ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา
เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา มี 18 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบอร์นดิสเวย์ชาวอเมริกันบียอนเซ่ โนวส์พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553กอทิกออลมิวสิกจัสต์แดนซ์ดิอินดีเพ็นเดนต์ดนตรีแดนซ์ป็อปแบดโรมานซ์โรลลิงสโตนเรดวันเอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)เทเลโฟนเดอะเฟม
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษและเดอะเฟมมอนสเตอร์ · บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษและเลดีกากา ·
บอร์นดิสเวย์
อร์นดิสเวย์ (Born This Way) เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่สองของเลดี้ กาก้า ศิลปินหญิงชาวอเมริกัน ภายใต้ค่ายอินเทอร์สโคปเรเคิดส์ (Interscope Records) โดยร่วมมือกับเรดวัน และ ฟเอร์นันโด การิเบย์ ซึ่งเคยทำงานกับกาก้ามาก่อนหน้านี้ และได้รับความร่วมมือจากดีเจใหม่ อาทิ DJ Snake, DJ White Shadow, Jeppe Laursen, Robert John "Mutt" Lange และ Clinton Sparks และยังได้ร่วมมือกับศิลปินอื่นสร้างสรรค์งานเพลง อาทิ E Street Band นักแซกโซโฟน คลาเรนซ์ เคลมอนส์ และ Queen guitarist Brian May โดยอัลบั้มได้รับการยืนยันผ่านหน้าทวิตเตอร์ของเลดี้กาก้าอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มกราคม..
บอร์นดิสเวย์และเดอะเฟมมอนสเตอร์ · บอร์นดิสเวย์และเลดีกากา ·
ชาวอเมริกัน
วอเมริกัน หรือ ประชากรของสหรัฐอเมริกา (People of the United States หรือ U.S. Americans หรือ Americans หรือ American people) คือประชาชนของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่ประกอบด้วยกลุ่มชนจากหลายชาติพันธุ์และเชื้อชาติ ซึ่งทำให้ชาวอเมริกันบางคนไม่ถือว่าอเมริกันเป็น "ชาติพันธุ์" (ethnicity) และจะบ่งตนเองโดยเชื้อชาติ (nationality) และชาติพันธุ์ดั้งเดิม (ancestral origin) เช่นชาวฮังการีอเมริกันเป็นต้น นอกไปจากชาวอเมริกันอินเดียนแล้ว ชาวอเมริกันเกือบทั้งหมดหรือบรรพบุรุษก็เป็นผู้ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในช่วงระยะเวลาห้าร้อยปีที่ผ่านมา การที่ชาวอเมริกันมาจากหลายชาติพันธุ์ทำให้เป็นชาติที่มีธรรมเนียม และคุณค่าที่แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
ชาวอเมริกันและเดอะเฟมมอนสเตอร์ · ชาวอเมริกันและเลดีกากา ·
บียอนเซ่ โนวส์
ียอนเซ่ จิเซลล์ โนวส์ เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1981 เป็นนักร้องสไตล์อาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง, โปรดิวเซอร์, นักแสดง และ นางแบบ ชาวอเมริกัน โนวส์เกิดและเติบโตที่ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส ในวัยเด็กบียอนเซ่ได้เข้าร่วมในการแสดงหลากหลายเรียนอนุบาลถึงประถม ซึ่งรวมไปถึงการร้องเพลง อันเป็นการปูทางสำหรับอาชีพการเป็นนักร้อง บียอนเซ่เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในช่วงปี 1990 ในฐานะสมาชิกคนสำคัญของเดสทินีส์ไชลด์ วงดนตรีหญิงล้วนแนวอาร์แอนด์บีชื่อดังในยุคนั้น ตลอดชีวิตการทำงานของเธอ มียอดขายเกินกว่า 100 ล้านชุดในฐานะศิลปินเดียว ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2003 ระหว่างการพักงานของเดสทินีส์ไชลด์ โนวส์ได้ออกอัลบั้มในฐานะศิลปินเดี่ยวเป็นครั้งแรกกับอัลบั้มเดนเจอรัสลีอินเลิฟ ซึ่งนับเป็นอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดอัลบั้มหนึ่งในปีนั้น อัลบั้มนี้ประสบความสำเร็จทั้งในด้านยอดขายและด้านคำวิจารณ์ต่างๆ ทำให้มีเพลงฮิตเช่นเพลง "เครซีอินเลิฟ", "เบบี้บอย" และสร้างรางวัลแกรมมีถึง 5 สาขาให้แก่โนวส์ ต่อมาเดสทินีส์ไชลด์ก็ได้ตัดสินใจแยกวงจากเป็นทางการ หลังจากนั้นโนวส์ได้มีอัลบั้มชุดที่สอง นั่นก็คืออัลบั้มบี'เดย์ วางขายในปี ค.ศ. 2006 ซึ่งเปิดตัวอันดับ 1 บนชาร์ตบิลบอร์ด มีซิงเกิลฮิตอย่าง "เดจาวู", "อีเรเพลสอเบิล", และ "บิวติฟูล์ไลอาร์" อัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 3 ของเธอไอแอม... ซาชาเฟียร์ส ได้วางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2008 มีซิงเกิลฮิต เช่น "อิฟไอเวอร์อะบอย", "ซิงเกิลเลดีส์ (พุตอะริงออนอิต)", "เฮโล", และ "สวีตดรีมส์" โนวส์มีซิงเกิลที่ติดอันดับ 1 อยู่ทั้งหมด 5 เพลงด้วยกัน ทำให้เธอเป็นหนึ่งในสองศิลปินหญิงที่มีเพลงติดอันดับหนึ่งมากที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 2000 จากความสำเร็จอย่างสูงของการเป็นศิลปินเดี่ยวของโนวส์ ทำให้เธอได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินคนสำคัญคนหนึ่งของอุตสาหกรรมดนตรีในยุคปัจจุบัน และเธอก็ยังขยายงานอาชีพของเธอไปสู่งานทางการแสดงและเซ็นสัญญากับบริษัทสินค้าต่างๆ เธอได้เริ่มอาชีพทางการแสดงของเธอเมื่อปี ค.ศ. 2001 ใน ภาพยนตร์เพลงเรื่อง Carmen: A Hip Hopera ในปี ค.ศ. 2006 เธอได้รับบทนำในภาพยนตร์ทำใหม่ของละครบรอดเวย์ปี 1981 เรื่องดรีมเกิร์ลส และทำให้เธอได้เข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำถึง 2 รางวัล โนวส์ได้มีธุรกิจสายงานแฟชั่นที่เธอได้ร่วมกับครอบครัว โดยใช้ชื่อว่า "เฮาส์ออฟเดเรออน" และได้เซ็นสัญญาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับบริษัทต่างๆ เช่น เป๊ปซี่, ทอมมี ฮิลฟิกเจอร์, อาร์มานิ และลอเรอัล และในปี ค.ศ. 2009 นี้ นิตยสารฟอร์บยังได้จัดอันดับให้เธออยู่ในอันดับ 4 ของคนดังที่มีอิทธิพลมากที่สุด, อันดับ 3 ของนักดนตรีที่มีรายได้มากที่สุด, และอันดับหนึ่งของคนดังอายุต่ำกว่า 30 ที่มีรายได้มากที่สุด ด้วยรายได้กว่า 87 ล้านดอลลาร์สหรัฐระหว่างปี ค.ศ. 2008 - ค.ศ. 2009.
บียอนเซ่ โนวส์และเดอะเฟมมอนสเตอร์ · บียอนเซ่ โนวส์และเลดีกากา ·
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
พ.ศ. 2552และเดอะเฟมมอนสเตอร์ · พ.ศ. 2552และเลดีกากา ·
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
พ.ศ. 2553และเดอะเฟมมอนสเตอร์ · พ.ศ. 2553และเลดีกากา ·
กอทิก
กอทิก (Gothic) อาจหมายถึง.
กอทิกและเดอะเฟมมอนสเตอร์ · กอทิกและเลดีกากา ·
ออลมิวสิก
ออลมิวสิก หรือก่อนหน้านี้เรียก ออลมิวสิกไกด์ เป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับดนตรี มีเจ้าของคือออลมีเดียไกด์ ก่อตั้งในปี 1991 โดยไมเคิล เออร์เลไวน์ เพื่อเป็นไกด์ให้กับผู้บริโภค ออกหนังสือใช้สำหรับอ้างอิงในปี 1992 และหลังจากนั้นเมื่อมีเวิลด์ไวด์เว็บขึ้น ก็มีในโกเฟอร์ เว็บไซต์ออลมิวสิก.คอม เปิดตัวเมื่อปี 1995 เพื่อเป็นเว็บสาธิตเกี่ยวกับฐานข้อมูลด้านลิขสิทธิ์เพลง และข้อมูลอื่น ๆ มากมาย ออลมิวสิกอ้างว่าเป็นฐานข้อมูลดิจิทัลเกี่ยวกับดนตรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเพลง 6 ล้านเพลง รวมถึงมีภาพปก ซึ่งมากกว่า 5 แสนปกทำการสแกนขึ้น ออลมิวสิกให้ข้อมูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลแคตาล็อก ประวัติศิลปิน การวิจารณ์อัลบั้ม แนวเพลง ศิลปินใกล้เคียง เพลย์ลิสต์และข้อมูลของไอทูนส์มิวสิกสโตร์, ซูนมาร์เก็ตเพลส, อีมิวสิก, AOL, ยาฮู!, อเมซอน.คอม และเว็บสโตร์เกี่ยวกับเพลงต่าง.
ออลมิวสิกและเดอะเฟมมอนสเตอร์ · ออลมิวสิกและเลดีกากา ·
จัสต์แดนซ์
ัสต์แดนซ์ (Just Dance) เป็นเพลงที่ 1 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า, เรดวัน และ เอค่อน, และผลิตโดย เรดวัน ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 8 เมษายน..
จัสต์แดนซ์และเดอะเฟมมอนสเตอร์ · จัสต์แดนซ์และเลดีกากา ·
ดิอินดีเพ็นเดนต์
อินดีเพ็นเดนต์ (The Independent) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1986 โดยIndependent News & Media ฉบับวันราชการเรียกกันสั้นๆ ว่า “อินดี้” และฉบับวันอาทิตย์เรียกกันสั้นๆ ว่า “ซันดี้” “ดิอินดีเพ็นเดนต์” เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับล่าที่สุดฉบับหนึ่งในสหราชอาณาจักร ในปี..
ดิอินดีเพ็นเดนต์และเดอะเฟมมอนสเตอร์ · ดิอินดีเพ็นเดนต์และเลดีกากา ·
ดนตรีแดนซ์
ดนตรีแดนซ์ (dance music) เป็นดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นโดยเฉพาะเพื่ออำนวยความสะดวกหรือเพื่อคลอไปกับการเต้นรำ ในด้านการแสดง ดนตรีแดนซ์แบ่งประเภทหลักเป็นดนตรีแดนซ์สดกับดนตรีแดนซ์ที่บันทึกไว้ ขณะที่มีหลักฐานยืนยันว่ามีการเต้นรำพร้อมกับดนตรีตั้งแต่ยุคโบราณ (ตัวอย่างเช่น แจกันสมัยกรีกโบราณแสดงนักเต้นรำร่วมกับนักดนตรี) ดนตรีแดนซ์ฝั่งตะวันตกยุคแรก ๆ คือการเต้นรำยุคกลางที่เหลือรอดมาได้ ในยุคบาโรก รูปแบบการเต้นรำหลัก ๆ คือการเต้นรำในราชสำนักคนชั้นสูง ดนตรีแดนซ์สมัยใหม่ได้เกิดขึ้นจากเพลงลีลาศแบบตะวันตกในปลายศตวรรษที่ 19 ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 การเต้นลีลาศได้เพิ่มความนิยมในหมู่ชนชั้นแรงงานที่มักเข้าร่วมงานเต้นรำสาธารณะ ดนตรีแดนซ์กลายเป็นที่นิยมอย่างมากในช่วงยุค 1920 ในยุค 1930 ดนตรีสวิงเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยมในอเมริกา ยุค 1950 ร็อกแอนด์โรลกลายเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยม ในช่วงปลายยุค 1960 มีการเกิดของแนวเพลงโซลและอาร์แอนด์บีและดิสโก้ในยุค 1970 ซึ่งทำให้ดนตรีแดนซ์เป็นที่นิยมมากในผู้คนทั่วไป มาถึงช่วงปลายยุค 1970 ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ได้รับการพัฒนามาเรี่อย ๆ โดยส่วนใหญ่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นรูปแบบของเพลงสมัยนิยมที่มักจะเปิดในไนต์คลับ สถานีวิทยุ คอนเสิร์ต หมวดหมู่:ดนตรีแดนซ์.
ดนตรีแดนซ์และเดอะเฟมมอนสเตอร์ · ดนตรีแดนซ์และเลดีกากา ·
ป็อป
นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.
