สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: กลุ่มดาวคนยิงธนูระบบสุริยะหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปดาวแก๊สยักษ์ดาวเสาร์ดาวเคราะห์นอกระบบเอชดี 169830
- กลุ่มดาวคนยิงธนู
- ดาวเคราะห์นอกระบบที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2543
- ดาวเคราะห์นอกระบบที่ตรวจพบโดยวิธีวัดความเร็วแนวเล็ง
- ดาวเคราะห์ยักษ์
กลุ่มดาวคนยิงธนู
ำหรับ Sagittarius ความหมายอื่น ดูที่: ราศีธนู และนกเลขานุการ กลุ่มดาวคนยิงธนู หรือ กลุ่มดาวธนู (♐) เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี วาดเป็นรูปคนครึ่งม้ากำลังน้าวคันธนู กลุ่มดาวคนยิงธนูอยู่ระหว่างกลุ่มดาวแมงป่องทางทิศตะวันตก กับกลุ่มดาวแพะทะเลทางทิศตะวันออก ดาวสว่างในกลุ่มดาวนี้เรียงกันเป็นรูปร่างคล้ายกาน้ำ.
ดู เอชดี 169830 บีและกลุ่มดาวคนยิงธนู
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ.
ดู เอชดี 169830 บีและระบบสุริยะ
หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป
หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป (European Southern Observatory; ESO) มีชื่อเต็มอย่างเป็นทางการว่า European Organization for Astronomical Research in the Southern Hemisphere หรือ องค์การแห่งยุโรปเพื่อการวิจัยทางดาราศาสตร์ในท้องฟ้าซีกใต้ เป็นองค์กรวิจัยนานาชาติสำหรับการศึกษาด้านดาราศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป 14 ประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู เอชดี 169830 บีและหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป
ดาวแก๊สยักษ์
วแก๊สยักษ์ทั้ง 4 ดวงของระบบสุริยะ เปรียบเทียบขนาดกับดวงอาทิตย์ (ตามสัดส่วนจริง) ดาวแก๊สยักษ์ (Gas giant) หรือบางครั้งเรียกกันว่า ดาวเคราะห์โจเวียน (Jovian planet; เรียกตามชื่อดาวพฤหัสบดี หรือดาวจูปิเตอร์ ซึ่งเป็นดาวแก๊สยักษ์ที่ใหญ่ที่สุด) คือดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ที่มิได้มีองค์ประกอบของหินหรือสสารแข็ง ในระบบสุริยะมีดาวแก๊สยักษ์ 4 ดวงคือ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ยังมีดาวแก๊สยักษ์อื่นๆ ที่ค้นพบว่าโคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่นๆ อีก ดาวแก๊สยักษ์ยังสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท ดาวแก๊สยักษ์ "ดั้งเดิม" คือดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ มีส่วนประกอบโดยพื้นฐานเป็นไฮโดรเจนและฮีเลียม ส่วนดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนอาจจัดเป็นประเภทย่อยอีกพวกหนึ่ง เรียกว่า "ดาวน้ำแข็งยักษ์" เพราะมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น น้ำ แอมโมเนีย และมีเทน ส่วนไฮโดรเจนกับฮีเลียมจะอยู่ในส่วนรอบนอกสุดของดาว สำหรับกลุ่มดาวเคราะห์นอกระบบ "ดาวพฤหัสบดีร้อน" (Hot Jupiter) คือดาวแก๊สยักษ์ที่โคจรใกล้กับดาวฤกษ์ของมันมากและมีอุณหภูมิพื้นผิวที่สูงมาก ซึ่งน่าจะเป็นเหตุให้เราสามารถตรวจจับมันพบได้ง่าย ลักษณะของดาวเคราะห์นอกระบบส่วนมากที่ค้นพบ จะเป็นแบบ ดาวพฤหัสบดีร้อน นี้เกือบทั้งหม.
ดู เอชดี 169830 บีและดาวแก๊สยักษ์
ดาวเสาร์
วเสาร์ (Saturn) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 6 จากดวงอาทิตย์ ถัดจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์เป็นดาวแก๊สยักษ์ที่มีรัศมีเฉลี่ยมากกว่าโลกประมาณเก้าเท่า แม้ว่าจะมีความหนาแน่นเป็นหนึ่งในแปดของโลก แต่มวลของมันมีมากกว่าโลกถึง 95 เท่า ดาวเสาร์ตั้งชื่อตามเทพโรมันแห่งการเกษตร สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์ของดาวเสาร์ (♄) แทนเคียวของเทพเจ้า ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลกของเร.
ดาวเคราะห์นอกระบบ
accessdate.
ดู เอชดี 169830 บีและดาวเคราะห์นอกระบบ
เอชดี 169830
อชดี 169830 (HD 169830) เป็นดาวแคระเหลือง-ขาว (สเปกตรัมประเภท F9V) ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตั้งอยู่ห่างจากระบบสุริยะ 118.46 ปีแสง.
ดู เอชดี 169830 บีและเอชดี 169830
ดูเพิ่มเติม
กลุ่มดาวคนยิงธนู
- MOA-2007-BLG-192Lb
- MOA-2007-BLG-400Lb
- SWEEPS J175853.92−291120.6
- กลุ่มดาวคนยิงธนู
- สัญญาณว้าว!
- เนบิวลาทะเลสาบ
- เมซีเย 18
- เอชดี 169830
- เอชดี 169830 บี
- โอเกิล-2007-บีเอลจี-349(เอบี)บี
ดาวเคราะห์นอกระบบที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2543
- 79 ซีตัส บี
- เอชดี 169830 บี
ดาวเคราะห์นอกระบบที่ตรวจพบโดยวิธีวัดความเร็วแนวเล็ง
- 14 เฮอร์คิวลีส ซี
- 14 เฮอร์คิวลีส บี
- 18 โลมา บี
- 47 หมีใหญ่ ซี
- 47 หมีใหญ่ บี
- 51 ม้าบิน บี
- 55 ปู อี
- 55 ปู เอฟ
- 61 หญิงสาว ซี
- 61 หญิงสาว บี
- 79 ซีตัส บี
- 83 สิงโต บีบี
- BD+14°4559 b
- กลีเซอ 176 บี
- กลีเซอ 317 บี
- กลีเซอ 581 ซี
- กลีเซอ 581 อี
- กลีเซอ 667 ซีซี
- กลีเซอ 876 ซี
- กลีเซอ 876 ดี
- กลีเซอ 876 บี
- กลีเซอ 876 อี
- พร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี
- อิปไซลอนแอนดรอมิดา ซี
- อิปไซลอนแอนดรอมิดา ดี
- อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)
- เทา คนเลี้ยงสัตว์ บี
- เอชดี 147018 ซี
- เอชดี 147018 บี
- เอชดี 147513 บี
- เอชดี 169830 บี
- เอชดี 171028 บี
- เอชดี 17156 บี
- เอชดี 189733 บี
- เอชดี 215497 บี
- เอชดี 222582 บี
- เอชดี 240210 บี
- เอชดี 28185 บี
- เอชดี 37605 บี
- เอชดี 40307 ดี
- เอชดี 4308 บี
- เอชดี 69830 ซี
- เอชดี 69830 ดี
- เอชดี 69830 บี
- เอชดี 76700 บี
- เอชไอพี 14810 บี
- แกมมา ซีฟิอัส เอบี
- แกมมา1 สิงโต บี
- ไอโอตา นาฬิกา บี
ดาวเคราะห์ยักษ์
- 14 เฮอร์คิวลีส ซี
- 14 เฮอร์คิวลีส บี
- 18 โลมา บี
- 2เอ็ม1207บี
- 47 หมีใหญ่ ซี
- 51 ม้าบิน บี
- 61 หญิงสาว ซี
- 79 ซีตัส บี
- 83 สิงโต บีบี
- BD+14°4559 b
- MOA-2007-BLG-400Lb
- PSR B1620-26 b
- กลีเซอ 317 บี
- กลีเซอ 504 บี
- กลีเซอ 876 อี
- ดับเบิลยูเอเอสพี-11บี/เอชเอที-พี-10บี
- ดับเบิลยูเอเอสพี-12บี
- ดับเบิลยูเอเอสพี-18บี
- ดับเบิลยูเอเอสพี-7บี
- ดาวพฤหัสบดีร้อน
- ดาวเคราะห์ยักษ์
- ทีอาร์อีเอส-2บี
- อิปไซลอนแอนดรอมิดา ซี
- อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)
- เทา คนเลี้ยงสัตว์ บี
- เอชดี 147018 ซี
- เอชดี 147018 บี
- เอชดี 147513 บี
- เอชดี 169830 บี
- เอชดี 171028 บี
- เอชดี 17156 บี
- เอชดี 240210 บี
- เอชดี 37605 บี
- เอชดี 4308 บี
- เอชดี 76700 บี
- เอชอาร์ 8799 บี
- เอชไอพี 14810 บี
- แกมมา ซีฟิอัส เอบี
- แกมมา1 สิงโต บี
- โอเกิล-2007-บีเอลจี-349(เอบี)บี
- ไอโอตา นาฬิกา บี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ HD 169830 b