เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แบ็กแรล

ดัชนี แบ็กแรล

็กเคอเรลในวงการวิทยาศาสตร์ไทยไม่นิยมอ่าน แบ็กแรล เหมือนในภาษาฝรั่งเศส นิยมใช้การอ่านภาษาอังกฤษคือ เบ็กเคอเรล ทำนองเดียวกันกับชื่อหน่วยของกระแสไฟฟ้า แอมแปร์ ซึ่งตั้งตามชื่อของ อ็องเดร-มารี อ็องแปร์ โปรดดู และเอกสารวิชาการอื่นประกอบ (สัญลักษณ์: Bq) เป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอของกัมมันตภาพ หรือการแผ่่กัมมันตรังสี ตามนิยามของสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ หนึ่งเบ็กเคอเรลหมายถึงกัมมันตภาพหรือการแผ่รังสีที่ได้จากการสลายนิวเคลียสหนึ่งตัวภายในหนึ่งวินาที เขียนในรูปหน่วยฐานได้เป็น s−1 หน่วยเบ็กเคอเรลตั้งชื่อตามอ็องรี แบ็กแรล นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

สารบัญ

  1. 27 ความสัมพันธ์: ชาวฝรั่งเศสการสลายให้กัมมันตรังสีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิมวลอะตอมมารี กูว์รีรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์วินาทีสัญกรณ์วิทยาศาสตร์สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติหน่วยอนุพันธ์เอสไออ็องตวน อ็องรี แบ็กแรลอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ฮิโระชิมะครึ่งชีวิตปีแยร์ กูว์รีนักฟิสิกส์นิวเคลียสของอะตอมแอมแปร์โพแทสเซียมไอโซโทปไฮน์ริช เฮิรตซ์ไตรไนโตรโทลูอีนเกรย์ (หน่วยวัด)เรเดียนเลขอาโวกาโดรเฮิรตซ์

  2. หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ

ชาวฝรั่งเศส

วฝรั่งเศส (อังกฤษ: French, ฝรั่งเศส: Français) คือกลุ่มผสมของชาวเคลต์ ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี โดยมีประชากรประมาณ 85 ล้านคนทั่วโลก โดยมีประมาณ 66 ล้านคนในประเทศฝรั่งเศส ในสหรัฐอเมริกา 8.3-11 ล้านคน ในประเทศแคนาดา ประมาณ 4.7 ล้านคน และในประเทศแอฟริกาใต้ ประมาณ 2 ล้านคน และที่อื่นๆ ทั่วโลก โดยมีการขยายสังคมเพิ่มในช่วงการล่าอาณานิคม.

ดู แบ็กแรลและชาวฝรั่งเศส

การสลายให้กัมมันตรังสี

การสลายให้อนุภาคแอลฟา เป็นการสลายให้กัมมันตรังสีชนิดหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอมปลดปล่อย อนุภาคแอลฟา เป็นผลให้อะตอมแปลงร่าง (หรือ "สลาย") กลายเป็นอะตอมที่มีเลขมวลลดลง 4 หน่วยและเลขอะตอมลดลง 2 หน่วย การสลายให้กัมมันตรังสี (radioactive decay) หรือ การสลายของนิวเคลียส หรือ การแผ่กัมมันตรังสี (nuclear decay หรือ radioactivity) เป็นกระบวนการที่ นิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร สูญเสียพลังงานจากการปลดปล่อยรังสี.

ดู แบ็กแรลและการสลายให้กัมมันตรังสี

การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ

การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ เป็นการโจมตีจักรวรรดิญี่ปุ่นด้วยอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปลายสงครามโลกครั้งที่สอง โดยคำสั่งของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา แฮร์รี เอส.

ดู แบ็กแรลและการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ

มวลอะตอม

อะตอมของ ลิเทียม-7 ที่ทันสมัยประกอบไปด้วย 3 โปรตอน 4 นิวตรอน และ 3 อิเล็กตรอน (มวลของอิเล็กตรอนทั้งหมดจะเป็น ~1/4300 ของมวลของนิวเคลียส) มันมีมวล 7.016 u ลิเทียม-6 ที่หายากในธรรมชาติ (มวล 6.015 u) มีนิวตรอนเพียง 3 ตัว เป็นผลให้มวลอะตอม (เฉลี่ย) ลดลงเหลือเพียง 6.941 u มวลอะตอม (ma) (อังกฤษ: Atomic mass) คือมวลของอนุภาคของอะตอมหรืออนุภาคย่อยของอะตอมหรือโมเลกุลของธาตุใด ๆ มีหน่วยเป็น หน่วยมวลอะตอมหรือเอเอ็มยู (unified Atomic Mass Unit - UAMU) หรือแค่ "u" โดย 1 u มีค่าเท่ากับ 1/12 ของมวลของหนึ่งอะตอมนิ่งของคาร์บอน-12 หรือ 1.66 x 10-24 กรัม โดยน้ำหนักนี้เทียบมาจาก 1 อะตอมของไฮโดรเจน หรือ 1/16 ของ 1 อะตอมของออกซิเจน สำหรับอะตอมทั่วไป มวลของโปรตอนและนิวตรอนเกือบจะเป็นมวลทั้งหมดของอะตอม และมวลอะตอมที่มีค่าเป็น u เกือบจะเป็นค่าเดียวกับเลขมวล.

ดู แบ็กแรลและมวลอะตอม

มารี กูว์รี

มารี สกวอดอฟสกา-กูว์รี (Marie Skłodowska-Curie) มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา (Marya Salomea Skłodowska;; 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2410 - 4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู แบ็กแรลและมารี กูว์รี

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู แบ็กแรลและรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

วินาที

วินาที (Second) เป็นหน่วยฐานของเวลาในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (เอสไอ) และยังเป็นหน่วยเวลาในระบบการวัดอื่น เท่ากับ 1 ส่วน 60 ของนาที ระหว่าง..

ดู แบ็กแรลและวินาที

สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

ัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (scientific notation) คือรูปแบบของการเขียนตัวเลขอย่างหนึ่ง มักใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ หรือวิศวกร เพื่อให้สามารถเขียนหรือนำเสนอจำนวนที่มีขนาดใหญ่มากหรือเล็กมาก และใช้คำนวณต่อได้ง่ายขึ้น แนวความคิดพื้นฐานของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ โดยทั่วไปจะเขียนตัวเลขให้อยู่ในพจน์ (Term) ของเลขยกกำลังฐานสิบ นั่นคือ (a คูณ 10 ยกกำลัง b) โดยที่เลขชี้กำลัง b เป็นจำนวนเต็ม และสัมประสิทธิ์ a เป็นจำนวนจริงใด ๆ ซึ่งสามารถเรียกว่า ซิกนิฟิแคนด์ (significand) หรือ แมนทิสซา (mantissa).

ดู แบ็กแรลและสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ

ำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ (International Bureau of Weights and Measures, Bureau international des poids et mesuresอ่านว่า บูโรแองแตร์นาเซียนาลเดปัวเซเมอซูร์ แปลตรงตัวคือ สำนักระหว่างประเทศว่าด้วยการชั่งและการวัด ย่อ BIPM เบอีเปเอ็ม หรือบีไอพีเอ็ม) เป็นองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานหน่วยชั่งตวงวัด จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาเมตริก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ดู แบ็กแรลและสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต..

ดู แบ็กแรลและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

หน่วยอนุพันธ์เอสไอ

หน่วยอนุพันธ์เอสไอ คือหน่วยที่เกิดจากการรวมกันของหน่วยฐานเอสไอโดยการคูณหรือหาร เพื่อใช้ในเรื่องการวัดและการแสดงปริมาณต่างๆ ซึ่งหน่วยอนุพันธ์สามารถมีได้มากมายไม่จำกัด เนื่องจากปริมาณต่างๆในโลกนี้ที่คนเราอยากรู้ก็ไม่สามารถจำกัดได้ เพียงแต่เลือกหน่วยพื้นฐานมาประกอบเข้าด้วยกันให้ถูกต้อง.

ดู แบ็กแรลและหน่วยอนุพันธ์เอสไอ

อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล

อ็องรี แบ็กแรล นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล (Antoine Henri Becquerel,; 15 ธันวาคม พ.ศ. 2395 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2451) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เกิดในตระกูลที่มีนักวิทยาศาสตร์ถึง 4 รุ่น ตั้งแต่รุ่นปู่จนกระทั่งรุ่นลูก เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ดู แบ็กแรลและอ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล

อ็องเดร-มารี อ็องแปร์

นของอ็องแปร์กับบุตรชาย อ็องเดร-มารี อ็องแปร์ (André-Marie Ampère; 22 มกราคม ค.ศ. 1775 — 10 มิถุนายน ค.ศ. 1836) เป็นนักฟิสิกส์และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ค้นพบทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า หน่วย SI ของการวัดกระแสไฟฟ้า โดยชื่อของหน่วยแอมแปร์ ได้ตั้งตามชื่อของ.

ดู แบ็กแรลและอ็องเดร-มารี อ็องแปร์

ฮิโระชิมะ

ระชิมะ หรือ ฮิโรชิม่า (広島) อาจหมายถึง.

ดู แบ็กแรลและฮิโระชิมะ

ครึ่งชีวิต

ครึ่งชีวิต (t½) (Half-life) คือเวลาที่สารกัมมันตรังสีใช้ในการสลายตัวเหลือครึ่งหนึ่งของที่มีอยู่เดิม มักถูกใช้เพื่ออธิบายคุณสมบัติของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี แต่อาจจะใช้เพื่ออธิบายปริมาณใด ๆ ก็ตามที่มีสลายตัวแบบเอ็กโพเนนเชียลด้วย จุดกำเนิดของคำศัพท์คำนี้ ได้ระบุไว้ว่าเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ดได้ค้นพบหลักการนี้ในปี 1907 และเรียกว่า "ช่วงเวลาครึ่งชีวิต" (half-life period) ต่อมาคำนี้ถูกย่อให้สั้นลงเหลือเป็น "ครึ่งชีวิต" (half-life) ในช่วงต้นทศวรรษปี 1950 หมวดหมู่:กัมมันตรังสี หมวดหมู่:นิวเคลียร์เคมี หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์ หมวดหมู่:การยกกำลัง.

ดู แบ็กแรลและครึ่งชีวิต

ปีแยร์ กูว์รี

ปีแยร์ กูว์รี (Pierre Curie; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 – 19 เมษายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส สามีของมารี กูว์รี นักเคมีชาวโปแลนด์ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ.

ดู แบ็กแรลและปีแยร์ กูว์รี

นักฟิสิกส์

นักฟิสิกส์ คือนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาหรือปฏิบัติงานด้านฟิสิกส์ นักฟิสิกส์ศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพอย่างกว้างขวางในทุกขนาด ตั้งแต่อนุภาคระดับต่ำกว่าอะตอม (sub atomic particles) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสสาร (ฟิสิกส์ของอนุภาค) ไปจนถึงพฤติกรรมของวัตถุในเอกภพโดยรวม (จักรวาลวิทยา หรือ Cosmology) วิชาฟิสิกส์มีมากมายหลายสาขา แต่ละสาขามีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในสาขานั้น.

ดู แบ็กแรลและนักฟิสิกส์

นิวเคลียสของอะตอม

ground state)) แต่ละนิวคลีออนสามารถพูดได้ว่าครอบครองช่วงหนึ่งของตำแหน่ง นิวเคลียส ของอะตอม (Atomic nucleus) เป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่หนาแน่นในใจกลางของอะตอม ประกอบด้วยโปรตอน และนิวตรอน (สำหรับอะตอมของไฮโดรเจนธรรมดา นิวเคลียสมีแต่โปรตอนเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน) นิวเคลียสถูกค้นพบในปี 1911 โดยเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ที่ได้จาก'การทดลองฟอยล์สีทองของ Geiger-Marsden ในปี 1909'.

ดู แบ็กแรลและนิวเคลียสของอะตอม

แอมแปร์

แอมแปร์ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า แอมป์ (สัญลักษณ์: A) เป็นหน่วยวัดกระแสไฟฟ้า หรือปริมาณของประจุไฟฟ้าต่อวินาที แอมแปร์เป็นหน่วยฐานเอสไอ ตั้งชื่อตามอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส หนึ่งในผู้ค้นพบแม่เหล็กไฟฟ้.

ดู แบ็กแรลและแอมแปร์

โพแทสเซียม

แทสเซียม (Potassium) ธาตุเคมีในกลุ่มโลหะ มีเลขอะตอม 19 สัญลักษณ์ K สัญลักษณ์ของโพแทสเซียม มาจากภาษาเยอรมันว่า Kalium ส่วนชื่อโพแทสเซียม มาจากคำว่า โพแทส ซึ่งเป็นชื่อเรียกแร่ชนิดหนึ่งที่สกัดธาตุโพแทสเซียมได้ โพแทสเซียมเป็นโลหะอัลคาไล เป็นผงสีขาว-เงินอ่อนๆ ในธรรมชาติมักเป็นสารประกอบร่วมกับธาตุอื่นเพราะไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก สามารถออกซิไดซ์ได้อย่างรวดเร็วในอากาศ มีสมบัติทางเคมีใกล้เคียงกับโซเดียม.

ดู แบ็กแรลและโพแทสเซียม

ไอโซโทป

แสดงไอโซโทปของไฮโดรเจนที่เกิดในธรรมชาติทั้งสามตัว ความจริงที่ว่าแต่ละไอโซโทปมีโปรตอนเพียงหนึ่งตัว ทำให้พวกมันทั้งหมดเป็นไฮโดรเจนที่แตกต่างกัน นั่นคือ ตัวตนของไอโซโทปถูกกำหนดโดยจำนวนของนิวตรอน จากซ้ายไปขวา ไอโซโทปเป็นโปรเทียม (1H) ที่มีนิวตรอนเท่ากับศูนย์, ดิวเทอเรียม (2H) ที่มีนิวตรอนหนึ่งตัว, และ ทริเทียม (3H) ที่มีสองนิวตรอน ไอโซโทป (isotope) เป็นความแตกต่างขององค์ประกอบทางเคมีที่เฉพาะเจาะจงของธาตุนั้นซึ่งจะแตกต่างกันในจำนวนของนิวตรอน นั่นคืออะตอมทั้งหลายของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีจำนวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ส่งผลให้เลขมวล(โปรตอน+นิวตรอน)ต่างกันด้วย และเรียกเป็นไอโซโทปของธาตุนั้น.

ดู แบ็กแรลและไอโซโทป

ไฮน์ริช เฮิรตซ์

น์ริช เฮิรตซ์ (Heinrich Hertz; 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2400 — 1 มกราคม พ.ศ. 2437) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน และเป็นคนแรกที่พิสูจน์ถึงการมีอยู่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแสง เฮิรตซ์พิสูจน์ทฤษฎีโดยการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ส่งและรับคลื่นวิทยุโดยใช้การทดลอง นั่นให้เหตุผลถึงปรากฏการณ์แบบไร้สายอื่น ๆ ที่รู้จัก หน่วยวิทยาศาสตร์ของความถี่ รอบต่อวินาที ถูกตั้งชื่อเป็น เฮิรตซ์ เพื่อเป็นเกียรติแก.

ดู แบ็กแรลและไฮน์ริช เฮิรตซ์

ไตรไนโตรโทลูอีน

ทีเอ็นที (TNT; ย่อจาก "ไตรไนโตรโทลูอีน" (Trinitrotoluene)) มีสารเคมีซึ่งมีสูตรคือ C6H2(NO2)3CH3 เป็นของแข็งสีเหลืองซึ่งบ้างใช้เป็นตัวเร่งในการสังเคราะห์เคมี แต่รู้จักกันดีที่สุดว่าเป็นวัตถุระเบิดที่มีประโยชน์โดยมีคุณสมบัติจัดการได้สะดวก สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ..

ดู แบ็กแรลและไตรไนโตรโทลูอีน

เกรย์ (หน่วยวัด)

ำหรับเกรย์ในความหมายเกี่ยวกับสี ดู สีเทา เกรย์ (gray, สัญลักษณ์: Gy) เป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอสำหรับใช้วัดปริมาณการแผ่รังสีไอออไนซ์ (ionising radiation) และปริมาณการดูดซับพลังงานจากโฟตอนโดยอิเล็กตรอน หนึ่งเกรย์มีค่าเท่ากับปริมาณพลังงานหนึ่งจูลที่ถูกดูดซับในสสารมวลหนึ่งกิโลกรัม ตั้งชื่อตาม หลุยส์ ฮาโรลด์ เกรย์ นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ และเริ่มใช้เมื่อ..

ดู แบ็กแรลและเกรย์ (หน่วยวัด)

เรเดียน

มุมปกติทั่วไปบางมุม วัดในหน่วยเรเดียน เรเดียน (radian) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบสองมิติ ใช้สัญลักษณ์ "rad" หรืออักษร c ตัวเล็กที่ยกสูงขึ้น (มาจาก circular measure) ซึ่งไม่เป็นที่นิยมนัก ตัวอย่างเช่น มุมขนาด 1.2 เรเดียน สามารถเขียนได้เป็น "1.2 rad" หรือ "1.2c " เรเดียนเคยเป็น หน่วยเสริม ของหน่วยเอสไอ แต่ถูกยกเลิกใน พ.ศ.

ดู แบ็กแรลและเรเดียน

เลขอาโวกาโดร

อาเมเดโอ อาโวกาโดร เลขอาโวกาโดร (Avogadro's number) หรือ ค่าคงตัวอาโวกาโดร (Avogadro's constant) คือ จำนวนของอะตอมของธาตุคาร์บอนในไอโซโทปคาร์บอน-12 จำนวน 12 กรัมเท่ากับ (6.02214179±0.00000030) ×1023 มวลสัมพัทธ์อะตอมของธาตุใด ๆ ก็ตามที่มีหน่วยใด ๆ ก็ตามจะมีจำนวนอะตอมเท่านี้ เลขอาโวกาโดรเป็นชื่อที่ตั้งตามชื่อของอาเมเดโอ อาโวกาโดร นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี ซึ่งได้ตั้งสมมุติฐานไว้เมื่อ พ.ศ.

ดู แบ็กแรลและเลขอาโวกาโดร

เฮิรตซ์

ลื่นไซน์ในความถี่ที่แตกต่างกัน เฮิรตซ์ (อ่านว่า เฮิด) (Hertz ย่อว่า Hz) เป็นหน่วย SI ของค่าความถี่ โดย 1 Hz คือความถี่ที่เท่ากับ 1 ครั้ง ต่อวินาที (1/s) หรือ:1 Hz.

ดู แบ็กแรลและเฮิรตซ์

ดูเพิ่มเติม

หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Bqเบ็กเกอเรล