โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1771

ดัชนี พ.ศ. 1771

ทธศักราช 1771 ใกล้เคียงกั.

6 ความสัมพันธ์: กษัตริย์มหาศักราชอาหมอาณาจักรอาหมเจ้รายดอยเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า

กษัตริย์

กษัตริย์ (क्षत्रिय กฺษตฺริย; khattiya ขตฺติย; ปรากฤต:khatri) เป็นวรรณะหนึ่งในสังคมชาวฮินดู (อีก 4 วรรณะที่เหลือคือพราหมณ์ แพศย์ และศูทร).

ใหม่!!: พ.ศ. 1771และกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาศักราช

มหาศักราช (ตัวย่อ ม.ศ.; อังกฤษ: Shalivahana era, Saka era) เป็นศักราชที่ใช้ตามปีครองราชย์ของ พระเจ้ากนิษกะ กษัตริย์ที่ปกครองอาณาจักรกุษาณะ หรือ พระเจ้าสลิวาหนะ ศากยะวงศ์องค์หนึ่ง ที่มีอาณาเขตยิ่งใหญ่ปกครองอาณาเขตถึงบริเวณที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ อินเดียส่วนเหนือ อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน และส่วนตะวันตกของจีน ปีมหาศักราชนั้นในหนังสือไทยจะอ้างถึงปีที่เริ่มครองราชย์คือ พ.ศ. 621 (ค.ศ. 78) ในขณะที่บันทึกต่างประเทศระบุว่าครองราชย์ในปี ค.ศ. 127 (พ.ศ. 670) ด้านสารานุกรมบริเตนนิการะบุว่าไม่ทราบปีครองราชย์ที่แน่นอน คาดว่าอยู่ในช่วง ค.ศ. 78 - 144 เมื่อมหาศักราชแพร่เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้จารึกต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัยและอาณาจักรใกล้เคียงต่างใช้มหาศักราชเป็นส่วนใหญ่ คาดว่าไทยเลิกใช้มหาศักราชในปี พ.ศ. 2112 โดยเปลี่ยนไปใช้จุลศักราชแทน อย่างไรก็ตามมีการใช้มหาศักราชอยู่บ้างหลังจากนั้น ดังปรากฏในจารึกวัดไชยวัฒนาราม (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ปัจจุบันการแปลงมหาศักราช เป็นพุทธศักราช ให้นำ 621 บวกปีมหาศักราชนั้น จะได้ปีพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1771และมหาศักราช · ดูเพิ่มเติม »

อาหม

อาหม (আহোম; อาโหมะ) หรือ ไทอาหม กลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งซึ่งอาศัยในรัฐอัสสัมของประเทศอินเดีย เดิมใช้ภาษาอาหม ในกลุ่มภาษาย่อยไท-พายัพ ซึงเป็นภาษาในกลุ่มภาษากัม-ไท ตระกูลภาษาไท-กะได แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนแล้วhttp://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: พ.ศ. 1771และอาหม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอาหม

อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 1771และอาณาจักรอาหม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้รายดอย

กลุ่มสุสาน ''มอยด้ำ'' ทั้งสี่ เจ้รายดอยการศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 35 (চৰাইদেও) เป็นราชธานีแห่งแรกของอาณาจักรอาหม แต่เดิมราชธานีเจ้รายดอยมีชื่อเดิมว่า "อภัยปุระ" ส่วนชื่อ เจ้รายดอย ซึ่งนามของเมืองมีความหมายตามภาษาอาหม มีความหมายว่า เมืองที่เรียงรายอยู่บนเขา และภายหลังได้ออกเสียงเพี้ยนเรียกชื่อเมืองดังกล่าวว่า "จรวยเทพ" (Charaideo) ราชธานีแห่งนี้ทำหน้าที่เป็นนครหลวงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1228 โดยกษัตริย์เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า กษัตริย์พระองค์แรกของอาหม และเป็นราชธานีเรื่อยมาจนถึงสมัยท้าวคำถี่ ภายหลังเมื่อเข้าสู่รัชกาลเจ้าฟ้าเสือดัง จึงได้ย้ายนครหลวงไปที่ราชธานีจรากุรา ในการต่อมา แต่อดีตราชธานีเจ้รายดอยยังมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ของอาหมอยู่ไม่น้อย เพราะถือว่าเป็นเมืองที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นที่ฝังพระศพของเหล่าเจ้าฟ้า ปัจจุบันเจ้รายดอยเป็นส่วนหนึ่งของเมืองศิวสาคร รัฐอัสสัม ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปราว 30 กิโลเมตร และได้รับความเสียหายจากโจรที่เข้ามาขุดเอาของมีค่าไป ในปี ค.ศ. 2006 ได้มีการเสนอชื่อให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของยูเนสโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 1771และเจ้รายดอย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า

้าหลวงเสือก่าฟ้า ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรอาหม สันนิษฐานกันว่า พระองค์เป็นเจ้าองค์หนึ่งในเมืองมาวหลวง ซึ่งก่อตั้งโดยกษัตริย์พระนามว่า ขุนลุง ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพระองค์ เสือก่าฟ้าได้เกิดความขัดแย้งกับญาติพี่น้อง และในที่สุดจึงได้นำสมบัติประจำราชวงศ์ซึ่งเป็นเทวรูปนาม สมเทวะ อพยพออกมาจากมาวหลวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1771และเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1228

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »