สารบัญ
40 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์พระธรรมวโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาพิมพ์แข กุญชร ณ อยุธยารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยวัดพระศรีรัตนศาสดารามวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารวังบ้านหม้อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสุกิจ นิมมานเหมินท์หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์หม่อมหลวงขาบ กุญชรหม่อมเจ้าพระธรรมุณหิศธาดา (สีขเรศ วุฑฺฒิสฺสโร)หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติทั่ว พาทยโกศลเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)เจ้าจอมมารดาศิลา ในรัชกาลที่ 2เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเตือนใจ ดีเทศน์10 ตุลาคม13 ธันวาคม19 กันยายน7 มิถุนายน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์
ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2369 - 6 มกราคม พ.ศ. 2423) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าสิงหนาท กุญชร) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 8 แรม 9 ค่ำ ปีจอ ตรงกับวันที่ 28 กรกฎาคม..
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์
พระธรรมวโรดม
ระธรรมวโรดม เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และพระธรรมวโรดม
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์
นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ (18 เมษายน พ.ศ. 2341 - 16 เมษายน พ.ศ. 2406) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 6 ขึ้น 4 ค่ำ ปีมะเมีย สัมฤทธิศก จุลศักราช 1160 ตรงกับวันที่ 18 เมษายน พ.ศ.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 62 ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด) ซึ่งท้าววรจันทร์(เจ้าจอมมารดาวาด)เป็นธิดานายสมบุญ งามสมบัติ กับท้าวปฏิบัติบิณฑทาน (ถ้วย) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาประสูตรเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 13 ค่ำ ปีกุนเบญจศก..
พิมพ์แข กุญชร ณ อยุธยา
มพ์แข กุญชร ณ อยุธยา เป็นนักแสดงอาวุโสชาวไทย มีผลงานเด่นในซิทคอมบางรักซอย 9 รับบท น้าเยาว.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และพิมพ์แข กุญชร ณ อยุธยา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
ผนังกรุหินอ่อนในพระวิหาร (พระอุโบสถ) และปาสาณเจดีย์ (เบื้องหลัง) อันเป็นสัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมที่สำคัญของวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม "พระพุทธสิหิงคปฏิมากร" พระประธานพระวิหารหลวง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดฯ ให้จำลองมาจากพระพุทธสิหิงค์ ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ 3 วัด คือ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดราชประดิษฐาน จึงทรงสร้างขึ้นใหม่เพื่อให้ครบตามโบราณราชประเพณี และเพื่อพระอุทิศถวายแก่พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกายเพื่อที่พระองค์เองและเจ้านาย ข้าราชการ ที่จะไปทำบุญที่วัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายใกล้พระบรมมหาราชวังได้สะดวก วัดราชประดิษฐฯ จึงเป็นวัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายวัดแรกที่สร้างขึ้นเพื่อพระสงฆ์ในนิกายนี้ เพราะวัดอื่น ๆ ของฝ่ายธรรมยุตเป็นวัดที่แปลงมาจากวัดของมหานิกาย วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามสร้างขึ้นในที่ดินที่เคยเป็นสวนกาแฟของหลวงโดยก่อสร้างใน..
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดสุทัศนเทพวราราม หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วัดสุทัศน์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ที่มีอยู่เพียงไม่กี่แห่งของประเทศไทย และถือเป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตพระนครชั้นใน และอยู่มีสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นคือ เสาชิงช้า อยู่บริเวณหน้าวั.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
วังบ้านหม้อ
วังบ้านหม้อ วังบ้านหม้อ ตั้งอยู่ริมถนนอัษฎางค์ ริมคลองคูเมืองเดิม ฝั่งตรงข้ามกับ ศาลเจ้าพ่อหอกลอง เดิมเป็นวังประทับของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเจ้าจอมมารดาศิลา ซึ่งเป็นต้นราชสกุล กุญชร นับตั้งแต่ได้เข้ารับราชการที่กรมม้า และกรมคชบาล สมเด็จฯ กรมพระพิทักษเทเวศร์ ได้ทรงพำนักอยู่ที่ วังบ้านหม้อมาจวนจนกระทั่งสิ้นพระชนม์ วังบ้านหม้อมีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 3-5) ปัจจุบันวังบ้านหม้อตกอยู่ในความครอบครองของ หม่อมหลวงแฉล้ม กุญชร ธิดาคนที่ 27 ของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ปัจจุบันเหลือเพียงท้องพระโรง ศาลาท้องพระโรง และเก๋งด้านหน้าท้องพระโรง อันเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีมาตั้งแต่สร้างวัง.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และวังบ้านหม้อ
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นหนึ่งในสิบพระเถระผู้เป็นต้นวงศ์ธรรมยุต ประทับ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ.
สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม แดง ฉายา สีลวฑฺฒโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และผู้สร้างวัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย
มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..
สุกิจ นิมมานเหมินท์
ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และสุกิจ นิมมานเหมินท์
หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ
ตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524) เดิมชื่อ หม่อมหลวงบุญเหลือ กุญชร เป็นนักเขียน และนักวิชาการภาษาไทย เป็นธิดาลำดับที่ 32 ของเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ
หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์
หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ (ราชสกุลเดิม: กุญชร; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 — 17 มกราคม พ.ศ. 2506) เป็นนักเขียนหญิงชาวไทย เจ้าของนามปากกา ดอกไม้สด ภริยาของสุกิจ นิมมานเหมินท์ ราชบัณฑิตและนักการเมืองชาวไทย และเธอยังเป็นพี่สาวของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ หรือนามปากกาว่า บุญเหลือ ซึ่งเป็นนักเขียนเช่นกัน.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์
หม่อมหลวงขาบ กุญชร
ลโท หม่อมหลวงขาบ กุญชร (10 ตุลาคม พ.ศ. 2448-19 กันยายน พ.ศ. 2529) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) และอดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และหม่อมหลวงขาบ กุญชร
หม่อมเจ้าพระธรรมุณหิศธาดา (สีขเรศ วุฑฺฒิสฺสโร)
หม่อมเจ้าพระธรรมุณหิศธาดา (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2381 - 12 ธันวาคม พ.ศ. 2450) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าสีขเรศ; ราชสกุล: มหากุล) เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 10 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโต กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศร์ ประสูติในรัชกาลที่ 3 เมื่อวันพุธที่ 9 พฤษภาคม ตรงกับแรม 1 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ..
หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ
ันโท หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ (9 มกราคม พ.ศ. 2449 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2506) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และหม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ
ทั่ว พาทยโกศล
งวางทั่ว พาทยโกศล นักดนตรีไทยที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2428 เป็นบุตรของหลวงกัลยาณมิตตาวาส (ทับ พาทยโกศล) กับนางแสง พาทยโกศล ซึ่งเป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และทั่ว พาทยโกศล
เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)
Vanity Fair" เมื่อ ค.ศ. 1879 (พ.ศ. 2422) เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) (พ.ศ. 2392 - พ.ศ. 2463) อดีตอธิบดีกรมพระคลังสวน อธิบดีจัดการกรมภาษีร้อยชักสาม (ปัจจุบันคือ กรมศุลกากร) เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และเสนาบดีกระทรวงธรรมการคนแรก (ปัจจุบันคือ กระทรวงศึกษาธิการ).
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)
อมพล มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) (28 มีนาคม พ.ศ. 2394 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชการ และผู้บัญชาการกรมทหารบก จอมพลฉแรม ทับพุ่ม เป็นหลานปราบกฎบทเมืองอ่างทองโดยคนเมืองอินทบุรี.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)
เจ้าจอมมารดาศิลา ในรัชกาลที่ 2
้าจอมมารดาศิลา เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และเจ้าจอมมารดาศิลา ในรัชกาลที่ 2
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
เตือนใจ ดีเทศน์
ตือนใจ ดีเทศน์ (สกุลเดิม: กุญชร ณ อยุธยา; เกิด: 8 เมษายน พ.ศ. 2495) เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงราย และเป็นนักพัฒนาสังคม ปัจจุบันเป็นกรรมการสิทธิมนุษยชน.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และเตือนใจ ดีเทศน์
10 ตุลาคม
วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และ10 ตุลาคม
13 ธันวาคม
วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และ13 ธันวาคม
19 กันยายน
วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และ19 กันยายน
7 มิถุนายน
วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)และ7 มิถุนายน