สารบัญ
19 ความสัมพันธ์: พระราชกฤษฎีกานองซ์พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสมงเบลียาร์รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ครัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตลัทธิคาลวินสงครามศาสนาของฝรั่งเศสหมู่เกาะแชนเนลอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จังหวัดมอแซลดัชชีปรัสเซียประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองนิกายลูเทอแรนแคว้นอาลซัสโปรเตสแตนต์
- สงครามศาสนาของฝรั่งเศส
พระราชกฤษฎีกานองซ์
ระราชกฤษฎีกานองซ์เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1598 พระราชกฤษฎีกานองซ์ (Édit de Nantes; Edict of Nantes) เป็นพระราชกฤษฎีกาที่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทรงตราขึ้นเมื่อวันที่ 13 เมษายน..
ดู อูเกอโนต์และพระราชกฤษฎีกานองซ์
พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู อูเกอโนต์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 15 (Louis XV de France; ''หลุยส์แก็งซ์เดอฟร็องส์''.) (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2253 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2317) หรือ ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่ง (ฝรั่งเศส: le Bien-Aimé; เลอเบียง-เนเม) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู อูเกอโนต์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..
ดู อูเกอโนต์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ.
ดู อูเกอโนต์และพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
มงเบลียาร์
มงเบลียาร์ (Montbéliard) เป็นเมืองในจังหวัดดู ในแคว้นฟร็องช์-กงเต ทางตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส ได้รับการเอ่ยถึงครั้งแรกในปี..
รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค
รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค (Markgrafschaft Brandenburg) เป็นรัฐมาร์เกรฟที่สำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู อูเกอโนต์และรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค
รัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนต
รัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนต (Pfalzgrafschaft bei Rhein ต่อมาเป็น Kurpfalz, Palatinate of the Rhine ต่อมาเป็น Electoral Palatinate) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์ของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ดินแดนพาลาทิเนตปกครองโดยเคานต์พาเลไทน์ ผู้มีตำแหน่งเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี..
ดู อูเกอโนต์และรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนต
ลัทธิคาลวิน
ลัทธิคาลวิน (Calvinism) ขนบปฏิรูป (Reformed tradition) หรือ เทววิทยาปฏิรูป เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่ถือแนวคำสอนและการปฏิบัติตามการตีความของฌ็อง กาลแว็ง และนักเทววิทยาอื่น ๆ ช่วงการปฏิรูปศาสนา ลัทธิคาลวินแตกหักกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก จึงนับเป็นฝ่ายโปรเตสแตนต์ แต่ก็ต่างจากโปรเตสแตนต์สายอื่น ๆ เช่น ลูเทอแรน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น พระเยซูในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ หลักบังคับในการนมัสการ การบังคับใช้กฎของพระเจ้ากับคริสตชน การเรียกเทววิทยาสายนี้ว่า "ลัทธิคาลวิน" ค่อนข้างคลาดเคลื่อน เพราะในความเป็นจริง เป็นเทววิทยาที่มีแนวคิดหลากหลาย ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับฌ็อง กาลแว็งผู้ก่อตั้งเพียงคนเดียว นักเทววิทยากลุ่มนี้ถูกฝ่ายลูเทอแรนเรียกว่า "ลัทธิคาลวิน" แต่ในภายในสายมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป มากกว่า นับแต่มีการโต้แย้งอาร์มิเนียน ฝ่ายปฏิรูปก็แบ่งออกเป็นสองสาย คือ สายคาลวิน และ สายอาร์มิเนียน แต่ปัจจุบันมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป ในเชิงไวพจน์กับลัทธิคาลวินมากกว่า นักเทววิทยาสายปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญในยุคต้น ๆ ได้แก่ ฌ็อง กาลแว็ง มาร์ทิน บูเคอร์ ไฮน์ริช บุลลิงเงอร์ และปีเอโตร มาร์ตีเร แวร์มิกลี จุดเด่นของลัทธิคาลวินมีอยู่ 5 ประเด็น ที่เป็นที่รู้จักที่สุดคือความเชื่อเรื่องเทวลิขิตและมนุษย์เสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง ประเด็น 5 ข้อของลัทธิคาลวิน (5 Points of Calvinism; TULIP) ได้แก.
สงครามศาสนาของฝรั่งเศส
หตุการณ์สังหารหมู่วันเซนต์บาร์โธโลมิว สงครามศาสนาของฝรั่งเศส (French Wars of Religion) เป็นสงครามกลางเมืองฝรั่งเศส ระหว่างค.ศ.
ดู อูเกอโนต์และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส
หมู่เกาะแชนเนล
หมู่เกาะแชนแนล หมู่เกาะแชนเนล (Channel Islands) เป็นหมู่เกาะบริติชในช่องแคบอังกฤษตั้งอยู่ระหว่างชายฝั่งทางใต้ของสหราชอาณาจักรและภาคเหนือของฝรั่งเศส มีประชากรทั้งหมดประมาณ 158,000 มีการท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมหลัก มีข้อมูลว่าหมู่เกาะแชนแนลไอส์แลนด์ เป็น 1 ใน 50 ประเทศที่องค์การเพื่อความโปร่งใสระหว่างประเทศกล่าวหาว่าเป็นสวรรค์ของนักเลี่ยงภาษี หมวดหมู่:นอร์ม็องดี หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก.
อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์
อาสนวิหารพระโลหิตของพระผู้ช่วยให้รอด เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย คริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ (Eastern Orthodox Church) เรียกโดยย่อว่าคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ (The Orthodox Church) หรือคริสตจักรไบแซนไทน์ (The Byzantine Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่เป็นอันดับสองในโลก คริสตจักรนี้ปฏิบัติตามหลักการทางเทววิทยาอย่างไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่สมัยศาสนาคริสต์ยุคแรก ศาสนจักรนี้เชื่อว่าคริสตจักรออร์โธด็อกซ์เป็นคริสตจักรแท้จริงเพียงหนึ่งเดียวที่ก่อตั้งโดยพระผู้เป็นเจ้า โดยสืบเนื่องมาจากอัครทูตของพระเยซูคริสต์ ออร์ทอดอกซ์ (Orthodox) หมายความว่า หลักคำสอนที่ถูกต้อง ซึ่งมาจากภาษากรีกคือ orthos แปลว่าถูกต้อง และ doxa แปลว่าคำสอน เมื่อในช่วงศาสนาคริสต์ยุคแรก ได้มีการเผยแพร่หลักคำสอนที่ผิด ซึ่งจะทำให้เกิดความผิดเพี้ยนของศาสนาจักร ซึ่งทางศาสนจักรออร์ทอดอกซ์ จึงได้เรียกตนเองว่าออร์ทอดอกซ์ เพื่อความเป็นศาสนจักรดั้งเดิม และต่อต้านหลักคำสอนนอกรีต อาจจะทำให้เกิดความแตกแยก ชาวออร์โธดอกซ์ถือว่าศาสนจักรออร์โธดอกซ์เป็นคริสตจักรแท้จริง ดั้งเดิม ศักดิ์สิทธิ์ สากล มีหลักคำสอนที่แท้จริงและดั้งเดิม มาตั้งแต่ศาสนาคริสต์ยุคแรกโดยไม่เคยเปลี่ยนหลักคำสอนใดๆ คริสตจักรออร์ทอดอกซ์แบ่งเป็นคริสตจักรย่อย ๆ แต่ละคริสตจักรมีอัครบิดร (หรือชาวอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่า พระสังฆราช) เป็นประมุข ผู้มีหน้าที่เป็นผู้พิทักษ์ประเพณีของศาสนจักร และสามารถสืบสายกลับไปได้ถึงอัครทูตของพระเยซูโดยเฉพาะนักบุญอันดรูว์ คริสตจักรในกลุ่มอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์มักจะไม่เรียกตนเองว่า “อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์” แต่จะใช้ชื่อเฉพาะของกลุ่มที่บอกที่ตั้งของกลุ่มเช่น “คริสตจักรรัสเซียนออร์ทอดอกซ์” หรือ “คริสตจักรกรีกออร์ทอดอกซ์” "คริสตจักรเซอเบียร์ออร์ทอดอกซ์ หรือชาติอื่น ๆ คริสตจักรยุโรปตะวันออก เอเชียตะวันตก และทวีปแอฟริกาเหนือก็ใช้คำว่า “ออร์ทอดอกซ์” แต่ทางปฏิบัติจะแตกต่างกับ อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และจะเรียกตัวเองว่า ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ.
ดู อูเกอโนต์และอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..
ดู อูเกอโนต์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จังหวัดมอแซล
มอแซล หรือ โมแซล (Moselle) เป็นจังหวัดในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดมอแซลตั้งตามชื่อแม่น้ำมอแซล ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกของฝรั่งเศสโดยมีแม็ส เป็นเมืองหลัก มอแซลเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ.
ดัชชีปรัสเซีย
ัชชีปรัสเซีย หรือ ดัชชีพรอยเซิน (Herzogtum Preußen; Prusy Książęce; Prūsijos kunigaikštystė; Duchy of Prussia) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแคว้นปรัสเซีย รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ.
ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง
ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (Déclaration des droits de l'homme et du citoyen) เป็นเอกสารสำคัญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส กำหนดให้สิทธิของปัจเจกชนและสิทธิมวลชลเป็นสิทธิสากล ประกาศฉบับนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า สิทธิดังกล่าวมีอยู่ไม่ว่าเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากเป็นสิทธิที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ (assemblée nationale constituante) รับรองร่างสุดท้ายของประกาศนี้เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..
ดู อูเกอโนต์และประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง
นิกายลูเทอแรน
ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.
แคว้นอาลซัส
อาลซัส (Alsace) หรือ แอลซ็อส (อัลเซเชียน: Elsàss) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกร็องแต็สต์) ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนทางทิศตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส และทางทิศตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ติดกับประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ มีเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองสทราซบูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาประเทศฝรั่งเศสกับเยอรมนีผลัดกันครอบครองแคว้นอาลซัสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 20 เดิมอาลซัสเคยเป็นของเยอรมนี แต่หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ฝรั่งเศสแย่งแคว้นอาลซัสและลอแรนไปจากเยอรมนีทำให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนไม่พอใจฝรั่งเศส จึงเกิดสงครามฝรั่งเศส-อาลซัสและสงครามฝรั่งเศส-ลอแรน โดยฝรั่งเศสต้องสู้กับชาวอาลซัสและชาวลอแรน แต่ในที่สุดฝรั่งเศสก็สามารถปราบชาวอาลซัสและลอแรนลงได้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 แคว้นอาลซัสค่อย ๆ ถูกปรับปรุงในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และกลายเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส บ่อยครั้งที่แคว้นอาลซัสได้ถูกกล่าวรวมกับแคว้นลอแรน เนื่องจากการครอบครองดินแดนของแคว้นทั้งสอง (อาลซัส-ลอแรน) เป็นที่เลื่องชื่อในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเยอรมนีรวมกับปรัสเซียและไซลีเซียเข้าโจมตีฝรั่งเศสและสามารถยึดอาลซัสและลอแรนคืนมาได้ระยะหนึ่ง พอเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝรั่งเศสซึ่งชนะสงครามจึงเอาอาลซัสและลอแรนคืนมา หลังจากนั้นในสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมันได้เข้ายึดปารีสและขู่ให้ฝรั่งเศสยกอาลซัสและลอแรนคืนให้เยอรมนี อาลซัสและลอแรนจึงกลับเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง เมื่อเยอรมนีนาซีแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็คืนอาลซัส-ลอแรนแก่ฝรั่งเศส ในช่วงสงครามเย็นชาวเยอรมันในอาลซัสและลอแรนก็ประท้วงกันอีกครั้ง รัฐบาลฝรั่งเศสต้องคอยปราบปรามเลยยอมให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนใช้ภาษาเยอรมันได้ในที่สุด แต่ชาวเยอรมันบางกลุ่มไม่พอใจยังก่อการร้ายในอาลซัสอยู่เรื่อยมาจนเป็นปัญหาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันอาลซัสเป็นของฝรั่งเศสอย่างสมบรูณ์ แม้ว่าแคว้นอาลซัสจะเป็นแคว้นที่มีคนพูดภาษาเยอรมันอยู่มากทางประวัติศาสตร์ แต่ปัจจุบันชาวอาลซัสก็สามารถพูดภาษาฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 25 ของประชากรพื้นเมืองสามารถพูดภาษาอัลเซเชียน (Alsatian) โดยเป็นภาษาแม่หรือภาษาเยอรมัน (เป็นภาษาที่ 2).
โปรเตสแตนต์
นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.
ดูเพิ่มเติม
สงครามศาสนาของฝรั่งเศส
- การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว
- พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ
- พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง
- สงครามครูเสดแอลบิเจนเซียน
- สงครามศาสนาของฝรั่งเศส
- สงครามสามเฮนรี (ค.ศ. 1584–1598)
- สันนิบาตคาทอลิกฝรั่งเศส
- สี่สิบห้าองครักษ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Huguenots