สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: บอลเชวิกภาษารัสเซียภาษาอังกฤษราชวงศ์โรมานอฟอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซียจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซียจักรวรรดิรัสเซียณัฐวุฒิ สุทธิสงครามเยคาเตรินบุร์ก
- นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 20
- พระราชบุตรในจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย
- ราชวงศ์ฮ็อลชไตน์-ก็อททอร์พ-โรมานอฟ
- เจ้านายที่สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ทรงพระเยาว์
- แกรนด์ดัชเชสแห่งรัสเซีย
บอลเชวิก
การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและบอลเชวิก
ภาษารัสเซีย
ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและภาษารัสเซีย
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและภาษาอังกฤษ
ราชวงศ์โรมานอฟ
งราชวงศ์โรมานอฟ ตราแผ่นดินของจักรวรรดิรัสเซีย ตราประจำพระราชวงศ์ ราชวงศ์โรมานอฟ ตามสำเนียงอังกฤษ หรือ รามานาฟ ตามสำเนียงรัสเซีย (Romanov) เป็นราชวงศ์ที่สองและราชวงศ์สุดท้ายของรัสเซีย โดยราชวงศ์นี้ปกครองจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและราชวงศ์โรมานอฟ
อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย
แกรนด์ดุ๊กอะเลกเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย (Алексе́й Никола́евич, Alexei Nikolaevich) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) มกุฎราชกุมารองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย แห่งราชวงศ์โรมานอฟ และจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย ประสูติ ณ พระราชวังฤดูร้อนปีเตอร์ฮอฟ มีพระภคินี 4 พระองค์คือ.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย
จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย
ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย
จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย
ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย
จักรวรรดิรัสเซีย
ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและจักรวรรดิรัสเซีย
ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม
ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร (ส.ส.พระนคร) และกรุงเทพมหานคร (ส.ส.กรุงเทพมหานคร) พรรคประชาธิปัตย์ และนักเขียนสารคดีแนวประวัติศาสตร.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม
เยคาเตรินบุร์ก
ตรินบุร์ก (p) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศรัสเซีย และเป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองของแคว้นสเวียร์ดลอฟ.
ดู แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียและเยคาเตรินบุร์ก
ดูเพิ่มเติม
นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 20
- จอห์น โคลเทรน
- อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย
- เอดิท ชไตน์
- แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)
- แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
- แมกซิมิเลียน คอลบี
พระราชบุตรในจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย
- อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)
- แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
ราชวงศ์ฮ็อลชไตน์-ก็อททอร์พ-โรมานอฟ
- จักรพรรดินีมารีเยีย อะเลคซันโดรฟนาแห่งรัสเซีย
- จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย
- จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย
- อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสคิรา คิริลลอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)
- แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสเยเลนา วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
- ไข่ฟาแบร์เช
เจ้านายที่สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ทรงพระเยาว์
- หลุยส์ ฟิลิป มกุฎราชกุมารแห่งเบลเยียม
- อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย
- อาร์ชดัชเชสโซฟีแห่งออสเตรีย
- เจ้าชายคาร์ล ออสการ์ ดยุกแห่งเซอเดร์มันลันด์
- เจ้าชายจอห์นแห่งสหราชอาณาจักร
- เจ้าชายย็องชัง
- เจ้าชายรัชทายาทซุนฮวี
- เจ้าชายรัชทายาทมุนฮโย
- เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ
- เจ้าชายหลุยส์-โฌแซ็ฟ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส
- เจ้าชายเมอร์เซียแห่งโรมาเนีย
- เจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์
- เจ้าหญิงพอลีนแห่งออเรนจ์-นัสเซา
- เจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย (1870-1874)
- เจ้าหญิงเปาลาแห่งบราซิล
- เวเบนเซนู
- แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
แกรนด์ดัชเชสแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสคิรา คิริลลอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)
- แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสเยเลนา วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย
- แกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ AnastasiaGrand Duchess Anastasia Nikolaevna of Russiaอานาสตาซียาอนาสตาเชียแกรนด์ดัชเชส อนาสตาเซีย นิโคลาเยฟนา แห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสอะนัสตาเซียแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเชีย นิโคเลฟน่า แห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย นิโคแลฟนา แห่งรัสเซีย