โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ดัชนี แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis” แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559 เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ พระโอรสผู้อ่อนแอทั้งสามพระองค์ของแคทเธอรีนทรงปกครองฝรั่งเศสในขณะที่บ้านเมืองระส่ำระสายจากการก่อความไม่สงบต่างที่เกิดขึ้นจากสงครามกลางเมืองและสงครามศาสนา ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นมิได้อยู่ในความควบคุมของระบบพระมหากษัตริย์และเป็นปัญหาที่ใหญ่แม้แต่สำหรับพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจ เมื่อแรกเริ่มแคทเธอรีนก็พยายามประนีประนอมกับฝ่ายอูเกอโนท์ (Huguenots) หรือชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เมื่อมีการจลาจลเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ทรงเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงปัญหาความขัดแย้งทางปรัชญาทางคริสต์ศาสนวิทยาและสาเหตุของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งทำให้พระองค์ไม่มีพระอุตสาหะพอที่จะพยายามแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างสันติ และทรงใช้ไม้แข็งในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบ พระองค์จึงทรงถูกประณามในเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว ในปี ค.ศ. 1572 ซึ่งเป็นผลให้อูเกอโนท์ถูกสังหารอย่างทารุณทั้งในปารีสและทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าในปารีสเองมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 คนและอีกประมาณ 5,000-10,000 คนในบริเวณอื่นทั่วฝรั่งเศส หลังจากนั้นก็มีเรื่องสยดสยองต่างๆ จากเหตุการณ์ในเอกสารที่แจกจ่ายกันในสมัยนั้นซึ่งเป็นต้นกำเนิด “ตำนานมืด” (The Black Legend) ของ “พระราชินีผู้ชั่วร้าย” จากปากเสียงของผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงถูกประณามว่าเป็น “Machiavellian Renaissance prince” ผู้ป้อนความกระหายอำนาจด้วยการอาชญากรรม, การวางยาพิษ และบางทีก็ถึงกับใช้อำนาจเวทมนตร์ “อากริพพา โดบินย์” (Agrippa d'Aubigné) กวีอูเกอโนท์ถึงกับขนานพระนามพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “เชี้อโรคจากฟลอเรนซ์” (Florentine plague) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์จูลส์ มิเชลเลท์ (Jules Michelet) บรรยายพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “หนอนที่หลุดออกมาจากหลุมศพของอิตาลี” นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันให้เหตุผลสนับสนุนการใช้อำนาจอันเกินควรของพระราชินีนาถแคทเธอรีน แต่อาร์ เจ เนคช (R. J. Knecht) กล่าวว่าความทารุณของพระราชินีนาถแคทเธอรีนจะเห็นได้จากจดหมายที่ทรงเขียน นิโคลา ซัทเธอร์แลนด์ (Nicola Sutherland) กล่าวเตือนถึงความเกินเลยในการบรรยายอำนาจของพระองค์ว่าแทนที่จะเป็นภาพพจน์ที่ทรงปกครองอย่างมั่นคง พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงต้องต่อสู้กับความไม่สงบต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแทบไม่มีทางชนะ นโยบายการปกครองของพระองค์จึงเป็นนโยบายของความอยู่รอดของราชวงศ์วาลัวส์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดใด จึงอาจจะกล่าวได้ว่าถ้าไม่มีพระราชินีนาถแคทเธอรีนพระโอรสทั้งสามพระองค์ก็คงไม่ทรงสามารถปกครองฝรั่งเศสด้วยพระองค์เองได้ ระยะการปกครองระหว่างพระโอรสทั้งสามเรียกว่า “สมัยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ” (The Age of Catherine de' Medici).

167 ความสัมพันธ์: บัลเลต์ฟรันเชสโก ปรีมาติชโชฟร็องซัว ดยุกแห่งอ็องฌูฟลอเรนซ์พ.ศ. 2062พ.ศ. 2063พ.ศ. 2064พ.ศ. 2065พ.ศ. 2066พ.ศ. 2070พ.ศ. 2072พ.ศ. 2073พ.ศ. 2074พ.ศ. 2076พ.ศ. 2077พ.ศ. 2079พ.ศ. 2080พ.ศ. 2081พ.ศ. 2087พ.ศ. 2090พ.ศ. 2092พ.ศ. 2093พ.ศ. 2094พ.ศ. 2098พ.ศ. 2099พ.ศ. 2100พ.ศ. 2101พ.ศ. 2102พ.ศ. 2103พ.ศ. 2104พ.ศ. 2105พ.ศ. 2106พ.ศ. 2107พ.ศ. 2108พ.ศ. 2110พ.ศ. 2111พ.ศ. 2113พ.ศ. 2115พ.ศ. 2116พ.ศ. 2118พ.ศ. 2119พ.ศ. 2121พ.ศ. 2122พ.ศ. 2124พ.ศ. 2125พ.ศ. 2127พ.ศ. 2128พ.ศ. 2129พ.ศ. 2130พ.ศ. 2131...พ.ศ. 2132พ.ศ. 2137พ.ศ. 2142พ.ศ. 2153พ.ศ. 2336พรมผนังพระราชกฤษฎีกาอ็องบวซพระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็งพระราชวังบลัวพระราชวังฟงแตนโบลพระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์พงศาวดารกฎหมายแซลิกกัสปาร์ เดอ กอลีญีการสังหารหมู่การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวการแต่งงานโดยฉันทะกีตาร์ภาพเหมือนภาษาอังกฤษมหาวิหารแซ็ง-เดอนีมาร์แซย์มาร์เกอริตแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์วาลัวราชอาณาจักรสกอตแลนด์รายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิวัณโรควังเชอนงโซสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 7สี่สิบห้าองครักษ์สถาปัตยกรรมสงครามกลางเมืองสงครามศาสนาของฝรั่งเศสสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559)หลุยส์แห่งลอแรน-โวเดมง สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสอาร์มาดาสเปนอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสอุปมานิทัศน์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จริตนิยมจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงตะโกซิฟิลิสประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประเทศฝรั่งเศสประเทศอิตาลีปรัมปราวิทยาปารีสนิกโกเลาะ มาเกียเวลลีนิโคลัส ฮิลเลียร์ดโกลด สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสโรมโรมันคาทอลิกโดแฟ็งแห่งฝรั่งเศสโปรเตสแตนต์เมดีชีเยื่อหุ้มปอดอักเสบเวนิสเอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสเอเลนอร์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสเจ้าชายสืบสายพระโลหิตเทววิทยาศาสนาคริสต์เทนนิสเนรัก1 มกราคม1 มีนาคม10 กรกฎาคม12 พฤษภาคม12 สิงหาคม13 ตุลาคม13 เมษายน15 มิถุนายน17 สิงหาคม18 กุมภาพันธ์18 มีนาคม18 สิงหาคม19 กันยายน19 มีนาคม20 มกราคม20 สิงหาคม22 มิถุนายน22 มีนาคม23 มีนาคม23 สิงหาคม23 ธันวาคม25 พฤศจิกายน27 กันยายน27 มิถุนายน28 ตุลาคม28 เมษายน4 พฤษภาคม5 มกราคม5 ธันวาคม6 พฤษภาคม7 กรกฎาคม8 กันยายน8 สิงหาคม ขยายดัชนี (117 มากกว่า) »

บัลเลต์

Classical bell tutus in ''The Dance Class'' by Degas, 1874 บัลเลต์ บัลเลต์ (ballet) หมายถึง การแสดงที่ประกอบด้วยการเต้น และ ดนตรีมีลักษณะเช่นเดียวกับอุปรากร เพียงแต่บัลเลต์เป็นการนำเสนอเนื้อเรื่อง โดยใช้การเต้นเป็นสื่อ มีกำเนิดขึ้นในระหว่างศตวรรษที่ 15 ที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ได้แพร่หลายเข้าไปในประเทศอิตาลี การพัฒนาในยุคนี้คือ นิยมให้ผู้หญิงเป็นผู้แสดงเอก เรียกว่า บัลเลรินา (Ballerina) ศตวรรษที่ 20 บัลเลต์ได้รับการพัฒนาให้มีรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โมเดิร์นแดนซ์ (Modern Dance) คือ การนำเอาหลักของบัลเลต์มาผสมผสานดัดแปลงให้เป็นการเต้น โดยไม่ต้องใส่รองเท้าบัลเลต์และไม่ต้องใช้ปลายเท้าในลักษณะของบัลเลต์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการประพันธ์เพลงบัลเลต์ ได้แก่ ไชคอฟสกี โปรโกเฟียฟ คอปแลนด์ และฟัล.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและบัลเลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันเชสโก ปรีมาติชโช

ฟรันเชสโก ปรีมาติชโช (Francesco Primaticcio) (30 เมษายน ค.ศ. 1504 - ค.ศ. 1570) เป็นจิตรกร, ประติมากร และ สถาปนิกชาวอิตาลีแบบแมนเนอริสม์ของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ในฝรั่ง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและฟรันเชสโก ปรีมาติชโช · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ดยุกแห่งอ็องฌู

ฟรองซัวส์ ดยุกแห่งอองชู (François, Duke of Anjou หรือ Hercule François, Duke of Anjou และ Counts and dukes of Alençon) (18 มีนาคม ค.ศ. 1555 - 19 มิถุนายน ค.ศ. 1584) ฟรองซัวส์ ดยุกแห่งอองชูมีชื่อเต็มว่า "แอร์คูล ฟรองซัวส์ ดยุกแห่งอองชู และเคานท์และดยุกแห่งอลองซง" เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ ฟรองซัวส์ ดยุกแห่งอองชูเป็นเด็กที่น่ารักแต่น่าเสียดายที่มีแผลเป็นจากฝีดาษเมื่ออายุได้ 8 ปี และกระดูกสันหลังที่ไม่ไคร่ปกติที่ไม่เหมาะสมกับชื่อ "แอร์คูล" ที่ทำให้เปลี่ยนชื่อเป็น "ฟรองซัวส์" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเชษฐาพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1560 ในปี ค.ศ. 1574 เมื่อพระเชษฐาองค์ต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสเสด็จสวรรคตและพระเชษฐาพระเจ้าอองรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศสขึ้นครองราชย์ ฟรองซัวส์ก็กลายเป็นทายาทแห่งราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1576 ฟรองซัวส์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น ดยุกแห่งอองชู, ตูแรน และแบร์รี ในปี ค.ศ. 1576 ฟรองซัวส์ทำการเจรจากต่อรองข้อตกลงในพระราชกฤษฎีกาบิวลี (Edict of Beaulieu)ระหว่างสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1579 ก็ได้รับเชิญให้เป็นประมุขสืบสาย (hereditary sovereign) ของสหจังหวัดแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและฟร็องซัว ดยุกแห่งอ็องฌู · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2062

ทธศักราช 2062 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2062 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2063

ทธศักราช 2063 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2063 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2064

ทธศักราช 2064 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2064 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2065

ทธศักราช 2065 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2065 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2066

ทธศักราช 2066 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2066 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2070

ทธศักราช 2070 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2070 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2072

ทธศักราช 2072 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2072 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2073

ทธศักราช 2073 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2073 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2074

ทธศักราช 2074 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2074 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2076

ทธศักราช 2076 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2076 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2077

ทธศักราช 2077 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2077 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2079

ทธศักราช 2079 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2079 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2080

ทธศักราช 2080 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2080 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2081

ทธศักราช 2081 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2081 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2087

ทธศักราช 2087 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2087 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2090

ทธศักราช 2090 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2090 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2092

ทธศักราช 2092 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2092 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2093

ทธศักราช 2093 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2093 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2094

ทธศักราช 2094 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2094 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2098

ทธศักราช 2098 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2098 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2099

ทธศักราช 2099 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2099 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2100

ทธศักราช 2100 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2100 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2101

ทธศักราช 2101 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2101 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2102

ทธศักราช 2102 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2102 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2103

ทธศักราช 2103 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2103 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2104

ทธศักราช 2104 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2104 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2105

ทธศักราช 2105 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2105 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2106

ทธศักราช 2106 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2106 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2107

ทธศักราช 2107 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2107 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2108

ทธศักราช 2108 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2108 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2110

ทธศักราช 2110 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2110 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2111

ทธศักราช 2111 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2111 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2113

ทธศักราช 2113 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2113 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2115

ทธศักราช 2115 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2115 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2116

ทธศักราช 2116 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2116 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2118

ทธศักราช 2118 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2118 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2119

ทธศักราช 2119 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2119 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2121

ทธศักราช 2121 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2121 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2122

ทธศักราช 2122 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2122 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2124

ทธศักราช 2124 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2124 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2125

ทธศักราช 2125 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2125 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2127

ทธศักราช 2127 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2127 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2128

ทธศักราช 2128 ตรงหรือใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2128 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2129

ทธศักราช 2129 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2129 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2130

ทธศักราช 2130 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2130 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2131

ทธศักราช 2131 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2131 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2132

ทธศักราช 2132 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2132 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2137

ทธศักราช 2137 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2137 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2142

ทธศักราช 2142 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2142 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2153

ทธศักราช 2153 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2153 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนัง

การแขวนพรมบนผนังโกบลินที่วังลินเดอร์โฮฟ ราวปี ค.ศ. 1900 พรมผนัง หรือ พรมแขวนผนัง (tapestry) เป็นงานศิลปะสิ่งทอ ซึ่งทอด้วยมือบนกี่ตั้งที่เส้นด้ายพุ่งซ่อนเส้นด้ายยืนหมดเมื่อทำเสร็จ ซึ่งต่างจากการทอผ้า อาจเห็นทั้งด้ายเส้นยืนและเส้นพุ่ง การทำเช่นนี้ทำให้เกิดลวดลายหรือภาพ ผู้ทอมักจะใช้ด้ายยืนที่ทำจากลินินหรือฝ้าย ส่วนด้ายพุ่งอาจจะเป็นขนแกะ, ฝ้าย หรือไหม หรือบางครั้งก็ใช้ด้ายที่ทำจากทอง, เงิน หรือวัสดุอื่นๆ ด้วย ทั้งช่างและศิลปินเป็นผู้สร้างงานพรมทอ ก่อนอื่นศิลปินจะร่างแบบ ที่เรียกกันว่า “tapestry cartoon” เพื่อให้ช่างทอตามแบบที่ร่าง ห้วเรื่องที่ทอก็อาจจะมาจากคัมภีร์ไบเบิล, ตำนานเทพ หรือฉากล่าสัตว์ ซึ่งจะเป็นที่นิยมทำกันในการตกแต่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพรมผนัง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ

ระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ ค.ศ. 1563 พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ (Edict of Amboise) ที่ลงนามกันที่พระราชวังอ็องบวซเมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 1563 โดยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิผู้ขณะนั้นทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระราชโอรสพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 เป็นพระราชกฤษฎีกาเพื่อการยุติช่วงแรกของสงครามศาสนาของฝรั่งเศส และนำราชอาณาจักรกลับมาสู่สันติสุขโดยการรับรองเสรีภาพและอภิสิทธิ์ในการนับถือศาสนาแก่ประชากรผู้เป็นโปรเตสแตนต์หรือที่เรียกว่าอูเกอโนต์ แม้ว่าจะเป็นพระราชกฤษฎีกาที่มีเนื้อหาที่จำกัดกว่าพระราชกฤษฎีกาแซ็ง-แฌร์แม็งที่ลงนามกันในปีก่อนหน้านั้น แต่ก็ยังอนุญาตให้มีการทำพิธีศาสนาแบบโปรเตสแตนต์ภายในที่อยู่อาศัยส่วนบุคคลของขุนนาง และในปริมณฑลของเมืองที่ระบุภายใน "baillage" หรือ "sénéchaussée" ราชสภาแห่งปารีสผู้ขับสมาชิกผู้เป็นอูเกอโนต์ออกจากสภาต่อต้านการลงทะเบียนของพระราชกฤษฎีกาเช่นเดียวกับสภาการปกครองท้องถิ่น แต่ก็ได้ยินยอมหลังจากที่มีการประท้วง แต่เพิ่มข้อแม้ในพระราชกฤษฎีกามิให้มีผลบังคับตามเนื้อหาอย่างเต็มที่จนกว่าพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 จะทรงบรรลุนิติภาวะ เมื่อสภาแห่งชาติมีโอกาสที่จะตัดสินกรณีที่เกี่ยวกับข้อขัดแย้งทางศาสนา เมื่อพระเจ้าชาร์ลส์ทรงประกาศการบรรลุนิติภาวะของพระองค์เมื่อมีพระชนมายุได้ 14 พรรษาเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1563 พระองค์ก็ทรงเลือกรัฐบาลท้องถิ่นแห่งรูอ็องให้เป็นสถานที่สำหรับ "lit de justice" หรือ "การออกพระราชกฤษฎีกา" แทนปารีสที่ทำกันตามปกติ ในขณะเดียวกันก็ทรงออกพระราชกฤษฎีกาฉบับสมบูรณ์แทนฉบับย่อที่บังคับใช้กันก่อนหน้านั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง

การสังหารหมู่ที่วาสซี (Massacre of Vassy) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1562 พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง หรือ พระราชกฤษฎีกาแห่งเดือนมกราคม (Edict of Saint-Germain หรือ Edict of January) เป็นพระราชกฤษฎีกาให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา (Edict of toleration) ที่ออกโดยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิผู้ขณะนั้นทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระราชโอรสพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1562 ที่มอบสิทธิอันจำกัดแก่ผู้เป็นโปรเตสแตนต์ในราชอาณาจักรที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นโรมันคาทอลิกโดยเฉพาะแก่ชาวฝรั่งเศสอูเกอโนต์ การออกพระราชกฤษฎีกาเป็นกิจการแรกที่สมเด็จพระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงกระทำเป็นสิ่งแรกในฐานะผู้สำเร็จราชการแผ่นดินหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชโอรส--พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 การออกพระราชกฤษฎีกาเป็นไปตามนโยบายของพระองค์ในการพยายามดำเนินทางสายกลางระหว่างฝ่ายโปรเตสแตนต์และฝ่ายโรมันคาทอลิกเพื่อสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่ราชบัลลังก์ โดยไม่ได้กระทบกระเทือนฐานะของสถาบันโรมันคาทอลิกในฝรั่งเศสพระราชกฤษฎีกายอมรับฐานะของผู้เป็นโปรเตสแตนต์และรับรองเสรีภาพในการนับถือศาสนาเป็นการส่วนตัว แต่ห้ามทำการสักการะในตัวเมืองยกเว้นการจัดการประชุมของนักบวช (Synod) และการมาชุมนุมกัน (Consistory) การผ่านพระราชกฤษฎีกาเป็นไปด้วยความยากลำบากเพราะต้องผ่านการอนุมัติของรัฐสภาฝรั่งเศสจึงจะประกาศเป็นกฎหมายได้ สมาชิกของรัฐสภามีสิทธิที่จะร้องเรียนต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ถึงสาเหตุที่ร่างพระราชกฤษฎีกาขัดกับพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ถือเป็นกฎหมายแล้ว ก่อนที่จะได้รับการตีพิมพ์ ฝ่ายรัฐสภาก็พยายามหน่วงเหนี่ยวต่างๆ หลังจากการประกาศใช้แล้วเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่วาสซี (Massacre of Vassy) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบลัว

ระราชวังบลัว (Château de Blois) เป็นวังที่ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำลัวร์ในเมืองบลัวในจังหวัดลัวเรแชร์ ประเทศฝรั่งเศส พระราชวังบลัวเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ที่รวมทั้งพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 และเป็นสถานที่ที่นักบุญโยนออฟอาร์คเดินทางไปรับพรจากอาร์ชบิชอปแห่งแร็งส์ในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระราชวังบลัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังฟงแตนโบล

ระราชวังฟงแตนโบล (Palace of Fontainebleau, Château de Fontainebleau) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ราว 55 กิโลเมตรจากศูนย์กลางของกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส ที่เป็นพระราชวังหลวงที่ใหญ่ที่สุดพระราชวังหนึ่งของฝรั่งเศส สิ่งก่อสร้างที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นงานที่สร้างขึ้นและต่อเติมเปลี่ยนแปลงโดยพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ ส่วนที่ก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นส่วนที่สร้างโดยพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 “พระราชวังฟงแตนโบล” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระราชวังฟงแตนโบล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส (Charles IX of France) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1550 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 พระเจ้าชาร์ลที่ 9 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1550 ที่พระราชวังแซงต์-แชร์แม็ง-ออง-เลย์ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ ทรงเสกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย และมีพระราชธิดาพระองค์เดียวกับเอลิซาเบธมารี เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ พระเจ้าชาร์ลทระเป็นพระอนุชาของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 และเป็นพระเชษฐาของพระเจ้าอองรีที่ 3 และมาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (François Ier) (12 กันยายน ค.ศ. 1494 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1547) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ ค.ศ. 1515 ถึงค.ศ. 1547 พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์ พระองค์แรกของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่ง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (Francis II of France) (19 มกราคม ค.ศ. 1544 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1544 ที่วังฟองแตนโบลในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เม.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Henry II of France) (31 มีนาคม ค.ศ. 1519- 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าอองรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส (Henry III of France) (19 กันยายน ค.ศ. 1551 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1589) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1589 พระเจ้าอองรีที่ 3 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 19 กันยายน ค.ศ. 1551 ที่พระราชวังฟงแตนโบลในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ ทรงได้รับพระนามเมื่อเสด็จพระราชสมภพว่า “Alexandre-Édouard de Valois-Angoulême” ก่อนที่จะเสด็จขึ้นครองราชย์พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียระหว่างปี ค.ศ. 1573 ถึงปี ค.ศ. 1574 โดยมีข้อแม้ว่าต้องทรงลงพระนามใน “Pacta conventa” ที่สัญญาว่าจะทรงมีความผ่อนผันต่อผู้นับถือศาสนาต่างๆ ในเครือจักรภพ พระเจ้าอองรีเป็นพระอนุชาของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 และพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส และเป็นพระเชษฐาของมาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส พระเจ้าอองรีทรงเสกสมรสกับหลุยส์แห่งลอร์แรน-โวเดมองท์เมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ. 1572 - ค.ศ. 1610) และพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์บูร์บงพระองค์แรก (ค.ศ. 1589 - ค.ศ. 1610) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2096 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์นาวาร์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธมีคม หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์

ระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์ (James V of Scotland) เป็นกษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ. 2336 (ค.ศ. 1793) มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยราชวงศ์กาเปเซียง ตัวอาคารเดิมเคยเป็นพระราชวังหลวง ซึ่งปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จัดแสดงและเก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรงคุณค่าระดับโลกเป็นจำนวนมากกว่า 35,000 ชิ้น จากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ภาพเขียนโมนาลิซา, The Virgin and Child with St.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

พงศาวดาร

งศาวดาร คือบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น ๆ พงศาวดารในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีการถกเถียงกันเรื่องความน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เป็นหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานชั้นรอง เพราะมีการเขียนพงศาวดารหลายฉบับในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในเนื้อหาและรายละเอียด ประกอบกับการใช้ศักราชในพงศาวดารไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ บ้างใช้มหาศักราช บ้างใช้จุลศักราช และพงศาวดารมีการเขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์ เช่น พระราชพงศาวดารฉบับเถื่อน ซึ่งเขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่กล่าวถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นต้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและพงศาวดาร · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายแซลิก

ระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงแถลงกฎหมายแซลิก ท่ามกลางแม่ทัพนายกองของพระองค์ กฎหมายแซลิก (Lex Salica; Salic law) หรือ ประชุมกฎหมายอนารยชน (Code of the Barbaric Laws) เป็นกลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับชนชาติแฟรงค์แซเลียน (Salian Franks) เมื่อต้นยุคกลางระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 6 โดยสันนิษฐานกันว่ากฎหมายแซลิกรวบรวมขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 507 ถึงปี ค.ศ. 511.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและกฎหมายแซลิก · ดูเพิ่มเติม »

กัสปาร์ เดอ กอลีญี

กัสปาร์ เดอ กอลีญี, แซเญอร์เดอชาตียง (Gaspard de Coligny, Seigneur de Châtillon; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1519 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1572) เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศส และผู้บังคับบัญชากองทัพเรือแห่งฝรั่งเศสผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นอูเกอโนต์ผู้มีวินัยและผู้นำในสงครามศาสนาของฝรั่ง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและกัสปาร์ เดอ กอลีญี · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่

การสังหารหมู่ (mass murder) หมายถึง การทำให้คนตายเป็นหมู่ในเวลาเดียวกันหรือไล่เลี่ยกัน โดยอาจเป็นการกระทำของบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มบุคคลก็ได้ และหมายความรวมถึง การที่หน่วยงานของรัฐประหารคนเป็นหมู่โดยเจตนาและโดยการเลือกปฏิบัติ เช่น การยิงใส่กลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงที่ปราศจากอาวุธ การทิ้งระเบิดแบบปูพรมเพื่อถล่มเมืองให้ราบเป็นหน้ากลอง การโยนระเบิดมือเข้าไปยังเรือนจำ หรือการประหารพลเรือนแบบสุ่มตัว การสังหารหมู่ยังอาจเกิดขึ้นโดยการกระทำของบุคคลที่มีความประสงค์จะทำให้คนตายเพื่อปรนเปรออารมณ์หรือความเบิกบานแห่งตน การสังหารหมู่ครั้งใหญ่ตามที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ มักเป็นการกระทำเพื่อกวาดล้างกลุ่มชาติพันธุ์หรือกลุ่มศาสนา ความผิดฐานสังหารหมู่เรียก "พันธุฆาต" (genocide) และในธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศเรียก "อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ" (crimes against humanity).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและการสังหารหมู่ · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว

“การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว” โดยฟรองซัวส์ ดูบัวส์ (François Dubois) การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว (ภาษาฝรั่งเศส: Massacre de la Saint Barthélemy; ภาษาอังกฤษ: St. Bartholomew’s Day massacre) เป็นระลอกของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างสงครามศาสนาของฝรั่งเศสโดยฝูงชนชาวฝรั่งเศสผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกไล่สังหารชาวฝรั่งเศสที่เรียกตัวเองว่าอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ (โปรเตสแตนต์คาลวินิสต์) เชื่อกันว่ามีต้นตอมาจากสมเด็จพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ พระมารดาของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส การสังหารหมู่ใช้เวลาทั้งสิ้น 6 วันหลังวันแต่งงานระหว่างมาร์เกอรีต เดอ วาลัวส์ (Marguerite de Valois) พระขนิษฐาของ พระเจ้าชาร์ลที่ 9 กับอองรีแห่งนาวาร์ผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ งานแต่งงานเป็นโอกาสที่อูเกอโนต์ผู้ร่ำรวยมีฐานะดีจะออกมาร่วมงานฉลองในเมืองปารีสที่ผู้คนส่วนใหญ่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เหตุเกิดขึ้นสองวันหลังจากที่การลอบสังหารนายพลกาสปาร์ด เดอ โคลิญญี นายทหารของอูเกอโนต์ไม่ประสบความสำเร็จ เริ่มเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว · ดูเพิ่มเติม »

การแต่งงานโดยฉันทะ

้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศสทรงเสกสมรสโดยฉันทะเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1625 และด้วยพระองค์เองเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ในปีเดียวกัน (ภาพเขียนของทั้งสองพระองค์โดยแอนโทนี แวน ไดค์ (เมษายน ค.ศ. 1634)) การแต่งงานโดยฉันทะ (ภาษาอังกฤษ: Proxy marriage หรือ Proxy wedding) เป็นการแต่งงานโดยที่เจ้าบ่าวหรือเจ้าสาวมิได้ปรากฏตัวในพิธีการแต่งงาน แต่ในพิธีจะให้ผู้มีอำนาจแทนทางกฎหมาย, ผู้แทน, ผู้รับฉันทะแสดงตัวเป็นตัวแทนผู้ที่ไม่สามารถปรากฏตัวได้ ถ้าทั้งเจ้าบ่าวและเจ้าสาวไม่สามารถปรากฏตัวได้ก็จะเรียกการแต่งงานว่าเป็นแบบ “การแต่งงานโดยฉันทะซ้อน” (Double-proxy Marriage).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและการแต่งงานโดยฉันทะ · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและกีตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (Basilique Saint-Denis) เดิมเป็นแอบบีย์ชื่อ อารามแซ็ง-เดอนี ที่ตั้งอยู่ที่แซ็ง-เดอนีที่ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของปารีส ต่อมาถูกยกสถานะขึ้นเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-เดอนีในปี ค.ศ. 1966 มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมีความสำคัญทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ต่อประเทศฝรั่งเศส มหาวิหารแซ็ง-เดอนีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 บนที่ตั้งของที่ฝังศพของนักบุญเดนิสผู้เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประเทศฝรั่งเศสองค์หนึ่งในสามองค์ มหาวิหารกลายเป็นสถานที่สำหรับการแสวงบุญและใช้เป็นที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสเกือบทุกพระองค์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และบางพระองค์จากก่อนหน้านั้น (แต่ไม่ใช่สถานที่สำหรับพระราชพิธีราชาภิเษกที่ทำกันที่มหาวิหารแร็งส์ แต่พระราชพิธีราชาภิเษกพระราชินีมักทำกันที่นี่) มหาวิหารจึงกลายเป็นสิ่งก่อสร้างกลุ่มที่ซับซ้อน ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อธิการซูว์เฌสร้างบางส่วนของมหาวิหารใหม่โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่ล้ำสมัยสำหรับยุคนั้น และใช้การตกแต่งที่นำมาจากสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ การก่อสร้างครั้งนี้ถือกันว่าเป็นก่อสร้างสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกที่แท้จริงเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมหาวิหารก็ยังเป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมแรยอน็อง และกลายมาเป็นแบบการก่อสร้างของมหาวิหารและแอบบีย์อื่น ๆ ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ต่อม.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและมหาวิหารแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

มาร์แซย์

มาร์แซย์ (Marseille) หรือ มาร์เซยอ (Marselha) เป็นเมืองทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส และเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,516,340 คน (ปี 2542) เมืองมาร์แซย์เป็นเมืองท่าที่สำคัญของประเทศ ตั้งอยู่ริมทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและมาร์แซย์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เกอริตแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Marguerite de Valois) (14 พฤษภาคม ค.ศ. 1553 - 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1615) มาร์เกอรีตประสูติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1553 ที่พระราชวังแซงต์-แชร์แมง-ออง-เลย์ ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ เป็นพระราชินีในพระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ. 1589 ถึงปี ค.ศ. 1599 มาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์สิ้นพระชนม์เมื่อ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1615 ที่ปารีส พระศพตั้งอยู่ที่ชาเปลของราชวงศ์วาลัว.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและมาร์เกอริตแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

นักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเดสิเดอริอัส อีราสมัส ราว ค.ศ. 1523 เขียนโดยฮันส์ โฮลไบน์ (ผู้ลูก) มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance humanism) คือขบวนการทางปัญญาของยุโรปซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญตัวหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เริ่มขึ้นที่ฟลอเรนซ์ในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ขบวนการมนุษยนิยมเริ่มขึ้นเมื่อผู้คงแก่เรียนชาวยุโรปเริ่มพบวรรณกรรมภาษาลาตินและกรีกกันขึ้นมาใหม่ ในระยะแรกนักมนุษยนิยมก็เพียงแต่เป็นปัญญาชนหรือครูที่สองวรรณกรรมภาษาลาติน แต่เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 มนุษยนิยมก็พัฒนาขึ้นมาเป็นหลักสูตรการศึกษา — “หลักสูตรการศึกษามนุษยนิยม” (studia humanitatis) — ที่ประกอบด้วยการศึกษาไวยากรณ์, วาทศาสตร์, ปรัชญาจริยธรรม, กวีนิพนธ์ และประวัติศาสตร์ จากงานที่เขียนโดยผู้ประพันธ์เป็นภาษาลาตินและกรีก นักมนุษยนิยมมักจะเป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการปรัชญาที่นิยมกันก่อนหน้านั้นที่เรียกว่าอัสสมาจารย์นิยม (Scholasticism) ซึ่งเป็น “ผู้ร่ำเรียน” (schoolmen) ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในอิตาลี, ปารีส, อ๊อกซฟอร์ด และอื่นๆ การศึกษาของกลุ่มอัสสมาจารย์นิยมพัฒนามาจากความสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์และปรัชญาของกรีกโบราณและอาหรับยุคกลาง ตัวอย่างของผู้นำในกลุ่มนี้ก็ได้แก่ทอมัส อควีนาสผู้ที่พยายามสังเคราะห์ปรัชญาของอริสโตเติลในบริบทของลัทธิคาทอลิก แต่แตกต่างจากหลักของมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ก็ตรงที่นักอัสสมาจารย์นิยมมิได้พึ่งวรรณกรรม หรือ ตำราประวัติศาสตร์จากสมัยกรีกโรมันเท่ากันกับเมื่อมาถึงสมัยมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ การกลับมาพบและกลับมาให้ความสนใจกับวรรณกรรม และ ตำราประวัติศาสตร์, วาทศิลป์ และ เทวปรัชญาที่ยังไม่ได้รับการศึกษาโดยนักปรัชญาอัสสมาจารย์นิยม ทำให้มนุษยนิยมเรอเนสซองซ์เปลี่ยนแนวทางทางวัฒนธรรมและทางปรัชญาของยุโรปอย่างสิ้นเชิง ทางด้านปรัชญานักมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์มักจะเน้นบทเขียนของเพลโต ที่บางชิ้นนำกลับมาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่เริ่มเสื่อมโทรมลงเป็นครั้งแรก และให้ความสนใจน้อยกว่าในปรัชญาของอริสโตเติลที่ได้รับการศึกษาอย่างลึกซึ้งแล้วโดยนักอัสสมาจารย์นิยมในระหว่างยุคกลางตอนกลางแล้ว.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์วาลัว

ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเตียง สืบราชสมบัติฝรั่งเศสต่อจากราชวงศ์กาเปเตียงในค.ศ. 1328 และส่งต่อให้ราชวงศ์บูร์บงในค.ศ. 1589 ราชวงศ์วาลัวสาขาเบอร์กันดีปกครองแคว้นเบอร์กันดีด้วย เป็นดุ๊กแห่งเบอร์กันดี ราชวงศ์วาลัวสืบเชื้อสายมาจากชาร์ลส์ เคานต์แห่งวาลัว (Charles, Count of Valois) พระโอรสองค์ที่ 3 ของพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส แม้พระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ราชวงศ์กาเปเตียงจะมีพระโอรสถึงสามองค์ ซึ่งทั้งสามพระองค์ก็ได้เป็นกษัตริย์ แต่กลับไม่มีพระองค์ใดมีทายาทเลย ใน..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและราชวงศ์วาลัว · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรสกอตแลนด์

ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ (Rìoghachd na h-Alba; Kinrick o Scotland; Kingdom of Scotland) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรประหว่างปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส

สมเด็จพระจักรพรรดินีเออเชนีเดอมองติโค พระจักรพรรดินีองค์สุดท้ายของฝรั่งเศส สมเด็จราชินีมารี อองตัวเนตแห่งออสเตรีย พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ที่ทรงถูกบั่นพระเศียรในการปฏิวัติฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีมาเรีย เทเรส ชาร์ล็อตแห่งฝรั่งเศส พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 19 แห่งฝรั่งเศส เป็นสมเด็จพระราชินีที่ครองราชสมบัติเพียง 20 นาทีเท่านั้น ดูที่รายพระนามกษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส พระมเหสีแห่งฝรั่งเศส ตั้งแต่พ.ศ. 1530 ประเทศฝรั่งเศสมีสมเด็จพระมเหสีในพระมหากษัตริย์และพระจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส (Royal Consort) ทั้งหมด 53 พระองค์ แยกตามพระอิสริยยศได้ดังนี้.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและรายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ

ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุคแห่งเออร์บิโน (Lorenzo II de’ Medici, Duke of Urbino) (12 กันยายน ค.ศ. 1492 - (5 เมษายน ค.ศ. 1519) ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุคแห่งเออร์บิโนเกิดเมื่อวันที่ (12 กันยายน ค.ศ. 1492 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในสาธารณรัฐฟลอเรนซ์ เป็นบุตรของเปียโร ดิ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ และอัลฟอนซินา ออร์ซินิ ลอเรนโซสมรสกับมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวน เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne) และมีลูกด้วยกันสองคนแคทเธอริน เดอ เมดิชิ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งฝรั่งเศสและอเลสซานโดร เดอ เมดิชิ ดยุคแห่งฟลอเรนซ์ เสียชีวิตด้วยซิฟิลิสเมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1519 ที่คาเร็จจิในสาธารณรัฐฟลอเรนซ์ ลอเรนโซเป็นผู้ครองฟลอเรนซ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1513 จนกระทั่งเสียชีวิตและดยุคแห่งเออร์บิโนระหว่างปี ค.ศ. 1516 ถึงปี ค.ศ. 1519.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ · ดูเพิ่มเติม »

วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50% อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M. tuberculosis และมีการติดเชื้อใหม่เกิดขึ้นในอัตราหนึ่งคนต่อวินาที ใน..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและวัณโรค · ดูเพิ่มเติม »

วังเชอนงโซ

วังเชอนงโซ (Château de Chenonceau) ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านเชอนงโซ (Chenonceaux) ในจังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส วังเดิมสร้างบนโรงป่นแป้งเก่าบนฝั่งแม่น้ำแชร์ และสร้างมาก่อนหน้าที่จะมีหลักฐานทางเอกสารเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 11 วังปัจจุบันออกแบบโดยฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert De l'Orme) สถาปนิกเรอเนซองซ.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและวังเชอนงโซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 (Mary I) หรือ แมรี สจวต (Mary Stuart) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 (อังกฤษ: Leo X) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1513 ถึง ค.ศ. 1521 เป็นลูกของ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ พระองค์เป็นพระสันตะปาปาที่ทำให้คริสต์ศาสนจักรเกิดความเสื่อมเสีย เนื่องจากพระองค์สนใจทางโลกมากกว่าศาสนา จึงได้เข้าไปมีส่วนร่วมการเมือง และใช้ชีวิตอย่างหรูหราจนเกือบไม่มีกษัตริย์องค์ใดสู้ได้ซึ่งนักบวชไม่ควรดำเนินชีวิตอย่างนั้น นอกจากนั้นพระองค์ได้หาเงินด้วยการค้าใบบุญไถ่บาปเป็นเพราะพระองค์มีความประสงค์ที่จะบูรณะโบสถ์ให้ดูสวยงามที่เต็มไปด้วยศิลปกรรมวิจิตรงดงามซึ่งต้องใช้เงินจำนวนมากในการบูรณะ แต่การค้าใบบุญไถ่บาปของพระองค์นั้นกลับทำให้นักบวชมาร์ติน ลูเทอร์ไม่พอใจและได้ตั้ง "ญัตติ 95 ข้อ" (The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเทนบูร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบยกโทษบาปของสันตะปาปา ทำให้พระองค์ไม่พอใจมากและได้ขับไล่มาร์ติน ลูเทอร์ออกจากศาสนจักร แต่การขับไล่นั้นกลับทำให้นำไปสู่การปฏิรูปการศาสนา เพราะมาร์ติน ลูเทอร์ได้ก่อตั้งนิกายลูเทอแรนซึ่งได้ถือว่าเป็นการก่อตั้งนิกายโปรเตสแตนต์เพื่อต่อต้านศาสจักรโรมันคาทอลิก แต่พระองค์ไม่ได้สนพระทัยในเรื่องนี้นักและไม่คิดจะปฏิรูปการศาสนาใดๆ จนกระทั่งพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..1521 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2018 ลีโอที่ 10 หมวดหมู่:ตระกูลเมดิชิ หมวดหมู่:บุคคลจากฟลอเรนซ์.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 (Pope Paul III) (29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1468 - 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1549) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1534 หลังจากกรุงโรมแตกในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 7

มเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ทรงมีชื่อเดิมว่า จูลิโอ ดิ จูเลียโน เดอ เมดิชี (Giulio di Giuliano de' Medici) ประสูติในปี ค.ศ. 1478 และสิ้นพระชนม์ในวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1534 พระองค์ทรงเป็นบุตรนอกสมรสของจูเลียโน เดอ เมดิชี (Giuliano de' Medici) ซึ่งถูกลอบสังหารโดยฝ่ายตรงข้ามกับตระกูลเมดิชีคือตระกูลปัซซี.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สี่สิบห้าองครักษ์

ี่สิบห้าองครักษ์ (The forty-five guards) คือทหารองครักษ์จำนวนสี่สิบห้าคนที่ได้รับเลือกมาโดยฌอง หลุยส์ เดอ โนกาเรต์ เดอ ลา วาแลต ดยุคแห่งเอแปร์นง (Jean Louis de Nogaret de La Valette) เพื่อให้มาพิทักษ์พระเจ้าอองรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศสระหว่างวิกฤติการณ์ของสงครามสามอองรี ทหารองครักษ์สี่สิบห้าคนที่ได้รับเลือกมาเป็นขุนนางชั้นรอง (บางคนมาจากกาสคอญ) ที่บ้างก็เป็นเจ้าของม้าเพียงตัวเดียวและแผ่นดินเพียงสองสามเอเคอร์สำหรับเลี้ยงตัวเอง เมื่อได้รับเลือกมาแล้วทหารองครักษ์ก็ได้ค่าจ้างอย่างสูงเป็นการแลกเปลี่ยนกับการรักษาความปลอดภัยให้แก่พระเจ้าอองรีที่ 3 ตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมงโดยการอยู่ยามครั้งละสิบห้าคน หลังจากที่สันนิบาตคาทอลิกทำการปฏิวัติในปารีส พระเจ้าอองรีก็จำต้องเสด็จหนีไปยังบลัวส์ ที่ทรงใช้เป็นที่ตั้งมั่นวางแผนยึดอำนาจคืนจากรัฐสภาทั่วไป โดยการให้ทหารองครักษ์สังหารอองรีที่ 1 ดยุคแห่งกีส เมื่อดยุคเดินทางมาเฝ้าพระเจ้าอองรีที่พระราชวังบลัวส์เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1588 และน้องชายหลุยส์ที่ 2 คาร์ดินัลแห่งกีสในวันต่อมา หลังจากที่พระเจ้าอองรีที่ 3 เองถูกลอบปลงพระชนม์โดยฌาคส์ เคลมงต์ (Jacques Clément) ราชบัลลังก์ฝรั่งเศสก็ตกไปเป็นของอองรีแห่งนาวาร์ กององครักษ์ก็ทำหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้แก่พระองค์ต่อมาจนกระทั่งเสด็จสวรรคต ที่อาจจะเป็นการถูกลอบปลงพระชนม์ เรื่องราวของกององครักษ์นี้เป็นแรงบันดาลใจให้อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มาเขียนนิยาย The Forty-Five Guardsmen ในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสี่สิบห้าองครักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรม

ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสถาปัตยกรรม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสงครามกลางเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามศาสนาของฝรั่งเศส

หตุการณ์สังหารหมู่วันเซนต์บาร์โธโลมิว สงครามศาสนาของฝรั่งเศส (French Wars of Religion) เป็นสงครามกลางเมืองฝรั่งเศส ระหว่างค.ศ. 1562 ถึง ค.ศ. 1598 ระหว่างฝ่ายคาทอลิก นำโดยตระกูลกีส (Guise) กับกลุ่มอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศส นำโดยตระกูลบูร์บง ผลคือฝรั่งเศสเปลี่ยนราชวงศ์ใหม่จากราชวงศ์วาลัวส์ เป็นราชวงศ์บูร์บง และเสรีภาพทางศาสนาของผู้นับถือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศสตามพระราชกฤษฎีกาแห่งนองซ์ออกโดยพระเจ้าอองรีที่ 4.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559)

งครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559) หรือบางครั้งก็เรียกว่า สงครามฮับส์บูร์ก-วาลัว (Italian War of 1551–1559 หรือ Habsburg-Valois War) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1559) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1551 จนถึง ค.ศ. 1559 สงครามอิตาลีครั้งนี้เป็นความขัดแย้งที่เริ่มขึ้นเมื่อพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟร็องซัวทรงประกาศสงครามต่อจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยมีจุดประสงค์ที่จะยึดอิตาลีคืน และสร้างเสริมพลานุภาพของฝรั่งเศสในยุโรปให้เหนือกว่าอำนาจของฮับส์บูร์ก ในระยะแรกของสงครามการเข้าไปโจมตีในดัชชีลอแรนของพระเจ้าอ็องรีประสบกับความสำเร็จ โดยทรงยึดนครของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้สามแห่ง คือ แม็ส ตูล และ แวร์เดิง แต่เมื่อทรงเดินทัพไปรุกรานแคว้นทัสกานีในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559) · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์แห่งลอแรน-โวเดมง สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

หลุยส์แห่งลอร์แรน-โวเดมองท์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Louise de Lorraine-Vaudémont) (30 เมษายน ค.ศ. 1553 - 29 มกราคม ค.ศ. 1601) หลุยส์แห่งลอร์แรน-โวเดมองท์ เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสในพระเจ้าอองรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1575 ถึงวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1589 หลุยส์แห่งลอร์แรน-โวเดมองท์ประสูติเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1553 ในตระกูลลอร์แรนทรงเป็นบุตรีของนิโคลาส์ ดยุคแห่งแมร์เคอร์ (Nicholas, Duke of Mercoeur) และมากาเร็ตแห่งเอกมงท์ ชีวิตของพระองค์เมื่อยังทรงพระเยาว์เป็นชีวิตที่ไม่ค่อยมีความสุขเท่าใดนักเพราะการขาดความรักจากบิดาและมารดาเลี้ยง ซึ่งทำให้ทรงเติบโตขึ้นมาเป็นผู้ที่เงียบขรึมและตรงต่อหน้าที่ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นผู้เคร่งศาสนา หลุยส์ทรงพบกับอองรี ดยุคแห่งอองชู ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและหลุยส์แห่งลอแรน-โวเดมง สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มาดาสเปน

วามพ่ายแพ้ของสเปนที่สมรภูมิแห่งกราเวแลงส์ กองเรืออาร์มาดา เกิดขึ้นในยุคสมัยของพระเจ้าเฟลิเปที่ 2 แห่งสเปน โดยเป็นกองเรือที่ถูกเรียกว่าแข็งแกร่งที่สุดเก่งที่สุด ถูกสร้างขึ้นเพื่อเตรียมบุกชิงราชบัลลังก์อังกฤษเนื่องจากพระเจ้าฟิลิปเปที่ 2 ผู้เป็นคริสเตียนนิกายโรมันคาทอลิก ทรงเห็นว่าสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 ผู้ปกครองอังกฤษในขณะนั้น ซึ่งพระนางทรงเป็นคริสเตียนนิกายโปรเตสแตนต์ ไม่คู่ควรกับราชบัลลังก์อังกฤษที่สมควรจะมีไว้สำหรับเชื้อพระวงศ์ที่เป็นโรมันคาทอลิกเท่านั้น แต่เหตุผลที่พระเจ้าฟิลิปเปนำมาอ้างก็คือโจรสลัดอังกฤษปล้นเรือสินค้าของสเปนหลายครั้ง ทำใหสเปนต้องทำการตอบโค้อังกฤษ ในการนี้กองเรืออาร์มาดาได้ยกพลไปบุกอังกฤษถึงสองครังแต่ก็พ่ายแพ่ทั้งสองครั้ง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและอาร์มาดาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส

"ครีบยันลอย" (flying buttress) ที่ยื่นออกไปรอบบริเวณร้องเพลงด้านหลังโบสถ์ อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส (Cathédrale Notre-Dame de Paris) เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลปารีส ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส คำว่า Notre Dame แปลว่า แม่พระ (Our Lady) ซึ่งเป็นคำที่ชาวคาทอลิกใช้เรียกพระนางมารีย์พรหมจารี ปัจจุบันอาสนวิหารก็ยังใช้เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งคาเทดราของอาร์ชบิชอปแห่งปารีส อาสนวิหารน็อทร์-ดามถือกันว่าเป็นโบสถ์ที่สวยงามที่สุดในลักษณะกอทิกแบบฝรั่งเศส โบสถ์นี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยเออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก ผู้เป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส การก่อสร้างเป็นแบบกอทิก นับเป็นอาสนวิหารแรกที่สร้างในลักษณะนี้ และการก่อสร้างก็ทำต่อเนื่องมาตลอดสมัยกอทิก ประติมากรรม และหน้าต่างประดับกระจกสี (stained glass) มีอิทธิพลจากศิลปะแบบแนทเชอราลลิสม์ ทำให้แตกต่างจากศิลปะโรมาเนสก์ที่สร้างก่อนหน้านั้น น็อทร์-ดามเป็นหนึ่งในบรรดาสิ่งก่อสร้างแรกที่ใช้ "ครีบยันลอย" ตามแบบเดิมไม่ได้บ่งถึงกำแพงค้ำยันรอบอาสนวิหาร "บริเวณร้องเพลงสวด" หรือ รอบบริเวณกลางโบสถ์ เมื่อเริ่มสร้างกำแพงโบสถ์สูงขึ้นกำแพงก็เริ่มร้าวเพราะน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง เพราะสถาปนิกสมัยกอทิกจะเน้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่สูง บาง และโปร่ง เมื่อสร้างสูงขึ้นไปกำแพงก็ไม่สามารถรับน้ำหนักและความกดดันของกำแพงและหลังคาได้ทำให้กำแพงโก่งออกไปและร้าว สถาปนิกจึงใช้วิธีแก้ด้วยการเติม "กำแพงค้ำยัน" ที่กางออกไปคล้ายปีกนกด้านนอกตัววัด เพื่อให้กำแพงค้ำยันนี้หนุนหรือค้ำกำแพงตัวโบสถ์เอาไว้ เมื่อทำไปแล้วนอกจากจะมีประโยชน์ทางการใช้สอยแล้วยังกลายเป็นเครื่องตกแต่งที่ทำให้สิ่งก่อสร้างความสวยงามขึ้น ฉะนั้นวิธีแก้ปัญหานี้จึงกลายเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของโบสถ์ที่สร้างแบบกอทิกไปในตัว ในปี ค.ศ. 1793 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส โบสถ์ก็ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ประติมากรรมและศิลปะทางศาสนาถูกทำลายไปมาก อาสนวิหารได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนมีสภาพเหมือนก่อนหน้าที่ถูกทำล.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์

''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและอุปมานิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

จริตนิยม

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและจริตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิมักซีมีเลียน(หรือมักซิมิเลียน) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Maximilian I, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (เกิด 22 มีนาคม ค.ศ. 1459 - ตาย12 มกราคม ค.ศ. 1519) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1508 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1519 มักซีมีเลียนทรงปกครองร่วมกับพระราชบิดาระหว่างช่วงสิบปีสุดท้ายของรัชสมัยตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 1483 พระองค์ทรงขยายอิทธิพลของราชวงศ์ฮับส์บูร์กทั้งในด้านการเสกสมรสและการสงครามWorld Book Encyclopedia, Field Enterprises Educational Corporation, 1976.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Maximilian II, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (31 กรกฎาคม ค.ศ. 1527 - 12 ธันวาคม ค.ศ. 1576) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมีย พระมหากษัตริย์แห่งฮังการี และจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิท.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Kaiser des Heiligen Römischen Reiches; Emperor of the Holy Roman Empire) หรือจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Emperor) หรือจักรพรรดิโรมัน-เยอรมัน (Römisch-Deutscher Kaiser) เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ใช้หมายถึงประมุขรัฐในสมัยกลางที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งให้เป็น "จักรพรรดิแห่งชาวโรมัน" ต่อมาตำแหน่งนี้มาจากการเลือกตั้งแต่ยังคงต้องรับราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาอยู่ จนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมาจึงหมายถึงผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นมีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนยุโรปกลาง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ “รัชทายาท” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (Heir apparent) คือทายาทผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก เป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ กรณีที่หมายถึงทายาทตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลโดยเฉพาะในกรณีของพระมหากษัตริย์จะเรียกว่ารัชทายาท (heir to the throne) และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “มกุฎราชกุมาร” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “เจ้าชายแห่งออเรนจ์” (Prince of Orange) ในเนเธอร์แลนด์ “เจ้าชายแห่งเวลส์” ในสหราชอาณาจักร หรือ เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ในสเปน ดยุกแห่งบราบันต์ ใน เบลเยียม.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง · ดูเพิ่มเติม »

ตะโก

ตะโก เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางประเภทใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ EBENACEAE โดยมีชื่อสามัญว่า Ebony ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์นั้นก็คือ Diospyios rhodcalyx.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและตะโก · ดูเพิ่มเติม »

ซิฟิลิส

ซิฟิลิส (syphilis) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคหนึ่ง มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย Treponema pallidum ผู้ป่วยอาจมีอาการได้หลายอย่างขึ้นกับระยะที่เป็น (ระยะแรก ระยะที่สอง ระยะแฝง และระยะที่สาม) ระยะแรกผู้ป่วยมักมีแผลริมแข็ง ซึ่งจะไม่เจ็บ แต่อาจมีแผลเจ็บขึ้นต่างหากได้ ระยะที่สองมักมีผื่นขึ้นทั่วตัว มักพบที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า อาจมีแผลเจ็บในปากหรือในช่องคลอดได้ บางครั้งอาจเรียกว่า "ระยะออกดอก"สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ 10 / เรื่องที่ 2 โรคติดต่อและโรคเขตร้อน / โรคติดต่อทางเพศสัมพัน.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและซิฟิลิส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ปรัมปราวิทยา

ประมวลเรื่องปรัมปราราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 4, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 68 (mythology) หมายถึง การรวบรวมเรื่องปรัมปรา (myth) เกี่ยวกับธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และจารีตประเพณี ของกลุ่มชนหนึ่ง และเรียกวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องปรัมปราเหล่านี้ว่า ปรัมปราวิทยา หรือ ปุราณวิทยา (mythology).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและปรัมปราวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี

นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี นิกโกเลาะ ดี แบร์นาโด เดย์ มาเกียเวลลี (Niccolò di Bernardo dei Machiavelli; 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1469 - 21 มิถุนายน ค.ศ. 1527) เป็นนักปรัชญา นักเขียน และนักรัฐศาสตร์ชาวอิตาลี นับเป็นหนึ่งในบิดาแห่งรัฐศาสตร์ยุคใหม่ มีชีวิตอยู่ในยุคเรอเนซองส์ ซึ่งเขาเป็นนักวิชาการ นักปรัชญาการเมือง นักดนตรี กวี นักเขียนบทละคร แต่ที่สำคัญคือเขาเป็นอาสาสมัครสาธารณกิจแห่งสาธารณรัฐฟลอเรนไทน์ เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและนิกโกเลาะ มาเกียเวลลี · ดูเพิ่มเติม »

นิโคลัส ฮิลเลียร์ด

นิโคลัส ฮิลลาร์ด (Nicholas Hilliard, พ.ศ. 2090 - พ.ศ. 2162) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษที่ถนัดด้านการวาดภาพเหมือน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1540 หมวดหมู่:จิตรกรชาวอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากเอ็กซิเตอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากมณฑลเดวอน.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและนิโคลัส ฮิลเลียร์ด · ดูเพิ่มเติม »

โกลด สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

ลดแห่งบริตานี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Claude of France) (14 ตุลาคม ค.ศ. 1499 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1524) โคลดแห่งบริตานีเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสในพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1514 ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1524 โคลดแห่งบริตานีประสูติเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1499 เป็นพระธิดาองค์โตในพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส และพระราชินีแอนน์ โคลดทรงมีบรรดาศักดิ์เป็นดัชเชสแห่งบริตานีต่อจากพระราชมารดา และเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ฉะนั้นจึงเป็นพระอัยกีของพระเจ้าแผ่นดินสามพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์วาลัว.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและโกลด สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส

แฟ็งแห่งฝรั่งเศส (Dauphin de France) หรือ โดแฟ็งแห่งเวียนัว (Dauphin de Viennois) คืออิสริยยศที่มีไว้สำหรับทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง ผู้ซึ่งจะขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งฝรั่งเศสในอนาคต ในประวัติศาสตร์มีผู้ดำรงอิสริยยศนี้ในช่วงปี..

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและโดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เมดีชี

ตระกูลเมดีชี (Medici) เป็นตระกูลที่มีอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองของฟลอเรนซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมาชิกจากตระกูลนี้ 3 คนได้เป็น พระสันตะปาปา (สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10, สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7, และ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11) และนักปกครองของฟลอเรนซ์เองโดยเฉพาะโลเรนโซ เด เมดีชี ก็เป็นผู้อุปถัมภ์งานชิ้นสำคัญๆ ในสมัยเรอเนซองส์ ต่อมาตระกูลเมดีชีก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับราชวงศ์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ ความมีอิทธิพลของตระกูลเมดีชีสามารถทำให้ฟลอเรนซ์กลายมามีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองของศิลปะและสถาปัตยกรรม ตระกูลเมดีชีและตระกูลสำคัญอื่นๆของประเทศอิตาลีในสมัยนั้นเช่น ตระกูลวิสคอนติ (Visconti) ตระกูลสฟอร์เซ (Sforza) ตระกูลต่างๆ จากมิลาน ตระกูลเอสเตแห่งเฟอร์รารา (Este of Ferrara) ตระกูลกอนซากาจากมานตัว (Gonzaga of Mantua) และตระกูลอื่นๆ ต่างก็มีส่วนสำคัญในความเจริญของศิลปะเรอเนซองส์ และ สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ ธนาคารเมดีชีเป็นธนาคารที่มั่งคั่งที่สุดในทวีปยุโรปและกล่าวกันว่าตระกูลเมดีชีเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรปสมัยนั้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างอำนาจทางการเมืองโดยเริ่มจากฟลอเรนซ์และอิตาลีจนในที่สุดก็ขยายไปทั่วยุโรป สิ่งที่ตระกูลเมดีชีเป็นต้นตำรับทางการบัญชีคือการปรับปรุงวิธีทำบัญชีโดยการลงหลักฐานที่สามารถทำให้ติดตามเงินเข้าเงินออกได้ง่ายขึ้น (double-entry bookkeeping system).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อหุ้มปอดอักเสบ

ื่อหุ้มปอดอักเสบ (Pleurisy) เป็นการอักเสบชนิดหนึ่งของโพรงเยื่อหุ้มปอด โดยเกิดการอักเสบบริเวณรอบๆปอด อาการนี้สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ แต่ทั้งนี้ กรณีที่พบมากที่สุดคือการติดเชื้อไวรัสที่แพร่จากปอดไปยังโพรงเยื่อหุ้มปอด โดยเยื่อหุ้มปอดทั้งสองข้างที่มีการอักเสบ จะเสียดสีกันทุกครั้งที่ปอดขยายตัวจากการหายใจเข้า ซึ่งสามารถทำให้เกิดอาการเจ็บบริเวณหน้าอกในขณะที่หายใจเข้.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

เวนิส

วนิส (Venice) หรือ เวเน็ตเซีย (Venezia) เป็นเมืองหลักของแคว้นเวเนโต ประเทศอิตาลี มีประชากร 271,663 คน (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2547) เมืองเวนิสได้รับฉายาว่า ราชินีแห่งทะเลเอเดรียติก (Queen of the Adriatic), เมืองแห่งสายน้ำ (City of Water), เมืองแห่งสะพาน (City of Bridges) และเมืองแห่งแสงสว่าง (The City of Light) เมืองเวนิสถูกสร้างขึ้นจากการเชื่อมเกาะเล็กๆ จำนวนมากเข้าด้วยกันในบริเวณทะเลสาบเวนิเทีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลเอเดรียติก ในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ทะเลสาบน้ำเค็มนี้ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งระหว่างปากแม่น้ำโปกับแม่น้ำปลาวี มีผู้อยู่อาศัยโดยประมาณ 272,000 คน ซึ่งนับรวมหมดทั้งเวนิส โดยมี 62,000 คนในบริเวณเมืองเก่า 176,000 คนในแตร์ราแฟร์มา (Terraferma) และ 31,000 คนในเกาะอื่น ๆ ในทะเล.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

อลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน (Élisabeth de France หรือ Élisabeth de Valois, Isabel de Valois, Elisabeth of Valois) (2 เมษายน ค.ศ. 1545 - 3 ตุลาคม ค.ศ. 1568) เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ประสูติเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1545 พระองค์เป็นพระธิดาองค์โตในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

อลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Elisabeth of Austria) (5 กรกฎาคม ค.ศ. 1554 - 22 มกราคม ค.ศ. 1592) เอลิซาเบธแห่งออสเตรียเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสในพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 ระหว่างวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1570 ถึงวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 เอลิซาเบธประสูติเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1554 ที่เวียนนา ในประเทศออสเตรีย เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิลเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และมาเรียแห่งสเปน จักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อประสูติมีพระอิสริยยศเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรี.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เอเลนอร์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

อเลนอร์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส หรือ เอเลนอร์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส หรือ เอเลนอร์แห่งคาสตีล (Eleanor of Austria หรือ Eleonor of Castile) (15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1498 - 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1558) เอเลนอร์แห่งออสเตรีย เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสในพระเจ้ามานูเอลที่ 1 แห่งโปรตุเกส ระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1516 ถึงวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1521 และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสในพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1530 ถึงวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1547 เอเลนอร์แห่งออสเตรียประสูติเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1498 ที่เลอวอง (Leuven) ในฝรั่งเศส เป็นพระธิดาองค์โตในฟิลลิปเดอะแฮนดซัม อาร์คดยุคแห่งออสเตรียและดยุคแห่งเบอร์กันดี กับโจอันนา สมเด็จพระราชินีแห่งคาสตีล ทรงมีบรรดาศักดิ์เป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรียเมื่อประสูติ และทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งคาสตีล (Infanta of Castile) ของราชวงศ์แฮ็บส์เบิร์ก หลังจากที่เป็นพระราชินีหม้ายพระองค์ก็ทรงได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดัชเชสแห่งตูแรน (Touraine) ระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1558 พระนามในภาษาสเปนและโปรตุเกสคือ “Leonor” และภาษาฝรั่งเศสคือ “Éléonore” หรือ “Aliénor” เอเลนอร์ทรงเป็นพี่น้องกับ สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, สมเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินันด์ที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, แมรีแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี และ แคทเธอรินแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส เมื่อเอเลนอร์ยังทรงพระเยาว์ก็มีการพยายามจัดการเสกสมรสระหว่างพระองค์กับพระมหากษัตริย์ในราชอาณาจักรต่างๆ ที่รวมทั้งราชอาณาจักรอังกฤษ (พระเจ้าเฮนรีที่ 7 หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 8), หรือกับราชอาณาจักรฝรั่งเศส (พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 หรือ พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1) หรือกับพระมหากษัตริย์โปแลนด์ (พระเจ้าซิกิสมุนด์ที่ 1 แห่งโปแลนด์) แต่ก็ไม่เป็นที่ตกลงกันได้ ในที่สุดก็ทรงเสกสมรสกับพระเจ้ามานูเอลที่ 1 แห่งโปรตุเกส หลังจากการเสนอการสมรสของพระเจ้ามานูเอลกับลูกพี่ลูกน้องของพระองค์ล้มเหลวลง เอเลนอร์และพระเจ้ามานูเอลเสกสมรสกันเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1518 มีพระราชโอรสธิดาด้วยกันสองพระองค์ มกุฎราชกุมารคาร์ลอสแห่งโปรตุเกส ผู้สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ และเจ้าหญิงมาเรีย เลดี้แห่งวิซู เอเลนอร์ทรงเป็นหม้ายเมื่อพระสวามีเสด็จสวรรคตด้วยโรคระบาดเมื่อวันที่13 ธันวาคม ค.ศ. 1521 หลังจากนั้นก็ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศสเมื่อวันที่4 กรกฎาคม ค.ศ. 1530 ตามสนธิสัญญา "La Paz de las Damas" (“ความสงบของสตรี”) ทั้งสองพระองค์ไม่มีพระราชโอรสธิดาด้วยกัน ในฐานะพระราชินีแห่งฝรั่งเศสพระองค์ไม่ทรงมีอำนาจทางการเมืองแต่อย่างใด แต่ก็ทรงถูกใช้เป็นผู้ติดต่อระหว่างฝรั่งเศสและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เอเลนอร์สิ้นพระชนม์เมื่อ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1558 ขณะที่เสด็จกลับจากการไปปรองดองกับพร.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเอเลนอร์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายสืบสายพระโลหิต

หลุยส์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์ เจ้าชายสืบสายพระโลหิต (Prince du Sang หรือ Prince of the Blood) คือผู้ที่เป็นผู้สืบเชื้อสายที่ถูกต้องตามกฎหมายโดยตรงจากประมุขของประเทศ ในฝรั่งเศสตำแหน่ง “เจ้าชายสืบสายพระโลหิต” เป็นบรรดาศักดิ์สูงสุดในราชสำนักรองจากพระราชนิกุลที่ใกล้ชิดที่สุดของพระมหากษัตริย์ในสมัย “อองเซียง เรฌีม” และในสมัยราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ตำแหน่ง “เจ้าชายสืบสายพระโลหิต” หรือ “เจ้าหญิงสืบสายพระโลหิต” เป็นตำแหน่งที่ใช้กับสมาชิกที่ถูกต้องตามกฎหมายของประมุขที่กำลังครองราชย์ ในยุโรปบางประเทศโดยเฉพาะในราชอาณาจักรฝรั่งเศสบรรดาศักดิ์นี้เป็นตำแหน่งเฉพาะตัวและใช้อย่างจำกัดกว่าบรรดาศักดิ์อื่น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเจ้าชายสืบสายพระโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

เทววิทยาศาสนาคริสต์

ทววิทยาศาสนาคริสต์ (Christian theology) คริสต์เทววิทยา หรือศาสนศาสตร์ คือเทววิทยาที่เกี่ยวกับความเชื่อในศาสนาคริสต์ นักเทววิทยาศาสนาคริสต์ใช้เหตุผลทางการวิจัยและการถกเพื่อทำความเข้าใจ อธิบาย ทดสอบ วิจารณ์ประเด็น ป้องกันและเผยแพร่คริสต์ศาสนา เป็นการศึกษาเพื่อเพิ่มความเข้าใจต่อศาสนาคริสต์ เพื่อเปรียบเทียบคริสต์ศาสนากับประเพณีหรือความเชื่อถืออื่น ๆ และเพื่อป้องกัน กล่าวโต้ต่อนักวิจารณ์ ช่วยในการปฏิรูปศาสนา มีความเข้าใจในคริสต์ศาสนาพอที่จะสามารถนำเอาความเข้าใจนั้นมาทำความเข้าใจในสถานะการณ์ปัจจุบันตามความจำเป็น, เทววิทยาศาสนาคริสต์เผยแพร่เข้ามาในวัฒนธรรมตะวันตกโดยเฉพาะวัฒนธรรมยุโรปก่อนสมัยใหม่ ความเกี่ยวพันกันระหว่างปรัชญาสองอย่างนี้ทำให้ผู้ต้องการทำความความเข้าใจในเทววิทยาศาสนาคริสต์จำเป็นต้องเข้าใจในวัฒนธรรมตะวันตกด้วยในขณะเดียวกัน.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเทววิทยาศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทนนิส

การแข่งขันยูเอสโอเพน เทนนิส (tennis) เป็นกีฬาที่เล่นในร่มหรือกลางแจ้ง แบ่งเป็น 2 ฝ่ายแข่งกัน โดยมีผู้เล่นในประเภทเดี่ยวฝ่ายละ 1 คน และผู้เล่นในประเภทคู่ฝ่ายละ 2 คน ใช้ไม้เทนนิสตีส่งลูกไปมาเหนือตาข่ายภายในเขตที่กำหนด โดยพยายามตีลูกให้ลงในแดนคู่แข่ง จนคู่แข่งไม่สามารถตีลูกกลับมาลงในแดนของเราได้ เทนนิสเป็นเกมกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งใช้ไม้แร็กเก็ต ถือกำเนิดในยุโรปช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ช่วงแรกๆนั้นเทนนิสได้แพร่ขยายไปยังกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นสูง แท้จริงแล้วเทนนิสเป็นกีฬาสากลและเป็นเกมที่เล่นกันเกือบทุกประเทศทั่วโลก ตั้งแต่ปี..1926 ซึ่งมีการจัดทัวร์นาเมนต์ครั้งแรก เทนนิสจึงได้กลายเป็นกีฬาอาชีพ เทนนิสได้ถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิก ณ โซล ปี..1988.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเทนนิส · ดูเพิ่มเติม »

เนรัก

นรัก (Nérac) เมืองเนรักเป็นในจังหวัดโล-เตต์-การอนน์ในแคว้นอากีแตนในประเทศฝรั่งเศส เมืองเนรักตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงไต้ของฝรั่ง.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและเนรัก · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 กรกฎาคม

วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันที่ 191 ของปี (วันที่ 192 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 174 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ10 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ12 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

15 มิถุนายน

วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ15 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ18 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 สิงหาคม

วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ18 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ19 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ20 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ธันวาคม

วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ23 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ27 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 เมษายน

วันที่ 28 เมษายน เป็นวันที่ 118 ของปี (วันที่ 119 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 247 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ28 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กรกฎาคม

วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ7 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ8 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคทเธอรีน เดอ เมดีชีและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Catherine de MediciCatherine de' Mediciคัทเทอรีน เดอ เมดีซีแคทเธอริน เดอ เมดิชิแคทเธอริน เดอ เมดิชิ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งฝรั่งเศสแคทเธอรีน เดอ เมดิชิแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »