โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เกออร์กี มาเลนคอฟ

ดัชนี เกออร์กี มาเลนคอฟ

กออร์กี มักซีมีลีอะโนวิช มาเลนคอฟ (Гео́ргий Максимилиа́нович Маленко́в; Georgy Maximilianovich Malenkov; 8 มกราคม พ.ศ. 2445 - 14 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นนักการเมืองโซเวียตและผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ ครอบครัวของเขาความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับวลาดิมีร์ เลนินทำให้ช่วยส่งเสริมเขาในการเข้าพรรคและในปี..

33 ความสัมพันธ์: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตพลโทการกวาดล้างใหญ่การล้อมเลนินกราดมอสโกยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่เบอร์ลินรางวัลพูลิตเซอร์ลัฟเรนตีย์ เบรียาวยาเชสลาฟ โมโลตอฟวลาดีมีร์ เลนินวินสตัน เชอร์ชิลสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสหภาพโซเวียตสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัคสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนสงครามโลกครั้งที่สองออร์กบูโรจรวดวี-2จักรวรรดิรัสเซียทุนนิยมดมีตรี อุสตีนอฟดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์คณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียตปฏิบัติการบาร์บารอสซานายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียตนีกีตา ครุชชอฟนีโคไล บุลกานินโอเรนบุร์กโจเซฟ สตาลินเกออร์กี จูคอฟเครื่องอิสริยาภรณ์เลนินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต

รรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (Коммунисти́ческая Па́ртия Сове́тского Сою́за; КПСС) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปกครองสหภาพโซเวียตและเป็นสถาบันหรือองค์กรที่มีอำนาจและบทบาททั้งทางด้านนิตินัยและพฤตินัยในการกำหนดดำเนินนโยบายต่างประเทศ อำนาจในการบริหารและตัดสินใจมาจากกลุ่มบุคคลชั้นนำในคณะกรรมการการเมือง หรือ 'โปลิตบูโร' (Politburo / Политбюро).

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

พลโท

พลโท ไฟล์:RTA OF-8 (Lieutenant General).svg พลโท (Lieutenant general) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก ที่ใช้กันในหลายประเทศ เกิดขึ้นในช่วงยุคกลาง พลโทเป็นยศในกองทัพที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากพลเอก ในกองทัพที่ทันสมัย พลโทจะเป็นยศที่ต่ำกว่าพลเอกและสูงกว่าพลตรี เทียบเท่ากับยศพลเรือโทของกองทัพเรือ และเทียบเท่ากับพลอากาศโทในกองทัพอากาศที่มีระดับโครงสร้างที่แยกจากกัน พลโทจะมีอำนาจบัญชาการกองพลซึ่งประกอบไปด้วยทหาร 60,000 – 70,000 นาย พลโท.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและพลโท · ดูเพิ่มเติม »

การกวาดล้างใหญ่

อัยการสูงสุด อันเดรย์ วืยชินสกี (คนกลาง), กำลังอ่านข้อกล่าวหาต่อ Karl Radek ในช่วง การพิจารณาคดีมอสโกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2481 การกวาดล้างครั้งยิ่งใหญ่ (Большо́й терро́р, Great Purge) หรือ ความน่ากลัวอันยิ่งใหญ่ (Great Terror) เป็นการปราบปรามทางการเมืองในสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและการกวาดล้างใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมเลนินกราด

การล้อมเลนินกราด (блокада Ленинграда blokada Leningrada) เป็นการล้อมยืดเยื้อซึ่งกลุ่มกองทัพเหนือของเยอรมันกระทำต่อเลนินกราด ซึ่งก่อนหน้านี้และปัจจุบันคือ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง การล้อมเริ่มต้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน 1941 เมื่อถนนเส้นสุดท้ายสู่นครถูกตัดขาด แม้ฝ่ายโซเวียตสามารถเปิดฉนวนทางบกแคบ ๆ สู่นครได้เมื่อวันที่ 18 มกราคม 1943 กว่าการล้อมจะยุติก็วันที่ 27 มกราคม 1944 กินเวลา 872 วัน เป็นการล้อมที่ยาวนานและทำลายล้างสูงสุดในประวัติศาสตร์ และอาจเป็นการล้อมที่มียอดผู้เสียชีวิตสูงสุดด้ว.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและการล้อมเลนินกราด · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและยุทธการที่สตาลินกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เบอร์ลิน

ทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและยุทธการที่เบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพูลิตเซอร์

รางวัลพูลิตเซอร์ (Pulitzer Prizes) เป็นรางวัลของสหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นเพื่อมอบแก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลง บริหารจัดการโดยมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในนครนิวยอร์ก รางวัลพูลิตเซอร์จัดมอบเป็นรายปีแบ่งเป็น 21 ประเภท ในแต่ละประเภทผู้ได้รับรางวัลจะได้รับกิตติบัตรและเงินรางวัล 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้รับรางวัลการหนังสือพิมพ์ในสาขาการบริการสาธารณะจะได้รับเหรียญทองซึ่งมักตกแก่หนังสือพิมพ์มาโดยตลอด แม้จะมีชื่อบุคคลได้รับการกล่าวยกย่องไว้ด้วย รางวัลพูลิตเซอร์ ก่อตั้งโดยโจเซฟ พูลิตเซอร์ นักหนังสือพิมพ์และผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกัน ซึ่งได้มอบเงินจำนวน 2 ล้านเหรียญไว้ในพินัยกรรมแก่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียหลังการเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2454 เงินส่วนหนึ่งของกองมรดกนี้ได้ถูกนำไปใช้ในการก่อตั้งสถาบันวิชาการหนังสือพิมพ์ของมหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2456 ได้มีการมอบรางวัลพูลิตเซอร์รางวัลแรกเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2460 ปัจจุบันมีการประกาศรางวัลทุก ๆ เดือนเมษายน การคัดเลือกผู้ได้รับรางวัลดำเนินการโดยกรรมการอิสร.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและรางวัลพูลิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัฟเรนตีย์ เบรียา

ลัฟเรนตีย์ ปัฟโลวิช เบรียา (Лавре́нтий Па́влович Бе́рия; ლავრენტი პავლეს ძე ბერია; 29 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองโซเวียตเชื้อชาติจอร์เจีย จอมพลสหภาพโซเวียตและหัวหน้าคณะกรรมาธิการประชาชนด้านกิจการภายในประเทศ (NKVD) ภายใต้โจเซฟ สตาลินในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและลัฟเรนตีย์ เบรียา · ดูเพิ่มเติม »

วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ

วยาเชสลาฟ มีฮาอิลโลวิช โมโลตอฟ (Вячесла́в Миха́йлович Мо́лотов; 9 มีนาคม 1890 – 8 พฤษจิกายน 1986) เป็นนักการเมืองและนักการทูตโซเวียตในสมัยของโจเซฟ สตาลิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในช่วงสงครามโลกครั่งที่สองและในช่วงปี 1957 ก็ถูกไล่ออกจากประธานคณะกรรมาธิการกลางด้วยนีกีตา ครุชชอฟ และไม่เล่นการเมืองอีกเลยจนเขาเสียชีวิตลง.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและวยาเชสลาฟ โมโลตอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและวลาดีมีร์ เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (คาซัคҚазақ Кеңестік Социалистік Республикасы, Qazaq Keñestik Socïalïstik Respwblïkası;รัสเซีย (Казахская Советская Социалистическая Республика - КССР, Kazakhskaya Sovetskaya Sotsialisticheskaya Respublika - KSSR) เป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของ สหภาพโซเวียต ก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1920 เริ่มแรกถูกเรียกว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองคีร์กีซ (Kirghiz ASSR) และเป็นส่วนหนึ่งของ สหภาพโซเวียต ต่อมาวันที่ 15-19 เมษายน ปีค.ศ. 1925 ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองโซเวียตคาซัค และในวันที่ 5 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1936 ถูกยกระดับให้กลายเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (Kazakh SSR) ในช่วงระหว่าง ปี ค.ศ. 1950 – 1960 พลเมืองโซเวียตถูกกระตุ้นให้ตั้งถิ่นฐานยังโครงการดินแดนบริสุทธิ์ฮรุชชอฟของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค การไหลหลั่งเข้ามาของผู้อพยพย้ายถิ่นเช่น รัสเซีย (อพยพเข้ามาเป็นส่วนใหญ่) ยูเครน เยอรมัน ยิว เบลารุส เกาหลี ทำให้เกิดการผสมผสานในหลายเชื้อชาติจนมีจำนวนของชาวต่างชาติมากกว่าชาวพื้นเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้มีการใช้ภาษาคาซัคน้อยลงแต่ก็ถูกนำกลับมาใช้อีกตั้งแต่ถูกแยกตัวออกมาเป็นอิสระ วันที่ 10 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1991 Kazakh SSR ถูกเรียกใหม่ว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Republic of Kazakhstan) และแยกตัวเป็นอิสระจาก สหภาพโซเวียต ในวันที่ 16 ธันวาคม ปีเดียวกัน ซึ่งคาซัคสถานเป็นสาธารณรัฐสุดท้ายที่แยกตัวออกมาก่อนที่จะเกิดการล่มสลายของ สหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน (เติร์กเมนТүркменистан Совет Социалистик Республикасы, Türkmenistan Sowet Sotsialistik Respublikasy;รัสเซียТуркменская Советская Социалистическая Республика, Turkmenskaya Sovetskaya Sotsialisticheskaya Respublika) หรือ โซเวียตเติร์กเมน เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นในปี 1922 (สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1921 และล่มสลายในปี 1991.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ออร์กบูโร

ออร์กบูโร (Orgburo,Оргбюро) เป็นสำนักงานดูแลโครงสร้างองค์กร ของคณะกรรมาธิการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียตในช่วงปี..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและออร์กบูโร · ดูเพิ่มเติม »

จรวดวี-2

V-2 (Vergeltungswaffe 2, ชื่อทางเทคนิค "อาวุธล้างแค้น 2") Aggregat-4 (A4) เป็นขีปนาวุธระยะสั้นที่ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศเยอรมนีโดยมีเป้าหมายเฉพาะเจาะจงที่กรุงลอนดอนและต่อมาที่แอนต์เวิร์ป โดยปกติจะเรียกว่าจรวด V-2, เป็นจรวดเชื้อเพลิงเหลว-ที่เป็นขีปนาวุธต่อสู้ขีปนาวุธที่มีพิสัยทำการในระยะไกล เป็นครั้งแรกของโลกและเป็นที่รู้จักครั้งแรกในฐานะที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ที่จะเข้าสู่บริเวณพื้นที่รอบนอกอวกาศ มันเป็นต้นกำเนิดของจรวดสมัยใหม่, รวมทั้งผู้ที่นำมาใช้ในโครงการอวกาศโดยสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ในระหว่างผลพวงของสงครามโลกครั้งที่สองรัฐบาลอเมริกัน, โซเวียต, และอังกฤษทั้งหมดได้เข้าถึงจรวด V-2 ซึ่งการออกแบบทางเทคนิคนั้นได้ผลดีเช่นเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์เยอรมันที่เคยรับผิดชอบในการสร้างจรวดที่สามารถสร้างมันขึ้นมาใช้งานได้ผลจริง ๆ มาแล้ว, จรวด V-2 ประสบความสำเร็จในการทดสอบครั้งแรกในวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ.1942 โดยถูกปล่อยจากแท่นทดสอบที่ 6 สนามบินพีเนมุนด์ในเยอรมนี.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและจรวดวี-2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ทุนนิยม

"พีระมิดระบบทุนนิยม" ถูกตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและทุนนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ดมีตรี อุสตีนอฟ

มีตรี เฟโอโดโรวิช อุสตีนอฟ (Дми́трий Фёдорович Усти́нов; Dmitriy Feodorovich Ustinov; 30 ตุลาคม พ.ศ. 2451 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2527) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสหภาพโซเวียต..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและดมีตรี อุสตีนอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์

วต์ เดวิด ไอก์ ไอเซนฮาวร์ (Dwight David "Ike" Eisenhower; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1890 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1969) เป็นทหารและนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา (ค.ศ. 1953 - ค.ศ. 1961) และเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง มียศทางการทหารเป็นนายพลห้าดาวซึ่งเทียบได้กับยศจอมพลในบางประเทศ ดไวต์ ดี.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต

ณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต หรือเรียกว่า Leningrad CPSU obkom เป็นคณะกรรมการปกครองสูงสุดของแคว้นเลนินกราดในยุคสหภาพโซเวียตก่อตั้งในวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและคณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียต

ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียต (Глава Правительства СССР) เป็นหัวหน้ารัฐบาลของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตตำแหน่งนี้มีสองที่ได้รับการแต่งตั่ง (วลาดิมีร์ เลนิน,โจเซฟ สตาลิน) สามคนที่ได้รับเลือกตั่ง (อะเลคเซย์ โคซีกิน, นีโคไล ตีโฮนอฟและ อีวาน ซีลาเยฟ) สถาคอมมิสซาร์ประชาชนก่อตั่งเป็นครั่งแรกหลังการปฏิวัติเดีอนตุลาคมในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียตามทีมาตราที่ 38 ของรัฐธรรมมูญสหภาพโซเวียต 1924 ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็นประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียตในปี 1946 ในปี 1964 นีกีตา ครุชชอฟ ถูกยึดอำนาจโดยคณะกรรมาธิการกลาง ในสมัยที่โคซีกินดำรงตำแหน่ง ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต โคซีกินได้เริ่มการปฏิรูปเศรษฐกิจโซเวียต 1965และรัฐธรรมมูญสหภาพโซเวียต 1977 ประธานสภารัฐมนตรีจึงเป็นหัวหน้ารัฐบาลไปโดยปริยาย จนหลังจากที่ นีโคไล รึจคอฟ ออกจากตำแหน่งและแทนที่โดย วาเลนติน ปัฟลอฟ ตำแหน่งนี้จึงถูกเปลี่ยนชี่ออิกครังเป็น นายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียตจนเมื่อรัฐประหารล้มเหลวตำแหน่งจึงถูกเปลี่ยนเป็น Chairman of the Interstate Economic Committee – Prime Minister of the Economic Commonwealth ในช่วง 126 วันสุดท้ายของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและนายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและนีกีตา ครุชชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล บุลกานิน

นีโคไล อะเลคซันโดรวิช บุลกานิน (Никола́й Алекса́ндрович Булга́нин; Nikolai Alexandrovich Bulganin; 11 มิถุนายน 2438 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นนักการเมืองโซเวียต เป็น ผู้บัญชาการประชากลาโหม แห่งสหภาพโซเวียตภายใต้รัฐบาลโจเซฟ สตาลิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2496–พ.ศ. 2498) และประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต (1955-1958) ภายใต้รัฐบาล นีกีตา ครุชชอฟ.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและนีโคไล บุลกานิน · ดูเพิ่มเติม »

โอเรนบุร์ก

ห้องสมุดมหาวิทยาลัยโอเรนบุร์ก โอเรนบุร์ก (p; Orenburg) เป็นเมืองในประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทั้งในทวีปยุโรปและเอเชีย เป็นเมืองหลวงของโอเรนบุร์กโอบลาสต์ บนฝั่งแม่น้ำยูรัล อยู่ห่างจากกรุงมอสโก 1,478 กม.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและโอเรนบุร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและเกออร์กี จูคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน

รื่องอิสริยาภรณ์เลนิน (Орден Ленина, Orden Lenina) คือเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหภาพโซเวียตโดยตั่งชือตามวลาดีมีร์ เลนินผู้นำการปฏิวัติเดือนตุลาคมโดยผู้ได้รับต้องมีคุณสมบัติดังนี.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและเครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2246 โดยตัวเมืองเริ่มสร้างด้วยการถมทรายและหินเป็นจำนวนมากเพราะว่าพื้นที่เดิมของเมืองนั้นเป็นดินเลนของทะเล พระองค์ทรงเลือกที่จะสร้างเมืองที่บริเวณนี้เพราะว่าตัวเมืองมีทางออกทะเลบอลติกและสามารถติดต่อไปทางยุโรปและประเทศอื่นๆได้ง่าย เพื่อการปฏิรูปรัสเซียให้ทัดเทียมกับประเทศอื่น ๆ ในยุโรปได้โดยง่าย ต่อมาเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์กจึงได้รับสมญานามว่าหน้าต่างแห่งยุโรป และได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิรัสเซียเป็นเวลา 206 ปี (หลังจากนั้นได้ย้ายเมืองหลวงไปที่มอสโก เมื่อ พ.ศ. 2461) ชื่อเดิมของเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคือ เปโตรกราด (Petrograd, Петрогра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2457-2467) และ เลนินกราด (Leningrad, Ленингра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2467-2534) ปัจจุบันเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กมีประชากรมากกว่า 4.7 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัสเซีย และเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก.

ใหม่!!: เกออร์กี มาเลนคอฟและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »