สารบัญ
29 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2350พ.ศ. 2390พ.ศ. 2493พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธตรีโลกเชษฐ์พระศรีศากยมุนีพระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต)มหานิกายย่ำรุ่งวัดสระเกศราชวรมหาวิหารสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ)สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)สะพานหันอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)ถังอับเฉาขอทานเสาชิงช้าเถรวาทเทวสถานโบสถ์พราหมณ์เปรตเนชั่นทีวี9 มิถุนายน
- บทความเกี่ยวกับ วัด ที่ยังไม่สมบูรณ์
พ.ศ. 2350
ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพ.ศ. 2350
พ.ศ. 2390
ทธศักราช 2390 ใกล้เคียงกั.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพ.ศ. 2390
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพ.ศ. 2493
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระพุทธตรีโลกเชษฐ์
พระพุทธตรีโลกเชษฐ์ เป็นพระพุทธรูปสมัยรัตนโกสินทร์ ปางมารวิชัย วัสดุโลหะ หน้าตักกว้าง 3 วา 17 นิ้ว สูง 4 วา 18 นิ้ว ปัจจุบัน ประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถ วัดสุทัศนเทพวราราม พระอุโบสถเริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธตรีโลกเชษฐ์
พระศรีศากยมุนี
พระศรีศากยมุนี เป็นพระประธานในพระวิหารหลวงวัดสุทัศนเทพวราราม หล่อด้วยโลหะสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 3 วา 1 คืบ นับเป็นพระพุทธรูปหล่อที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในยุคก่อน 25 พุทธศตวรรษ เดิมเป็นพระประธานอยู่ในพระวิหารหลวง วัดมหาธาตุ สุโขทัย สร้างสมัยราชวงศ์พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ให้อัญเชิญมายังกรุงเทพ ฯ ได้มีพระราชดำริจะสร้างพระอาราม ที่มีพระวิหารใหญ่อย่างวัดพนัญเชิงที่อยุธยา โดยประดิษฐานไว้กลางพระนคร เมื่อชลอพระศรีศากยมุนีมาถึงกรุงเทพ ฯ แล้วให้ประทับท่าสมโภช 7 วัน แล้วจึงทรงชักเลื่อนองค์พระทางสถลมารค และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินตามขบวนแห่พระในรัชสมัยของพระองค์ ทำได้เพียงอัญเชิญองค์พระขึ้นตั้งไว้ ตัววิหารลงมือสร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ตรงใต้ฐานที่ผ้าทิพย์บรรจุพระบรมราชสรีรางคารของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) ส่วนด้านหลังบัลลังก์พระพุทธรูปมีแผ่นศิลาสลัก เป็นศิลปะแบบทวารวดี เป็นรูปสลักปิดทอง ปางยมกปาฏิหาริย์ และ ปางประทานเทศนาในสวรรค์ เป็นของเก่าและหาดูได้ยาก เข้าใจว่าจะมีอยู่เพียงชิ้นเดียวในโลก หมวดหมู่:พระพุทธรูปสำคัญในประเทศไทย หมวดหมู่:พระพุทธรูป หมวดหมู่:พระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพระศรีศากยมุนี
พระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต)
ระธรรมรัตนดิลก นามเดิม เชิด ฉายา จิตฺตคุตฺโต เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม เจ้าคณะภาค 4 รองแม่กองธรรมสนามหลวง ฝ่ายธรรมศึกษา รองหัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 3 เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และนักเทศน์ชื่อดัง.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและพระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต)
มหานิกาย
มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและมหานิกาย
ย่ำรุ่ง
ำรุ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสนธยายามเช้า ท้องฟ้าย่ำรุ่งในซันดีเอโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ย่ำรุ่ง หรือ เช้ามืด คือ เวลาซึ่งเริ่มต้นสนธยาก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น สังเกตได้จากการมีแสงอาทิตย์อ่อน ๆ ขณะที่ดวงอาทิตย์ยังอยู่ใต้เส้นขอบฟ้า ระวังสับสนกับดวงอาทิตย์ขึ้น (sunrise) ซึ่งเป็นขณะที่ขอบด้านบนของดวงอาทิตย์โผล่พ้นเส้นขอบฟ้.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและย่ำรุ่ง
วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีจุดเด่นคือ พระบรมบรรพต.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น กรรมการมหาเถรสมาคมโดยสมณศักดิ์ เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม โสม ศุภเทศ ฉายา ฉนฺโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชบุรณราชวรวิหาร เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และประธานคณะวินัยธร.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เสงี่ยม วิโรทัย ฉายา จนฺทสิริ เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ และกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ)
สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม แดง ฉายา สีลวฑฺฒโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และผู้สร้างวัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร และวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
สะพานหัน
นหัน เป็นสะพานขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในย่านสำเพ็ง แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ ทอดข้ามคลองรอบกรุงหรือคลองโอ่งอ่าง ชื่อนี้เรียกตามจาก ลักษณะของตัวสะพานที่ สมัยก่อนนั้นจะเป็นไม้แผ่นเดียวพาดข้ามคลอง ปลายข้างหนึ่งตรึงแน่นกับที่ ส่วนอีกข้างจะไม่ตอกติด จับหันไปมาได้เพื่อให้เรือแล่นผ่าน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างใหม่เป็นสะพานโครงเหล็กพื้นไม้ จนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เปลี่ยนทำเป็นแบบสะพานริอัลโตที่นครเวนิส และที่ปองเตเวกคิโอ เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี คือ เป็นสะพานไม้โค้งกว้าง สองฟากสะพานมีห้องแถวเล็ก ๆ ให้เช่าขายของ ส่วนตรงกลางเป็นทางเดิน สำหรับตัวสะพานปัจจุบัน ได้สร้างใหม่ขึ้นแทนของเก่าที่ชำรุด ในปี พ.ศ.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและสะพานหัน
อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)
ถังอับเฉา
ังอับเฉา (ballast tank) เป็นส่วนของท้องเรือหรือส่วนของฐานทุ่นลอย ที่ออกแบบไว้ให้สูบน้ำเข้าออกได้ เพื่อปรับจุดศูนย์ถ่วงให้เรือหรือทุ่นนั้นสามารถทรงตัวได้ดีขึ้น โดยเฉพาะในสภาพทะเลเปิด ตำแหน่งของถังอับเฉาในเรือดำน้ำ เมื่อมองจากภายนอก ส่วนถังอับเฉาในเรือดำน้ำ จะไม่ได้มีหน้าที่ปรับจุดศูนย์ถ่วงเพียงอย่างเดียว แต่จะควบคุมการดำลง/ลอยขึ้น และระดับความลึกของเรือดำน้ำด้วย โดยเมื่อต้องการจะดำลง ก็จะสูบน้ำเข้าถังอับเฉา จนตัวเรือมีความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำรอบๆ ทำให้เรือจมลง และเมื่อต้องการจะลอยขึ้น ก็จะไล่น้ำออกจะถังอับเฉาโดยใช้อากาศอัดมาแทนที่จนเรือมีความถ่วงจำเพาะน้อยกว่าน้ำ ทำให้เรือลอย นอกจากจะใช้กับเรือแล้ว ยังมีการใช้ถังอับเฉาลักษณะคล้ายกันในส่วนฐานของแท่นขุดเจาะน้ำมันและกังหันลมแบบลอยทะเล เพื่อรักษาจุดศูนย์ถ่วงด้ว.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและถังอับเฉา
ขอทาน
ขอทานนางหนึ่งในประเทศเม็กซิโก ขอทาน เป็นบุคคลที่ดำรงชีวิตโดยขอรับบริจาคเศษเงินของผู้ที่สัญจรไปมา (ส่วนวณิพกไม่ใช่ขอทาน) มักพบในที่คนสัญจรพลุกพล่านมากที่ สะพานลอย ลักษณะทั่วไปขอทานจะแต่ตัวโทรมด้วยเสื้อผ้าเก่า ๆ หรือ ขาดวิ่น ดูเป็นที่น่าสงสาร และมี ขัน หรือ อุปกรณ์เพื่อรับเงินบริจาคบางคนก็เป็นคนพิการ ซึ่งไม่สามารถทำมาหากินอย่างอื่นได้ หมวดหมู่:ความยากจน หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:ภาวะไร้ที่อยู่อาศัย.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและขอทาน
เสาชิงช้า
งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและเสาชิงช้า
เถรวาท
รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและเถรวาท
เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
ทวสถาน กรุงเทพมหานคร เทวสถาน สำหรับพระนคร (โบสถ์พราหมณ์) หรือที่นิยมเรียกกันว่า เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 268 ถนนบ้านดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใกล้เสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและเทวสถานโบสถ์พราหมณ์
เปรต
วาดเปรตแบบญี่ปุ่น เปรต (प्रेत เปฺรต; peta เปต) หมายถึงผี ตามความเชื่อในหลายศาสนาทั้ง ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ และศาสนาเชน.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและเปรต
เนชั่นทีวี
นชั่นทีวี (Nation TV) เป็นสถานีโทรทัศน์ซึ่งที่นำเสนอรายการข่าวสาร โดยเอกลักษณ์ของคือ ข่าวเศรษฐกิจ การวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน และรายการเชิงข่าวเป็นหลัก แห่งแรกของประเทศไทย ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เริ่มส่งสัญญาณทางช่อง 8 ของสถานีโทรทัศน์เคเบิลยูบีซี เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและเนชั่นทีวี
9 มิถุนายน
วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.
ดู วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารและ9 มิถุนายน
ดูเพิ่มเติม
บทความเกี่ยวกับ วัด ที่ยังไม่สมบูรณ์
- วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร
- วัดจุฬามณี
- วัดดวงดี
- วัดนวมินทรราชูทิศ
- วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร
- วัดป่าสาลวัน
- วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร
- วัดพนัญเชิงวรวิหาร
- วัดพระธาตุดอยจอมทอง
- วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร
- วัดพระธาตุลำปางหลวง
- วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
- วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
- วัดศรีชมภูองค์ตื้อ
- วัดศรีโคมคำ
- วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
- วัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร
- วัดสามพระยา
- วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
- วัดอรัญญิก (จังหวัดพิษณุโลก)
- วัดเจดีย์เหลี่ยม
- วัดไชยธาราราม
- เกสริยาสถูป
- เจาขัณฑีสถูป
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วัดสุทัศน์วัดสุทัศน์เทพวรารามวัดสุทัศนเทพวราราม