ป็อปและเดอะเฟมมอนสเตอร์ · ป็อปและเลดีกากา ·
แบดโรมานซ์
"แบดโรมานซ์" (Bad Romance) คือซิงเกิลแรกของเลดี้ กาก้า นักร้องสาวชาวอเมริกัน จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ เพลงนี้เป็นผลงานการโปรดิวซ์ของเรดวัน โดยได้แรงบันดาลใจมาจากภาวะจิตบกพร่องที่เธอประสบมาเมื่อปีก่อน ฉบับเดโมของเพลงนี้เกิดการรั่วไหล กาก้าจึงเปิดตัวเพลงดังกล่าว ณ สัปดาห์แฟชั่นฤดูใบไม้ผลิ/ฤดูร้อน ปี 2010 ของ Alexander McQueen เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ตามด้วยการเผยแพร่ภาพปกซิงเกิล.
เดอะเฟมมอนสเตอร์และแบดโรมานซ์ · เลดีกากาและแบดโรมานซ์ ·
โรลลิงสโตน
รลลิงสโตน เป็นนิตยสารมีสำนักงานใหญ่ในสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับดนตรี การเมือง วัฒนธรรมสมัยนิยม พิมพ์ทุก 2 อาทิตย์ โรลลิงสโตนก่อตั้งครั้งแรกในซานฟรานซิสโก ในปี..
เดอะเฟมมอนสเตอร์และโรลลิงสโตน · เลดีกากาและโรลลิงสโตน ·
เรดวัน
รดวัน (Nadir Khayat) เกิดวันที่ 9 เมษายน..
เดอะเฟมมอนสเตอร์และเรดวัน · เรดวันและเลดีกากา ·
เอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)
อ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์) (Eh, Eh (Nothing Else I Can Say)) เป็นเพลงที่ 3 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า และ Martin Kierszenbaum, และผลิตโดย Martin Kierszenbaum ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 10 มกราคม 2009.
เดอะเฟมมอนสเตอร์และเอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์) · เลดีกากาและเอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์) ·
เทเลโฟน
"เทเลโฟน" (Telephone) คือซิงเกิลที่สองของเลดี้ กาก้า ศิลปินชาวอเมริกันจากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของเธอ เดอะเฟมมอนสเตอร์ โดยร่วมงานขับร้องกับบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องอารืแอนด์บีชาวอเมริกัน เดิมนั้นกาก้าประพันธ์เพลง "เทเลโฟน" ขึ้นเพื่อให้บริตนีย์ สเปียรส์ หากทว่ามิได้เป็นไปตามแผนการดังกล่าว กาก้าจึงนำเพลงนี้มาขับร้องเพลงเอง โดยร่วมกับบียอเซ่ แรงบันดาลใจหลักของการประพันธ์เพลงนี้คือความกลัวต่อภาวะหายใจไม่ออกของกาก้า เนื้อเพลงเป็นการพรรณนาเกี่ยวกับผู้ร้องเพลงเป็นผู้ที่ชื่นชอบการเต้นในฟลอร์มากกว่าการตอบโทรศัพท์คนที่รัก กาก้าอธิบายว่า telephone ในเนื้อเพลงนั้นเป็นบุคคลที่มีอยู่จริง ซึ่งคอยบอกให้เธอทำงานหนักขึ้น ดนตรีของบทเพลงประกอบด้วยบริดจ์, เวิร์ส-แรปที่ขยายออก และบทส่งท้ายที่ขาดการเชื่อมต่อกับบทเพลง โนวส์ร่วมขับร้องในส่วนท่อนกลางของเพลง ซึ่งเป็นในช่วงที่บทประพันธ์ต้องขับร้องอย่างรวดเร็วพร้อมเสียงดับเบิลบีตส์ "เทเลโฟน" ได้รับคำชื่นชมจากนักวิจารณ์แนวร่วมสมัยทั่วไป ซึ่งกล่าวว่าเป็นเพลงที่โดดเด่นจากอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ มีคำวิจารณ์ที่เปรียบเทียบเพลงนี้กับ "จัสแดนส์" ซิงเกิลแรกของเธอ ซิงเกิลนี้ออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลที่สองของอัลบั้มและขึ้นชาร์ตดิจิตอลดาวน์โหลดในหลายประเทศ ตามหลังการออกจำหน่ายอัลบั้มในสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, แคนาดา, ไอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์, นิวซีแลนด์, สวีเดน, ฮังการี และสหราชอาณาจักร กาก้าเคยขับร้องเพลงนี้ในรูปแบบอคูสติกร่วมกับเพลง "แดนส์อินเดอะดาร์ก" ในงานประกาศรางวัลบริตประจำปี ค.ศ. 2010เพื่อรำลึกถึงอเล็กซานเดอร์ แม็กควีน และเพลงนี้ยังอยู่ในรายชื่อเพลงในการจัดคอนเสิร์ตเดอะมอนสเตอร์บอลทัวร์ในยุโรป กาก้าอธิบายมิวสิกวิดีโอว่าจะเป็นเรื่องราวตามต่อจากมิวสิกวิดีโอเพลง "ปาปารัสซี่" ซึ่งถ่ายทำเป็นลักษณะภาพยนตร์สั้น โดยกาก้าจะอยู่ในคุกและได้รับการประกันตัวโดยบียอนเซ่ พวกเธอไปยังร้านอาหารเล็กๆซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเหตุการณ์ซึ่งทั้งสองได้ฆ่าแขกของร้านทั้งหมด ในตอนจบกาก้าและบียอนเซ่หลบหนีจากตำรวจ และคาราวะต่อเควนติน แทแรนติโนและภาพยนตร์ของเขาเรื่อง คิลบิล ในปี..
เดอะเฟมมอนสเตอร์และเทเลโฟน · เทเลโฟนและเลดีกากา ·
เดอะเฟม
อะเฟม (The Fame) คือสตูดิโออัลบั้มแรกของเลดี้ กาก้า นักร้องหญิงชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยค่ายอินเตอร์สโคปเรเคิดส์ ก่อนหน้านี้กาก้าเคยทำงานด้านการประพันธ์เพลงให้กับศิลปินมากมายจนกระทั่งการออกอัลบั้มเป็นของตนเองครั้งแรก ธีมหลักของเพลงในอัลบั้มมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้สึกอย่างคนที่มีชื่อเสียง ในอัลบั้มนี้ กาก้าได้ทำงานร่วมกับโปรดิวเซอร์หลายคน อาทิ เรดวัน, Martin Kierszenbaum, และ Rob Fusari เพลงต่างๆได้แรงบันดาลใจมาจากความรักของกาก้าในการเป็นที่รู้จักมีชื่อเสียงโดยพื้นฐาน ผสานกับแบบชีวิตที่ฟุ้งเฟ้อและสลับซับซ้อนของเธอ ดนตรีในอัลบั้มได้แรงบันดาลใจมาจากแนวดนตรีซินธ์ป็อปช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 (80s) ผสมผสานกับเพลงแดนส์และฮูก อัลบั้มนี้ได้รับการวิจารณ์เชิงบวกโดยส่วนมาก ด้วยกาก้าสามารถค้นพบเมโลดีฮูกและมีการเปรียบเทียบความสามารถของเธอกับเกวน สเตฟานี อัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในหลายประเทศ อาทิ สหราชอาณาจักร, แคนากา และไอร์แลนด์ ในสหรัฐอเมริกาอัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ต ''บิลบอร์ด'' 200 สูงสุดในอับดับที่ 4 และขึ้นอันดับสูงสุดในชาร์ต บิลบอร์ด ทอปอิเล็กทรอนิกอัลบั้ม มียอดจำหน่ายอัลบั้มทั่วโลกกว่า 4 ล้านชุด สองซิงเกิลแรกจากอัลบั้ม เดอะเฟม อันได้แก่ "จัสแดนส์" และ "โปเกอร์เฟส" ได้รับความนิยมทั่วโลก ทั้งสองขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งกว่า 6 ประเทศ รวมทั้ง ''บิลบอร์ด'' ฮอต 100 ในสหรัฐอเมริกา เพลง "โปเกอร์เฟส" ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในตลาดดนตรีใหญ่ๆ ในส่วนซิงเกิลอื่นๆ ได้แก่ "เอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)", "เลิฟเกม" และ "ปาปารัสซี่" กาก้าประชาสัมพันธ์อัลบั้มดังกล่าวด้วยการขับร้องเพลงในการแสดงสดของเธอ รวมทั้งใน คอนเสิร์ตทัวร์เดอะเฟมบอล คอนเสิร์ตทัวร์ครั้งแรกของเธอ อัลบั้มนี้ยังบรรจุเป็นซีดีแผ่นพิเศษในอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ ฉบับดีลักซ์ ในวันที่ 22 ธันวาคม..
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา
การเปรียบเทียบระหว่าง เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา
เดอะเฟมมอนสเตอร์ มี 57 ความสัมพันธ์ขณะที่ เลดีกากา มี 146 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 18, ดัชนี Jaccard คือ 8.87% = 18 / (57 + 146)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: