สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1771พ.ศ. 2549ภาษาอาหมมรดกโลกรัฐอัสสัมอาณาจักรอาหมองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติจรากุราท้าวคำถี่เจ้าฟ้าเสือดังเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า
- อาณาจักรอาหม
พ.ศ. 1771
ทธศักราช 1771 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ภาษาอาหม
ษาอาหม (Ahom language) เป็นหนึ่งในกลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มกัม-ไท, เบ-ไท, ไท-แสก อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษาอาหมนั้นมีอักษร และถ้อยคำของตนใช้สื่อสารทั้งพูดและเขียนมาอย่างต่อเนื่อง แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาอัสสัมซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนแล้ว อย่างไรก็ตาม ถ้อยคำที่บันทึกจารึกไว้ในคัมภีร์ในบทสวดในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ก็แสดงให้เห็นว่านักบวชชาวไทอาหมยังใช้ภาษาไทได้อย่างสมบูรณ.
มรดกโลก
ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ.
รัฐอัสสัม
รัฐอัสสัม (อัสสัม: অসম Ôxôm) เดิมภาษาไทยเรียก อาสาม เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐอินเดีย โดยมีเมืองหลวงคือ ทิสปุระ อยู่ในเขตเมืองคูวาหตี อยู่ทางตอนใต้ของหิมาลัยตะวันออก รัฐอัสสัมมีลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำพารัก และตำบลครรพี กับเขาจาชาร์เหนือ ปัจจุบันมีพื้นที่ 78,438 ตารางกิโลเมตร เกือบเท่ากับพื้นที่ของไอร์แลนด์ หรือออสเตรีย รัฐอัสสัมรายล้อมด้วยรัฐพี่น้องทั้งเจ็ด อันได้แก่ อรุณาจัลประเทศ, นาคาแลนด์, มณีปุระ, มิโซรัม, ตริปุระ และ เมฆาลัย รัฐเหล่านี้เชื่อมต่อกับส่วนอื่นๆ ของอินเดีย โดยผ่านพื้นที่แคบ ในเบงกอลตะวันตก ที่เรียกว่า "คอไก่" อัสสัมยังมีชายแดนร่วมประเทศภูฏาน และบังกลาเทศ มีวัฒนธรรม ประชากร และภูมิอากาศในลักษณะเดียวกันกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันเป็นส่วนสำคัญของนโยบายมองตะวันออก ของอินเดีย ชาอัสสัม รัฐอัสสัมมีชื่อเสียงด้านแหล่งใบชา ปิโตรเลียม ไหมอัสสัม และความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ยังประสบความสำเร็จในการอนุรักษ์แรดนอเดียว จากสภาพสูญพันธุ์ในอุทยานแห่งชาติกาจิรังคา (Kaziranga National Park), เสือในอุทยานแห่งชาติมนัส (Manas National Park) และจัดหาแหล่งอาศัยสุดท้ายของสัตว์ป่าสำหรับช้างเอเชียด้วย อัสสัมเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในฐานะแห่งท่องเที่ยวชมสัตว์ป่า และทั้งกาจิรังคาและมนัส ก็เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อัสสัมยังเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะป่าต้นสาละ และผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนลดลงมาก อัสสัมเป็นพื้นที่ซึ่งมีฝนตกชุก จึงมีพืชพรรณที่อุดมสมบูรณ์ มีแม่น้ำพรหมบุตร และลำน้ำสาขา กับทะเลสาบรูปเกือกม้า ที่ให้ความชุ่มชื้นและความสวยงามแก่ภูมิประเท.
อาณาจักรอาหม
อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..
ดู เจ้รายดอยและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
จรากุรา
จรากุรา (চৰাগুৱা) หรือที่รู้จักในนามราชธานีชากุยะ ถูกสถาปนาเป็นราชธานีในรัชสมัยสุดางฟ้า (โอรสมเหสีองค์รองของท้าวขำติ) เนื่องจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเริ่มเพิ่มพูนมากในรัชกาลนี้ เดิมสุดางฟ้าสร้างเมืองใหม่ขึ้นที่โธลา แต่ภายหลังได้ย้ายมาอยู่ที่ชารากูจา (ชากุยะ) และราชธานีแห่งนี้ใกล้กับแม่น้ำทิหิง หมวดหมู่:อาณาจักรอาหม.
ท้าวคำถี่
ท้าวคำถี่ เป็นโอรสองค์ที่สามของสุขางฟ้า ได้รับการสถาปนาจากขุนนางให้เป็นกษัตริย์เมื่อปี พ.ศ. 1923 เพราะไม่สามารถหาบุคคลที่สมควรที่จะเป็นกษัตริย์ได้.
เจ้าฟ้าเสือดัง
งฟ้า เป็นราชโอรสที่ติดมากับพระมเหสีรองของท้าวขำติ ซึ่งถูกลอยแพมาตามแม่น้ำพรหมบุตร กุนาภิรามกล่าวว่า กษัตริย์องค์นี้ทรงกระทำตามพระทัยตนเอง แต่ไม่มีตำนานบุรานชิ ฉบับใดยืนยันคำกล่าวนี้ รัชกาลของพระองค์เต็มไปด้วยเหตุการณ์ต่างๆ และพระองค์เองก็เคยออกนำหน้ากองทัพในการสู้รบอย่างน้อยที่สุดหนึ่งครั้ง.
เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า
้าหลวงเสือก่าฟ้า ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรอาหม สันนิษฐานกันว่า พระองค์เป็นเจ้าองค์หนึ่งในเมืองมาวหลวง ซึ่งก่อตั้งโดยกษัตริย์พระนามว่า ขุนลุง ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพระองค์ เสือก่าฟ้าได้เกิดความขัดแย้งกับญาติพี่น้อง และในที่สุดจึงได้นำสมบัติประจำราชวงศ์ซึ่งเป็นเทวรูปนาม สมเทวะ อพยพออกมาจากมาวหลวง.
ดู เจ้รายดอยและเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า
ดูเพิ่มเติม
อาณาจักรอาหม
- ปุรันทาร สิงห์
- พกะตา
- ราชวงศ์อาหม
- อักษรไทอาหม
- อาณาจักรอาหม
- อาหม
- เจ้รายดอย
- เจ้หุง
- เจ้าฟ้า
- เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า
หรือที่รู้จักกันในชื่อ อภัยปุระเมืองกลาง เจครุ