เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เครือรัฐเอกราช

ดัชนี เครือรัฐเอกราช

รือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States หรือ CIS Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก).

สารบัญ

  1. 26 ความสัมพันธ์: ชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟภาษารัสเซียมอสโกมินสค์รูเบิลรัสเซียวลาดีมีร์ ปูตินสหภาพโซเวียตสงครามรัสเซีย-จอร์เจียสงครามในดอนบัสส์อิลฮัม อะลีเยฟองค์การระหว่างประเทศอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโคประธานาธิบดีรัสเซียประเทศมอลโดวาประเทศรัสเซียประเทศอาร์มีเนียประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศอุซเบกิสถานประเทศคาซัคสถานประเทศคีร์กีซสถานประเทศเบลารุสประเทศเติร์กเมนิสถานนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟแซร์ช ซาร์กเซียนUTC+02:00UTC+12:00

  2. การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
  3. ผู้สังเกตการณ์ในสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
  4. องค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534

ชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟ

ัฟคัต มีโรโนโวนิช มีร์ซีโยเยฟ (เกิด 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักการเมืองอุซเบกที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีของอุซเบกสถานตั้งแต่ปี..

ดู เครือรัฐเอกราชและชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟ

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ดู เครือรัฐเอกราชและภาษารัสเซีย

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ดู เครือรัฐเอกราชและมอสโก

มินสค์

ริเวณจัตุรัสแห่งชัยชนะในกรุงมินสค์ มินสค์ (Minsk; Мінск; Минск) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวิสลาช (Svislach) และแม่น้ำเนียมีฮา (Niamiha) ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 280.4 เมตร กรุงมินสค์เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเครือรัฐเอกราช (CIS) ในที่เป็นฐานะเมืองหลวงของประเทศ ยังมีสถานะการบริหารพิเศษและยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของจังหวัดมินสค์และเขตมินสค์อีกด้วย ในปี ค.ศ.

ดู เครือรัฐเอกราชและมินสค์

รูเบิลรัสเซีย

รูเบิล เป็นสกุลเงินตราของสหพันธรัฐรัสเซีย อับฮาเซีย และออสเซเตียใต้ รูเบิลเคยเป็นสกุลเงินตราของจักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียตตามลำดับ หน่วยย่อยของรูเบิลคือโคเปค โดยที่หนึ่งรูเบิลมีมูลค่าเท่ากับหนึ่งร้อยโคเปค รหัส ISO 4217 ของสกุลเงินนี้คือ RUB โดยก่อนที่จะมีการปรับค่าเงินในปีค.ศ.

ดู เครือรัฐเอกราชและรูเบิลรัสเซีย

วลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ วลาดีมีโรวิช ปูติน (Владимир Владимирович Путин; Vladimir Vladimirovich Putinr) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซียผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีรัสเซียคนที่สี่และคนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประธานพรรคยูไนเต็ดรัสเซียและประธานสภารัฐมนตรีสหภาพรัสเซียและเบลารุส เขารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ดู เครือรัฐเอกราชและวลาดีมีร์ ปูติน

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ดู เครือรัฐเอกราชและสหภาพโซเวียต

สงครามรัสเซีย-จอร์เจีย

งครามรัสเซีย-จอร์เจีย หรือสงครามเซาท์ออสซีเชีย (ในรัสเซียมีอีกชื่อหนึ่งว่า สงครามห้าวัน) เป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธในเดือนสิงหาคม พ.ศ.

ดู เครือรัฐเอกราชและสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย

สงครามในดอนบัสส์

งครามในดอนบัสส์ (หรือเรียก สงครามในยูเครน หรือสงครามในยูเครนตะวันออก) เป็นความขัดแย้งมีอาวุธในภูมิภาคดอนบัสส์ของประเทศยูเครน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2557 เกิดการเดินขบวนโดยกลุ่มนิยมรัสเซียและต่อต้านรัฐบาลในมณฑลโดเนตสค์และลูฮันสค์ของยูเครน มักเรียกรวมกันว่า "ดอนบัสส์" หลังการปฏิวัติยูเครน พ.ศ.

ดู เครือรัฐเอกราชและสงครามในดอนบัสส์

อิลฮัม อะลีเยฟ

อิลฮัม เฮย์ดาร์ ออกลู อะลีเยฟ (İlham Əliyev เกิด 24 ธันวาคม พ.ศ. 2504) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 และคนปัจจุบันของอาเซอร์ไบจาน เขาเริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 31 ตุลาคม..

ดู เครือรัฐเอกราชและอิลฮัม อะลีเยฟ

องค์การระหว่างประเทศ

องค์การระหว่างประเทศ (international organisation) หมายถึง องค์การที่ประเทศหรือรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไปรวมกัน จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นกลไกอย่างหนึ่งในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมต่างๆเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของรัฐสมาชิกและมวลมนุษยชาต.

ดู เครือรัฐเอกราชและองค์การระหว่างประเทศ

อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค

อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค (Алякса́ндр Рыго́равіч Лукашэ́нка Алекса́ндр Григо́рьевич Лукаше́нко, เกิด 30 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นประธานาธิบดีคนปัจจุบันของเบลารุส ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 20 กรกฎาคม..

ดู เครือรัฐเอกราชและอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค

ประธานาธิบดีรัสเซีย

ประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เป็นประมุขแห่งรัฐ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้ทรงตำแหน่งหน้าที่สูงสุดในประเทศรัสเซีย แต่มิใช่ประมุขฝ่ายบริหาร โดยรัฐบาลรัสเซียเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจบริหารสูงสุด ประธานาธิบดีรัสเซียคนปัจจุบัน คือ วลาดีมีร์ ปูติน.

ดู เครือรัฐเอกราชและประธานาธิบดีรัสเซีย

ประเทศมอลโดวา

มอลโดวา (Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ (Danube River) ในอดีตพื้นที่ประเทศมอลโดวาอยู่ในอาณาบริเวณของราชรัฐมอลดาเวีย (Principality of Moldavia) ต่อมาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศมอลโดวา

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศรัสเซีย

ประเทศอาร์มีเนีย

อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศอาร์มีเนีย

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศอาเซอร์ไบจาน

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศอุซเบกิสถาน

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศคาซัคสถาน

ประเทศคีร์กีซสถาน

ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศคีร์กีซสถาน

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศเบลารุส

ประเทศเติร์กเมนิสถาน

ติร์กเมนิสถาน (Türkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน เติร์กเมนิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู เครือรัฐเอกราชและประเทศเติร์กเมนิสถาน

นูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ

นูร์ซุลตัน แอเบอชูเลอ นาซาร์บายิฟ (Нұрсұлтан Әбішұлы Назарбаев, Nursultan Äbişulı Nazarbayev Нурсултан Абишевич Назарбаев, Nursultan Abishevich Nazarbayev; เกิด 6 กรกฎาคม 1940) เป็นประธานาธิบดีของคาซัคสถานเขาเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งคาซัคสถานซึ่งเป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐที่ปกครองคาซัคสถานโดยพฤตินัยในช่วงเวลาสั้นๆในปี 1990 เขาได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคนแรกของประเทศในปี 1991 เขายังได้รับฉายาว่าบิดาแห่งชาวคาซัค ในเดือนเมษายน 2015 เขาได้รับการเลือกตั้งไปด้วยคะแนนร้อยละ 93.

ดู เครือรัฐเอกราชและนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ

แซร์ช ซาร์กเซียน

แซร์ช ซาร์กเซียน (Սերժ Սարգսյան, เกิด 30 มิถุนายน พ.ศ. 2497).

ดู เครือรัฐเอกราชและแซร์ช ซาร์กเซียน

UTC+02:00

UTC+02:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน: UTC +2 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ดู เครือรัฐเอกราชและUTC+02:00

UTC+12:00

UTC+12 2010: สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล UTC+12:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน.

ดู เครือรัฐเอกราชและUTC+12:00

ดูเพิ่มเติม

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

ผู้สังเกตการณ์ในสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

องค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Commonwealth of Independent Statesเครือจักรภพรัฐเอกราช