โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่

ดัชนี รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่

ในสมัยที่เป็นประเทศราชของอาณาจักรธนบุรี เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นมีบรรดาศักดิ์เป็น "พระยาประเทศราช" โดยมีพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) เป็นพระยาเชียงใหม่องค์แรก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีพระยาเชียงใหม่บางองค์ได้รับสถาปนาเป็น "พระเจ้าประเทศราช" เป็นกรณีพิเศษ เช่น พระเจ้ากาวิละ พระเจ้ามโหตรประเทศ จนวันที่ 16 ตุลาคม..

52 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2317พ.ศ. 2319พ.ศ. 2325พ.ศ. 2356พ.ศ. 2357พ.ศ. 2358พ.ศ. 2366พ.ศ. 2368พ.ศ. 2369พ.ศ. 2389พ.ศ. 2390พ.ศ. 2397พ.ศ. 2399พ.ศ. 2413พ.ศ. 2416พ.ศ. 2440พ.ศ. 2444พ.ศ. 2453พ.ศ. 2482พ.ศ. 2515พ.ศ. 2532พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหากษัตริย์ไทยพระยาพุทธวงศ์พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)พระยาธรรมลังกาพระยาคำฟั่นพระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)พระเจ้ากาวิละพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์พระเจ้ามโหตรประเทศพระเจ้าอินทวิชยานนท์ราชวงศ์ทิพย์จักรรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูนรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปางอาณาจักรธนบุรีประเทศราชนครเชียงใหม่แปลก พิบูลสงครามเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้วเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์เจ้าแก้วนวรัฐเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า23 พฤศจิกายน23 มกราคม28 พฤศจิกายน...3 มิถุนายน5 มกราคม ขยายดัชนี (2 มากกว่า) »

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2317 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2319

ทธศักราช 2319 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2319 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2356

ทธศักราช 2356 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2356 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2357

ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2357 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2366

ทธศักราช 2366 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2366 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2368

ทธศักราช 2368 ตรงกับคริสต์ศักราช 1825 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2368 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2369

ทธศักราช 2369 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2369 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2389

ทธศักราช 2389 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1846 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2389 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2390

ทธศักราช 2390 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2390 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2397

ทธศักราช 2397 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1854.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2397 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2399 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2416

ทธศักราช 2416 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1873.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2416 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2440 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพุทธวงศ์

ระยากากวรรณาธิปะราชวชิรปราการ หรือ พระยาพุทธวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระยาพุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)

ระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง) เป็นเจ้าราชโอรสในพระยาคำฟั่น เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 และเป็นพระราชบิดาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)

ระยาวิเชียรปราการ หรือ พระยาจ่าบ้าน (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นพระยาประเทศราชนครเชียงใหม่สมัยกรุงธนบุรี ช่วง พ.ศ. 2317 - พ.ศ. 2319.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาธรรมลังกา

ระยาธรรมลังกา หรือพระญาธัมมลังกา (120px) (พ.ศ. 2289- พ.ศ. 2365) หรือ พระยาเชียงใหม่ช้างเผือก เป็นพระยาเชียงใหม่องค์ที่ 2 ในราชวงศ์ทิพย์จักร และเป็นราชบุตรในเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว โดยพระองค์ได้ร่วมกับพระเชษฐา และพระอนุชาในการต่อสู้อริราชศัตรูจนได้รับสมัญญานามว่า "เจ้าเจ็ดตน".

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระยาธรรมลังกา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาคำฟั่น

ระยาคำฟั่น หรือ พระญาคำฝั้น หรือพระนามเต็มว่า "เจ้ามหาสุภัทรราชะ" ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 1 ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระยาคำฟั่น · ดูเพิ่มเติม »

พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)

ระยาไชยสงคราม หรือพระยาสุลวะลือไชยสงคราม หรือ พ่อเจ้าทิพย์ช้าง (80px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำปางในช่วง..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากาวิละ

ระบรมราชาธิบดี หรือ พระเจ้ากาวิละ (125px) (พ.ศ. 2285 - พ.ศ. 2358) เป็นพระเจ้านครเชียงใหม่พระองค์แรกแห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ปกครองดินแดนล้านนาไท 57 เมือง ตลอดรัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาแห่งการศึกสงครามและสร้างบ้านแปงเมือง ทรงเป็นกษัตริย์ชาตินักรบได้ทรงร่วมกับพระอนุชาทั้ง 6 และกองทัพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี กอบกู้อิสรภาพแผ่นดินล้านนาออกจากพม่า และนำล้านนาเข้ามาเป็นประเทศราชแห่งสยาม ด้วยพระปรีชาสามารถและพระเดชานุภาพในการรบ ทรงสามารถขยายขอบขัณฑสีมาแผ่นดินล้านนาออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล กอปรกับความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี ในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระเจ้ากาวิละ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์

ระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ด้วยพระนิสัยที่เด็ดขาดเป็นที่เคารพยำเกรงในหมู่ข้าราชบริพารและพสกนิกร เมื่อทรงพิจารณาตัดสินว่าคดีความใดแล้ว หากทรงเอ่ยว่า "อ้าว" เมื่อใด หมายถึงการต้องโทษตัดศีรษะประหารชีวิต จนประชาชนทั่วไปต่างถวายพระสมัญญาว่า "เจ้าชีวิตอ้าว"บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามโหตรประเทศ

ระเจ้ามโหตรประเทศ (100px) (พระนามเดิม เจ้าหนานมหาวงศ์) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงครองราชย์ในระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระเจ้ามโหตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิพย์จักร

ราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ทิพจักราธิวงศ์ หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นราชวงศ์ที่ปกครองนครลำปาง นครเชียงใหม่ และนครลำพูน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และราชวงศ์ทิพย์จักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน

ในปี พ.ศ. 2324 ภายหลังจากที่พระเจ้ากาวิละ ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้านครเชียงใหม่ ขณะนั้นนครลำพูนยังคงเป็นเมืองร้าง ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง

้าผู้ครองนครลำปาง เป็นตำแหน่งที่เริ่มมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรหริภุญชัย โดยกษัตริย์พระองค์แรกของนครลำปางคือพระเจ้าอนันตยศ พระราชโอรสของพระนางจามเทวี พระเจ้าอนันตยศทรงสร้างนครลำปางและขึ้นครองเมืองเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศราช

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราชต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437).

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และประเทศราช · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว

้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว (140px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำปางพระองค์ที่ 2 ทรงครองนครลำปางในปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่

้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2532) เป็นราชโอรสใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ มีขนิษฐาและอนุชา ร่วมเจ้ามารดา 3 องค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

รองอำมาตย์เอก พลตรี เจ้าราชบุตร หรือพระนามเดิมคือ เจ้าวงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้าราชบุตรองค์สุดท้ายแห่งจังหวัดเชียงใหม่ อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมผสมที่ 7 ราชองครักษ์พิเศษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นราชโอรสในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับแม่เจ้าจามรีวง.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่

้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ (150px) ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทายาทในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นหลานปู่ ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที่ สมรสกับ ชนิดา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "จุลละรัต") ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์

มหาอำมาตย์โท นายพันเอก เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2402 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453) เป็นเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และ23 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มกราคม

วันที่ 23 มกราคม เป็นวันที่ 23 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 342 วันในปีนั้น (343 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และ23 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายพระนามพระเจ้าเชียงใหม่พระเจ้าเชียงใหม่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »