โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เอ็สเซิน

ดัชนี เอ็สเซิน

อ็สเซิน (Essen) เป็นนครในรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่บนแม่น้ำรูร์ (Ruhr) เอ็สเซินเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของแคว้นรูร์ และใหญ่เป็นอันดับแปดในประเทศเยอรมนี มีประชากร 584,295 คน (เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2549) เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2548 เมืองเอ็สเซินได้รับเลือกเป็น "เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป 2010".

7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2549มิถุนายน พ.ศ. 2548รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลินประเทศเยอรมนีแม่น้ำรัวร์เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป1 มกราคม

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เอ็สเซินและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เอ็สเซินและมิถุนายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน

นอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน (Nordrhein-Westfalen) หรือ นอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย (North Rhine-Westphalia) ตัวย่อ NRW หมายถึง ดินแดนฝั่งตะวันตกทางตอนเหนือของแม่น้ำไรน์ เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดในเยอรมนี มีประชากรกว่า 18 ล้านคน และสัดส่วนในรายได้ประชาชาติของรัฐคิดเป็นร้อยละ 22 ของรายได้ประชาชาติในเยอรมนี เมืองหลวงของรัฐได้แก่ เมืองดึสเซลดอร์ฟ เมืองสำคัญของรัฐ เช่น โคโลญ เกลเซนเคียร์เชิน เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐ ได้แก่ บอนน์ ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศเยอรมนีตะวันตก และอาเคิน เมืองมรดกโลก.

ใหม่!!: เอ็สเซินและรัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: เอ็สเซินและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำรัวร์

แม่น้ำรัวร์ (Ruhr) เป็นแม่น้ำขนาดกลางในประเทศเยอรมนี ไหลไปทางตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันตก รวมกับแม่น้ำไรน์ที่ตำบลรูรอร์ท (ส่วนหนึ่งของเมืองดืสบวร์ค) แม่น้ำมีความยาว 217 กม.

ใหม่!!: เอ็สเซินและแม่น้ำรัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: เอ็สเซินและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เอ็สเซินและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Essenเอสเซินเอสเซ่น

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »