้นมาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่อใช้แทนมาตราริกเตอร์ ซึ่งใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 แม้ว่าสูตรในการคำนวณจะต่างกัน แต่มาตราใหม่นี้ยังคงให้ค่าแมกนิจูดที่ใกล้เคียงตามที่จำกัดความไว้โดยมาตราริกเตอร์เดิม มาตราโมเมนต์แมกนิจูดนี้ใช้เพื่อประเมินแมกนิจูดสำหรับแผ่นดินไหวขนาดใหญ่สมัยใหม่ทั้งหมดโดยสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และมาตราขนาดโมเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มาตราเมร์กัลลี

มาตราเมร์กัลลี (Mercalli scale) เป็นมาตราสำหรับใช้กำหนดขั้นความรุนแรงของแผ่นดินไหว คิดค้นโดยจูเซปเป เมร์กัลลี (Giuseppe Mercalli) ผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวชาวอิตาลี เมื่อ พ.ศ. 2445 โดยแบ่งไว้ 10 อันดับ ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 แฮร์รี โอ.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และมาตราเมร์กัลลี · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แมกนิจูด

แมกนิจูด หรือ ความส่องสว่าง (magnitude) เป็นมาตราวัดระดับ อาจหมายถึง; แผ่นดินไหว.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และแมกนิจูด · ดูเพิ่มเติม »

ไครสต์เชิร์ช

center ไครสต์เชิร์ช เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะใต้ ประเทศนิวซีแลนด์ และเป็นชุมชนเมืองที่เป็นที่นิยมเป็นอันดับ 3 ของนิวซีแลนด์ ไครสต์เชิร์ชเป็นหนึ่งในสามเมืองที่อยู่ตั้งอยู่ชายฝั่งตะวันออกของเกาะใต้ ทางเหนือฝั่งน่านน้ำเพนนินซูล่า ตั้งแต่ปี 2006 บริเวณเขตนี้อยู่ใต้เขตการปกครองของเมืองไครสต์เชิร์ช จากการสำรวจสำมะโนประชากรเมืองไครสต์เชิร์ช ณ วันที่ 5 มีนาคม ปี 2013 มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 341,469 คน ชื่อเมืองไครสต์เชิร์ช ถูกตั้งขึ้นโดยสมาคมแคนเทอเบอรี่ (ตั้งอยู่บริเวณรอบเมืองแคนเทอเบอรี่) ชื่อเมืองนี้เป็นที่ยอมรับจากการประชุมสมาคมครั้งแรกในวันที่ 27 มีนาคม 1848 โดยการแนะนำจาก นายจอห์น โรเบิร์ต ก๊อตเร่ ผู้ที่เคยเข้าโบสถ์คริสต์ เมืองออกซ์ฟอร์ด ช่วงแรกนักเขียนบางท่าน เรียกเมืองนี้ว่า เมืองโบสต์คริสต์(Christ Church) แต่หลังจากมีการประชุมกรรมการสมาคมได้กำหนดให้เมืองนี้ ชื่อว่า เมืองไครสต์เชิร์ช(Christchurch) และเมืองไครสต์เชิร์ชได้ตั้งเป็นเมืองโดยมีพระราชกำหนด กำหนดตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 1856 อย่างเป็นทางการซึ่งถือว่าเมืองนี้เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในนิวซีแลนด์ แม่น้ำที่ไหลผ่านใจกลางเมือง(แหล่งน้ำขนาดใหญ่จากสวนสาธารณะในเมือง) ชื่อว่า เอวอน ตั้งชื่อตามพี่น้องคณบดีผู้บุกเบิกเพื่อระลึกถึงสก็อตติส เอวอน ผู้ที่ทำให้เกิดทางน้ำไหลผ่านภูเขาแอร์ไชร์ใกล้กับฟาร์มของบรรพบุรุษของเขา และทางน้ำไหลผ่านสู่เครส์(The Clyde แม่น้ำทางฝั่งตะวันออกของสก็อตแลนด์) ชื่อ เมารี สำหรับเมืองไครสต์เชิร์ช คือ โอเท๊าทาหิ - Ōtautahi ("สถานที่ของเท๊าทาหิ - Tautahi") จุดกำเนิดของชื่อสถานที่นี้มาจากแม่น้ำเอวอน ใกล้ถนนคิลมอลล์ และ สถานีดับเพลิงไครสต์เชิร์ช สถานที่นี้เป็นที่อยู่อาศัยของ Ngāi Tahu หัวหน้า Te Potiki Tautahi เจ้าของบ้านท่าน้ำเลฝวี่(Port Levy) ฝั่งน้ำเพนซิลซูล่า โอเท๊าทาหิ - Ōtautahi เป็นชื่อที่นำมาใช้ในปี 1930 ก่อนที่ Ngāi Tahu จะเรียกดินแดนไครสต์เชิร์สว่า คารายเทียน่า (Karaitiana) คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษของชาวคริสเตียน ชื่อย่อของเมืองที่ชาวนิวซีแลนด์มักเรียก คือ เชิร์ช (Chch) สำหรับสัญลักษณ์ทางภาษาของนิวซีแลนด์* ชื่อเมืองจะแสดงสัญลักษณ์มือ เป็นรูปตัวซี (C) สองครั้ง โดยการแสดงสัญลักษณ์ครั้งที่สองนับจากทางขวาของตัวแรก และในขณะเดียวกัน ก็สื่อสารด้วยการขยับปากว่า "ไครสต์เชิร์ช" *สัญลักษณ์ทางภาษาของนิวซีแลนด์ (New Zealand Sign Language หรือ NZSL) คือ ภาษาหลักที่ใช้ในสังคมคนพิการทางหู ของประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และไครสต์เชิร์ช · ดูเพิ่มเติม »

เกาะใต้

กาะใต้ หรือ เซาท์ไอแลนด์ (South Island) เป็นเกาะในประเทศนิวซีแลนด์ เป็นหนึ่งใน 2 เกาะใหญ่ของประเทศ เป็นเกาะใหญ่ที่สุดในประเทศ แบ่งกับเกาะเหนือโดยช่องแคบคุก มีพื้นที่ 151,215 ตร.กม.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และเกาะใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเหนือ

กาะเหนือ หรือ นอร์ทไอแลนด์ (North Island) เป็นหนึ่งใน 2 เกาะสำคัญของประเทศนิวซีแลนด์ แบ่งกับเกาะใต้ด้วยช่องแคบคุก เกาะมีพื้นที่ 113,729 ตร.กม.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และเกาะเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554และเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช พ.ศ. 2554

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »