โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี

ดัชนี เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี

ราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี หรือ เราะชีด-อัล-ดิน (رشیدالدین طبیب หรือ رشیدالدین فضل‌الله همدانی Rashid-al-Din Hamadani หรือ Rashid al-Din Tabib หรือ Rashid ad-Din Fadhlullah Hamadani) (ค.ศ. 1247 – ค.ศ. 1318) เป็นแพทย์ชาวเปอร์เชียhttp://www.britannica.com/eb/article-9062730 "Rashid ad-Din".

14 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1790พ.ศ. 1861ภาษาเปอร์เซียมองโกเลียผู้รู้รอบด้านจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิข่านอิลทวีปยูเรเชียซัทเทบีส์ประวัติศาสตร์ประเทศอิหร่านนักเขียนแพทย์เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

พ.ศ. 1790

ทธศักราช 1790 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและพ.ศ. 1790 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1861

ทธศักราช 1861 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและพ.ศ. 1861 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

มองโกเลีย

มองโกเลีย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้รู้รอบด้าน

ลโอนาร์โด ดา วินชี ถือกันว่าเป็น “คนเรอเนสซองซ์” และเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” คนสำคัญที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคนหนึ่ง ผู้รู้รอบด้าน (πολυμαθήςThe term was first recorded in written English in the early seventeenth century, polymath) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้ที่ไม่เป็นทางการเท่าใดนัก ผู้รู้รอบด้านอาจจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน คำว่า “คนเรอเนสซองซ์” (Renaissance man) หรือ “คนของโลก” (homo universalis) ซึ่งเป็นคำที่มีความนิยมน้อยกว่าที่มาจากภาษาละตินเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “ผู้รู้รอบด้าน” ที่ใช้ในการบรรยายถึงผู้มีการศึกษาดีและมีความเชี่ยวชาญในวิชาการต่างๆ หลายวิชา ลักษณะนี้มักจะปรากฏในโลกของอาหรับ ต่อมาในยุโรปความคิดนี้ก็มานิยมกันในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีจากความคิดที่เขียนโดยผู้แทนผู้มีความสามารถของยุคนั้นชื่อลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ (ค.ศ. 1404 – ค.ศ. 1472) ผู้กล่าวว่า “มนุษย์จะทำอะไรก็ได้ถ้าตั้งใจ” ประโยคนี้เป็นปรัชญาพื้นฐานของลัทธิมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ ที่ถือว่าอำนาจอยู่มือของมนุษย์ ความไม่มีขอบเขตของความสามารถและการวิวัฒนาการ และการนำไปสู่ความคิดที่ว่ามนุษย์ควรจะโอบอุ้มความรู้ทั้งหลายและพัฒนาตนเองให้เต็มความสามารถเท่าที่จะอำนวย ฉะนั้นผู้มีความสามารถในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาจึงแสวงหาการพัฒนาความรู้ความสามารถทุกด้าน การพัฒนาทางทางร่างกาย และการสร้างความสำเร็จในทางสังคมและทางศิลปะ ตัวอย่างของผู้ที่ถือว่าเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” ก็ได้แก่ เลโอนาร์โด ดา วินชี, พีทาโกรัส, อริสโตเติล, อาร์คิมิดีส, จาง เหิง (Zhang Heng), โอมาร์ คัยยาม, โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ และ เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี (رشیدالدین طبیب -Rashid-al-Din Hamadani) ในภาษาไทย มักจะอ้างถึงผู้รู้รอบด้านเป็นพหูสูตด้ว.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและผู้รู้รอบด้าน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิข่านอิล

