เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เดอะเฟมมอนสเตอร์

ดัชนี เดอะเฟมมอนสเตอร์

อะเฟมมอนสเตอร์ (The Fame Monster) เป็นอีพีลำดับที่สามของศิลปินหญิงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า วางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2009 ในตอนแรก 8 แทร็คจากอัลบั้มนี้ตั้งใจที่จะเป็นเพิ่มลงในอัลบั้มชุดแรก The Fame แต่ต่อมาเธอประกาศว่าเพลงใหม่ทั้งหมดนี้จะถูกวางจำหน่ายแบบอัลบั้มเดี่ยว เนื่องจากการทำเพิ่มเพลงลงอัลบั้มเดิมมีค่าใช้จ่ายที่สูงเกินไป และเนื้อหาในอัลบั้มใหม่มีเนื้อหาที่แตกต่างจากอัลบั้ม The Fame และไม่มีความจำเป็นต้องใช้เพลงจากอัลบั้มแรกมาสนับสนุน 5 สัปดาห์ต่อมาในวันที่ 15 ธันวาคม 2009 ได้มีการวางจำหน่ายอัลบั้มเดอะเฟมมอนสเตอร์ รุ่นดีลักซ์ที่มี 2 ซีดีจากเดอะเฟมมอนสเตอร์และ The Fame ที่มาในรูปแบบโบนัสดิสก์ เดอะเฟมมอนสเตอร์มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับด้านมืดของความโด่งดังที่เลดี้กาก้าพบเจอจากประสบการณ์จริงระหว่างทัวร์คอนเสิร์ตปี 2008-2009 ผ่านคำเปรียบเทียบ "Monster-ปีศาจ" และเปรียบเทียบความรู้สึกต่อเดอะเฟมมอนสเตอร์กับ The Fame ว่าต่างกันเหมือนกับหยินหยาง เธอรบเร้าให้ต้นสังกัดอนุญาตให้เธอถ่ายภาพปกอัลบั้มในสไตล์โกธิคที่มืดหม่น โดยมีเฮดิ ซลิมาน เป็นช่างภาพ เพลงในอัลบั้มได้รับอิทธิพลจากเพลงโกธิคและแฟชั่นโชว์ เพลง Bad Romance, Telephone และ Dance in the Dark ต่างเป็นเพลงที่ได้รับคำวิจารณ์ในทางบวก บางประเทศอีพีนี้ขึ้นชาร์ตคู่กับอัลบั้ม The Fame ยกเว้นสหรัฐอเมริกา, แคนาดา และญี่ปุ่นที่ขึ้นชาร์ตเป็นอัลบั้มเดี่ยวเท่านั้น เดอะเฟมมอนสเตอร์ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในออสเตรเลีย เยอรมนี ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ โปแลนด์ และสหราชอาณาจักร Bad Romance ถูกปล่อยเป็นซิงเกิลแรก และสามารถขึ้นชาร์ตอัลบั้มขายดีที่อันดับหนึ่งในประเทศแคนาดา สหราชอาณาจักร และไอร์แลนด์ ติดชาร์ตอันดับที่ 2 ของออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และสวีเดน ซิงเกิลต่อมาคือ Telephone และ Alejandro ก็สามารถติดชาร์ตหนึ่งในสิบอันดับแรกของสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2009 4 วันหลังประกาศจำหน่ายอัลบั้มใหม่ เลดี้กาก้าประกาศทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สองของเธอในชื่อว่า The Monster Ball Tour และจะสิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม 2011 นี้ เดอะเฟมมอนสเตอร์ได้รับการเสนอชื่อให้เข้าชิงรางวัลแกรมมี่อวอร์ดทั้งสิ้น 6 สาขารางวัล 2 ใน 6 รางวัลที่เข้าชิง ได้แก่รางวัลอัลบั้มแห่งปีและรางวัลอัลบั้มเพลงป็อบยอดเยี่ยม.

สารบัญ

  1. 57 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบอร์นดิสเวย์ชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักรชาวอเมริกันบิลบอร์ด 200บียอนเซ่ โนวส์พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553กอทิกมอนสเตอร์ยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุปยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ลอสแอนเจลิสไทมส์ลัทธิเต๋าสมาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเทศสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกาออริคอนออลมิวสิกอิเล็กโทรป็อปอเลฮานโดรผู้ปกครองควรแนะนำจัสต์แดนซ์ดิสคอกส์ดิออบเซิร์ฟเวอร์ดิอินดีเพ็นเดนต์ดนตรีแดนซ์ปาปารัซซี (เพลง)ป็อปแบดโรมานซ์แผ่นซีดีโรลลิงสโตนไปรษณียบัตรเรดวันเลิฟเกมเลดีกากาเอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)เอ็นเอ็มอีเทเลโฟนเดอะเฟม1 กุมภาพันธ์1 ธันวาคม15 ธันวาคม16 เมษายน18 พฤศจิกายน18 ธันวาคม20 พฤศจิกายน20 เมษายน21 ธันวาคม22 ตุลาคม23 พฤศจิกายน... ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »

  2. รางวัลแกรมมี สาขาอัลบั้มเพลงป็อปยอดเยี่ยม
  3. อัลบั้มเพลงที่ผลิตโดยเรดวัน
  4. อัลบั้มเพลงที่ผลิตโดยเลดีกากา

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

บอร์นดิสเวย์

อร์นดิสเวย์ (Born This Way) เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่สองของเลดี้ กาก้า ศิลปินหญิงชาวอเมริกัน ภายใต้ค่ายอินเทอร์สโคปเรเคิดส์ (Interscope Records) โดยร่วมมือกับเรดวัน และ ฟเอร์นันโด การิเบย์ ซึ่งเคยทำงานกับกาก้ามาก่อนหน้านี้ และได้รับความร่วมมือจากดีเจใหม่ อาทิ DJ Snake, DJ White Shadow, Jeppe Laursen, Robert John "Mutt" Lange และ Clinton Sparks และยังได้ร่วมมือกับศิลปินอื่นสร้างสรรค์งานเพลง อาทิ E Street Band นักแซกโซโฟน คลาเรนซ์ เคลมอนส์ และ Queen guitarist Brian May โดยอัลบั้มได้รับการยืนยันผ่านหน้าทวิตเตอร์ของเลดี้กาก้าอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และบอร์นดิสเวย์

ชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักร

ร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักร (The UK Albums Chart) เป็นอันดับอัลบั้มที่วัดจากยอดขายที่เป็นแผ่นและยอดขายดิจิตอลในสหราชอาณาจักร จัดอันดับโดยบริษัทดิออฟฟิเชียลยูเคชาร์ตสคอมปานี (The Official UK Charts Company, OCC) และตีพิมพ์ในนิตยสารมิวสิกวีก และเว็บไซต์ของโอซีซี ส่วนอันดับอัลบั้ม 200 อันดับเต็ม ตีพิมพ์เฉพาะในชาร์ตสพลัส การจัดแบ่งเข้าอันดับชาร์ตอัลบั้มจะต้องดูในเรื่องความยาวของอัลบั้มและราคา ต้องมีมากกว่า 3 เพลงหรือความยาวมากกว่า 20 นาที และไม่เป็นบัดเจตอัลบั้ม ซึ่งบัดเจตอัลบั้มมีราคาระหว่าง 0.50 ถึง 4.24 ปอนด์ และนอกจากนั้นอัลบั้มรวมเพลงโดยหลายศิลปิน ที่ตั้งแต่เดือนมกราคม..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักร

ชาวอเมริกัน

วอเมริกัน หรือ ประชากรของสหรัฐอเมริกา (People of the United States หรือ U.S. Americans หรือ Americans หรือ American people) คือประชาชนของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่ประกอบด้วยกลุ่มชนจากหลายชาติพันธุ์และเชื้อชาติ ซึ่งทำให้ชาวอเมริกันบางคนไม่ถือว่าอเมริกันเป็น "ชาติพันธุ์" (ethnicity) และจะบ่งตนเองโดยเชื้อชาติ (nationality) และชาติพันธุ์ดั้งเดิม (ancestral origin) เช่นชาวฮังการีอเมริกันเป็นต้น นอกไปจากชาวอเมริกันอินเดียนแล้ว ชาวอเมริกันเกือบทั้งหมดหรือบรรพบุรุษก็เป็นผู้ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในช่วงระยะเวลาห้าร้อยปีที่ผ่านมา การที่ชาวอเมริกันมาจากหลายชาติพันธุ์ทำให้เป็นชาติที่มีธรรมเนียม และคุณค่าที่แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และชาวอเมริกัน

บิลบอร์ด 200

ลบอร์ด 200 (Billboard 200) เป็นชาร์ตอันดับเพลง 200 อันดับของนิตยสารบิลบอร์ด ที่รายงานยอดขายสูงสุดของอัลบั้มเพลงและอีพีในสหรัฐ ตีพิมพ์เป็นรายสัปดาห์ รายงานความนิยมของศิลปินหรือกลุ่มศิลปิน ชาร์ตยึดจากยอดขาย (ทั้งส่วนจากร้านค้าและดิจิทัลดาวน์โหลด) ของอัลบั้มในสหรัฐ ยอดขายประจำสัปดาห์จะนับจากวันจันทร์และสิ้นสุดวันอาทิตย์ ชาร์ตใหม่จะตีพิมพ์ในวันพฤหัสในฉบับของวันเสาร์ถัดไป โดยทั่วไปแล้วสินค้า อัลบั้มเพลงจะออกวางขายในตลาดอเมริกันวันอังคาร ส่วนการดาวน์โหลดแบบดิจิตอลก็จะรวมเข้าไปในตารางบิลบอร์ด 200 ด้วย ตราบใดที่ขายทั้งอัลบั้ม อัลบั้มที่ไม่ได้ขายในร้านค้าในสหรัฐ (ยังไม่รวมถึงการขายแบบนำเข้า) ก็จะไม่นับเข้าชาร์ต และจากนโยบายอันยาวนานที่จะไม่นับยอดขายจากร้านเฉพาะที่ไม่ใช่ร้านขายซีดีโดยตรง หรืออย่างร้านขายสินค้าจากโรงงาน เช่นวอล-มาร์ต หรือสตาร์บักส์ ก็ถูกยกเลิกไป และนำมานับในชาร์ตด้วยตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และบิลบอร์ด 200

บียอนเซ่ โนวส์

ียอนเซ่ จิเซลล์ โนวส์ เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1981 เป็นนักร้องสไตล์อาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง, โปรดิวเซอร์, นักแสดง และ นางแบบ ชาวอเมริกัน โนวส์เกิดและเติบโตที่ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส ในวัยเด็กบียอนเซ่ได้เข้าร่วมในการแสดงหลากหลายเรียนอนุบาลถึงประถม ซึ่งรวมไปถึงการร้องเพลง อันเป็นการปูทางสำหรับอาชีพการเป็นนักร้อง บียอนเซ่เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในช่วงปี 1990 ในฐานะสมาชิกคนสำคัญของเดสทินีส์ไชลด์ วงดนตรีหญิงล้วนแนวอาร์แอนด์บีชื่อดังในยุคนั้น ตลอดชีวิตการทำงานของเธอ มียอดขายเกินกว่า 100 ล้านชุดในฐานะศิลปินเดียว ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และบียอนเซ่ โนวส์

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และพ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และพ.ศ. 2553

กอทิก

กอทิก (Gothic) อาจหมายถึง.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และกอทิก

มอนสเตอร์

มอนสเตอร์ อาจหมายถึง.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และมอนสเตอร์

ยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุป

ูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุป (Universal Music Group) หรือ ยูเอ็มจี (UMG) เป็นกลุ่มธุรกิจและกลุ่มค่ายเพลงที่ใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมการบันทึกเสียง เป็นหนึ่งในสามค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ หรือที่เรียกกันว่า บิ๊กทรี (Big three) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุป

ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์

ูเอสบีแฟลชไดรฟ์ (USB flash drive) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับเก็บข้อมูลโดยใช้หน่วยความจำแบบแฟลช ทำงานร่วมกับยูเอสบี 1.1 หรือ 2.0 มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา ในปัจจุบัน แฟลชไดรฟ์มีความจุตั้งแต่ 4 GB ถึง 2TB โดยทั่วไปไดรฟ์จะทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการซึ่งรวมถึง วินโดวส์ 98/ME/2000/XP/Vista/7 แมคอินทอช ลินุกซ์ และยูนิกซ์ แฟลชไดรฟ์ รู้จักกันในชื่อต่างๆ รวมถึง "ทัมบ์ไดรฟ์" "คีย์ไดรฟ์" "จัมป์ไดรฟ์ และชื่อเรียกอื่น โดยขึ้นอยู่กับผู้ผลิต ปัจจุบันชื่อสากล จะเรียกว่าแฟลชไดรฟ.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และยูเอสบีแฟลชไดรฟ์

ลอสแอนเจลิสไทมส์

ลอสแอนเจลิสไทมส์ (Los Angeles Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ตีพิมพ์ในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่ปี..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และลอสแอนเจลิสไทมส์

ลัทธิเต๋า

ัญลักษณ์ หยิน-หยาง ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (道教 Dàojiao; Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "อู๋เหวย์" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ สำนักฉวนเจินและสำนักเจิ้งอี หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์เต้าจ้างและพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของจักรพรรดิจีน และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในประเทศจีนและประเทศไต้หวัน แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งในฮ่องกง มาเก๊า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และลัทธิเต๋า

สมาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเทศ

มาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเทศ (International Federation of the Phonographic Industry (IFPI)) เป็นองค์กรตัวแทนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสิ่งบันทึกเสียงทั่วโลก มีสำนักงานใหญ่ที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร และยังมีสำนักงานท้องถิ่นอยู่ในบรัสเซลส์ ฮ่องกง ไมแอมีและมอสโคว์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประชาสัมพันธ์คุณค่ายของดนตรี คุ้มครองลิขสิทธิ์ให้กับผู้ผลิตเพลงและขยายไปถึงการใช้งานทางธุรกิจของดนตรี ให้บริการกับสมาชิก ในเรื่อง การให้คำแนะนำนโยบายกฎหมาย (วิ่งเต้น), การบังคับใช้กฎหมายเรื่องการต่อต้านการละเมิดลิขสิทธิ์, การฟ้องร้องและงานขึ้นทะเบียน, การวิจัยการตลาดและการสนับสนุนการสื่อสาร.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และสมาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเทศ

สมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา

มาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา (The Recording Industry Association of America หรือ RIAA) เป็นสมาคมที่เป็นตัวแทนของผู้ประกอบกิจการเพลงในสหรัฐ มีสมาชิกจากทั้งค่ายเพลง ตัวแทนจำหน่าย ที่สมาคมกล่าวว่า "เป็นการรวมผู้สร้าง ผู้ผลิต หรือ/และ แจกจ่ายประมาณ ซึ่งมี 90% ของที่ถูกต้องตามกฎหมายเกี่ยวกับเพลง ที่ผลิตและขายในสหรัฐอเมริกา" โดยทำหน้าที่เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกลุ่มธุรกิจและศิลปินที่อยู่ใน วงการเพลง สมาคมก่อตั้งในปี 1952 โดยแรกเริ่มเพื่อจัดการ ดูแลด้านเทคนิคของความถี่ในการผลิตแผ่นเสียง ในระหว่างการผลิต จนสมาคมเริ่มพัฒนาเกี่ยวกับมาตรฐานด้านเทคนิค และระบบในอุตสาหกรรมเพลง เช่นเทปแม่เหล็ก (อย่างเทปคาสเซ็ตต์ และเทปดิจิทัล) ซีดี และเทคโนโลยีดิจิทัล.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา

ออริคอน

ออริคอน (Oricon) หรือชื่อเดิมคือ ออริจินัลคอนฟิเดนซ์ (Original Confidence) เป็นบริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่สัญชาติญี่ปุ่นซึ่งให้ข้อมูลข่าวสารและสถิติเกี่ยวกับเพลงและอุตสาหกรรมเพลงในประเทศ โซโก โคะอิเกะ (Sōkō Koike) ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2510 และเริ่มสร้างชื่อเสียงด้านการจัดทำผังดนตรี บริษัทออริคอนทำผังดนตรีโดยอาศัยข้อมูลซึ่งรับมาจากร้านขายปลีก 39,700 แห่ง (จำนวนเมื่อเดือนเมษายน 2554) ทั้งยังจัดอันดับยอดขายซีดีและดีวีดีเพลง เกมอิเล็กทรอนิกส์ และผลิตภัณฑ์อื่นในทางบันเทิง เป็นรายสัปดาห์ แล้วให้ออริคอนเอนเตอร์เทนเมนต์ (Oricon Entertainment) ซึ่งเป็นบริษัทลูก นำออกเผยแพร่ทุกวันอังคารทางเว็บไซต์บริษัทและทางนิตยสาร ออริคอนสไตล์ (Oricon Style) นอกจากนี้ บริษัทออริคอนยังสำรวจความนิยมโฆษณาทางโทรทัศน์ แล้วจัดอันดับเผยแพร่ลงเว็บไซต์ของตนด้ว.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และออริคอน

ออลมิวสิก

ออลมิวสิก หรือก่อนหน้านี้เรียก ออลมิวสิกไกด์ เป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับดนตรี มีเจ้าของคือออลมีเดียไกด์ ก่อตั้งในปี 1991 โดยไมเคิล เออร์เลไวน์ เพื่อเป็นไกด์ให้กับผู้บริโภค ออกหนังสือใช้สำหรับอ้างอิงในปี 1992 และหลังจากนั้นเมื่อมีเวิลด์ไวด์เว็บขึ้น ก็มีในโกเฟอร์ เว็บไซต์ออลมิวสิก.คอม เปิดตัวเมื่อปี 1995 เพื่อเป็นเว็บสาธิตเกี่ยวกับฐานข้อมูลด้านลิขสิทธิ์เพลง และข้อมูลอื่น ๆ มากมาย ออลมิวสิกอ้างว่าเป็นฐานข้อมูลดิจิทัลเกี่ยวกับดนตรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเพลง 6 ล้านเพลง รวมถึงมีภาพปก ซึ่งมากกว่า 5 แสนปกทำการสแกนขึ้น ออลมิวสิกให้ข้อมูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลแคตาล็อก ประวัติศิลปิน การวิจารณ์อัลบั้ม แนวเพลง ศิลปินใกล้เคียง เพลย์ลิสต์และข้อมูลของไอทูนส์มิวสิกสโตร์, ซูนมาร์เก็ตเพลส, อีมิวสิก, AOL, ยาฮู!, อเมซอน.คอม และเว็บสโตร์เกี่ยวกับเพลงต่าง.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และออลมิวสิก

อิเล็กโทรป็อป

อิเล็กโทรป็อป (Electropop) เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะเน้นการใช้งานเครื่องสังเคราะห์เสียง แนวเพลงได้เห็นการฟื้นตัวจากความนิยมและมีอิทธิพล ตั้งแต่ช่วงปลายยุค 2000 "อิเล็กโทรป็อป" เป็นคำย่อมาจาก อิเล็กทรอนิกส์ป็อป (electronic pop) หมวดหมู่:แนวดนตรี.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และอิเล็กโทรป็อป

อเลฮานโดร

อเลฮานโดร (Alejandro) เป็นเพลงที่ 3 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ (2009) เขียนโดย เลดี้ กาก้า และ เรดวัน, และผลิตโดย เรดวัน ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 20 เมษายน 2010.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และอเลฮานโดร

ผู้ปกครองควรแนะนำ

ป้ายผู้ปกครองควรแนะนำ ในปัจจุบัน ผู้ปกครองควรแนะนำ (Parental Advisory) เป็นข้อความที่ประทับโดยสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา (RIAA) ติดกับเพลงและแผ่นเสียงในสหรัฐอเมริกาที่มีเนื้อหาหยาบคาย หรือเรื่องทางเพศที่เกินกว่าจะรับได้ แต่เดิมเริ่มมีการติดป้ายคำว่า "explicit lyrics" (เนื้อเพลงโจ่งแจ้ง) ในปี..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และผู้ปกครองควรแนะนำ

จัสต์แดนซ์

ัสต์แดนซ์ (Just Dance) เป็นเพลงที่ 1 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า, เรดวัน และ เอค่อน, และผลิตโดย เรดวัน ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 8 เมษายน..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และจัสต์แดนซ์

ดิสคอกส์

อกส์ (Discogs ย่อมาจาก discographies) เป็นเว็บไซต์และฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับการบันทึกเสียงเพลง รวมทั้งการจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ การเผยแพร่ในการจัดจำหน่าย และการค้าของเถื่อนหรือนอกค่ายเพลงที่จำหน่าย เซิร์ฟเวอร์ Discogs ปัจจุบันอยู่ภายใต้ชื่อโดเมน discogs.com ที่เป็นเจ้าของโดย Zink Media, Inc.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และดิสคอกส์

ดิออบเซิร์ฟเวอร์

ออบเซิร์ฟเวอร์ (The Observer) เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับวันอาทิตย์ฉบับแรกของสหราชอาณาจักร มีแนวคิดทางการเมืองฝ่ายขวาเล็กน้อยจากหนังสือพิมพ์ เดอะ การ์เดียน (The Guardian) ในเครือเดียวกัน และยึดแนวเสรีนิยม / สังคมประชาธิปไตยในเกือบทุกประเด็นปัญห.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และดิออบเซิร์ฟเวอร์

ดิอินดีเพ็นเดนต์

อินดีเพ็นเดนต์ (The Independent) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1986 โดยIndependent News & Media ฉบับวันราชการเรียกกันสั้นๆ ว่า “อินดี้” และฉบับวันอาทิตย์เรียกกันสั้นๆ ว่า “ซันดี้” “ดิอินดีเพ็นเดนต์” เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับล่าที่สุดฉบับหนึ่งในสหราชอาณาจักร ในปี..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และดิอินดีเพ็นเดนต์

ดนตรีแดนซ์

ดนตรีแดนซ์ (dance music) เป็นดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นโดยเฉพาะเพื่ออำนวยความสะดวกหรือเพื่อคลอไปกับการเต้นรำ ในด้านการแสดง ดนตรีแดนซ์แบ่งประเภทหลักเป็นดนตรีแดนซ์สดกับดนตรีแดนซ์ที่บันทึกไว้ ขณะที่มีหลักฐานยืนยันว่ามีการเต้นรำพร้อมกับดนตรีตั้งแต่ยุคโบราณ (ตัวอย่างเช่น แจกันสมัยกรีกโบราณแสดงนักเต้นรำร่วมกับนักดนตรี) ดนตรีแดนซ์ฝั่งตะวันตกยุคแรก ๆ คือการเต้นรำยุคกลางที่เหลือรอดมาได้ ในยุคบาโรก รูปแบบการเต้นรำหลัก ๆ คือการเต้นรำในราชสำนักคนชั้นสูง ดนตรีแดนซ์สมัยใหม่ได้เกิดขึ้นจากเพลงลีลาศแบบตะวันตกในปลายศตวรรษที่ 19 ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 การเต้นลีลาศได้เพิ่มความนิยมในหมู่ชนชั้นแรงงานที่มักเข้าร่วมงานเต้นรำสาธารณะ ดนตรีแดนซ์กลายเป็นที่นิยมอย่างมากในช่วงยุค 1920 ในยุค 1930 ดนตรีสวิงเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยมในอเมริกา ยุค 1950 ร็อกแอนด์โรลกลายเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยม ในช่วงปลายยุค 1960 มีการเกิดของแนวเพลงโซลและอาร์แอนด์บีและดิสโก้ในยุค 1970 ซึ่งทำให้ดนตรีแดนซ์เป็นที่นิยมมากในผู้คนทั่วไป มาถึงช่วงปลายยุค 1970 ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ได้รับการพัฒนามาเรี่อย ๆ โดยส่วนใหญ่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นรูปแบบของเพลงสมัยนิยมที่มักจะเปิดในไนต์คลับ สถานีวิทยุ คอนเสิร์ต หมวดหมู่:ดนตรีแดนซ์.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และดนตรีแดนซ์

ปาปารัซซี (เพลง)

ปาปารัซซี (Paparazzi) เป็นเพลงที่ 5 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า และ Rob Fusari, และผลิตโดย Rob Fusari ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 5 กรกฎาคม 2009.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และปาปารัซซี (เพลง)

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และป็อป

แบดโรมานซ์

"แบดโรมานซ์" (Bad Romance) คือซิงเกิลแรกของเลดี้ กาก้า นักร้องสาวชาวอเมริกัน จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ เพลงนี้เป็นผลงานการโปรดิวซ์ของเรดวัน โดยได้แรงบันดาลใจมาจากภาวะจิตบกพร่องที่เธอประสบมาเมื่อปีก่อน ฉบับเดโมของเพลงนี้เกิดการรั่วไหล กาก้าจึงเปิดตัวเพลงดังกล่าว ณ สัปดาห์แฟชั่นฤดูใบไม้ผลิ/ฤดูร้อน ปี 2010 ของ Alexander McQueen เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และแบดโรมานซ์

แผ่นซีดี

แผ่นซีดี แผ่นซีดี ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ (compact disc) คือแผ่นจานแสง หรือดิสก์แสงเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งเดิมพัฒนาสำหรับเก็บเสียงดิจิทัล ซีดีคือมาตราฐานรูปแบบการบันทึกเสียงทางการค้าในปัจจุบัน.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และแผ่นซีดี

โรลลิงสโตน

รลลิงสโตน เป็นนิตยสารมีสำนักงานใหญ่ในสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับดนตรี การเมือง วัฒนธรรมสมัยนิยม พิมพ์ทุก 2 อาทิตย์ โรลลิงสโตนก่อตั้งครั้งแรกในซานฟรานซิสโก ในปี..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และโรลลิงสโตน

ไปรษณียบัตร

ปรษณียบัตร ไปรษณียบัตร (Carte Postaleอังกฤษ: postal card) มีลักษณะเป็นกระดาษแข็งจัดทำและจำหน่ายโดยไปรษณีย์ ด้านหน้ามีที่สำหรับใส่ที่อยู่ของผู้รับและผู้ส่ง และมีภาพแสตมป์พิมพ์ติดบนกระดาษ ส่วนด้านหลังเป็นที่ให้เขียนข้อความ สามารถส่งทางไปรษณีย์ได้เลยโดยไม่ต้องติดแสตมป์เพิ่ม มีอัตราค่าส่งถูกกว่าจดหมายธรรมดา เหมาะกับการส่งข้อความที่ไม่ต้องการความเป็นส่วนตัว เช่นการแจ้งข่าวสารต่าง ๆ แสตมป์บนไปรษณียบัตรมักเป็นอัตราสำหรับส่งภายในประเทศ แต่ประเภทที่ใช้ส่งต่างประเทศก็มีการทำขึ้นเช่นเดียวกัน โปสการ์ด ไปรษณียบัตร ในภาษาอังกฤษ อาจใช้คำว่า postcard หรือ post card ได้ แต่สองคำนี้มีความหมายกว้างกว่า กล่าวคือ หมายรวมถึง โปสการ์ด หรือ ไปรษณียบัตรรูปภาพ ซึ่งเป็นกระดาษแข็งที่ไม่มีแสตมป์และด้านหลังเป็นรูปภาพได้อีกด้ว.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และไปรษณียบัตร

เรดวัน

รดวัน (Nadir Khayat) เกิดวันที่ 9 เมษายน..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และเรดวัน

เลิฟเกม

ลิฟเกม (LoveGame) เป็นเพลงที่ 4 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า และ เรดวัน, และผลิตโดย เรดวัน ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 24 มีนาคม 2009.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลิฟเกม

เลดีกากา

ตฟานี โจแอนน์ แอนเจลินา เจอร์มาน็อตตา(accessdate) หรือที่รู้จักในนาม เลดี้ กาก้า (Lady Gaga) เป็นศิลปินเพลงป็อบชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลี เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา

เอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)

อ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์) (Eh, Eh (Nothing Else I Can Say)) เป็นเพลงที่ 3 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า และ Martin Kierszenbaum, และผลิตโดย Martin Kierszenbaum ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 10 มกราคม 2009.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และเอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)

เอ็นเอ็มอี

นิวมิวสิกเอกซ์เพรส (หรือย่อเป็น เอ็นเอ็มอี (NME)) เป็นนิตยสารดนตรีในสหราชอาณาจักร ออกเป็นรายสัปดาห์ตั้งแต่เดือนมีนาคม 1952 นิตยสารมีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับดนตรีแนวร็อก อัลเทอร์นาทีฟ และอินดี และเป็นนิตยสารฉบับแรกของสหราชอาณาจักรที่รวมมีชาร์ตซิงเกิลไว้ในฉบับวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และเอ็นเอ็มอี

เทเลโฟน

"เทเลโฟน" (Telephone) คือซิงเกิลที่สองของเลดี้ กาก้า ศิลปินชาวอเมริกันจากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของเธอ เดอะเฟมมอนสเตอร์ โดยร่วมงานขับร้องกับบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องอารืแอนด์บีชาวอเมริกัน เดิมนั้นกาก้าประพันธ์เพลง "เทเลโฟน" ขึ้นเพื่อให้บริตนีย์ สเปียรส์ หากทว่ามิได้เป็นไปตามแผนการดังกล่าว กาก้าจึงนำเพลงนี้มาขับร้องเพลงเอง โดยร่วมกับบียอเซ่ แรงบันดาลใจหลักของการประพันธ์เพลงนี้คือความกลัวต่อภาวะหายใจไม่ออกของกาก้า เนื้อเพลงเป็นการพรรณนาเกี่ยวกับผู้ร้องเพลงเป็นผู้ที่ชื่นชอบการเต้นในฟลอร์มากกว่าการตอบโทรศัพท์คนที่รัก กาก้าอธิบายว่า telephone ในเนื้อเพลงนั้นเป็นบุคคลที่มีอยู่จริง ซึ่งคอยบอกให้เธอทำงานหนักขึ้น ดนตรีของบทเพลงประกอบด้วยบริดจ์, เวิร์ส-แรปที่ขยายออก และบทส่งท้ายที่ขาดการเชื่อมต่อกับบทเพลง โนวส์ร่วมขับร้องในส่วนท่อนกลางของเพลง ซึ่งเป็นในช่วงที่บทประพันธ์ต้องขับร้องอย่างรวดเร็วพร้อมเสียงดับเบิลบีตส์ "เทเลโฟน" ได้รับคำชื่นชมจากนักวิจารณ์แนวร่วมสมัยทั่วไป ซึ่งกล่าวว่าเป็นเพลงที่โดดเด่นจากอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ มีคำวิจารณ์ที่เปรียบเทียบเพลงนี้กับ "จัสแดนส์" ซิงเกิลแรกของเธอ ซิงเกิลนี้ออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลที่สองของอัลบั้มและขึ้นชาร์ตดิจิตอลดาวน์โหลดในหลายประเทศ ตามหลังการออกจำหน่ายอัลบั้มในสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, แคนาดา, ไอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์, นิวซีแลนด์, สวีเดน, ฮังการี และสหราชอาณาจักร กาก้าเคยขับร้องเพลงนี้ในรูปแบบอคูสติกร่วมกับเพลง "แดนส์อินเดอะดาร์ก" ในงานประกาศรางวัลบริตประจำปี ค.ศ.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และเทเลโฟน

เดอะเฟม

อะเฟม (The Fame) คือสตูดิโออัลบั้มแรกของเลดี้ กาก้า นักร้องหญิงชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยค่ายอินเตอร์สโคปเรเคิดส์ ก่อนหน้านี้กาก้าเคยทำงานด้านการประพันธ์เพลงให้กับศิลปินมากมายจนกระทั่งการออกอัลบั้มเป็นของตนเองครั้งแรก ธีมหลักของเพลงในอัลบั้มมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้สึกอย่างคนที่มีชื่อเสียง ในอัลบั้มนี้ กาก้าได้ทำงานร่วมกับโปรดิวเซอร์หลายคน อาทิ เรดวัน, Martin Kierszenbaum, และ Rob Fusari เพลงต่างๆได้แรงบันดาลใจมาจากความรักของกาก้าในการเป็นที่รู้จักมีชื่อเสียงโดยพื้นฐาน ผสานกับแบบชีวิตที่ฟุ้งเฟ้อและสลับซับซ้อนของเธอ ดนตรีในอัลบั้มได้แรงบันดาลใจมาจากแนวดนตรีซินธ์ป็อปช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 (80s) ผสมผสานกับเพลงแดนส์และฮูก อัลบั้มนี้ได้รับการวิจารณ์เชิงบวกโดยส่วนมาก ด้วยกาก้าสามารถค้นพบเมโลดีฮูกและมีการเปรียบเทียบความสามารถของเธอกับเกวน สเตฟานี อัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในหลายประเทศ อาทิ สหราชอาณาจักร, แคนากา และไอร์แลนด์ ในสหรัฐอเมริกาอัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ต ''บิลบอร์ด'' 200 สูงสุดในอับดับที่ 4 และขึ้นอันดับสูงสุดในชาร์ต บิลบอร์ด ทอปอิเล็กทรอนิกอัลบั้ม มียอดจำหน่ายอัลบั้มทั่วโลกกว่า 4 ล้านชุด สองซิงเกิลแรกจากอัลบั้ม เดอะเฟม อันได้แก่ "จัสแดนส์" และ "โปเกอร์เฟส" ได้รับความนิยมทั่วโลก ทั้งสองขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งกว่า 6 ประเทศ รวมทั้ง ''บิลบอร์ด'' ฮอต 100 ในสหรัฐอเมริกา เพลง "โปเกอร์เฟส" ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในตลาดดนตรีใหญ่ๆ ในส่วนซิงเกิลอื่นๆ ได้แก่ "เอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)", "เลิฟเกม" และ "ปาปารัสซี่" กาก้าประชาสัมพันธ์อัลบั้มดังกล่าวด้วยการขับร้องเพลงในการแสดงสดของเธอ รวมทั้งใน คอนเสิร์ตทัวร์เดอะเฟมบอล คอนเสิร์ตทัวร์ครั้งแรกของเธอ อัลบั้มนี้ยังบรรจุเป็นซีดีแผ่นพิเศษในอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ ฉบับดีลักซ์ ในวันที่ 22 ธันวาคม..

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และเดอะเฟม

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ1 กุมภาพันธ์

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ1 ธันวาคม

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ15 ธันวาคม

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ16 เมษายน

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ18 พฤศจิกายน

18 ธันวาคม

วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ18 ธันวาคม

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ20 พฤศจิกายน

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ20 เมษายน

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ21 ธันวาคม

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ22 ตุลาคม

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ23 พฤศจิกายน

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ26 มกราคม

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ26 ตุลาคม

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ27 พฤศจิกายน

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ28 พฤศจิกายน

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ3 พฤษภาคม

4 ธันวาคม

วันที่ 4 ธันวาคม เป็นวันที่ 338 ของปี (วันที่ 339 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 27 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ4 ธันวาคม

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ดู เดอะเฟมมอนสเตอร์และ8 มิถุนายน

ดูเพิ่มเติม

รางวัลแกรมมี สาขาอัลบั้มเพลงป็อปยอดเยี่ยม

อัลบั้มเพลงที่ผลิตโดยเรดวัน

อัลบั้มเพลงที่ผลิตโดยเลดีกากา

26 มกราคม26 ตุลาคม27 พฤศจิกายน28 พฤศจิกายน3 พฤษภาคม4 ธันวาคม8 มิถุนายน