สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 779พ.ศ. 823การพิชิตง่อก๊กของจิ้นกาอุ้นยุคสามก๊กง่อก๊กซุนโฮ
- ขุนนางของง่อก๊ก
- ขุนพลของง่อก๊ก
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 779
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 823
- บุคคลในยุคสามก๊กที่ถูกสังหารในยุทธการ
- อัครมหาเสนาบดีจีน
พ.ศ. 779
ทธศักราช 779 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 823
ทธศักราช 823 ใกล้เคียงกั.
การพิชิตง่อก๊กของจิ้น
ยุทธการพิชิตง่อก๊ก (Conquest Wu by Jin) สงครามรวบรวมแผ่นดินจีนของ ราชวงศ์จิ้น ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก ซึ่งในที่สุด พระเจ้าซุนโฮ ก็ได้ยอมแพ้ต่อ ราชวงศ์จิ้น เมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ.
ดู เตียวเค้าและการพิชิตง่อก๊กของจิ้น
กาอุ้น
กาอุ้น หรือ แกฉง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า เจี่ยชง (Jia Chong) มีชื่อรองว่า กงลวี้ (ฺGonglü) เป็นเสนาธิการแห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ในช่วงหลัง ยุคสามก๊ก กาอุ้นเกิดเมื่อ..
ยุคสามก๊ก
แผ่นที่แสดงอาณาเขตของแต่ละก๊กในปี พ.ศ. 805 (Wei-วุย) (Wu-ง่อ) (Shu-จ๊ก) สามก๊ก (ค.ศ. 220–280; Three Kingdoms) เป็นไตรภาคีระหว่างรัฐวุย (魏) จ๊ก (蜀) และง่อ (吳) หลังการหมดอำนาจโดยพฤตินัยของราชวงศ์ฮั่นในจีน นำสู่การเริ่มหกราชวงศ์ (六朝) แต่ละรัฐปกครองโดยจักรพรรดิซึ่งอ้างการสืบราชสันตติวงศ์โดยชอบจากราชวงศ์ฮั่น ในความหมายทางวิชาการอย่างเคร่งครัด ยุคสามก๊กหมายถึงช่วงเวลาระหว่างการก่อตั้งรัฐวุยใน..
ง่อก๊ก
ง่อก๊ก หรือ ตั้งอู๋ (東吳) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก ปกครองโดยพระเจ้าซุนกวน ในระหว่างปี พ.ศ. 765 - พ.ศ. 823 (ปี ค.ศ. 222-280) ง่อก๊กครอบครองพื้นที่ทางด้านตะวันออกของประเทศจีน ทางบริเวณตอนใต้ของแม่น้ำแยงซี ซึ่งคือพื้นที่บริเวณรอบ ๆ เมืองหนานจิงในปัจจุบัน ง่อก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 4 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ซุน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..
ซุนโฮ
ซุนโฮ (Sun Hao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งง่อก๊ก ได้ชื่อว่าเป็นฮ่องเต้ที่เป็นทรราชย์มากที่สุดผู้หนึ่งจนอาณาจักรล่มสลาย เป็นราชโอรสในพระเจ้าซุนเหลียง ราชโอรสในพระเจ้าซุนกวน ขึ้นครองราชย์หลังจากที่ พระเจ้าสุมาเอี๋ยนหลังจากที่กลืนจ๊กก๊กไปแล้ว ก็หมายจะถล่มง่อก๊ก พระเจ้าซุนฮิวตกพระทัยจนประชวรและสิ้นพระชนม์ลง บรรดาขุนนางง่อก๊กครั้นเมื่อถวายพระศพพระเจ้าซุนฮิวเสร็จแล้ว ก็มีความเห็นตรงกันว่า ควรเชิญซุนเปียน ราชบุตรขึ้นครองราชย์สืบไปตามประเพณี แต่บั้นเฮ็กและเตียวเป๋าขุนนางผู้ใหญ่ คัดค้านเพราะมีความเห็นว่า ถ้าเป็นซุนเปียนเกรงว่าบ้านเมืองจะไปไม่รอด จึงเห็นว่าควรทูลเชิญซุนโฮ ผู้เป็นราชนัดดาในพระเจ้าซุนกวนขึ้นครองราชย์จะสมกว่า เพราะมีสติปัญญาเฉียบแหลมกว่า จึงมีพิธีราชาภิเษกขึ้นในวันขึ้นหนึ่งค่ำ เดือนเก้า เมื่อได้ครองราชย์แล้ว พระเจ้าซุนโฮก็สถาปนาซุนเปียนเป็นเจ้าเจี๋ยงอ๋อง ให้ขุนพลเตงฮองเป็นต้ายสุมา จากนั้นก็ทรงมีพฤติกรรมวิปริต มิได้ตั้งอยู่ในธรรม ทรงฟังแต่คำของยิมหุน ขันทีในวัง เอียงเหียงและเตียวเป๋าได้เข้าไปทูลห้ามเตือนหลายต่อหลายครั้ง พร้อมกล่าวว่า ถ้าพระองค์ขืนประพฤติองค์เช่นนี้ ไม่ช้าแผ่นดินนี้จะต้องตกเป็นของสุมาเอี๋ยนอย่างแน่นอน พระเจ้าซุนโฮกริ้ว จึงสั่งให้ประหารขุนนางทั้งสอง จากนั้นมาก็ไม่มีใครกล้าเพ็ดทูลห้ามปรามอีกเลย วันหนึ่ง พระเจ้าซุนโฮแปรพระราชฐานจากกังตั๋ง ไปประทับอยู่ยังเมืองบู๊เฉียง ก็ทรงใช้จ่ายพระราชทรัพย์ในการสร้างพระราชวังแห่งใหม่อย่างฟุ่มเฟื่อย จากการขูดรีดภาษีราษฎร พร้อมเสพสมกามากับเด็กสาววัยรุ่นมากมาย ต่อมาได้ทรงให้โหรหลวงทำนายดวงชะตา โหรทำนายว่า ต่อไปภายภาคหน้า พระเกียรติยศจะขจรขจายไปถึงลกเอี๋ยง พระเจ้าสุมาเอี๋ยนต้องมาสยบกับแทบพระบาท พระเจ้าซุนโฮดีพระทัยนัก จึงฮึกเหิมหมายจะบุกตีนครลกเอี๋ยง จึงเรียกบรรดาขุนนางมาประชุมถึงการบุกไปตีลกเอี๋ยง หอกหยก ขุนนางคนหนึ่งจึงทูลคัดค้านไปพร้อมกับสั่งสอนพระองค์ให้ตั้งมั่นอยู่ในธรรม ทำนุบำรุงราษฎร บ้านเมืองจะดีกว่า พระเจ้าซุนโฮทรงกริ้วไล่หอกหยกออกจากราชการ พร้อมกับดึงดันแต่งตั้งให้ลกข้องเป็นแม่ทัพใหญ่ ยกทัพไปประชิดเมืองซงหยง ปากทางเข้าอาณาจักรไต้จิ้น พระเจ้าสุมาเอี๋ยน จึงมีบัญชาให้เอียวเก๋า เจ้าเมืองซงหยงตั้งพร้อมเตรียมรับศึก เอียวเก๋าเป็นผู้มีเมตตาธรรม ไม่ชอบออกทัพจับศึก จึงคิดผูกไมตรีกับลกข้อง ท้ายที่สุดลกข้องก็ปลาบปลื้มในน้ำใจเอียวเก๋า มีหนังสือไปยังพระเจ้าซุนโฮว่า ทางฝ่ายนี้มิได้คิดร้ายขออย่าได้สู้รบกันเลย พระเจ้าซุนโอก็กริ้ว สั่งปลดลกข้องออกจากตำแหน่ง และยกให้ซุนอี้เป็นแม่ทัพแทน ในเวลานั้น ขุนนางคนใดไม่เห็นด้วยกับพระองค์ ก็จะถูกปลดหรือถูกประหารชีวิตไปหมดสิ้น ทางฝ่ายเอียวเก๋า เมื่อทราบว่าลกข้องถูกปลดออกจากแม่ทัพใหญ่แล้ว มีหนังสือทูลไปยังพระเจ้าสุมาเอี๋ยน เป็นเวลาที่เหมาะสมแล้วที่จะบุกตีง่อก๊ก แต่กาอุ้นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ไม่เห็นด้วย เอียวเก๋าจึงเดินทางกลับลกเอี๋ยง และลาออกจากราชการ ไปพักอาศัยอยู่ยังบ้านเดิม จนกระทั่งสิ้นชีวิต ก่อนสิ้นชีวิตเอียวเก๋าได้กราบทูลว่า บัดนี้เห็นควรแต่งตั้ง เตาอี้ เป็นแม่ทัพใหญ่ทำการนี้แทน ท้ายที่สุดเตาอี้ก็สามารถเอาชนะง่อก๊กได้สำเร็จ ในปี พ.ศ.
ดูเพิ่มเติม
ขุนนางของง่อก๊ก
- งำเต๊ก
- งิมหุน
- จวนจ๋อง
- จิวหอง
- จูกัดเอี๋ยน
- จูตี
- ชีเซ่ง
- ซีหอง
- พัวเจี้ยง
- พัวโยย
- ลกข้อง
- ลกซุน
- ลิต้าย
- ลิห้อม
- เตงฮอง
- เตียวอุ๋น (ง่อก๊ก)
- เตียวเค้า
- เตียวเจียว
- เตียวเป๋า
- เปาจิด
- โกะหยง
ขุนพลของง่อก๊ก
- จวนจ๋อง
- จิวท่าย
- จิวหอง
- จูกัดเก๊ก
- จูกัดเอี๋ยน
- จูตี
- จูหวน
- จูอี้
- จูเหียน
- ชีเซ่ง
- ซุนจุ๋น
- ซุนหลิม
- ซุนเสียว
- บิฮอง
- พัวเจี้ยง
- พัวโยย
- ลกข้อง
- ลกซุน
- ลิต้าย
- ลิห้อม
- ฮันต๋ง
- เตงฮอง
- เตียวอุ๋น (ง่อก๊ก)
- เตียวเค้า
- เตียวเจียว
- เตียวเป๋า
- เปาจิด
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 779
- สุมาเอี๋ยน
- เตียวเค้า
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 823
บุคคลในยุคสามก๊กที่ถูกสังหารในยุทธการ
- กองซุนเอี๋ยน
- จงโฮย
- จูกัดสง
- จูกัดเจี๋ยม
- ปอเฉียม
- ม้าเลี้ยง
- สะโมโข
- อองฮู
- เกียงอุย
- เตงงาย
- เตียวคับ
- เตียวหงี
- เตียวหลำ
- เตียวเค้า
- เตียวเอ๊ก
- เปาเตียว
- เฮียงทง