ักรวรรดิข่านอิล (Ilkhanate; ایلخانان, "Ilkhanan"; มองโกเลีย: Хүлэгийн улс, "ดินแดนของฮูเลกู" (Hulagu-yn Ulus)) เป็นรัฐที่แตกมาจากจักรวรรดิมองโกล ครอบคลุมพื้นที่ในตะวันออกกลาง บริเวณประเทศอิหร่านในปัจจุบันเป็นส่วนใหญ่ คำว่า "อิลข่าน" มาจากนามที่กุบไลข่านประทานให้แก่ฮูเลกู ข่าน ผู้ปกครองคนแรก จุดเริ่มต้นของจักรวรรดิข่านอิลมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 เมื่อเจงกีส ข่าน รบชนะจักรวรรดิควาเรซม์ และพิชิตดินแดนในเอเชียกลางและตะวันออกกลาง ล่วงมาจนถึงฮูเลกู ข่าน พระนัดดา (หลาน) ของเจงกีส ข่าน เมื่อเขารบชนะราชวงศ์อับบาซียะฮ์ที่ครองกรุงแบกแดด ฮูเลกูก็ขยายอำนาจไปในปาเลสไตน์ ก่อนจะพ่ายให้กับชาวแมมลุกในยุทธการที่เอนจาลูต หลังมองเกอ ข่านสวรรคต จักรวรรดิมองโกลก็เกิดสงครามกลางเมือง และแตกออกเป็นหลายอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและจักรวรรดิข่านอิล · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยูเรเชีย

ทวีปยูเรเชีย เป็นมหาทวีปที่รวมเอาทวีปยุโรป กับทวีปเอเชียเข้าด้วยกัน โดยเส้นแบ่งของทวีปยุโรปกับเอเชียคือเทือกเขายูราล คำนี้ส่วนใหญ่จะใช้พูดถึงกับเรื่องในประวัติศาสตร์เมื่อครั้งโลกหลายร้อยล้านปีที่ทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียยังติดกัน ทวีปนี้ขยายตัวมาจากมหาทวีปพันเจีย โดยมีทวีปต่างๆที่แยกตัวออกมาคือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ (แยกออกมาจากทวีปแอฟริกา) ทวีปยูเรเชีย เกาะอินเดีย ออสเตรเลีย และขั้วโลกใต้ โดยที่ทวีปยูเรเชียนั้น ในปัจจุบันเรามักจะเรียกว่า ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย มากกว่าที่จะเรียกว่า ยูเรเชีย สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากที่ การเรียกอย่างนี้จะทำให้เกิดการสับสนว่าเป็น ทวีปใดกันแน่ ทั้งวัฒนธรรม การเมือง ประเพณี ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ วิถีชีวิต อาหารการกิน ยังแตกต่างกันด้วย นอกจากเราจะยังพูดถึงโลกล้านปีแล้ว การที่ทวีปเอเชียและทวีปยุโรป ติดกันตรงพรมแดนของประเทศจีน-ประเทศรัสเซีย เป็นต้น เป็นเสมือนเกาะใหญ่ และการคมนาคม ประวัติศาสตร์ยังคล้ายคลึงกันอีกด้วย เราจึงยังจะคงเรียกอยู.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและทวีปยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ซัทเทบีส์

ซเทบีส์ สาขาลอนดอน โซเทบีส์ สาขานิวยอร์ก ซัทเทบีส์ (Sotheby's) เป็นบริษัทจัดการประมูลผลงานศิลปะสัญชาติอังกฤษ ซัทเทบีส์ เดิมชื่อ เบเกอร์ส (Baker's) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 1744 โดยนายซามูเอล เบเกอร์ เป็นบริษัทจัดการประมูลที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ และเก่าแก่เป็นอันดับสามของโลก รองจาก Stockholms Auktionsverk (ก่อตั้ง ค.ศ. 1674 ที่สวีเดน) และ Uppsala Auktionskammare (ก่อตั้ง ค.ศ. 1731 ที่สวีเดน) ซัทเทบีส์ มีห้องค้าสำคัญอยู่ที่ถนนนิวบอนด์ กรุงลอนดอน และสาขาสหรัฐอเมริกาที่ถนนยอร์ก แมนฮัตตัน นิวยอร์ก โดยมีสำนักงานในหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งที่ประเทศไทย ตั้งแต..

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและซัทเทบีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

นักเขียน

นักเขียน คือผู้ที่สร้างงานเขียน อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันเทิงคดีหรือสารคดี นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทกวี ร้อยกรอง ร้อยแก้ว เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น กวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี นักเขียนอื่น ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและนักเขียน · ดูเพิ่มเติม »

แพทย์

แพทย์ (physician, doctor) หรือภาษาพูดว่า "หมอ" ในบางพื้นที่ตามชนบท อาจเรียกแพทย์ว่า "หมอใหญ่" เพื่อกันสับสนกับพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่อื่นในทางด้านสาธารณสุข แพทย์มีหน้าที่ ซักถามประวัติ ตรวจร่างกาย และส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม เพื่อสั่งการรักษาหรือให้การรักษาโรค ส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพ ให้แก่ผู้ป่วย ร่วมกับบุคลากรด้านสุขภาพอื่น.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

Aberdeen Bestiary) (folio 4v) การตกแต่งตัวพยัญชนะตัวแรกและขอบอย่างวิจิตรใน “หนังสือกำหนดเทศกาล” ของฝรั่งเศส ราวปี ค.ศ. 1400 เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร (Illuminated manuscript) หรือหนังสือตัวเขียนสีวิจิตร คือเอกสารตัวเขียนที่ตัวหนังสือตกแต่งเพิ่มเติมด้วยสีสรรค์เช่นตัวหนังสือตัวแรกที่ขยายใหญ่ขึ้นและเล่นลายอย่างวิจิตร หรือเขียนขอบคัน หรือทำเป็นจุลจิตรกรรม ตามความหมายตรงตัวจะหมายถึงต้นฉบับที่ตกแต่งด้วยเงินและทอง แต่การใช้กันโดยทั่วไปโดยนักวิชาการสมัยใหม่ในปัจจุบันจะหมายถึงต้นฉบับใดก็ได้ที่มีการตกแต่งหรือหนังสือประกอบภาพจากทั้งทางตะวันตกและทางศาสนาอิสลาม งานเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรฉบับแรกที่สุดที่มีการตกแต่งพอประมาณมาจากสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงที่ 7 ส่วนใหญ่ทำในไอร์แลนด์, อิตาลี และประเทศอื่นๆ บนผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ความสำคัญของเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรมิใช่เพียงคุณค่าทางวรรณกรรมแต่ยังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ด้วย ซี่งจะเห็นได้จากต้นฉบับเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรที่ทำให้เราเรียนรู้ถึงประวัติศาสตร์ โรมันและ กรีกที่ตกแต่งโดยผู้บันทึกและตกแต่งหนังสือตามอาราม เอกสารตัวเขียนสีวิจิตรส่วนใหญ่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันมาจากยุคกลางแม้ว่าการสร้างเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะทำกันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื้อหาของงานส่วนใหญ่ในสมัยแรก ๆ จะเป็นงานศาสนา แต่ต่อมาโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็เริ่มมีงานทางโลกเพิ่มขึ้น และเกือบทั้งหมดจะทำเป็นหนังสือแต่ก็มีบ้างที่เป็นม้วนหรือเป็นแผ่นเดียวเขียนบนหนัง (อาจจะเป็นหนังลูกวัว, แกะ, หรือแพะ) ที่มีคุณภาพดี หลังปลายยุคกลางวัสดุที่ใช้เขียนก็เปลี่ยนมาเป็นกระดาษ เมื่อวิวัฒนาการพิมพ์เพิ่งเริ่มใหม่ๆ ผู้พิมพ์ก็อาจจะทิ้งช่องว่างไว้สำหรับพยัญชนะตัวแรก, ขอบ หรือ ภายเขียนย่อส่วนแต่การพิมพ์ทำให้ ศิลปะการทำเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเสื่อมความนิยมลง แต่ก็ทำกันต่อมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 แต่น้อยลงมากและทำสำหรับผู้มีฐานะดีจริงๆ เท่านั้น นอกจากเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะเป็นตัวอย่างของสิ่งที่หลงเหลือมาจากยุคกลางแล้วก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมที่มาจากยุคกลางด้วย และบางครั้งก็เป็นจิตรกรรมอย่างเดียวที่เหลืออยู่จากยุคนั้น.

ใหม่!!: เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานีและเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Rashid al-DinRashid-al-Din Hamadaniเราะชีด-อัล-ดิน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »