โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อุตะวะเระรุโมะโนะ

ดัชนี อุตะวะเระรุโมะโนะ

อุตะวะเระรุโมะโนะ เป็นเกมคอมพิวเตอร์แนววิชวลโนเวลที่สร้างโดยลีฟ ออกจำหน่ายครั้งแรกเมื่อ 26 เมษายน พ.ศ. 2545 โดนเกมในเวอร์ชันแรกเป็นเกมสำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ต่อมาได้มีการออกเกมเวอร์ชันสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เมื่อ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2549 และได้มีการนำเนื้อเรื่องมาเขียนเป็นหนังสือการ์ตูน จำนวน 2 เล่ม และภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ จำนวน 26 ตอน เนื้อหาภายในเรื่อง เกี่ยวกับ สงคราม ความรับผิดชอบ หน้าที่ และเป้าหมายของแต่ล่ะคน.

20 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2545พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549มังงะวิชวลโนเวลอะนิเมะจินตนิมิตทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเพลย์สเตชัน 2เกมผจญภัยเกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเอะโระเกเซเน็ง25 กันยายน26 ตุลาคม26 เมษายน3 เมษายน30 พฤศจิกายน30 กันยายน

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและมังงะ · ดูเพิ่มเติม »

วิชวลโนเวล

วิชวลโนเวล เป็นประเภทของวิดีโอเกมที่มีจุดเด่นที่กราฟิก ซึ่งมักจะเป็นภาพแบบการ์ตูนญี่ปุ่น เนื้อหาของเกมเป็นแบบอินเตอแรกทีฟ คือเป็นการดำเนินเรื่องโต้ตอบกับตัวละครต่าง ๆ.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและวิชวลโนเวล · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

จินตนิมิต

นตนิมิต (fantasy) เป็นงานวรรณศิลป์ประเภทหนึ่งที่มีเค้าโครงหรือเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์และเรื่องเหนือจริง มักมีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในยุคกลางของยุโรป หรือมีลักษณะที่แสดงถึงยุคเดียวกันนั้น เช่นสถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้าง เครื่องแต่งกาย หรือเทคโนโลยี โลกแห่งจินตนิมิตมักยอมรับสภาวะเหนือจริงและเวทมนตร์ต่างๆ เหมือนเป็นเรื่องปกติ ความแตกต่างระหว่างจินตนิมิต กับนิยายวิทยาศาสตร์หรือนิยายสยองขวัญ คือลักษณะของเทคโนโลยีและวิธีการนำเสนอเกี่ยวกับความตาย งานจินตนิมิตประกอบด้วยผลงานประพันธ์ของนักเขียน ศิลปิน นักดนตรี หรือนักสร้างภาพยนตร์มากมาย นับแต่อดีตกาลประหนึ่งปกรณัมหรือตำนานลี้ลับ สืบต่อมาจนถึงปัจจุบันที่เผยแพร่แก่ผู้คนจำนวนมาก.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและจินตนิมิต · ดูเพิ่มเติม »

ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน

ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น เรียกอย่างย่อว่า เริ่มออกอากาศเมื่อ พ.ศ. 2500 ภายใต้ชื่อ สถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาแห่งประเทศญี่ปุ่น (ชื่อย่อ:NET) จนกระทั่ง พ.ศ. 2520 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ทีวีอะซะฮิ จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

วามหมายอื่น|PC แก้ความ ไฟล์:ashton 01.svg|thumbภาพวาดของgmail.com เครื่องพีซีอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ประจำบ้าน (home computer) หรืออาจพบใช้ในงานสำนักงานที่มักจะเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น (local area network) ลักษณะเด่นจะเป็นเครื่องที่ถูกใช้งานโดยคนเพียงคนเดียว ซึ่งต่างจากระบบประมวลผลแบบ batch processing หรือ time-sharing ที่มีความซับซ้อน ราคาแพง มีการใช้งานจากคนหมู่มากพร้อม ๆ กัน หรือระบบประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ที่ต้องการทีมทำงานเต็มเวลาคอยควบคุมการทำงาน ผู้ใช้ "PC" ในยุคแรกต้องเขียนโปรแกรมขึ้นใช้งานเอง แต่มาในปัจจุบัน ผู้ใช้มีโปรแกรมให้เลือกใช้ที่หลากหลายทั้งแบบที่ซื้อขายเชิงพาณิชย์และไม่เชิงพาณิชย์ ซึ่งล้วนแล้วแต่ติดตั้งได้ง่าย คำว่า "คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล" เริ่มมีใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) สำหรับกล่าวถึงเครื่อง Xerox PARC ของบริษัท Xerox Alto อย่างไรก็ตามจากความประสบความสำเร็จของไอบีเอ็มพีซี ทำให้การใช้คำว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหมายถึง เครื่องไอบีเอ็มพีซี.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน 2

ลย์สเตชัน 2 (อังกฤษ: PlayStation 2; ญี่ปุ่น: プレイステーション2) หรือที่รู้จักกันในชื่อ พีเอสทู (PS2) เป็น เครื่องเล่นวิดีโอเกม ที่ผลิตโดย โซนี่คอมพิวเตอร์เอนเตอร์เทนเมนท์ พัฒนาต่อมาจากเพลย์สเตชัน การพัฒนาเริ่มต้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2542 และได้วางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นครั้งแรกวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543 และในสหรัฐอเมริกา วันที่ 26 ตุลาคม ปีเดียวกัน เพลย์สเตชัน 2 เป็นเครื่องเล่นที่ได้รับความนิยมมากที่สุดรุ่นหนึ่ง โดยปัจจุบันมียอดจำหน่ายมากกว่า 100 ล้านเครื่องทั่วโลก หลังจากที่มีการขาดตลาดในช่วงแรกที่วางจำหน่าย เพลย์สเตชัน 2 มีรูปทรง 2 แบบด้วยกันคือ.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและเพลย์สเตชัน 2 · ดูเพิ่มเติม »

เกมผจญภัย

กมผจญภัย (Advanture Game) เป็นวิดีโอเกมประเภทหนึ่ง ที่ผู้เล่นจะสวมบทบาทเป็นตัวละครตัวหนึ่งและต้องกระทำเป้าหมายในเกมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ โดยเน้นไปที่การแก้ปริศนา โดยส่วนมากปริศนาในเกมจะเน้นใช้ตรรกะแก้ปัญหาและใช้สิ่งของที่ผู้เล่นเก็บมาระหว่างผจญภัย นอกจากนั้นผู้เล่นยังคงต้องพูดคุยกับตัวละครตัวอื่นๆอีกด้วย โดยส่วนมากเกมผจญภัยมักจะถูกสร้างมาให้สำหรับเล่นคนเดียว เพราะเนื้อเรื่องและการลำดับเหตุการณ์เหมาะสำหรับเล่นคนคนเดียวเท่านั้น อย่างไรก็ดีคำว่า เกมผจญภัย นั้นเป็นคำจำกัดความที่กว้าง หลาย ๆ ครั้งที่ผู้คนมักจะเข้าใจผิดและเรียกเกมที่มีส่วนผสมของเกมผจญภัยว่าเป็นเกมผจญภัย (เช่น Bio Hazard, The Legend of Zelda).

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและเกมผจญภัย · ดูเพิ่มเติม »

เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal computer game) หรือ เกมคอมพิวเตอร์ หรือ เกมพีซี หมายถึงเกมที่เล่นบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่าเครื่องเกมคอนโซล หรือเครื่องเกมอาร์เขต เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีการพัฒนาจากรูปแบบการเล่นและกราฟิกที่เรียบง่าย ก่อนที่จะมีรูปแบบสลับซับซ้อนดังเช่นในปัจจุบัน เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลถูกผลิตขึ้นมาโดยผู้พัฒนาเกมหนึ่งคนหรือมากกว่า ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นการร่วมตัวกันของผู้เชี่ยวชาญหลายด้าน (อย่างเช่น ผู้ออกแบบเกม) และออกจำหน่ายด้วยตนเอง หรือผ่านบุคคลที่สาม จากนั้น ผู้ผลิตเกมก็อาจจะมีการเผยแพร่เกมผ่านทางสื่อ อย่างเช่น ดีวีดี ซีดี เปิดโอกาสให้ดาวน์โหลดทางอินเทอร์เน็ต เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมักจะต้องการฮาร์ดแวร์ที่มีลักษณะเฉพาะในการเล่น อย่างเช่น ระบบประมวลผลทางกราฟิก หรือการต่ออินเทอร์เน็ต เป็นต้น ถึงแม้ว่าระบบดังกล่าวอาจไม่จำเป็นสำหรับการเล่นในบางเกมก็เป็นได้ หมวดหมู่:สื่อดิจิทัล หมวดหมู่:วิดีโอเกม หมวดหมู่:อภิธานศัพท์วิดีโอเกม หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและเกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล · ดูเพิ่มเติม »

เอะโระเก

อะโระเก เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่กร่อนมาจากคำ "เอะโระชิกกุเกมุ" (エロチックゲーム, erochikku gēmu) ซึ่งทับศัพท์จากภาษาอังกฤษว่า erotic game หมายถึง เกมวีดิทัศน์หรือเกมคอมพิวเตอร์ญี่ปุ่นที่ใช้ศิลปะแบบอะนิเมะ มีเนื้อหาลามกอนาจาร และแสดงการร่วมประเวณี เพื่อเร้ากามารมณ์เป็นสำคัญ เอะโระเกนั้นแตกแขนงมาจากเกมบิโชโจะ (bishōjo game) หรือเกมสาวน้อย แต่ต่างกันที่ตัวละครในเอะโระเกจะประกอบกิจกรรมทางเพศกันเสมอ เอะโระเกะมักดำเนินเรื่องแบบนิยายเสมือนจริง (visual novel) กล่าวคือ ตัวละครมีปฏิสัมพันธ์กัน เพื่อนำไปสู่กามกิจ โดยมีตัวเลือก หรือที่เรียก "ธง" (flag) ให้ผู้เล่นเกมร่วมแสดงเป็นตัวละคร และแม้กระทั่งจะสมสู่กับตัวละครอื่น ๆ ก็ได้ด้วย เมื่อเล่นเกมชนะผู้เล่นก็จะได้รางวัลต่าง ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและเอะโระเก · ดูเพิ่มเติม »

เซเน็ง

ซเน็ง เป็นแนวการ์ตูนญี่ปุ่นที่เน้นกลุ่มผู้ชายอายุ 18-25 ปีเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก มีเนื้อหาที่หลากหลาย เช่น แนวทดลอง แนวเน้นความน่ารักของตัวละครเป็นจุดขาย และแนวที่เน้นความรุนแรง ด้วยเหตุนี้การ์ตูนแนวเซเน็งหลายเรื่องจึงถูกจัดอยู่ในกลุ่มโชโจะ และโชเน็น ด้วย การที่จะบอกว่าการ์ตูนเรื่องใดเป็นการ์ตูนเซเน็งคือการดูว่าตัวอักษรคันจิเป็นตัวอะไร ถ้ามีกำกับส่วนมากจะเป็นแนวเซเน็ง ถ้าไม่มีแสดงว่าการ์ตูนเรื่องนั้นมีเป้าหมายเป็นกลุ่มอื่น การดูนิตยสารที่ตีพิมพ์ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง โดยนิตยสารการ์ตูนที่ขึ้นต้นชื่อด้วยคำว่า "ยัง" (young) คือ ต่ำกว่า 16 ห้ามอ่าน มักจะเป็นนิตยสารการ์ตูนเซเน็ง เช่น ยังจัมป์ ยังแอนิมอล เป็นต้น นิตยสารการ์ตูนเซเน็ง อื่น ๆ ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ อุลตร้าจัมป์ อาฟเตอร์นูน และบิ๊กคอมิก.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและเซเน็ง · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและ3 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อุตะวะเระรุโมะโนะและ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เรื่องราวที่ถูกกล่าวขาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »